คู่มือผู้ป่วยสำหรับผู้ป่วยที่เพิ่งวินิจฉัยใหม่

Page 1

โรคมั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา | มะเร็​็งไขกระดู​ูก

คู่​่มื � อ ื ำ หรั ับผู้ป่ สำ� ้ � ่ วย

ำ หรั ับผู้​้ที่ สำ� � เ่� พิ่​่ง� ถู​ูกวิ​ินิ​ิจฉั ัยว่​่าเป็​็นโรค

ฉบั​ับเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ 2023 | เรี​ียบเรี​ียงโดย น.พ. ไบรอั​ัน จี​ี เอ็​็ม ดู​ูรี​ี

สื่ง่� ตี​ีพิม ิ พ์​์ มู​ูลนิ​ิธิม ิ ะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาสากล


กลุ่​่ม � การดำำ�เนิ​ินงานมั ัยอี​ีโลมาสากล (International Myeloma Working Group) ซึ่ง่� ก่​่อตั้งในปี​ี ้� 2533 เป็​็นองค์​์กรแรกและมี​ีขนาดใหญ่​่ที่สุ​ุด ่� ที่​่มุ่ � ง ่� เน้​้น ิ จำำ�นวนมากกว่​่า 525,000 คน ไปที่​่ม � ะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา IMF ได้​้เข้​้าถึ​ึงสมาชิก ใน 140 ประเทศ IMF อุ​ุทิ​ิศให้​้กั ับการพั ัฒนาคุ​ุณภาพชี​ีวิ​ิตของผู้​้ป่ � ่ วยมะเร็​็ง มั ัยอี​ีโลมาในขณะในที่​่กำ � � ำ ลั ังดำำ�เนิ​ินงานในด้​้านการป้​้ องกั ันและการรั ักษา ่� อของเรา: การวิ​ิจั ัย การศึ​ึกษา การ ให้​้หายจากโรคผ่​่านหลั ักปฏิ​ิบั ัติ​ิสี่ข้​้ ั สนั ับสนุ​ุน และการสนั ับสนุ​ุนสัมพั ันธ์​์

การวิ​ิจั ัย IMF อุ​ุทิศิ ให้ ้กั​ับการหาการรั​ักษาให้ ้หายจากโรคมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและเรามี​ี แผนการริ​ิเริ่​่�มมากมายที่​่�จะทำำ�ให้ ้สิ่​่�งนี้​้�เกิ​ิดขึ้​้น � ได้ ้ คณะดำำ�เนิ​ินงานมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาสากลที่​่�มา จากคณะที่​่�ปรึ​ึกษาด้ ้านวิ​ิทยาศาสตร์​์ของ IMF ซึ่​่�งก่​่อตั้​้�งในปี​ี 2538 เป็​็ นองค์​์กรที่​่�เป็​็ นที่​่�เคารพ นั​ับถื​ือมากที่​่�สุดด้ ุ ้วยนั​ักวิ​ิจั​ัยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเกื​ือบ 300 คน ดำำ�เนิ​ินงานด้ ้านการวิ​ิจั​ัยร่​่วมกั​ัน เพื่​่�อพั​ัฒนาผลลั​ัพธ์​์สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยในขณะที่​่�จั​ัดเตรี​ียมแนวปฏิ​ิบัติ ั ร่ิ ว่ มที่​่�ผ่า่ นการประเมิ​ินอย่​่าง เข้ ้มงวดที่​่�ใช้ ้กั​ันทั่​่�วโลก Black Swan Research Initiative® ของเรากำำ�ลังั ลดช่​่องว่​่างระหว่​่าง ภาวะสงบแบบระยะยาวกั​ับการรั​ักษาให้ ้หายจากโรค โปรแกรมทุ​ุนสนั​ับสนุ​ุนด้ ้านการวิ​ิจั​ัยไบร์​์ อั​ัน ดี​ี โนวิ​ิสประจำำ�ปี​ีของเรากำำ�ลังั ให้ ้การสนั​ับสนุ​ุนต่​่อโครงการที่​่�มีโี อกาสสำำ�เร็​็จสูงู ที่​่�สุด ุ โดย ผู้​้�ตรวจสอบใหม่​่และระดั​ับอาวุ​ุโส คณะผู้​้�นำำ �พยาบาลของเราประกอบด้ ้วยพยาบาลจากศู​ูนย์​์ รั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชั้​้�นนำำ �ที่​่จ � ะพั​ัฒนาคำำ�แนะนำำ �สำำ�หรั​ับการดู​ูแลด้ ้านการพยาบาลผู้​้�ป่​่วย มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา การศึ​ึกษา การสั​ัมนาผ่​่านเว็​็บไซต์​์ งานสั​ัมนา การประชุ​ุมปฏิ​ิบัติั กิ ารของ IMF ให้ ้ข้ ้อมู​ูลที่​่�

เป็​็ นปั​ั จจุบั ุ น ั ที่​่�นำำ�เสนอโดยนั​ักวิ​ิทยาศาสตร์​์และแพทย์​์ด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชั้​้�นนำำ �โดยตรง ต่​่อผู้​้�ป่​่วยและครอบครั​ัว เรามี​ีห้ ้องสมุ​ุดที่​่มี � สิ่​่ ี ง� ตี​ีพิม ิ พ์​์มากกว่​่า 100 ฉบั​ับ สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วย ผู้​้�ดู​ูและ บุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ สิ่​่�งตี​ีพิม ิ พ์​์ของ IMF ไม่​่มีค่ ี า่ ใช้ ้จ่​่ายเสมอ และมี​ีทั้​้ง� ภาษาอั​ังกฤษและ ภาษาอื่​่�นๆ ที่​่�คัด ั เลื​ือกมา

การสนั ับสนุ​ุน ศู​ูนย์​์ให้ ้บริ​ิการข้ ้อมู​ูลทางโทรศั​ัพท์​์ IMF ตอบรั​ับสำำ�หรั​ับคำำ�ถามและข้ ้อ กั​ังวลที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับมัย ั อี​ีโลมาผ่​่านทางโทรศั​ัพท์​์และอี​ีเมล ให้ ้ข้ ้อมู​ูลที่​่�ถูก ู ต้ ้องที่​่�สุด ุ ในการ ดู​ูแลและการปฏิ​ิบัติ ั ด้ ิ ้วยความเข้ ้าอกเข้ ้าใจ เรายั​ังให้ ้การสนั​ับสนุ​ุนกลุ่​่�มช่​่วยเหลื​ือเครื​ือข่​่าย มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ฝกอบรมให้ ้กั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�อุทิ ุ ศต ิ นให้ ้หลายร้ ้อยคน ผู้​้�ดู​ูแล และพยาบาลซึ่​่�ง อาสาสมั​ัครมาเพื่​่�อเป็​็ นผู้​้�นำำ �ให้ ้กั​ับกลุ่​่�มคนเหล่​่านี้​้�ในชุ​ุมชนของพวกเขาอี​ีกด้ ้วย ั ันธ์​์ เราส่​่งเสริ​ิมบุ​ุคคลต่​่างๆ ที่​่�สร้ ้างผลกระทบในทางบวก หลายพั​ัน การสนั ับสนุ​ุนสัมพั คนในแต่​่ละปี​ี ในหั​ัวข้ ้อที่​่�มีค ี วามสำำ�คัญ ั อย่​่างยิ่​่�งต่​่อชุ​ุมชนมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เราชั​ักจู​ูงให้ ้แนวร่​่วมได้ ้แสดงความสนใจต่​่อชุ​ุมชนมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาทั้​้�งระดั​ับสหพั​ันธ์​์และะ ดั​ับรั​ัฐ นอกสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เครื​ือข่​่ายปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาระดั​ับโลก IMF ดำำ�เนิ​ิกการช่​่วย เหลื​ือผู้​้�ป่​่วยให้ ้ได้ ้รั​ับการเข้ ้าถึ​ึงการรั​ักษา เรี​ียนรู้​้�เพิ่​่ม � เติ​ิมเกี่​่ย � วกั ับวิ​ิธี​ีต่​่างๆ ที่​่� IMF ให้​้การช่​่วยเหลื​ือเพื่​่�อปรั ับปรุ​ุง คุ​ุณภาพชี​ีวิ​ิตของผู้​้ป่ � ่ วยมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาในขณะที่​่กำ � � ำ ลั ังดำำ�เนิ​ินงานกั ับการ ป้​้ องกั ันและการรั ักษาให้​้หายจากโรค ติ​ิดต่​่อเราที่​่� 1.818.487.7455 หรื​ือ หรื​ือเข้​้าชมที่​่� myeloma.org


ตารางสารบั ัญ คุ​ุณไม่​่ได้​้อยู่​่เ� พี​ียงลำำ�พั ัง

4

ื เล่​่มเล็​็กนี้​้� สิ่ง่� ที่​่คุ​ุ � ณจะได้​้เรี​ียนรู้​้�จากหนั ังสือ

4

มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาเป็​็นโรคที่​่สามารถ � รั ักษาได้​้สู​ูง

4

สิ่ง่� ที่​่เ� กิ​ิดขึ้​้� นก่​่อนมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

5

สถิ​ิติ​ิมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาบางสถิ​ิติ​ิ

5

สาเหตุ​ุหรื​ือสิ่ง่� กระตุ้​้�นของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

6

รั ับการวิ​ินิ​ิจฉั ัยที่​่ถู � ก ู ต้​้อง

6

ำ หรั ับการวิ​ินิ​ิจฉั ัยมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา เกณฑ์​์สำ�

9

การแบ่​่งระยะของโรคมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

11

การทดสอบที่​่จำ � � ำ เป็​็น

13

การทดสอบเพื่​่�อหาเส้​้นอ้​้างอิ​ิง

14

ปั​ัญหาเร่​่งด่​่วนในการวิ​ินิจ ิ ฉั ัยที่​่เ� ป็​็นไปได้​้

16

ชนิ​ิดของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

17

ผลกระทบของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาในไขกระดู​ูก

19

ผลกระทบของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมานอกไขกระดู​ูก

20

ำ หรั ับมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาที่​่เ� พิ่​่ง� ได้​้รั ับการวิ​ินิ​ิจฉั ัย การรั ักษาสำ�

20

การปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดโดยใช้​้เซลล์​์ของตนเอง

23

การเลื​ือกหลั ักการรั ักษา

24

มี​ีการรั ักษาต่​่อเนื่​่�องไหม

25

การทดลองทางคลิ​ินิก ิ

25

การดู​ูแลตามอาการ

25

ที​ีมดู​ูแลสุ​ุขภาพของคุ​ุณ

28

ผู้ป่ ้ � ่ วยมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาและโควิ​ิด-19

28

ในการปิ​ิดท้​้าย

29

ั เฉพาะและคำำ�นิ​ิยาม ศัพท์​์

29


คุ​ุณไม่​่ได้​้อยู่​่เ� พี​ียงลำำ�พั ัง

International Myeloma Foundation อยู่​่�ตรงนี้​้�เพื่​่�อช่​่วยเหลื​ือคุ​ุณ IMF มี​ีความมุ่​่�งมั่​่�น ที่​่�จะจั​ัดหาข้ ้อมู​ูลและให้ ้การสนั​ับสนุ​ุนสำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วย โรคมั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา (ที่​่�เรา เรี​ียกอย่​่างง่​่ายว่​่า “มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา”) และผู้​้�ดู​ูแล เพื่​่�อน และครอบครั​ัวของผู้​้�ป่​่วย เรา ก้ ้าวสู่​่�ความสำำ�เร็​็จนี้​้ผ่ � า่ นแหล่​่งข้ ้อมู​ูลครอบคลุ​ุมหลากหลายด้ ้านที่​่�อยู่​่�บนเว็​็บไซต์​์ของ ั เรา myeloma.org, ศู​ูนย์​์ให้​้บริ​ิการข้​้อมู​ูลทางโทรศัพท์​์ งานสั​ัมนา การสั​ัมนาผ่​่าน เว็​็บไซต์​์ การประชุ​ุมปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารของ IMF และโปรแกรมและบริ​ิการอื่​่�นๆ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา คื​ือมะเร็​็งที่​่�ผู้​้�ป่​่วยส่​่วนใหญ่​่ไม่​่รู้​้�จัก ั ในขณะที่​่�อยู่​่�ะหว่​่างการวิ​ินิจฉั ิ ัย การ เรี​ียนรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและทางเลื​ือกในการรั​ักษาให้ ้มากที่​่�สุด ุ เท่​่าที่​่�เป็​็ นไปได้ ้ ำ ญ เป็​็ นสิ่​่�งที่​่�สำ�คั ั และเป็​็ นประโยชน์​์เพื่​่�อที่​่�คุณ ุ จะได้ ้มี​ีบทบาทในการมี​ีส่ว่ นร่​่วมในการดู​ูแล ิ ใจที่​่�ดีเี กี่​่�ยวกั​ับการดู​ูแลกั​ับแพทย์​์ของคุ​ุณ ข้ ้อมู​ูล ทางการแพทย์​์ของคุ​ุณและการตั​ัดสิน ในหนั​ังสื​ือเล่​่มนี้​้�จะช่​่วยคุ​ุณในการการรึ​ึกษาหารื​ือกั​ับกลุ่​่�มผู้​้�ดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยของคุ​ุณ

ื เล่​่มเล็​็กนี้​้� สิ่ง่� ที่​่คุ​ุ � ณจะได้​้เรี​ียนรู้​้�จากหนั ังสือ

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วย IMF สำำ�หรั​ับผู้​้�ที่​่ไ� ด้ ้เพิ่​่�งรั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยจะช่​่วยให้ ้คุ​ุณเข้ ้าใจมะเร็​็งมั​ัย อี​ีโลมาได้ ้ดี​ีขึ้น ้� คำำ�ใน แบบตั ัวอั ักษรหนา+สี​ีฟ้​้า อธิ​ิบายไว้ ้ในหมวดหมู่​่� “ศั​ัพท์​์ ั เฉพาะทางและคำำ�นิย ิ าม” ในส่​่วนท้ ้ายของหนั​ังสื​ือเล่​่มนี้​้� อภิ​ิธานศั​ัพท์​์ ของศัพท์​์ เฉพาะทางและคำำ�นิ​ิยามมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาของ (Understanding Myeloma � มบู​ูรณ์ม ์ ากขึ้​้น � ที่​่� Vocabulary) IMFชุ​ุดรวบรวมข้ ้อมู​ูลเกี่​่�ยวกั​ัยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาฉบั​ับที่​่ส glossary.myeloma.org ถ้ ้าคุ​ุณกำำ�ลังั อ่​่านหนั​ังสื​ือเล่​่มเล็​็กเล่​่มนี้​้�ในรู​ูปแบบอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ ไฮเปอร์​์ลิ้​้ง� ค์​์สี​ีฟ้​้า จะนำำ �คุณ ุ ไปสู่​่�แหล่​่งข้ ้อมู​ูลที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้อง สิ่​่�งตี​ีพิม ิ พ์​์ของ IMF ทั้​้�งหมดไม่​่มีค่ ี า่ ใช้ ้จ่​่ายและ สามารถดาวน์​์โหลดหรื​ือขอรั​ับได้ ้ในรู​ูปแบบพิ​ิมพ์​์ที่​่� publications.myeloma.org

มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาเป็​็นโรคที่​่สามารถ � รั ักษาได้​้สู​ูง

พลาสมาเซลล์​์ที่​่แ � ข็​็งแรงเป็​็ นส่​่วนที่​่�สำำ�คัญ ั ของระบบภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั ัน พลาสมาเซลล์​์คือ ื เม็​็ดเลื​ือดขาวชนิ​ิดหนึ่​่ง� (WBC)ในไขกระดู​ูก ทำำ�หน้ ้าที่​่�ในการสร้ ้างแอนติ​ิบอดี​ีหรื​ือ เรี​ียกอี​ีกอย่​่างหนึ่​่�งว่​่าอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิ​ิน (Ig) เซลล์​์มัย ั อี​ีโลมาคื​ือพลาสมาเซลล์​์ร้​้ายที่​่� ไม่​่ได้ ้สร้ ้างแอนติ​ิบอดี​ีที่​่ทำ � ำ�งานได้ ้แต่​่สร้ ้างโปรตี​ีนโมโนโคลนที่​่ผิ​ิดป � กติ​ิ (โปรตี​ีน มั ัยอี​ีโล, M-protein) ขึ้​้�นมาแทนที่​่� มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาถู​ูกเรี​ียกว่​่า “มั​ัลติ​ิเพิ​ิล” เพราะมั​ักจะเกี่​่�ยวข้ ้องหลายส่​่วนในร่​่างกาย โอกาสเดี​ียวที่​่�มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาไม่​่ใช่​่ “มั​ัลติ​ิเพิ​ิล” คื​ือเมื่​่�อเป็​็ นเกรณี​ีหายากของโรคโซลิ​ิ แทรี​ี พลาสมาไซโทมา ส่​่วนใหญ่​่มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะเจริ​ิญเติ​ิบโตในไขกระดู​ูกภายในกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง กะโหลก ศี​ีรษะ กระดู​ูกเชิ​ิงกราน กระดู​ูกซี่​่�โครง ไหล่​่ และสะโพก โดยปกติ​ิแล้ ้ว จะไม่​่มีผ ี ลก ระทบต่​่อกระดู​ูกในมื​ือ เท้ ้า แขนส่​่วนล่​่าง และขา มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาสามารถปรากฏใน รู​ูปแบบของเนื้​้�องอก และ/หรื​ือในรู​ูปแบบพื้​้�นที่​่�ที่​่มี � ก ี ารสู​ูญเสี​ียเนื้​้�อกระดู​ูก ในกรณี​ี อย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�งนี่​่�เรี​ียกว่​่ารอยโรค การปรากฏของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาภายใน ไขกระดู​ูกสามารถชั​ักนำำ �ให้ ้เกิ​ิดปั​ัญหาทางการแพทย์​์อื่​่น � ในและนอกภาวะแวดล้ ้อม จุ​ุลภาคของไขกระดู​ูก มี​ีการบำำ�บั​ัดที่​่มี � ป ี ระสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงจำำ�นวนมากที่​่�ได้ ้รั​ับการรั​ับรองการรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมาโดย United States Food and Drug Administration (FDA, องค์​์การอาหารและ 4

1.818.487.7455


ยาของประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา European Medicines Agency (EMA), หน่​่วยงานกำำ�กับ ั ควบคุ​ุมเรื่​่�อง ยาของสภาพยุ​ุโรป ) และโดย หน่​่วยงานกำำ�กับ ั ควบคุ​ุมอื่​่�นๆ การทดลองทางคลิ​ินิ​ิกจำำ�นวนมาก กำำ�ลังั เกิ​ิดขึ้​้น � ทั่​่�วโลก จึ​ึงทำำ�ให้ ้การ บำำ�บั​ัดที่​่มี � โี อกาสสำำ�เร็​็จสูงู จากรายการ ทางเลื​ือกการรั​ักษาที่​่�กำำ�ลังั เติ​ิบโตมี​ี จำำ�นวนเพิ่​่�มขึ้​้น �

ภาพที่​่� 1 เซลล์​์มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาในไขกระดู​ูก

ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจำำ�นวนมากมี​ีชีวิี ตที่​่ ิ ส � มบู​ูรณ์แ ์ ละมี​ีปะสิ​ิทธิ​ิผลได้ ้อี​ีกเป็​็ นเวลา หลายปี​ี หรื​ือแม้ ้แต่​่หลายสิ​ิบปี​ีหลั​ังการวิ​ินิจฉั ิ ั ย ภาวะการอยู่​่�รอดและคุ​ุณภาพชี​ีวิตข ิ องผู้​้� ป่​่ วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา มี​ีการพั​ัฒนาขึ้​้น � อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง การเรี​ียนรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา และเการทำำ�ความเข้ ้าใจวิ​ิธีก ี ารรั​ักษาสามารถช่​่วยให้ ้ผู้​้�ป่​่วยและบุ​ุคคลอั​ันเป็​็ นที่​่�รั​ักเขา พวกเขาลดความวิ​ิตกกั​ังวล รู้​้�สึ​ึกถึ​ึงการควบคุ​ุมได้ ้ และทำำ�ให้ ้เข้ ้าใจในเรื่​่�อง ของการ วิ​ินิจฉั ิ ั ยได้ ้ง่​่ายขึ้​้น �

สิ่ง่� ที่​่เ� กิ​ิดขึ้​้�นก่​่อนมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

ระยะแรกเริ่​่�มสุ​ุดของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาคื​ือ ภาวะ ไม่​่อั ันตราย ที่​่�เรี​ียกว่​่า ำ คั ัญที่​่ร� ะบุ​ุไม่​่ได้​้ (MGUS) คนที่​่�มี ี MGUS ต้ ้อง โมโนโคลนอลแกมโมพาธี​ีที่​่มี​ีนั � ัยสำ� ได้ ้รั​ับการเฝ้​้ าสั​ังเกตด้ ้วยความระมั​ัดระวั​ังการเปลี่​่�ยนแปลงภาวะของผู้​้�ป่​่วยที่​่�อาจเป็​็ น ไปได้ ้ ถ้ ้าระดั​ับของเอ็​็มโปรตี​ีนยั​ังคงที่​่�และไม่​่มีก ี ารเปลี่​่�ยนแปลงทางสุ​ุขภาพอื่​่�น ระยะ เวลาในระหว่​่างนั​ัดตรวจกั​ับ นั ักโลหิ​ิตวิ​ิทยา และ/หรื​ือ นั ักวิ​ิทยาเนื้​้�องอก สามารถยื​ืด ออกไปได้ ้ ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะมี​ี MGUS ก่​่อนที่​่�จะดำำ�เนิ​ินไปเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาแต่​่ มี​ีผู้​้� ป่​่ วยที่​่�ได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยว่​่ามี​ีภาวะ MGUS 20% เท่​่านั้​้�นที่​่�จะพั​ัฒนาเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ในท้ ้ายที่​่�สุด ุ ความเสี่​่�ยงของการดำำ�เนิ​ินจาก MGUS ไปเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมามี​ีอั​ัตรา 1% ต่​่อปี​ี ระยะระหว่​่าง MGUS และมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�แสดงอาการเรี​ียกว่​่า สโมเดอริ​ิง มั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา (SMM) จะมี​ีลัก ั ษณะโดยที่​่�มีเี อ็​็มโปรตี​ีนในระดั​ับ สู​ูง มากกว่​่า MGUS แต่​่ไม่​่มีอ ี าการบ่​่งชี้​้�ของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�แสดงอาการ ในผู้​้�ป่​่วย SMM ที่​่�มีค ี วามเสี่​่�ยงปกติ​ิ จะมี​ีความเสี่​่�ยงของการดำำ�เนิ​ินโรคเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ที่​่�แสดงอาการ 10% ต่​่อปี​ี สำำ�หรั​ับในช่​่วงห้ ้าปี​ี แรก 3% ต่​่อปี​ี สำำ�หรั​ับในช่​่วงห้ ้าปี​ี ถัด ั มา และ 1%–2% ต่​่อปี​ี สำำ�หรั​ับในช่​่วง 10 ปี​ี ถัด ั มา สำำ�หรั​ับข้ ้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม โปรดอ่​่านสิ่​่�ง พิ​ิมพ์​์ของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับ MGUS และสโมเดอริ​ิงมั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา (Understanding MGUS and Smoldering Multiple Myeloma)

สถิ​ิติ​ิมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาบางสถิ​ิติ​ิ

ในสหรั​ัฐอเมริ​ิการ ตามข้ ้อมู​ูลจากโปรแกรม SEER (การเฝ้​้ าระวั​ัง ระบาดวิ​ิทยา และ ผลลั​ัพธ์​์สุดท้ ุ ้าย) ของสถาบั​ันมะเร็​็งแห่​่งชาติ​ิ มี​ีผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลรายใหม่​่ประมาณ 34,470 ราย ในปี​ี 2565 คิ​ิดเป็​็ น 1.8% ของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งรายใหม่​่ทั้​้ง� หมด นอกจากนี้​้� จาก ข้ ้อมู​ูล SEER ล่​่าสุ​ุด พบว่​่าในปี​ี 2562 มี​ีผู้​้�ป่​่วยโรคมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาประมาณ 159,787 ราย ในสหรั​ัฐอเมริ​ิการ myeloma.org

5


ตามที่​่�ตีพิ ี ม ิ พ์​์ในวารสาร นั​ักวิ​ิทยาเนื้​้�องอก ในปี​ี 2563 อุ​ุบัติ ั ก ิ ารณ์​์ทั่​่ว� โลกของมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมาแสดงให้ ้เห็​็นความแตกต่​่างอย่​่างมี​ีนั​ัยสำำ�คัญ ั ซึ่​่�งบ่​่งชี้​้�ว่า่ ยั​ังไม่​่ได้ ้รั​ับการยอมรั​ับและ การรั​ักษาที่​่�ต่ำ�ำ� กว่​่ามาตรฐานในหลายส่​่วนของโลก บทความนี้​้�เน้ ้นย้ำำ�ถึ​ึ � งความสำำ�คัญ ั ของทรั​ัพยากรทางเศรษฐกิ​ิจ การเข้ ้าถึ​ึงและคุ​ุณภาพการดู​ูแลสุ​ุขภาพ และการให้ ้ความรู้​้� กั​ับผู้​้�ป่​่วยเพื่​่�อปรั​ับปรุ​ุงการวิ​ินิจฉั ิ ัยและการอยู่​่�รอดของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาทั่​่�วโลก มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเป็​็ นโรคที่​่�ได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ัยมากที่​่�สุด ุ ในบุ​ุคคลที่​่�มีอ ี ายุ​ุ 6574 ปี​ี แต่​่ยังั มี​ี การวิ​ินิจฉั ิ ัยในปั​ั จจุบั ุ น ั ในในกลุ่​่�มคนอายุ​ุต่ำ�ำ� กว่​่า 50 ปี​ี ด้ ้วย ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�อายุ​ุต่ำ�ำ� กว่​่า 40 ปี​ี มีเี พี​ียง 5%–10% มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในเด็​็กเป็​็ นเคสที่​่�หายากมาก ผู้​้�ชายมั​ักจะเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมามากกว่​่าผู้​้�หญิ​ิง โรคนี้​้�พบบ่​่อยในคนเชื้​้�อสายแอฟริ​ิ กั​ันมากกว่​่าคนทั่​่�วไปถึ​ึงสองเท่​่า เห็​็นได้ ้ชั​ัดว่า่ อุ​ุบัติ ั ก ิ ารณ์​์ของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมากำำ�ลังั เพิ่​่�มขึ้​้น � ในหลายส่​่วนของโลก โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งในทวี​ีปเอเชี​ีย การวิ​ินิจฉั ิ ั ยโรคมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น � ในบุ​ุคคลที่​่�มีญ ี าติ​ิสายเลื​ือดใกล้ ้ชิ​ิดที่​่ไ� ด้ ้รั​ับ การวิ​ินิจฉั ิ ั ยว่​่ามี​ี MGUS, SMM, หรื​ือมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมามี​ีประมาณ 5%–7% ถ้ ้าคุ​ุณมี​ีญาติ​ิ สายเลื​ือดใกล้ ้ชิ​ิดที่​่ไ� ด้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยดั​ังกล่​่าว ให้ ้แจ้ ้งแพทย์​์ระดั​ับปฐมภู​ูมิข ิ องคุ​ุณ เพื่​่�อรวมข้ ้อมู​ูลนี้​้�ไว้ ้ในเวชระเบี​ียนของคุ​ุณด้ ้วย ในทางกลั​ับกัน ั ให้ ้คุ​ุณบอกญาติ​ิให้ ้ แจ้ ้งแพทย์​์ของพวกเขาเพื​ือรวมการวิ​ินิจฉั ิ ั ยของคุ​ุณในประวั​ัติท ิ างการแพทย์​์ ถ้ ้าคุ​ุณมี​ี MGUS, SMM หรื​ือมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา

สาเหตุ​ุหรื​ือสิ่ง่� กระตุ้​้�นของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

การอยู่​่�ในสภาวะที่​่�เปิ​ิ ดรั​ับต่อ ่ อะไรก็​็ตามที่​่�รบกวนหรื​ือกดระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ัน หรื​ือการ ติ​ิดเชื้​้�อไวรั ัสที่​่�ก่อ ่ ให้ ้เกิ​ิด มะเร็​็งล้ ้วนเกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับการเป็​็ นสาเหตุ​ุหรื​ือสิ่​่�งกระตุ้​้�นของ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา สารเคมี​ีที่​่เ� ป็​็ นพิ​ิษที่​่�ระบุ​ุได้ ้แก่​่: ¡ เบนซี​ีน ¡ ไดออกซิ​ิน (อย่​่างเช่​่นพวกที่​่�พบในฝนเหลื​ือง) ¡ สารเคมี​ีในด้ ้านการเกษตร (อย่​่างเช่​่น สารทำำ�ให้ ้ใบไม้ ้ร่​่วง และสารกำำ�จั​ัดศั​ัตรูพื ู ช ื ) ¡ ตัวั ทำำ�ละลาย ¡ เชื้​้�อเพลิ​ิง ¡ ท่อ ่ ไอเสี​ียเครื่​่�องยนต์​์ ¡ ผลิ​ิตภัณ ั ฑ์​์ทำำ�ความสะอาด ไวรั​ัสที่​่�มีค ี วามเกี่​่�ยวข้ ้องมากที่​่�สุดที่​่ ุ ก � ระตุ้​้�นให้ ้เกิ​ิดมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ได้ ้แก่​่ HIV (ไวรั​ัส เอดส์​์) ไวรั​ัสตั​ับอัก ั เสบ ไวรั​ัสเริ​ิมบางชนิ​ิด และ ไวรั​ัสซิ​ิเมี​ียน 40 (SV40 ซึ่​่�งเป็​็ นสารปน เปื้​้� อนชนิ​ิดหนึ่​่�งในการเตรี​ียมวั​ัคซี​ีนโปลิ​ิโอเซบิ​ินที่​่�ใช้ ้ในหว่​่างปี​ี 2498 และ 2506)

รั ับการวิ​ินิ​ิจฉั ัยที่​่ถู � ก ู ต้​้อง

้ บางครั้​้�ง มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเป็​็ นโรคเฉพาะบุ​ุคคล บ่​่อยครั้​้�งที่​่�มีก ี ารดำำ�เนิ​ินโรคไปอย่​่างช้าๆ สามารถดำำ�เนิ​ินไปอย่​่างรวดเร็​็ว นั​ักโลหิ​ิตวิท ิ ยา-นั​ักมะเร็​็งวิ​ิทยาผู้​้�มี​ีทัก ั ษะซึ่​่�งเชี่​่�ยวชาญด้ ้าน มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและโรคอื่​่�นๆ ของพลาสมาเซลล์​์สามารถทำำ�การวิ​ินิจฉั ิ ัยที่​่�ถูก ู ต้ ้องและปรั​ับ แต่​่งแนวทางการรั​ักษาให้ ้เหมาะสมกั​ับสถานการณ์​์ของคุ​ุณได้ ้ดี​ีที่​่สุ � ด ุ นั​ักวิ​ิทยาเนื้​้�องอกท้ ้องถิ่​่�นอาจพบเจอผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาสองสามรายหรื​ืออาจ ไม่​่เคยพบเลย ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�ศูน ู ย์​์รั​ักษาที่​่�มี ี “ปริ​ิมาณผู้​้�ป่​่วยสู​ูง” ขนาดใหญ่​่และ สถาบั​ันการศึ​ึกษาขนาดใหญ่​่ จะพบเจอผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจำำ�นวน หลายร้ ้อยคน ดำำ�เนิ​ินการทดลองทางคลิ​ินิก ิ ด้ ้วยยาชนิ​ิดใหม่​่และการบำำ�บั​ัดแบบ 6

1.818.487.7455


ิ ใจที่​่�เหมาะสม ผู้​้� ผสมผสานใหม่​่ และพั​ัฒนาความเชี่​่�ยวชาญที่​่�จำำ�เป็​็ นเพื่​่�อการตั​ัดสิน เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีป ี ระสบการณ์​์สามารถคาดการณ์​์ปั​ัญหาที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้อง กั​ับการรั​ักษาล่​่วงหน้ ้า และป้​้ องกั​ันหรื​ือบรรเทาปั​ั ญหาเหล่​่านั้​้�นได้ ้ ถึ​ึงแม้ ้ว่​่าจะไม่​่มีผู้​้� ี เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาใกล้ ้คุ​ุณ เราสนั​ับสนุ​ุนให้ ้คุ​ุณหาความ เห็​็นที่​่�สองจากผู้​้�เชี่​่�ยวชาญอี​ีกคน ไม่​่ว่า่ จะเป็​็ นแบบพบเจอตั​ัวจริ​ิงหรื​ือแบบระยะไกล นอกจากนี้​้�แพทย์​์ในพื้​้�นที่​่�ของคุ​ุณยั​ังสามารถนั​ัดเวลเพื่​่�อขอคำำ�ปรึ​ึกษากั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ ำ หรั ับวิ​ินิ​ิจฉั ัยของ IMWG ตารางที่​่� 1 เกณฑ์​์สำ� ความผื​ืดปกติ​ิ

คำำ�นิ​ิยาม

MGUS

ต้​้องเข้​้าเกณฑ์​์ทุ​ุกข้​้อ 1. มีก ี ารปรากฏของ M-โปรตี​ีน ในซี​ีรั​ัม < 3 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ 2. มีก ี ารปรากฏของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมโนโคลนในไขกระดู​ูก < 10% และ 3. ไม่​่มีก ี ารปรากฎตามเกณฑ์​์ CRAB – ค่​่าของ Calcium (แคลเซี​ียม) ที่​่�สูงู ขึ้​้น � , Renal (kidney) damage (ความเสี​ียหายของไต), Anemia (ภาวะโลหิ​ิตจาง), หรื​ือ Bone disease (โรคกระดู​ูก)

MGUS ชนิ​ิด โพลี​ีเปปไทด์​์ สายเบา

ต้​้องเข้​้าเกณฑ์​์ทุ​ุกข้​้อ 1. อัตร ั า FLC ที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิ < 0.26 or > 1.65 2. ร ะดั​ับของโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องอย่​่างเหมาะสม ( FLC ชนิ​ิดแคปปาที่​่�มาก ขึ้​้น � ในผู้​้�ป่​่วยด้ ้วยอั​ัตรา > 1.65 และ FLC ชนิ​ิดแลมบ์​์ดาที่​่�มากขึ้​้น � ในผู้​้�ป่​่วยด้ ้วยอั​ัตรา < 0.26) 3. ไม่​่มีก ี ารแสดงออกของโพลี​ีเปปไทด์​์สายหนั​ักของ Ig ในการทดสอิ​ิมมู​ูโนฟิ​ิ กเซชั​ัน 4. ไม่​่มีก ี ารปรากฎตามเกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม, ความเสี​ียหายของไต, โลหิ​ิตจาง, ความ เสี​ียหายของกระดู​ูก) 5. มีก ี ารปรากฏของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมโนโคลนในไขกระดู​ูก < 10% และ 6. มีก ี ารปรากฏของ M-โปรตี​ีนในปั​ั สสาวะโดยอ้ ้างอิ​ิงจากการเก็​็บสะสมใน 24 ชั่​่�วโมง < 500 มก.

