002

Page 1

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone พร 8 www.cpn www.cpn@cgd.go.th


คํานํา สํ า นั ก ง านคลั ง เขตต 8 และกลุ มงานวิ ช ากการด า นกา รคลั ง การบับั ญ ชี ของสํานักงานคลังจังหวั ง ดในเขต 8 ไดตระหนันักถึงปญหา/อุปสรรค ในนกลุมงานวิชาการ า ซึ่งมีหนาที า ่ใหคําปรึกษาดานกฎหมมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลลักเกณฑ ดานนการเงินการรคลัง และระบบพัสดุภาครัฐแก ฐ บุคลากรขของสวนราชกการ ปรากฏวาใหคําปรึกษาแนะนําดานตตาง ๆ แกบุคลาากร ของสวนราชการ ว กาารใหคําปรึกษายั ษ งขาดความมนาเชื่อถือ แลละขาดความชัดเจน ด จึงมีแนววคิดที่จะดําเนินินโครงการ “คลินิกความมรูสูความเขมแข็ ม งทางวิชชาการของจังหวัด Zone ๘” ๘ เพื่อพัฒนาาองคความรู กฎหมาย ก ระเบียบ ขอบังคั​ับ และหลักเกกณฑดานการรเงิน การคลั งแก ง บุ ค ลากรรกลุ ม งานวิ ชาการด า นกการคลั ง การรบั ญ ชี และกกลุ ม งานอื่ น ของ สํานั ก งาานคลั งจั งหวัวั ด เมื่อ กลุม งานภายในข ง องสํ านั ก งานนคลัง จัง หวั ด มีค วามเขมแข็ ม ง มีความพพรอม ทั้งความรู ความสามมารถ และมีความเชื ค ่อมั่นในองค ใ ความรูรู พรอมที่จะขขยาย สู ห น ว ยงานภายนอ ย อก โดยจั ด ทํ าคู มื อ สํ า หรัรั บ วิ ท ยากร จํ า นวน 8 วิ ชา สํ า หรั บ คูค มื อ การเบิ ก จ า ยเงิ น การรเก็ บ รั ก ษาเงิ น และการนํนํ า เงิ น ส ง คลั งของส ง ว นราาชการ เป น คู มื อ ที่สํานักงานคลั ง งจังหวัดชุมพร กลลุมงานวิชาการดานการคลังการบัญชี เปนตัวแทนนของ สํานักงานคลังเขต 8 และกลุ แ มงานวิวิชาการดานกการคลังการบั​ัญชี ของสํานักงานคลังจังหวัด ในเขต 8 เปนผูดําเนินการจั น ดทํา คูมือฉบั​ับนี้ ไดร วบรรวมสาระสําคัญ เกี่ย วกับระเบี บ ย บเบิกกจา ยเงิน จากกคลัง น ง คลัง ของงสว นราชกา ร พ.ศ.2551 เพื่อ ให บุค ลากร ล การเก็บ รัก ษาเงิน แลละการนํ า เงิ นส กลุมงานนวิชาการดานการคลังการบบัญชี กลุมงานนอื่นของสํานักงานคลังจังงหวัดภายในเขขต 8 และหนวยงานภายนอ ว อก ไดใชประะโยชนจากคูมืมือ และมีแนววปฏิบัติที่เปนนแนวทางเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อใหนําความรูจากคูมือไปใชประโยชนในการปฏิ ใ บัติราชการอย ร างมีมีประสิทธิภาพ า กลุ ม งานนวิ ช าการด านการคลั ง การบั ญ ชี สานั สํ ก งานคลัลั ง จั ง หวั ด ชุ มพร ม ก ดทําในนนามของสํานักงานคลั ก งเขต 8 และกลุมงานวิชาการดานนการคลังการบบัญชี ผูดําเนินการจั ของสํานักงานคลังจังหวั ห ดในเขต 8 หวั ห งเปน อยางยิ ง ่งวาคูมือฉบั​ับนี้จะเปนประะโยชนตอบุคลากร กลุมงานนวิชาการดานการคลั น งการรบัญชี กลุมงานอื่น ของสํสํานักงานคลังงจังหวัดในเขขต 8 และหนวยงานภายนอก ว ในการนําไปปประกอบการปฏฏิบัติราชการตตามวัตถุประสงงคที่ไดกําหนดดไว กลุมงานดานการคลั น งการรบัญชี สํานักงานนคลังจังหวัดชุมพร กุมภาพั ภ นธ 2555


สารบัญ หนา ที่มาระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551

1

ขอบเขตการบรรยาย

3

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม

5

การเบิกจายเงินจากคลัง

6

การกันเงินไวเบิกเหลื่อมป

9

คาใชจายคางเบิกขามป

13

เงินยืมคาบเกี่ยว

21

วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง

24

การขอเบิกเงินเพื่อจายในระบบ GFMIS

27

การเบิกจายเงินยืม

31

กําหนดสงใบสําคัญ

35

การรับเงิน

43

การจายเงิน

52

ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงิน

69

วิธีปฏิบัติในการจายเงิน

70

การเก็บรักษาเงิน

75

การนําเงินสงคลัง

81


สารบัญ (ตอ) ภาคผนวก 1. 2. 3. 4. 5.

โครงการ “คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” คําสั่งแตงตั้งคณะทํางาน “คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” แบบทดสอบความรูพื้นฐานกอนการอบรม (Pretest) แบบทดสอบความรูพื้นฐานหลังการอบรม (Posttest) เฉลยขอสอบ Pretest และ Posttest


ภาพนิ่ง 1

การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงินและ การนําเงินสงคลังของสวนราชการ

คําชี้แจง ความเปนมาโดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจาก คลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง ใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและสอดคลองกับ การปฏิ บั ติ ง านด า นการเงิ น การคลั ง ตามระบบการบริ ห ารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ ด ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส (Government Fiscal Management Information System) อาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 21 (2) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนํ า เงิ น ส ง คลั ง พ.ศ.2551 ขึ้ น ระเบี ย บนี้ ใ ห ใ ช บั ง คั บ ตั้ ง แต วั น ถั ด จากวั น ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 125 ตอนพิเศษ 50 ง วันที่ 7 มีนาคม 2551 กอนที่จะมาเปน ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงิน สงคลัง พ.ศ.2551 เดิม เปนระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2525 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2526 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2531 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2536 (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538 (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2548 และระเบียบการเก็บรักษาและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520 และที่แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2531 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 1


ซึ่งระเบียบเดิมกําหนดเปนเรื่องของการทํางานที่อยูบนพื้นฐานของการใชเอกสาร ประกอบการเบิกจาย ปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายใหเบิกจายเงินผานระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) โดยใช smart card / User name /Password เครื่อง Terminal แทนเอกสาร เพื่อสงขอมูลขอเบิกเงิน ไปยังคลังจังหวัด จึงตองปรับปรุงระเบียบใหสอดรับกับวิธีการเบิกจายเงินผานระบบ GFMIS ซึ่ง ระบบดังกลาวเริ่มใชตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2547 เปนตนมา แตระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 ประกาศใชในเดือน มีนาคม 2551 ซึ่งในชวง ป 2547 - มีนาคม 2551 ตองมีระเบียบรองรับการทํางาน ผานระบบ GFMIS ซึ่งขณะนั้นระบบยังไม สมบูรณ กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดมีหนังสือสั่งการ คือ ว 115 เปนการรองรับการ ทํางานในระบบ GFMIS และหนังสือสั่งการดังกลาวตองผานการเห็นชอบ จากคณะ รัฐมนตรี เชนกัน เมื่อปรับการเบิกจายเงินผานระบบ GFMIS คอนขางสมบูรณแลว จึงทําการปรับปรุง ระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 และที่แกไขเพิ่มเติม กับระเบียบการเก็บรักษาเงินและการ นําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ.2520 และที่แกไขเพิ่มเติม เปนระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง การ เก็บรักษาเงินและการ นําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 ใหใชบังคับตั้งแต วันที่ 8 มีนาคม 2551

