รายงานประจำปี 2559

Page 1

Mae Fah Luang University

MFU

รายงานประจำป

2559 มหาว�ทยาลัยแม ฟ าหลวง



วาม ปนมา

าวท

า ลั

แม

M F U M ae F ah L u an g U n i v e r s i ty

ลวง

1


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

2

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รายงานประจำ�ปี 2559 / มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มหาวิทยาลัย, 2560 เล่ม: ภาพประกอบ, ตาราง ISBN 978-974-9766-89-7 1. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.--หนังสือรายปี. I. ชื่อเรื่อง. 128 หน้า พิมพ์ครั้งที่: 1 จัดทำ�โดย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย จำ�นวนพิมพ์: 700 เล่ม ออกแบบ/จัดพิมพ์: ล๊อคอินดีไซน์เวิร์ค 1/19 หมู่บ้านล้านนาวิลล่า ตำ�บลช้างเผือก อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์/โทรสาร 0 5321 3558 © มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ


ม ห า วิ ทคยวาาลัมยเ ป็แ ม่น ฟ้ม าา ห ล ว ง

“ ป ลู ก ป่ า ส ร้ า ง ค น ”

3

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 9


4

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

สารจาก นายกสภา หาว�ทยาลัย นับเนือ่ งจาก ดรบั การสถาปนาเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรั ตามพระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ เมื่อปพุทธศักราช 2541 เปนตนมา ทางมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดดําเนินงานภายใต ปณิธาน วิสัยทัศน เปาหมาย และแผนป ิบัติงานของมหาวิทยาลัยอยางเครงครัด ทัง้ ในดานจัดการเรียนการสอน การผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณุ ภาพ การวิจยั การบริการวิชาการแกสงั คม ทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพัฒนาสภาพแวดลอมและสิง่ อํานวยความสะดวกตาง สงผลใหมหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง รายงานประจําป 2559 ฉบับนี้ ดแสดงถึงผลการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ตามภารกิจที่สําคัญ ทําใหเหนถึงพัฒนาการดานตาง ึ่งเปนผลจากการทุมเท เสียสละ และบากบัน่ มุง มัน่ ของคณะผูบ ริหาร คณาจารย และพนักงานของมหาวิทยาลัยแมฟา หลวง ทุกคน ที่รวมมือกันรังสรรค สิ่งใหม เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยใหมีความเจริญกาวหนา ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ในนามของสภามหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ผมขอแสดงความชื่นชมยินดี ในความสําเรจ และความกาวหนาของมหาวิทยาลัย และขอขอบคุณคณะผูบริหาร รวมถึงบุคลากรของ มหาวิทยาลัยทุกคน ที่ ดทมุ เทกําลังกายและสติปญ  ญาเพือ่ พัฒนามหาวิทยาลัยแมฟา หลวง ใหเปนมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพ และมีความเจริญกาวหนามาจวบจนปจจบัน

พลเอก สําเภา ชูศรี นายกสภามหาวิทยาลัยแมฟาหลวง


วาม ปนมา

สารจาก อธ�การบดี มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง ดป บิ ตั ภิ ารกิจของความเปนสถาบันอุดมศึกษามาอยางตอเนือ่ ง โดยมุ ง สื บ สานพระราชปณิ ธ านของสมเดจพระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ในการ “ ก า ราง น ดําเนินการจัดการเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการแกสังคม ตลอดจนทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม เพือ่ ผลิตบัณฑิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมคี ณ ุ ภาพ ถึงพรอมดวยภูมิรูและภูมิธรรม เปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา รายงานประจําป 2559 ฉบับนี้ ดแสดงถึงความมุงมั่น เสียสละ ทุมเทของผูบริหาร และพนักงานทุกคนของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ที่สามัคคีรวมแรงรวมใจ ฝาฟนปญหา อุปสรรคนานัปการ เพื่อสรางสรรคมหาวิทยาลัยแหงนี้ ใหกาว ปสูความเปน สถาบัน อุดมศึกษาชั้นนําของประเทศ มหาวิ ท ยาลั ยขอขอบคุณบุคลากรทุก ฝายที่มุงมั่น ทํางานอยางหนักมาอยางตอเนื่อง จนประสบผลเปนความสําเรจ ขอใหประชาคมแมฟาหลวงรักษาและยึดมั่นในปณิธาน ของมหาวิทยาลัย เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยใหเปนที่พึ่งทางปญญา ของสังคมอยางตอเนื่องสืบ ป

รองศาสตราจารย ดร.วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟา หลวง

5


6

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

าวท

า ลั

แม

ลวง

สารบั วาม ปนมา การบร ารและทรั ากรการดำา นินงาน

11

การดำา นินงาน าม ารกิ

23

การว ั

59

การบรการว าการ ัฒนาสัง มและ ุม น

67

การทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

77

วามรวมมอกับ นว งานอน

85

กิ กรรมสำา ั และ ลงาน ดน

93

รา นาม ้บร าร

M F U M ae Fah Luang Un iversity

7

113


ค ว า ม เ ป น ม า

7

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

ความเป็นมา


8

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ควา เปน า “ โดยที่ มเดจ ร รีน รินทราบรมราชชนนี มี ร ราช ิ านอัน นว นที่จ ปลูกป่า สร้างคน เ ่ออนุรักษ ล น า รรมชาติ ล ิ่ง วดลอม ตลอดจน ั นา ุ า ชีวิตของ ร ชาชน ดอยโอกา รวมทั้งการ ารงไว ึ่ง ร เ ี ล ิล วั น รรมที่ดีงามของชาติ ัน ุตาง ใน า เหนอ ล มิ า ลุม มน้าโขงตอนบน จึงเหน ม วรจัดตั้ง มหาวิทยาลัย ม าหลวงขึ้นในจังหวัดเชียงราย เ นมหาวิทยาลัยของรั เ ่อเ นอนุ ร าน หง วามจงรัก ักดีของ วงชนชาวไทยที่มีตอ มเดจ ร รีน รินทราบรมราชชนนี ล ให าบันนี้เ น หลงที่จ บ าน ร ราช ิ าน ของ ร อง ตอไ โดยมหาวิทยาลัย หงนีจ้ ดาเนินการดานการเรียน การ อน การวิจยั การใหการ กึ ษาทางดานวิชาการ ล วิชาชี ขัน้ ง การบริการวิชาการ ก งั ม ล การท นุบารุง ลิ วั น รรม โดยใหมกี ารบริหารทีม่ อี ิ ร มี วาม ลองตัว ล ไมอยในร บบราชการ จึงจาเ นตองตรา ร ราชบั ัตินี้” หมายเหตุ ทายพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พ.ศ. 2541

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2541 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พ.ศ. 2541 มี านะเปนมหาวิทยาลัยของรั ที่ มเปนสวนราชการตามก หมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและก หมาย วาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม อยูในกํากับดูแลของรั บาล นับตั้งแตเริ่มกอตั้งเปนตนมา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดมีพัฒนาการทั้งทางกายภาพและวิชาการ ควบคูกันอยางตอเนื่อง จากปการศึกษาแรก มีนักศึกษา 62 คน ใน 2 สาขาวิชา ปจจบันมีนักศึกษาทั้งสิ้น 15 126 คน ใน 78 สาขาวิชา และนับถึง ปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัย ดผลิตบัณฑิต ปแลวรวมทัง้ สิน้ 17 984 คน งึ่ แสดงใหเหนถึงการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ที่มุงเนนการสืบสานพระราชปณิธานขององคสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนีดวยความจงรักภักดี และมุงพัฒนา มหาวิทยาลัย ใหเจริญกาวหนาอยางมัน่ คง เพือ่ เปนสถาบันอุดมศึกษาทีจ่ ะพัฒนาทรัพยากรมนุษยและประเทศชาติสบื ตอ ป ท ง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ตั้งอยูเลขที่ 333 หมูที่ 1 ตําบลทาสุด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


วาม ปนมา

ว�สัยทั มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงจะเปนมหาวิทยาลัย ขนาดกลางที่มีคุณ ภาพและมาตร านการศึกษา ในระดับสากล มีความเปนเลิศในศิลปะและวิทยาการ สาขาตาง เพือ่ เปนแหลงผลิตและพัฒนาทรัพยากร มนุ ษ ย ที่ มี คุ ณ ภาพของประเทศและอนุ ภู มิ ภ าค ลุม แมนา้ํ โขง เปนแหลงสรางสมและพัฒนาองคความรู ในดานตาง ควบคูกัน ปกับการนําองคความรูใน มหาวิทยาลัยออก ปสูการประยุกตใชในสังคมและ ภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ในขณะเดียวกัน กมุง เนนการศึกษาและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชาติ รวมทัง้ การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ภารก มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงเปนสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรั ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พุทธศักราช 2541 มี านะเปนนิติบุคคลที่มีภารกิจหลักที่สําคัญของความเปนสถาบันอุดมศึกษา 4 ประการ คือ 1. 2. 3. 4.

วั

การผลิตบัณฑิต การวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูและพัฒนาประเทศ การบริการวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม

ร สง องมหาว�ทยาลัย

1. เปนสถาบันการศึกษาระดับสูงที่จะสืบสานพระราชปณิธานของสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. เปนมหาวิทยาลัยชั้นนําที่มุงผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพ ตอบสนองความตองการการศึกษาในระดับสูง ของประชาชนในภาคเหนือตอนบน 3. เปนแหลงคนควา วิจัย พัฒนาองคความรูเพื่อการพัฒนาประเทศ 4. เปนศูนยกลางการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศในเขตอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง

อั ลัก องมหาว�ทยาลัย บัณฑิตที่มีคุณภาพ อกลัก องมหาว�ทยาลัย ที่พึ่งทางปญญาของสังคม

9


10

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

รามหาว�ทยาลัย ก ร ร นา า ิ ยย ง ร รน รินทราบร ราชชนน บนพื้นสีทอง อักษรยอ ส. สีแดง และ ว.สีขาว อันเปนเครื่องหมายแหงความจงรักภักดีของประชาชน บุคลากร และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยที่มีตอสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และความเปนสิริมงคล ท ง ประกอบตราสัญลักษณ ประดิษ านภายใตฉัตรเจดชั้นสีทอง เลข อยูเหนือคําวา มหาวิทยาลัย เลข อยูเหนือคําวา แมฟาหลวง หมายถึง สมเดจ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเปนพระราชชนนีของพระมหากษัตริย รัชกาลที่ 8 และ รัชกาลที่ 9 แหงพระบรมราชจักรีวงศ ก ก า วน หมายถึง ความมุง มัน่ ของมหาวิทยาลัยทีจ่ ะพัฒนาและสงเสริม สิ่งแวดลอมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของปวงชนอยางตอเนื่อง

ส ร ามหาว�ทยาลัย ง หมายถึง องคสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ท ง หมายถึง ความเจริ ญ รุ ง เรื อ งของมหาวิ ท ยาลั ย อยาง มมีที่สิ้นสุด

ดอก ม ร ามหาว�ทยาลัย ดอกลําดวน หอมนวล ชื่อวิทยาศาสตร Lour.

ลาย ง ร ดับบ รยบั มหาวิ ท ยาลั ย ด มี ก ารออกแบบตุ ง ประจํ า มหาวิ ท ยาลั ย และ ด นํ า แถบ ึ่ ง เป น องคประกอบของตุงประจํามหาวิทยาลัยเปนเครื่องหมายแหงชัยชนะและความเปน สิรมิ งคลอันสูงยิง่ มาประดับ วบนแถบสํารดของครุยวิทย านะของมหาวิทยาลัย ในแถบตุง ประกอบดวย าย รา าท หมายถึง สวรรคชั้นดาวดึงส ายหน หมายถึง ปประสูติของสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ึ่งตรงกับปชวด พ.ศ. 2443 าย านา หมายถึง สัตวทปี่ ราก ในศิลปวัฒนธรรมลานนาอยางตอเนือ่ ง ึ่งตามตํานานกลาวถึงวาเปนสัตวที่พิทักษพระพุทธ ศาสนา าย หมายถึง ปกอตั้งมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541 ึ่งตรงกับปขาล


ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำา เ นิ น ง า น

11

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

การบริหาร และทรัพยากร การดำาเนินงาน

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


12

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

การบร�หาร หาว�ทยาลัย มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรั สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสภามหาวิทยาลัยเปนองคกร สูงสุดทําหนาที่กํากับดูแลการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และกําหนดนโยบายในการดําเนินงานดานตาง นอกจาก สภามหาวิทยาลัยแลวยังมีคณะกรรมการระดับนโยบายอีก 4 ชุด ประกอบดวย กรร การ ง ริ กิ การ หาวิทยา ย ทําหนาที่ ใหคําแนะนําปรึกษาแกสภามหาวิทยาลัยในการสนับสนุน การดําเนินกิจการของมหาวิทยาลัย 2. กรร การการ งิน ทร ย ิน ทําหนาที่กลั่นกรองเรื่องตาง ที่เกี่ยวกับการเงินและทรัพยสินเพื่อเสนอตอ สภามหาวิทยาลัย 3. กรร การบริหารงานบ ทําหนาที่กํากับดูแลระบบการบริหารงานบุคคล 4. กรร การ รว บ ิ า การ า นินการ หาวิทยา ย ทําหนาที่ติดตามและตรวจสอบผลการดําเนินงาน ดานตาง ของมหาวิทยาลัย 1.

ในดานการบริหารจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยมีสภาวิชาการทําหนาที่กํากับดูแลงานดานวิชาการ การเรียนการสอน มาตร านและคุณภาพการศึกษา รวมทั้งกําหนดทิศทางและนโยบายดานวิชาการและวิจัยของมหาวิทยาลัย

ป พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จัดแบงหนวยงานภายในเปน 4 กลุมงาน คือ 1. านกวิชา จํานวน 14 สํานักวิชา ทําหนาที่จัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะ และวัฒนธรรม 2. นย จํานวน 5 ศูนย ทําหนาที่สนับสนุนการดําเนินงานของสํานักวิชา 3. านกงาน จํานวน 3 สํานักงาน 23 หนวยงาน ทําหนาที่สนับสนุนดานการบริหารจัดการตาง 4. รงการ หนวยงาน ิ หนวยบริการวิชาการ จํานวน 6 หนวยงาน ทําหนาที่ตามภารกิจเฉพาะของโครงการ และหนวยงานนั้น


ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

สภามหาว�ทยาลัยแม ฟ าหลวง สำนักงานสภามหาวิทยาลัย • หนวยตรวจสอบภายใน

อธ�การบดี

13

คณะกรรมการตรวจสอบ และติดตามการดำเนินการ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คณะกรรมการสงเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คณะกรรมการการเงินและทรัพยสิน มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คณะกรรมการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ที่ปร�กษาอธ�การบดี

สภาว�ชาการ

รองอธ�การบดี ผู ช วยอธ�การบดี

1. 2. 3. 4.