SMM

ต้​้องเข้​้าเกณฑ์​์ทั้​้�งสองเกณฑ์​์ 1. มีก ี ารปรากฏของ M-โปรตี​ีนในซี​ีรั​ัม (IgG หรื​ือ IgA) ≥ 3 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ หรื​ือ M-โปรตี​ีนในปั​ั สสาวะ ≥ 500 มก. จากการเก็​็บสะสมใน 24 ชั่​่�วโมง และ/หรื​ือมี​ีการ ปรากฏของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมโนโคลนในไขกระดู​ูก 10%–60% และ 2. ไม่​่มีก ี ารปรากฏของกรณี​ีที่​่นิ � ย ิ ามว่​่าเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา (MDE) หรื​ืออะไมลอยด์​์โดสิ​ิส

มะเร็​็งมั ัยอี​ี โลมา

ต้​้องเข้​้าเกณฑ์​์ทั้​้�งสองเกณฑ์​์ 1. มีก ี ารปรากฏของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมโนโคลนในไขกระดู​ูก ≥ 10% หรื​ือพลาสมา ไซโตมาของกระดู​ูกที่​่�พิสู ิ จน์ ู ด้ ์ ้วยการตรวจชิ้​้�นเนื้​้�อหรื​ือพลาสมาไซโตมานอก ไขกระดู​ูก และ 2. มีลั ี ก ั ษณะหนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งข้ ้อตามกรณี​ีที่​่นิ � ย ิ ามว่​่าเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา (MDE) ดั​ังต่​่อไปนี้​้�  มี​ีการปรากฎตามเกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม, ความเสี​ียหายของไต, โลหิ​ิตจาง, ความ เสี​ียหายของกระดู​ูก)  มี​ีการปรากฏของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมโนโคลนในไขกระดู​ูก < 60%  อั​ัตราส่​่วนของ FLC (โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระ) ในซี​ีรั​ัมที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องต่​่อที่​่�ไม่​่ เกี่​่�ยวข้ ้อง ≥ 100 (ระดั​ับของ FLC ที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องต้ ้องมี​ีค่า่ ≥100 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/ลิ​ิตร และ ระดั​ับของ M-โปรตี​ีนในปั​ั สสาวะต้ ้องมี​ีค่า่ อย่​่างน้ ้อย 200 มก. ต่​่อการเก็​็บสะสมใน 24 ชั่​่�วโมง ในเทคนิ​ิค UPEP)  มี​ีรอยโรคเฉพาะจุ​ุดหนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งแห่​่งในการศึ​ึกษา MRI (มี​ีขนาดอย่​่างน้ ้อย 5 มม.)  มี​ีรอยโรคของกระดู​ูกถู​ูกทำำ�ลายหนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งแห่​่งในการถ่​่ายภาพรั​ังสี​ี โครงกระดู​ูก, CT, หรื​ือ PET-CT

ดั​ั �ั ดแปลงจาก ราชกุ​ุ​ุ�มารSV, ดิ​ิ​ิ�โมปู​ู​ู�ลอส MA, พาลั​ั �ั มโบ A, และคณะ คณะท��ำ�งานส��ำ�หรั​ั ั� บมะเร็​็​็�งมั​ั ั� ยอี​ี​ี�โลมาสากลได้​้​้ปรั​ั � ั� บปรุ​ุ​ุ�งเกณฑ์​์​์� ส��ำ�หรั​ั ั� บการวิ​ิ​ิ�นิ​ิ​ิ�จฉั​ั ั� ยโรคมั​ั ั� ลติ​ิ​ิ�เพิ​ิ​ิ�ลมั​ั ั� ยอี​ี​ี�โลมา มะเร็​็​็�งวิ​ิ​ิ�ทยาของแลนเซ็​็​็�ตปี​ี​ี� 2557 (Rajkumar SV, Dimopoulos MA, Palumbo A, et al. International Myeloma Working Group updated criteria for the diagnosis of multiple myeloma. Lancet Oncology 2014)

myeloma.org

7


ตารางที่​่� 2 ปั​ัญหาทางการแพทย์​์ที่เ่� กี่​่ย � วข้​้องกั ับมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

8

� ผลกระทบของการเพิ่​่มขึ้​้ � น ของเซลล์​์มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา ในไขกระดู​ูก เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม, ความเสี​ียหายของไต, โลหิ​ิตจาง, ความเสี​ียหาย ของกระดู​ูก)

สาเหตุ​ุ

C – ค่า่ ของ Calcium (แคลเซี​ียม) ในเลื​ือด เพิ่​่มสู​ู � งขึ้​้�น

การปลดปล่​่อยแคลเซี​ียมออกจาก กระดู​ูกที่​่�ได้ ้รั​ับความเสี​ียหายเข้ ้าสู่​่� กระแสเลื​ือด

• ความสบสนทางจิ​ิตใจ • ภาวะการสู​ูญเสี​ียน้ำำ� � • ท้ ้องผู​ูก • เมื่​่�อยล้ ้า • อาการอ่​่อนแรง •R enal (kidney) damage (ความเสี​ียหายของไต)

R – ปัญ ั หาทางไต – ความเสี​ียหายของ ไต

M-โปรตี​ีนที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิที่​่ผ � ลิ​ิตโดยเซลล์​์ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะปลดปล่​่อยเข้ ้าสู่​่� กระแสเลื​ือดและสามารถไปสู่​่� ปั​ั สสาวะซึ่​่�งทำำ�ให้ ้เกิ​ิดโรคไต ค่​่า แคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูง การติ​ิดเชื้​้�อ และปั​ั จจั​ัยอื่​่�นๆ ยั​ังสามารถทำำ�ให้ ้เกิ​ิด หรื​ือเพิ่​่�มความรุ​ุนแรงของความเสี​ีย หายของไตได้ ้

• การไหลเวี​ียนของเลื​ือดที่​่�ช้ ้า ลง • เมื่​่�อยล้ ้า • ความสบสนทางจิ​ิตใจ

A – Anemia (ภาวะ โลหิ​ิตจาง)

การลดลงของค่​่าและกิ​ิจกรรมเซลล์​์ เม็​็ดเลื​ือดแดงที่​่�ผลิ​ิตเซลล์​์ใน ไขกระดู​ูก

• เมื่​่�อยล้ ้า • อาการอ่​่อนแรง

B – Bone Damage (ความเสี​ียหายของ กระดู​ูก) • การบางลง (โรค กระดู​ูกพรุ​ุน) หรื​ือ • พื้​้ น � ที่​่�ที่​่มี � ค ี วามเสี​ีย หายอย่​่างรุ​ุนแรง มากกว่​่า (เรี​ียกว่​่า รอยโรคที่​่�มีก ี าร สลาย), การแตกหั​ัก, หรื​ือการยุ​ุบตัวั ของ กระดู​ูกสั​ันหลั​ัง

เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะกระตุ้​้�น เซลล์​์ออสตี​ีโอคลาสต์​์ซึ่​่ง� เเป็​็ นเซลล์​์ ที่​่�ทำำ�ลายกระดู​ูกและยั​ับยั้​้ง� เซลล์​์ ออสตี​ีบลาสต์​์ซึ่​่ง� เป็​็ นเซลล์​์ที่​่โ� ดย ปกติ​ิแล้ ้วจะซ่​่อมแซมกระดู​ูกที่​่�ได้ ้รั​ับ ความเสี​ียหาย

• การปวดกระดู​ูก •ก ารแตกหั​ักหรื​ือยุ​ุบตัวั ของ กระดู​ูก • การบวมของกระดู​ูก • ความเสี​ียหายของเส้ ้น ประสาทหรื​ือไขสั​ันหลั​ัง

ชนิ​ิดเพิ่​่ม � เติ​ิมขอความ ผิ​ิดปกติ​ิของอวั ัยวะ

ผลกระทบที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น � เฉพาะที่​่�หรื​ือทั่​่�ว ทั้​้�งร่​่างกายของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมานอก เหนื​ือจากลั​ักษณะตามเกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม, ความเสี​ียหายของไต, ภาวะโลหิ​ิตจาง, ความเสี​ียหายของ กระดู​ูก)

• โรคเส้ ้นประสาท • การติ​ิดเชื้​้�อซ้ำำ�� • ปั​ั ญหาเลื​ือดออก • ปั​ัญหาที่​่�ที่​่เ� ฉพาะเจาะจงกั​ับผู้​้� ป่​่ วยแต่​่ละรายอื่​่�นๆ

การทำำ�หน้​้าที่​่ข � อง ระบบภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั ันที่​่ผิ​ิด � ปกติ​ิ

เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะลดค่​่าและ กิ​ิจกรรมของพลาสมาเซลล์​์ที่​่ป � กติ​ิ ซึ่​่�งสามารถผลิ​ิตแอนติ​ิบอดี​ีเพื่​่�อต้ ้าน กั​ับการติ​ิดเชื้​้�อได้ ้

• การมี​ีแนวโน้ ้มที่​่�จะได้ ้รั​ับการ ติ​ิดเชื้​้�อ •ก ารฟื้​้� นฟู​ูที่​่ล่ � า่ ช้ ้าจากการติ​ิด เชื้​้�อ

ผลกระทบต่​่อผู้​้ป่ � ่ วย

1.818.487.7455


ด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเพื่​่�อหารื​ือเกี่​่�ยวกั​ับกรณี​ีของคุ​ุณ จากนั้​้�นจึ​ึงทำำ�งานร่​่วมกั​ันกั​ับผู้​้� เชี่​่�ยวชาญในการดู​ูแลคุ​ุณ การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยขนาดใหญ่​่ที่​่ตี � พิ ี ม ิ พ์​์ในปี​ี 2559 แสดงให้ ้เห็​็นว่​่า อั ัตราการอยู่​่ร� อดโดยรวม (OS) มี​ีค่า่ สู​ูงสำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�รั​ับการดู​ูแลที่​่�ศูน ู ย์​์ “ปริ​ิมาณ ผู้​้�ป่​่วยสู​ูง” มากกว่​่าในการปฏิ​ิบัติ ั ท ิ างการแพทย์​์ขนาดเล็​็กกว่​่า นี่​่�คือ ื เหตุ​ุผลที่​่�เราขอ แนะนำำ �ให้ ้คุ​ุณปรึ​ึกษากั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา

ำ หรั ับการวิ​ินิ​ิจฉั ัยมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา เกณฑ์​์สำ�

“เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียหายของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของ กระดู​ูก)” เป็​็ นปั​ั ญหาทางการแพทย์​์ที่​่พ � บได้ ้บ่​่อยที่​่�สุดซึ่​่ ุ ง� มี​ีสาเหตุ​ุมาจากมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา

¡ ระดั​ับ Calcium (แคลเซี​ียม) ในเลื​ือดที่​่�สูงู ขึ้​้น � ¡ ความเสี​ียหายของไต (หรื​ือในศั​ัพท์​์ทางการแพทย์​์ว่า่ Renal damage (ความเสี​ีย หายของไต)) ¡ ค่า่ เลื​ือดต่ำำ�� (โดยเฉพาอย่​่างยิ่​่�งค่​่าเม็​็ดเลื​ือดแดง (RBC) ต่ำำ�� หรื​ือAnemia (ภาวะ โลหิ​ิตจาง)) ¡ Bone damage (ความเสี​ียหายของกระดู​ูก) เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียหายของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของ กระดู​ูก) เป็​็ นพื้​้�นฐานเดี​ียวสำำ�หรั​ับ ภาพที่​่� 2 กระดู​ูกที่​่แ � ข็​็งแรงเมื่​่�อเปรี​ียบเที​ียบกั ับ กระดุ​ุกที่​่เ� ป็​็นมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา การวิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่� แสดงอาการมาเป็​็ นเวลาหลาย กระดูกทีแ � ข็งแรง ั ญาณใดสั​ัญญาณ ปี​ี หากไม่​่มีสั ี ญ หนึ่​่�งที่​่�แสดงว่​่ามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ได้ ้ก่​่อให้ ้เกิ​ิด “ความเสี​ียหายต่​่อ อวั​ัยวะส่​่วนปลาย” ผู้​้�ป่​่วยจึ​ึงได้ ้รั​ับ การติ​ิดตามอาการโดยแพทย์​์แต่​่ ไม่​่ได้ ้รั​ับการรั​ักษา

myeloma.org

รอยโรค เซลล์มะเร็ง กระดูกสลาย ม ัยอีโลมา

© 2560 สเลย์​์บาว สตู​ูดิ​ิโอส์​์ (© 2017 Slaybaugh Studios )

+

สมาชิ​ิกของหน่​่วยงานวิ​ิจั​ัยย่​่อย ของ IMF ซึ่​่�งคื​ือ คณะทำำ�งาน ด้​้านมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาสากล (International Myeloma Working Group, IMWG) ศึ​ึกษาผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี ี SMM แต่​่ ไม่​่แสดงอาการเพื่​่�อหาตั​ัวชี้​้�บ่ง่ ทางชี​ีวภาพ ที่​่�สามารถคาดการณ์​์ ได้ ้ว่​่าความเสี​ียต่​่ออวั​ัยวะที่​่�ได้ ้รั​ับ

โรคม ัลติเพิลม ัยอีโลมา

-

ภายในไม่​่กี่​่ปี � ี ที่​่ผ่ � า่ นมา การรั​ักษา ที่​่�มีป ี ระสิ​ิทธิ​ิภาพที่​่�มากขึ้​้น � สำำ�หรั​ับ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมารวมถึ​ึงวิ​ิธีก ี ารที่​่�ดี ี ขึ้​้น � ในการประเมิ​ินโรคในระยะเริ่​่�ม แรก ได้ ้นำำ �ไปสู่​่�การเปลี่​่�ยนแปลงที่​่� สำำ�คัญ ั ในกระบวนทั​ัศน์ก ์ ารรั​ักษา

9


ภาพที่​่� 3 คำำ�นิ​ิยามของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาและมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาในระยะแรกเริ่​่ม � เกณฑ์ CRAB (ระดับแคลเซียมในเลือดสูง ความเสีย หายของไต ภาวะโลหิตจาง ความเสียหายของกระดูก)

MM

กรณีทน ี� ย ิ ามว่าเป็นมะเร็งม ัยอีโลมา (MDE)

มะเร็งม ัยอี โลมาทีแ � ส ดงอาการ ระยะแรก

 พลาสมาเซลล์ไขกระดูก ≥ 60%  อัตราส่วนของโพลีเปปไทด์สายเบาชนิดโมโนโคลน ต่อโพลีเปปไทด์สายเบาปกติ ≥100  รอยโรคเฉพาะจุดบน MRI >1

HR SMM

เกณฑ์สเปน เกณฑ์แมโย

LR SMM

MGUS

MM โรคมัลติเพิลมัยอีโลมา มะเร็งม ัยอีโลมาทีแ � สดงอาการระยะแรก สโมเดอริงมัลติ � งสูงรุนแรง เพิลมัยอีโลมาชนิดความเสีย � งสูง HR SMM สโมเดอริงมัลติเพิลมัยอีโลมาชนิดความเสีย � งตํา� LR SMM สโมเดอริงมัลติเพิลมัยอีโลมาชนิดความเสีย MGUS โมโนโคลนอลแกมโมพาธีทม ี� น ี ัยสําคัญทีร� ะบุไม่ได ้

ตารางที่​่� 3 ระบบการแบ่​่งระยะของดู​ูรี​ี-แซลมอน (DSS) ระยะ

เกณฑ์

ระยะที่​่� 1 (ก้ ้อนเซลล์​์ที่​่มี � ค่ ี า่ ในระดั​ับต่ำำ�� )

มี​ีลัก ั ษณะครบทั้​้�งหมดจากรายการดั​ังต่​่อไปนี้​้�: • ค่​่าของฮี​ีโมโกลบิ​ิน > 10 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ • ค่​่าของแคลเซี​ียมในซี​ีรั​ัมเป็​็ นปกติ​ิหรื​ือ < 10.5 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/ เดซิ​ิลิตร ิ •ก ารเอ็​็กซเรย์​์กระดู​ูก, โครงสร้ ้างกระดู​ูกปกติ​ิ (ระดั​ับ 0), หรื​ือพลาสมาไซโตมาในกระดู​ูกแบบโดดเดี่​่�ยวเท่​่านั้​้�น • อั​ัตราของการผลิ​ิต M-โปรตี​ีนที่​่�มีค่ ี า่ ต่ำำ�� โดยมี​ีค่า่ ของ IgG < 5 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ ; ค่​่าของ IgA < 3 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ •M -โปรตี​ีนชนิ​ิดโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาจากปั​ั สสวาวะใน ิ < 4 กรั​ัม/24 ชั่​่�วโมง เทคนิ​ิคอิ​ิเล็​็คโตรโฟริ​ิซิส

ระยะที่​่� 2 (ก้ ้อนเซลล์​์ที่​่มี � ค่ ี า่ ในระดั​ับปานกลาง)

10

ไม่​่ตรงตามทั้​้�งระยะที่​่� 1 และ 3

ก้อนเซลล์มะเร็งมัยอี โลมาที่ได้รับการวัดค่า (เซลล์มะเร็งมัยอีโลมา ในร่างกายทั้งหมด)

600 พั​ันล้ ้าน/เมตร2

600 ถึ​ึง 1,200 พั​ันล้ ้าน/ เมตร2

ระยะที่​่� 3 (ก้ ้อนเซลล์​์ที่​่มี � ค่ ี า่ ในระดั​ับสูงู )

มี​ีลัก ั ษณะหนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งข้ ้อจากรายการดั​ังต่​่อไปนี้​้� • ค่​่าของฮี​ีโมโกลบิ​ิน < 8.5 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ • ค่​่าของแคลเซี​ียมในซี​ีรั​ัม > 12 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ • ค่​่าของรอยโรคกระดู​ูกที่​่�มีก ี ารสลายระยะลุ​ุกลาม (ระดั​ับ 3) • อั​ัตราของการผลิ​ิต M-โปรตี​ีนที่​่�มีค่ ี า่ ต่ำำ�� โดยมี​ีค่า่ ของ IgG > 7 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ ; ค่​่าของ IgA > 5 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ •M -โปรตี​ีนชนิ​ิดโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาจากปั​ั สสวาวะ >12 กรั​ัม/24 ชั่​่�วโมง

การแบ่​่งประเภท ย่​่อย (A หรื​ือ B อย่​่างใด อย่​่างหนึ่​่�ง)

•A : การทำำ�หน้ ้าที่​่�ของไตที่​่�ปกติ​ิที่​่ใ� ช้ ้เที​ียบเคี​ียง (ค่​่าของครี​ีเอติ​ินีน ี ในซี​ีรั​ัม) <2.0 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/ เดซิ​ิลิตร ิ •B : การทำำ�หน้ ้าที่​่�ของไตที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิที่​่ใ� ช้ ้เที​ียบเคี​ียง (ค่​่าของครี​ีเอติ​ินีน ี ในซี​ีรั​ัม) >2.0 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ

>1,200 พั​ันล้ ้าน/เมตร2

1.818.487.7455


ผลกระทบสุ​ุดท้ ้ายอาจเกิ​ิดขึ้​้น � ภายใน18 เดื​ือน ถึ​ึงสองปี​ี หลั​ังจากการวิ​ิจั​ัยนี้​้�เสร็​็จ สมบู​ูรณ์แ ์ ละตี​ีพิม ิ พ์​์ IMWG ได้ ้เขี​ียนแนวทางสำำ�หรั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาขึ้​้น � ใหม่​่เพื่​่�อรวมกรณี​ีที่​่นิ � ย ิ ามว่​่าเป็​็นมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา (MDE) สามข้​้อ MDEs ดั​ังต่​่อ ไปนี้​้�บ่ง่ ชี้​้�ถึ​ึงความจำำ�เป็​็ นในการรั​ักษาโดยอิ​ิสระ: 1. การมี​ี พลาสมาเซลล์​์จำำ�นวน ≥ 60% ในไขกระดู​ูก 2. อัตร ั าส่​่วนของโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระที่​่เ� กี่​่ย � วข้​้องต่​่อโพลี​ีเปปไทด์​์สาย เบาอิ​ิสระที่​่�ไม่​่เกี่​่�ยวข้ ้อง ≥ 100 (โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาที่​่�ไม่​่เกี่​่�ยวข้ ้องคื​ือพวกที่​่� ไม่​่ได้ ้สร้ ้างจากเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา) 3. การปรากฏรอยโรคเฉพาะจุ​ุดมากกว่​่าหนึ่​่�งตำำ�แหน่​่งใน การตรวจด้​้วยเครื่​่�องสร้​้างภาพด้​้วยสนามแม่​่เหล็​็กไฟฟ้​้า (MRI) MDEs สามข้ ้อนี้​้�สามารถระบุ​ุโดยใช้ ้การทดสอบซึ่​่�งควรเป็​็ นส่​่วนหนึ่​่�งของการตรวจ ประเมิ​ินมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาของคนไข้ ้ที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ย:

¡ การตรวจเนื้​้�อเยื่​่�อไ ขกระดู​ูก ¡ การทดสอบ Freelite® (การตรวจโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระจากซี​ีรั ัม) ¡ การตรวจสแกน MRI

การแบ่​่งระยะของโรคมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

เมื่​่�อมี​ีการวิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ระยะของโรคมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะแตกต่​่างกั​ันไปใน ผู้​้�ป่​่วยแต่​่ละราย ในปี​ี 2518 ระบบการแบ่​่งระยะของดู​ูรี-ี แซลมอน (Durie-Salmon Staging System, DSS) ถู​ูกนำำ �เข้ ้ามาใช้ ้เพื่​่�อแบ่​่งประเภทผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา DSS แสดงให้ ้เห็​็น ถึ​ึงความสั​ัมพั​ันธ์​์ระหว่​่างปริ​ิมาณของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและความเสี​ียหายที่​่�เกิ​ิดจาก มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ในผู้​้�ป่​่วยบางรายที่​่�สร้ ้าง M-โปรตี​ีน จำำ�นวนมาก จำำ�นวนเซลล์​์ของ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาอาจมี​ีค่า่ ค่​่อนข้ ้างต่ำำ�� ในทางตรงกั​ันข้ ้าม ในผู้​้�ป่​่วยที่​่�มีก ี ารสร้ ้าง M-โปรตี​ีน ในระดั​ับต่ำำ�� จำำ�นวนเซลล์​์ของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาอาจมี​ีค่า่ สู​ูง ในปี​ี 2548 IMWG ได้ ้พั​ัฒนาระบบการแบ่​่งระยะสากล (International Staging System, ISS) ขึ้​้น � ซึ่​่�งอ้ ้างอิ​ิงจากปั​ั จจัย ั ในการพยากรณ์​์โรคและภาวะการอยู่​่�รอดที่​่�คาดหวั​ัง ISS จะประเมิ​ินพฤติ​ิกรรมของโรคที่​่�สามารถคาดการณ์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีก ี ารดำำ�เนิ​ินโรค อย่​่างรวดเร็​็วมากที่​่�สุด ุ ISS อ้ ้างอิ​ิงจากตั​ัวบ่​่งชี้​้�ที่​่ส � ามารถคาดการณ์​์โรคที่​่�มีก ี ารลุ​ุกลาม อย่​่างรวดเร็​็วออกเป็​็ นสี่​่�ชนิด ิ 1. เบตา-2 ไมโครโกลบู​ูลิ​ินใน ซีรัี ัม (S β2M), 2. อั ัลบู​ูมิ​ินใน ซีรัี ัม (S ALB), 3. C-รี​ีแอคที​ีฟโปรตี​ีน (CRP), และ 4. แลคเตสดี​ีไฮโดรจี​ีเนส ในซี​ีรั​ัม (LDH) ในปี​ี 2558 IMWG ได้ ้ตี​ีพิม ิ พ์​์ระบบการแบ่​่งระยะสากลฉบั​ับปรั​ับปรุ​ุง (Revised International Staging System, R-ISS) โดยการรวม ISS เข้​้ากั​ั ้� บการทดสอบสองชนิ​ิด สำำ�หรั​ับ ความผิ​ิดปกติ​ิของโครโมโซม เราขอแนะนำำ�เป็​็ นอย่​่างยิ่​่�งว่​่าการศึ​ึกษาวิ​ิจัย ั โครโมโซมทั้​้�งสองฉบั​ับนี้​้ไ� ด้ ้ใช้ ้ตั​ัวอย่​่างไขกระดู​ูกซึ่​่�งได้ ้มาในขณะที่​่�มีก ี ารวิ​ินิฉั ิ ัยเกิ​ิดขึ้​้น � :

¡ ไซโตเจเนติ​ิกส์​์ (แคริ​ิโอไทปิ​ิ ง), ์ ั (FISH) ¡ ฟลู​ูออเรสเซนส์อิ​ินซิ​ิตู​ู ไฮบริ​ิไดเซชัน myeloma.org

11


ภาพที่​่� 4 การวิ​ิเคราะห์​์คารี​ีโอไทป์​์ในโครโมโซมของมนุ​ุษย์​์

์ ั (FISH) ภาพที่​่� 5 เทคนิ​ิคฟลู​ูออเรสเซนซ์อิ​ินซิ​ิตู​ู ไฮบริ​ิไดเซชัน ในเซลล์​์มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

ภาพที่​่� 6 ความผิ​ิดปกติ​ิทางโครโมโซมใน � งสู​ูง มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดความเสี่​่ย การขาดหายไป