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 2


ภาพนิ่ง 2

ขอบเขตการบรรยาย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

กฎหมายที่เกี่ยวของ หลักการเบิกจายเงินจากคลัง วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง การเบิกจายเงินยืม การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําเงินสงคลัง

คําชี้แจง ขอบเขตการบรรยาย 1. กฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหผูเขาอบรมทราบวากระทรวงการคลังอาศัยอํานาจอะไรใน การกําหนดระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 ขึ้น 2. หลักการเบิกจายเงินจากคลัง มีหลักการอยางไร มาจากกฏหมายอะไร ซึ่งสรุปไดวา ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 ที่ปรับปรุงใหม นี้หลักการไมเปลี่ยนแปลงเพราะหลักการมาจาก พรบ.วิธีการงบประมาณเหมือนระเบียบเดิม สิ่งที่ เปลี่ยนแปลงคือวิธีการ เบิกจายเงินจากคลัง เพราะเดิมการเบิกจายเงินเปนการใชเอกสารประกอบ การวางฎีกาเบิกจายเงิน มีการตรวจสอบเอกสารกอนการสั่งจาย แตปจจุบันการเบิกจายเงินจาก คลัง เราใชระบบ GFMIS จึงตองออกระเบียบเพื่อรองรับการเบิกจายเงิน ผานระบบ GFMIS 3. วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ตามระเบียบฯ สวนที่ 3 วิธีการ เบิกเงิน ขอ 23 - ขอ 27 สวนที่ 4 การเบิกเงินของสวนราชการที่มีสํานักงานในตางประเทศ ขอ 28 – ขอ 30 4. การเบิกจายเงินยืม ตามระเบียบฯ หมวด 5 การเบิกจายเงินยืม ขอ 50 – ขอ 63

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 3


5. การรับเงิน ตามระเบียบฯ หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 ใบเสร็จรับเงิน ขอ 64 – ขอ72 สวนที่ 2 การรับเงิน ขอ 73 – ขอ 78 6. การจายเงิน ตามระเบียบฯ หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 หลักเกณฑ การจายเงิน ขอ 31 – ขอ 38 สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 – 46 สวนที่ 3 วิธีปฏิบัติในการ จายเงิน ขอ 47 - 49 7. การเก็บรักษาเงิน ตามระเบียบฯ หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 สถานที่เ ก็ บรัก ษา ข อ 79 – ข อ 81 ส ว นที่ 2 กรรมการเก็ บรัก ษาเงิ น ข อ 82 – ข อ 87 ส ว นที่ 3 การเก็บรักษาเงิน ขอ 88 – ขอ 94 8. การนําเงินสงคลัง ตามระเบียบฯ หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 95 – ขอ 100

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 4


ภาพนิ่ง 3

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 21 บั ญ ญั ติ ว า ให รั ฐมนตรี เ ป น ผู รั บ ผิ ด ชอบในการควบคุ ม งบประมาณเพื่อปฏิบั ติการใหเป นไปตามกฎหมายระเบียบหรือข อบังคั บ และใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (2) กํ าหนดระเบียบหรือขอบั งคับเกี่ ยวกับการเบิกจ ายเงิน จากคลั ง การเก็ บ รั ก ษาเงิ น และการนํ า เงิ น ส ง คลั ง ด ว ยความเห็ น ชอบของ คณะรัฐมนตรี

คําชี้แจง ขอบเขตการบรรยายเรื่องแรก กฎหมายที่เกี่ยวของ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (2) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังโดยความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนํา เงินสงคลัง พ.ศ.2551 มาตรา 21 กําหนดวาใหรัฐมนตรี ในที่นี้หมายถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวง การคลังเปนผูรับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณใหการปฏิบัติเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และรัฐมนตรีมีอํานาจที่จะกําหนดระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการเบิกจายเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง ซึ่งระเบียบนี้ตองผานความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ซึ่งหลายทานอาจสงสัยวาตอนที่ใช ว 115 ปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ชวงป 47 - 51 กอนที่จะมีระเบียบป 51 ซึ่ง ว 115 ตองผานการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีหรือไม ก็ตองบอกวา ตองผานการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เพราะอาศัยฐานอํานาจอยางเดียวกัน ก็คือ พระราชบัญญัติ วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 5


ภาพนิ่ง 4

หลักการเบิกจายเงินจากคลัง 1. การจ า ยเงิ น หรื อ ก อ หนี้ ผู ก พั น ได เ ฉพาะมี ก ฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หรือไดรับอนุญาตจาก กระทรวงการคลัง 2. การเบิกเงินเพื่อการใดจะตองนําไปจายเพื่อการนั้น 3. หนี้ตองถึงกําหนดชําระหรือใกลจะถึงกําหนดชําระ 4. คาใชจา ยที่เ กิดขึ้นในปง บประมาณใด ใหเบิก จาก เงิน งบประมาณรายจายของปนั้น

คําชี้แจง ขอบเขตการบรรยาย เรื่องที่ 2 หลักการเบิกจายเงินจากคลัง ประการแรก ตามระเบียบขอ 31 การจายเงินของสวนราชการใหกระทําเฉพาะที่มีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง กําหนดไว หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตใหจายได หรือตามที่ไดรับ อนุญาตจากกระทรวงการคลัง และผูมีอํานาจไดอนุมัติใหจายได ถาไมมีอะไรมารองรับการเบิกเงิน จากคลังก็ไมสามารถจะเบิกจายเงินไดจะเอาเงินสวนราชการไปใชจายอะไรตองมีหลักฐานมีการ อนุมัติจากผูมีอํานาจ ถึงจะเบิกจายได ประการที่สองการเบิกเงินเพื่อการใดจะตองนําไปจายเพื่อการนั้น เทานั้น ยกตัวอยางเชน เราเปนเจาหนาที่การเงิน มีขาราชการ นาย ก. มาขอยืมเงินจากสวนราชการเพื่อไปจัดฝกอบรม นาย ก. ทําสัญญายืมเงินมายื่น เราในฐานะเปนเจาหนาที่การเงินก็ทําการยืมเงินให นาย ก. แต นาย ก. ยังไมมารับเงิน นาย ข. มาขอรับเงินยืม ซึ่งเจาหนาที่การเงินยังไมไดทําการยืมในระบบจะนํา เงินยืม นาย ก. จายให นาย ข. กอน ทําอยางนี้ไมได เพราะหลักการเบิกจายเงินจากคลัง บอกวาการ เบิกเงินเพื่อการใดจะตองนําไปจายเพื่อการนั้น เบิกให นาย ก. ก็ตองจายให นาย ก. ประการที่ 3 หนี้ตองถึงกําหนดชําระหรือใกลจะถึงกําหนดชําระ เราถึงจะเบิกเงินจากคลัง มาชําระหนี้ได ซึ่งหลักการนี้มีความยืดหยุนคอนขางสูง เพราะระเบียบฯ พ.ศ. 2551 ไมไดพูดถึง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 6