ศูนย

สำนักวิชาศิลปศาสตร สำนักวิชาวิทยาศาสตร สำนักวิชาการจัดการ สำนักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ 5. สำนักวิชาอุตสาหกรรม เกษตร 6. สำนักวิชานิติศาสตร 7. สำนักวิชาวิทยาศาสตร เครื่องสำอาง 8. สำนักวิชาวิทยาศาสตร สุขภาพ 9. สำนักวิชาพยาบาลศาสตร 10. สำนักวิชาเวชศาสตร ชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ 11. สำนักวิชาแพทยศาสตร 12. สำนักวิชาทันตแพทยศาสตร 13. สำนักวิชานวัตกรรมสังคม 14. สำนักวิชาจีนวิทยา

1. ศูนยเครื่องมือ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 2. ศูนยบริการ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3. ศูนยบรรณสาร และสื่อการศึกษา 4. ศูนยบริการวิชาการ 5. ศูนยภาษา และวัฒนธรรมจีน สิรินธร*

หน วยบร�การทางว�ชาการ 1. โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง สาขากรุงเทพมหานคร

หน วยงานสนับสนุนการบร�หาร สำนักงานว�ชาการ

สำนักงานบร�หารกลาง

1. สวนทะเบียน และประมวลผล 2. สวนบริการงานวิจัย 3. สวนพัฒนานักศึกษา 4. สวนพัฒนา ความสัมพันธ ระหวางประเทศ 5. สวนประกันคุณภาพ การศึกษาและพัฒนา หลักสูตร 6. สำนักงานบัณฑิตศึกษา 7. สวนจัดหางานและฝกงาน ของนักศึกษา 8. โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 9. ศูนยกีฬา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 10. สำนักงานจัดการ ทรัพยสินทางปญญา และพัฒนานวัตกรรม 11. สำนักงานสงเสริม และพัฒนาวิชาการ* 12. สำนักงานใหคำปรึกษา และชวยเหลือนักศึกษา*

หน วยงานพิเศษ

หนวยบริการทางวิชาการ 1. ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2. วนาศรม 3. วนาเวศน

โครงการ/โครงการจัดตั้ง

1. สถาบันชา 2. ศูนยความเปนเลิศ ทางดานการวิจัยเชื้อรา

1. พิพิธภัณฑอารยธรรมลุมน้ำโขง* 2. ศูนยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑธรรมชาติเพื่อปกปองและสงเสริมสุขภาพ* 3. หนวยจัดการสารสนเทศ*

1. สวนสารบรรณ อำนวยการและนิติการ 2. สวนการเจาหนาที่ 3. สวนนโยบายและแผน 4. สวนการเงินและบัญชี 5. สวนพัสดุ 6. สวนประชาสัมพันธ 7. สวนอาคารสถานที่ 8. หนวยประสานงาน มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง กรุงเทพมหานคร

สำนักงาน จัดการทรัพย สิน และรายได

1. โครงการจัดตั้งความรวมมือทางวิชาการ ฝรั่งเศส-อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง 2. โครงการสวนพฤกษศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชา 3. โครงการทันตกรรมบรมราชชนนี

หมายเหตุ : *หนวยงานที่จัดตั้งขึ้นโดยไมมีขอกำหนดของมหาวิทยาลัยในราชกิจจานุเบกษา

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

สำนัก


14

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ทรัพยากรการดาเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงจัดสรรงบประมาณรายจายเพื่อใชดําเนินงานตามภารกิจตาง จํานวนทั้งสิ้น 2 400 482 100 บาท โดยจําแนกเปนงบประมาณแผนดิน จํานวน 1 499 438 800 บาท รอยละ 62.46 และงบประมาณเงินราย ด จํานวน 901 043 300 บาท รอยละ 37.54 ประเภทรายจ่าย

จำานวน (บาท)

ร้อยละ

งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน รว

654 609 873 815 055 666 930 816 561 2,400,482,100

27.27 33.95 38.78 100.00

สัดส่วนงบประมาณรายจ่าย ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามประเภทรายจ่าย 38.78 งบลงทุน

33.95 งบดําเนินงาน

27.27 งบบุคลากร

บุคลากร ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีอัตรากําลังรวมทั้งสิ้น 1 342 คน เปนสายบริหารวิชาการ 32 คน สายวิชาการ 553 สายป ิบัติการวิชาชีพ 757 คน โดยในจํานวนบุคลากรสายวิชาการ เปนบุคลากรตางชาติจํานวน 44 คน ประเภทบุคลากร

จำานวน

ร้อยละ

สายบริหารวิชาการ สายวิชาการ สายป ิบัติการวิชาชีพ รว

32 553 757 1,342

2.38 41.21 56.41 100.00

หมายเหตุ : ไมนับรวมลกจางชั่ว ราวรายเดอน จานวน ที่มา : วนการเจาหนาที่ ขอมล วันที่ กันยายน

น อาจารยอา า มัตรตางชาติ


ก า ร บ ร า ร แ ล ะ ท รั

า ก ร ก า ร ด ำา นิ น ง า น

15

บุคลากรสายวิชาการจำาแนกตามระดับการศึกษา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาทันตแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว

ระดับการศึกษา ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

14 2 5 7 10 10 24

169 37 31 11 28 62 36 20 3 8 5 129 15 38 11 56 9 334

43 18 4 2 3 16 99 19 52 12 16 53 1 6 18 21 7 195

226 57 40 13 31 85 135 39 55 20 21 192 16 44 29 87 16 553

สัดส่วนบุคลากรสายวิชาการ จำาแนกตามระดับการศึกษา 35.26

60.40

รวม

ปริญญาเอก

ปริญญาโท 4.34

ปริญญาตรี

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา


16

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

บุคลากรสายวิชาการจำาแนกตามตำาแหน่งทางวิชาการ ตำาแหน่งทางวิชาการ กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาทันแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว

อาจารย์

204 50 36 12 26 80 114 35 47 17 15 169 15 34 24 83 13 487

ผู้ช่วย รอง ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

14 4 1 1 5 3 18 4 5 3 6 19 1 8 5 4 1 51

7 3 2 2 3 3 2 2 12

1 1 2 2 3

รวม

226 57 40 13 31 85 135 39 55 20 21 192 16 44 29 87 16 553


ก า ร บ ร า ร แ ล ะ ท รั

า ก ร ก า ร ด ำา นิ น ง า น

17

สัดส่วนอาจารย์ประจำาต่อนักศึกษาเต็มเวลา ปีการศึกษา 2559 นักศึกษาเต็มเวลา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาทันตแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว

อาจารย์ประจำาต่อนักศึกษาเต็มเวลา

9,309.62 2 994.04 1 697.94 691.83 907.28 3 018.53 2,612.64 1 061.81 976.29 251.28 323.26 1,475.01 41.83 247.33 250.94 867.64 67.27 13,397.27

1 1 1 1 1

69 34 69 31 33

1 1 1 1

34 21 13 17

1 1 1 1 1

4 11 12 12 6

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

อาจารย์ต่างชาติ

ทว 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

ทวีป/ประเทศ

อาจารย์ ต่างชาติ

อาจารย์อาสาสมัคร ต่างชาติ

Visiting Scholars

รวม

ชย เขตบริหารพิเศษ องกง ญี่ปุน รั สุลตานโอมาน ราชอาณาจักรภู าน สหพันธรั มาเลเ ีย สาธารณรั เกาหลี สาธารณรั ประชาชนจีน สาธารณรั ฟลิปปนส สาธารณรั แหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรั สิงคโปร สาธารณรั อินโดนีเ ีย

28 3 1 1 2 14 2 3 1

42 3 33 2 4

21 1 7 1 1 6 1 1 2

91 1 10 1 4 2 8 47 4 4 1 7


18

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

อาจารย์ต่างชาติ (ต่อ) ทวีป/ประเทศ

12. สาธารณรั อินเดีย 13. สาธารณรั อุ เบกิสถาน ทว ร ย ชย นย 14. เครือรั ออสเตรเลีย 15. นิว ีแลนด ทว ย ร 16. สาธารณรั ออสเตรีย 17. ราชอาณาจักรเดนมารก 18. สาธารณรั ฝรั่งเศส 19. สหพันธสาธารณรั เยอรมนี 20. สาธารณรั อิตาลี 21. สาธารณรั โปรตุเกส 22. ราชอาณาจักรสเปน 23. ราชอาณาจักรสวีเดน 24. สมาพันธรั สวิส 25. สหราชอาณาจักร ทว ริกา หน 26. แคนาดา 27. สหรั อเมริกา ทว ริกา 28. สาธารณรั แคเมอรูน 29. สาธารณรั มอริเชียส รว

สัดส่วนอาจารย์ต่างชาติ จำาแนกตามทวีป

อาจารย์ ต่างชาติ

อาจารย์อาสาสมัคร ต่างชาติ

Visiting Scholars

รวม

1 8 2 1 1 1 3 8 1 7 44

3 3 1 1 46

1 6 4 2 11 1 1 1 1 2 1 1 3 1 1 1 1 40

1 1 6 4 2 19 1 1 3 2 1 2 1 1 1 6 12 1 11 2 1 1 130

4.62

ทวีปโอเชียเนีย 70.00

ทวีปเอเชีย

14.62

ทวีปยุโรป 9.23

ทวีปอเมริกาเหนือ 1.53

ทวีปแอฟริกา


ก า ร บ ร า ร แ ล ะ ท รั

า ก ร ก า ร ด ำา นิ น ง า น

19

อาคารส านที่ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ประกอบ ปดวยกลุมอาคารตาง ดังนี้ ก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. ก 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. ก 26. 27. 28.

า ารการ ก า อาคารเรียนรวม อาคารป ิบัติการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร อาคารปรีคลินิก ศูนยการเรียนรูภาษาและวิจัย อาคารสํานักวิชา ศูนยป ิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนรู ศูนยป ิบัติการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี า าร านกงาน า ารบริการ นทนาการ สํานักงานอธิการบดี สํานักงานบริหารกลาง อาคารศูนยบริการวิชาการและวิจัย หนวยประสานงานมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง กรุงเทพมหานคร ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา โรงอาหาร สวนการศึกษา พิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง หอประชุมสมเดจยา เรือนริมนํ้า วนาศรม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง เชียงราย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง สาขากรุงเทพมหานคร อาคารกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ อาคารกีฬาอเนกประสงค อัฒจันทรกลางแจง ศูนยพัฒนาสุขภาพและกีฬาทางนํ้า สนามเทนนิส า าร ก า ย บานพักอธิการบดีและรับรองแขก บานพักผูบริหารและคณาจารย อาคารชุดที่พักอาจารยและบุคลากร

พื้นที่ใช้สอย (ตารางเมตร)

152,014 35 600 33 900 3 021 16 600 10 393 33 350 11 000 8 150 101,979 6 200 6 200 8 000 1 290 11 800 8 500 2 500 2 300 1 376 3 524 17 000 810 7 735 8 857 8 257 4 398 3 232 244,309 890 4 705 166 278

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รายการ


20

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

รายการ

29. 30. 31. ก 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39.

หอพักนักศึกษา วนาเวศน หอพักแพทยและพยาบาล า าร น วิหารพระเจาลานทอง บอบําบัดนํ้าเสีย โรงผลิตประปา ศูนยแจงเหตุฉุกเฉิน ปอมยาม ปอมตํารวจ สนามฝก อมกอลฟ สถานี ฟฟายอยพรอมระบบจําหนาย ฟฟาแรงสูง

พื้นที่ใช้สอย (ตารางเมตร)

58 286 4 750 9 400 1,699 266 120 567 160 31 12 168 375


21

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น


22

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

หาว�ทยาลัยสีเ ียว โครงการ หาวิทยา ย ยว เปนการปลูกฝงจิตสํานึกและสงเสริมใหนักศึกษา บุคลากร และชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยชวยกันดูแลรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอมโดยรวมกับภาคสวนตาง อาทิเชน การจัด กิจกรรมสงเสริมการใชจักรยานรวมกับสมาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพ ทยและเครือขาย การทํานํา้ หมักชีวภาพและการเลีย้ ง สเดือนดินสําหรับจัดการ กับเศษวัสดุอนิ ทรียใ นครัวเรือนเพือ่ ลดปญหาการจัดการขยะ และการเผาเศษวัสดุ การสงเสริมการรี เคิลในรูปของ ธนาคารขยะและธนาคารความดีและการขับเคลื่อนชุมชน ปลอดขยะรวมกับกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม ทัง้ หมดนี้ เป น การบู ร ณาการด า นรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ มอย า งยั่ ง ยื น ึ่งสอดคลองกับภารกิจของมหาวิทยาลัยตามแนวพระราช ปณิธานของสมเดจยาในการ ก า ราง น” ในป 2015 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดรับการจัดอันดับ เปนมหาวิทยาลัยสีเขียว ประจําป 2015 เปนอันดับที่ 7 ในประเทศ ทย และอันดับ 77 ของโลก จาก 2015


ก า ร ด ำา เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต

23

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

การดำาเนินงาน ตามภารกิจ


24

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

การผลิตบั

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ัต

สา ักว� า ในปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีสํานักวิชาทั้งสิ้น 14 สํานักวิชา กลมสา าว� าสัง ม าส ร

กลมสา าว� าว�ทยา าส รแล ท

• • • • •

• สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ • สํานักวิชาวิทยาศาสตร • สํานักวิชาวิทยาศาสตร เครื่องสําอาง • สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร

ลยี

กลมสา าว� าว�ทยา าส รส ภา

• • • • •

สํานักวิชาทันตแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตร ชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ

สา าว� าที ดสอ การ ก า ในปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีสาขาวิชาที่เปดรับสมัครเขาศึกษารวม 78 สาขาวิชา จําแนกเปน ระดับประกาศนียบัตร 1 สาขาวิชา ปริญญาตรี 38 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท 24 สาขาวิชา และระดับปริญญาเอก 15 สาขาวิชา รายละเอียดดังนี้ กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาทันตแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว

ประกาศนียบัตร

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

1 1 1

15 7 4 1 1 2 13 6 3 2 2 10 1 1 1 7 38

9 4 2 1 2 11 2 6 1 2 4 1 3 24

3 1 2 9 1 6 1 1 3 3 15

27 12 6 1 2 6 33 9 15 4 5 18 1 2 1 8 6 78


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

สัดส่วนสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามระดับการศึกษา

25

1.28

ประกาศนียบัตร ปริญญาตรี

19.23

ปริญญาเอก 30.77

ปริญญาโท

สัดส่วนสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

34.62

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร 42.31

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

23.07

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

48.72


26

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

สาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา สำานักวิชา/สาขาวิชา

านกวิชาการ การ สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบริหารวิสาหกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกสและโ อุปทาน สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาเศรษ ศาสตร านกวิชาวิชา นวิทยา สาขาวิชาการแปลและลามภาษาจีน- ทย สาขาวิชาการสอนภาษาจีน สาขาวิชาการสอนภาษาจีนใน านะภาษาตางประเทศ สาขาวิชาจีนศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน านกวิชานว กรร ง สาขาวิชาการพัฒนาระหวางประเทศ านกวิชานิ ิ า ร สาขาวิชานิติศาสตร านกวิชา ิ า ร สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรม ทย สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ สาขาวิชารั ประศาสนศาสตร สาขาวิชาสังคมศาสตร านกวิชา ท น ย าร น ท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสรางภาพเคลื่อน หว สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร สาขาวิชาวิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สาขาวิชาวิศวกรรม อฟตแวร

ประกาศนียบัตร

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

• • • •

• • •

• • •

ปริญญาเอก

• • • • • • • •

• • • •

• •

• • • • • •

• •


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

27 ิ

สำานักวิชา/สาขาวิชา

ประกาศนียบัตร

านกวิชาวิทยา า ร สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สาขาวิชาเคมีประยุกต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตรเชิงคํานวณ สาขาวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ สาขาวิชาวัสดุศาสตร านกวิชาวิทยา า ร ร ง า าง สาขาวิชาเทคโนโลยีความงาม สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง านกวิชา าหกรร ก ร สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจ สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร านกวิชาทน ทย า ร สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร านกวิชา ยาบา า ร ผูชวยพยาบาล สาขาวิชาพยาบาลศาสตร านกวิชา ทย า ร สาขาวิชาแพทยศาสตร านกวิชาวิทยา า ร า สาขาวิชากายภาพบําบัด สาขาวิชาการแพทยแผนจีน สาขาวิชาการแพทยแผน ทยประยุกต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดลอม านกวิชา วช า รช วย น า สาขาวิชาตจวิทยา สาขาวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ ที่มา : วน ร กัน ุ า การ ึกษา ล ั นาหลัก ตร ขอมล

วันที่

ษาม

ปริญญาตรี

• • • • •

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

• • • • •

• • • • •

• • •

• • • • • • • • • • •

• • •

• • •

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

สาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา (ต่อ)


28

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

นักศกษา ในปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยมีนักศึกษารวมทั้งสิ้น 15 126 คน เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 14 275 คน ระดับปริญญาโท 698 คน และระดับปริญญาเอก 153 คน โดยมีนักศึกษาใหมที่เขาศึกษาในปการศึกษา 2559 จํานวน 4 454 คน เปน นักศึกษาระดับปริญญาตรี 4 227 คน ระดับปริญญาโท 208 คน และระดับปริญญาเอก 19 คน จําแนกตามสํานักวิชา ดดังนี้

จำานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาทันตแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว *หมายเหตุ ไมนับรวมร ดับ ร กา นียบัตร จานวน

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

2,935 1 545 607 60 462 261 696 338 132 133 93

57 51 6 83 4 11 55 13

5 5 9 2 6 1 -

2,997 1 596 607 60 462 272 788 344 149 189 106

32 132 32 400 4,227

10 58 208

5 19

32 132 32 410 63 4,454


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

29

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามระดับการศึกษา

ปริญญาตรี

ปริญญาโท 0.43

ปริญญาเอก

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

17.69

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 15.02

67.29

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

94.90

4.67


30

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

จำานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชา

หนวย : น

1,596 (35.83)

607 (13.63)

462 (10.37)

272 (6.11)

410

344 (7.72)

60

(9.21)

149 (3.35)

189 (4.24)

1

1. 2. 3. 4.