12

ั การสับเปลี่​่ ย � น

1.818.487.7455


การทดสอบที่​่จำ � � ำ เป็​็น

การตรวจเลื​ือดทางห้ ้องปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารสามารถประเมิ​ินโปรตี​ีนในเลื​ือด S β2M, S ALB, CRP, และ LDH ไซโตเจเนติ​ิกส์​์คือ ื การตรวจประเมิ​ินทางห้ ้องปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารในโครโมโซมในการแบ่​่งเซลล์​์ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา โดยปกติ​ิแล้ ้ว อั​ัตราการเจริ​ิญเติ​ิบโตของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะมี​ี ค่​่าต่ำำ�� มาก น้ ้อยกว่​่า 3% และบ่​่อยครั้​้�งที่​่�น้ ้อยกว่​่า 1% ของเซลล์​์มีก ี ารเพิ่​่�มจำำ�นวนอย่​่าง รวดเร็​็ว จึ​ึงทำำ�ให้ ้เกิ​ิดการตรวจประเมิ​ินที่​่�ไม่​่สมบู​ูรณ์ใ์ นการเปลี่​่�ยนแปลงของโครโมโซม ที่​่�มากไปกว่​่านั้​้�น ถ้ ้ามี​ีความผิ​ิดปกติ​ิเกิ​ิดขึ้​้น � แล้ ้ว ความผิ​ิดปกติ​ิเกิ​ิดดังั กล่​่าวจะมี​ีความ สำำ�คัญ ั เพราะจะเกิ​ิดขึ้​้น � กั​ับเซลล์​์ที่​่กำ � �ลั ำ งั การเจริ​ิญเติ​ิบโตเพี​ียงเล็​็กน้ ้อยเท่​่านั้​้�น FISH คื​ือการตรวจประเมิ​ินโครโมโซมของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาทั้​้�งหมดในตั​ัวอย่​่าง ไขกระดู​ูก การทดสอบ FISH สามารถตรวจจั​ับการปรากฏของการสั​ับเปลี่​่�ยน โครโมโซม ชิ้​้�นส่​่วนที่​่�ขาดไป ชิ้​้�นส่​่วนเกิ​ิน และการสู​ูญเสี​ียโครโมโซม FISH สามารถ ตรวจจั​ับการเปลี่​่�ยนแปลงโดยจำำ�เป็​็ นว่​่าเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมากำำ�ลังั เจริ​ิญเติ​ิบโตหรื​ือ ไม่​่ โพรบยี​ีนส์​์พิเิ ศษที่​่�เรื​ืองแสง (เปล่​่งแสง) จะถู​ูกใส่​่ในตั​ัวอย่​่างไขกระดู​ูก โพรบดั​ัง กล่​่าวจะติ​ิดตามสารพั​ันธุ​ุกรรมหลั​ังการแบ่​่งเซลล์​์และส่​่งสั​ัญญาณการปรากฏหรื​ือการ ไม่​่ปรากฏความผิ​ิดปกติ​ิของโครโมโซมที่​่�เป็​็ นที่​่�ทราบว่​่าจะเกิ​ิดขึ้​้น � ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ี ตกต่​่างกั​ัน ตั​ัวอย่​่างเช่​่น เมื่​่�อสาร โครโมโซมแต่​่ละโครโมโซมจะได้ ้รั​ับโพรบที่​่�มีสี ี แ พั​ันธุ​ุกรรมส์​์จากโครโมโซม 4 เชื่​่�อมต่​่ออย่​่างผิ​ิดพลาดกั​ับโครโมโซม 14 จากนั้​้�นจุ​ุด แต้ ้มสี​ีที่​่ต่ � า่ งกั​ันของสารพั​ันธุ​ุกรรมส์​์จากโครโมโซมดั​ังกล่​่าวจึ​ึงปรากฏร่​่วมกั​ัน ซึ่​่�งบ่​่ง ชี้​้�ถึ​ึงความผิ​ิดปกติ​ิที่​่มี � ค ี วามเสี่​่�ยงสู​ูง t(4;14) ซึ่​่�งเป็​็ นสั​ัญลั​ักษณ์​์ของ “การสั​ับเปลี่​่�ยน โครโมโซมของสารพั​ันธุ​ุกรรมส์​์ระหว่​่างโครโมโซม 4 และ 14” ความผิ​ิดปกติ​ิอื่​่น � ๆ ที่​่� ำ หรั ับมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาและ R-ISS � งสำ� ตารางที่​่� 4 ปั​ัจจั ัยเสี่​่ย ำ หรั ับการ ปั​ัจจั ัยสำ� พยากรณ์​์โรค ระยะของ ISS 1

β2-ไมโครโกลบู​ูลิน ิ ในซี​ีรั​ัม < 3.5 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/ลิ​ิตร, อั​ัลบู​ูมิน ิ ในซี​ีรั​ัม ≥ 3.5 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ

2

ไม่​่ใช่​่ระยะของ ISS ในระยะที่​่� 1 หรื​ือ 3

3

β2-ไมโครโกลบู​ูลิน ิ ในซี​ีรั​ัม ≥ 5.5 มิ​ิลลิ​ิกรั​ัม/ลิ​ิตร

� งสู​ูง CA โดย FISH ความเสี่​่ย � งมาตรฐาน ความเสี่​่ย LDH

เกณฑ์​์

มี​ีการปรากฏลั​ักษณะหนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งข้ ้อจากรายการดั​ังต่​่อไปนี้​้�: del(17p), t(4;14), t(14;16) ไม่​่มี ี CA ชนิ​ิดความเสี่​่�ยงสู​ูง

ปกติ​ิ

LDH ในซี​ีรั​ัม < ขี​ีดจำำ�กัดบ ั นของค่​่ามาตรฐาน

สู​ูง

LDH ในซี​ีรั​ัม > ขี​ีดจำำ�กัดบ ั นของค่​่ามาตรฐาน

� งสำำ�หรั ับโรคมั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา แบบจำำ�ลองใหม่​่ของการแบ่​่งชั้​้�นของระดั ับความเสี่​่ย ระยะของ R-ISS

1

ISS ในระยะที่​่� 1 และ CA ชนิ​ิดความเสี่​่�ยงมาตรฐานโดยเทคนิ​ิค FISH และ LDH ที่​่�มีค่ ี า่ ปกติ​ิ

2

ไม่​่ใช่​่ระยะของ R-ISS ในระยะที่​่� 1 หรื​ือ 3

3

ISS ในระยะที่​่� 3 และการมี​ี CA ชนิ​ิดความเสี่​่�ยงสู​ูง โดยเทคนิ​ิค FISH หรื​ือ LDH ที่​่�มีค่ ี า่ สู​ูง

CA, ความผิ​ิดปกติ​ิทางโครโมโซม; FISH, เทคนิ​ิคฟลู​ูออเรสเซนซ์​์อิน ิ ซิ​ิตูไู ฮบริ​ิไดเซชั​ัน; ISS, ระบบการแบ่​่งระยะสากล; LDH, เอนไซม์​์แลคเตตดี​ีไฮโดรจี​ีเนส; R-ISS, ระบบการแบ่​่งระยะ สากลฉบั​ับแก้ ้ไข myeloma.org

13


พิ​ิจารณาว่​่าเป็​็ นความเสี่​่�ยงสู​ูงคื​ือ t(14;16) และ t(14;20), del(17p) ซึ่​่�งเป็​็ นสั​ัญลั​ักษณ์​์ ของ “การขาดของแขนสั้​้�น (ส่​่วนบน) ของโครโมโซม 17” และ +1q ซึ่​่�งหมายถึ​ึง “การ รั​ับของแขนยาว (ส่​่วนล่​่าง) ของโครโมโซม 1” การปรากฏของโครโมโซมที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิโดยทั่​่�วไปหมายถึ​ึงการพยากรณ์​์โรคที่​่�ไม่​่ดี ี แต่​่สิ่​่ง� นี้​้�เป็​็ นเพี​ียงแนวโน้ ้วและไม่​่ใช่​่ผลลั​ัพธ์​์ที่​่ไ� ด้ ้รั​ับการรั​ับรอง โดยประมาณหนึ่​่�งในสามของ ผู้​้�ป่​่วยที่​่�มีภ ี าวะของโรคใดๆ ก็​็ตามที่​่�มีค ี วามเสี่​่�ยงสู​ูงสามารถมี​ีชีวิี ตที่​่ ิ ดี � ไี ด้ ้และมี​ีผลลั​ัพธ์​์ที่​่� ปกติ​ิด้ ้วยทางเลื​ือกของการรั​ักษาขั้​้�นพื้​้�นฐานในปั​ั จจุบั ุ น ั ได้ ้แก่​่ การรั ักษาระยะแรกแล้ ้ว ตามด้ ้วยการปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดโดยใช้ ้เซลล์​์ของตนเอง (ASCT) ภาพที่​่� 7 การตรวจเนื้​้�อเยื่​่�อไขกระดู​ูก บริเวณการผ่าต ัด เพือ � การวินจ ิ ฉ ัย

เป็​็ นการทดสอบเดี​ียวที่​่�สำำ�คัญ ั ที่​่�สุด ุ เพื่​่�อระบุ​ุทั้​้ง� การปรากฏและอั​ัตราส่​่วน ของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในไขกระดู​ูก และเพื่​่�อประเมิ​ินการพยากรณ์​์โรค ใน มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาระยะที่​่� 1 หรื​ือสำำ�หรั​ับ พลาสมาไซโตมาแบบโดดเดี่​่�ยว การ ตรวจก้ ้อนเนื้​้�องอกโดยตรงอาจเป็​็ นสิ่​่�ง จำำ�เป็​็ น วิ​ิเคราะห์​์โครโมโซมสามารถ แสดงลั​ักษณะโครโมโซมที่​่�ดีแ ี ละไม่​่ดี ี ได้ ้ แต่​่ตัวั อย่​่างไขกระดู​ูกที่​่�สดใหม่​่เป็​็ น สิ่​่�งจำำ�เป็​็ นสำำ�หรั​ับการทดสอบชนิ​ิดนี้​้�

ผิวหน ัง กระดูก

ไขกระดูก

© 2558 สเลย์​์บาว สตู​ูดิ​ิโอส์​์

การทดสอบเพื่​่�อหาเส้​้น อ้​้างอิ​ิง การตรวจเนื้​้�อเยื่​่�อ ไขกระดู​ูก:

การตรวจเลื​ือด

¡ การตรวจความสมบู​ูรณ์ข ์ องเม็​็ดเลื​ือด (CBC) ใช้ ้เพื่​่�อตรวจประเมิ​ินการปรากฏและ ความรุ​ุนแรงของภาวะโลหิ​ิตจาง ภาวะเม็​็ดเลื​ือดขาวต่ำำ�� และภาวะเกล็​็ดเลื​ือดต่ำำ�� ¡ แผงเคมี​ีถูก ู ใช้ ้เพื่​่�อตรวจประเมิ​ินการทำำ�งานของไต (ครี​ีเอที​ีนีน ี และ BUN) การ ทำำ�งานของตั​ับ อั​ัลบู​ูมิน ิ ระดั​ับแคลเซี​ียม และ LDH ำ หรั ับการพยากรณ์​์โรค ตารางที่​่� 5 ปั​ัจจั ัยสำ� การทดสอบ

14

ำ คั ัญ นั ัยสำ�

β2 ไมโครโกลบู​ูลิน ิ ในซี​ีรั​ัม (S β2M)

ยิ่​่�งมี​ีระดั ับที่​่ยิ่ � ง่� สู​ูงขึ้​้น � จะยิ่​่�งมี​ีระยะลุ​ุกลามที่​่�มากขึ้​้น �

อั​ัลบู​ูมิน ิ ในซี​ีรั​ัม (S ALB)

ยิ่​่�งมี​ีระดั ับที่​่ยิ่ � ง่� ต่ำำ� � ลง จะยิ่​่�งมี​ีระยะลุ​ุกลามที่​่�มากขึ้​้น �

C-รี​ีแอคที​ีฟโปรตี​ีน (CRP)

จะเพิ่​่�มขึ้​้น � เมื่​่�อมี​ีโรคที่​่�แสดงอาการ

เอนไซม์​์แลคเตสดี​ีไฮโดรจี​ีเนสในซี​ีรัม ั (LDH)

จะเพิ่​่�มขึ้​้น � เมื่​่�อมี​ีโรคที่​่�แสดงอาการ

โครโมโซมที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิในเทคนิ​ิคไซโตเจ เนติ​ิกส์​์อิน ิ ซิ​ิตูไู ฮบริ​ิไดเซชั​ันของไขกระดู​ูก ิ ซิ​ิตูไู ฮบริ​ิไดเซชั​ัน และฟลู​ูออเรสเซนซ์​์อิน (FISH)

การขาดหายไปหรื​ือการสั​ับเปลี่​่�ยนของโครโมโซม หลายโครโมโซมจะถื​ือว่​่ามี​ีความเสี่​่�ยงสู​ูง; อาจ � ลง สั​ัมพั​ันธ์​์กับร ั ะยะสงบของโรคที่​่�สั้​้น

1.818.487.7455


¡ โปรตี​ีนอิ​ิเลคโตรโฟรี​ีซี​ีสจากซี​ีรั ัม (SPEP)ใช้ ้ตรวจประเมิ​ินจำำ�นวนโพลี​ีเปป ไทด์​์สายหนั​ักโปรตี​ีนของมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมาและแสดงให้ ้เห็​็นการปรากฏของ M-สไปค์​์ ั ¡ อิ​ิมมู​ูโนฟิ​ิ กเซชันอิ​ิเลคโตรโฟรี​ีซี​ีส (IFE) แสดงให้ ้เห็​็นถึ​ึงชนิ​ิดของโพลี​ีเปป ไทด์​์สายหนั​ัก (G, A, D, E, และ M) และ ชนิ​ิดของโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา (แคปปา [κ], แลมบ์​์ดา [λ]) ของโปรตี​ีนมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมา albumin

้ าของจำำ�นวน ¡ การทดสอบ Freelite ใช้หาค่​่ โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระชนิ​ิดแคปปา หรื​ือแลมบ์​์ดา และอั​ัตราส่​่วนของแคปปา ต่​่อแลมบ์​์ดา เมื่​่�อไม่​่พบความผิ​ิดปกติ​ิ SPEP หรื​ือ UPEP

ภาพที่​่� 8 ผลการทดสอบของ SPEP albumin

alpha-1 alpha-2 beta-1 beta-2 gamma

ผลการทดสอบของ SPEP ที่​่เ� ป็​็นปกติ​ิ albumin beta-2

้หาค่​่าระดั​ับที่​่� ¡ การทดสอบ Hevylite® alpha-1 alpha-2 beta-1 beta-2 ใช้ gamma alpha-1 alpha-2 beta-1 gamma ปกติ​ิและผิ​ิดปกติ​ิของอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ส์​์ ที่​่�สมบู​ูรณ์​์ ผลลั ัพธ์​์ที่ผิ​ิดป ่� กติ​ิของการมี​ีเซลล์​์มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

การตรวจปั​ัสสาวะ

albumin ี (UPEP) ใช้ ้หา ยู​ูรีน ี โปรตี​ี นอิ​ิเลคโตรโฟรี​ีซีส beta-2 ค่​่าของจำำ�นวน M-โปรตี​ี นในปั​ั สสาวะ อิ​ิมมู​ูโน ฟิ​ิ กเซชั​ัน ใช้ ้แสดงชนิ​ิดของ M-โปรตี​ีน

ที่​่ผลื � ต ื M-โปรตี​ีนที่​่สร้​้า � ง M-สไปค์​์ ในโซนเบตา-2 albumin

gamma

การตรวจกระดู​ูก

การปรากฏ ความรุ​ุนแรง และตำำ �แหน่​่งของ alpha-1 alpha-2 beta-1 gamma ความเสี​ียหายของกระดู​ูกสามารถตรวจ ประเมิ​ินด้ ้วยวิ​ิธีต่ ี อ ่ ไปนี้​้�:

alpha-1 alpha-2 beta-1 beta-2

ผลลั ัพธ์​์ที่ผิ​ิดป ่� กติ​ิของการมี​ีเซลล์​์มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

ที่​่ผลื � ต ื M-โปรตี​ีนที่​่สร้​้า � ง M-สไปค์​์ ในย่​่านแกมมา ¡ เอ็​็กซเรย์​์จะแสดงโรคกระดู​ูกมะเร็​็งมั​ัย อี​ีโลมาที่​่�แสดงลั​ักษณะในผู้​้�ป่​่วยส่​่วนใหญ่​่ แต่​่เอ็​็กซเรย์​์อาจไม่​่สามารถแสดง ผลได้ ้ในจำำ�นวน 25% ของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�แสดงอาการ การสร้ ้างภาพ ั ด้ ้วย MRI แบบทั้​้�งร่​่างกาย การถ่​่ายภาพรั ังสี​ีส่​่วนตั ัดโดยอาศัยคอมพิ​ิวเตอร์​์ ั (CAT หรื​ือ CT) ขนาดระดั​ับต่ำำ�ทั้​้ � ง� ร่​่างกาย หรื​ือการใช้​้โพสิ​ิตรอนอี​ีมิ​ิสชันโท โมกราฟี​ี (PET)-CT เพิ่​่�มเติ​ิมเป็​็ นสิ่​่�งจำำ�เป็​็ นเพื่​่�อตั​ัดปั​ัญหาที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับกระดู​ูก ออก การสำำ�รวจโครงกระดู​ูกแบบเต็​็มส่​่วนสำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ันอี​ีโลมาโดยการใช้ ้ซี​ี รี​ีย์เ์ อ็​็กเรย์​์เป็​็ นสิ่​่�งที่​่�จำำ�เป็​็ นเพื่​่�อใช้ ้แสดงการสู​ูญเสี​ีย (ออสที​ีโอพอรอซิ​ิส) หรื​ือการ บางตั​ัว (ออสที​ีโอพี​ีเนี​ีย) ของกระดู​ูก ที่​่�เกิ​ิดจากการทำำ�ลายกระดู​ูกของมะเร็​็งมั​ัน อี​ีโลมา รอยโรคที่​่�มีก ี ารสลาย หรื​ือการแตกหั​ักหรื​ือยุ​ุบตัวั ของกระดู​ูกใดๆ

¡ MRI สามารถแสดงให้ ้เห็​็นถึ​ึงการปรากฏและการแพร่​่กระจายของโรคใน ไขกระดู​ูกเมื่​่�อเอ็​็กซเรย์​์ไม่​่สามารถแสดงถึ​ึงความเสี​ียหายของกระดู​ูกได้ ้ MRI จะแสดงให้ ้เห็​็นถึ​ึงพื้​้�นที่​่�เฉพาะเจาะจง เช่​่น กระดู​ูกสั​ันหลั​ังและสมอง MRI myeloma.org

15


สามารถแสดงให้ ้เห็​็นถึ​ึงโรคที่​่�เกิ​ิดนอกไขกระดู​ูก ที่​่�อาจเส้ ้นประสาทและ/หรื​ือ ไขสั​ันหลั​ัง

¡ การตรวจสแกนด้ ้วย CT จะสร้ ้างภาพสามมิ​ิติข ิ องโครงสร้ ้างภาพในร่​่างกาย ใน มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา การตรวจสแกน CT จะถู​ูกใช้ ้เมื่​่�อเอ็​็กซเรย์​์แสดงผลลบหรื​ือ เพื่​่�อสร้ ้างภาพในบริ​ิเวณเฉพาะเจาะจงที่​่�ต้ ้องการรายละเอี​ียดมากขึ้​้น � การตรวจ สแกน CT มี​ีประโยชน์​์อย่​่างยิ่​่�งในการใช้ ้ตรวจจั​ับหรื​ือการประเมิ​ินที่​่�ต้ ้องการราย ละเอี​ียดของบริ​ิเวณที่​่�มีข ี นาดเล็​็กของความเสี​ียหายของกระดู​ูกหรื​ือการกดทั​ับ เส้ ้นประสาท ¡ การตรวจสแกน PET เป็​็ นเป็​็ นเทคนิ​ิคการสแกนทั้​้�งร่​่างกายที่​่�มีค ี วามไวมากกว่​่า มาก การใช้ ้ฟลู​ูออโรดี​ีออกซี​ีกลู​ูโคส (FDG)-PET หรื​ือ PET-CT มี​ีประ โยชน์​์สำำ�หรั​ับการตรวจติ​ิดตามมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งสำำ�หรั​ับ มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดไม่​่หลั่​่�งสาร CT ถู​ูกใช้ ้เพื่​่�อตรวจประเมิ​ินพื้​้�นที่​่�ของโรคที่​่�มี ี ผลจากการตรวจ PET เป็​็ นบวก ¡ การตรวจความหนาแน่​่นของกระดู​ูกเป็​็ นประโยชน์​์ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเพื่​่�อ ประเมิ​ินความรุ​ุนแรงของการสู​ูญเสี​ียกระดู​ูกแบบกพร่​่กระจายและเพื่​่�อวั​ัดการ พั​ัฒนาแบบต่​่อเนื่​่�องของการบำำ�บั​ัดโดยใช้ ้บิ​ิสฟอสโฟเนต ¡ การตรวจสแกนเวชศาสตร์​์นิวิ เคลี​ียร์​์ไม่​่มีป ี ระโยชน์​์ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและไม่​่ควร ทำำ�นอกจากจะใช้ ้เพื่​่�อตั​ัดโรคชนิ​ิดอื่​่น � ออก สำำ�หรั​ับข้ ้อมู​ูลเพื่​่�มเติ​ิมเกี่​่�ยวกั​ับการตรวจที่​่�ใช้ ้ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา โปรดอ่​่านสิ่​่�งตี​ีพิม ิ พ์​์ ของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับผลการตรวจของคุ​ุณ (Understanding Your Test Results)

ปั​ัญหาเร่​่งด่​่วนในการวิ​ินิ​ิจฉั ัยที่​่เ� ป็​็นไปได้​้

ั เพราะการที่​่�กระดู​ูกสันหลั ังได้ ้รั​ับผลกระทบจากมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาบ่​่อยครั้​้�ง และการ ที่​่�ไขสั​ันหลั​ังวางตั​ัวตลอดแนวของกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง การแตกหั​ักของกระดู​ูกสั​ันหลั​ังที่​่� สร้ ้างความเจ็​็บปวดที่​่�ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดการกดทั​ับเส้ ้นประสาทจึ​ึงไม่​่ใช่​่สิ่​่ง� ที่​่�ไม่​่ปกติ​ิ การสู​ูญ เสี​ียเส้ ้นประสาทสั่​่�งการทำำ�ให้ ้เกิ​ิดอัม ั พาต เนื้​้�องอกมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เจริ​ิญเติ​ิบโต ในกระดู​ูกสั​ันหลั​ังสามารถกดทั​ับเส้ ้นประสาทไขสั​ันหลั​ัง การสลายของแคลเซี​ียม ในกระดู​ูกอาจส่​่งผลให้ ้เกิ​ิดภาวะแคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูงกว่​่าปกติ​ิ ซึ่​่�งหมายถึ​ึง ระดั​ับแคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูง ทั้​้�งการที่​่�มีภ ี าวะแคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูงกว่​่าปกติ​ิและระดั​ับ M-โปรตี​ีน ในเลื​ือดสู​ูง อาจส่​่งผลกระทบต่​่อไตอย่​่างรุ​ุนแรง ซึ่​่�งทำำ�ให้ ้เกิ​ิดภาวะไต วาย การแตกหั​ักของกระดู​ูกสั​ันหลั​ังแบบกดทั​ับ ความเสี​ียหายต่​่อเส้ ้นประสาทของ ไขสั​ันหลั​ัง การติ​ิดเชื้​้�อ และภาวะไตวาย เป็​็ นปั​ั ญหาทางการแพทย์​์แบบเร่​่งด่​่วนที่​่� ต้ ้องได้ ้รั​ับความสนใจก่​่อนที่​่�มีก ี ารเริ่​่�มต้ ้นการใช้ ้ยาเคมี​ีบำำ�บั​ัดสำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา เราสนั​ับสนุ​ุยให้ ้คุ​ุณปรึ​ึกษากั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในทั​ันที​ีเพื่​่�อให้ ้ แน่​่ใจว่​่าการรั​ักษาปั​ั ญหาเร่​่งด่​่วนจะช่​่วยให้ ้มี​ีทางเลื​ือกสำำ�หรั​ับการบำำ�บั​ัดในอนาคต ตั​ัวอย่​่างเช่​่น การฉายรั ังสี​ีเพื่​่�อลดขนาดพลาสมาไซโตมาที่​่�ไปกดทั​ับเนื้​้�อเยื่​่�อเส้ ้น ิ ใจอย่​่างระมั​ัดระวั​ังกั​ับทางเลื​ือกโดยใช้ ้ ประสาทต้ ้องได้ ้รั​ับการชั่​่�งน้ำำ� �หนั​ักเพื่​่�อตั​ัดสิน การผ่​่าตั​ัด เพราะการฉายรั​ังสี​ีอาจทำำ�อัน ั ตรายต่​่อไขกระดู​ูกและจำำ�กัด ั ทางเลื​ือกการ รั​ักษาในภายหลั​ัง 16

1.818.487.7455


ชนิ​ิดของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา

มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมามี​ีชนิด ิ และชนิ​ิดย่อ ่ ยที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ซึ่​่�งอ้ ้างอิ​ิงจากชนิ​ิดของโปรตี​ี นอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ที่​่�สร้ ้างโดยเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ชนิ​ิดโพลี​ีเปป ไทด์​์สายหนั​ักปกติ​ิทั้​้ง� ห้ ้าชนิ​ิดซึ่​่ง� ทำำ�หน้ ้าที่​่�ต่า่ งกั​ันในร่​่างกาย ได้ ้แก่​่ IgG, IgA, IgD, IgE, และ IgM เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาของผู้​้�ป่​่วยแต่​่ละรายจะสร้ ้างอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ เพี​ียงหนึ่​่�งชนิ​ิดจากทั้​้�งหมดห้ ้าชนิ​ิดดังั กล่​่าว อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ แต่​่ละชนิ​ิดสร้ ้างจากโพลี​ีเปปไทด์​์สายหนั​ักสองสายที่​่�จั​ับกับ ั โพลี​ีเปป ไทด์​์สายเบาสองสาย โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบามี​ีสองชนิ​ิด ได้ ้แก่​่ แคปปา (κ) และแลมบ์​์ ี ดา (λ) การแบ่​่งชนิ​ิดของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะใช้ ้วิ​ิธีอิ ี ม ิ มู​ูโนฟิ​ิ กเซชั​ันอิ​ิเลคโตรโฟรี​ีซีส (IFE) ประมาณ 65% ของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะมี​ีมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgG ที่​่�เป็​็ นโพลี​ี เปปไทด์​์สายเบาชนิ​ิดแคปปาหรื​ือแลมบ์​์ดาอย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�ง ชนิ​ิดที่​่พ � บได้ ้บ่​่อยที่​่�สุด ุ ลำำ�ดับที่​่ ั ส � องคื​ือมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgA ที่​่�เป็​็ นโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาชนิ​ิดแคปปา หรื​ือแลมบ์​์ดาอย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�งเช่​่นกั​ัน มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgD, IgE, และ IgM จะ ค่​่อนข้ ้างพบได้ ้ยาก ประมาณหนึ่​่�งในสามของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะสร้ ้างโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระ เพิ่​่�มจากการรวมโมเลกุ​ุลแบบสมบู​ูรณ์ข ์ องโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาที่​่�จั​ับกับ ั โพลี​ีเปปไทด์​์ สายหนั​ัก ในประมาณ 15%–20% ของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา จะสร้ ้างเพี​ียงโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาเท่​่านั้​้�นและไม่​่มีก ี ารสร้ ้างโพลี​ีเปปไทด์​์สายหนั​ัก นี่​่� ั ชาติ​ิอังั กฤษซึ่​่�ง คื​ือมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาเบนซ์-์ โจนส์ ์ ซึ่​่�งได้ ้รั​ับการตั้​้�งชื่​่�อตามแพทย์​์สัญ เป็​็ นผู้​้�ที่​่�ตรวจพบและระบุ​ุโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาได้ ้เป็​็ นคนแรกและตี​ีพิม ิ พ์​์ผลงานการ ค้ ้นพบในปี​ี 2391 โปรตี​ีนโมโนโคลนชนิ​ิดโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาจะมี​ีขนาดที่​่�เล็​็กกว่​่า และน้ำำ� �หนั​ักน้ ้อยกว่​่าโพลี​ีเปปไทด์​์สายหนั​ัก จึ​ึงทำำ�ให้ ้สามารถลอดผ่​่านหลอดเลื​ือด ฝอยขนาดเล็​็กที่​่�ส่ง่ เลื​ือดไปยั​ังไตได้ ้ โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาที่​่�ถูก ู ลำำ�เลี​ียงโดยเลื​ือดไป ยั​ังไตอาจรวมตั​ัวอุ​ุดกั้​้น � หลอดไตฝอยได้ ้ จึ​ึงส่​่งผลให้ ้การทำำ�งานของไตลดลง ในกรณี​ีตัวั อย่​่างที่​่�พบได้ ้ยาก มี​ีเพี​ียงประมาณ1%–2% ของผู้​้�ป่​่วยเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมาจะสร้ ้างโปรตี​ีนโมโนโคลนจำำ�นวนเล็​็กน้ ้อยมากหรื​ือไม่​่สร้ ้างชนิ​ิดใดเลย ในกรณี​ี นี้​้�เรี​ียกว่​่ามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดที่​่ไ� ม่​่หลั่​่�งสาร การทดสอบ Freelite สามารถตรวจจั​ับโพ ลี​ีเปปไทด์​์สายเบาจำำ�นวนเล็​็กน้ ้อยในเลื​ือดของ 70% ของผู้​้�ป่​่วยที่​่�มีชนิ ี ดที่​่ ิ มี � ก ี ารหลั่​่�ง สารน้ ้อยมาก ในปี​ี 2558 คลิ​ินิก ิ แมโยได้ ้ตี​ีพิม ิ พ์​์การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยในผู้​้�ป่​่วยจำำ�นวน 124 ราย ที่​่�มีม ี ะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดไม่​่หลั่​่�งสาร จึ​ึงทำำ�ให้ ้สรุ​ุปได้ ้ว่​่าภาวะการอยู่​่�รอดของผู้​้� ป่​่ วยที่​่�มีม ี ะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดไม่​่หลั่​่�งสารมี​ีค่า่ มากกว่​่าผู้​้�ป่​่วยที่​่�มีชนิ ี ด ิ การหลั่​่�งสาร ภาพที่​่� 9 โครงสร้​้างของอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิ​ิน

IgG, IgE, IgD

myeloma.org

IgA IgM

17


ตารางที่​่� 6 ชนิ​ิดของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาและโรคที่​่เ� กี่​่ย � วข้​้อง

18

ชนิ​ิดของโรค

คำำ�อธิ​ิบาย

มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา: IgG κ หรื​ือ λ IgA κ หรื​ือ λ ชนิ​ิดย่​่อยที่​่พ � บได้​้ยากกว่​่า IgD, E, หรื​ือ M

• มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดทั่​่�วไป – ส่​่วนใหญ่​่ของผู้​้�ป่​่วย ตรวจติ​ิดตามโดยการติ​ิดตามโปรตี​ีนโมโนโคลนในซี​ีรั​ัมโดยใช้ ้ เทคนิ​ิค SPEP (IgG) และ/หรื​ือการวั​ัดข้ ้อมู​ูลเชิ​ิงปริ​ิมาณของอิ​ิมมู​ูโน โกลบู​ูลิน ิ (QIG) (IgA/IgD/IgE) สำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgA, บ่​่อยครั้​้�งที่​่�การวั​ัด QIG จะมี​ีความน่​่าเชื่​่�อถื​ือที่​่�มากกว่​่า

เฉพาะโพลี​ีเปปไทด์​์สาย เบาหรื​ือมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา เบนซ์-์ โจนส์ ์ ชนิ​ิด κ หรื​ือ λ

• มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาเบนซ์-์ โจนส์ ์ – โดยประมาณ 15%–20% ของผู้​้� ป่​่ วย ตรวจติ​ิดตามโดยการติ​ิดตามโปรตี​ีนโมโนโคลนในซี​ีรั​ัมโดยใช้ ้ เทคนิ​ิค UPEP และ/หรื​ือการวั​ัดค่า่ โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระจาก ซี​ีรั​ัม (Freelite) ในซี​ีรั​ัม

มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดที่​่ไ� ม่​่ หลั่​่�งสาร: ชนิ​ิด κ หรื​ือ λ

• มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดที่​่พ � บได้​้น้​้อยกว่​่า – 1%–2% ของผู้​้�ป่​่วย ตรวจติ​ิดตามโดยการใช้ ้การทดสอบโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระ จากซี​ีรั​ัม (Freelite) หรื​ือการตรวจเนื้​้�อเยื่​่�อไขกระดู​ูกและ/หรื​ือการ ตรวจสแกน PET-CT

มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgM: ชนิ​ิดย่อ ่ ย κ หรื​ือ λ

• มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgM – ชนิ​ิดย่อ ่ ยที่​่�พบได้ ้ยาก โดยทั่​่�วไปแล้ ้ว การผลิ​ิต IgM จะเกิ​ิดขึ้​้น � ในวาลเดนสตรอมมาโคร โกลบุ​ุลินี ิ เี มี​ีย ซึ่​่�งเป็​็ นโรคที่​่�มีค ี วามคล้ ้ายกั​ับมะเร็​็งต่​่อมน้ำำ� �เหลื​ือง มากกว่​่ามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาซึ่​่�งเป็​็ นมะเร็​็งไขกระดู​ูก