การอนุมัติเบิกเงินจากคลัง พูดถึงแตการอนุมัติจายเงิน เราสามารถเบิกเงินจากคลังมาเพื่อเตรียมที่ จะจายชําระหนี้ หรือผูมีสิทธิรับเงินไดสิ่งที่จะบอกเราไดวาหนี้ของสวนราชการถึงกําหนดชําระ หรือใกลถึงกําหนดชําระ ก็คือ เอกสารที่เรียกวาใบแจงหนี้ จะบอกเราไดวาหนี้ถึงกําหนดชําระแลว อยางเชน คาน้ํา คาไฟ เราก็จะไดรับใบแจงหนี้จากการประปา จากการไฟฟา ซึ่งนํามาขอเบิกเงิน เพื่อจายชําระหนี้ นอกจากใบแจงหนี้แลวยังมีอะไรอีกบางที่จะบอกวาสวนราชการเราจะตองจาย ชําระหนี้แลว เชน ใบตรวจรับพัสดุหรือใบตรวจรับงานจาง ตามสัญญา เมื่อทําการตรวจรับแลว ตองเบิกจายเงินใหเจาหนี้หรือผูรับจางภายใน 5 วันทําการ เราก็ตองเตรียมตัวเบิกจายเงินเพื่อจาย ใหทัน 5 วันทําการ หรือกรณีอื่น อยางเชน สัญญาเชาเครื่องถายเอกสาร ตองจายเงินทุกสิ้นเดือน เราก็จะทราบแลววาเรามีหนี้คาเชาเครื่องถายเอกสารรออยู เจาหนาที่การเงินก็จะตองเตรียมขอเบิก เงินเพื่อที่จะตองจายชําระในวันสิ้นเดือนที่ยกตัวอยางมาทั้งหมดคือหลักการหนี้ใกลจะถึงกําหนด ชําระ ประการสุดทายในหลักการเบิกจายเงินจากคลัง คือ คาใชจายที่เกิดขึ้นในปงบประมาณใด ให เบิกจายเงินงบประมาณรายจายของปนั้น แตความเปนจริงในทางปฏิบัติโอกาสที่ทําใหเบิกจาย ไมทันในปงบประมาณ มีหนี้แลวจายไมทัน มีโอกาสเกิดขึ้นสูง เราจะมาดูในขอยกเวนวาเรา สามารถเอาเงินของปที่แลวมาเปนคาใชจายของปถัดไปไดอยางไร เอาเงินของปปจจุบันไปเบิก เปนคาใชจายของปที่แลวไดอยางไร

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 7


ภาพนิ่ง 5

โดยปกติคาใชจายที่เกิดขึ้นในปใดใหเบิกจากเงิน งบประมาณรายจายของปนั้นไปจาย

เวนแต กันเงินไวเบิกเหลื่อมป คาใชจายคางเบิกขามป คาใชจายที่ใหถือเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ เงินยืมคาบเกี่ยว

คําชี้แจง ขอยกเวนจากปกติที่คาใชจายที่เกิดขึ้นในปใดใหเบิกจากเงินงบประมาณรายจายของปนั้น ไปจาย ไดแก ขอยกเวนที่ 1 คือ เวนแตสวนราชการไดทําการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ขอยกเวนที่ 2 คือ เขาเงื่อนไขเปนคาใชจายคางเบิกขามป ขอยกเวนที่ 3 คือ เขาเงื่อนไขเปนคาใชจายที่ใหถือเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ ขอยกเวนที่ 4 คือ เงินยืมคาบเกี่ยว

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 8


ภาพนิ่ง 6

การกันเงินไวเบิกเหลื่อมป 1. กรณีมีหนี้ผูกพัน 2. กรณีไมมีหนี้ผูกพัน

คําชี้แจง ขอยกเวนแรก เรื่องของการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ตามระเบียบฯ หมวด 9 การกันเงินไว เบิกเหลื่อมป ขอ 101 – ขอ 102 มีทั้งกรณีที่มีหนี้ผูกพัน และกรณีไมมีหนี้ผูกพัน กรณีมีหนี้ผูกพัน จะกันเงินไดหรือไมมีหลักเกณฑอยางไร

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 9


ภาพนิ่ง 7

กรณีมีหนี้ผูกพัน 1. 2. 3. 4.

กอหนี้กอนสิ้นปงบประมาณ สั่งซื้อ / จาง / เชา 50,000 บาท ขึ้นไป คาดวาจะเบิกจายไมทันสิ้นป

คําชี้แจง การกันเงินกรณีมีหนี้ผูกพัน ตามระเบียบฯ ขอ 101 สวนราชการใดไดกอหนี้ผูกพันไวกอน สิ้นปงบประมาณ โดยการซื้อทรัพยสิน จางทําของ หรือเชาทรัพยสินที่มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจาง หรือ สัญญา หรือขอตกลง และมีวงเงินตั้งแตหาหมื่นบาทขึ้นไปหรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด กรณีที่ไมสามารถเบิกเงิน ไปชําระหนี้ไดทันสิ้นปงบประมาณ ใหถือวาใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจาง หรือสัญญาหรือขอตกลงที่ไดจัดทํา PO นําเขาขอมูลไวในระบบGFMIS เปนการขอกันเงินไวเบิก เหลื่อมปตอไปไดอีกเปนเวลาหกเดือนนับจากวันสิ้นปงบประมาณ หากเขาหลักเกณฑที่กลาว เปน การกันเงินกรณีมีหนี้ผูกพัน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 10


ภาพนิ่ง 8

กรณีไมมีหนี้ผูกพัน 1. ไมไดกอหนี้ผูกพัน 2. แตมีความจําเปนตองใชจายเงินนั้นตอไป

คําชี้แจง การกันเงินกรณีไมมีหนี้ผูกพัน ในกรณีที่สวนราชการไมไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบ ประมาณ แตมีความจําเปนตองใชจายเงินนั้นตอไปอีกใหกระทรวงเจาสังกัดขอทําความตกลงกับ กระทรวงการคลัง เมื่อไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังแลว ใหขอกันเงินไวเบิก เหลื่อมปได แตทั้งนี้จะตองดูนโยบายของกระทรวงการคลังวาในแตละปกระทรวงการคลังมี นโยบาย อยางไรในเรื่องของการกันเงินกรณีไมมีหนี้ผูกพัน เพราะกระทรวงการคลังอาจกําหนด รายการ หรือวงเงินแตละปไมเหมือนกัน ปนี้อาจจะอนุมัติใหกันเงิน กรณีไมมีหนี้ได แตในป ถัดไปอาจไมอนุมัติรายการนี้ ในวงเงินเทานี้ ก็ได เพราะฉะนั้นสวนราชการจะตองมีการบริหาร วงเงินงบประมาณที่ไ ดรับภายในปงบประมาณนั้น ๆ ใหดี ยึดหลั กที่วาคาใชจายเกิดขึ้น ในป งบประมาณใดใหเบิกจายจากปงบประมาณนั้นกอน หากสุดวิสัยจึงจะใชขอยกเวนขอกันเงินไว เบิกเหลื่อมป เพราะถาเกิดกระทรวงการคลังไมอนุญาตใหกันเงิน อาจทําใหงบประมาณนั้นตอง พับไป ไมสามารถใชประโยชนของเงินงบประมาณได สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 11


ภาพนิ่ง 9

วิธีปฏิบัติการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป 1. กรณีการกันเงินแบบมีหนี้ผูกพัน • ใบสั่งซื้อ / ใบสั่งจางที่จัดทําในระบบ GFMIS เปนการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป 2. กรณีการกันเงินแบบไมมีหนี้ผูกพัน • ขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง • กอนสิ้นปงบประมาณ