2

3

การจัดการ จีนวิทยา นวัตกรรมสังคม นิติศาสตร

4

5. 6. 7. 8.

5

6

7

ศิลปศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเครื่องสําอาง

106 (2.38)

(1.35)

8

9

132 (2.96)

32 (0.72)

10

11

9. อุตสาหกรรมเกษตร 10. ทันตแพทยศาสตร 11. พยาบาลศาสตร 12. แพทยศาสตร

63

32

(1.41)

(0.72)

12

13

13. วิทยาศาสตรสุขภาพ 14. เวชศาสตรชะลอวัย และฟนฟูสุขภาพ

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามภูมิลำาเนา 11.99

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 37.40

ภาคเหนือ 4.78

ตางประเทศ

14

13.99

ภาคใต

31.84

ภาคกลาง


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

31

ปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มีนกั ศึกษาใหมตา งชาติ จํานวน 213 คน จําแนกเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 192 คน ระดับปริญญาโท 20 คน และระดับปริญญาเอก 1 คน

ภูมิลำาเนา

ทว ชย ญี่ปุน เนการาบรู นดารุส าลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา ราชอาณาจักรภู าน สหพันธรั มาเลเ ีย สหพันธสาธารณรั ประชาธิป ตยเนปาล สาธารณรั เกาหลี สาธารณรั ประชาชนจีน สาธารณรั จีน ตหวัน สาธารณรั ประชาชนบังกลาเทศ สาธารณรั ประชาธิป ตยประชาชนลาว สาธารณรั ฟลิปปนส สาธารณรั สังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรั แหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรั อินโดนีเ ีย สาธารณรั อิสลามปากีสถาน ทว ย ร สหพันธสาธารณรั เยอรมนี สหราชอาณาจักร สาธารณรั เชก สาธารณรั ตุรกี ทว ริกา หน แคนาดา สหรั อเมริกา ทว ริกา สหพันธสาธารณรั นจีเรีย รว

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

185 6 2 2 7 3 9 85 2 1 2 6 52 6 2 5 1 1 2 1 2 1 1 192

16 1 1 2 4 1 3 3 1 3 1 2 1 1 20

1 1 1

202 6 2 3 8 3 2 9 86 2 1 6 1 6 55 9 3 8 1 2 4 1 2 1 1 1 1 213

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

จำานวนนักศึกษาใหม่ต่างชาติ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามภูมิลำาเนาและระดับการศึกษา


32

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

จำานวนนักศึกษาใหม่ต่างชาติ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

139 101 6 3 29 45 20 4 4 17 8 2 6 192

9 5 4 8 2 6 3 1 2 20

1 1 1

149 106 6 3 34 53 22 4 4 23 11 2 7 2 213

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ตา่ งชาติ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามระดับการศึกษา 9.39

90.14

ปริญญาตรี

ปริญญาโท 0.47

ปริญญาเอก


สัดส่วนนักศึกษาใหม่ตา่ งชาติ ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

33

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

24.88

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 69.95

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

5.17

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ

จำานวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาทันตแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว *หมายเหตุ ไมนับรวมร ดับ ร กา นียบัตร จานวน

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

9,567 4 963 2 049 273 1 365 917

210 136 1 39 34

48 16 32

1 333 396 501 308

24 34 152 28

18 66 3 3

88 499 128 1 455 14,275

29 221 698

15 153

9,825 5 115 2 050 273 1 404 983 2,866 1 375 496 656 339 2,435 88 499 128 1 484 236 15,126


34

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

สัดส่วนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามระดับการศึกษา 94.37

ปริญญาตรี

4.62

ปริญญาโท 1.01

ปริญญาเอก

สัดส่วนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

18.95

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

64.95

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

16.10

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

จำานวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชา

35 ิ

หนวย : น

5,115 (33.82)

2,050 (13.55) (9.28)

1,484

1,375 983

(9.81)

(9.09)

(6.50)

496

273

(3.28)

656 (4.34)

(1.81)

1

1. 2. 3. 4.

2

3

การจัดการ จีนวิทยา นวัตกรรมสังคม นิติศาสตร

339 (2.24)

499 (3.29)

88 (0.58)

4

5. 6. 7. 8.

5

6

7

ศิลปศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเครื่องสําอาง

8

9

10

11

9. อุตสาหกรรมเกษตร 10. ทันตแพทยศาสตร 11. พยาบาลศาสตร 12. แพทยศาสตร

236

128

(1.56)

(0.85)

12

13

13. วิทยาศาสตรสุขภาพ 14. เวชศาสตรชะลอวัย และฟนฟูสุขภาพ

สัดส่วนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามภูมิลำาเนา 10.06

42.06

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคเหนือ 3.72

ตางประเทศ 13.11

ภาคใต

14

31.05

ภาคกลาง

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

1,404


36

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ในปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยมีนักศึกษาตางชาติรวม 553 คน คิดเปนรอยละ 3.65 ของนักศึกษาทั้งหมด โดยจําแนกตามภูมิลําเนา ดังนี้ จำานวนนักศึกษาต่างชาติทั้งหมด จำาแนกตามระดับการศึกษา ทวีป/ภูมิลำาเนา

ทว ชย ญี่ปุน เนการาบรู นดารุส าลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา ราชอาณาจักรภู าน สหพันธรั มาเลเ ีย สหพันธสาธารณรั ประชาธิป ตยเนปาล สาธารณรั เกาหลี สาธารณรั ประชาชนจีน สาธารณรั จีน ตหวัน สาธารณรั ประชาชนบังกลาเทศ สาธารณรั ประชาธิป ตยประชาชนลาว สาธารณรั ฟลิปปนส สาธารณรั สังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรั สังคมนิยมประชาธิป ตยศรีลังกา สาธารณรั สิงคโปร สาธารณรั แหงสหภาพเมียนมาร สาธารณรั อินเดีย สาธารณรั อินโดนีเ ีย สาธารณรั อิสลามปากีสถาน ทว ย ร ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด ราชอาณาจักรสวีเดน สหพันธสาธารณรั เยอรมนี สหราชอาณาจักร สาธารณรั เชก สาธารณรั ตุรกี อรแลนด

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

436 9 2 2 22 11 1 31 173 2 3 3 2 6 1 157 9 2 9 1 1 3 2 1 1

42 2 1 2 7 6 1 9 13 1 4 1 1 2 -

42 22 18 1 1 -

520 9 2 4 23 11 3 31 202 2 3 9 3 6 18 1 167 1 22 3 13 1 1 1 4 4 1 1


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

37

ทวีป/ภูมิลำาเนา

ทว ริกา รั เอริเทรีย สหพันธสาธารณรั นจีเรีย สาธารณรั กานา สาธารณรั มาลาวี สาธารณรั ยูกันดา สาธารณรั แอฟริกาใต ทว ริกา หน แคนาดา สหรั อเมริกา ทว ริกา สหพันธสาธารณรั บรา ิล ทว ร ย ชย นย สาธารณรั วานูอาตู รว

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

3 1 1 1 5 2 3 2 2 455

7 2 2 1 2 1 1 1 1 55

1 1 43

10 2 3 1 1 2 1 7 2 5 2 2 1 1 553

จำานวนนักศึกษาต่างชาติทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว ที่มา : วนท เบียน ล ร มวล ล ขอมล

วันที่

กันยายน

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

350 243 12 11 84 95 58 9 9 19 10 2 8 455

22 11 2 9 23 3 4 1 15 10 4 6 55

3 3 40 40 43

375 254 12 11 2 96 158 61 53 10 34 20 2 12 6 553

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

จำานวนนักศึกษาต่างชาติทั้งหมด จำาแนกตามระดับการศึกษา (ต่อ)


38

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติ ทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามระดับการศึกษา 9.96

82.28

ปริญญาโท

ปริญญาตรี 7.76

ปริญญาเอก

สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติ ทั้งหมด ปีการศึกษา 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

28.57

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

67.81

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

3.62

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

39

ผู สาเรจการศกษา

จำานวนผู้สำาเร็จการศึกษา รุ่นปีการศึกษา 2558 จำาแนกตามสำานักวิชาและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟนฟูสุขภาพ รว ที่มา : วนท เบียน ล ร มวล ล ขอมล

วันที่

ิงหา ม

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

1,234 775 81 260 118 452 233 89 83 47 316 82 234 2,002

103 71 1 12 19 50 8 7 31 4 71 1 70 224

2 2 7 7 9

1,339 846 82 272 139 509 241 103 114 51 387 82 235 70 2,235

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มีผสู าํ เรจการศึกษา รุน ปการศึกษา 2558 จํานวน 2 235 คน จําแนกเปนผูสําเรจการศึกษา ระดับปริญญาตรี 2 002 คน ระดับปริญญาโท 224 คน และระดับปริญญาเอก 9 คน


40

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

สัดส่วนผู้สำาเร็จการศึกษา รุ่นปีการศึกษา 2558 จำาแนกตามระดับการศึกษา 10.02

89.58

ปริญญาโท

ปริญญาตรี 0.40

ปริญญาเอก

สัดส่วนผู้สำาเร็จการศึกษา รุ่นปีการศึกษา 2558 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

22.77

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

59.91

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

17.32

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

จำานวนผู้สำาเร็จการศึกษา จำาแนกตามสำานักวิชา รุ่นปีการศึกษา 2558

41 ิ

หนวย : น

846 (37.85)

82

139

241

235

(10.78)

(10.52)

(6.22)

(3.67)

1

2

3

1. การจัดการ 2. จีนวิทยา 3. นิติศาสตร

การได งานทา องบั

4

5

4. ศิลปศาสตร 5. เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. วิทยาศาสตร

103

114

(4.61)

(5.10)

6

7

51 (2.28)

8

7. วิทยาศาสตรเครื่องสําอาง 8. อุตสาหกรรมเกษตร 9. พยาบาลศาสตร

82

70

(3.67)

9

(3.13)

10

11

10. วิทยาศาสตรสุขภาพ 11. เวชศาสตรชะลอวัย และฟนฟูสุขภาพ

ิต ปการศกษา

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดสํารวจภาวะการ ดงานทําของบัณฑิตระดับปริญญาตรี รุนที่ 13 ปการศึกษา 2557 มีผูตอบ แบบสํารวจ 1 594 คน เปนผูที่ ดงานทําภายใน 1 ปหลังสําเรจการศึกษา รอยละ 99.73 โดยมีรายละเอียดดังนี้ การได้งานทำาของบัณฑิต ปีการศึกษา 2557 รายละเอียดข้อมูล

าน า การทางาน ทํางานแลว ศึกษาตอ ม ดทํางาน มรวมผู มประสงคทํางาน ร ท งงานททา องคกรเอกชน หนวยงานภาครั อาชีพอิสระ รั วิสาหกิจ อื่น ร ย ว าการ งานทาห ง า ร การ ก า ดงานภายใน 1 ป มากกวา 1 ป งานทา รง า าวิชาท า ร ตรง มตรง

ร้อยละ

79.67 20.33 70.60 15.50 9.30 3.40 1.20 99.73 0.27 65.40 34.60

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

272 (12.17)


42

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ควา พงพอ จ องผู ช บั

ิต

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ปการศึกษา 2557 จําแนกตามกรอบมาตร านคุณวุฒิ ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห ง ชาติ แ ละคุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต ตามอั ต ลั ก ษณ พบว า ผู ใ ช บั ณ ฑิ ต มี ค วามพึ ง พอใจในบั ณ ฑิ ต ของ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.94 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รุ่นปีการศึกษา 2557 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

กร บ า ร าน ว ิร บ ก า หงชา ิ ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ก บ ิ า ก ง หาวิทยา ย บัณฑิตมีคุณภาพ า ยรว

ค่าเฉลี่ย

ระดับความพึงพอใจ

4.10 3.86 3.70 4.07 3.87

มาก มาก มาก มาก มาก

4.03 3.94

มาก าก


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

43

กิจกรร เตรย ควา พร อ ก อนเ าเรยน หาว�ทยาลัย

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีการจัดโครงการเตรียมความพรอมกอนเขาเรียนมหาวิทยาลัย เพื่อใหนักศึกษา ดมีโอกาส สรางความคุนเคย ปรับตัว และเรียนรูวิธีการเรียนโดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อ รวมถึงเรียนรูวิธีการใชชีวิตในมหาวิทยาลัย อยางมีความสุข


44

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

สวัสดิการและสิงอานวยควา สะดวกแก นักศกษา นับตัง้ แตแรกตัง้ มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง ทางมหาวิทยาลัย ดใหบริการและจัดสวัสดิการตาง แกนกั ศึกษา ทัง้ ดานทีพ่ กั อาศัย การรักษาพยาบาล การคมนาคม การสนับสนุนทุนการศึกษา รวมถึงการเตรียมความพรอมใหแกผูสําเรจการศึกษา กอนเขาสูตลาดแรงงานมาอยางตอเนื่อง ดา ท การ ก า มหาวิทยาลัยมีนโยบายที่สําคัญในการชวยเหลือนักศึกษาดานทุนการศึกษา คือ  นก ก า น ท รยน ง ก าก หาวิทยา ย หงน รา วา ยาก น เพือ่ สนองตอบนโยบายดังกลาว ในปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัย ดจัดใหมีทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาหลายประเภท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 225 279 950 บาท ทุนการศึกษา

ทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาของรั บาล ทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาตางชาติ ทุนการศึกษาโครงการพิเศษ ทุนการศึกษาสิรินธร ทุนบริจาคทั่ว ป ทุนประเภทอื่น • คูปองอาหารกลางวัน • เงินยืมฉุกเฉิน รว

จำานวน

จำานวนเงิน (บาท)

2 761 28 62 134 406 8 465 8 400 65 11,856

207 154 200 3 100 850 3 808 400 1 147 200 9 733 300 336 000 252 000 84 000 225,279,950


ดา ที ักอา ัยแล การ ม า ม มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดพัฒนาพื้นที่การเรียนรูภายในมหาวิทยาลัย และพื้นที่หอพักนักศึกษาที่สามารถบริการนักศึกษา ดอยางมีประสิทธิภาพ ในดานทีพ่ กั อาศัย มหาวิทยาลัย ดจดั สวัสดิการแกนกั ศึกษาทีต่ อ งการพักอาศัย ภายในมหาวิทยาลัย จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพทีเ่ อือ้ อํานวยใหนกั ศึกษา ใชชีวิตในมหาวิทยาลัย ดอยางมีความสุข จัดอาคารหอพักใหมีสิ่งแวดลอมที่ สะอาดเหมาะสมตอการเรียนรูแ ละคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ตัง้ อยูท า มกลางธรรมชาติ และทัศนียภาพอันงดงาม มีลานกีฬากลางแจงใหนักศึกษาออกกําลังกาย รวมทัง้ จัดเจาหนาทีร่ กั ษาความปลอดภัย ระบบ ฟฟาฉุกเฉินแจงเหตุเพลิง หม และจัดสิง่ อํานวยความสะดวกตาง วใหบริการ อาทิ รถ ฟฟาสําหรับบริการ รับสงนักศึกษา ระบบอินเทอรเนตในทุกอาคารหอพัก อุปกรณเครือ่ งใช ฟฟา สวนกลาง หองทบทวนความรูประจําแตละหอพัก หองคอมพิวเตอร หองชม โทรทัศน ตลอดจนรานสะดวก อื้ รานอาหาร และรานบริการ กั อบรีด รวมถึงมี บุคลากรประจําหอพักที่สามารถใหคําปรึกษาในเรื่องการปรับตัว การใชชีวิต ในมหาวิทยาลัย การเรียน และคอยดูแลนักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง โดยในป งบประมาณ พ.ศ. 2559 มีหอพักใหบริการนักศึกษา จํานวน 18 หลัง สามารถ รองรับนักศึกษา ด 5 847 คน