อะไมลอยด์​์โดสิ​ิส: AL หรื​ือ อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ชนิ​ิดโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา ชนิ​ิดย่อ ่ ย κ หรื​ือ λ

• อะไมลอยด์​์โดสิ​ิส โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาจะสะสมในรู​ูปแบบเส้ ้นตรง (แผ่​่นพลี​ีท β) ใน เนื้​้�อเยื่​่�อมากกว่​่าการถู​ูกทำำ�ให้ ้สลายตั​ัวและ/หรื​ือขั​ับออกใน ปั​ั สสาวะ มี​ีอะไมลอยด์​์โดสิ​ิสหลากหลายชนิ​ิดจำำ�นวนมากที่​่� เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับการสะสมของโปรตี​ีนชนิ​ิดที่​่แ � ตกต่​่างกั​ัน ตั​ัวอย่​่างเช่​่น โรคอั​ัลไซเมอร์​์ เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับการสะสมโปรตี​ีนในสมอง ั ันธ์​์กั ับมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา • อะไมลอยด์​์ที่สั ่� มพั โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอาจสะสมในเนื้​้�อเยื่​่�อมากมาย ได้ ้แก่​่ ผิ​ิวหนั​ัง ลิ้​้�น หั​ัวใจ ไต เส้ ้นประสาท ปอด ตั​ับ และลำำ�ไส้ ้ การย้ ้อมสี​ีเนื้​้�อเยื่​่�อ จะให้ ้ผลบวกเมื่​่�อมี​ีการทดสอบสี​ีย้ ้อมสี​ีคองโกเรด ซึ่​่�งจะใช้ ้ในการ วิ​ินิจฉั ิ ั ยได้ ้ การทดสอบที่​่�มีรี ายละเอี​ียดมากกว่​่าโดยการใช้ ้แมส สเปคโตรสโคปี​ี และ/หรื​ือกล้ ้องจุ​ุลทรรศน์​์อิเิ ล็​็กตรอนแบบส่​่อง ผ่​่านอาจเหมาะสมและจำำ�เป็​็ น

โรคสะสมโพลี​ีเปปไทด์​์สาย เบา (LCDD): ชนิ​ิดย่อ ่ ย κ หรื​ือ λ

• LCDD โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาจะถู​ูกสะสมในรู​ูปแบบที่​่�มีก ี ารเชื่​่�อมโยงกั​ัน แบบยุ่​่�งเหยิ​ิง การย้ ้อมสี​ีเนื้​้�อเยื่​่�อจะให้ ้ผลบวกเมื่​่�อใช้ ้วิ​ิธีอิ ี ม ิ มู​ูโน สเตนนิ่​่�ง κ หรื​ือ λ แบบตรง โดยปกติ​ิแล้ ้วการย้ ้อมสี​ีคองโกเรดจะ ให้ ้ผลลบ มี​ีการสะสมในเนื้​้�อเยื่​่�อในรู​ูปแบบที่​่�แตกต่​่างกั​ันซึ่​่�งบ่​่อย ่ งท้ ้อง ครั้​้�งจะเกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับไต เยื่​่�อหุ้​้�มปอด (pleura) หรื​ือเยื่​่�อบุ​ุช่อ (รอบๆ ลำำ�ไส้ ้) หรื​ือภายในตา

กลุ่​่ม � อาการ POEMS: โดยปกติ​ิแล้ ้วเป็​็ นชนิ​ิด IgG หรื​ือ IgA λ (ไม่​่ค่อ ่ บพบชนิ​ิด ย่​่อย κ)

• กลุ่​่ม � อาการ POEMS เป็​็ นความผิ​ิดปกติ​ิที่​่มี � ค ี วามซั​ับซ้ ้อนที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับความผิ​ิดปกติ​ิ ของเส้ ้นประสาทส่​่วนปลายทั้​้�งร่​่างกาย อวั​ัยวะโตผิ​ิดปกติ​ิ ความ ผิ​ิดปกติ​ิของระบบต่​่อมไร้ ้ท่​่อ การสู​ูงขึ้​้น � ผิ​ิดปกติ​ิของแกมม่​่าโกลบู​ู ลิ​ินโคลนเดี่​่�ยว และการเปลี่​่�ยนแปลงของผิ​ิวหนั​ัง จะได้ ้รั​ับการ วิ​ินิจฉั ิ ั ยและการรั​ักษาที่​่�แตกต่​่างจากมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา

1.818.487.7455


ำ คั ัญของการรู้​้�ชนิ​ิดมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาของคุ​ุณ ความสำ�

การรู้​้�ชนิ​ิดมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมาจะช่​่ว ยให้ ้คุ​ุณ เข้ ้าใจและติ​ิดต ามผลการตรวจใน ระหว่​่างการรั​ั กษาได้ ้ การทดสอบ Freelite ร่​่วมกั​ับ SPEP จะใช้ ้เพื่​่�อ ตรวจติ​ิดตาม ระดั​ับของ M-โปรตี​ีนชนิ​ิด โพลี​ีเ ปปไทด์​์สายเบาและโพลี​ีเ ปปไทด์​์ส ายหนั​ั ก ที่​่� สร้ ้างจากเซลล์​์ม ะเร็​็ งมั​ัย อี​ีโ ลมา การวั​ัด ผลิ​ิต ผลของเซลล์​์ม ะเร็​็ ง มั​ัยอี​ีโ ลมาเป็​็ น วิ​ิธีโี ดยอ้ ้อมแต่​่มี ป ี ระสิ​ิท ธิ​ิผ ลในการตรวจประเมิ​ินจำำ � นวนและการเคลื่​่�อ นไหว ของมะเร็​็ ง วิ​ิธีเี ดี​ียวที่​่�จะสั​ัง เกตเซลล์​์มะเร็​็ ง มั​ัย อี​ีโ ลมาโดยตรงคื​ือ การตรวจชิ้​้�น เนื้​้�อเยื่​่�อ ไขกระดู​ูก การตรวจเพื่​่�อติ​ิดตามระดั​ับ M-โปรตี​ีนของคุ​ุณและการตรวจอื่​่�นๆ จะเกิ​ิดขึ้​้น � อย่​่างสม่ำำ�� เสสมอเพื่​่�อประเมิ​ินการรั​ับต่อ ่ การรั​ักษาและติ​ิดตามสถานะระหว่​่างช่​่วงระยะสงบของ โรค เราขอแนะนำำ �ให้ ้คุ​ุณเก็​็บรั​ักษาบั​ันทึ​ึกการตรวจและทำำ�ความคุ้​้�นเคยกั​ับการตรวจ ที่​่�ใช้ ้ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา อี​ีกเช่​่นเคย เราขอแนะนำำ �ให้ ้คุ​ุณอ่​่านสิ่​่�งตี​ีพิม ิ พ์​์ของ IMF การ ทำำ�ความเข้​้าใจกั ับผลการตรวจของคุ​ุณ (Understanding Your Test Results)

อาการของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดต่​่างๆ

¡ มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgG เป็​็ นชนิ​ิดที่​่พ � บได้ ้บ่​่อยที่​่�สุด ุ และมี​ีอาการสอดคล้ ้อง กั​ับลัก ั ษณะปกติ​ิของ CRAB ¡ มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgA อาจแสดงในลั​ักษณะของเนื้​้�องอกภายนอกกระดู​ูก ¡ มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgD อาจเกิ​ิดร่ว่ มกั​ับลูคิ ู เิ มี​ียในพลาสมาเซลล์​์ (PCL) ซึ่​่�ง แสดงลั​ักษณะของการมี​ีเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาหมุ​ุนเวี​ียนอยู่​่�ในเลื​ือด มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิด IgD จะทำำ�ให้ ้เกิ​ิดความเสี​ียหายต่​่อไต ¡ มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา เป็​็ นชนิ​ิดที่​่มี � แ ี นวโน้ ้มที่​่�จะทำำ�ให้ ้ เกิ​ิดความเสี​ียหายต่​่อไต และ/หรื​ือ ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดการสะสมของโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา ในไต และ/หรื​ือ เส้ ้นประสาทหรื​ืออวั​ัยวะอื่​่�นๆ เมื่​่�ออ้ ้างอิ​ิงจากลั​ักษณะการสะสม ของโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา กรณี​ีนี้​้เ� รี​ียกว่​่าอะไมลอยด์​์โดสิ​ิสชนิ​ิดอะไมลอยด์​์ โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา (AL amyloidosis) หรื​ือโรคสะสมโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา (LCDD) โรคอื่​่�นๆ ที่​่�เ กี่​่�ยวข้ ้องกั​ับ พลาสมาเซลล์​์ได้ ้แก่​่ วาลเดนตรอม แมโครโกลบู​ูลิ​ิ นี​ีเมี​ีย (WM) ซึ่​่�งมี​ีความเกี่​่�ย วข้ ้องกั​ับ IgM และโรค POEMS ซึ่​่�ง เป็​็ นโรคที่​่�พ บ ได้ ้ยากที่​่�สั​ัม พั​ั นธ์​์กั​ับความผิ​ิด ปกติ​ิข องเส้ ้นประสาท การที่​่�อ วั​ัยวะขยายใหญ่​่ ขึ้​้น � ความผิ​ิดปกติ​ิของต่​่อ มไร้ ้ท่​่อ โปรตี​ีนโมโนโคลน และการเปลี่​่�ยนแปลงของ ผิ​ิวหนั​ั ง

ผลกระทบของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาในไขกระดู​ูก

เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะปล่​่อยโปรตี​ีนและสารเคมี​ีอื่​่น � ๆ จำำ�นวนมากเข้ ้าไปใน สิ่​่�งแวดล้ ้อมระดั​ับจุล ุ ภาคของไขกระดู​ูกในบริ​ิเวณนั้​้�น และเข้ ้าไปในกระแสเลื​ือด โดยตรง เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดทั้​้�งหมด–เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาว เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดง และ เกล็​็ดเลื​ือด– ถู​ูกสร้ ้างในไขกระดู​ูก เมื่​่�อเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเจริ​ิญเติ​ิบโตใน ไขกระดู​ูกจะส่​่งผลกระทบให้ ้เกิ​ิดการลดการสร้ ้างเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือด ภาวะโลหิ​ิตจางซึ่​่�ง เป็​็ นภาวะที่​่�มีรี ะดั​ับของเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือแดงหรื​ือฮี​ีโมโกลบิ​ินต่ำำ�� เป็​็ นสั​ัญญาณแรกเริ่​่�ม และพบได้ ้บ่​่อยในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา myeloma.org

19


ผลกระทบของมะเร็​็งมั ัยอี​ี โลมานอกไขกระดู​ูก

ภาพที่​่� 10 กายวิ​ิภาควิ​ิทยาของการสร้​้าง กระดู​ูก ไขกระดูก กระดูกชนิ เหลือง ดเนื อแน่น

กระดูกเนื อ ฟองนํา ที บรรจุไข กระดูกแดง

ออสตีโอคลาสท์ (สลายกระดูก)

ในขณะที่​่�เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาสร้ ้าง ออสติโอไซต์ และสะสมขึ้​้น � ในไขกระดู​ูก M-โปรตี​ีน ออสติโอบลาสต์ จะถู​ูกปล่​่อยเข้ ้าไปเลื​ือดที่​่�หมุ​ุนเวี​ียน (สร้างกระดูกใหม่) M-โปรตี​ีน สามารถให้ ้ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดความ เสี​ียหายต่​่อเนื้​้�อเยื่​่�อในบริ​ิเวณที่​่�ไกลออก ไปได้ ้ ตั​ัวอย่​่าง ความเสี​ียหายของไตเป็​็ นสิ่​่�งที่​่�ค่อ ่ นข้ ้างพบได้ ้ทั่​่�วไป M-โปรตี​ีน อาจ เข้ ้าไปรบกวนการแข็​็งตั​ัวของเลื​ือดและ/หรื​ือการไหลเวี​ียนของเลื​ือดได้ ้ ซึ่​่�งอาจ ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดความเสี​ียหายของอวั​ัยวะและเนื้​้�อเยื่​่�ออื่​่�นๆ เช่​่น ความเสี​ียหายต่​่อเส้ ้น ประสาท (ภาวะปลายประสาท อั ักเสบ, PN)

© 2560 สเลย์​์บาว สตู​ูดิ​ิโอส์​์

เซลล์​์ในไขกระดู​ูกที่​่�แข็​็งแรงจะรั​ักษา โครงกระดู​ูกให้ ้อยู่​่�ในกระบวนการสลาย กระดู​ูกและการสะสมกระดู​ูกที่​่�สมดุ​ุล และเป็​็ นไปตามพลศาสตร์​์ การปรากฏ ของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในไขกระดู​ูก กระตุ้​้�นให้ ้เกิ​ิดเซลล์​์ที่​่ส � ลายกระดู​ูก (ออสตี​ีโอคลาสท์​์) และกดเซลล์​์ที่​่� สร้ ้างกระดู​ูกใหม่​่ (ออสตี​ีโอบลาสท์​์) สิ่​่�งนี้​้�ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดการรบกวนความสมดุ​ุล จึ​ึงส่​่งผลให้ ้เกิ​ิดการปวดกระดู​ูก การ แตกหั​ัก และการปล่​่อยแคลเซี​ียมเข้ ้าสู่​่� เลื​ือด

ำ หรั ับมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาที่​่เ� พิ่​่ง� ได้​้รั ับการวิ​ินิ​ิจฉั ัย การรั ักษาสำ�

การรั​ักษาอย่​่างทั​ันท่​่วงที​ีและมี​ีประสิ​ิทธิ​ิผลเป็​็ นสิ่​่�งจำำ�เป็​็ นสำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ี ่� งสู​ูง โลมา โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งผู้​้�ที่​่�มีลั ี ก ั ษณะของมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดความเสี่ย การทดสอบหาเส้ ้นอ้ ้างอิ​ิง การแบ่​่งระยะ และการจำำ�แนกประเภทของการพยากรณ์​์ ิ ใจแรกเริ่​่�มที่​่�สำำ�คัญ โรคเป็​็ นสิ่​่�งที่​่�จำำ�เป็​็ น การตั​ัดสิน ั ที่​่�สุดคื ุ อ ื ตอนที่​่�เริ่​่�มการรั​ักษามะเร็​็ง มั​ัยอี​ีโลมาของคุ​ุณ

การรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะควบคุ​ุมการสลายกระดู​ูกและการเจริ​ิญเติ​ิบโตของเนื้​้�อ งอก รวมถึ​ึงผลกระทบที่​่�หลากหลายที่​่�เกิ​ิดจาก M-โปรตี​ีนและไซโตไคน์​์ที่​่มั � น ั กระตุ้​้�น การรั​ักษาแนะนำำ �สำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�แสดงอาการและภาวะ SMM ที่​่�มี ี MDEs ที่​่� แสดงอาการ ความเร่​่งด่​่วนของการรั​ักษาขึ้​้น � อยู่​่�กั​ับปั​ัญหาที่​่�แน่​่นอนที่​่�ผู้​้�ป่​่วยแต่​่ละราย พบเจอ นี่​่�คือ ื เหตุ​ุผลที่​่�ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีป ี ระสบการณ์​์และมี​ีความ ชำำ�นาญเป็​็ นสิ่​่�งที่​่�สำำ�คัญ ั การทดลองทางคลิ​ินิก ิ ที่​่�สำำ�คัญ ั จำำ�นวนมากในช่​่วงไม่​่กี่​่ปี � ี ที่​่ผ่ � า่ นมาแสดงให้ ้เห็​็นถึ​ึง ความก้ ้าวหน้ ้าที่​่�สำำ�คัญ ั ในการรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ย และ ขยายทางเลื​ือกที่​่�เหมาะกั​ับผู้​้�ป่​่วยได้ ้จำำ�นวนมาก สิ่ง่� ตี​ีพิ​ิมพ์​์ชุ​ุดการทำำ�ความเข้​้าใจ (Understanding-series publications)กั​ับสิ่​่ง� ที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับยาโดยเฉพาะ สามารถอ่​่าน ได้ ้จาก IMF โดยไม่​่มีค่ ี า่ ใช้ ้จ่​่าย ซึ่​่�งอภิ​ิปรายเกี่​่�ยวกั​ับยาที่​่�ใช้ ้ในการรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมาในรายละเอี​ียดที่​่�มากขึ้​้น � 20

1.818.487.7455


ำ หรั ับ SMM หรื​ือมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาที่​่เ� พิ่​่ง� ได้​้รั ับการ ภาพที่​่� 11 เมื่​่�อไรที่​่จ � ะเริ่​่ม � การรั ักษาสำ� วิ​ินิ​ิจฉั ัย SMM ทีเ� พิง� ได้ร ับการวินจ ิ ฉ ัยทีม � ศ ี ักยภาพพ ัฒนา ได้หรือมะเร็งม ัยอีโลมา มะเร็งม ัยอีโลมา (มี MDE ) • มีล ักษณะเฉพาะของ CRAB จํานวนหนุงึ� ข้อหรือมากกว่า • พลาสมาเซลล์ ≥ 60% • อ ัตราส่วนของ FLC ≥ 100 • MRI พบรอยโรคเฉพาะจุด > 1 รอยโรค

SMM (ไม่ม ี MDE )

� งปานกลาง ความเสีย หรือ SMM ชนิดความ � งตํา เสีย �

การส ังเกต

SMM ชนิดความ � งสูง เสีย

การทดลองทาง คลินก ิ

การบําบ ัดในระยะแรก ด้วย Revlimid หรือ Rd เป็นเวลา 2 ปี

ร ักษาแบบเดียวก ับ มะเร็งม ัยอีโลมา ©2565, ราชกุ​ุมาร SV

©2022, SV Rajkumar

ำ หรั ับผู้​้ป่ ภาพที่​่� 12 ขั้​้�นตอนวิ​ิธี​ีการรั ักษาในระยะแรกสำ� � ่ วยที่​่สามารถ � ทำำ� ASCT ได้​้ � ง มะเร็งม ัยอีโลมาชนิดความเสีย มาตรฐาน

มะเร็งม ัยอีโลมาชนิด � งสูง ความเสีย

VRd หรือ DRd เป็นเวลา 3-4 รอบ

ให้ D-VRd เป็นเวลา 3-4 รอบ

ASCT ในระยะแรก

การเก็บสเต็มเซลล์และ การแช่แข็ง

การร ักษาระด ับด้วย Revlimid

การใช้ VRd เป็นการร ักษาหล ักอย่า� ง แรก ให้ VRd ต่อเนือ � งเป็นเวลา 6 รอบ จาก นนให้ ั� การร ักษาระด ับด้วย Revlimid หรือ การใช้ DRd เป็นการร ักษาหล ักอย่า� ง แรก : ให้ DRd ต่อเนือ � ง และทํา ASCT ใน ระยะหล ังในช่วงอาการทรุด

ASCT ในระยะแรก

การร ักษาระด ับด้วย VR

©2565, ราชกุ​ุมาร SV

©2022, SV Rajkumar

ำ หรั ับผู้​้ป่ ภาพที่​่� 13 ขั้​้�นตอนวิ​ิธี​ีการรั ักษาในระยะแรกสำ� � ่ วยที่​่ไ� ม่​่สามารถทำำ� ASCT ได้​้ � ง มะเร็งม ัยอีโลมาชนิดความเสีย มาตรฐาน ให้ VRd เป็นเวลา 8-9 รอบ

การร ักษาระด ับด้วย Revlimid

ให้ DRd จนกว่าจะมี ความก้าวหน้า

� ง มะเร็งม ัยอีโลมาชนิดความเสีย สูง ให้ VRd เป็นเวลา 8-9 รอบ

ให้ DRd จนกว่าจะมี ความก้าวหน้า

การร ักษาระด ับด้วย VR ©2565, ราชกุ​ุมาร SV

©2022, SV Rajkumar

myeloma.org

21


ในเดื​ือนมกราคม 2566 ยาดั​ังต่​่อไปนี้​้�คือ ื ยาที่​่�ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั จิ าก FDA สำำ�หรั​ับใช้ ้กั​ับ โรคมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ย โดยเรี​ียงตามตั​ัวอั​ักษรดั​ังนี้​้�:

¡ Darzalex®(ดาราทู​ูมู​ูแมบ) เป็​็ นโมโนโคลนอลแอนติ​ิบอดี​ีซึ่​่ง� มี​ีวิธีิ ใี ช้ ้โดยการ ฉี​ีดเข้ ้าหลอดเลื​ือดดำำ�และได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั ใิ นการใช้ ้ยาสู​ูตรผสมดั​ังต่​่อไปนี้​้�: • ใช้ ้ร่​่วมกั​ับ Velcade® (บอร์​์ทีโี ซมิ​ิบ) + ทาลิ​ิโดไมด์​์ + เดกซาเมทาโซน (D-VTd) สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�สามารถทำำ� ASCT ได้ ้ • ใช้ ้ร่​่วมกั​ับ Revlimid® (เลนาลิ​ิโดไมด์​์) + เดกซาเมทาโซน (DRd) สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วย ที่​่�ไม่​่สามารถทำำ� ASCT ได้ ้ • ใช้ ้ร่​่วมกั​ับ Velcade + เมลฟาแลน + เพรดนิ​ิโซน (D -VMP) สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�ไม่​่ สามารถทำำ� ASCT ได้ ้และ • ใช้ ้ร่​่วมกั​ับ Velcade + Revlimid + เดกซาเมทาโซน (D-VRd) –โปรดดู​ู ้ หมายเหตุ​ุเกี่​่�ยวกั​ับหลั​ักการใช้ VRd ด้ ้านล่​่าง ¡ Darzalex Faspro® (ดาราทู​ูมู​ูแมบและไฮยาลู​ูโรนิ​ิเดส-fihj) เป็​็ นโมโนโคลน อลแอนติ​ิบอดี​ีซึ่​่ง� มี​ีวิธีิ ใี ช้ ้โดยการฉี​ีดยาเข้ ้าใต้ ้ชั้​้�นผิ​ิวหนั​ัง (ใต้ ้ ผิ​ิวหนั​ัง) และได้ ้รั​ับ การอนุ​ุมัติ ั ใิ นการใช้ ้ร่​่วมกั​ับยาดั​ังต่​่อไปนี้​้�: • D-VTd สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�สามารถทำำ� ASCT ได้ ้ • DRd สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�ไม่​่สามารถทำำ� ASCT ได้ ้ และ • D-VMP สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยที่​่�ไม่​่สามารถทำำ� ASCT ได้ ้ ¡ เดกซาเมทาโซนและสเตี​ียรอยด์​์ชนิ​ิดอื่​่�นๆ โดยทั่​่�วไปแล้ ้วจะให้ ้ร่​่วมกั​ับสาร หนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งชนิ​ิดและและสามารถให้ ้โดยวิ​ิธีผ่ ี า่ นทางปากหรื​ือเข้ ้าทาง หลอดเลื​ือดดำำ� ¡ Revlimid® (เลนาลิ​ิโดไมด์​์) ซึ่​่�งเป็​็ นสารปรั ับภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั ันที่​่ใ� ห้​้ทางปาก เป็​็ น ส่​่วนประกอบของการรั​ักษาสู​ูตรผสมหลายวิ​ิธีซึ่​่ ี ง� ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั ใิ นสถานการณ์​์ แรก รวมถึ​ึง VRd (โปรดดู​ูด้ ้านล่​่าง) ¡ ทาลิ​ิโดไมด์​์ซึ่​่ง� ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั สำ ิ ำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในปี​ี 2549 เป็​็ นสารปรั​ับ ภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันชนิ​ิดแรกที่​่�ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั ดั ิ งั กล่​่าวโดย FDA. ¡ Velcade® (บอร์​์ที​ีโซมิ​ิบ) ซึ่​่�งเป็​็ นโพรที​ีเอโซม อิ​ินฮิ​ิบิ​ิเตอร์​์ เป็​็ นส่​่วนประกอบ ของการรั​ักษาสู​ูตรผสมหลายวิ​ิธีซึ่​่ ี ง� ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั ใิ นสถานการณ์​์แรก รวมถึ​ึง VRd (โปรดดู​ูด้ ้านล่​่าง) ¡ การรั​ักษาสู​ูตรผสม VRd ของ Velcade + Revlimid + เดกซาเมทาโซน ใน ปั​ั จจุบั ุ น ั ได้ ้รั​ับการพิ​ิจารณาว่​่าเป็​็ นมาตรฐานของการดู​ูแลผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ัย • การรั​ักษาสู​ูตรผสมของ Darzalex + VRd (D-VRd) .ไม่​่ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั โิ ดย FDA อย่​่างเป็​็ นทางการแต่​่ได้ ้รั​ับการรวบรวมโดย เครื​ือข่​่ายมะเร็​็งครบวงจร แห่​่งชาติ​ิ) (National Comprehensive Cancer Network, NCCN) เข้ ้าใน แนวทางสำำ�หรั​ับการจั​ัดการมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ในเดื​ือนธั​ันวาคม ปี​ี 2564 ที่​่�การ ประชุ​ุมประจำำ�ปี​ีของ American Society of Hematology (ASH, สมาคมโลหิ​ิต วิ​ิทยาแห่​่งสหรั​ัฐอเมริ​ิกา) การวิ​ิเคราะห์​์ฉบั​ับปรั​ับปรุ​ุงที่​่�นำำ�เสนอจากการทดลอง ทางคลิ​ินิก ิ ของ GRIFFIN ซึ่​่�งแสดงให้ ้เห็​็นว่​่า D-VRd มี​ีความปลอดภั​ัยและมี​ี 22

1.818.487.7455


้ ประสิ​ิทธิ​ิผลที่​่�ดีก ี ว่​่าการใช้ VRd เพี​ียงอย่​่างเดี​ียวในผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่� เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยที่​่�สามารถทำำ� ASCT ได้ ้โดยที่​่�ไม่​่มีข้ ี ้อกั​ังวลด้ ้านความ ปลอดภั​ัยเพิ่​่�มเติ​ิมหรื​ือผลกระทบในทางลบในการเคลื่​่�อนย้ ้ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิด ยาประเภทหลั​ักอื่​่�นๆ ที่​่�ได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั จิ าก FDA สำำ�หรั​ับการรั​ักษาแรกได้ ้แก่​่ สาร อั​ัลคี​ีเลตติ​ิง (ตั​ัวอย่​่างเช่​่น เมลฟาแลน ไซโคลฟอสฟาไมด์​์) และแอนทราไซคลี​ีน ิ ด็​็อกโซรู​ูบิซิ ิ ชนิ​ิดลิโิ พโซม) แต่​่มีก (ตั​ัวอย่​่างเช่​่น ด็​็อกโซรู​ูบิซิ ิ น ิ น ี ารใช้ ้ยาดั​ังกล่​่าวไม่​่ บ่​่อยนั​ักเพราะมี​ีสารออกฤทธิ์​์�ชนิดอื่​่ ิ น � ให้ ้เลื​ือกใช้ ้

ำ เร็​็จแล้​้ว ยั ังมี​ีทางเลื​ือกของ ถ้​้าการรั ักษาระยะแรกอย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่ง� ไม่​่สำ� ื คู่​่มื การรั ักษาอี​ีกมากมายที่​่อ � ยู่​่น � อกเหนื​ือจากหนั ังสือ � อ ื แนะนำำ�เล่​่มนี้​้� อย่​่างไร ก็​็ตาม ไม่​่แนะนำำ�ให้​้ข้​้ามหลั ักการรั ักษาหนึ่​่ง� ไปยั ังหลั ักการรั ักษาอื่​่�นๆ อย่​่าง รวดเร็​็วโดยที่​่ไ� ม่​่ได้​้ใช้​้ทางเลื​ือกที่​่มี​ี � อยู่​่ทั้​้ � �งหมดก่​่อน

การปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดโดยใช้​้เซลล์​์ของตนเอง

ASCT ถู​ูกนำำ �มาใช้ ้เพื่​่�อรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมามาเป็​็ นเวลากว่​่าสองทศวรรษ แพทย์​์ ที่​่�ทำำ�การปลู​ูกถ่​่ายจะพยายามลดปริ​ิมาณเซลล์​์มะเร็​็ง (ทำำ�ลายเซลล์​์ะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ให้ ้มากที่​่�สุด ุ เท่​่าที่​่�ทำำ�ได้ ้) ก่​่อนที่​่�เก็​็บรวบรวมเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดและให้ ้การรั​ักษาที่​่�มี ี ความเข้ ้มข้ ้นสู​ูง (HDT) จากนั้​้�นผู้​้�ป่​่วยจะได้ ้รั​ับการรั​ักษาระยะแรกก่​่อนที่​่�จะเริ่​่�มต้ ้น กระบวนการ HDT ด้ ้วยการปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิด ถึ​ึงแม้ ้จะไม่ี​ี�มี​ีการตอบสนองที่​่� มี​ีนั​ัยสำำ�คัญ ั ต่​่อการรั​ักษาแรก ผูู้​ู��ป่​่วยยั​ังคงสามารถรั​ักษาต่​่อเนื่​่�องโดยใช้ ้ HDT และ ASCT และได้ ้รั​ับผลลั​ัพธ์​์ที่​่ดี � เี ยี่​่�ยมได้ ้ การตอบสนองหลั​ัง HDT มี​ีความสำำ�คัญ ั มากกว่​่า การตอบสนองก่​่อน HDT ตราบใดที่​่�ไม่​่มีก ี ารดำำ�เนิ​ินของโรค ในเดื​ือนมี​ีนาคม ปี​ี 2564 NCCN ได้ ้ปรั​ับปรุ​ุงแนวทางสำำ�หรั​ับการจั​ัดการมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมา NCCN กล่​่าวว่​่า ASCT ยั​ังคงเป็​็ นส่​่วนสำำ�คัญ ั ของการรั​ักษาแรกสำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วย มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ย การค้ ้นพบล่​่าสุ​ุดจากข้ ้อมู​ูลจากการติ​ิดตาม ของการทดลองทางคลิ​ินิก ิ ของ IFM ปี​ี 2552 ยื​ืนยั​ันว่​่า ASCT ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่� เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยนั้​้�นได้ ้ผลดี​ี ในการติ​ิดตามที่​่�มีค่ ี า่ มั​ัธยฐานอยู่​่�ที่​่� 93 เดื​ือน ค่​่า มั​ัธยฐานของอั ัตราการอยู่​่ร� อดโดยโรคสงบ (PFS) จะอยู่​่�ที่​่�47.3 เดื​ือนเมื่​่�อทำำ� ASCT หลั​ังการรั​ักษาระยะแรกที่​่�ใช้ ้สู​ูตรยาผสม VRd เปรี​ียบเที​ียบกั​ับ 35.0 เดื​ือนเมื่​่�อ ใช้ ้ยา VRd เพี​ียงอย่​่างเดี​ียว ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ประกั​ันสุ​ุขภาพของ Medicare จะครอบคลุ​ุม ASCT เพี​ียงครั้​้�งเดี​ียว สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยทุ​ุกช่​่วงอายุ​ุถ้ ้ามี​ีมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาดู​ูรี-ี แซลมอนระยะที่​่� 2 หรื​ือ 3 และเป็​็ น ผู้​้�ที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ยหรื​ือยั​ังคงมี​ีการตอบสนองต่​่อการรั​ักษาอยู่​่� ผู้​้�ป่​่วยต้ ้องมี​ีการ ทำำ�งานของหั​ัวใจ ตั​ับ ปอด และไตที่​่�เพี​ียงพอ Medicare จะไม่​่ครอบคลุ​ุมการปลู​ูก ถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดโดยใช้ ้เซลล์​์ของตนเองที่​่�ทำำ� “ต่​่อกั​ัน” (สองครั้​้�งต่​่อเนื่​่�องกั​ัน) แต่​่ถ้ ้าผู้​้�ป่​่วยมี​ีการปลู​ูกถ่​่ายหนึ่​่�งครั้​้�งที่​่�ครอบคลุ​ุมโดย Medicare แล้ ้วหลั​ังจากนั้​้�นมี​ี อาการกำำ�เริ​ิบหลั​ังระยะโรคสงบสองปี​ี หรื​ือมากกว่​่า Medicare อาจจะครอบคลุ​ุมการ ปลู​ูกถ่​่ายครั้​้�งอื่​่�นอี​ีกในช่​่วงเวลานั้​้�น สำำ�หรั​ับข้ ้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม โปรดอ่​่านสิ่​่�งตี​ีพิม ิ พ์​์ของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับเซลล์​์ ต้​้นกำำ�เนิ​ิดในมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา (Understanding Stem Cell Transplant in Myeloma) myeloma.org