คําชี้แจง สําหรับวิธีปฏิบัติการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป จําแนกเปนแตละกรณี ดังนี้ 1. การกันเงินกรณีมีหนี้ผูกพัน เวลาเรากอหนี้ผูกพันแลวจะตองรีบจัดทําใบ PO หรือ ใบสั่งซื้อ สั่งจาง ในระบบ GFMIS ซึ่งใบสั่งซื้อ สั่งจาง นี้ภายในสิ้นปยังเบิกจายไมทันระบบก็จะกัน เงินไวเบิกเหลื่อมปใหโดยอัตโนมัติ แตทั้งนี้วงเงินตามสัญญาจะตองเขาขายที่สามารถกันเงินไดไว เบิกเหลื่อมป คือ จะตองมีวงเงิน ตั้งแต 50,000 บาทขึ้นไป แมวาจะมีการเบิกจายไปบางแลววงเงิน คงเหลือจะมีไมถึง 50,000 บาท ก็สามารถที่จะกันเงินไวเบิกเหลื่อมปได 2. การกันเงินแบบไมมีหนี้ผูกพัน ทางสวนราชการจะตองขอทําความตกลงกับกระทรวง การคลัง ภายในป ง บประมาณ ทําหนังสือชี้ แ จงเหตุผ ล ความจํา เปน ไปยัง กระทรวง การคลั ง โดยตรง ซึ่งจะไดรับอนุมัติหรือไมตองขึ้นอยูกับการพิจารณาของกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชี กลาง ภายใตนโยบายในแตละป วาจะใหกันเงินแบบไมมีหนี้ผูกพันหรือไม อยางไร ซึ่งการกันเงิน ไวเบิกเหลื่อมป กระทรวงการคลังอนุญาตกันเงินในชวงแรกใหระยะเวลา 6 เดือน ถาภายใน 6 เดือนยังเบิกจายไมเสร็จสิ้น ตองขอขยายเวลาเบิกจายเงินไวเบิกจายตอไปอีก 6 เดือน โดยทั้งนี้ จะตองสงเอกสารการขอขยายเวลาใหกระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ใหทันภายใน 31 มีนาคม

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 12


ภาพนิ่ง 10

คาใชจายคางเบิกขามป หมายความวา คาใชจายที่ไมสามารถเบิกจายไดทัน * ในปงบประมาณที่เกิดคาใชจาย หรือ * ภายในปงบประมาณที่ไดกอหนี้

คําชี้แจง ขอยกเวนที่สอง คาใชจายคางเบิกขามป หมายความวา คาใชจายที่สวนราชการไมสามารถ เบิกจายไดทันในปงบประมาณที่เกิดคาใชจายนั้น หรือภายในปงบประมาณที่ไดกอหนี้ ถาหากวา สวนราชการมีคาใชจายคางเบิกขามปจํานวนมาก ๆ จะคอนขางเปนปญหากับสวนราชการในการ บริหารงบประมาณในปปจจุบัน จะมีปญหาเพราะวาคาใชจายคางเบิกขามป กระทรวงการคลัง กําหนดใหสามารถเบิกจายไดในบางรายการ ตามหนังสือที่ กค 0409.3/ ว 14 ลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2548 ไดกําหนดหลักเกณฑการเบิกคาใชจาย คางเบิกขามปเอาไว ซึ่งหลักเกณฑคอนขางเปน เกณฑลงโทษสวนราชการ

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 13


ภาพนิ่ง 11

หลักเกณฑการเบิกคาใชจายคางเบิกขามป 1. คาใชจายนั้นจะตองไมเปนการกอหนี้ผูกพันเกินงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 2. นํามาเบิกจากงบประมาณของปปจจุบัน 3. หัวหนาสวนราชการรับรองเงินงบประมาณของปที่เกิดคาใชจายตามแบบที่ กค. กําหนด 4. ใหเบิกจายจากเงินงบประมาณรายจายของปงบประมาณที่เบิก หนังสือ กค 0409.3/ว.14 ลงวันที่ 27 มกราคม 2548

คําชี้แจง หลั ก เกณฑ ก ารเบิก คาใชจา ยคา งเบิก ขามป ตามหนังสื อ กค 0409.3/ว.14 ลงวั น ที่ 27 มกราคม 2548 หลักเกณฑประการแรก คือ คาใชจายนั้นจะตองไมเปนการกอหนี้ผูกพันเกินงบประมาณที่ ไดรับอนุมัติ เชน ขณะนี้เปนปงบประมาณ 2555 สมมุติวาในปงบประมาณ 2554 เรามีคาใชจายคาง จายอยูแตเรายังไมไดจา ยจะดวยเหตุใดๆ ก็แลวแต เชน อาจจะหลงลืมเก็บใบแจงหนี้ใบนั้นไวไมได นํามาเบิกภายในปงบประมาณนั้นๆ และไมไดกันเงินไวเบิกเหลื่อมป (หรืออาจไมเขาขายที่จะกัน เงิน) กรณีนี้ก็จะเรียกวาเปนคาใชจายคางเบิกขามปกอนที่จะจัดการอยางไรกับใบแจงหนี้ใบนี้เรา ตองกลับไปดูวาไดกอหนี้ไปไมเกินกวาวงเงินงบประมาณที่ไดรับจัดสรรจากสํานักงบประมาณ ขอย้ําวาตองไมกอหนี้เกินวงเงินงบประมาณที่ไดรับจัดสรร วิธีการดูวาเงินเกินหรือไมเกิน จากที่ไดรับจัดสรร ใหดูวาในปที่เกิดคาใชจาย (2554) ไดรับงบประมาณเทาใด ใชไปแลวเทาใด มี ยอดคงเหลือมากกวาหรือเทากับใบแจงหนี้ใบนี้หรือไม หากเอายอดใบแจงหนี้ใบนี้ บวกกับยอดที่ ใชจายไปแลวไมเกินยอดงบประมาณที่ไดรับจัดสรรจากสํานักงบประมาณ แสดงวาไมเกินวงเงิน งบประมาณที่ไดรับจัดสรร (การดูยอดที่ไดรับจัดสรรและยอดคงเหลือจะดูในภาพรวมของกรมแต ละกรมไมไดดูภายในจังหวัด) สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 14


หลักเกณฑประการที่สอง จะตองนํามาเบิกในปงบประมาณปจจุบัน คือ เมื่อดูวาปกอน หรื อ ป ที่ เ กิ ด ค า ใช จ า ยมี ย อดเงิ น คงเหลื อ แล ว ให นํ า ใบแจ ง หนี้ ใ บนี้ ม าเบิ ก เงิ น ในป ป จ จุ บั น เพราะฉะนั้นในปปจจุบันจึงตองมีเงินดวย หลักเกณฑประการที่สาม หัวหนาสวนราชการจะตองมีการรับรองเงินงบประมาณของปที่ เกิดคาใชจายตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด หัวหนาสวนราชการ คือ หัวหนาสวนราชการ เจาของงบประมาณ (อธิบดี) จะเห็นไดวาการเบิกจายจากเงินงบประมาณรายจายของปงบประมาณที่เบิก กรณีนี้เปน การสู ญ เสี ย งบประมาณ 2 ป เป น การสู ญ เสี ย ทั้ ง งบประมาณป ที่ เ กิ ด ค า ใช จ า ยและป ที่ เ บิ ก ซึ่ ง ค า ใช จ า ยถ า เกิ ด ค า งเบิ ก ข า มป ม ากๆ จะกระทบงบประมาณในป ป จ จุ บั น เพราะเราไม ไ ด ตั้ ง งบประมาณเผื่อไว ทําใหการใชจายงบประมาณปจจุบันคอนขางลําบาก ขอแนะนําสําหรับสวน ราชการใกลสิ้นปงบประมาณตองดําเนินการสํารวจงบประมาณโดยการดึงสถานะงบประมาณมา ตรวจสอบ สํารวจคาใชจายที่ตองจายในปนั้น และปองกันการหลงลืม โดยการจัดทําทะเบียนใบ แจงหนี้ดวยก็ได พยายามจายใหทันภายในปงบประมาณ เพื่อที่จะไมใหเปนปญหากับการบริหาร งบประมาณในปปจจุบัน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 15