45

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั


46

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ดา กี าแล ส ภา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีสนามกีฬาอเนกประสงค ที่มีมาตร าน พรอมอุปกรณที่เพียงพอตอการใหบริการ แกนักศึกษา รวมถึงใหบริการสระวายนํ้าขนาดมาตร าน เพือ่ สนับสนุนและสงเสริมใหนกั ศึกษาใชเวลาวางอยางถูกตอง เหมาะสม มีสขุ ภาพและพลานามัยทีด่ ี รวมถึง ดจดั สวัสดิการ ดานการรักษาพยาบาล โดยความรับผิดชอบของโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ที่ใหบริการแกนักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

47

การพั นาการเรยนการสอน

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ า หลวง ด ดํ า เนิ น การพั ฒ นาการเรี ย น การสอนอย า งต อ เนื่ อ ง โดยมุ ง เน น ให เ กิ ด การพั ฒ นา ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน โดยจัดใหมโี ครงการ พัฒนาดานวิชาการและพัฒนาอาจารยที่มุงเนนศักยภาพ และบทบาทของความเปนอาจารยใหเขาใจในกระบวนการ พัฒนาแบบทดสอบ หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา การเป น อาจารย ที่ ป รึ ก ษาที่ ดี การสอนโดยเน น ผู เ รี ย น เปนสําคัญ โดยมีการดําเนินกิจกรรมสําคัญ อาทิ กิจกรรม แลกเปลีย่ นเรียนรูเ พือ่ สุนทรียภาพเสวนานักสอน โครงการ อบรมเชิงป ิบัติการ เรื่อง ร นก ก นก หากร ก ”


48

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ผลงานที่สาคั

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

องนักศกษา

ผลจากการจัดการเรียนการสอนที่เนนคุณภาพและมาตร านการศึกษาในระดับ สากลที่ผานมา ทําใหนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวงประสบความสําเรจ ในการนําเสนอผลงานทางวิชาการและ ดรับรางวัลในดานตาง อยางตอเนื่อง มาเปนลําดับ โดยในป 2559 มีผลงานที่สําคัญดังตอ ปนี้ รายนาม

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

ผลงาน

1. นางสาวอนัญญา เยี่ยมศักดิ นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 การแขงขันตอบคําถามดานการ นางสาวสุกัญญา วิริยะกิจ สํานักวิชาการจัดการ ทองเทีย่ ว การโรงแรม และการบิน รางวัลบุรฉัตร ชยากร นายพุฒิเมธ นพเการัตนมณี ครั้งที่ 5 ประจําป 2559 ในหัวขอ 84 พรรษา มหาราชินี ยอนรอยเสดจพระราชดําเนิน สูการพัฒนาการทองเที่ยว ทย 2. นางสาวนิลลนา อวมตานี นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 การแขงขันการปรุงอาหาร นางสาวพัชรพรรณ สํานักวิชาการจัดการ จากเปด ชิงแชมปประเทศ ทย สุขทรรศนีย 2016 ชิงถวยพระราชทาน สมเดจพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี 3. นางสาวดลพร สุวรรณเทพ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ตัวแทนประเทศ ทย ปแขงขันการประกวดแผนธุรกิจ นางสาวจันจิรา บุญเกิด สํานักวิชาการจัดการ ดาน ระหวางสถาบันการศึกษาทั่วภูมิภาคเอเชีย นายเอกวิทย แกวภักดี 2016 นายป ิเวธ เหลืองศรีสวาง ณ เมืองเ ียะเหมิน ประเทศจีน 4. นายนวภัทร กิ่งแกว นักศึกษาระดับปริญญาตรี ดรับคัดเลือกเปนเยาวชนผูแทนประเทศ ทย สํานักวิชาการจัดการ เขารวมโครงการ 2016 ณ ประเทศสหรั อเมริกา 5. นางสาวอุษนีย นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลรองชนะเลิศเหรียญเงิน การแขงขันภาษาจีน เดชาทรัพยจิรกุล สํานักวิชาจีนวิทยา เพชรยอดมุงกุ ครั้งที่ 13 นานาชาติ ระดับอุดมศึกษา จาก มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต รวมกับ มูลนิธิรมฉัตร 6. นางสาวรุงทิพย เบื้องกลาง นักศึกษาระดับปริญญาตรี รองชนะเลิศอันดับที่ 1 การแขงขันสุนทรพจนภาษาจีน สํานักวิชาจีนวิทยา สิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 7 ณ สถาบันขงจื้อ จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 7. นายประสพทรัพย นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแขงขันพูดสุนทรพจน มานะกิจศิริสุทธิ สํานักวิชาจีนวิทยา ภาษาจีนระดับอุดมศึกษา ครัง้ ที่ 1 โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม นางสาวอุษนีย เดชาทรัพยจริ กุล รวมกับ 8. นายพันธวัช นิมิตภาคภูมิ นักศึกษาระดับปริญญาตรี เหรียญทองแดง เพาะกายชาย รุนนํ้าหนัก 80 กิโลกรัม สํานักวิชาจีนวิทยา ขึ้น ป ในการแขงขันเพาะกาย และฟตเนส ชิงแชมปเอเชียตะวันออกเฉียงใต ครั้งที่ 13


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

รายนาม

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

49

ผลงาน

นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลนักศึกษาพระราชทาน ประจําปการศึกษา 2558 สํานักวิชานิติศาสตร จากสมเดจพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชนะเลิศ การประกวดมารยาท ทย 10. นางสาวบุศรา จิตดี นางสาววรินยุพา ตาแสน สํานักวิชาศิลปศาสตร ในโครงการ ธนชาต ริเริ่ม เติมเตม เอกลักษณ ทย นางสาวสุภนิดา เจริญวัฒนสุข ครั้งที่ 44 ประจําป 2558 ระดับภาคเหนือ นางสาวเกศสุดา จันทรงาม โดย ธนาคารธนชาต จํากัด มหาชน 11. นายกร ศิริตันภิวัฒน นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชนะเลิศ การแขงขันออกแบบและสรางหุนยนต สํานักวิชาเทคโนโลยี แหงประเทศ ทย ครั้งที่ 9 2016 สารสนเทศ รางวัลชนะเลิศ การแขงขันออกแบบและสรางหุนยนต นานาชาติ ครั้งที่ 27 2016 12. นางสาวจินตรา แ จาง 13. นายทรงธรรม แสนคําแกว 14. นายณั พล กิตติพิชญะกุล นายณั ภพ รักษาศีล

นักศึกษาระดับปริญญาตรี สํานักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สํานักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สํานักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ

รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง การแขงขันภาษาจีน เพชรยอดมุงกุ ครั้งที่ 13 นานาชาติ ระดับอุดมศึกษา จาก มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต รวมกับ มูลนิธิรมฉัตร รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 โครงการประกวดแบบ ตราสัญลักษณ เนื่องในโอกาสครบ 50 ป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รางวัลชนะเลิศ นวัตกรรมยอดเยี่ยม จากโครงการ โดย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

9. นางสาวบุณยานุช กาญจนานนท


50

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

รายนาม

15. นายเกรียงศักดิ ลอยแสง นายณั วุฒิ มวง หม นายประกาศิต นันทคีรี นายอนันต แสงจันทร นางสาวธนัชญา บุญมา 16. นางสาวรสริน สุขเกษม

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

ผลงาน

นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัล สํานักวิชาเทคโนโลยี ในงานประชุมวิชาการระดับปริญญาตรี สารสนเทศ ดานคอมพิวเตอรภูมิภาคอาเ ียน ครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแกว นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัล นักศึกษา ที่มีคุณธรรม จริยธรรมดีเดน สํานักวิชาเทคโนโลยี ประจําปการศึกษา 2557 จากสภาคณบดีคณะเทคโนโลยี สารสนเทศ สารสนเทศแหงประเทศ ทย 17. นางสาวณั า ทิพยวังเม นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 จากการแขงขัน นายกร ศิริตันติวัฒน สํานักวิชาเทคโนโลยี เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร ระดับภูมิภาค นายนฤพนธ ชัยยา สารสนเทศ 2016 18. นายมนูญ หะยีเมาะลอ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ดรับคัดเลือกใหเปน 1 ใน 4 ทีมสุดทาย ที่ ดนําเสนอ สํานักวิชาวิทยาศาสตร แนวทางแก ขปญหาเศรษ กิจและสังคมตอผูนําระดับโลก 2015 การประชุมเยาวชนโลก ป 2558 19. นางสาวศลิษ า ศุภนาม นักศึกษาระดับปริญญาตรี ดรับคัดเลือกเขารวมโครงการ 2015 สํานักวิชาวิทยาศาสตร (1 ณ กรุงโตเกียวและเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุน 20. นายโยธิน ินเวียพรมราช นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง สาขาเสริมความงาม สํานักวิชาวิทยาศาสตร ในการแขงขันฝมือแรงงานแหงชาติ ครั้งที่ 26 เครื่องสําอาง 2016 จากปลัดกระทรวง แรงงาน ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุม บเทค 21. นางสาวบุณฑริกา พรหมเทพ นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลรองชนะเลิศเหรียญเงิน สาขาเสริมความงาม สํานักวิชาวิทยาศาสตร ในการแขงขันฝมือแรงงานแหงชาติ ครั้งที่ 26 เครื่องสําอาง 2016 จากปลัดกระทรวง แรงงาน ณ ศูนยนิทรรศการ และการประชุม บเทค 22. นางสาวบุญฑริศกา งามสม นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลการนําเสนอโปสเตอรดีเดน ในงานประชุมวิชาการ สํานักวิชาอุตสาหกรรม และเสนอผลงานวิจัยพืชเขตรอนและกึ่งรอน ครั้งที่ 10 เกษตร 10 23. นางสาวภัทรารีย อินทมาตร นักศึกษาระดับปริญญาโท รางวัลการนําเสนอโปสเตอรดีเดน ในงานประชุมวิชาการ สํานักวิชาอุตสาหกรรม และเสนอผลงานวิจัยพืชเขตรอนและกึ่งรอน ครั้งที่ 10 เกษตร 10 24. นางสาวจฑาลักษณ นักศึกษาระดับปริญญาโท รางวัล สุวรรณโชติ สํานักวิชาอุตสาหกรรม จาก เกษตร


ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั

25. นางสาวพิมลพรรณ แกวประจ

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

นักศึกษาระดับปริญญาเอก สํานักวิชาอุตสาหกรรม เกษตร 26. นางสาวนวพร วรรณประสิทธิ นักศึกษาระดับปริญญาตรี นางสาวปภาวดี ชิราวัธน สํานักวิชาพยาบาลศาสตร นางสาวปภาวรินท ทรงชัยอิตรานนท นางสาวปยะนุช พิมพิรัตน นางสาวปุกกี้ นางสาวปุญญิศา จันทรจรูญ นางสาวพชรพรรณ ดินแดง นางสาวพรทิวา คําสังข 27. นางสาวปภาวรินทร นักศึกษาระดับปริญญาตรี ทรงชัยอิตรานนท สํานักวิชาพยาบาลศาสตร

28. นายธงชัย แ ลี

51

ผลงาน

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในการนําเสนอผลงาน แบบปากเปลาในการประชุมวิชาการนานาชาติ 2016 รางวัลชนะเลิศ การประกวดนวัตกรรม ทางการพยาบาล เพื่อสรางเสริมสุขภาพ ประเภทการสรางเสริมสุขภาพ สําหรับประชาชนที่ดําเนินการโดยนักศึกษาพยาบาล ระดับปริญญาตรี เรื่อง อาหาร 5 หมู กับ ีโร ผูพิทักษ จาก สมาคมพยาบาลแหงประเทศ ทย รวมกับ สภาพยาบาล ในการจัดประชุมพยาบาลแหงชาติ ครั้งที่ 15

รางวัลชนะเลิศในการนําเสนอผลงานวิชาการประเภท ประเภทนวัตกรรม เรื่อง เสียงกริ่งเตือนใจคลึงให วนะแมจา ในการประชุมวิชาการ เรือ่ ง การจัดการเรียนรูเ พือ่ การพัฒนา งานวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล รางวัล นักศึกษาพยาบาลดีเดน ดานคุณธรรมและจริยธรรม ประจําป พ.ศ. 2559 จาก ประธานที่ประชุมคณบดีและหัวหนาสถาบันการศึกษา สาขาพยาบาลศาสตรของรั ทคพย. นักศึกษาระดับปริญญาตรี ดรับเลือกใหเขารวมโครงการ สํานักวิชาพยาบาลศาสตร จากสถานทูตอเมริกัน ประจําประเทศ ทย รวมกับ มูลนิธิการศึกษา ทย-อเมริกัน ฟุล บรท เพื่อใหเดินทาง ปสหรั อเมริกา เปนระยะเวลา 5 เดือน เพือ่ เรียนรวมกับนักศึกษาและอภิปรายกับคณาจารย ชาวอเมริกัน ณ มหาวิทยาลัยในสหรั อเมริกา

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รายนาม


52

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

การพั นานักศกษา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมุงมั่นในการสรางบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค คือ เปนผูที่มี ิร ิ รร ” โดยมุงเนนใหบัณฑิตแมฟาหลวงเปนผูที่มีความรูในวิชาการที่ศึกษา เหมาะสมกับระดับปริญญาที่ ดรับทั้งทางดานภาษา และองคความรู สามารถปรับหรือประยุกตใชความรูที่มีอยูในการป ิบัติภารกิจ ดดวยภูมิปญญาและภูมิธรรม มีศักยภาพ ในการทํางานตางวัฒนธรรมและมีความคิดริเริ่มที่จะพัฒนาและปรับปรุงตนเองและหนาที่การงานอยูเปนนิจ ตระหนักถึง ความสําคัญของการอนุรักษและสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่ดี ใหกับสังคม มีมนุษยสัมพันธและคุณธรรมในการดํารงชีวิต มี ค วามคิ ด กว า ง กลและสอดคล อ งกั บ ทิ ศ ทางของประชาคมนานาชาติ ยึ ด มั่ น ในเอกลั ก ษณ ข องความเป น ทย และมุงประโยชนของสังคมและชาติเปนหลัก เพื่อสรางบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ในปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัย ดสนับสนุนกิจกรรมดานตาง ดังนี้


ดา การสง สร�ม วาม า า า เปนกิจกรรมที่มุงสรางบรรยากาศความเปนนานาชาติ ในมหาวิทยาลัย โดยจัดใหมีการเรียนการสอนเปนภาษา อังกฤษ และกิจกรรมที่สงเสริมความเปนนานาชาติใหแก นักศึกษา ึ่งสวนพัฒนาความสัมพันธระหวางประเทศ และ ชมรมนานาชาติ รวมดําเนินการ โดยเนนใหนักศึกษาเปนผูดําเนินกิจกรรม อาทิ โครงการ 2015 กิจกรรม 2016 กิจกรรม กิจกรรมประจําชาติ ตาง เชน กิจกรรม กิจกรรม เปนตน

53

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั


54

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ดา ว� าการแล ั า ักยภา เปนกิจกรรมที่เนนการเสริมสรางความรูทางวิชาการในหลักสูตร รวมถึงความรูทางวิชาการอื่น ที่นอกเหนือจาก ทีร่ ะบุ วในหลักสูตร งึ่ เปนความรูท นี่ กั ศึกษาสามารถนํา ปใชพฒ ั นาศักยภาพการเรียนรูใ นมหาวิทยาลัย และนํา ปประยุกต ใชในการดําเนินชีวิตในสังคมเมื่อสําเรจการศึกษา ดอยางเหมาะสม อาทิ กิจกรรมอบรมผูนํานักศึกษา กิจกรรมแนะนํา เทคนิคการเรียน กิจกรรมรุน พีช่ ที้ างนองเรียนอยาง ร ใหประสบความสําเรจ นอกจากนีย้ งั ดเชิญผูเ ชีย่ วชาญในดานตาง จากตางประเทศมาใหความรูแกนักศึกษาอยางตอเนื่อง