23


การเลื​ือกหลั ักการรั ักษา

ปั​ั ญหาที่​่�สำำ�คัญ ั หลายข้ ้อต้ ้องได้ ้รั​ับการพิ​ิจารณา

¡ การทำำ�หน้​้าที่​่ใ� นแต่​่ละวั ัน: การรั​ักษาจะส่​่งผลกระทบต่​่อความสามารถในการ ทำำ�กิจวั ิ ตร ั ประจำำ�วัน ั หรื​ือไม่​่ ¡ การทำำ�งาน: จะมี​ีการร้ ้องขอให้ี​ี�การเปลี่​่�ยนแปลงหรื​ือการหยุ​ุดชะงั​ักหรื​ือไม่​่ ¡ อายุ​ุ นี่​่�คือ ื ปั​ั จจั​ัยในการเลื​ือกการรั​ักษาหรื​ือผลลั​ัพธ์​์ที่​่ค � าดหวั​ังหรื​ือไม่​่ ¡ ผลข้​้างเคี​ียงของการรั ักษา: สิ่​่�งเหล่​่านี้​้�มีนั ี ัยสำำ�คัญ ั มากแค่​่ไหน ¡ ปัญ ั หาทางการแพทย์​์อื่​่น � ๆ: จะมี​ีผลกระทบต่​่อทางเลื​ือกในการรั​ักษาและการ ต่​่อต้ ้านการรั​ักษาหรื​ือไม่​่ ¡ การปลู​ูกถ่​่าย: แนะนำำ�ให้ ้ใช้ ้การรั​ักษาด้ ้วยยาเคมี​ีบำ�ำ บั​ัดขนาดร่​่วมกั​ับ ASCT หรื​ือไม่​่ ¡ ความเร็​็วในการตอบสนอง: การรั​ักษาจะได้ ้ผลเร็​็วแคไหน การตอบสนองจะ ได้ ้รั​ับการประเมิ​ินอย่​่างไร ิ ใจในทั​ันที​ีมากแค่​่ ¡ การตั ัดสิ​ินใจแรกเริ่​่ม � และในภายหลั ัง: มี​ีสิ่​่ง� ที่​่�จะต้ ้องตั​ัดสิน ไหน ¡ การพิ​ิจารณาทางการเงิ​ิน: การรั​ักษาของฉั​ั นส่​่วนไหนบ้ ้างที่​่�ครอบคลุ​ุมอยู่​่�ใน ประกั​ันของฉั​ั น อะไรเป็​็ นความรั​ับผิดช ิ อบที่​่�ฉั​ันต้ ้องจ่​่าย มี​ีแหล่​่งทุ​ุนทรั​ัพย์​์ที่​่จ � ะช่​่วยฉั​ั นจ่​่ายค่​่ารั​ักษาไหม ตารางที่​่� 7 เป้​้าหมายของการรั ักษาและการตั ัดสิ​ินใจที่​่ทั � ันเวลา ชนิ​ิดของการรั ักษา

การทำำ�ให้​้คงที่​่�

การบรรเทาอาการ

วั ัตถุ​ุประสงค์​์

การตอบโต้ ้ต่​่อการรบกวนที่​่�เป็​็ นอั​ันตราย ถึ​ึงชี​ีวิตที่​่ ิ ก � ระทำำ�ต่อ ่ เคมี​ีของของร่​่างกาย และระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ัน

บรรเทาความเจ็​็บปวดและเพิ่​่�มความ สามารถของผู้​้�ป่​่วยในการทำำ�หน้ ้าที่​่�

ตั ัวอย่​่าง

• การกรองพลาสมา เพื่​่�อทำำ�ให้ ้เลื​ือด หนาแน่​่นน้ ้อยลงและเพื่​่�อกลี​ีกเลี่​่�ยงโรค หลอดเลื​ือดสมอง • การฟอกเลื​ือดด้ ้วยเครื่​่�องไตเที​ียมเมื่​่�อ การทำำ�หน้ ้าที่​่�ของไตบกพร่​่อง • ยาที่​่�ใช้ ้เพื่​่�อลดภาวะแคลเซี​ียมในเลื​ือด สู​ูงกว่​่าปกติ​ิ (อาจรวมถึ​ึงยาเคมี​ีบำำ�บั​ัด)

• ใช้ ้รั​ังสี​ีเพื่​่�อหยุ​ุดการสลายตั​ัวของกระดู​ูก • การถ่​่ายเม็​็ดเลื​ือดแดงเพื่​่�อบรรเทาภาวะ โลหิ​ิตจาง • การผ่​่าตั​ัดกระดู​ูกและข้ ้อเพื่​่�อซ่​่อมแซม และ/หรื​ือทำำ�ให้ ้กระดู​ูกแข็​็งแรง

เวลาที่​่ต้​้ � องตั ัดสิ​ินใจ

หลายชั่​่�วโมงจนถึ​ึงหลายวั​ัน

หลายวั​ันจนถึ​ึงหลายเดื​ือน

ชนิ​ิดของการรั ักษา

การรั ักษาที่​่ทำ � � ำ ให้​้เกิ​ิดภาวะโรคสงบ อย่​่างสมบู​ูรณ์​์

วั ัตถุ​ุประสงค์​์

ทำำ�ให้ ้อาการดี​ีขึ้น ้� ทำำ�ให้ ้การดำำ�เนิ​ินของ โรคช้ ้าลงหรื​ือหยุ​ุดการดำำ�เนิ​ินของโรค

ภาวะโรคสงบอย่​่างถาวร*

ตั ัวอย่​่าง

• การบำำ�บั​ัดที่​่ใ� ช้ ้ฆ่​่าเซลล์​์เนื้​้�องอกชนิ​ิด ร้ ้ายแรงทั่​่�วร่​่างกาย • รั​ังสี​ีที่​่ใ� ช้ ้ฆ่​่าเซลล์​์เนื้​้�องอกชนิ​ิดร้ ้ายแรง ที่​่�บริเิ วณเนื้​้�องอก

• การปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดซึ่​่ง� เป็​็ นวิ​ิธี ี หนึ่​่�งในการส่​่งยาเคมี​ีบำำ�บั​ัดขนาดสู​ูง

เวลาที่​่ต้​้ � องตั ัดสิ​ินใจ

หลายสั​ัปดาห์​์จนถึ​ึงหลายเดื​ือน

หลายสั​ัปดาห์​์จนถึ​ึงหลายเดื​ือน

สำำ�หรั ับใช้​้รั ักษาโรค

* การรั​ักษาให้ ้หายจากโรคหมายถึ​ึงการกำำ�จั​ัดโรคแบบถาวร “การรั​ักษาให้ ้หายจาก โรคที่​่�นำำ�มาใช้ ้ได้ ้” เป็​็ นคำำ�ศั​ัพท์​์ที่​่ใ� ช้ ้เพื่​่�ออธิ​ิบายการตอบสนองที่​่�ดี่​่เ� ยี่​่�ยมต่​่อการ รั​ักษา เมื่​่�อผู้​้�ป่​่วยมี​ีอาการคงที่​่�และอยู่​่�ในภาวะโรคสงบเป็​็ นเวลาหลายปี​ี ตั้​้ง� แต่​่ได้ ้ รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั ย แต่​่มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาไม่​่ได้ ้ถู​ูกกำำ�จั​ัดออกไปอย่​่างสมบู​ูรณ์​์

24

1.818.487.7455


ภาพที่​่� 14 สิ่​่ง� ที่​่ต้​้ � องคำำ�นึ​ึงถึ​ึงเมื่​่�อมี​ีการเลื​ือกสู​ูตรการรั ักษา ปัญหาทางการ แพทย์อน ื� ๆ

ผลข้างเคียงจาก การร ักษา

การปลูกถ่าย

ความเร็วในการตอบ สนอง

อายุ

การต ัดใจในตอน แรกและภายหล ัง

งาน

การทําหน้าทีใ� น แต่ละว ัน

การพิจารณาการ ร ักษา

การเงิน

มี​ีการรั ักษาต่​่อเนื่​่�องไหม

หลั​ังจากมี​ีการตอบสนองต่​่อการรั​ักษาสู​ูงสุ​ุดแล้ ้ว แพทย์​์ของคุ​ุณอาจจะแนะนำำ �ข้ ้อ กำำ�หนดต่​่อเนื่​่�องให้ ้คุ​ุณ ประโยขน์​์การบำำ�บั​ัดต่อ ่ เนื่​่�องจนกว่​่าจะมี​ีการดำำ�เนิ​ินของโรค แสดงให้ ้เห็​็นว่​่ามี​ีการพั​ัฒนาการอยู่​่�รอดอย่​่างมากพอ แต่​่ก็ไ ็ ม่​่ใช่​่สิ่​่ง� ที่​่�จำำ�เป็​็ นหรื​ือ เหมาะกั​ับผู้​้�ป่​่วยทุ​ุกราย สิ่​่�งที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องทางด้ ้านการเงิ​ิน ร่​่างกาย และอารมณ์​์ของการ บำำ�บั​ัดต่อ ่ เนื่​่�องจะต้ ้องนำำ �มาพิ​ิจารณาควบคู่​่�กั​ับลัก ั ษณะของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาของผู้​้� ป่​่ วยแต่​่ละคนด้ ้วย

การทดลองทางคลิ​ินิ​ิก

การทดลองทางคลิ​ินิก ิ สำำ�หรั​ับการรั​ักษาในระยะแรกอาจเป็​็ นทางที่​่�ยอดเยี่​่�ยม ทางหนึ่​่�งในการรั​ับการรั​ักษาสู​ูตรผสมใหม่​่หรื​ือการรั​ักษาใหม่​่ที่​่ยั � ังไม่​่มีใี ห้ ้เลื​ือก ใช้ ้ แม้ ้แต่​่ในการทดลองทางคลิ​ินิก ิ แบบสุ่​่�ม ที่​่�ผู้​้�ป่​่วยมี​ีโอกาสได้ ้รั​ับมาตรฐานใน การดู​ูแลหรื​ือการบำำ�บั​ัดใหม่​่เท่​่าๆ กั​ัน การทดลองทางคลิ​ินิก ิ จะให้ ้การรั​ักษาที่​่�มี ี หลั​ักฐานทางเอกสารและตรวจติ​ิดตามอย่​่างเข้ ้มงวด ถ้ ้าคุ​ุณเลื​ือกที่​่�จะเข้ ้าร่​่วมการ ทดลองทางคลิ​ินิก ิ เป็​็ นสำำ�คั​ัญที่​่�คุณ ุ จะต้ ้องเข้ ้าใจขอบเขตของโพรโทคอลของ การรั​ักษาแบบเต็​็มรู​ูปแบบ สำำ�หรั​ับการอภิ​ิปรายแบบคลอบคลุ​ุมของการทดลอง ทางคลิ​ินิก ิ โปรดอ่​่านสิ่​่�งตี​ีพิม ิ พ์​์ของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับการทดลอง ทางคลิ​ินิก ิ (Understanding Clinical Trials)

การดู​ูแลตามอาการ

สิ่​่�งที่​่�มีค ี วามสำำ�คัญ ั เช่​่นเดี​ียวกั​ับการเริ่​่�มการรั​ักษาในระยะแรกก็​็คือ ื การใช้ ้มาตรการ การดู​ูแลตามอาการในช่​่วงแรกเริ่​่�มเพื่​่�อบรรเทาผลกระทบทางด้ ้านร่​่างกายและ อารมณ์​์จากมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา หนั​ังสื​ือเล่​่มเล็​็กของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับการรั ักษาโรคกระดู​ูกมะเร็​็ง มั ัยอี​ีโลมา (Understanding Treatment of Myeloma Bone Disease) อภิ​ิปราย เกี่​่�ยวกั​ับสารที่​่�เปลี่​่�ยนแปลงกระดู​ูกเช่​่น บิ​ิสฟอสโฟเนต Aredia® (พามิ​ิโดรเนท) และZometa® (โซลิ​ิโดรนิ​ิก แอซิ​ิด) และมโนโคลนอลแอนติ​ิบอดี​ี Xgeva® (ดี​ีโนซู​ู แมบ) myeloma.org

25


ตารางที่​่� 8 การดู​ูแลตามอาการ อาการ

26

การรั ักษา

ความคิ​ิดเห็​็น

อาการเมื่​่�อยล้​้า และอ่​่อนแรง เนื่​่�องจากภาวะ โลหิ​ิตจาง

• การถ่​่ายเลื​ือด (เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดงในถุ​ุง: ,มี​ีกา รนำำ �ลูโู คไซต์​์ออก และผ่​่านการตรวจสอบไวรั​ัส) ในกรณี​ีที่​่มี � ภ ี าวะโลหิ​ิตจางระดั​ับรุน ุ แรง • ให้ ้อี​ีริโิ ทรโพอิ​ิติน ิ ในกรณี​ีที่​่มี � ภ ี าวะโลหิ​ิตจาง ระดั​ับเล็​็กน้ ้อยถึ​ึงปานกลางและได้ ้รั​ับการรั​ับการ บำำ�บั​ัดในระยะแรก

การั​ักษาจะเรี​ียบง่​่าย โดยปกติ​ิแล้ ้วจะ ให้ ้ผลอย่​่างสู​ูงสุ​ุดและและปรั​ับปรุ​ุง ความรู้​้�สึ​ึกในการเป็​็ นอยู่​่�ที่​่�ดีขึ้ ี น ้�

การปวดกระดู​ูก

• Bisphosphonate Aredia (ฉี​ีดเข้ ้าหลอดเลื​ือด ดํ​ํา 90 มก. ต่​่อ 2–4 ชั่​่�วโมง ทุ​ุกเดื​ือน), Zometa (ฉี​ีดเข้ ้าหลอดเลื​ือดดํ​ํา 4 มก. ต่​่อ 15–45 นาที​ี ทุ​ุกเดื​ือน) • แอนติ​ิบอดี​ีชนิด ิ โมโนโคลน Xgeva® (denosumab) ให้ ้โดยการฉี​ีดเข้ ้าชั้​้�นใต้ ้ผิ​ิวหนั​ัง (ใต้ ้ผิ​ิวหนั​ัง) • ยาแก้ ้ปวดใช้ ้ตามความต้ ้องการ ถามแพทย์​์ของ คุ​ุณเกี่​่�ยวกั​ับใบสั่​่�งยาหรื​ือยาจำำ�หน่​่ายหน้ ้าเคา เตอร์​์ (OTC)

•ก ารบรรเทาอาการปวดเป็​็ นสิ่​่�งสำำ�คัญ ั และจะปรั​ับปรุ​ุงกิ​ิจกรรมทางกายซึ่​่�ง ในทางกลั​ับกัน ั จะส่​่งเสริ​ิมความแข็​็ง แรงของกระดู​ูกและการรั​ักษากระดู​ูก และจะปรั​ับปรุ​ุงภาวะความเป็​็ นอยู่​่� ด้ ้านอารมณ์​์ด้ ้วย •ค วามเสี​ียหายที่​่�เป็​็ นไปได้ ้ต่​่อไตและ กราม ถึ​ึงแม้ ้ว่​่าจะพบได้ ้ยากแต่​่สามารถ ส่​่งผลมาจากการใช้ ้บิ​ิสฟอสโฟเนตใน การบำำ�บั​ัดชนิด ิ เรื้​้�อรั​ังได้ ้ • การตระหนั​ักรู้​้�คื​ือสิ่​่�งที่​่�สำำ�คัญ ั สำำ�หรั​ับ การป้​้ องกั​ัน

ไข้​้และ/หรื​ือ หลั ัก ฐานของการติ​ิด � เชื้​้อ

• ยาปฏิ​ิชีวี นะที่​่�เหมาะสม • Neupogen® ในกรณี​ีที่​่จำ � ำ�เป็​็ นเพื่​่�อกระตุ้​้�นภาวะที่​่� มี​ีค่า่ ของเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาวในระดั​ับต่ำำ�� • การให้ ้อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ผ่​่านทางหลอดเลื​ือดดำำ� (IVIG) สำำ�หรั​ับการติ​ิดเชื้​้�อในระดั​ับรุน ุ แรง • การใช้ ้การทดสอบตามที่​่�ต้ ้องการเพื่​่�อวิ​ินิจฉั ิ ัย ชนิ​ิดของการติ​ิดเชื้​้�อที่​่�แน่​่นอนควรได้ ้รั​ับการ ดำำ�เนิ​ินการ (ยกเว้ ้นในกรณี​ีที่​่มี � ก ี ารตรวจชิ้​้�นเนื้​้�อ/ การเพาะเลี้​้�ยงที่​่�เป็​็ นอั​ันตราย)

• ถึ​ึ งแม้ ้ว่​่าการใช้ ้ยาปฏิ​ิชีวี นะควร ไรั​ับการคั​ัดเลื​ือกและใช้ ้ด้ ้วยความ ระมั​ัดระวั​ังแล้ ้ว ยั​ังเป็​็ นสิ่​่�งที่​่�สำำ�คัญ ั อย่​่างยิ่​่�งที่​่�จะต้ ้องทำำ�ให้ ้การติ​ิดเชื้​้�ออยู่​่� ภายใต้ ้การควบคุ​ุมโดยทั​ันที​ี • แนะนำำ �ให้ ้มี​ียาปฏิ​ิชีวี นะในมื​ือสำำ�หรั​ับ การใช้ ้ในกรณี​ีฉุ​ุกเฉิ​ิน (โดยเฉพาะ อย่​่างยิ่​่�งเมื่​่�อมี​ีการเดิ​ินทาง)

ผลข้​้างเคี​ียงต่​่อ กระเพาะอาหาร และลำำ�ไส้​้

• ควรใช้ ้ยาที่​่�เหมาะสมในการรั​ักษาอาการคลื่​่�นไส้ ้ อาเจี​ียน ท้ ้องผู​ูก หรื​ือท้ ้องเสี​ีย • ควรรั​ักษาระดั​ับของการได้ ้รั​ับของเหลวหรื​ือสาร อาหารที่​่�เพี​ียงพอ

ปรึ​ึกษาหารื​ือกั​ับผู้​้�ให้ ้บริ​ิการทางการ ดู​ูแลสุ​ุขภาพ; อาการในระดั​ับที่​่รุ� น ุ แรง อาจต้ ้องได้ั​ั�รั​ับการนำำ �เข้ ้ารั​ักษาในโรง พยาบาล

ลิ่​่ม � เลื​ือดและภาวะ ลิ่​่ม � เลื​ือดอุ​ุดหลอด เลื​ือด

• ภาวะการเกิ​ิดลิ่​่ม � เลื​ือดเป็​็ นความฉุ​ุกเฉิ​ินทางการ แพทย์​์; การรั​ักษาจะขึ้​้น � อยู่​่�กั​ับภาวะและปั​ั จจั​ัย ความเสี่​่�ยงของผู้​้�ป่​่วย • แอสไพริ​ินหรื​ือยาต้ ้านการเกาะเป็​็ นลิ่​่�มเลื​ือดอาจ ได้ ้รั​ับการสั่​่�งยาให้ ้

ความเสี่​่�ยงอาจลดลงโดยการรออก กำำ�ลังั กาย การลดน้ำำ� �หนั​ัก และการไม่​่ สู​ูบบุห ุ รี่​่�

ภาวะปลาย ประสาทอั ักเสบ

• ยาแก้ ้ปวด • การปรั​ับเปลี่​่�ยนขนาดยา ตารางนั​ัด และ/หรื​ือ วิ​ิธี ี การบริ​ิหารยา • กายภาพบำำ�บั​ัด วิ​ิตามิ​ิน และอาหารเสริ​ิมอื่​่�นๆ

• ปรึ​ึกษาหารื​ืออาการกั​ับผู้​้�ให้ ้บริ​ิการ ทางการดู​ูแลสุ​ุขภาพ • การรั​ักษาในระยะแรกเริ่​่�มสามารถ ป้​้ องกั​ันความเสี​ียหายชนิ​ิดถาวรและ ยอมให้ ้มี​ีการรั​ักษาแบบต่​่อเนื่​่�องได้ ้ • กรุ​ุณาอย่​่าปรั​ับเปลี่​่�ยนขนาดยาด้ ้วย ตั​ัวเอง •ก รุ​ุณาอย่​่ารั​ับประทานอาหารเสริ​ิม โดยที่​่�ไม่​่มีก ี ารปรึ​ึกษาหารื​ือกั​ับแพทย์​์ ก่​่อน

ผลข้​้างเคี​ียงจาก สเตอรอยด์​์

• รั​ับประทานเมื่​่�อมี​ีคำำ�สั่​่ง� จากแพทย์​์ของคุ​ุณ • กรุ​ุณาตระหนั​ักถึ​ึงสั​ัญญาณและอาการของการ ติ​ิดเชื้​้�อ การเปลี่​่�ยนแปลงของน้ำำ� �ตาลในเลื​ือด • ยาที่​่�ใช้ ้ป้​้ องกั​ันโรคงู​ูสวั​ัดและการติ​ิดเชื้​้�อจาก เชื้​้�อรา

• กรุ​ุณารายงานผลข้ ้างเคี​ียงและอาการ กั​ับผู้​้�ให้ ้บริ​ิการทางการดู​ูแลสุ​ุขภาพ • กรุ​ุณาอย่​่าหยุ​ุดหรื​ือปรั​ับเปลี่​่�ยนขนาด ยาด้ ้วยตั​ัวเอง

1.818.487.7455


หนั​ังสื​ือเล่​่มเล็​็กของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับอาการเมื่​่�อยล้​้า (Understanding Fatigue) อภิ​ิปรายเกี่​่�ยวกั​ับอาการเมื่​่�อยล้ ้าที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับมะเร็​็ง และการรั​ักษาอาการเมื่​่�อยล้ ้า ซึ่​่�งได้ ้รั​ับการกำำ�หนดคำำ�นิย ิ ามโดย NCCN ไว้ ้ว่​่า “ความ รู้​้�สึ​ึกเหนื่​่�อยหรื​ืออ่​่อนเพลี​ียส่​่วนตั​ัวที่​่�มีอ ี าการคงอยู่​่�จนทำำ�ให้ ้เกิ​ิดความกั​ังวลใจที่​่� เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับมะเร็​็งหรื​ือการรั​ักษามะเร็​็งที่​่�ไม่​่ได้ ้สั​ัดส่ว่ นกั​ับกิจิ กรรมในช่​่วงเวลานั้​้�น และรบกวนการทำำ�หน้ ้าที่​่�ตามปกติ​ิ” หนั​ังสื​ือเล่​่มเล็​็กของ IMF การทำำ�ความเข้​้าใจกั ับภาวะปลายประสาทอั ักเสบใน มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา (Understanding Peripheral Neuropathy in Myeloma) ได้ ้ รั​ับการออกแบบมาเพื่​่�อช่​่วยผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มี ี PN และช่​่วยผู้​้�ป่​่วยหลี​ีกเลี่​่�ยง การพั​ัฒนาปั​ั ญหานี้​้� การป้​้ องกั​ันปั​ั ญหาเป็​็ นสิ่​่�งที่​่�ดีที่​่ ี สุ � ดก่ ุ อ ่ นที่​่�ปั​ัญหาจะเกิ​ิดขึ้​้น � และ ต้ ้องจั​ัดการตั้​้�งแต่​่เนิ่​่�นๆ เมื่​่�อมี​ีปั​ัญหาเกิ​ิดขึ้​้น � มาแล้ ้ว ข้ ้อความดั​ังกล่​่าวเป็​็ นความจริ​ิง โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งสำำ�หรั​ับ PN ที่​่�มากไปกว่​่าการจั​ัดการอาการเฉพาะ มาตรการแบบประคั​ับประคองยั​ังเป็​็ นสิ่​่�งที่​่� สำำ�คัญ ั อย่​่างจริ​ิงจั​ัง

¡ กิ​ิจกรรมทางกาย: ตรวจสอบกั​ับแพทย์​์เพื่​่�อทำำ�ให้ ้กระจ่​่างชั​ัดว่า่ สามารถทำำ� กิ​ิจกรรมทางกายได้ ้หรื​ือหรื​ือต้ ้องมี​ีการปรั​ับตัวั เนื่​่�องจากการมี​ีโรคกระดู​ูกหรื​ือ ความเสี​ียหายของกระดู​ูก โดยปกติ​ิแล้ ้ว กิ​ิจกรรมทางกายบางชนื​ืดสามารถ วางแผนได้ ้เช่​่น การเดิ​ินหรื​ือการว่​่ายน้ำำ� � การออกกำำ�ลังั เพื่​่�อสร้ ้างความยื​ืดหยุ่​่�น และความแข็​็งแรง และ/หรื​ือ โปรแกรมโยคะเฉพาะบุ​ุคคล ¡ การควบคุ​ุมอาหาร: ไม่​่มีก ี ารพั​ัฒนาการการควบคุ​ุมอาหารขึ้​้น � สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วย มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ถึ​ึงแม้ ้ว่​่าการวิ​ิจั​ัยได้ ้แสดงให้ ้เห็​็นอย่​่างชั​ัดเจนของความ เชื่​่�อมโยงระหว่​่างภาวะโรคอ้ ้วนและมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา เราขอแนะนำำ �อาหาร เมดิ​ิเตอร์​์เรเนี​ียนที่​่�ดีต่ ี อ ่ สุ​ุขภาพโดยเน้ ้น ผั​ัก ปลา และโปรตี​ีนจากสั​ัตว์ที่​่ ์ ไ� ร้ ้ไข มั​ันอื่​่�นๆ ธั​ัญพื​ืชเต็​็มเมล็​็ด และ อาหารจาก “ธรรมชาติ​ิ” ที่​่�ไม่​่ผ่า่ นการแปรรู​ูป หลี​ีกเลี่​่�ยงอาหารที่​่�มีน้ำ ี ำ� �ตาลแปรรู​ูปและไขมั​ันทรานส์​์สังั เคราะห์​์ ควรใช้ ้ความ ระมั​ัดระวั​ังในสองหั​ัวข้ ้อนี้​้�: อ าหารเสริ​ิมจากสมุ​ุนไพรและวิ​ิตามิ​ินเสริ​ิม: ตรวจสอบกั​ับแพทย์​์ หรื​ือเภสั​ัชกรของคุ​ุณก่​่อนรั​ับประทานอาหารเสริ​ิมในขณะที่​่�รั​ับการรั​ักษา สำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ปฏิ​ิกิริ​ิ ย ิ าบางชนิ​ิดระหว่​่างยาและ/หรื​ืออาหาร เสริ​ิมสามารถขั​ัดขวางการรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในการทำำ�งานอย่​่างมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิผลและปฏิ​ิกิริ​ิ ย ิ าบางชนิ​ิดยั​ังสามารถทำำ�ให้ ้เกิ​ิดปั​ัญหาทางการ แพทย์​์ทีุ่​ุ��รุน ุ แรงได้ ้ ร้ ้านขายยามี​ีแหล่​่งข้ ้อมู​ูลอ้ ้างอิ​ิงเพื่​่�อช่​่วยระบุ​ุปฏิ​ิกิริ​ิ ย ิ า ที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้น � ได้ ้  วิ​ิตามิ​ินซี​ี: ขนาดยาที่​่�มากกว่​่า 1000 มก. ต่​่อวั​ัน อาจให้ ้ผลลั​ัพธ์​์ที่​่ตร � งข้ ้าม กั​ับวัตถุ ั ป ุ ระสงค์​์ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและสามารถเพิ่​่�มความเสี่​่�ยงของความ เสี​ียหายต่​่อไต

¡ สุ​ุขภาพจิ​ิต สุ​ุขภาพจิ​ิตของคุ​ุณเป็​็ นสิ่​่�งสำำ�คั​ัญในขณะที่​่�คุ​ุณก้ ้าวไปข้ ้างหน้ ้า พร้ ้อมกั​ับแผนการรั​ักษา ตรวจสอบให้ ้แน่​่ ใจว่​่าคุ​ุณรู้​้�สึ​ึกสบายใจกั​ับแผนการ รั​ักษา กำำ�หนดเวลานั​ั ดกั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านสุ​ุขภาพจิ​ิตถ้ ้าคุ​ุณเชื่​่�อว่​่าคุ​ุณอาจ รู้​้�สึ​ึกวิ​ิตกกั​ังวลหรื​ือหดหู่​่�หรื​ือถ้ ้ามี​ีบุ​ุคคลอื่​่�นรู้​้�สึ​ึกเป็​็ นห่​่วงว่​่าคุ​ุณอาจจะรู้​้�สึ​ึก หดหู่​่�ได้ ้ นี่​่�เป็​็ นการตอบสนองที่​่�เป็​็ นปกติ​ิต่​่อการวิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็ งและผู้​้�ป่​่วย myeloma.org

27


มะเร็​็ งส่​่วนใหญ่​่จะต้ ้องการความช่​่วยเหลื​ือในเวลาหนึ่​่�งเวลาใด แรงสนั​ั บสนุ​ุ น ระหว่​่างเพื่​่�อนร่​่วมงานเป็​็ นสิ่​่�งจำำ �เป็​็ นในช่​่วงเวลานี้​้� และกลุ่​่�มสนั​ั บสนุ​ุ นมะเร็​็ ง มั​ัยอี​ีโลมาอาจเป็​็ นประโยชน์​์สำำ�หรั​ับในบริ​ิบทนี้​้� สำำ�หรั​ับการอ้ ้างอิ​ิงถึ​ึงกลุ่​่�ม สนั​ั บสนุ​ุ นมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมา โปรดเข้ ้าที่​่� support.myeloma.org และติ​ิดต่​่อ ศู​ูนย์​์บริก ิ ารให้ ้ข้ ้อมู​ูลทางโทรศั​ัพท์​์ของ IMF ที่​่� InfoLine@myeloma.org หรื​ือ 1.818.487.7455