ภาพนิ่ง 12

รายการตอไปนี้ ถาคางเบิกใหนํามาเบิก งบกลางในปตอ ๆ ไป • • • •

เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง พนักงานรัฐ เงินสํารอง เงินสมทบ เงินชดเชยของขาราชการ คาใชจายในการรักษาพยาบาลของขาราชการ ลูกจางประจํา

คําชี้แจง คาใชจายใน 4 รายการตอไปนี้ ถาคางเบิกใหนํามาเบิกจากงบกลางในปตอ ๆ ไป โดยไมถือเปน คาใชจายคางเบิกขามป สามารถนํามาเบิกจากงบกลางเปนคาใชจายของปปจจุบันได ไดแก เบี้ ย หวั ด บํ า เหน็จ บํา นาญ เชน บํา เหน็จ บํา นาญปกติ บํา นาญพิเ ศษ บํ า เหน็ จ ตกทอด บําเหน็จดํารงชีพ ฯลฯ เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง พนักงานรัฐ เชน คาเลาเรียนบุตร เงินชวยคาทําศพ ฯลฯ เงินสํารอง เงินสมทบ เงินชดเชยของขาราชการ เชน กบข. กสจ. คาใชจายในการรักษาพยาบาลของขาราชการ ลูกจางประจํา คางเบิกสามารถนํามาเบิกได แตตามระเบียบการเบิกจายเงินสวัสดิการคารักษาพยาบาลฯ กําหนดใหสามารถนํามาเบิกไดไมเกิน 1 ป ตามวันที่ ที่ระบุในใบเสร็จรับเงิน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 16


ภาพนิ่ง 13

คาใชจายใหถือวาเปนรายจาย เมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้

คําชี้แจง ขอยกเวนขอที่สาม โดยปกติคาใชจายที่เกิดขึ้นในปใดใหเบิกจากเงินงบประมาณรายจาย ของปนั้นไปจาย เวนแต คาใชจายที่ใหถือวาเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ ที่กลาวมากอน หนานี้เปนคาใชจายคางเบิกขามปตามหนังสือสั่งการที่คอนขางที่จะเปนเชิงลงโทษสวนราชการ วา ตองบริหารงบประมาณในแตละปใหดี คาใชจายที่เกิดขึ้นในแตละปเบิกจายใหหมด เพราะถาไม ตรวจสอบจะกระทบกับงบประมาณในปปจจุบัน แตถาเปนคาใชจายใหถือวาเปนรายจายเมื่อไดรับ แจงใหชําระหนี้ จะเปนหนังสือสั่งการที่คอนขางจะชวยเหลือสวนราชการ ไมตองนํามาเบิกตาม หลักเกณฑการเบิกคาใชคางเบิกขามป เพราะสวนใหญแลวเปนคาใชจายที่เรียกเก็บในสิ้นเดือน ถัดไป ทําใหไมสามารถเบิกจายไดทัน เชน คาใชจายในเดือนกันยายน สวนราชการจะไดรับแจง หนี้ ใ นเดื อ นตุ ล าคม ทํ า ให ส ว นราชการไม ส ามารถเบิ ก จ า ยค า ใช จ า ยในเดื อ นกั น ยายนจาก งบประมาณในปนั้นได จึงตองนํามาเบิกในปงบประมาณถัดไป โดยไมถือวาเปนคาใชจายคางเบิก ขามป

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 17


ภาพนิ่ง 14

1. รายการคาใชจายที่เกิดขึ้นไมวาเดือนใด 1.1 1.2 1.3 1.4

คาเชาบานขาราชการ คาบอกรับสิ่งพิมพ คาบัญชีพลโดยสารรถไฟ คาขนสง

คําชี้แจง คาใชจายที่ใหถือเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ แบงได 3 ประการ ประการแรกก็คือ รายการคาใชจายที่เกิดขึ้นในปกอน ๆ ไมวาจะเดือนใดก็ตามหากวาเพิ่ง ไดรับใบแจงหนี้ในปปจจุบัน เชน 1. คาเชาบานขาราชการ สมมุติวาเราเพิ่งทราบวามีขาราชการมาขอเบิกคาเชาบานที่คางมา หลายป เราสามารถเบิกไดจากงบประมาณปปจจุบันไดเลย โดยไมตองมีการรับรองงบประมาณ คงเหลือของปที่เบิกคาใชจายตามแบบที่ กระทรวงการคลังกําหนด เหมือนการเบิกคาใชจายคาง เบิกขามป 2. คาบอกรับสิ่งพิมพ 3. คาบัญชีพลโดยสารรถไฟ 4. คาขนสง ทั้ง 4 รายการ ไดรับแจงใหชําระหนี้ เมื่อใด ก็สามารถเบิกไดจากงบประมาณปปจจุบันไดเลย

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 18


ภาพนิ่ง 15

2. รายการคาใชจายเฉพาะเดือนกันยายน 2.1 คาเบี้ยเลี้ยงผูตองหา 2.2 คาน้ํามันเชื้อเพลิง 2.3 คาเครื่องบริโ ภค อันประกอบดวย คาขาว คากับขาว และ คาเชื้อเพลิง ของผูตองขัง 2.4 คาเครื่องบริโภค อันประกอบดวย คาขาว คากับขาว และคา เชื้อเพลิงของคนไขนักเรียน พยาบาล และนักเรียนผูชวยพยาบาล

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร /Zone 8

คําชี้แจง ประการที่สองก็คือ รายการคาใชจายที่เปนคาใชจายเฉพาะเดือนกันยายนของปกอน เชน อนุญาตใหเฉพาะคาใชจายที่เปน คาเบี้ยเลี้ยงผูตองหา คาน้ํามันเชื้อเพลิง คาเครื่องบริโภค อัน ประกอบดวย คาขาว คากับขาว และคาเชื้อเพลิง ของผูตองขัง หรือวาคาเครื่องบริโภค อันประกอบ ดวย คาขาว คากับขาว และคาเชื้อเพลิงของคนไข นักเรียนพยาบาล และนักเรียนผูชวยพยาบาล ใน 4 รายการตรงนี้ ไมถือวาเปนคาใชจายคางเบิกขามป สามารถนํามาเบิกจากงบประมาณป ปจจุบันที่ไดรับแจงใหชําระหนี้ไดเลย

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 19


ภาพนิ่ง 16

3. รายการคาใชจายเฉพาะเดือนสิงหา-กันยา 3.1 คากําจัดขยะมูลฝอย 3.2 คาน้ํา 3.3 คาไฟฟา 3.4 คาโทรศัพท 3.5 คาเชาพูดโทรศัพททางไกล 3.6 คาเชาคูสายโทรศัพท 3.7 คาติดตั้งโทรศัพท 3.8 คาฝากสงไปรษณียภัณฑและพัสดุไปรษณียที่ชําระคาฝากสงเปนรายเดือน 3.9 คาเชาวิทยุโทรศัพทเคลื่อนที่ 3.10 คาใชจายเกี่ยวกับการใชเครื่องโทรสารที่ขึ้นทะเบียนเปนครุภัณฑของทางราชการ 3.11 คาใชจายในการเชาใชบริการวิทยุติดตามตัว เพื่อใชในการปฏิบัติราชการสําคัญ กรณีเรงดวน 3.12 คาเชาบริการสัญญาณเคเบิลทีวี