ดา ัก ก าสัม ั ธ เป น กิ จ กรรมที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ร ว มกั บ องค ก ารนั ก ศึ ก ษาจั ด ขึ้ น เพื่ อ สร า งความสามั ค คี แ ละความสั ม พั น ธ อั น ดี ระหวางนักศึกษา รวมทั้งเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ความเปนผูนําและเตรียมความพรอมในการเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย ตลอดจนเตรียมความพรอมในดานตาง ใหกับนักศึกษากอนเขาสูโลกของการใชชีวิต ภายหลังจากการสําเรจการศึกษา อาทิ กิจกรรมรับนองเขา ุม รับนองปลูกปา งานเปดโลกกิจกรรม เปนตน

55

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั


56

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ดา กี าแล ส ภา เปนกิจกรรมทีส่ ง เสริมใหนกั ศึกษา ดมสี ขุ ภาพและพลานามัยทีด่ ี โดยสนับสนุนใหนกั ศึกษาใชเวลาวาง ในการเลนกีฬา อยางถูกตองเหมาะสม และสงเสริมใหเขารวมการแขงขันกีฬา ตลอดจนใชกฬี าเปนสือ่ ในการสรางความสามัคคีในหมูน กั ศึกษา รวมทั้งเปนกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธทั้งภายในมหาวิทยาลัยและระหวางสถาบันโดยกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย ดเขารวม อาทิ เขารวมการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยแหงประเทศ ทย ครัง้ ที่ 43 กิจกรรมกีฬาลําดวนเกมส ครัง้ ที่ 14 การแขงขันวายนํา้ สําหรับยุวชนและเยาวชนทั่ว ป ภาคเหนือตอนบน ครั้งที่ 1 เปนตน


ดา สง สร�มการทา บารง าส า ล วั ธรรมแล สงแวดลอม เปนกิจกรรมที่มุงหวังใหนักศึกษาเปนผูที่มี ความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นและ ของชาติ ในขณะเดียวกันสงเสริมใหนักศึกษา ดเรียนรูศ ลิ ปวัฒนธรรมของตางชาติ ทีส่ อดคลอง กับระบบการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยและ สงเสริมใหนักศึกษาใชหลักศาสนาที่ตนนับถือ เปนเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจ และเปนแนวทางในการ ดํารงชีวติ รวมทัง้ สงเสริมใหนกั ศึกษา ดตระหนัก ถึ ง การอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มโดยสนั บ สนุ น ให นั ก ศึ ก ษาเข า ร ว มและจั ด กิ จ กรรมทํ า นุ บํ า รุ ง สงเสริมศาสนา และศิลปวัฒนธรรมอยางตอเนือ่ ง อาทิ กิจกรรมพิธีบายศรีสูขวัญ และงานเลี้ยง ขันโตก กิจกรรมพิธดี าํ หัวอธิการบดี กิจกรรมถวาย เทียนพรรษา กิจกรรมปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ เปนตน

57

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ก า ร ด ำา นิ น ง า น า ม า ร กิ ก า ร ลิ บั


58

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ดา สัง มแล บา ร ย อง ัก ก า เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนานักศึกษาใหเปนผูมีจิตสาธารณะ และมีความเสียสละเหนแกประโยชนสวนรวม มากกวาประโยชนสว นตน โดยสนับสนุนใหนกั ศึกษาจัดกิจกรรมเพือ่ บําเพญประโยชนตอ สังคม และ ดเรียนรูถ งึ การเปนผูใ ห และการตอบแทนสังคม อาทิ กิจกรรมอาสาพัฒนาชนบท กิจกรรมปนนํา้ ใจประชาธิป ตยสูช มุ ชน โครงการตนกลาของแผนดิน กิจกรรมวันเดกแหงชาติ กิจกรรมนองใหมบําเพญประโยชน กิจกรรมนักศึกษาและนักศึกษา กยศ. บําเพญประโยชน เปนตน


ก า ร วิ จั ย

59

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

การวิจัย


60

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

การว�จัย มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดใหการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อผลิตผลงานวิจัยอยางตอเนื่อง โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีการดําเนินการวิจัยรวม 86 โครงการ จัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัย จํานวน 35 120 894 บาท จําแนกเปน งบประมาณแผนดิน 13 688 100 บาท รอยละ 38.97 งบประมาณของมหาวิทยาลัย 4 390 627 บาท รอยละ 12.50 และงบประมาณจากแหลงทุนภายนอก 17 042 167 บาท รอยละ 48.53 จำานวนโครงการและงบประมาณการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและสำานักวิชา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ก  า าวิชา ง า ร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาจีนวิทยา สํานักวิชานวัตกรรมสังคม สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร ก  า าวิชาวิทยา า ร ท น ย สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ก  า าวิชาวิทยา า ร า สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ รว

จำานวนโครงการ

งบประมาณ (บาท)

ร้อยละ

12 5 1 1 2 3 55 6 23 13 13 19 3 4 12 86

7,104,769 4 313 082 225 325 1 300 000 180 962 1 085 400 21,354,570 887 250 8 489 360 6 212 510 5 765 450 6,661,555 786 355 400 000 5 475 200 35,120,894

20.23 12.28 0.64 3.70 0.52 3.09 60.80 2.52 24.17 17.69 16.42 18.97 2.24 1.14 15.59 100.00


การว ั

63.95

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

สัดส่วนงบประมาณ โครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

22.10

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ

13.95

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

18.97

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ 60.80

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

20.23

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

สัดส่วนโครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

61


62

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

งบประมาณสนับสนุนการวิจัยเฉลี่ยต่ออาจารย์ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กลุ่มสาขาวิชา

กลุมสาขาวิชาสังคมศาสตร กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ รว

งบประมาณ

จำานวนอาจารย์

เฉลี่ย (บาท) ต่อคน

7 104 769 21 354 570 6 661 555 35,120,894

226 135 192 553

31 437 158 182 34 695 63,509

รยบ ทยบงบ ร า นบ นนงานวิ ย ย  า ารยร หวางก  า าวิชา สังคมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาศาสตรสุขภาพ เทากับ 1 5.03 1.10

การเผยแพร ผลงานว�จัยและผลงานทางว�ชาการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีการเผยแพรผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ดังนี้ จำานวนผลงานที่เผยแพร่ (เรื่อง) ระดับการเผยแพร่

กลุ่มสาขาวิชา สังคมศาสตร์

กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

รวม

ระดับนานาชาติ ระดับชาติ รว

27 98 125

181 42 223

102 73 175

310 213 523


การว ั

สัดส่วนการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

63

33.46

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตรสุขภาพ

กลุมสาขาวิชา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

23.90

กลุมสาขาวิชา สังคมศาสตร

สัดส่วนการเผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามระดับการเผยแพร่ 59.27

ระดับนานาชาติ

40.73

ระดับชาติ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

42.64


64

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ผลงานทรัพย สินทางป

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา ทั้งสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร รวมทั้งสิ้นจํานวน 10 ผลงาน รายละเอียดดังนี้ ส�ทธิบัตร

1. กระบวนการเตรียมสารสกัดผักปลังเขียวที่มีองคประกอบของโพลีแ กคา รด ึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มความชุมชื่นผิว และกระบวนการเตรียม 2. มโครอิมัลชั่นจากนํ้ามันเมลดชาเพื่อใชประโยชนทางเครื่องสําอาง และกรรมวิธีการเตรียม 3. วัสดุผสมจากแปงและ คโต านเพื่อใชเปนสวนประกอบในเครื่องสําอางและกรรมวิธีการผลิต อนุส�ทธิบัตร

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดจากเมลดเสาวรส กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดมาตร านผล มที่มีฤทธิตานเอน มอีลาสเตสและคอลลาจีเนส เจลที่มีสวนผสมของสารสกัดจากกากเมลดชาเพื่อใชในการตานเชื้อราที่ผิวหนัง นาโนคอมโพสิตชีวภาพของ คโต านและอนุพันธเ ลลูโลส นํ้ามันนวดที่มีสวนผสมของนํ้ามันหอมระเหยจากผลมะแขวน สูตรตํารับเครื่องสําอางที่มีสารสกัดจากชาอัสสัมเปนสวนประกอบ อิมัลชั่นที่ มมีสวนผสมของสารลดแรงตึงผิว


การว ั

65

ล ภั อ งกั มร วง ากสารสกัด าวสัง หยด อง ทย า ารย ร าว ิ ิ ิ รา ทย

2015

• รางวัล จาก ประเทศโปแลนด ในป 2015 • รางวัล จาก โรมาเนีย ในป 2015

ในงาน 2015 ประเทศ

สารสกัดขาวสังขหยดมีฤทธิกระตุน การเจริญของเ ลลราก ผมสูงทีส่ ดุ เ ลล และกระตุน การงอกของเสนขน ในสัตวทดลอง หนู 3 โดยปราศจากการ ระคายเคืองตอผิว จากนัน้ นําสารสกัดมาพัฒนาเปนผลิตภัณฑ ปองกันผมรวงที่มีสารสกัดขาวสังขหยดของ ทย แชมพู ครีมนวดผมและแ รโทนิก สามารถลดการหลุดรวงของ เสนผม ดมากถึงรอยละ 70 หรือ จํานวนผมรวงลดลงนอยกวา 5 เสน ตอการหวี 50 ครั้ง ภายในระยะเวลา 2 สัปดาห และทําใหผมแขงแรงหนาขึน้ อีกทัง้ ยังสามารถกระตุน การงอกใหมของเสนผมบริเวณศีรษะลาน ดภายใน 8 สัปดาห 2 เดือน และยังปลอดภัยตอผูบ ริโภคโดย มทําใหเกิดการระคายเคือง นอกจากนีผ้ ใู ชมคี วามพึงพอใจในผลิตภัณฑและประสิทธิภาพ ในระดับที่ดี คะแนนความพึงพอใจมากกวารอยละ 80 ดังนั้น สารสกัดขาวสังขหยด ึ่งเปนขาวพื้นเมืองของ ทย สามารถนํามาประยุกตใชเปนสารออกฤทธิในการปองกันผมรวง ด

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รางวัลที่ไดรับ : • รางวัลเหรียญทอง


MAE FAH LUANG UNIVERSITY

66

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น

67

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

การบริการ วิชาการ พัฒนาสังคม และชุมชน

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


68

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

งานบร�การว�ชาการ มหาวิทยาลัยแมฟา หลวงมีความมุง มัน่ สงเสริมและสนับสนุนการถายทอดองคความรูผ า นการบริการทางวิชาการในรูปแบบตาง ตลอดจนการจัดทําโครงการความรวมมือทางวิชาการรวมกับหนวยงานภาครั และภาคเอกชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนภาคเหนือตอนบน และสรางความเขมแขงใหกับชุมชนและสังคม ทั้งในรูปแบบของการฝกอบรมสัมมนา การประชุมวิชาการ การเผยแพรบทความทางวิชาการในดานการเกษตร ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ และดานการแพทยเพื่อใหประชาชน ดรับความรูและประโยชนจากองคความรูในดานตาง รวมถึงการจัดใหบริการ ดานสุขภาพแกชุมชน เนนการมีสวนรวม และแลกเปลี่ยนองคความรูระหวางกัน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดจัดใหมีการอบรมและสัมมนา การบรรยายพิเศษทางวิชาการ การเผยแพรความรู บทความ และการจัดนิทรรศการ รวมถึงกิจกรรมอื่น รวม 584 กิจกรรม ดังนี้ ประเภทที่ให้บริการ (กิจกรรม) สาขาที่ให้บริการ

ดานการเกษตร ดานวิทยาศาสตร ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานสังคมศาสตร ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ดานอื่น รว

อบรม/ สัมมนา

วิทยากร

ที่ปรึกษา

เผยแพร่ บทความ

10 16 19 140 31 15 231

3 13 14 84 53 6 173

10 11 20 35 7 83

4 12 7 23

จัดการแข่งขัน กิจกรรมอื่นๆ

3 4 7

28 1 3 32 3 67

รวม

27 68 34 262 162 31 584


ก า ร บ ร ก า ร ว า ก า ร ั ฒ น า สั ง ม แ ล ะ ุ ม น

สาขาที่ให้บริการ

ถายทอดเทคโนโลยี สงเสริมสุขภาพ อาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต รว

ประเภทผู้ที่รับบริการวิชาการ นักเรียน/นักศึกษา

ครู/อาจารย์

ข้าราชการ

บุคคลทั่วไป

14 916 334 4 779 20,029

1 279 127 1 752 3,158

804 804

699 8 550 3 661 12,910

69

รวม

16 894 9 011 10 996 36,901

24.42

45.78

สงเสริมสุขภาพ

ถายทอดเทคโนโลยี 29.80

อาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต

สัดส่วนผู้เข้ารับ การบริการวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามประเภทผูร้ บั บริการ 8.56

ครู อาจารย 54.28

นักเรียน นักศึกษา

2.17

ขาราชการ 34.99

บุคคลทั่ว ป

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

สัดส่วนผู้เข้ารับ การบริการวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จำาแนกตามสาขาที่ให้บริการ


70

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

การบร�การว�ชาการที่สาคั นปงบประ า พ ศ

การ สว า า า า รอง

อกาส รบรอบ วามสัม ั ธทางการท ทย วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดจัดการเสวนาโตะกลมนานาชาติเรื่อง ที่มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย ในโอกาสครบรอบ 40 ป ความสัมพันธทางการทูต ทย-จีน โดย ดรบั การสนับสนุนจากกงสุลใหญแหงสาธารณรั ประชาชน จีนประจําเชียงใหม ใหจัดกิจกรรมสงเสริมการเผยแพรองคความรูเกี่ยวกับจีนในมิติตาง โดยมีวิทยากรจาก มหาวิทยาลัยเ ียะเหมิน ประเทศจีน และนักวิชาการจากประเทศตาง ทั่วอาเ ียน มาสะทอนมุมมองที่มีตอจีน และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากประเทศอาเ ียน 6 ประเทศ ดแก ฟลิปปนส มาเลเ ีย อินโดนีเ ยี ทย เวียดนาม และสิงคโปร ทีจ่ ะ ดรว มแสดงทัศนะ ถึงแนวความคิดของจีนในการพลิกฟน นทาง าย ห ห ” ทัง้ ทางบกและทะเล ภายใตกรอบ ที่ จ ะเชื่ อ มต อ ประเทศและภู มิ ภ าคต า ง เข า ด ว ยกั น เพือ่ เชือ่ มโยงตอกันอยางรอบดาน อาทิ ดานคมนาคม การคา การลงทุน การทองเที่ยว เศรษ กิจ วัฒนธรรม เปนตน โดย ดรับความสนใจจากคณาจารยและนักวิชาการจาก สถาบันการศึกษา การวิจยั จากทัง้ ในประเทศและตางประเทศ ตลอดจนประชาชนทั่ว ปเขารวมฟงการเสวนาดังกลาว เขารวมฟงการเสวนาดังกลาว


ก า ร บ ร ก า ร ว า ก า ร ั ฒ น า สั ง ม แ ล ะ ุ ม น

71

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

สัมม า รแ แ ว รง รย ทัว ร ท มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง โดย สวนทะเบียนและประมวลผล จัดงานสัมมนาครูแนะแนวครั้งที่ 10 ระหวางวันที่ 4-6 กรก าคม 2559 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรวมมืออันดีระหวางมหาวิทยาลัยและครูแนะแนวจากทั่วประเทศ และเปนการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับขอมูลในดานตาง ของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ที่จะเปนประโยชนตอ การแนะนํานักเรียนที่สนใจเขาศึกษาตอ ทั้งระบบการรับนักศึกษา สาขาวิชาในสํานักวิชาตาง รูปแบบการเรียนการสอน สิ่งอํานวยความสะดวก สิ่งแวดลอม รวมถึงการสนับสนุนสงเสริมดานตาง โดยมีอธิการบดี รศ.ดร.วันชัย ศิริชนะ กลาวตอนรับรวมถึงกลาวถึงความเปนมาและภาพโดยรวมของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอัตลักษณสําคัญของนักศึกษา ที่มหาวิทยาลัยมุงหวัง ในการสัมมนาครั้งนี้มีครูแนะแนวสนใจเขารวมจาก 113 โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาทั่วประเทศ