¡ การนอนที่​่ป � กติ​ิ: เป็​็ นสิ่​่�งที่​่�สำำ�คัญ ั สำำ�หรั​ับระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันของคุ​ุณ ¡ สร้​้างการปรั ับตั ัว: ถ้ ้าเป็​็ นไปได้ ้ โปรดลดความตึ​ึงเครี​ียดในเรื่​่�องงาน ครอบครั​ัว หรื​ือสถานการณ์​์ทางสั​ังคม และหลี​ีกเลี่​่�ยงกลุ่​่�มคนและการสั​ัมผั​ัส ใกล้ ้ชิ​ิดกั​ับเด็​็กวั​ัยเรี​ียน โปรดล้ ้างมื​ือของคุ​ุณบ่​่อยๆ ระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันของมี​ี ความบกพร่​่องที่​่�เกิ​ิดจากทั้​้�งโรคและการรั​ักษา การจั​ัดการกั​ับมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมา ของคุ​ุณเป็​็ นสิ่​่�งที่​่�ต้ ้องได้ ้รั​ับความสำำ�คั​ัญสู​ูงสุ​ุดจนกว่​่าจะถึ​ึงภาวะโรคสงบหรื​ือ สถานการณ์​์ที่​่ค � งที่​่�

ที​ีมดู​ูแลสุ​ุขภาพของคุ​ุณ

ในขณะที่​่�นั​ักโลหิ​ิตวิท ิ ยา-นั​ักมะเร็​็งวิ​ิทยาวางแผนและให้ ้การรั​ักษา ที​ีมดู​ูแลสุ​ุขภาพ ของคุ​ุณอาจรวมถึ​ึงสมาชิ​ิกที่​่�สำำ�คัญ ั ดั​ังต่​่อไปนี้​้�:

¡ แพทย์​์ปฐมภู​ูมิห ิ รื​ือแพทย์​์เวชศาสตร์​์ ครอบครั​ัว ¡ พยาบาลหรื​ือพยาบาลเวชปฏิ​ิบัติ ั ิ ั ยแพทย์​์กระดู​ูกและข้ ้อ(ผู้​้� ¡ ศัล เชี่​่�ยวชาญด้ ้านกระดู​ูก)

¡ เภสั​ัชกร ¡ นั​ักวั​ักกวิ​ิทยา (ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านไต) ¡ ทัน ั ตแพทย์​์และ/หรื​ือทั​ันตแพทย์​์ ศั​ัลยกรรมช่​่องปาก

� สารอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิระหว่​่าง การดู​ูแลอย่​่างดี​ีที่​่สุ​ุด � จะเกิ​ิดขึ้​้�นเมื่​่�อมี​ีการการสื่​่อ ิ ในที​ีมดู​ูแลสุ​ุขภาพของคุ​ุณและคุ​ุณหรื​ือผู้​้ดู​ู สมาชิก � แลที่​่ไ� ด้​้รั ับมอบหมายของ คุ​ุณ

ผู้​้ป่ � ่ วยมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาและโควิ​ิด-19

เข้ ้าชมที่​่�หน้ ้าโควิ​ิด-19 ที่​่�เว็​็บไซต์​์ของ IMF covid19.myeloma.orgสำำ�หรั​ับข้ ้อมู​ูล ล่​่าสุ​ุดผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมา รู​ูปแบบใหม่​่ที่​่แ � ตกต่​่างของโควิ​ิด-19 ยั​ังคงปรากฏ ออกมาอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง และการระมั​ัดระวั​ังเป็​็ นสิ่​่�งแนะนำำ �ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมา เช่​่น การใช้ ้ผ้ ้าปิ​ิ ดปากภายในในอาคารและในสถานการณ์​์ที่​่มี � ค ี วามเสี่​่�ยงที่​่�มากขึ้​้น � จาก การได้ ้รั​ับเชื้​้�อ IMF ขอแนะนำำ �ว่​่าผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมา SMM หรื​ือ MGUS ควรจะได้ ้รั​ับวั​ัคซี​ีน ไม่​่ว่​่าจะเป็​็ นวั​ัคซี​ีนโควิ​ิด-19 ไฟเซอร์​์-ไบออนเทค หรื​ือวั​ัคซี​ีนโควิ​ิด-19 โมเดอร์​์ นา ชนิ​ิดใดก็​็ได้ ้ที่​่�คุ​ุณสามารถหาได้ ้ วั​ัคซี​ีนดั​ังกล่​่าวให้ ้คุ​ุณประโยชน์​์ที่​่ดี � เี ยี่​่�ยม และในปั​ั จจุ​ุบั​ันนี้​้�ความมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพก็​็มีค่ ี ่าเกิ​ินข้ ้อกั​ังวลเรื่​่�องความอั​ันตรายไป มาก ก่​่อนที่​่�จะมี​ีการวางแผนการได้ ้รั​ับวั​ัคซี​ีนโควิ​ิด-19 โปรคพู​ูดคุ​ุยกั​ับแพทย์​์ที่​่� รั​ักษามะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมาของคุ​ุณเพื่​่�อจั​ัดการกั​ับข้ ้อสงสยหรื​ือข้ ้อกั​ังวลใดๆ ที่​่�คุ​ุณ อาจมี​ี ถ้ ้าคุ​ุณได้ ้รั​ับวั​ัคซี​ีนแล้ ้ว โปรดถามแพทย์​์ของคุ​ุณถ้ ้าคุ​ุณต้ ้องได้ ้รั​ับบู​ูสเตอร์​์ เพิ่​่�มเติ​ิม

28

1.818.487.7455


ในการปิ​ิดท้​้าย

หนั​ั งสื​ือเล่​่มเล็​็กเล่​่มนี้​้�ไม่​่ไม่​่เจตนาเพื่​่�อใช้ ้แทนที่​่�คำำ�แนะนำำ �จากแพทย์​์และพยาบาล ของคุ​ุณ ซึ่​่�งเป็​็ นผู้​้�ที่​่�จะสามารถตอบคำำ�ถามได้ ้ดี​ีที่​่สุ � ด ุ ในเรื่​่�องเกี่​่�ยวกั​ับแผนในการ จั​ัดการการดู​ูแลสุ​ุขภาพในแบบที่​่�เหมาะสมกั​ับคุณ ุ IMF มี​ีความตั้​้�งใจที่​่�จะให้ ้ข้ ้อมู​ูล ที่​่�จะเป็​็ นแนวทางในการปรึ​ึกษาหารื​ือกั​ับทีม ี ดู​ูแลสุ​ุขภาพของคุ​ุณ เพื่​่�อช่​่วยให้ ้แน่​่ใจ ว่​่าจะได้ ้รั​ับการรั​ักษาที่​่�มีป ี ระสิ​ิทธิ​ิผลพร้ ้อมกั​ับคุณ ุ ภาพชี​ีวิตที่​่ ิ ดี � ี คุ​ุณจะต้ ้องมี​ีบทบาท เป็​็ นผู้​้�ที่​่�มีส่ ี ว่ นร่​่วมในการดู​ูแลทางการแพทย์​์ของคุ​ุณ เราขอแนะนำำ �ให้ ้คุ​ุณเข้ ้าชมที่​่� myeloma.orgสำำ�หรั​ับข้ ้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิมเกี่​่�ยวกั​ับมะเร็​็ง ั ของ IMFด้ ้วย มั​ัยอี​ีโลมาและเพื่​่�อติ​ิดต่อ ่ ศู​ูนย์​์ให้​้บริ​ิการข้​้อมู​ูลทางโทรศัพท์​์ ข้ ้อสงสั​ัยและข้ ้อกั​ังวลที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาของคุ​ุณ ศู​ูนย์​์ให้ ้บริ​ิการข้ ้อมู​ูล ทางโทรศั​ัพท์​์ของ IMF ให้ ้ให้ ้ข้ ้อมู​ูลที่​่�เป็​็ นปั​ั จจุบั ุ น ั มากที่​่�สุด ุ และถู​ูกต้ ้องมาโดย ตลอดในเรื่​่�องที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับมะเร็​็งมั​ันอี​ีโลมาในด้ ้านการดู​ูแลและการมี​ีความเห็​็นอก เห็​็นใจ ติ​ิดต่อ ่ ศู​ูนย์​์ให้ ้บริ​ิการข้ ้อมู​ูลทางโทรศั​ัพท์​์ของ IMF ที่​่� 1.818.487.7455 หรื​ือ InfoLine@myeloma.org

ั เฉพาะและคำำ�นิ​ิยาม ศัพท์​์

ศั​ัพท์​์เฉพาะที่​่�ได้ ้รั​ับการคั​ัดเลื​ือกดั​ังต่​่อไปนี้​้�ได้ ้ถู​ูกนำำ �มาใช้ ้ในหนั​ังสื​ือเล่​่มเล็​็กเล่​่ม นี้​้� ในขณะที่​่�ชุดร ุ วบรวมฉบั​ับสมบู​ูรณ์ข ์ องคำำ�ศั​ัพท์​์ที่​่เ� กี่​่�ยวข้ ้องกั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ั ของศัพท์​์ ั เฉพาะทางและคำำ�นิ​ิยามในมะเร็​็งมั ัย สามารถดู​ูได้ ้ที่​่�อภิ​ิธานศัพท์​์ อี​ีโลมาของ (Understanding Myeloma Vocabulary) IMFซึ่​่�งอยู่​่�ที่​่� glossary. myeloma.org อั ัลบู​ูมิ​ิน (ALB): โปรตี​ีนละลายน้ำำ� �ทั่​่ว� ไปที่​่�พบซี​ีรัม ั หรื​ือน้ำำ� �เหลื​ืองของเลื​ือด การสร้ ้าง อั​ัลบู​ูมิน ิ ถู​ูกยั​ับยั้​้ง� โดยอิ​ินเตอร์​์ลิวิ คิ​ิน-6 ในขณะที่​่�มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาแสดงอาการรุ​ุนแรง โรคอะไมลอยด์​์โดสิ​ิสชนิ​ิดอะไมลอยด์​์โพลี​ีเปปไท ด์​์สายเบา (โรคอะไมลอยด์​์โดสิ​ิสชนิ​ิด AL ): ความผิ​ิดปกติ​ิในพลาสมาเซลล์​์ที่​่โ� ปรตี​ีนชนิ​ิดโพลี​ี เปปไทด์​์สายเบาไม่​่ถูก ู ขั​ับออกโดยไต แต่​่กลายเป็​็ นว่​่าโปรตี​ีนจะเชื่​่�อมระหว่​่างกั​ันแทน และเส้ ้นใยอะไมลอยด์​์เล็​็กเหล่​่านี้​้�จึ​ึงสะสมอยู่​่�ในเนื้​้�อเยื่​่�อและอวั​ัยวะ ซึ่​่�งโดยทั่​่�วไปแล้ ้ว ้ จะเกิ​ิดขึ้​้น � มากที่​่�สุดที่​่ ุ ไ� ต หั​ัวใจ ทางเดิ​ินอาหารส่​่วนกระเพาะลำำ�ไส้ (GI) เส้ ้นประสาทรอบ นอก ผิ​ิวหนั​ัง และเนื้​้�อเยื่​่�ออ่​่อน นอกจากนี้​้�โรคอะไมลอยด์​์โดสิ​ิสชนิ​ิด AL ยั​ังมี​ีอีก ี ชื่​่�อหนึ่​่�ง ว่​่าโรคอะไมลอยด์​์โดสิ​ิสระดั​ับปฐมภู​ูมิอี ิ ก ี ด้ ้วย โปรดดู​ูที่​่� “โรคอะไมลอยด์​์โดสิ​ิส” ภาวะโลหิ​ิตจาง: เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดงบรรจุ​ุฮีโี มโกลบิ​ิน ซึ่​่�งเป็​็ นโปรตี​ีนชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่� ลำำ�เลี​ียงออกซิ​ิเจนไปยั​ังเนื้​้�อเยื่​่�อและอวั​ัยวะของร่​่างกาย โดยปกติ​ิแล้ ้วภาวะโลหิ​ิต จางจะถู​ูกนิ​ิยามว่​่าคื​ือการที่​่�มีค่ ี า่ ของฮี​ีโมโกลบิ​ินลดลง < 10 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ หรื​ือมี​ีค่า่ ลดลง ≥ 2 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ จากจากระดั​ับปกติ​ิของแต่​่ละบุ​ุคคล การมี​ีค่า่ ของฮี​ีโมโกล บิ​ินมากกว่​่า 13–14 กรั​ัม/เดซิ​ิลิตร ิ ถื​ือว่​่าเป็​็ นปกติ​ิ การมี​ีระดั​ับออกซิ​ิเจนในร่​่างกายต่ำำ�� อาจทำำ�ให้ ้เกิ​ิดอาการหายใจลำำ�บากและรู้​้�สึ​ึกอ่​่อนเพลี​ีย ในผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่� ได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ั มใหม่​่จำำ�นวนมากจะมี​ีภาวะโลหิ​ิตจาง แอนติ​ิบอดี​ี: โปรตี​ีนชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่�สร้ ้างโดยพลาสมาเซลล์​์ในการตอบสนองต่​่อ แอนติ​ิเจนที่​่�เข้ ้ามาในร่​่างกาย โปรดดู​ูที่​่� “แอนติ​ิเจน” และ “อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิ​ิน (Ig)” แอนติ​ิเจน: สารแปลกปลอมใดๆ ก็​็ตามที่​่�ทำำ�ให้ ้ระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันสร้ ้างแอนติ​ิบอดี​ีตาม ธรรมชาติ​ิขึ้น ้� มา ตั​ัวอย่​่างของแอนติ​ิเจนได้ ้แก่​่ แบคที​ีเรี​ีย ไวรั​ัส ปรสิ​ิต เชื้​้�อรา และสาร myeloma.org

29


พิ​ิษ ั ญาณและอาการ ที่​่ไ� ม่​่แสดงอาการ: ไม่​่ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดสัญ มะเร็​็ งมั ัยอี​ีโลมาเบนซ์-์ โจนส์:์ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีลั ี ักษณะโดยมี​ีการปรากฏ ของโปรตี​ีนเบนซ์​์-โจนส์​์ ซึ่​่�งเป็​็ นโปรตี​ีนที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิชนิด ิ หนี่​่�งในปั​ั สสาวะซึ่​่�ง สร้ ้างขึ้​้น � จากโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาชนิ​ิดฟรี​ีแคปปาหรื​ือแลมบ์​์ดา โปรดดู​ูที่​่� “โปรตี​ีนเบนซ์-์ โจนส์”์ โปรตี​ีนเบนซ์-์ โจนส์:์ โปรตี​ีนโมโนโคลนมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา โปรตี​ีนมี​ีส่ว่ นประกอบ จากโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาชนิ​ิดฟรี​ีแคปปาหรื​ือแลมบ์​์ดาอย่​่างใดอย่​่างหนึ่​่�ง เพราะ การที่​่�มีข ี นาดเล็​็ก โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาเบนซ์​์-โจนส์​์จึ​ึงสามารถลอดผ่​่านไตและไป ที่​่�ปั​ัสสาวะได้ ้ ปริ​ิมาณของโปรตี​ีนเบนซ์​์-โจนส์​์ในปั​ั สสาวะจะแสดงในรู​ูปของกรั​ัม ต่​่อ 24 ชั่​่�วโมง โดยปกติ​ิแล้ ้ว ปริ​ิมาณของโปรตี​ีนจำำ�นวนเพี่​่�ยงเล็​็กน้ ้อย (< 0.1 กรั​ัม/ 24 ชั่​่�วโมง)ยั​ังสามารรถปรากฏอยู่​่�ในปั​ั สสาวะได้ ้ แต่​่ค่อ ่ นข้ ้างจะเป็​็ นอั​ัลบู​ูมิน ิ มากกว่​่า โปรตี​ีนเบนซ์​์-โจนส์​์ การปรากฏของโปรตี​ีนเบนซ์​์-โจนส์​์ในปั​ั สสาวะเป็​็ นสิ่​่�งผิ​ิดปกติ​ิ โพลี​ีเปปไทด์​์สายหนั​ักของโปรตี​ีนมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมามี​ีขนาดใหญ่​่เกิ​ินกว่​่าจะลอดผ่​่าน ไตได้ ้ โปรดดู​ูที่​่� “มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาเบนซ์-์ โจนส์”์ เนื้​้�องอกชนิ​ิดไม่​่ร้​้ายแรง: ไม่​่ใช่​่มะเร็​็ง; ไม่​่รุก ุ รานเนื้​้�อเยื่​่�อบริ​ิเวณใกล้ ้เคี​ียงหรื​ือแพร่​่ กระจายไปยั​ังส่​่วนอื่​่�นๆ ของร่​่างกาย ไมโครโกลบู​ูลิ​ินชนิ​ิดเบตา-2 (β2-ไมโครโกลบู​ูลิ​ิน, β2M, หรื​ือ β2M): โปรตี​ีน ขนาดเล็​็กที่​่�พบอยู่​่�ในเลื​ือด การมี​ีค่า่ ในระดั​ับที่​่สู � งู จะเกิ​ิดขึ้​้น � ในผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา การมี​ีค่า่ ในระดั​ับที่​่ต่ำ � ำ�� หรื​ือปกติ​ิจะเกิ​ิดขึ้​้น � ในผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาแรกเริ่​่�มและ/หรื​ือ โรคที่​่�ไม่​่แสดงอาการ ประมาณ 10% ของผู้​้�ป่​่วยจะมี​ีมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�ไม่​่ได้ ้สร้ ้าง β2M ในช่​่วงที่​่�มีอ ี าการทรุ​ุด β2M สามารถมี​ีค่า่ เพิ่​่�มขึ้​้น � ได้ ้ก่​่อนที่​่�จะมี​ีการเปลี่​่�ยนแปลง ระดั​ับของโปรตี​ีนมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ปั​ั จจั​ัยอย่​่างเช่​่น การติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัส บางครั้​้�งสามารถ สร้ ้างทำำ�ให้ ้ระดั​ับ β2M ในซี​ีรั​ัมสู​ูงขึ้​้น � ได้ ้ � เนื้​้�อเยื่​่�อ: การนำำ �ตัวั อย่​่างเนื้​้�อเยื่​่�อออกเพื่​่�อใช้ ้สำำ�หรั​ับการตรวจด้ ้วย การตรวจชิ้​้น กล้ ้องจุ​ุลทรรศน์​์เพื่​่�อช่​่วยในการวิ​ินิจฉั ิ ัย บิ​ิสฟอสโฟเนต: ประเภทของชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่�ใช้ ้ขั​ัดขวางต่​่อการเคลื่​่�อนไหวของเซลล์​์ ทำำ�ลายกระดู​ูก (การสลายกระดู​ูก) และจั​ับตัวั กั​ับพื้​้น � ผิ​ิวของกระดู​ูกบริ​ิเวณที่​่�มีก ี ารดึ​ึง ออกเพื่​่�อสลายหรื​ือทำำ�ลาย ไขกระดู​ูก: เนื้​้�อเยื่​่�อที่​่�มีลั ี ก ั ษณะพรุ​ุนและนุ่​่�มในจุ​ุดกึ่​่ง� กลางของกระดู​ูกที่​่�ผลิ​ิตเม็​็ด เลื​ือดขาว เม็​็ดเลื​ือดแดง และเกล็​็ดเลื​ือด ในขณะที่​่�มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมากำำ�ลังั เจริ​ิญ เติ​ิบโต พลาสมาเซลล์​์ที่​่ผิ � ด ิ ปกติ​ิจะสร้ ้างขึ้​้น � ในไขกระดู​ูก การเจาะไขกระดู​ูก: การนำำ �ออกโดยการใช้ ้เข็​็มที่​่�ตัวั อย่​่างของเหลวและเซลล์​์จาก ไขกระดู​ูกเพื่​่�อใช้ ้สำำ�หรั​ับการตรวจด้ ้วยกล้ ้องจุ​ุลทรรศน์​์ C-รี​ีแอคที​ีฟโปรตี​ีน (CRP): โปรตี​ีนชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่�สร้ ้างขึ้​้น � ในตั​ับที่​่ส � ามารถเพิ่​่�มจำำ�นวน ได้ ้เมื่​่�อมี​ีการอั​ักเสบเกิ​ิดขึ้​้น � ทั่​่�วทั้​้�งร่​่างกาย แคลเซี​ียม: แร่​่ธาตุ​ุชนิด ิ หนึ่​่�งที่​่�ส่ว่ นใหญ่​่​่พ � บในส่​่วนที่​่�แข็​็งของเนื้​้�อกระดู​ูก (ไฮดรอก ซี​ีแอปาไทต์​์) ถ้ ้าผลิ​ิตหรื​ือปล่​่อยออกมาในปริ​ิมาณที่​่�มากเกิ​ินไป จะสามารถสะสมตั​ัว 30

1.818.487.7455


ในกระแสเลื​ือดได้ ้ โปรดดู​ูที่​่� “ภาวะแคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูง” มะเร็​็ง: ศั​ัพท์​์เฉพาะคำำ�หนึ่​่�งสำำ�หรั​ับโรคที่​่�มีเี ซลล์​์เนื้​้�องอกชนิ​ิดร้ ้ายแรงแบ่​่งตั​ัวโดยไม่​่มี ี การควบคุ​ุม เซลล์​์มะเร็​็งสามารถรุ​ุกรานเนื้​้�อเยื่​่�อในบริ​ิเวณใกล้ ้เคี​ียงและแพร่​่กระจาย ไปทั่​่�วกระแสเลื​ือดและระบบน้ำำ� �เหลื​ืองไปยั​ังส่​่วนอื่​่�นๆ ของร่​่างกาย โครโมโซม: สายหนึ่​่�งของ DNA และโปรตี​ีนในนิ​ิวเคลี​ียสของเซลล์​์ โครโมโซมบรรจุ​ุ ยี​ีนส์​์และทำำ�หน้ ้าที่​่�ในการส่​่งผ่​่านข้ ้อมู​ูลทางพั​ันธุ​ุกรรม โดยปกติ​ิแล้ ้ว เซลล์​์ของมนุ​ุษย์​์ จะบรรจุ​ุโครโมโซมจำำ�นวน 46 แท่​่ง (23คู่​่�) � วนโครโมโซม – การกลายพั​ันธุ์​์�ระดั​ับยีน •ก ารขาดหายไปของชิ้​้นส่​่ ี ที่​่�ส่ว่ นหนึ่​่�ง หรื​ือทั้​้�งหมดของโครโมโซมเกิ​ิดการสู​ูญหายระหว่​่างการจำำ�ลองตั​ัวเองของดี​ีเอ็​็น เอ การขาดหายไปของชิ้​้�นส่​่วนโครโมโซมที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น � ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาได้ ้แก่​่ การ สู​ูญเสี​ียแขนยาวของโครโมโซม 13 (เขี​ียนในรู​ูปของ 13q-) หรื​ือการสู​ูญเสี​ียแขน สั้​้�นของโครโมโซม 17 (เขี​ียนในรู​ูปของ 17p-) ั •ก ารสับเปลี่​่ ย � นโครโมโซม – การกลายพั​ันธุ์​์�ระดั​ับยีน ี ที่​่�มีส่ ี ว่ นต่​่างๆ ของ โครโมโซมที่​่�แตกต่​่างกั​ันถู​ูกจั​ัดเรี​ียงใหม่​่ จะเขี​ียนใรรู​ูปของตั​ัวอั​ักษรพิ​ิมพ์​์เล็​็ก “t” แล้ ้วตามด้ ้วยตั​ัวเลขของโครโมโซมของสารพั​ันธุ​ุกรรมที่​่�ถูก ู สั​ับเปลี่​่�ยน การสั​ับ เปลี่​่�ยนที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น � ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาได้ ้แก่​่ t(4;14), t(11;14), t(14;16), และ t(14;20) การทดลองทางคลิ​ินิ​ิก: การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยในการรั​ักษาใหม่​่ที่​่ข้ � ้องเกี่​่�ยวกั​ับผู้​้�ป่​่วย การ ศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยแต่​่ละชิ้​้�นออกแบบมาเพื่​่�อหาวิ​ิธีที่​่ ี ดี � ก ี ว่​่าในการขั​ัดขวาง ตรวจจั​ับ วิ​ินิจฉั ิ ัย หรื​ือรั​ักษามะเร็​็งและเพื่​่�อตอบข้ ้อสงสั​ัยทางวิ​ิทยาศาสตร์​์

•ก ารสะสม – กระบวนการของการลงทะเบี​ียนผู้​้�ป่​่วยในการทดลองทางคลิ​ินิก ิ หรื​ือ จำำ�นวนผู้​้�ป่​่วยที่​่�ผ่า่ นการลงทะเบี​ียนเรี​ียบร้ ้อยแล้ ้ว หรื​ือกำำ�ลังั จะลงทะเบี​ียนในการ ทดลองทางคลิ​ินิก ิ •ก ลุ่​่ม � – กลุ่​่�มทดลองในการศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยแบบสุ่​่�มที่​่�มีส ี องหรื​ือมากกว่​่าสองกลุ่​่�ม •ก ลุ่​่มคน � กลุ่​่ม � หนึ่​่ง� – กลุ่​่�มของผู้​้�ป่​่วยในการศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยเดี​ียวกั​ันที่​่�ได้ ้รั​ับการรั​ักษา หรื​ือยาหลอก (ไม่​่มีก ี ารรั​ักษา) •ก ลุ่​่มค � วบคุ​ุม – กลุ่​่�มของการศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยแบบสุ่​่�มที่​่�ได้ ้รั​ับการรั​ักษามาตรฐานหรื​ือยา หลอก •ก ารปกปิ​ิดสองทาง – เมื่​่�อทั้​้�งผู้​้�ป่​่วยและผู้​้�วิ​ิจั​ัยไม่​่รู้​้�กลุ่​่�มของการทดลองที่​่�ผู้​้�ป่​่วย ได้ ้รั​ับการสุ่​่�มเลื​ือก มี​ีจุด ุ ประสงค์​์เพื่​่�อขจั​ัดความอคติ​ิในการรายงานผลการทดลอง ออกไป • ตั ัวชี้​้วั� ัด – เป้​้ าหมายของการศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัย ตั​ัวชี้​้�วัดข ั องการทดลองทางคลิ​ินิก ิ มุ่​่�งไปที่​่� การวั​ัดความเป็​็ นพิ​ิษ อั​ัตราการตอบสนอง หรื​ือภาวะการอยู่​่�รอด •ก ลุ่​่มทดล � อง – กลุ่​่�มของการศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยแบบสุ่​่�มที่​่�ได้ ้รั​ับการรั​ักษาใหม่​่ � – การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยที่​่�ผู้​้�ป่​่วยได้ ้รั​ับมอบหมายแบบ •ก ารทดลองทางคลิ​ินิ​ิกแบบสุ่​่ม สุ่​่�มให้ ้ได้ ้รั​ับการรั​ักษาแบบเฉพาะเจาะจง •ก ารทดลองทางคลิ​ินิ​ิกในระยะที่​่� 1 – การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยที่​่�มีเี พื่​่�อกำำ�หนดขนาดยาที่​่� มากที่​่�สุดที่​่ ุ ร่� า่ งกายสามารถทนได้ ้ (MTD) และ ประวิ​ิติโิ ดยย่​่อของยาในด้ ้านความ ปลอดภั​ัย หรื​ือสู​ูตรผสมใหม่​่ของยา นี่​่�อาจเป็​็ นการทดสอบการรั​ักษาแบบใหม่​่ใน มนุ​ุษย์​์ครั้​้�งแรก โปรดทราบว่​่าในการรั​ักษาแบบผสมผสาน องค์​์ประกอบแต่​่ละ อย่​่างอาจได้ ้รั​ับการทดสอบมาอย่​่างดี​ีแล้ ้วในมนุ​ุษย์​์ •ก ารทดลองทางคลิ​ินิ​ิกในระยะที่​่� 2 – การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยที่​่�ออกแบบมาเพื่​่�อกำำ�หนด myeloma.org

31


ความมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพและความปลอดภั​ัยของการรั​ักษาแบบใหม่​่ที่​่ไ� ด้ ้รั​ับการ ทดสอบในการทดลองระยะที่​่� 1 ตามปกติ​ิแล้ ้วผู้​้�ป่​่วยจะถู​ูกกำำ�หนดให้ ้มี​ีโรคที่​่� สามารถวั​ัดค่า่ ได้ ้และดื้​้�อต่​่อการรั​ักษาแบบมาตราฐานใดๆ หากผลลั​ัพธ์​์ของการ ศึ​ึกษาในระยะที่​่� 2 ได้ ้ผลดี​ีมากกว่​่าการรั​ักษาแบบมาตราฐานอย่​่างชั​ัดเจน ดั​ังนั้​้�น การรั​ักษาอาจได้ ้รั​ับการอนุ​ุมัติ ั โิ ดยที่​่�ไม่​่ต้ ้องมี​ีการทดสอบอี​ีกในการศึ​ึกษาในระยะ ที่​่� 3 หากผลลั​ัพธ์​์ของการศึ​ึกษาในระยะที่​่� 2 มี​ีแนวโน้ ้มว่​่าจะดี​ี อาจมี​ีการทดสอบ การรั​ักษาในการศึ​ึกษาในระยะที่​่� 3 •ก ารทดลองทางคลิ​ินิ​ิกในระยะที่​่� 3 – การศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยที่​่�เปรี​ียบเที​ียบการรั​ักษา ตั้​้�งแต่​่สองวิ​ิธีขึ้ ี น ้� ไป ตั​ัวชี้​้�วัดข ั องการศึ​ึกษาในระยะที่​่� 3 อาจเป็​็ นอั​ัตราการอยู่​่�รอด หรื​ือระยะโรคสงบ (PFS) โดยทั่​่�วไปการศึ​ึกษาในระยะที่​่� 3 จะเป็​็ นแบบสุ่​่�ม ดั​ังนั้​้�นผู้​้� ป่​่ วยจึ​ึงไม่​่ได้ ้เลื​ือกว่​่าจะรั​ับการรั​ักษาแบบใด การทดลองในระยะที่​่� 3 บางประเภท จะเปรี​ียบเที​ียบการรั​ักษาแบบใหม่​่ที่​่มี � ผ ี ลลั​ัพธ์​์ที่​่ดี � ใี นการศึ​ึกษาในระยะที่​่� 2 กั​ับการ รั​ักษาแบบมาตรฐานของการดู​ูแล; การศึ​ึกษาในระยะที่​่� 3 อื่​่�นๆ จะเปรี​ียบเที​ียบการ รั​ักษาที่​่�ใช้ ้กั​ันทั่​่�วไปอยู่​่�แล้ ้ว • การทดลองทางคลิ​ินิก ิ ในระยะที่​่� 4 – แม้ ้ว่​่าหลั​ังจากยาได้ ้รั​ับการอนุ​ุมั​ัติ ิ โดย U.S. Food and Drug Administration (FDA, องค์​์การอาหารและยาของ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา) แล้ ้วก็​็ตาม เพื่​่�อใช้ ้ในการบ่​่งชี้​้�โดยเฉพาะ อาจจำำ�เป็​็ นที่​่�ต้ ้องศึ​ึกษา วิ​ิจั​ัยเพิ่​่�มเติ​ิม ตั​ัวอย่​่างเช่​่น การเฝ้​้ าระวั​ังด้ ้านความปลอดภั​ัยได้ ้รั​ับการออกแบบมา เพื่​่�อตรวจจั​ับผลข้ ้างเคี​ียงชนิ​ิดที่​่พ � บได้ ้ยากหรื​ือในระยะยาวต่​่อประชากรผู้​้�ป่​่วย จำำ�นวนมากขึ้​้น � และมี​ีระยะเวลาที่​่�นานกว่​่าที่​่�เป็​็ นไปได้ ้ในระหว่​่างการทดลองทาง คลิ​ินิก ิ ในระยะที่​่� 1-3 เอกซเรย์​์คอมพิ​ิวเตอร์​์ตามแนวแกน (CAT หรื​ือ CT): เป็​็ นการสร้ ้างภาพสามมิ​ิติข ิ อง โครงสร้ ้างภาพในร่​่างกาย ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา จะใช้ ้เมื่​่�อเอ็​็กซเรย์​์แสดงผลลบหรื​ือเพื่​่�อ สแกนรายละเอี​ียดเพิ่​่�มเติ​ิมในพื้​้�นที่​่�เฉพาะ มี​ีประโยชน์​์อย่​่างยิ่​่�งสำำ�หรั​ับการตรวจจั​ับหรื​ือ การประเมิ​ินที่​่�ต้ ้องการรายละเอี​ียดของบริ​ิเวณที่​่�มีข ี นาดเล็​็กของความเสี​ียหายของ กระดู​ูกหรื​ือการกดทั​ับเส้ ้นประสาท เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม, ความเสี​ียหายของไต, โลหิ​ิตจาง, ความเสี​ียหายของกระดู​ูก): ระดั​ับ Calcium (แคลเซี​ียม) ในเลื​ือดที่​่�สูงู ขึ้​้น � Renal (kidney) damage (ความเสี​ียหายของไต) Anemia (ภาวะโลหิ​ิตจาง) หรื​ือค่​่าเม็​็ด เลื​ือดแดงต่ำำ�� และ Bone damage (ความเสี​ียหายของกระดู​ูก) เป็​็ นเกณฑ์​์ที่​่ใ� ช้ ้เพื่​่�อ วิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาควบคู่​่�กั​ับ “กรณี​ีที่​่นิ � ย ิ ามว่​่าเป็​็นมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา (MDE)” ไซโตไคน์​์: ไซโตไคน์​์เป็​็ นโปรตี​ีนที่​่�หมุ​ุนเวี​ียนอยู่​่�ในกระแสเลื​ือด ซึ่​่�งปกติ​ิแล้ ้วเป็​็ นการ ตอบสนองต่​่อการติ​ิดเชื้​้�อ ไซโตไคน์​์สามารถกระตุ้​้�นหรื​ือยั​ับยั้​้ง� การเจริ​ิญเติ​ิบโตหรื​ือ กิ​ิจกรรมของเซลล์​์อื่​่น � ๆ อิ​ิเล็​็กโทรโฟรี​ีซิ​ิส: การทดสอบทางห้ ้องปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารที่​่�ใช้ ้เพื่​่�อการวิ​ินิจฉั ิ ัยหรื​ือการตรวจ ติ​ิดตามโดยการแยกโปรตี​ีนในซี​ีรัม ั (เลื​ือด) หรื​ือโปรตี​ีนในปั​ั สสาวะถู​ูกตามขนาดและ ิ ในซี​ีรัม ประจุ​ุไฟฟ้​้ า อิ​ิเล็​็กโทรโฟรี​ีซิส ั หรื​ือปั​ั สสาวะ (SPEP or UPEP) ช่​่วยในทั้​้�งการคำำ�นวณ ปริ​ิมาณโปรตี​ีนมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและการระบุ​ุ​ุ�ชนิดข ิ อง M-สไปค์​์ สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยแต่​่ละราย พลาสมาไซโตมานอกไขกระดู​ูก: เนื้​้�องอกของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมโนโคลนที่​่� พบในเนื้​้�อเยื่​่�ออ่​่อนภายนอกไขกระดู​ูกและแยกออกจากกระดู​ูก ี ารที่​่�ช่ว่ ยให้ ้ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้ ้านมะเร็​็งมั​ัยอี​ี วิ​ิธี​ีการตรวจด้​้วยสารเรื​ืองแสง (FISH): วิ​ิธีก 32