คําชี้แจง ประการสุดทาย รายการคาใชจายเฉพาะเดือนสิงหาคม – กันยายน อีก 12 รายการ นี้ เปน คาใชจายที่เกิดขึ้นเฉพาะเดือนสิงหา – กันยา สวนใหญจะเปนคาสาธารณูปโภค ซึ่งไดแก คากําจัด ขยะมูลฝอย คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท คาติดตั้งโทรศัพท คาฝากสงไปรษณียเปนรายเดือน คาเชา วิทยุโทรศัพทเคลื่อนที่ คาเชาบริการสัญญาณเคเบิลทีวี ไมตองเบิกแบบคางเบิก ถาสวนราชการเพิ่ง ไดรับแจงหนี้ในปงบประมาณปจจุบันก็สามารถนํามาเบิกจากงบประมาณปปจจุบันไดเลย โดยไม ถือเปนคาใชจายคางเบิกขามป

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 20


ภาพนิ่ง 17

เงินยืมคาบเกี่ยว

คําชี้แจง ในหลักการเบิกจายเงินจากคลังจะบอกวา คาใชจายที่เกิดขึ้นในปงบประมาณใด ใหเบิก จ า ยเงิ น งบประมาณรายจ า ยของป นั้ น ข อ ยกเว น ประการสุ ด ท า ย คื อ การเบิ ก เงิ น ยื ม คาบเกี่ ย ว กอนอื่นมาทําความเขาใจเรื่อง เงินยืม กอน ผูที่มีสิทธิยืมเงินตองทําสัญญาการยืมเงิน ตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ใหผูมีอํานาจ อนุมัติการจายเงินเปนผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืมดวย ถาหากผูยืมไมมีเงินใด ๆ ที่สวนราชการ ผู ใ ห ยื ม จะหั ก ส ง ใช คื น เงิ น ยื ม ได ให ผู ยื ม นํ า หลั ก ทรั พ ย ม าวางเป น ประกั น หรื อ หาบุ ค คลที่ กระทรวงการคลังกําหนดมาทําสัญญาค้ําประกันไว ตอสวนราชการผูใหยืม การอนุมัติใหยืมเฉพาะ เทาที่จําเปน สัญญาการยืมเงินทําขึ้น 2 ฉบับ เมื่อผูยืมไดรับเงินใหลงลายมือชื่อรับเงินในสัญญา การยืมเงินทั้ง 2 ฉบับ สวนราชการผูใหยืมเก็บรักษาไวเปนหลักฐานหนึ่งฉบับ ใหผูยืมเก็บไวหนึ่ง ฉบับ กรณี ที่ ต อ งจ า ยเงิ น ยื ม สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ร าชการที่ ติ ด ต อ คาบเกี่ ย วจากป ง บประมาณ ปจจุบันไปถึงปงบประมาณถัดไปใหเบิกเงินยืมงบประมาณในปปจจุบัน โดยใหถือวาเปนรายจาย ของงบประมาณปปจจุบัน และใหใชจายเงินยืมคาบเกี่ยวปงบประมาณถัดไป

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 21


ภาพนิ่ง 18

การยืมเงินคาบเกี่ยว คือ การยืมเงินงบประมาณปปจจุบัน เพื่อไปใชจายในปงบประมาณถัดไป หลัก ตองมีเวลาปฏิบัติราชการในปปจจุบันคาบเกี่ยวไปใน ปงบประมาณถัดไป

คําชี้แจง เงินยืมคาบเกี่ยวก็คือ การยืมเงินงบประมาณปปจจุบัน เพื่อนําไปใชจายในปงบประมาณ ถัด ไป โดยมีห ลั ก คื อ จะตอ งมีระยะเวลาการปฏิบัติร าชการในปปจจุบันคาบเกี่ย วไปในป ง บ ประมาณถัดไป แบงเปนเงินยืมสําหรับคาใชจายในการเดินทางไปราชการ และเงินยืมสําหรับ ปฏิบัติราชการอื่น ๆ การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมใหแกบุคคลใดในสังกัดยืมเพื่อปฏิบัติราชการ ใหกระทําไดเฉพาะงบรายจายหรือรายการ ดังตอไปนี้ (1) รายการคาจางชั่วคราว สําหรับคาจางซึ่งไมมีกําหนดจายเปนงวดแนนอนเปนประจํา แตจําเปนตองจายใหลูกจางแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง (๒) รายการคาตอบแทนใชสอยและวัสดุ (๓) รายการคาสาธารณูปโภค เฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข (๔) งบกลาง เฉพาะที่จายเปนเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร หรือเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับเงินเพิ่ม คาครองชีพชั่วคราวสําหรับลูกจางชั่วคราวซึ่งไมมีกําหนดจายคาจางเปนงวด แนนอนเปนประจํา แตจําเปนตองจายใหลูกจางแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง (๕) งบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเดียวกันกับ (๑) (๒) หรือ (๓)

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 22


ภาพนิ่ง 19

คําชี้แจง ระยะเวลาการยืมเงิ ม นคาบเกี่ยว มี 2 กรณี ก็คือ 1. เงิเ นยืมสําหรับค บ าใชจายในนการเดินทางไปราชการ ให ใ ใชจายไดไมเกินเกาสิบวัวนนับแต วั น เริ่ ม ต น ป ง บประมาณ ณใหม ถ า เป นการยื ม เงินเพื น ่ อ เดิ น ทางงไปราชการ ยื ม ได ไ ม เ กิ น 90 วั น นับตั้งแตวันที น ่ 1 ตุลาคมม ของปงบปรระมาณถัดไปป ยกตัวอยางเช ง น ไดรับออนุญาตใหเดิ​ินทางไป ราชการตั้งแต แ วันที่ 15 กันยายน 25554 เดินทางไปปฏิบัติราชการตางจังหววัด และมีกําหนดต ห อง เดินทางถึงสิส้นเดือนตุลาคม า สามารถถยืมเงินจากงบประมาณปป 2554 ไปใชชในเดือนเดือนตุลาคม ซึ่ ง เป น งบ ประมาณป 2555 ได ห ลั ก ก็ คื อ ต อ งปฏิ ง บั ติ ร าช การในป ป จจจุ บั น ต อ เนื่ องไปใน อ ปงบประมาาณถัดไป แตถถาเกิดวาไดรับอนุ บ มัติใหเดินทางตั้งแตวัวันที่ 15 กันยาายน 2554 แลลวกลับมา ปฏิบัติงานใในสํานักงาน วันที่ 29 -300 กันยายน 25554 แตวันที่ 1 ตุลาคม 25554 จะตองเดิดินทางไป ราชการใหมม ถามีวันปฏิฏิบัติงานคั่นอยูตรงกลางกับวั บ นเดินทางไไปราชการอยยางนี้ ไมถือวาเปนเงิน ยืมคาบเกี่ยว โดยหลักแลลว ตองเดินทางไปปฏิบัตราชการติ ิร ดตอคาบเกี อ ่ยวกันไไป 2. เงินยืมสําหรัรับปฏิบัติราชชการอื่น ๆ ใหหใชจายไดไม ไ เกินสามสิบบวันนับแตวัวันเริ่มตน ปงบประมาาณใหม ถาเปปนการปฏิบัติติราชการอื่นที่ไมใชเกี่ยวกักับการเดินทาางไปราชการ ระเบียบ บอกวาใหยืมไดไมเกิน 30 3 วัน เชน การยืมเงินเพื่อการจัดฝกอบรม วันที่ 15 กก.ย. - 10 ต.ค..54 สํานักงานคลังจังหวั ง ดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในนเอกสารนี้ไมวารูปปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 23