ก กรรม าราวา ว�ทยา าส ร อ ว ร า องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ อพวช. สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง ขยายโอกาสการเรียนรูวิทยาศาสตรนอกหองเรียน สรางความเพลิดเพลินและสรางความตระหนัก ดานวิทยาศาสตรใหกับเยาวชน ผานกิจกรรม าราวานวิทยา า ร วช ร า กับนิทรรศการชุดใหม “ และ นกกบ าช วิทย กิจกรรมการอบรมสําหรับครูและนักเรียน และหองป ิบัติการเคลื่อนที่ ระหวางวันที่ 12-15 กรก าคม 2559 โดยมีนักเรียนจากทั่วภาคเหนือตอนบนเขารวมงานกวา 12 000 คน ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง


72

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

การ สว า รอง อยากทาธรก ร�ม อย าง ร วั น ที่ 26 กรก าคม 2559 สํ า นั ก งานการจั ด การทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาและพั ฒ นานวั ต กรรม มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดรวมกับสิงคปารค เชียงราย จัดกิจกรรมการเสวนาในหัวขอเรื่อง ยากทา รกิ ริ น ยาง ร โดย ดรับเกียรติจาก คุณ ผท ผดุงถิ่น ผูกอตั้ง บริษัท บิลค เอเชีย จํากัด และ ประธานสมาคม ทยแลนดเทคสตารทอัพ มาเปนวิทยากรในครั้งนี้ โดย อาจารย ดร.พรรณรวี พรหมนารท รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดใหการตอนรับและกลาวเปดงาน กิจกรรมดังกลาว ดรับความสนใจจากบุคลากรภายใน และประชาชนทั่ว ปใหความสนใจเขารวมกิจกรรมเปนจํานวนมาก

งา สัมม าหัว อ อ า ียงราย การมีสว ร วม องภา สว าง กับการ ั าทียังย วั น ที่ 31 สิ ง หาคม 2559 ศู น ย วิ จั ย นวั ต กรรมสั ง คมเชิ ง พื้ น ที่ สํ า นั ก วิ ช านวั ต กรรมสั ง คม มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง รวมกับ องคกรภาคเอกชนและองคกรภาคประชาสังคม เปนเจาภาพจัดงานสัมมนาหัวขอ “ นา ชยงราย การ วนรว ง า วน าง กบการ นาทยงยน โดยผูวาราชการจังหวัดเชียงราย นายบุญสง เตชะมณีสถิตย ดบรรยายพิเศษในหัวขอ งหว ชยงรายกบการ นาทยงยน การ วนรว งทก า วน” สรุป ใจความสําคัญ ดวาอนาคตของจังหวัดเชียงรายตองมุงพัฒนาดานการเกษตร การทองเที่ยวและการคาชายแดน โดยตองคํานึงถึงความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และตองใหความสําคัญกับการกระจายผลประโยชน ปทุกภาคสวน


ก า ร บ ร ก า ร ว า ก า ร ั ฒ น า สั ง ม แ ล ะ ุ ม น

73

การบร�การสุ ภาพ

รงการทั กรรมบรมรา ี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดเริ่มดําเนินการโครงการทันตกรรมบรมราชชนนี เมื่อป พ.ศ. 2555 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนการถวายพระเกียรติและสืบสานพระราชปณิธานของสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในการตระหนักถึง ความสําคัญของปญหาสุขภาพฟนและชองปากของประชาชน โดยการดําเนินงานของทีมอาสาเฉพาะทันตแพทยและ บุคลากรอาสา ใหการบริการดานการถอนฟน อุดฟน ขูดหินปูน ตลอดจนโรคตาง ในชองปาก รวมถึงการใหความรู ดานการปองกัน และสงเสริมสุขภาพชองปาก เพื่อชวยเหลือผูที่ยาก ร ดอยโอกาส ที่มีปญหาทางสุขภาพฟนและปาก อีกทัง้ เสริมสรางและสนับสนุนทันตแพทยและทันตบุคคลใหมจี ติ บริการและจิตสาธารณะ โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีผูเขารับการรักษาเปนจํานวน 5 746 คน มีการใหบริการสุขภาพ ดังนี้ ประเภทการให้บริการ

การสงเสริมทันตสุขภาพและปองกันโรคในชองปากเดกวัยเรียน การบริการทันตกรรมและการสงเสริมงานทันตกรรมปองกันในชุมชน กิจกรรมสงเสริมและฟนฟูสุขภาพชองปากผูสูงอายุ กิจกรรมบริการทันตกรรมกลุมวัยทํางาน กิจกรรมสงเสริมทันตสุขภาพและปองกันโรคในเยาวชนชายที่เขาบวชในพระพุทธศาสนา รว

ผู้รับบริการ (คน)

3 913 724 236 122 751 5,746

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

นอกจากการใหบริการวิชาการ และพัฒนาสังคมและชุมชนแลว มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงยังใหบริการสุขภาพแกชุมชน โดยรอบ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตดานสุขอนามัยใหกับประชาชนในชุมชนตาง และมุงเนนเปน ศูนยการแพทยในกลุมประเทศลุมแมนํ้าโขง ใหบริการทางการแพทยโดยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ทั้งแพทย แผนปจจบันและแพทยทางเลือก เนนใหผูรับบริการเปนศูนยกลางการรักษา


74

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

รงการห วยแ ทย ลอ ที ม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแมฟา หลวง ดตระหนักถึงปญหาทางดานสุขภาพของประชาชนจํานวนมากทีอ่ าศัยในชุมชน โดยรอบมหาวิทยาลัย ที่ มสามารถเขาถึงการรับบริการทางการแพทย ดเนือ่ งดวยสาเหตุตา ง เชน ความ มสะดวกในการ เดินทางเพื่อรับบริการ สภาพสังคมเศรษ กิจหรือปญหาสวนตัวตาง เปนตน จึง ดดําเนินการออกหนวยแพทยเคลื่อนที่ ในชุมชน มีผูรับบริการรวม 2 930 คน ดังนี้ • บานแมขาวตมทาสุด ตําบลทาสุด อําเภอเมือง • บานหวยสานลี อ ตําบลหวยชมพู อําเภอเมืองเชียงราย • งาน อบจ. เชียงรายสืบสานประเพณี ทยใสใจผูสูงอายุ ประจําป 2559 ณ องคการบริหารสวนจังหวัดเชียงราย ก กรรมแ ก าห ม เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวน มีฝนฟาคะนองและลมแรง สงผลใหมีอุณหภูมิลดลงอยางเฉียบพลันและมีสภาวะ อากาศหนาวเยน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแมฟาหลวงจึงรวมกับมหาวิทยาลัย ดําเนินกิจกรรมแจกผาหมและตรวจรักษา โรคเบื้องตนแกประชาชนโดยรอบมหาวิทยาลัย ณ อาคารเอนกประสงค เทศบาลตําบลทาสุด

ก กรรม กอบรม การ วยฟ ี ั า แล การ ม ยาบาล บอง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดจดั ฝกอบรม การชวยฟน คืนชีพขัน้ พืน้ าน และการป มพยาบาลเบื้องตนแกนักเรียน จากศูนยบริบาลชุมชนเชียงราย จํานวน 60 คน


ก า ร บ ร ก า ร ว า ก า ร ั ฒ น า สั ง ม แ ล ะ ุ ม น

75

การเยี่ย ช ศกษาดูงาน การ ยียม ม ก าดงา ากห วยงา ภาย ร ท ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีหนวยงานเขาเยี่ยมชม ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยในดานตาง รวม 121 คณะ ดแก 82 คณะ 25 คณะ 7 คณะ 3 คณะ 4 คณะ

การ ยียม ม ก าดงา ากห วยงา าง ร ท ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีหนวยงานจากตางประเทศเขาเยี่ยมชม ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัย จํานวน 10 ประเทศ 35 คณะ ดแก เครือรั ออสเตรเลีย ญี่ปุน ราชอาณาจักรกัมพูชา ราชอาณาจักรภู าน สหพันธสาธารณรั เยอรมนี สหรั อเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรั ประชาชนจีน สาธารณรั ฟลิปปนส สาธารณรั แหงสหภาพเมียนมาร

2 คณะ 4 คณะ 2 คณะ 2 คณะ 1 คณะ 5 คณะ 1 คณะ 14 คณะ 2 คณะ 2 คณะ รว

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ดานการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ดานการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย ดานการแนะแนวการศึกษา ดานการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเ ียน ดานอื่น รว


MAE FAH LUANG UNIVERSITY

76

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


ก า ร ท ำา นุ บ ำา รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ อ นุ รั ก ษ สิ� ง แ ว ด ล อ ม

77

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

การทำานุบำารุง ศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


78

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

การทานุบารุงศิลปวั นธรร และอนุรักษ สิงแวดล อ มหาวิทยาลัยแมฟา หลวงมีความมุง มัน่ สงเสริมและสนับสนุน การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ อนุรักษและสงเสริม ศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีของชาวลานนาและภาคเหนือ ตอนบน รวมมือกับทองถิน่ ในการอนุรกั ษและพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ตลอดจนสงเสริม ความรวมมือกับทองถิน่ ในการแสดงความจงรักภักดีตอ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย การดําเนินการสงเสริมและสนับสนุน ภารกิจในการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษสิ่งแวดลอม ทั้งการจัด กิจกรรมประจําปเพื่อปลูกฝงจิตสํานึกใหกับนักศึกษา และ การใหความรวมมือกับทองถิน่ ในการเขารวมและสนับสนุน กิจกรรมของชุมชน ดแก พิธถี วายผาพระก นิ พระราชทาน พิธีจดเทียนถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจพระเจาอยูหัว พิธีสรงนํ้า พระราชานุสาวรียสมเดจพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี และดําหัวอธิการบดี พิธถี วายเทียนพรรษาและผาอาบนํา้ ฝน พิธีมหามงคลเจริญพระพุทธมนตถวายพระพรชัยมงคล เฉลิมพระเกียรติ สมเดจพระนางเจาสิรกิ ติ ิ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเจริญพระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ 84 พรรษา พิธี หวครูและรับเปนลูกศิษย ประจําปการศึกษา 2559 กิจกรรมสงเสริมพระพุทธศาสนา เปนตน


ก า ร ท ำา นุ บ ำา รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

พิพิธภั

79

อารยธรร ลุ น้าโ ง

พิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขงจัดตั้งขึ้นตามแนวทางของมหาวิทยาลัยที่มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินการรวบรวมและ อนุรักษวัตถุทางวัฒนธรรมตามหลักวิชาการ จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนและรูปแบบนิทรรศการกึ่งถาวรในพิพิธภัณฑ จัดทํา านขอมูลความรูเกี่ยวกับอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขง รวมถึงวิจัยหาองคความรูทางดานวัฒนธรรม โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีการดําเนินงานในรูปแบบโครงการที่สําคัญ อาทิ

รงการ ธภั สว า ดมีการจัดพิพิธภัณฑเสวนาในหัวขอ • อาน พระญา มังรายและ พระญา มังรายที่ยัง ม ดอาน • อาเ ียนภิวัตน • วาดเสวนา ดอก มในอาเ ียน • ดอก มอาเ ียน ความงดงามแหงสัญลักษณ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รงการ ัดหาแล อ รัก วั ทางวั ธรรม ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ดรับวัตถุทางวัฒนธรรมจํานวนทั้งสิ้น 15 ชิ้น โดยเปนวัตถุทางวัฒนธรรม ที่ ดรับมาจาก การบริจาค


80

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

รงการ ทรร การหม วย ดมีการจัดนิทรรศการในหัวขอ • “วง หวน ารย รร  นา ง นบน ึ่ ง เป น นิ ท รรศการรั บ เสดจ สมเดจพระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุมารี เสดจพระราชดําเนินแทนพระองค พระราชทานปริญญาบัตรแกผูสําเรจการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ประจําปการศึกษา 2557 • “ ง ปราดเปรื่องเรื่องพิธีกรรม • ดอก มในอาเ ียน รงการอบรมการทา รอง ด า บอง ดมีการจัดกิจกรรมดังนี้ • กิจกรรมการลงพื้นที่เพื่อเรียนรูและสรางแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน • กิจกรรมการอบรมเชิงป ิบัติการ ในหัวขอ กร บวนการ รย ินท าก ห ง า บรา ” • กิจกรรมการอบรมเชิงป บิ ตั กิ าร ในหัวขอ กร บวนการ น ราง รร งาน าก นิ ท าก ห ง า บรา ”


ก า ร ท ำา นุ บ ำา รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

81

โครงการสวนพ กษศาสตร หาว�ทยาลัยแ าหลวง เ ลิ พระเกียรติ พรรษา หาราชา

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

โครงการสวนพฤกษศาสตรมหาวิทยาลัยแมฟาหลวงเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชา มีวัตถุประสงคหลักในการ สะสมพรรณ มทั้งในประเทศ ตางประเทศ พรอมจัดแสดงพรรณ มในรูปแบบของสวนที่แตกตางกัน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีการดําเนินการที่สําคัญดังนี้

วน น ร ดําเนินการดูแลรักษาสวนสมุน พรและสวนสมุน พรเพื่อการจัดจําหนาย มีพื้นที่รวม 34 ร เพื่อเปนแหลงรวบรวมพรรณ มในกลุมประเทศอาเ ียน ภายในบริเวณสวนมีศาลาชมสวน และทางเดินพื้นที่ ในสวน พรอมจัดภูมิทัศนสวยงาม ในรอบปที่ผานมามีพรรณ มที่รวบรวม ด จํานวน 81 ตน 12 ชนิด และมีชนิดของสมุน พร สําหรับจัดแสดงเพื่อใหศึกษาเรียนรูสะสมจํานวนทั้งสิ้น 342 ชนิด ทั้งนี้มีการบริการทางวิชาการใหแกคณะศึกษาดูงาน จากหนวยงานภายนอก 15 หนวยงาน 473 คน และเปดใหผูที่สนใจเขาเยี่ยมชมจํานวน 972 คน รวมผูที่เขาศึกษาดูงาน และเยี่ยมชมจํานวนรวมทั้งสิ้น 1 445 คน


82

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

วนวิ ว นาการ ภายในบริ เ วณมี ส ถานที่ ใ ห นั่ ง พั ก ผ อ นหย อ นใจ พร อ มทางเดิ น และบั น ดคอนกรี ต อีกทั้งมีลานจอดรถสําหรับใหผูที่เขามาเยี่ยมชม ในรอบปที่ผานมา ดดําเนินการรวบรวมพรรณ มเพื่อใชสําหรับจัดแสดง รวมจํานวนทั้งสิ้น 14 ชนิด ดแก ปรงเมก ิกัน ปรงญี่ปุน สนมังกร สนบลู สนแผง สนฉัตร สนใบเงิน สนดินสอ แสมา หญาถอดปลอง เฟรนใบมะขาม จังดาง และปาลมเครา ษี ทยาน ก มีพื้นที่รวม 2 ร ภายในสวนอุทยาน มดอก มีบัน ดและทางเดินคอนกรีตโดยรอบอุทยาน ในรอบปที่ผานมามีการพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่เพื่อปลูก มดอก มประดับตามฤดูกาล วน รร หายาก มีพื้นที่ขนาด 15 ร โดย ดดําเนินการปรับพื้นที่เพื่อพัฒนาเสนทางศึกษาธรรมชาติ และมีวตั ถุประสงคเพือ่ รวบรวมพรรณ มทคี่ วรคาแกการอนุรกั ษ ว นอกจากนีย้ งั ดเริม่ สะสมพรรณ มอนุรกั ษใกลสญ ู พันธุ 4 ชนิด ดแก กวมภูคา เตารางยักษภูคา ชมพูภูคาและคํามอกหลวง วน น พัฒนาและปรับปรุงพื้นที่โดยรอบจํานวน 52 ร เพื่อปลูกหญาและตนสนสามใบ จํานวน 100 ตน ลงบนพื้นที่สวนสน วน บ ก พั ฒ นาพื้ น ที่ แ ละ ด ทํ า การเชื่ อ มต อ เส น ทางจากสวนเบญจพฤกษ เ ข า กั บ เส น ทางหลั ก นอกจากนี้ ดปลูก ผยักษนานจํานวน 500 ตนลงในพื้นที่เพื่อเปนการอนุรักษสายพันธุ และ ดทําการอนุบาล วภายใน โรงเรือนสวนหนึ่ง วน รร นา ว ยชา ิ จัดเตรียมพื้นที่สําหรับปลูก มเลื้อย ในกลุม มเลื้อยเนื้อออน มเลื้อยเนื้อแขง มเลื้อย ทย มเลื้อยหายาก และ มเลื้อยกิน ด และสะสมพรรณ ม ดดําเนินการรวบรวมพันธุ มจํานวนทั้งสิ้น 135 ตน 27 ชนิด โดยทําการลงปลูก 50 ตน และอนุบาล วภายในโรงเรือน