1.818.487.7455


โลมาระบุ​ุตำำ�แหน่​่งของลำำ�ดับข ั อง DNA ที่​่�จำำ�เพาะบนโครโมโซมได้ ้ โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระ (FLC): โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาชนิ​ิดอิม ิ มู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ คื​ือ หน่​่วยที่​่�เล็​็กกว่​่าของสองหน่​่วยที่​่�ประกอบกั​ันเป็​็ นแอนติ​ิบอดี​ี โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา มี​ีสองชนิ​ิด: แคปปาและแลมบ์​์ดา โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอาจจะเชื่​่�อมติ​ิดกับ ั โพลี​ีเปป ไทด์​์สายหนั​ักหรื​ืออาจจะไม่​่เชื่​่�อมติ​ิดเลยก็​็ได้ ้ (อิ​ิสระ) โพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระ หมุ​ุนเวี​ียนอยู่​่�ในเลื​ือดและมี​ีขนาดเล็​็กมากพอที่​่�จะผ่​่านไปยั​ังไต ซึ่​่�งอาจจะถู​ูกกรอง ออกสู่​่�ปั​ั สสาวะหรื​ืออาจจะเชื่​่�อมติ​ิดกัน ั และไปอุ​ุดกั้​้น � หลอดไตฝอยได้ ้ การบำำ�บั ัดชนิ​ิดแรก: คำำ�ศั​ัพท์​์ทั่​่ว� ไปสำำ�หรั​ับการรั​ักษาแรกเริ่​่�มที่​่�ใช้ ้ในการพยายามให้ ้ ได้ ้รั​ับการตอบสนองในผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เพิ่​่�งได้ ้รั​ับการวิ​ินิจฉั ิ ัย โปรดดู​ูที่​่� “การรั ักษาระยะแรก” และ “การตอบสนอง” นั ักโลหิ​ิตวิ​ิทยา: แพทย์​์ที่​่เ� ชี่​่�ยวชาญด้ ้านปั​ั ญหาเรื่​่�องเลื​ือดและไขกระดู​ูก ่� งสู​ูง: มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีแ มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดความเสี่ย ี นวโน้ ้มว่​่าจะมี​ีอาการ ทรุ​ุดอย่​่างรวดเร็​็วหลั​ังการรั​ักษาหรื​ือดื้​้�อต่​่อการรั​ักษา ตามที่​่�กำำ�หนดโดยความผิ​ิดปกติ​ิ ทางเซลล์​์พั​ันธุ​ุกรรม (โครโมโซม) แบบ t(4;14), t(14;16), t(14;20), del 17p, และ 1q gain ควบคู่​่�กั​ับ Revised International Staging System (R-ISS, ระบบการแบ่​่งระยะ สากลฉบั​ับแก้ ้ไข) โรคในระยะที่​่� 3 และ/หรื​ือสั​ัญลั​ักษณ์​์ประวั​ัติข ิ องการแสดงออก ของยี​ีนส์​์ (GEP) ชนิ​ิดความเสี่​่�ยงสู​ูง ภาวะแคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูง: ระดั​ับของแคลเซี​ียมในเลื​ือดที่​่�สูงู มากกว่​่าปกติ​ิ ในผู้​้� ป่​่ วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา โดยปกติ​ิแล้ ้วจะส่​่งผลมาจากการสลายกระดู​ูกพร้ ้อบกั​ัยการ ปล่​่อยแคลเซี​ียมจากกระดู​ูกเข้ ้าสู่​่�กระแสเลื​ือด ภาวะนี้​้�สามารถทำำ�ให้ ้เกิ​ิดอาการ จำำ�นวนมาก ได้ ้แก่​่ ภาวะเบื่​่�ออาหาร อการคลื่​่�นไส้ ้ การกระหายน้ำำ� � การเมื่​่�อยล้ ้า การ อ่​่อนแรงของกล้ ้ามเนื้​้�อ การกระสั​ับกระส่​่าย และ การสั​ับสน โปรดดู​ูที่​่� “แคลเซี​ียม” ระบบภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั ัน: ระบบการป้​้ องกั​ันของร่​่างกายที่​่�ทำำ�ลายเซลล์​์ที่​่ติ � ด ิ เชื้​้�อและเซลล์​์ เนื้​้�องอกชนิ​ิดร้ ้ายแรง และซากเซลล์​์ ระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันได้ ้แก่​่ เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดง อวั​ัยวะ และเนื้​้�อเยื่​่�อของระบบน้ำำ� �เหลื​ือง ั อิ​ิเล็​็กโตรโฟรี​ีซิ​ิส (IFE): การตรวจเกี่​่�ยวกั​ับภูมิ อิ​ิมมู​ูโนฟิ​ิ กเซชัน ู คุ้​้� ิ มกั​ันของซี​ีรั​ัม หรื​ือปั​ั สสาวะที่​่�ใช้ ้ระบุ​ุโปรตี​ีน สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา จะทำำ�ให้ ้แพทย์​์สามารถ ระบุ​ุชนิดข ิ อง M-โปรตี​ีน (IgG, IgA, kappa, หรื​ือ lambda) ได้ ้ เทคนิ​ิคอิ​ิมมู​ูโนสเตน นิ​ิงที่​่�ใช้ ้เป็​็ นประจำำ�ที่​่มี � ค ี วามไวมากที่​่�สุด ุ ใช้ ้ระบุ​ุชนิดที่​่ ิ แ � น่​่นอนของโพลี​ีเปปไทด์​์สาย หนั​ักและโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาของ M-โปรตี​ีน อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิ​ิน (Ig): โปรตี​ีนที่​่�ผลิ​ิตโดยพลาสมาเซลล์​์; ส่​่วนที่​่�จำำ�เป็​็ นของระบบ ภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันของร่​่างกาย อิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ จะจั​ับกับ ั สารแปลกปลอม (แอนติ​ิเจน) และ ช่​่วยในการทำำ�ลายสารแปลกปลอม ประเภท (ไอโซไทป์​์ ) ของอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ได้ ้แก่​่ IgG, IgA, IgD, IgE, และ IgM โปรดดู​ูที่​่� “แอนติ​ิบอดี​ี” และ “แอนติ​ิเจน” • I gG, IgA – ประเภทของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�พบได้ ้บ่​่อยมากที่​่�สุด ุ G และ A อ้ ้างอิ​ิง ถึ​ึงโพลี​ีเปปไทด์​์สายหนั​ักชนิ​ิดอิม ิ มู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ซึ่​่�งผลิ​ิตโดยเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมา

• I gD, IgEA – ประเภทของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�เกิ​ิดได้ ้บ่​่อยน้ ้อยกว่​่า • IgMA – ประเภทนี้​้�เป็​็ นประเภทที่​่�พบได้ ้ยากของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา myeloma.org

33


ประเภท IgM ไม่​่ใช่​่แบบเเดี​ียวกั​ับแมโครโกลบู​ูลินี ิ เี มี​ียขนิ​ิดวาลเดนสรอม สารปรั ับภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั ัน: ยาที่​่�ส่ง่ ผล ส่​่งเสริ​ิม หรื​ือกดระบบภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ัน ยาปรั​ับภูมิ ู คุ้​้� ิ มกั​ัน บาง ครั้​้�งอาจเรี​ียกอี​ีกอย่​่างหนึ่​่�งว่​่าสารประกอบ IMiD® การรั ักษาระยะแรก: การรั​ักษาแรกเริ่​่�มที่​่�ให้ ้กั​ับผู้​้�ป่​่วยในการเตรี​ียมพร้ ้อม สำำ�หรั​ับการปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดโดยใช้ ้เซลล์​์ของตนเอง (ASCT) โปรดดู​ูที่​่� “การบำำ�บั ัดชนิ​ิดแรก” และ “ลำำ�ดั ับของการบำำ�บั ัด” แล็​็กเทตดี​ีไฮโดรจี​ีเนส (LDH): เอนไซม์​์ที่​่ผ � ลิ​ิตพลั​ังงานซึ่​่�งส่​่วนใหญ่​่ปรากฏอยู่​่�ใน เนื่​่�อเยื่​่�อทั้​้�งหมดของร่​่างกาย ระดั​ับของ LDH ในกระแสเลื​ือดเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้น � ในทางตอบ สนองกั​ับความเสี​ียหายของเซลล์​์ LDH อาจใช้ ้เพื่​่�อตรวจติ​ิดตามการเคลื่​่�อนไหวของ มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา รอยโรค: บริ​ิเวณของเนื้​้�อเยื่​่�อที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิ; ก้ ้อนนู​ูนหรื​ือฝี​ี ที่​่�อาจเกิ​ิดโดยการบาดเจ็​็บ หรื​ือโรคอย่​่างเช่​่น มะเร็​็ง ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา “รอยโรค” สามารถกล่​่าวถึ​ึงพลาสมาไซ โตมาหรื​ือรู​ูในกระดู​ูก

•ร อยโรคชนิ​ิดแพร่​่กระจาย – รู​ูบแบบการกระจายของการเกี่​่�ยวข้ ้องของ ไขกระดู​ูกมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในบริ​ิเวณหนื่​่�งของกระดู​ูก •ร อยโรคเฉพาะที่​่� – บริ​ิเวณที่​่�ระบุ​ุของเซลล์​์ที่​่ไ� ม่​่ปกติ​ิที่​่เ� ห็​็นในไขกระดู​ูกจากการ ศึ​ึกษาวิ​ิจั​ัยทาง MRI และ PET-CT เพื่​่�อที่​่�จะพิ​ิจารณาว่​่าใช้ ้เพื่​่�อการวิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมาได้ ้ ต้ ้องมี​ีรอยโรคเฉพาะที่​่�อย่​่างน้ ้อย 2 แห่​่งที่​่�เห็​็นได้ ้จาก MRI ที​ีมีข ี นาดอย่​่าง น้ ้อย 5 มม. •ร อยโรคกระดู​ูกสลาย – บริ​ิเวณที่​่�มีค ี วามเสี​ียหายของกระดู​ูกที่​่�ปรากฏ ในรู​ูปของจุ​ุดสีเี ข้ ้มในเอ็​็กซเรย์​์เมื่​่�อมี​ี 30% ของกระดู​ูกที่​่�แข็​็งแรงในบริ​ิเวณ หนึ่​่�งถู​ูกทำำ�ลายอย่​่างค่​่อยเป็​็ นค่​่อยไป รอยโรคกระดู​ูกสลายจะมองดู​ูเหมื​ือน รู​ูในกระดู​ูกและเป็​็ นหลั​ักฐานที่​่�แสดงว่​่ากระดู​ูกกำำ�ลังั อ่​่อนแอ โปรดดู​ูที่​่� “เกี่​่ย � วกั ับการสลาย (การสลาย)” โรคสะสมโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบา (LCDD): โรคสะสมอิ​ิมมู​ูโนโกลบู​ูลิน ิ ชนิ​ิดโมโน โคลนประเภทที่​่�พบได้ ้ยาก (MIDD) ที่​่�มีลั ี ก ั ษณะของการสะสมของโพลี​ีเปปไทด์​์สาย เบาชนิ​ิดโมโนโคลนแบบสมบู​ูรณ์ห ์ รื​ือบางส่​่วนในอวั​ัยวะ โดยปกติ​ิ LCDD จะส่​่งผลต่​่อ ไตแต่​่ก็ส ็ ามารถส่​่งผลต่​่ออวั​ัยวะอื่​่�นๆ ได้ ้ เป้​้ าหมายของการรั​ักษา LCDD คื​ือเพื่​่�อทำำ�ให้ ้ ความเสี​ียหายต่​่ออวั​ัยวะเกิ​ิดขึ้​้น � ช้ ้าลง ลำำ�ดั ับของการบำำ�บั ัด: คำำ�ศั​ัพท์​์เฉพาะทางที่​่�ใช้ ้เพื่​่�อคำำ�นวณจำำ�นวนของการบำำ�บั​ัด ที่​่�ผู้​้�ป่​่วยได้ ้รั​ับ ลำำ�ดับข ั องการบำำ�บั​ัดคือ ื รอบการรั​ักษา 1 หรื​ือมากกว่​่า 1 รอบแบบ สมบู​ูรณ์ข ์ องสู​ูตรการรั​ักษาที่​่�สามารถประกอบด้ ้วยสารเพี​ียงชนิ​ิดเดี​ียว การผสมของ ยาหลายชนิ​ิด หรื​ือการบำำ�บั​ัดของสู​ูตรการรั​ักษาต่​่างๆ ที่​่�ต่อ ่ เนื่​่�องกั​ันตามแผน โปรดดู​ูที่​่� “การรั ักษาระยะแรก” M-สไปค์​์: สไปค์​์ชนิด ิ โมโนโคลนซึ่​่�งมี​ีรูป ู แบบแหลมที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น � ในการทดสอบอิ​ิเล็​็กโต ิ ในโปรตี​ีนเป็​็ นตั​ัวบ่​่งชี้​้�สำำ�หรั​ับการเคลื่​่�อนไหวของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา รโฟรี​ีซิส โปรดดู​ูที่​่� “โมโนโคลนอล” และ “โปรตี​ีนโมโนโคลน” เครื่​่�องสร้​้างภาพด้​้วยสนามแม่​่เหล็​็กไฟฟ้​้า (MRI): การสร้ ้างภาพเพื่​่�อการวิ​ินิจฉั ิ ัย ที่​่�ใช้ ้สนามแม่​่เหล็​็กและคลื่​่�นวิ​ิทยุ​ุ ที่​่�ไม่​่ใช่​่รั​ังสี​ีชนิดก่ ิ อ ่ ไอออน เพื่​่�อสร้ ้างภาพ 2D หรื​ือ 3D แบบละเอี​ียดสำำ�หรั​ับโครงสร้ ้างภายในร่​่างกาย MRI สามารถแสดงให้ ้เห็​็นถึ​ึงการ 34

1.818.487.7455


ปรากฏและการแพร่​่กระจายของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาในไขกระดู​ูกเมื่​่�อเอ็​็กซเรย์​์ไม่​่สามารถ แสดงถึ​ึงความเสี​ียหายของกระดู​ูกได้ ้ ยั​ังสามารถแสดงให้ ้เห็​็นโรคภายนอกกระดู​ูกได้ ้ อี​ีกด้ ้วย MRI จะให้ ้ความละเอี​ียดที่​่�มีคุ ี ณ ุ ภาพสู​ูงของเนื่​่�อเยื่​่�อชนิ​ิดอ่อ ่ นนุ่​่�ม โดยเฉพาะ อย่​่างยิ่​่�งการบุ​ุกรุ​ุกไปที่​่�ไขสั​ันหลั​ัง แต่​่จะให้ ้ความถู​ูกต้ ้องที่​่�น้ ้อยกว่​่าสำำ�หรั​ับรอยโรค ของกระดู​ูกที่​่�อาจกดทั​ับเส้ ้นประสาทและ/หรื​ือไขสั​ันหลั​ัง เนื้​้�องอกชนิ​ิดร้​้ายแรง: เป็​็ นมะเร็​็ง; สามารถรุ​ุกรานเนื้​้�อเยื่​่�อบริ​ิเวณใกล้ ้เคี​ียงและแพร่​่ กระจายไปยั​ังส่​่วนอื่​่�นๆ ของร่​่างกายได้ ้ จำำ�นวนเซลล์​์มะเร็​็งที่​่ห � ลงเหลื​ือ (MRD): การปรากฏของเซลล์​์เนื้​้�องอกที่​่�ยังั เหลื​ืออยู่​่� หลั​ังการรั​ักษาสิ้​้�นสุ​ุดลงและได้ ้รั​ับการตอบสนองอย่​่างสมบู​ูรณ์​์ (CR) แล้ ้ว แม้ ้แต่​่ผู้​้�ป่​่วยที่​่� ได้ ้รั​ับ CR แบบเข้ ้มงวด (sCR) ก็​็อาจจะมี​ี MRD วิ​ิธีก ี ารทดสอบแบบใหม่​่ที่​่มี � ค ี วามไวมาก ในปั​ั จจุบั ุ น ั นี้​้�สามารถตรวจพบเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจำำ�นวน 1 เซลล์่​่� ท่​่ามกลางเซลล์​์ ตั​ัวอย่​่างจำำ�นวน 1,000,000 เซลล์​์ ในเลื​ือดหรื​ือไขกระดู​ูกได้ ้โปรดดู​ูที่​่� “MRD-ผลลบ” โมโนโคลนอล: การโคลนหรื​ือการจำำ�ลอง เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมากลายมาจาก “โมโน โคลน” ซึ่​่�งเป็​็ นพลาสมาเซลล์​์ของเนื้​้�องอกชนิ​ิดร้ ้ายแรงแบบเดี่​่�ยวในไขกระดู​ูก ชนิ​ิด ของโปรตี​ีนของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�ผลิ​ิตคือ ื โมโนโคลนเช่​่นกั​ัน ซึ่​่�งเป็​็ นรู​ูปแบบเดี่​่�ยว มากกว่​่ารู​ูปแบบจำำ�นวนมาก (โพลี​ีโคลนอล) ในทางปฏิ​ิบัติ ั ที่​่ ิ สำ � ำ�คัญ ั ของโปรตี​ีนโมโน โคลนคื​ือการที่​่�แสดงในรู​ูปแบบของ M-สไปค์​์ชนิด ิ แหลมในการทดสอบอิ​ิเล็​็กโตรโฟรี​ี ซิ​ิสของโปรตี​ีน โปรดดู​ูที่​่� “M-สไปค์​์” ำ คั ัญที่​่ร� ะบุ​ุไม่​่ได้​้ (MGUS): ประเภท โมโนโคลนอลแกมโมพาธี​ีที่​่มี​ีนั � ัยสำ� ของความผิ​ิดปกติ​ิของพลาสมาเซลล์​์ที่​่มี � ลั ี ก ั ษณะโดยการมี​ีค่า่ ของระดั​ับ โปรตี​ีนโมโนโคลนในเลื​ือดและ/หรื​ือปั​ั สสาวะต่ำำ�� กว่​่า ค่​่าของระดั​ับพลาสมา เซลล์​์ของไขกระดู​ูกต่ำำ�� (< 10%) ไม่​่ปรากฏลั​ักษณะของ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียของของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของกระดู​ูก) โปรดดู​ูที่​่� “เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียของของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของกระดู​ูก)” โปรตี​ีนโมโนโคลน (โปรตี​ีนมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา, M-โปรตี​ีน): โปรตี​ีนที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิซึ่​่ง� ผลิ​ิตจากเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�สะสมและทำำ�ความเสี​ียหายต่​่อกระดู​ูกและไขกระดู​ูก พบในปริ​ิมาณที่​่�มากผิ​ิดปกติ​ิในเลื​ือดและ/หรื​ือปั​ั สสาวะของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา โปรดดู​ูที่​่� “โมโนโคลนอล” และ “M-สไปค์​์” โรคมั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา: มะเร็​็งของพลาสมาเซลล์​์ของไขกระดู​ูก เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือด ขาวที่​่�ที่​่ส � ร้ ้างแอนติ​ิบอดี​ี พลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ มะเร็​็งจะเรี​ียกว่​่าเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา การฉายแสงในขนาดสู​ูง: รู​ูปแบบที่​่�รุน ุ แรงของภาวะการกดไขกระดู​ูกที่​่�ทำำ�ให้ ้ ผลลั​ัพธ์​์ของการให้ ้การรั​ักษาด้ ้วยยาเคมี​ีบำำ�บั​ัดหรื​ือรั​ังสี​ีในขนาดสู​ูงมี​ีการทำำ�ลายของ ความสามารถของไขกระดู​ูกในการผลิ​ิตเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดอย่​่างสมบู​ูรณ์ห ์ รื​ือเกื​ือบจะ สมบู​ูรณ์​์ โปรดดู​ูที่​่� “ภาวะการกดไขกระดู​ูก” กรณี​ีที่​่นิ � ย ิ ามว่​่าเป็​็นมะเร็​็ งมั ัยอี​ีโลมา (MDE): การวิ​ินิจฉั ิ ั ยมะเร็​็ งมั​ัยอี​ีโลมาต้ ้อง ใช้ ้หลั​ักฐานของ MDE จำำ �นวนหนึ่​่�งหรื​ือมากกว่​่าหนึ่​่�งข้ ้อ อย่​่างเช่​่น เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียของของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของกระดู​ูก), 60% หรื​ือมากกว่​่าของพลาสมาเซลล์​์โคลนในไขกระดู​ูก, อั​ัตราของโพลี​ีเปปไทด์​์สาย เบาอิ​ิสระ (FLC) ที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้อง/ไม่​่เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับซีรัี ัมที่​่�เท่​่ากั​ับหรื​ือมากกว่​่า100 หรื​ือมี​ี รอยโรคเฉพาะจุ​ุดมากกว่​่า 1 ตำำ �แหน่​่ งในเครื่​่�องสร้ ้างภาพด้ ้วยสนามแม่​่เหล็​็กไฟฟ้​้ า myeloma.org

35


โปรดดู​ูที่​่� “เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียของของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของกระดู​ูก)” ภาวะการกดไขกระดู​ูก: การลดลงของการผลิ​ิตเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดง เล็​็ดเลื​ือด และ เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาวบางส่​่วน มะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดที่​่ไ� ม่​่หลั่​่�งสาร: ประมาณ 1% ของผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาจะ ไม่​่มี ี M-โปรตี​ีนที่​่�สามารตรวจจั​ับได้ ้ในเลื​ือด (ซี​ีรั​ัม) และปั​ั สสาวะ ส่​่วนหนึ่​่�งของผู้​้�ป่​่วย ดั​ังกล่​่าวสามารถตรวจติ​ิดตามได้ ้โดยใช้ ้การทดสอบโพลี​ีเปปไทด์​์สายเบาอิ​ิสระจาก ซี​ีรั​ัม; ในรายอื่​่�นๆ อาจตรวจติ​ิดตามด้ ้วยการตรวจเนื้​้�อไขกระดู​ูกและ/หรื​ือเครื่​่�องสแกน PET-CT ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาชนิ​ิดที่​่ไ� ม่​่หลั่​่�งสารจะระกษาในแนวเดี​ียวกั​ับผู้​้�ป่​่วยโรค ที่​่�มีก ี ารหลั่​่�ง M-โปรตี​ีน นั ักมะเร็​็งวิ​ิทยา: แพทย์​์ที่​่มี � ค ี วามเชี่​่�ยวชาญในการรั​ักษามะเร็​็ง นั​ักมะเร็​็งวิ​ิทยาบาง ท่​่านจะเชี่​่�ยวชาญในชนิ​ิดที่​่จำ � ำ�เพาะของมะเร็​็ง ออสตี​ีโอบลาสท์​์: เซลล์​์กระดู​ูกที่​่�เกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับการผลิ​ิตเนื้​้�อเยื่​่�อของกระดู​ูก ออสตี​ี โอบลาสท์​์จะผลิ​ิตออสตี​ีออยด์​์ ซึ่​่�งภายหลั​ังจะมี​ีการจั​ับตัวั กั​ับแร่​่ธาตุ​ุแคลเซี​ียมเพื่​่�อ สร้ ้างเป็​็ นกระดู​ูกแข็​็งชิ้​้�นใหม่​่ ออสตี​ีโอคลาสท์​์: เซลล์​์ที่​่พ � บในรอยต่​่อระหว่​่างไขกระดู​ูกและกระดู​ูก ทำำ�หน้ ้าที่​่�ใน การสลายกระดู​ูกหรื​ือปรั​ับปรุ​ุงรู​ูปร่​่างเนื้​้�อเยื่​่�อของกระดู​ูกเก่​่าขึ้​้น � ใหม่​่ ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมา ออสตี​ีโอคลาสท์​์จะถู​ูกกระตุ้​้�นมากกว่​่าปกติ​ิ ในขณะที่​่�กิจิ กรรมภานในออสตี​ี โอบลาสท์​์จะถู​ูกยั​ับยั้​้ง� การผสมระหว่​่างการสู​ูญสลายกระดู​ูกที่​่�ถูก ู เร่​่งและการก่​่อรู​ูป ของกระดู​ูกใหม่​่ที่​่ถู � ก ู ยั​ับยั้​้ง� จะส่​่งผลให้ ้เกิ​ิดรอยโรคที่​่�มีก ี ารสลาย อั ัตราการอยู่​่ร � อดโดยรวม (OS): ค่​่ามั​ัธยฐานของแต่​่ละรายในกลุ่​่�มซึ่​่�งเป็​็ นผู้​้�ที่​่� มี​ีชีวิี ต ิ หลั​ังช่​่วงเวลาที่​่�เฉพาะเจาะจง โดยบ่​่อยครั้​้�ง OS จะใช้ ้เพื่​่�อวั​ัดประสิ​ิทธิ​ิภาพ ของการรั​ักษาในการทดลองทางคลิ​ินิก ิ ระยะเวลาที่​่�ยืด ื ออกไปของ OS ในมะเร็​็ ง มั​ัยอี​ีโลมาจะทำำ �ให้ ้ตั​ัวชี้​้�วั​ัดมีค ี วามยากต่​่อการใช้ ้งาน ทำำ �ให้ ้ต้ ้องใช้ ้ความพยายาม ในการรั​ับรองสถานะของจำำ �นวนเซลล์​์มะเร็​็ งที่​่�หลงเหลื​ือ (MRD) ว่​่าเป็​็ นตั​ัวชี้​้�วั​ัด ใหม่​่ ภาวะปลายประสาทอั ักเสบ (PN): ภาวะปลายประสาทอั​ักเสบ เป็​็ นภาวะที่​่�ร้ ้ายแรง ที่​่�กระทบต่​่อเส้ ้นประสาทในมื​ือ เท้ ้า ขาส่​่วนล่​่าง และ/หรื​ือแขน ผู้​้�ป่​่วยประสบกั​ับ PN จากผลกระทบของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเองและ/หรื​ือจากการรั​ักษาสำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมา อาการแสดงอาจรวมถึ​ึงการรู้​้�สึ​ึกชา เสี​ียวซ่​่า ร้ ้อนผ่​่าว และ/หรื​ือปวด พลาสมา: ส่​่วนที่​่�เป็​็ นของเหลวของเลื​ือดที่​่�เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดง เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาว และเกล็​็ดเลื​ือดจะลอยตั​ัว พลาสมาเซลล์​์: เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาวที่​่�ผลิ​ิตแอนติ​ิบอดี​ี เซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาเป็​็ น พลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ มะเร็​็งที่​่�ผลิ​ิตโปรตี​ีนโมโนโคลน (M-โปรตี​ีน) ที่​่�ทำำ�ให้ ้เกิ​ิดความ เสี​ียหายของอวั​ัยวะและเนื้​้�อเยื่​่�อ (ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของไต โรคกระดู​ูก และความเสี​ียหายของเส้ ้นประสาท) พลาสมาไซโตมา: โปรดดู​ูที่​่� “ก้​้อนมะเร็​็งนอกไขกระดู​ูก”และ “พลาสมาไซโตมาชนิ​ิดโดดเดี่​่ย � วของกระดู​ูก (SPB)” การเปลี่​่ย � นถ่​่ายพลาสมา: กระบวนการที่​่�มีก ี ารนำำ �โปรตี​ีนที่​่�เฉพาะเจาะจงออกจาก เลื​ือด การเปลี่​่�ยนถ่​่ายพลาสมาสามารถใช้ ้เพื่​่�อนำำ �ระดั​ับ M-โปรตี​ีน ในเลื​ือดสู​ูงของผู้​้� 36

