วารสารจีนวิทยา ปีที่ 14

Page 67

ส�ำนวนที่เกี่ยวกับธาตุทั้ง 4 ในภาษาจีนและภาษาไทย

ปัทมา จุฑาธิปไตย ชัญญพร จาวะลา

ฉันเชื่อว่าคนดีตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ คู่สานวนประเภทที่สองนี้มีความหมายตรงหรือคล้ายคลึงกับ ส านวนไทยด้า นความหมาย แต่ สิ่ ง ที่ น ามาเปรี ยบแตกต่างกัน บาง ประการ เช่น 面如土色 miàn rú tǔ sâ ตรงกับสานวนไทยว่า “หน้าถอดสี” จะเห็นได้ว่าสานวนจีนมีการเปรียบเทียบ ใบหน้า กับ สี ดิน ทั้ง ในสานวนภาษาจี นและส านวนภาษาไทย หมายถึง อาการ ตกใจกลัว ในภาษาไทย สามารถใช้ว่าตกใจกลัวจนหน้าขาวซีด แต่ใน ภาษาจีนตกใจกลัวจนหน้าเหมือนสีดิน เนื่องจากลักษณะดิน บริเวณ ตอนกลางเยื้องไปทางตอนเหนือ แถบลุ่มน้าฮวงโหเป็นสีเหลือง จึงมี การหยิบยกธรรมชาติของดินมาเปรียบกับอาการของคนที่ตกใจกลัว ส่วนสานวน 牛不喝水强按头 niú bù hý shuǐ qiánɡ àn tïu ตรงกับสานวนไทยว่า “ข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า ” ทั้งสานวนไทยและ สานวนจีนกล่าวถึงสัตว์ชนิดเดียวกัน แต่สิ่งเปรียบต่างกัน กล่าวคือ ใน ภาษาไทยกล่าวถึงหญ้า แต่ในภาษาจีนกล่าวถึงน้า แสดงให้เ ห็นถึงวิถี ของคนจีนและคนไทยในการเลี้ยงดูสัตว์แตกต่างกัน และสานวน 满 面春风 mǎn miàn chūn fýnɡ ตรงกับสานวนไทยว่า “หน้าบาน เป็นกระด้ง” ทั้งในสานวนจีนและสานวนไทยมีการกล่าวถึงใบหน้า แต่สิ่งเปรียบแตกต่างกันอย่างชัดเจน ในภาษาไทยใช้ภาชนะมาเปรียบ แต่ในภาษาจีนมีการใช้ลักษณะภูมิอากาศมาเปรียบถึงใบหน้าที่อิ่มเอิบ มีความสุข นอกจากนี้สานวน 真金不怕火炼 zhýn jÿn bù pà huǒ liàn ตรงกับสานวนไทยว่า “ตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ” ทั้งภาษาไทย และภาษาจี นมี การกล่ าวถึ งไฟ แต่ สิ่ งที่ น ามาเปรี ยบแตกต่ างกั น ใน ภาษาจีนมีการกล่าวถึงแต่เพียงไฟ แต่ในขณะที่ภาษาไทยมีการกล่าวถึง ○ 52 ○

วารสารจีนวิทยา ปี52 ท่ี 14 สิงหาคม 2563

_20-0513 p37-64.indd 52

20/7/2563 BE 18:37


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.