ก า ร ท ำา นุ บ ำา รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

83

งา ว� าการดา การ า ลยง อ ยอ ที วร าแก การอ รัก แล ที าส

รงการสว ากร ลม ร กียร สม ด ร ท รั รา สดา สยามบรมรา กมาร โครงการสวนพฤกษศาสตร ดพัฒนาและปรับปรุง พื้นที่ ใหเปนสวน ากุระ เฉลิมพระเกียรติ สมเดจพระเทพ รั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุ ม ารี จํ า นวน 300 ร แบ ง พื้ น ที่ ก ารปลู ก ากุ ร ะเป น 8 พื้ น ที่ ทั้ ง นี้ ด ร ว มกั บ สถาบันชา ดทําการลงปลูก ากุระสายพันธุเกาหลี ในพื้นที่ จัดแสดงสายพันธุชาเปนความรวมมือระหวางหนวยงาน ภายในมหาวิทยาลัย และยัง ดรวบรวมกลา ากุระที่ ดรับ ความอนุเคราะหบริจาค จํานวน 2 800 ตน 19 สายพันธุ ดทําการปลูกแลว 2 400 ตน ในสวนที่เหลือ ดเกบรักษา ว ในโรงเรือนอนุบาล ากุระเพื่อนํา ปปลูกในปตอ ป

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

โครงการสวนพฤกษศาสตร ดทดลองเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ ดจํานวนรวม 20 ชนิด และสามารถยายตนออนกลวย ม สายพันธุกะเรกะรอน ออกจากขวดเพื่อนํา ปเลี้ยงในโรงเรือน อนุบาลกลา ม ดจํานวน 1 759 ตน นอกจากนี้ ยัง ดรับความ อนุเคราะหบริจาคตนออนกลวย มสายพันธุ เอื้องเขาแกะ จํานวน 3 600 ตน โดย ดอนุบาลเพื่อทําการอนุรักษสายพันธุ วในโรงจัดแสดงพรรณ ม


MAE FAH LUANG UNIVERSITY

84

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ห น่ ว ย ง า น อื่ น

85

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

ความร่วมมือ กับหน่วยงานอื่น


86

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ควา ร ว อกับหน วยงาน ต างประเทศ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดพัฒนาความรวมมือกับสถาบัน และองค ก รต า งประเทศภายใต ข อ ตกลงประเภทต า ง ทั้งการพัฒนาหลักสูตรรวมกัน การทําวิจัย การแลกเปลี่ยน บุคลากรและนักศึกษา ตลอดจนการจัดกิจกรรมทางวิชาการ โดย ดขยายเครือขายสูระดับนานาชาติกับมหาวิทยาลัย และหนวยงานทุกทวีปทั่วโลก จํานวน 75 แหง ภายใต ขอตกลง 78 ฉบับ มีรายละเอียดดังตอ ปนี้

ประเทศ

ญี่ปุน

ราชอาณาจักรกัมพูชา

ราชอาณาจักรเบลเยียม ราชอาณาจักรภู าน สมาพันธรั สวิส

หน่วยงาน

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

. .


ว า ม ร ว ม ม อ กั บ น ว ง า น อ น

ประเทศ

สหพันธสาธารณรั เยอรมนี

สหรั อเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรั เกาหลี

สาธารณรั เชก สาธารณรั ประชาชนจีน

หน่วยงาน

20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53.

-

-

ä ü

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

สหพันธรั มาเลเ ีย

87


88

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ประเทศ

สาธารณรั ประชาชนจีน สาธารณรั จีน ตหวัน สาธารณรั ประชาธิป ตย ประชาชนลาว สาธารณรั ฟลิปปนส สาธารณรั ฟนแลนด สาธารณรั สังคมนิยมเวียดนาม

สาธารณรั แหงสหภาพ เมียนมาร สาธารณรั อินโดนีเ ีย สาธารณรั ออสเตรีย

หน่วยงาน

54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62. 63. 64. 65.

-

-

66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74.

-

-

75.


ว า ม ร ว ม ม อ กั บ น ว ง า น อ น

89

นักศกษาแลกเปลี่ยน

ลำาดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

ประเทศ

จำานวน (คน)

รว

12 1 1 2 1 6 4 3 2 6 5 35 1 1 1 2 4 1 1 89

ญี่ปุน เนการาบรู นดารุส าลาม นิว ีแลนด โรมาเนีย สมาพันธรั สวิส สหพันธรั มาเลเ ีย สหพันธสาธารณรั เยอรมนี สหราชอาณาจักร สหรั อเมริกา สาธารณรั เกาหลี สาธารณรั ประชาชนจีน สาธารณรั จีน ตหวัน สาธารณรั โปรตุเกส สาธารณรั ฟลิปปนส สาธารณรั สังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรั อิตาลี สาธารณรั อินโดนีเ ีย สาธารณรั ออสเตรีย ังการี

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงมีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับตางสถาบันการศึกษา ในตางประเทศ โดยมีนักศึกษาแลกเปลี่ยนของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จํานวน 89 คน และจากตางประเทศ จํานวน 67 คน จําแนก ด ดังนี้


90

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ลำาดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ประเทศ

ญี่ปุน เนการาบรู นดารุส าลาม สหพันธรั มาเลเ ีย สหพันธสาธารณรั เยอรมนี สหรั เมก ิโก สาธารณรั เชก สาธารณรั ฟนแลนด สาธารณรั สังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรั อินโดนีเ ีย สาธารณรั ออสเตรีย รว

จำานวน (คน)

17 5 18 1 1 6 1 6 10 2 67


ว า ม ร ว ม ม อ กั บ น ว ง า น อ น

91

ควา ร ว อกับหน วยงาน นประเทศ มหาวิทยาลัยแมฟา หลวงมีการพัฒนาความรวมมือและการดําเนินกิจกรรมความรวมมือระหวางสถาบันและองคกรในประเทศ ภายใตขอตกลงความรวมมือเปนจํานวนกวา 65 หนวยงาน ทั้งดานการจัดการเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนขอมูลทาง วิชาการ การวิจัย การบริการวิชาการ และการพัฒนาบุคลากร โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดลงนามขอตกลงแลกเปลี่ยนความรวมมือกับหนวยงานตาง เพิ่มเติมจากเดิม จํานวน 6 หนวยงาน ดังตอ ปนี้ 1. กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

2. คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา 3. บริษัท โปรดักสพลัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 4. บริษัท สายการบินนกแอร จํากัด มหาชน 5. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา 6. อินเตอร คอนติเนนตัล โ เทลส กรุป

ข้อตกลงแลกเปลี่ยนความร่วมมือ

ความรวมมือในการทําหนาที่เปนสื่อกลาง ในการแปลภาษา ลาม ใหกับแรงงานตางดาว ที่มาติดตอกับทาง กรมสวัสดิการ และคุมครองแรงงาน ทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค โดยการสนทนาผานทาง ระบบโ เชียลมีเดีย ความรวมมือในการพัฒนาทางดานวิชาการ ดานการวิจัย และดานกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ความรวมมือในการพัฒนาดานเครือ่ งสําอางสูธ รุ กิจเชิงพาณิชย ความรวมมือดานทางการศึกษาและพัฒนาบุคลากร ความรวมมือในการพัฒนาทางดานวิชาการ ดานการวิจัย และดานกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ความรวมมือในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในดานสหกิจศึกษา หรือการฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษา

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

หน่วยงาน


MAE FAH LUANG UNIVERSITY

92

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


กิ จ ก ร ร ม ส ำา คั ญ แ ล ะ ผ ล ง า น เ ด่ น

93

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

กิจกรรมสำาคัญ และผลงานเด่น


94

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

กิจกรร สาคั นรอบป วั ที ลา ม กิจกรรมเทิดพระเกียรติ า ร ย ยา  ย ” เนื่องในวันคลายวันพระราชสมภพ 21 ตุลาคม ครบรอบปที่ 115


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

95

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

วั ที �กาย พิธีถวายผาพระก ินพระราชทาน ประจําป 2558


96

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

วั ที ธั วา ม พิธีจดเทียนถวายชัยมงคล แดพระบาทสมเดจพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสมหามงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษา


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

97

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

มกรา ม พิธีเปดหอประวัติ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

ห ร ว ิ หาวิทยา ย  าห วง มีขนาดพื้นที่ 486 ตารางเมตร ประกอบดวยพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ จํานวน 6 หอง ประกอบดวย หองพระราชวงศจักรีกับมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง หองสัญลักษณมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง หองประวัติ ความเปนมาของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง หองอธิการบดีผูกอตั้ง นายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัย แมฟาหลวง หองกลุมอาคารของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง และหองเอกสารจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง โดยมี วัตถุประสงคในการจัดตั้งเพื่อแสดงประวัติความเปนมา พัฒนาการ การดําเนินงาน และเหตุการณสําคัญตาง ที่ผานมา รวมทั้งเปนคลังจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัย


98

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

มกรา ม พิธีเปดหอประวัติ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

99

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

กมภา ั ธ สมเดจพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสดจพระราชดําเนินแทนพระองค ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ใหแกผูสําเรจการศึกษา ประจําปการศึกษา 2557


100

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

กมภา ั ธ สมเดจพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสดจพระราชดําเนินแทนพระองค ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ใหแกผูสําเรจการศึกษา ประจําปการศึกษา 2557


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

101

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

วั ที กมภา ั ธ นาย นิ่ง ฟูขุย เอกอัครราชทูตแหงสาธารณรั ประชาชนจีน ประจําประเทศ ทย เยือนมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พรอมกลาวสุนทรพจน “ วา น ทย น  วา รว ทาง ร กิ ”


102

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

วั ที ม าย พิธีสรงนํ้าสงกรานตพระราชานุสาวรียสมเดจพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และพิธีดําหัวอธิการบดี


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

103

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

วั ที กรก า ม พิธีทานหาแมฟาหลวง


104

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

วั ที กรก า ม พิธีลงนามถวายพระพร สมเดจพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุ ราชกุมาร เนื่องในวโรกาสวันคลายวันพระราชสมภพ


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

105

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

วั ที สงหา ม พิธีมหามงคลเจริญพระพุทธมนตถวายพระพรชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ สมเดจพระนางเจาสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเจริญพระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ 84 พรรษา


106

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

วั ที กั ยาย กิจกรรมสถาปนามหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ครบรอบ 18 ป


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

และ ลงาน ดน

107

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

วั ที กั ยาย กิจกรรมสถาปนามหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ครบรอบ 18 ป


108

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

บุคลากรที่ทาคุ ประโยชน ป รายนามผู ดรับใบประกาศเกียรติคุณเนื่องในโอกาสครบรอบ 18 ป แหงการสถาปนา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง วันที่ 25 กันยายน 2559 มหาวิทยาลัย ดมอบใบประกาศเกียรติคุณแกผูทําคุณประโยชนใหแกมหาวิทยาลัย ดังนี้ บ ร กา กียร ักงา ดี ด 1. ผูชวยศาสตราจารยวิ ลลักษณ บุญเคลือบ 2. ผูชวยศาสตราจารยอารยา อดุลตระกูล 3. อาจารย ดร.ณั ยา คน ื่อ 4. อาจารย ดร.จตุรพงศ สิงหรา ชย 5. อาจารยนชา ชลดํารงกุล 6. อาจารยพงษภัทร รัตนสุวรรณ 7. อาจารย 8. อาจารย บ ร กา กียร

สราง อ สยง หแก มหาว�ทยาลัย

รายนาม

1. นางสาวจินตรา แ จาง 2. ทีมจาก สํานักวิชาการจัดการ ร กอบดวย นางสาวอนัญญา เยี่ยมศักดิ นางสาวสุกัญญา วิริยะกิจ นายพุฒิเมธ นพเการัตนมณี 3. อาจารย ดร.ณัต าวุฒิ ิติปราโมทย 4. นางสาวปภาวรินทร ทรงชัยอิตรานนท 5. นางสาวพิมลพรรณ แกวประจ 6. นายโยธิน ิลเวีย พรมราช 7. นายกร ศิริตันติวัฒน 8. ทีมจาก สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ร กอบดวย นายเกรียงศักดิ ลอยแสง นายณั วุฒิ มวงใหม นายประกาศิต นันทคีรี นายอนันต แสงจันทร นางสาวธนัชญา บุญมา

หน่วยงาน

ประเภทผลงาน

สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาการจัดการ

ดานสังคมศาสตร ดานสังคมศาสตร

สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สํานักวิชาเทคโนโลยีเครื่องสําอาง สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ดานวิทยาศาสตร ดานวิทยาศาสตร ดานวิทยาศาสตร ดานวิทยาศาสตร ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

9. ทีมจาก สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ร กอบดวย นายณั พล กิตติพิชญะกุล นายณั ภพ รักษาศีล 10. นายธีรชาติ ปทมาลัย 11. นางสาวธัญญรัตน ทวีนุต 12. นายรั ภูมิ ราชกิจ 13. นายสมยศ จันทาพูน

หน่วยงาน

109

ประเภทผลงาน

สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

สวนพัฒนานักศึกษา ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สวนสารบรรณ อํานวยการและนิติการ สํานักงานจัดการทรัพยสินและราย ด

ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รายนาม

และ ลงาน ดน


110

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

บุคลากรและหน วยงานที่สร างช่อเสียง ห กับ หาว�ทยาลัย บุคลากรและหนวยงานที่สรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัยในดานตาง ดังนี้ รายนาม

1. มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2.

. สํานักวิชาการจัดการ

ผลงาน

รางวัลสถานศึกษาปลอดภัยดีเดนระดับประเทศ จาก อธิบดีกรมสวัสดิการ และคุม ครองแรงงาน ในงานสัปดาหความปลอดภัยในการทํางานแหงชาติ ครัง้ ที่ 30 ณ ศูนยประชุมและจัดนิทรรศการนานาชาติ บเทค บางนา รางวัล จากการวิจัยเรื่อง

วิจัยระดับนานาชาติ เรื่อง 2016 รางวัล 7 3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รมเยน โก ศยกานนท สํานักวิชาศิลปศาสตร 4. อาจารยสุรพล วรภัทราทร สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.