1.818.487.7455


ป่​่ วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาออกได้ ้ เกล็​็ดเลื​ือด: หนึ่​่�งในสามประเภทหลั​ักของเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือด ที่​่�เหลื​ือคื​ือเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือด ่ งว่​่างในผนั​ังหลอดเลื​ือดและปล่​่อยสารที่​่� และเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาว เกล็​็ดเลื​ือดอุ​ุดช่อ กระตุ้​้�นการแข็​็งตั​ัวของเลื​ือด เกล็​็ดเลื​ือดเป็​็ นการป้​้ องกั​ันหลั​ักต่​่อการเลื​ือดออก เรี​ียก อี​ีกชื่​่�อหนึ่​่�งว่​่าธรอมโบไซท์​์ ั การใช้​้โพสิ​ิตรอนอี​ีมิ​ิสชันโทโมกราฟี​ี (PET): การทดสอบเพื่​่�อการวิ​ินิจฉั ิ ั ยแบบซั​ับ ซ้ ้อนมี่​่�ใช้ ้กล้ ้องและคอมพิ​ิวเตอร์​์เพื่​่�อผลื​ืตภาพของร่​่างกาย เครื่​่�องสแกน PET แสดง ให้ ้เห็​็นความแตกต่​่างระหว่​่างเนื้​้�อเยื่​่�อที่​่�แข็​็งแรงและเนื้​้�อเยื่​่�อที่​่�ทำำ�หน้ ้าที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิโดย อ้ ้างอิ​ิงจากการดู​ูดซึ​ึมของน้ำำ� �ตาลที่​่�ติด ิ ฉลากกั​ัมมั​ันตภาพรั​ังสี​ีของเซลล์​์มะเร็​็งที่​่�ไม่​่ สงบ ระยะโรคสงบ (PFS): ระยะของเวลาระหว่​่างและหลั​ังการรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ที่​่�ผู้​้�ป่​่วยมี​ีชีวิี ต ิ อยู่​่�โดยที่​่�มีโี รคอยู่​่�แต่​่มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาไม่​่มีอ ี าการแย่​่ลง ในการ ทดลองทางคลิ​ินิก ิ PFS เป็​็ นวิ​ิธีห ี นึ่​่�งในการวั​ัดว่า่ การรั​ักษาได้ ้ผลอย่​่างไร � มถดถอยลงเรื่​่�อย ๆ” โปรดดู​ูที่​่� “การดำำ�เนิ​ินของโรคมี​ีความเสื่​่อ � มถดถอยลงเรื่​่�อย ๆ: มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีอ การดำำ�เนิ​ินของโรคมี​ีความเสื่​่อ ี าการ แย่​่ลงหรื​ือกลั​ับไปเป็​็ นเหมื​ือนเดิ​ิมตามบั​ันทึ​ึกทางเอกสารโดยการทดสอบ โดยนิ​ิยาม ว่​่ามี​ีการเพิ่​่�มขึ้​้น � ≥ 25% จากจุ​ุดต่ำำ�สุ � ดที่​่ ุ มี � ก ี ารยื​ืนยั​ันค่​่าการตอบสนองในระดั​ับโปรตี​ีน ของมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาและ/หรื​ือ หลั​ักฐานของโรคชิ้​้�นใหม่​่ โปรที​ีเอโซม: กลุ่​่�มร่​่วม (“ซั​ับซ้ ้อน”) ของเอนไซม์​์ (“โปรตี​ีเอส”) ที่​่�สลายโปรตี​ีนที่​่�เสี​ีย หายหรื​ือไม่​่ต้ ้องการในทั้​้�งเซลล์​์ปกติ​ิและเซลล์​์มะเร็​็งให้ ้เป็​็ นส่​่วนประกอบที่​่�มีข ี นาด เล็​็กลง โปรที​ีเอโซมยั​ังมี​ีหน้ ้าที่​่�ในการสลายชนิ​ิดบั​ังคั​ับของโปรตี​ีนในเซลล์​์ที่​่ไ� ม่​่ได้ ้ รั​ับความเสี​ียหาย ซึ่​่�งเป็​็ นกระบวนการที่​่�จำำ�เป็​็ นสำำ�หรั​ับการควบคุ​ุมการทำำ�หน้ ้าที่​่�ของ เซลล์​์ชนืดที่​่ ื สำ � ำ�คัญ ั จำำ�นวนมาก ส่​่วนประกอบโปรตี​ีนที่​่�มีข ี นาดเล็​็กลงเหล่​่านี้​้�จะใช้ ้ สร้ ้างโปรตี​ีนใหม่​่ที่​่เ� ซลล์​์ต้ ้องการ นี่​่�เป็​็ นสิ่​่�งสำำ�คัญ ั สำำ�หรั​ับการรั​ักษาระดั​ับสมดุ​ุลภายใน เซลล์​์และการควบคุ​ุมการเจริ​ิญเติ​ิบโตของเซลล์​์ ตั ัวยั ับยั้​้�งโปรที​ีเอโซม: ยาใดๆ ก็​็ตามที่​่�รบกวนการทำำ�หน้ ้าที่​่�ตามปกติ​ิของโปรที​ีเอ โซม โปรดดู​ูที่​่� “โปรที​ีเอโซม” โปรตี​ีน: สารที่​่�มีส่ ี ว่ นประกอบจากกรดอะมิ​ิโน โปรตี​ีนเป็​็ นส่​่วนที่​่�จำำ�เป็​็ นของสิ่​่�งมี​ี ชี​ีวิตที่​่ ิ ยั � งั มี​ีชีวิี ต ิ อยู่​่�ทั้​้�งหมด โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งในฐานะส่​่วนประกอบของโครงสร้ ้าง ของเนื้​้�อเยื่​่�อของร่​่างกายอย่​่างเช่​่น กล้ ้ามเนื้​้�อ ผม คอลลาเจน และอื่​่�นๆ เช่​่นเดี​ียวกั​ับ เอนไซม์​์และแอนติ​ิบอดี​ี โปรโตคอล: แผนการรั​ักษาอย่​่างละเอี​ียดที่​่�รวมขนาดและประเภทยาที่​่�ใช้ ้ การฉายรั ังสี​ี: การรั​ักษาด้ ้วยเอ็​็กซเรย์​์ รั​ังสี​ีแกมมา หรื​ืออิ​ิเล็​็กตรอนเพื่​่�อสร้ ้างความ เสี​ียหรื​ือฆ่​่าเซลล์​์เนื้​้�องอกชนิ​ิดร้ ้ายแรง รั​ังสี​ีอาจส่​่งมาจากภายนอกร่​่างกายหรื​ือจาก สารกั​ัมมั​ันตรั​ังสี​ีที่​่ฝั � ั งโดยตรงอยู่​่�ในเนื้​้�องอก เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดง (RBC): เรี​ียกอี​ีกอย่​่างว่​่าอิ​ิริโิ ธรไซต์​์ เซลล์​์ในเลื​ือดเหล่​่า นี้​้�บรรจุฮี ุ โี มโกลบิ​ินเพื่​่�อสส่​่งผ่​่านออกซิ​ิเจนไปยั​ังทุ​ุกส่​่วนของร่​่างกายและนำำ � คาร์​์บอนไดออกไซด์​์ออก การผลิ​ิตเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดงจะถู​ูกกระตุ้​้�นโดยฮอร์​์โมน (อี​ีริ ิ โธรโปอิ​ิติน ิ ) ที่​่�ผลิ​ิตโดยไต ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�มีค ี วามเสี​ียหายของไตจะผลิ​ิตอีริี ิ myeloma.org

37


โธรโปอิ​ิติน ิ ที่​่�ไม่​่เพี​ียงพอและสามารถกลายเป็​็ นโลหิ​ิตจางได้ ้ ผู้​้�ป่​่วยมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา สามารถกลายเป็​็ นโลหิ​ิตจางได้ ้เช่​่นกั​ันเพราะผลกระทบของเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่� มี​ีต่อ ่ ความสามารถของไขกระดู​ูกที่​่�จะสร้ ้างเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดงใหม่​่ การตอบสนองหรื​ือภาวะโรคสงบ: คำำ�ศั​ัพท์​์เฉพาะทางที่​่�ใช้ ้แทนกั​ันได้ ้เพื่​่�ออธิ​ิบาย การหายไปแบบสมบู​ูณ์ห ์ รื​ือบางส่​่วนของสั​ัญญาณและอาการของมะเร็​็ง

•ก ารตอบสนองอย่​่างสมบู​ูรณ์​์แบบเข้​้มงวด (sCR) – sCR เป็​็ น CR (ตามที่​่�นิย ิ าม ไว้ ้ด้ ้านล่​่าง) บวกกั​ับอัตร ั าส่​่วน FLC และการการไม่​่ปรากฏตั​ัวของเซลล์​์โคลนใน ไขกระดู​ูกโดยเทคนิ​ิคอิ​ิมมู​ูโนฮิ​ิสโตเคมี​ีและอิ​ิมมู​ูโนฟลู​ูออเรสเซนต์​์ •ก ารตอบสนองอย่​่างสมบู​ูรณ์​์ (CR) – สำำ�หรั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา, CR เป็​็ นการทด สอบอิ​ิมมู​ูโนฟิ​ิ กเซชั​ันที่​่�ให้ ้ผลลบในซี​ีรั​ัม (เลื​ือด) และปั​ั สสาวะ และการหายไป ของพลาสมาไซโตมาชนิ​ิดเนื้​้�อเยื่​่�ออ่​่อนนุ่​่�มใดๆ และพลาสมาเซลล์​์ ≤ 5% ใน ไขกระดู​ูก CR ไม่​่ใช่​่สิ่​่ง� เดี​ียวกั​ันกั​ับการรั​ักษาให้ ้หายจากโรค •ก ารตอบสนองบางส่​่วนที่​่ไ� ด้​้ผลดี​ีมาก (VGPR) – VGPR มี​ีค่า่ น้ ้อยกว่​่า CR VGPR คื​ือ M-โปรตี​ีนในซี​ีรั​ัมและ M-โปรตี​ีนในปั​ั สสาวะที่​่�ตรวจจั​ับได้ ้โดยการทด ิ หรื​ือ มี​ีการลด สอบอิ​ิมมู​ูโนฟิ​ิ กเซชั​ันแต่​่ไม่​่ใช่​่โดยการทดสอบอิ​ิเล็​็กโตรโฟริ​ิซิส ลง 90% หรื​ือมากกว่​่าของ M-โปรตี​ีนในซี​ีรั​ัม บวกกั​ับ M-โปรตี​ีนในปั​ั สสาวะมี​ีค่า่ น้ ้อยกว่​่า100 มก. ต่​่อ 24 ชั่​่�วโมง •ก ารตอบสนองบางส่​่วน (PR) – PR เป็​็ นระดั​ับของการตอบสนองที่​่�มีก ี ารลดลง 50% ของ M-โปรตี​ีนและการลดลงของ M-โปรตี​ีนในปั​ั สสาวะใน 24 ชั่​่�วโมง ที่​่�มี ี ค่​่าอย่​่างน้ ้อย 90% (หรื​ือน้ ้อยกว่​่า 200 มก, ต่​่อ 24 ชั่​่�วโมง) ี องเลื​ือดที่​่�มีเี ซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแขวนลอยอยู่​่� ซี​ีรั ัม: ส่​่วนที่​่�เป็​็ นของเหลว ไม่​่มีสี ี ข สโมเดอริ​ิงมั ัลติ​ิเพิ​ิลมั ัยอี​ีโลมา (SMM): SMM เป็​็ นระดั​ับของโรคที่​่�สูงู กว่​่า ของ MGUS แต่​่ SMM ยั​ังคงเป็​็ นมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาที่​่�ไม่​่แสดงอาการที่​่�อยู่​่�ใน ลั​ักษณะของเกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียหายของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของกระดู​ูก) ซึ่​่�งบ่​่งชี้​้�ถึ​ึงความเสี​ียหายของอวั​ัยวะ ผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี ี SMM ชนิ​ิดความเสี่​่�ยงมาตรฐานจะไม่​่ต้ ้องการรั​ักษาแต่​่ควรได้ ้รั​ับการสั​ังเกตการณ์​์ ที่​่�มีช่ ี ว่ งห่​่างที่​่�สม่ำำ�� เสมอโดยนั​ักโลหิ​ิตวิท ิ ยา/นั​ักมะเร็​็งวิ​ิทยา ผู้​้�ป่​่วยที่​่�มี ี SMM ชนิ​ิดความเสี่​่�ยงสู​ูงอาจเลื​ือกที่​่�จะเข้ ้าร่​่วมในการทดลองทางคลิ​ินิก ิ โปรดดู​ูที่​่� “เกณฑ์​์ CRAB (แคลเซี​ียม ความเสี​ียของของไต ภาวะโลหิ​ิตจาง ความเสี​ียหายของกระดู​ูก)” พลาสมาไซโตมาชนิ​ิดโดดเดี่​่ย � ว (SPB): ก้ ้อนของพลาสมาเซลล์​์ชนิด ิ โมดน โคลนแบบเดี่​่�ยวที่​่�ไม่​่เป็​็ นที่​่�สังั เกตในกระดู​ูก การวิ​ินิจฉั ิ ั ย SPB ต้ ้องมี​ีรอยโรคกระดู​ูก ชนิ​ิดโดดเดี่​่�ยว การตรวจชิ้​้�นเนื้​้�อที่​่�แสดงการแทรกซึ​ึมโดยพลาสมาเซลล์​์; ผลลั​ัพธ์​์ที่​่� แสดงในภาพให้ ้ผลลบสำำ�หรั​ับรอยโรคกระดูื่​่��กอื่​่�นๆ; การไม่​่ปรากฏของพลาสมาเซลล์​์ ขนิ​ิดโคลนในตั​ัวอย่​่างไขกระดู​ูกแบบสุ่​่�ม; และไม่​่มีห ี ลั​ักฐานแสดงของภาวะโลหิ​ิต จาง ภาวะแคลเซี​ียมในเลื​ือดสู​ูง การเกี่​่�ยวข้ ้องกั​ับไตที่​่�บ่ง่ บอกถึ​ึงมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ขนิ​ิดทั่​่ว� ร่​่างกาย การปลู​ูกถ่​่าย (transplantation): การปลู​ูกถ่​่ายมี​ีหลายชนิ​ิดที่​่แ � ตกต่​่างกั​ัน

•ก ารปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดโดยใช้​้เซลล์​์ของตนเอง (ASCT) – เป็​็ นการ ปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิดที่​่ใ� ช้ ้บ่​่อยที่​่�สุด ุ ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ASCT เป็​็ นวิ​ิธีก ี ารที่​่�แพทย์​์จะนำำ � 38

1.818.487.7455


เซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดจากกระแสเลื​ือดที่​่�แข็​็งแรง (PBSC) จากเลื​ือดที่​่�หมุ​ุนเวี​ียนของผู้​้� ป่​่ วย เซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดที่​่เ� ก็​็บมาจะได้ ้รั​ับการแช่​่แข็​็งและเก็​็บรั​ักษาไว้ ้สำำ�หรั​ับการ ใช้ ้ภายหลั​ังภายในไม่​่กี่​่วั� น ั สั​ัปดาห์​์หรื​ือปี​ี เมื่​่�อผู้​้�ป่​่วยพร้ ้อมที่​่�จะดำำ�เนิ​ินการต่​่อด้ ้วย ASCT จะมี​ีการฉายแสงในขนาดสู​ูง (HDT) เพื่​่�อทำำ�ลายเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาใน ไขกระดู​ูก แต่​่เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดแดงที่​่�แข็​็งแรงก็​็จะถู​ูกทำำ�ลายด้ ้วยเช่​่นกั​ัน เซลล์​์ต้ ้น กำำ�เนิ​ิดที่​่แ � ช่​่แข็​็งของผู้​้�ป่​่วยจะถู​ูกนำำ �มาละลายและนำำ �กลั​ับคืน ื สู่​่�ผู้​้�ป่​่วย ซึ่​่�งเซลล์​์ เหล่​่านี้​้�จะสามารถผลิ​ิตเซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดใหม่​่เพื่​่�อแทนที่​่�เซลล์​์ที่​่ถู � ก ู ทำำ�ลายโดย HDT ได้ ้ ASCT จะทำำ�ให้ ้เกิ​ิดภาวะโรคสงบที่​่�ทั้​้ง� ยาวนานและลึ​ึก

•ก ารปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดโดยใช้​้เซลล์​์ของผู้​้บ � ริ​ิจาค (เนื้​้�อเยื่​่�อปลู​ูก ข้​้ามคน) – การปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิดนี้​้จ � ะใช้ ้เซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดหรื​ือไขกระดู​ูกที่​่�เก็​็บจาก จากบุ​ุคคลหนึ่​่�ง (ผู้​้�บริ​ิจาค) ซึ่​่�งเป็​็ นผู้​้�ที่​่�ถูก ู กำำ�หนดว่​่าจต้ ้องมี​ีความเข้ ้ากั​ันได้ ้กั​ับผู้​้� ป่​่ วย (ผู้​้�รั​ับ) โดยเทคนิ​ิคการจั​ับคู่​่�ฮิวิ แมนลู​ูโคไซท์​์แอนติ​ิเจน (HLA) เซลล์​์ของผู้​้� บริ​ิจาคจะซึ​ึมผ่​่านเข้ ้าสู่​่�ผู้​้�ป่​่วยหลั​ังการฉายแสงในขนาดสู​ูง HDT เซลล์​์ในระบบ ภู​ูมิคุ้​้� ิ มกั​ันของผู้​้�บริ​ิจาคจะจำำ�แนกออกได้ ้ว่​่าเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมาของผู้​้�ป่​่วยเป็​็ น สิ่​่�งแปลกปลอมและจะต่​่อสู้​้�กั​ับเซลล์​์มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา แต่​่น่​่าเสี​ียดายที่​่�เซลล์​์ของ ผู้​้�บริ​ิจาคจะต่​่อสู้​้�กั​ับเนื้​้�อเยื่​่�ออื่​่�นๆ ในร่​่างกายของผู้​้�รั​ับด้ ้วยเช่​่นกั​ัน ซึ่​่�งจะทำำ�ให้ ้เกิ​ิด โรคกราฟท์​์เวอซั​ัสโฮสท์​์ (GVHD) ซึ่​่�งทำำ�ให้ ้ภาวะแทรกซ้ ้อนหรื​ืออาจทำำ�ให้ ้ถึ​ึงแก่​่ ชี​ีวิต ิ ได้ ้ •ก ารปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดโดยใช้​้เซลล์​์ของผู้​้บ � ริ​ิจาคชนิ​ิดที่​่มี​ี � การปรั ับ สภาพความเข้​้มให้​้ลดลง (RIC) – เป็​็ นการปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดโดยใช้ ้ เซลล์​์ของผู้​้�บริ​ิจาคชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่�บางครั้​้�งเรี​ียกสั้​้�นๆ ว่​่า “มิ​ินิ-ิ แอลโล” การปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิด RIC เป็​็ นวิ​ิธีที่​่ ี ใ� หม่​่กว่​่าสำำ�หรั​ับการรั​ักษามะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา ซึ่​่�ง เป็​็ นเทคนิ​ิคที่​่�ปลอดภั​ัยกว่​่าการปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดโดยใช้ ้เซลล์​์ของผู้​้� บริ​ิจาค (เนื้​้�อเยื่​่�อปลู​ูกข้ ้ามคน) แบบ “เต็​็ม” เพราะการปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิด RIC ไม่​่ใช่​่การ ฉายแสงในขนาดสู​ูง โดยปกติ​ิแล้ ้วการปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิด RIC จะทำำ�ภายใน180 วั​ัน หลั​ังการทำำ� ASCT แบบมาตรฐาน •ก ารปลู​ูกถ่​่ายไขกระดู​ูก – เป็​็ นการปลู​ูกถ่​่ายโดยใช้ ้เซลล์​์ของตนเองชนิ​ิดหนึ่​่�ง โดยการก็​็บเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดจากไขกระดู​ูกของผู้​้�ป่​่วย ซึ่​่�งไม่​่ใช่​่การเก็​็บจากกระแส เลื​ือดของผู้​้�ป่​่วย ในปั​ั จจุบั ุ น ั การปลู​ูกถ่​่ายไขกระดู​ูกจะมี​ีการใช้ ้ไม่​่บ่อ ่ ยครั้​้�งนั​ักใน มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา เนื่​่�องจากวี​ีธี ี ASCT เป็​็ นวิ​ิธีที่​่ ี นิ � ย ิ มมากกว่​่า แต่​่อาจพิ​ิจารณาการ ปลู​ูกถ่​่ายไขกระดู​ูกหากไม่​่สามารถเก็​็บเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดจากกระแสเลื​ือดได้ ้ •ก ารปลู​ูกถ่​่ายแบบต่​่อกั ัน – เป็​็ นคำำ�ศั​ัพท์​์เฉพาะทางที่​่�ใช้ ้เพื่​่�อบ่​่งชี้​้�การปลู​ูก ถ่​่ายโดยใช้ ้เซลล์​์ของตนเองจำำ�นวนสองครั้​้�งที่​่�ทำำ�แบบต่​่อเนื่​่�องกั​ัน โดยปกติ​ิ แล้ ้วการปลู​ูกถ่​่ายแบบต่​่อกั​ันมั​ักมี​ีการวางแผนให้ ้มี​ีช่ว่ งระยะห่​่าง 3 เดื​ือน ถึ​ึง 6 เดื​ือน ระหว่​่างการปลู​ูกถ่​่าย การปลู​ูกถ่​่ายแบบต่​่อกั​ันมี​ีความแพร่​่หลายลดลงใน สหรั​ัฐอเมริ​ิกาในยุ​ุคในยุ​ุคที่​่�การบำำ�บั​ัดแบบใหม่​่มีป ี ระสิ​ิทธิ​ิผล •ก ารปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดที่​่ไ� ด้​้จากฝาแฝดจากไข่​่ใบเดี​ียว – เป็​็ น การ ปลู​ูกถ่​่ายโดยใช้ ้เซลล์​์ของผู้​้�บริ​ิจาคที่​่�ไขกระดู​ูกหรื​ือเซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดจากพี่​่�น้ ้อง จากฝาแฝดจากไข่​่ใบเดี​ียว (ผู้​้�บริ​ิจาค)ซึ่​่�งจะถู​ูกฉี​ีดเข้ ้าไปในฝาแฝดจากไข่​่ใบ เดี​ียวอี​ีกคนหนึ่​่�ง (ผู้​้�รั​ับ) •ก ารปลู​ูกถ่​่ายแบบจั ับคู่​่กั � ับผู้​้บ � ริ​ิจาคที่​่ไ� ม่​่มี​ีความเกี่​่ย � วข้​้อง (MUD) – เป็​็ นการ ปลู​ูกถ่​่ายโดยใช้ ้เซลล์​์ของผู้​้�บริ​ิจาคที่​่�เซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดมีค ี วามเข้ ้ากั​ันได้ ้ทาง myeloma.org

39


พั​ันธุ​ุกรรมกั​ับผู้​้�ป่​่วยแต่​่ไม่​่ได้ ้มาจากผู้​้�บริ​ิจาคที่​่�เป็​็ นสมาชิ​ิกในครอบครั​ัว ในมะเร็​็ง มั​ัยอี​ีโลมา การปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิดนี้​้จ � ะมี​ีอัตร ั าในการเกิ​ิดโรค GVHD ที่​่�สูงู ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงไม่​่ ค่​่อยมี​ีการใช้ ้กั​ันมากนั​ัก

•ก ารปลู​ูกถ่​่ายเซลล์​์ต้​้นกำ� ำ เนิ​ิดโดยใช้​้เลื​ือดจากสายสะดื​ือ – เป็​็ นการปลู​ูก ถ่​่ายโดยใช้ ้เซลล์​์ของผู้​้�บริ​ิจาคชนิ​ิดที่​่เ� ซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดจะถู​ูกเก็​็บจากสายสะดื​ือ หลายสายของทารกแรกเกิ​ิด เพื่​่�อให้ ้ได้ ้เซลล์​์ต้ ้นกำำ�เนิ​ิดที่​่เ� พี​ียงพอสำำ�หรั​ับการ ปลู​ูกถ่​่ายของผู้​้�ใหญ่​่ ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา การปลู​ูกถ่​่ายชนิ​ิดนี้​้จ � ะมี​ีอัตร ั าในการเกิ​ิด โรค GVHD ที่​่�สูงู ดั​ังนั้​้�นจึ​ึงไม่​่ค่อ ่ ยมี​ีการใช้ ้กั​ันมากนั​ัก เนื้​้�องอก: ก้ ้อนเนื้​้�อเยื่​่�อที่​่�ผิด ิ ปกติ​ิที่​่ส่ � ง่ ผลมาจากการแบ่​่งตั​ัวของเซลล์​์ที่​่ม � ากเกิ​ินกว่​่า ปกติ​ิ ในมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา เนื้​้�องอกจะอ้ ้างอิ​ิงถึ​ึงพลาสมาไซโตมา ั กระดู​ูกสันหลั ัง: หนึ่​่�งในกระดู​ูกจำำ�นวน 33 ชิ้​้�นของแนวของกระดู​ูกสั​ันหลั​ัง รู​ูป พหู​ูพจน์​์คือ ื ไวรั ัส: อนุ​ุภาคที่​่�มีชี ี วิี ตข ิ นาดเล็​็กที่​่�ทำำ�ให้ ้เซลล์​์ติด ิ เชื้​้�อและเเปลี่​่�ยนการทำำ�หน้ ้าที่​่�ของ เซลล์​์ โรคและอาการที่​่�เกิ​ิดจากการติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสจะมี​ีความหลากหลายโดยขึ้​้น � อยู่​่�กั​ับ ชนิ​ิดของไวรั​ัสและชนิ​ิดของเซลล์​์ที่​่ไ� ด้ ้รั​ับการติ​ิดเชื้​้�อ วาลเดนสตรอม มาโครโกลบุ​ุลิ​ินี​ีเมี​ีย (WM): ชนิ​ิดของมะเร็​็งต่​่อมน้ำำ� �เหลื​ืองชนิ​ิด นอน-ฮอดจ์​์กิน ิ (NHL) ที่​่�พบได้ ้ยากที่​่�ส่ง่ ผลกระทบต่​่อพลาสมาเซลล์​์ มี​ีการผลิ​ิต โปรตี​ีนประเภท IgM ในปริ​ิมาณที่​่�มากกว่​่าปกติ​ิ WM ไม่​่ใช่​่ชนิดข ิ องมะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาว (WBC): คำำ�ศั​ัพท์​์ทั่​่ว� ไปสำำ�หรั​ับความแตกต่​่างของลู​ูโคไซท์​์ที่​่� มี​ีหน้ ้าที่​่�ต่อ ่ สู้​้�กั​ับเชื้​้�อโรคที่​่�เข้ ้ามาบุ​ุกรุ​ุก การติ​ิดเชื้​้�อ และสารก่​่อภู​ูมิแ ิ พ้ ้ เซลล์​์เหล่​่า นี้​้�เริ่​่�มการพั​ัฒนาจากในไขกระดู​ูกและหลั​ังจากนั้​้�นจะเดิ​ินทางไปยั​ังส่​่วนอื่​่�นของ ร่​่างกาย เซลล์​์เม็​็ดเลื​ือดขาวที่​่�เฉพาะเจาะจงได้ ้แก่​่ นิ​ิวโตรฟิ​ิ ล เบโซฟิ​ิ ล อี​ีโอซิ​ิโนฟิ​ิ ล ลิ​ิมโฟไซต์​์ โมโนไซต์​์

40

1.818.487.7455


หมายเหตุ​ุ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________

myeloma.org

41


หมายเหตุ​ุ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________ ___________________________________________________________

42

1.818.487.7455


่� มต่​่อ รั ับการแจ้​้งเตื​ือน เชื่อ รั ับหน้​้าที่​่�

แหล่​่งข้​้อมู​ูลตอบโต้​้ที่ม ่� องเห็​็นได้​้ทั ันที​ี

ใช้ไ้ ฮเปอร์​์ลิ้ง้� ค์​์และที่​่อ � ยู่​่�เว็​็บไซต์​์ที่อ ่� ยู่​่�ในสิ่ง่� ตี​ีพิ​ิมพ์​์ฉบั ับนี้​้�เพื่​่อ � การเข้​้าถึ​ึง แหล่​่งข้​้อมู​ูลจาก IMF อย่​่างรวดเร็​็ว

infoline.myeloma.org ติ​ิดต่อ ่ ศู​ูนย์​์ให้ ้ บริ​ิการข้ ้อมู​ูลทาง โทรศั​ัพท์​์IMF เมื่​่�อมี​ี คำำ�ถามและข้ ้อกั​ังวล เกี่​่�ยวกั​ับมะเร็​็งมั​ัยอี​ี โลมา

medications.myeloma.org เรี​ียนรู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับการ บำำ�บั​ัดที่​่ไ� ด้ ้รั​ับการ รั​ับรองโดย FDA สำำ�หรั​ับโรคมะเร็​็ง มั​ัยอี​ีโลมา

diversity.myeloma.org ความหลากหลาย และการเป็​็ นส่​่วน หนึ่​่�งคื​ือด้ ้านสำำ�คัญ ั ของชุ​ุมชมมะเร็​็ง มั​ัยอี​ีโลมา

videos.myeloma.org ข้ ้อมู​ูลล่​่าสุ​ุดจาก การวิ​ิจั​ัย มะเร็​็งมั​ัยอี​ีโลมา และการ ปฏิ​ิบัติ ั ท ิ างคลิ​ินิก ิ เช่​่น เดี​ียวกั​ับการสั​ัมนาผ่​่าน เว็​็บไซต์​์ และงานอี​ีเว้ ้นท์​์ อื่​่�นๆ ของ IMF

support.myeloma.org โรบิ​ิน ทู​ูอี ี rtuohy@myeloma.org จะช่​่วยคุ​ุณค้ ้นพบกลุ่​่�ม สนั​ับสนุ​ุนโรคมั​ัลติ​ิเพิ​ิล มั​ัย อี​ีโลมา

publications.myeloma.org หนั​ังสื​ือเล่​่มเล็​็ก แผ่​่น การ์​์ดเคล็​็ดลับ ั แนวทาง และวารสารของ IMF – กดติ​ิดตามเพื่​่�อรั​ับ ทราบข้ ้อมู​ูล

ลงทะเบี​ียนที่​่� subscribe.myeloma.org เพื่​่�อรั​ับวารสารรายสามเดื​ือน Myeloma Today และจดหมายข่​่าวอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ นาที​ีมะเร็​็งมั ัยอี​ีโลมา Myeloma Minute เช่​่นเดี​ียวกั​ับการแจ้ ้งเตื​ือนเกี่​่�ยวกั​ับข่า่ วสารงานอี​ีเว้ ้นท์​์ และ การ ปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารของ IMF และเข้ ้าร่​่วมทำำ�กิจิ กรรมกั​ับเราทางโซเชี​ียลมี​ีเดี​ีย! /myeloma

@IMFMyeloma


โทรศั​ัพท์​์ 1.818.487.7455 (ทั่​่�วโลก) แฟกซ์​์: 1.818.487.7454 TheIMF@myeloma.org myeloma.org

PHB_TH_2023_r1_05

© 2023, International Myeloma Foundation สงวนลิ​ิขสิ​ิทธิ์​์�

4400 โคลด์​์วอเทอร์​์ แคนยอน เอเวนิ​ิว, สวี​ีท 300 สตู​ูดิโิ อซิ​ิตี,ี แคลิ​ิฟอเนี​ีย 91604 สหรั​ัฐอเมริ​ิกา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.