ภาพนิ่ง 20

วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง 1. หน ว ยงานผูเ บิก เปด บัญ ชี กับ ธนาคารรั ฐ วิส าหกิ จ เงินงบประมาณ 1 บัญชี เงินนอกงบประมาณ 1 บัญชี 2. สรางขอมูลหลักผูขายในระบบ GFMIS 3. ตรวจสอบความถูกตองของคําขอเบิกเงิน 4. ตรวจสอบการจายเงินของกรมบัญชีกลาง

คําชี้แจง สําหรับระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 สวนที่ 3 วิธีการเบิกเงิน ขอ 23 การเบิกเงินจากคลัง ใหหนวยงานผูเบิกปฏิบัติ ดังนี้ (1) เปดบัญชีเงินฝากไวกับธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจ สําหรับเงินงบประมาณหนึ่งบัญชี และเงินนอกงบประมาณหนึ่งบัญชี (2) นําขอมูลของหนวยงานผูเบิกตาม (๑) หรือของเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินสรางเปน ขอมูลหลักผูขายในระบบ GFMIS (3) ตรวจสอบความถู ก ต อ งครบถ ว นของคํ า ขอเบิ ก เงิ น ก อ นส ง คํ า ขอเบิ ก เงิ น ไปยั ง กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี (4) ตรวจสอบการจายเงินของกรมบัญชีกลางใหกับหนวยงานผูเบิกหรือจายเงินตรงแก เจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตามคําขอเบิกเงินจากรายงานในระบบ GFMIS

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 24


ภาพนิ่ง 21

หนวยงานผูเบิก • ส ว นราชการ หน ว ยงานในกํ า กั บ ของรั ฐ องค ก ารมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคกรจัดตั้งขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ • ไดรับจัดสรรงบประมาณรายจาย • เบิกเงินจากกรมบัญชีกลาง / สํานักงานคลังจังหวัด

คําชี้แจง ซึ่งระเบียบนี้ คําวาหนวยงานผูเบิก หมายความถึง สวนราชการ หนวยงานในกํากับของรัฐ องคการมหาชนรัฐวิสาหกิจ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หนวยงานขององคกรที่จัดตั้งขึ้นตาม บทบัญญั ติ ของรัฐธรรมนูญ หรื อ หนว ยงานอื่น ใดในลั ก ษณะเดี ย วกัน ทั้งนี้ ตองไดรับจัดสรร งบประมาณรายจายและเบิกเงินจากกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี แตหนวยงานที่ปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจายจริง ๆ อาจจะมีเฉพาะสวนราชการเทานั้น รัฐวิสาหกิจ หรือ อปท. ไมไดถือปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง แตเรียกวาเปนหนวย งานผูเบิกดวยเหมือนกัน ตามระเบียบการเบิกจาย เพราะวาอาจจะมีในขั้นตอนแรกที่เขาเบิกเงินจาก คลังไป เขาตองสงขอมู มายังกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดเหมือนกัน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 25


ภาพนิ่ง 22

ขอมูลหลักผูขาย • ขอมูลของหนวยงานผูเบิก / เจาหนี้ / ผูมีสิทธิรับเงิน • เกีย่ วกับชื่อ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชน • ชื่อ และเลขที่บัญชีธนาคาร เลขที่สัญญา เงื่อนไข การชําระเงิน

คําชี้แจง สําหรับระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 สวนที่ 3 วิธีการเบิกเงิน ขอ 23 การเบิกเงินจากคลัง ใหหนวยงานผูเบิกปฏิบัติ นําขอมูลของหนวย งานผูเบิก หรือของเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน สรางเปนขอมูลหลักผูขายในระบบ GFMIS ขอมูลหลักผูขาย หมายความวา ขอมูลของหนวยงานผูเบิกหรือเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินเกี่ยวกับ ชื่อ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชน เลขประจําตัวผูเสียภาษี ชื่อและเลขที่บัญชีธนาคาร เลขที่สัญญา เงื่อนไขการชําระเงิน หรือขอมูลอื่นใดที่จําเปนแลวแตกรณี เพื่อใชสําหรับการรับเงินขอเบิกจาก คลัง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 26


ภาพนิ่ง 23

การขอเบิกเงินเพื่อจายในระบบ GFMIS 1. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของเจาหนีข้ องสวนราชการโดยตรง 2. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของ สวนราชการ

คําชี้แจง ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 สวนที่ 3 วิธีการ ขอเบิกเงิน กรมบัญชีกลางจะสั่งจายเงินที่สวนราชการขอเบิกจากระบบ GFMIS โดย 1. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของเจาหนี้ของสวนราชการโดยตรง เชน กรณีจัดหาพัสดุ มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจาง สัญญาหรือขอตกลง มีวงเงินตั้งแตหาพันบาทขึ้นไป หรือคาไฟฟา คาประปา คาโทรศัพท คาบริการไปรษณียโทรเลข ฯลฯ 2. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการ เชน สวนราชการขอเบิกเงินเปนเงิน สวัสดิการ คาตอบแทน ฯลฯ เพื่อจายใหแกขาราชการในสังกัด

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 27


ภาพนิ่ง 24

การจายตรงเจาหนี้ หลักเกณฑ 1. มีใบสั่งซื้อ / จาง หรือสัญญา วงเงินตั้งแต 5,000 บาทขึ้นไป 2. ไมมีใบสั่งซื้อ / จาง /สัญญา หรือ มีใบสัง่ ซื้อ / จาง หรือสัญญาแตวงเงิน ไมถึง 5,000 บาท

คําชี้แจง ข อ 24 การขอเบิก เงิน ของสว นราชการสําหรับ การซื้อ ทรัพ ย สิน จางทํ า ของ หรื อเช า ทรัพยสินตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุใหปฏิบัติ ดังนี้ (1) ในกรณีที่มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจาง สัญญาหรือขอตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแตหาพันบาทขึ้นไป หรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ใหสวนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ หรือใบสั่งจางเพื่อทํา การจองงบประมาณในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีใหกับเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน ของสวนราชการโดยตรง (2) สวนราชการไมตองจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจางในระบบ วงเงินไมถึงหาพัน บาท กรมบั ญชีกลางจะจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการเพื่อใหสวนราชการ จายเงินใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตอไป หรือหากสวนราชการตองการใหจายเงินเขาบัญชีใหกับ เจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินของสวนราชการโดยตรงก็ได ขอ 25 การขอเบิกเงินของสวนราชการสําหรับคาไฟฟา คาประปา คาโทรศัพท คาบริการ ไปรษณียโทรเลข คาบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ใหกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีเงินฝาก ธนาคารใหกับเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินโดยตรง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 28


ภาพนิ่ง 25

การจายใหสวนราชการ หลักเกณฑ 1. ไมมีใบสั่งซื้อ / จาง หรือสัญญา หรือ 2. มีใบสั่งซื้อ / จาง หรือสัญญา แตวงเงินไม ถึง 5,000 บาท