. . . สํานักวิชาวิทยาศาสตร

7 ภายใตหัวขอ

-

3

ภายในงานประชุมนําเสนอผลงาน ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน จากการวิจัยเรื่อง - ภายในงานสัมมนาทางวิชาการ

ณ มหาวิทยาลัยมหิดล รางวัลรายงานการศึกษาสวนบุคคลดีเดน เรื่อง บทบาทของสถาบันการศึกษา ในพื้นที่ชายแดนเพื่อการสนับสนุนนโยบายการตางประเทศของ ทย หลักสูตรนักบริหารการทูตรุนที่ 8 ประจําป 2559 เหรียญเงินสิ่งประดิษ นานาชาติ จากผลงาน อโ นาร เครื่องบอกเตือนสิ่งกีดขวางสําหรับผูพิการทางสายตา จากงาน 2015 ณ กรุง ทเป ประเทศ ตหวัน รางวัลพิเศษเหรียญทอง โดย . จากองคกร รางวัลนักวิจัยดีเดนที่มีผลงานตีพิมพและถูกอางอิงใน านขอมูล จาก สํานักพิมพ รางวัล 2015 จาก ใน านะที่เปน 1 ใน 3000 นักวิทยาศาสตรจากทั่วโลกที่ผลงานวิจัย มีอิทธิพลตอนักวิทยาศาสตรทั่วโลก


กิ ก ร ร ม ส ำา ั

111

ผลงาน

6. อาจารย ดร.ณัต าวุฒิ ิติปราโมทย รางวัลเหรียญทอง จากงาน 2015 สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง 2015 จากผลงานผลิตภัณฑปองกันผมรวง จากสารสกัดขาวสังขหยดของ ทย รางวัล จาก ประเทศโปแลนด จากผลงานผลิตภัณฑปองกันผมรวงจากสารสกัดขาวสังขหยดของ ทย รางวัล จาก ประเทศโรมันเนีย จากผลงานผลิตภัณฑ ปองกันผมรวงจากสารสกัดขาวสังขหยดของ ทย 7. สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ รางวัลสํานักงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ระดับดีมาก ภายใตนโยบาย จาก อธิบดีกรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม ในงานวันสิ่งแวดลอมโลก 2559 ณ รอยัลพารากอน อล ศูนยการคาสยามพารากอน 8. อาจารย ดร.นิตยตะยา ผาสุกพันธุ รางวัล จาก สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ ประเทศญี่ปุน 9. อาจารยดารณี ออนชมจันทร รางวัลคนดีศรีเชียงราย ประจําป 2559 สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รายนาม

และ ลงาน ดน


MAE FAH LUANG UNIVERSITY

112

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


ร า ย น า ม ผู บ ริ ห า ร

113

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี

2559

รายนาม คณะกรรมการ และผู้บริหาร

N GG U U N INV IEVR ES IRT YS I T Y MAM E AFEAFHA H L LUUAA N

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


114

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ค ะกรร การ สภา หาว�ทยาลัย ายกสภามหาว�ทยาลัย พลเอก สําเภา ชูศรี วาร ารง า หนง า

บน

อ ายกสภามหาว�ทยาลัย ศาสตราจารย ดร.นักสิทธ คูวัฒนาชัย ดารงตา หนงตัง้ ต ตุลา ม จจบัน

1

2

ที รก าสภามหาว�ทยาลัย ารง า หนง ง  ิกายน บน 1. นายประจวบ ชยสาสน 2. ดร.แสวง เครือวิวัฒนกุล 3. นายเรียบ นราดิศร 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.มารวย ผดุงสิทธิ ดารงตา หนงตั้ง ต มีนา ม จจบัน

3

4


รา นาม ้บร าร

2

3

กรรมการสภามหาว�ทยาลัย ดย าแห ง า ิการ กรร การการ ก า 1. นางสาวอาภรณ แกนวงศ ิการบ หาวิทยา ย  าห วง 2. รองศาสตราจารย ดร.วันชัย ศิริชนะ ร านกรร การ ง ริ กิ การ หาวิทยา ย  าห วง 3. นายทวิช เตชะนาวากุล

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

1

115



รา นาม ้บร าร

1

2

117

3

1

2

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

กรรมการสภามหาว�ทยาลัย ร ภท บร�หาร ารง า หนง ง  ิกายน บน 1. รองศาสตราจารยสุปราณี อัทธเสรี 2. รองศาสตราจารย ดร.รัชนี สรรเสริญ 3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.มัช ิมา นราดิศร

3

กรรมการสภามหาว�ทยาลัย ร ภท า ารย ร า ารง า หนง ง  ิกายน บน 1. รองศาสตราจารย ดร.ชมนาด พจนามาตร 2. รองศาสตราจารย ดร.สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ 3. รองศาสตราจารย ดร.แสงจันทร กันตะบุตร

ล า การสภามหาว�ทยาลัย รองศาสตราจารย ดร.ชยาพร วัฒนศิริ ดารงตา หนงตัง้ ต จิกายน

จจบัน


118

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ค ะกรร การ ตรวจสอบและติดตา การดาเนินการ วาร การ ารง า หนง ิ นายน 1. ศาสตราจารย ดร.พจน สะเพียรชัย 2. นายพายัพ พยอมยนต 3. นายนนทพล นิ่มสมบุญ 4. หัวหนาหนวยตรวจสอบภายใน นางสาวสิขรินทร แสงจันทร

บน ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

ค ะกรร การ การเง�นและทรัพย สิน วาร การ ารง า หนง ิกายน บน 1. นายสุเมธ ตันธุวนิตย 2. อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง รองศาสตราจารย ดร.วันชัย ศิริชนะ 3. นายสงคราม ชีวประวัติดํารงค 4. ศาสตราจารย ดร.นักสิทธ คูวัฒนาชัย 5. นายชัย โสภณพนิช 6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล 7. นายทวิช เตชะนาวากุล 8. รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง นางพรทิพย ภูติโยธิน 9. รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง อาจารย ดร.ประภัสสร ดํารงกุล อึ้งวณิชยพันธ 10. ผูอํานวยการสํานักงานบริหารกลาง นางสาวกัลยา ทับเกรด 11. หัวหนาสวนการเงินและบัญชี นายกัมพล ชยเลิศ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผูชวยเลขานุการ ผูชวยเลขานุการ


รา นาม ้บร าร

119

ค ะกรร การ ส งเสร� กิจการ หาว�ทยาลัย

หมายเหตุ :

กรรมการวาร การดารงตา หนง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผูชวยเลขานุการ จิกายน

จน ึง จจบัน

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

1. นายทวิช เตชะนาวากุล ดารงตา หนง กรก า ม จน ึง จจบัน 2. นายหาญ เชี่ยวชาญ 3. รองศาสตราจารย ดร.ธัชชัย แสงสิงแกว 4. นายอัศวิน ชินกําธรวงศ 5. นายชัย โสภณพนิช 6. นายโยธิน อนาวิล 7. นายสมชาย คูสุวรรณ 8. นาย กรสร จันศิริ 9. นาย พบูลย ดํารงชัยธรรม 10. นายวสันต ปติพีรกุล 11. นายสุชาติ เจนพณิช 12. นายมนตรี ดาน พบูลย 13. นายอนันต เหลาธรรมทัศน 14. นายแสวง เครือวิวัฒนกุล 15. นายวิวัฒน ศิริจางคพัฒนา 16. นายแพทยกอบชัย จิตรสกุล 17. นายแพทยปลื้ม ศุภปญญา 18. นายสัตวแพทยถนอมศักดิ เสรีวิชยสวัสดิ 19. นางสาวอุราวรรณ อัยศิริ 20. นายประชา รุงเพชรวิภาวดี 21. นายสุภาพ ปูรานิธี 22. นายปริญญา วิญญรัตน 23. นายประวิทย ดี ชยเศรษ า 24. นายเอนก ปนวนิชยกุล 25. นางสาวสุวิมล พุม พศาลชัย 26. นายบวร ศรีเปารยะ 27. รองอธิการบดี รองศาสตราจารย นาวาอากาศเอกยุทธนา ตระหงาน 28. อาจารย ดร.สุวรรณา เดชาทัย



รา นาม ้บร าร

121

ค ะผู บร�หาร หาว�ทยาลัย

1

2

3

4

5

6

ที 1. 2. 3. 4. 5. 6.

รก าอธ�การบดี รองศาสตราจารย นายสัตวแพทย ดร.เทอด เทศประทีป รองศาสตราจารยกัลณกา สาธิตธาดา นายจิโรจน สุภาพพงศ นายโอภาส เขียววิชัย นายกลานรงค จันทิก รองศาสตราจารย ทันตแพทย นายแพทย ดร.สิทธิชัย ทัดศรี

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

อธ�การบดี รองศาสตราจารย ดร.วันชัย ศิริชนะ


122

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

รองอธ�การบดี 1. นางพรทิพย ภูติโยธิน 2. รองศาสตราจารย ดร.ชยาพร วัฒนศิริ 3. รองศาสตราจารย นาวาอากาศเอกยุทธนา ตระหงาน 4. รองศาสตราจารยชุษณะ รุงปจฉิม 5. รองศาสตราจารย ดร.ดรุณี วัฒนศิริเวช 6. อาจารย ดร.พนม วิญญายอง 7. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รมเยน โก ศยกานนท 8. อาจารย ดร.ประภัสสร ดํารงกุล อึ้งวณิชยพันธ 9. ผูชวยศาสตราจารย ดร.มัช ิมา นราดิศร 10. อาจารย ดร.พรรณรวี พรหมนารท


1

2

3

4

5

6

1. 2. 3. 4. 5. 6.

วยอธ�การบดี อาจารย ดร.พันธสิริ สุทธิลักษณ ดารงตา หนง ิ้น ุด มิ ุนายน อาจารย ดร.สิริรุง วงศสกุล อาจารย ดร.สุวรรณา เดชาทัย อาจารย ดร.ฉัตรฤดี จองสุรียภาส ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณั กานต เอี่ยมออน ผูชวยศาสตราจารยสุกัล กฤตลักษณวงศ

123

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

รา นาม ้บร าร


124

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ค บดี 1

2

3

5

6

7

สานักว�ชาการจัดการ

1. อาจารย ดร.ฉัตรฤดี จองสุรียภาส สานักว�ชาจนว�ทยา

2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปราณี โชคขจิตสัมพันธ สานักว�ชานิติศาสตร

3. รองศาสตราจารย ดร.ชลอ วองวัฒนาภิกุล รักษาการ ดารงตา หนง ิ้น ุด จิกายน 4. ศาสตราจารย ดร. พโรจน กัมพูสิริ ดารงตา หนงตั้ง ต ันวา ม จจบัน

4

สานักว�ชานวัตกรร สังค

5. รองศาสตราจารย ดร.ศิริพร วัชชวัลคุ รักษาการ สานักว�ชาศิลปศาสตร

6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัครา อัครนิธิ ดารงตา หนง ิ้น ุด ันวา ม 7. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รมเยน โก ศยกานนท รักษาการ ดารงตา หนงตั้ง ต มกรา ม จจบัน


รา นาม ้บร าร

125

8

9

10

11

12

13

สานักว�ชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

8. รองศาสตราจารย ดร.ชยาพร วัฒนศิริ รักษาการ ดารงตา หนง ิ้น ุด กันยายน 9. อาจารย ดร.ธีรวิศิ  เลาหะเพญแสง รักษาการ ดารงตา หนงตั้ง ต ตุลา ม

สานักว�ชาว�ทยาศาสตร

สานักว�ชาว�ทยาศาสตร เคร่องสาอาง

12. อาจารย ดร.ภานุพงษ ใจวุฒิ สานักว�ชาอุตสาหกรร เกษตร

13. อาจารย ดร.มัช ิมา นราดิศร รักษาการ จจบัน

10. อาจารย ดร.อมร โอวาทวรกิจ รักษาการ ดารงตา หนง ิ้น ุด มกรา ม 11. รองศาสตราจารย ดร.สมศักดิ อภิสิทธิวาณิช ดารงตา หนงตั้ง ต กุม า ัน จจบัน

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ค บดี


126

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ค บดี 14

15

16

17

18

19

สานักว�ชาทันตแพทยศาสตร

14. รองศาสตราจารย ทันตแพทยทะนง ฉัตรอุทัย ดารงตา หนง ิ้น ุด ตุลา ม 15. อาจารย ทันตแพทย ดร.ณรงค ลุมพิกานนท ดารงตา หนงตั้ง ต จิกายน จจบัน สานักว�ชาแพทยศาสตร

16. พลโท ศาสตราจารยเกียรติคณ ุ นายแพทยนพดล วรอุ ร

สานักว�ชาพยาบาลศาสตร

17. รองศาสตราจารยสุปราณี อัทธเสรี สานักว�ชาเวชศาสตร ชะลอวัยและ น ูสุ ภาพ

18. นายแพทย พศาล รัมณียธร สานักว�ชาว�ทยาศาสตร สุ ภาพ

19. รองศาสตราจารย ดร.รัชนี สรรเสริญ


รา นาม ้บร าร

127

1

2

3

4

5

6

ศูนย เคร่อง อว�ทยาศาสตร และเทคโนโลยี

ศูนย บร�การเทคโนโลยีสารสนเทศ

ศูนย บรร สารและส่อการศกษา

ศูนย ภาษาและวั นธรร จนสิร�นธร

1. อาจารย ดร.สยาม ภพลือชัย รักษาการ 2. นางสาวดาวนภา สุยะนนท รักษาการ ศูนย บร�การว�ชาการ

3. อาจารย ดร.ตอพันธ ทันดร

4. อาจารยนชา ชลดํารงกุล รักษาการ

5. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัครา อัครนิธิ ดารงตา หนง ิ้น ุด มกรา ม 6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปราณี โชคขจิตสัมพันธ ดารงตา หนงตั้ง ต มกรา ม จจบัน

MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ผู อานวยการศูนย


128

ร า ง า น ป ร ะ ำา ป

ม า ว ท า ลั แ ม า ล ว ง

ผู อานวยการ/หัวหน าส วน/ หัวหน าสานักงาน/หัวหน าหน วย ผู อานวยการสานักงานบร�หารกลาง

1. นางสาวกัลยา ทับเกรด

หัวหน าส วนการเง�นและบั ชี

2. นายกัมพล ชยเลิศ

13. อาจารย ดร.สุวรรณา เดชาทัย รักษาการ

หัวหน าส วนพั นาควา สั พันธ ระหว างประเทศ

14. นางสาวนุญา ลีวณิชย

หัวหน าส วนการเจ าหน าที่

3. นางสาวกัญหา หยุนตระกูล

หัวหน าส วนนโยบายและแผน

4. วาง

หัวหน าศูนย กี า หาว�ทยาลัยแ าหลวง

15. อาจารย ดร.ภาวินี ชุมใจ หัวหน าสานักงานบั

หัวหน าส วนประชาสั พันธ

5. อาจารย ดร.พรรณรวี พรหมนารท รักษาการ

หัวหน าส วนพัสดุ

6. นางจิตติพร เทศกุล ดารงตา หนงตั้ง ต

หัวหน าส วนจัดหางานและ กงานนักศกษา

ันวา ม

ิตศกษา

16. รองศาสตราจารย ดร.ดรุณี วัฒนศิริเวช รักษาการ โรงพยาบาล หาว�ทยาลัยแ าหลวงเชียงราย

17. พลโท ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยนพดล วรอุ ร รักษาการ

หัวหน าส วนสารบรร อานวยการและนิติการ

หัวหน าสานักงานส งเสร� และพั นาว�ชาการ

หัวหน าส วนอาคารส านที่

หัวหน าสานักงานสภา หาว�ทยาลัย

ส วนทะเบียนและประ วลผล

หัวหน าหน วยประสานงานกรุงเทพ หานคร

หัวหน าส วนบร�การงานว�จัย

หัวหน าหน วยตรวจสอบภาย น

7. นายวิเชียร ขานฤทธี

8. นางดาวลักษณ สุทธนู 9. นายเรืองศักดิ เกลี้ยงกมล

10. นางพัทธยาพร อุนโรจน รักษาการ หัวหน าส วนพั นานักศกษา

11. นายวีระชัย เจริญจิตติชัย หัวหน าส วนประกันคุ ภาพการศกษาและพั นาหลักสูตร

12. นายชัยพงศ แกลวกลา

18. ผูชวยศาสตราจารยสุกัล กฤตลักษณวงศ 19. นางสาวพนมพร โพธิวงค

20. นางสาวยศวรรณ วงศเสงี่ยม 21. นางสาวสิขรินทร แสงจันทร



ม ห า ว� ท ย า ลั ย แ ม ฟ า ห ล ว ง 333 หมู 1 ตำบลท า สุ ด อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย 57100 โทรศั พ ท 0 5391 6000 โทรสาร 0 5391 6034 www.mfu.ac.th

Ma e F a h L u an g Univer sity


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.