คําชี้แจง การจายใหแกสวนราชการ พิจารณาจากหลักเกณฑ ดังนี้ 1. สวนราชการไมตองจัดทําสัญญาหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจางในระบบ ถาวงเงินที่ จัดซื้อหรือจัดจาง ไมถึง 5,000 บาท กรมบัญชีกลางจะจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวน ราชการเพื่อใหสวนราชการ จายเงินใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตอไป 2. การขอเบิกเงินของสวนราชการสําหรับเงินสวัสดิการ คาตอบแทน หรือกรณีอื่นใดที่ กระทรวงการคลังกําหนด ใหกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการ เพื่อใหสวนราชการจายเงินใหผูมีสิทธิรับเงินตอไป เงิ น ประเภทใดซึ่ ง โดยลั ก ษณะจะต อ งจา ยประจํา เดื อ นในวั น ทํ า การสิ้ น เดือ นให ส ว น ราชการสงคําขอเบิกเงินภายในวันที่สิบหาของเดือนนั้น หรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 29


สรุป การจายตรงใหเจาหนี้ หรือการจายใหสวนราชการ สวนราชการจะตองตรวจสอบ ความถูกตอง ของคําขอเบิก เชน สวนราชการเลือกจายตรงเจาหนี้ ก็ตองระบุบัญชีเงินฝากธนาคาร ของเจาหนี้ที่สรางขอมูลหลักผูขายไวในระบบ และตองตรวจสอบวาบัญชีเงินฝากธนาคารยังมี ความเคลื่อนไหวอยู ถาหากบัญชีเงินฝากธนาคารของผูขายถูกยกเลิกไปแลว เมื่อกรมบัญชีกลางสั่ง จายเงินเขาบัญชี จะทําใหไมสามารถโอนเงินเขาบัญชีผูขายได ทําใหสวนราชการตองเปลี่ยนแปลง ขอมูลหลักผูขายใหม และขอเบิกเงินจากคลังใหม ทําใหใชระยะเวลาในการเบิกเงินนาน อาจจะทํา ใหผูขายไดรับความเดือดรอน การซื้อทรัพยสิน จางทําของ หรือเชาทรัพยสิน ใหสวนราชการดําเนินการขอเบิกเงินจาก คลังโดยเร็ว อยางชาไมเ กินห าวัน ทําการนับจากวันที่ไดต รวจรับทรัพยสิน หรือตรวจรับงาน ถูกตองแลวหรือนับจากวันที่ไดรับแจงจากหนวยงานยอย

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 30


ภาพนิ่ง 26

การเบิกจายเงินยืม

คําชี้แจง การเบิกจายเงินยืม อยูในหมวด 5 ของระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 ขอ 50 – ขอ 63

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 31


ภาพนิ่ง 27

เงิ น ยื ม หมายความว า เงิ น ที่ ส ว นราชการจ า ยให แ ก บุ ค คลใดยื ม เพื่ อ เป น ค า ใช จ า ยในการเดิ น ทางไปราชการ หรือปฏิบัติราชการอื่น ประเภทของเงินยืม • เงินงบประมาณ • เงินนอกงบประมาณ

คําชี้แจง เงินยืม หมายความวา เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจาย ในการเดินทางไปราชการหรือการปฏิบัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจากงบประมาณรายจาย หรือเงินนอกงบประมาณ การจายเงินยืมจะจายไดแตเฉพาะที่ผูยืมไดทําสัญญาการยืมเงิน และผูมี อํานาจไดอนุมัติใหจายเงินยืม ตามสัญญาการยืมเงินนั้นแลวเทานั้น คําถาม กรณีที่บุคคลถูกยืมตัวมาชวยราชการสามารถยืมเงินจากตนสังกัดที่มาชวยราชการ ไดหรือไม คําตอบ ได คําถาม ถาเปนบุคคลภายนอกที่มาชวยงานที่หนวยงานไมไดเปน ขาราชการ และเปนบุคคลที่ไมมีเงินที่พึงจะไดรับจากสวนราชการเลย หนวยงานจางใหเขามา ทํางานในหนวยงานยืมเงินไดหรือไม คําตอบ ไมได แตสมมุติวาเปนงาน/โครงการที่เขาตอง รับผิดชอบ มีเงินที่พึงไดรับจากทางราชการ ตามระเบียบสามารถยืมไดแตตองนําหลักทรัพยมา วางเปนประกัน พรอมทั้งทําสัญญาวางหลักทรัพยหรือหาบุคคลที่กระทรวงการคลังกําหนดมาทํา สัญญาค้ําประกันไว ตอสวนราชการผูใหยืม ในทางปฏิบัติสวนราชการจะไมคอยใหยืมกลัวจะไม จายคืน เนื่องจากสัญญาจางมีกําหนดระยะเวลาเปนรายปหรือไมถึงป ถาเกิดผูยืมออกจากงานโดย ไมแจงใหหนวยงานทราบ ติดตามทวงถามเงินยืมคืนคอนขางลําบาก สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 32


ภาพนิ่ง 28

เงินงบประมาณ 1. รายการค าจ างชั่วคราว สํา หรั บ คา จา งซึ่ ง ไมมี กํา หนดจา ยเปน งวด แนนอนเปนประจํา แตจําเปนตอ งจายใหลูก จางแตละวัน หรือแตละคราวเมื่อ เสร็จงานที่จาง 2. รายการคาตอบแทนใชสอยและวัสดุ 3. รายการคาสาธารณูปโภค เฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข 4. งบกลาง เฉพาะที่จายเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตร เงินเพิ่มคาครองชีพชั่วคราว 5. งบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเกี่ยวกับ (1) (2) (3)

คําชี้แจง การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมใหแกบุคคลใดในสังกัดยืมเพื่อปฏิบัติราชการใหกระทําได เฉพาะงบรายจายหรือรายการดังตอไปนี้ ตามระเบียบขอ 58 1. รายการคาจางชั่วคราว สําหรับคาจางชั่วคราวซึ่งไมมีกําหนดจายเปนงวดแนนอนเปน ประจํา แตจําเปนตองจายใหลูกจางแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง 2. รายการคาตอบแทนใชสอยวัสดุ 3. รายการคาสาธารณูปโภคเฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข 4. งบกลางเฉพาะที่ จ า ยเปน เงิ น สวัส ดิก ารเกี่ย วกั บ การศึก ษาบุต ร หรื อเงิน สวั สดิ ก าร เกี่ยวกับเงินเพิ่มคาครองชีพชั่วคราวสําหรับลูกจางชั่วคราว ซึ่งไมมีกําหนดจายคาจางเปนงวด แนนอนเปนประจํา แตจําเปนตองจายแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง 5. งบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเดียวกันกับ ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 คําถาม ยืมเงินเพื่อเปนคาใชจายเกี่ยวกับการศึกษาบุตร ไดหรือไม คําตอบ ยืมได เขา เงื่อนไขขอ 4 ถาเปนงบลงทุนแตเปนรายการคาจางชั่วคราวสามารถใหยืมเงินนําไปจายไดหรือไม

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 33


คําตอบ ยืมได เพราะเขาเงื่อนไข ขอ 5 ที่กําหนดวางบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเดียวกันกับ ขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 รายจายงบอะไรก็ได เปนงบลงทุนแตจายในลักษณะเดียวกับ (1) (2) (3) สวนเงินนอกงบประมาณ การยืมเงินจากเงินนอกงบประมาณสามารถยืมได ตามระเบียบ ขอ 55 การจายเงินยืมจากเงินนอกงบประมาณ ใหสวนราชการกระทําไดเฉพาะเพื่อใชจายในการ ดําเนินงาน ตามวัตถุประสงคของเงินนอกงบประมาณประเภทนั้น หรือกรณีอื่น ซึ่งจําเปนเรงดวน แกราชการ และไดรับอนุมัติจากหัวหนาสวนราชการผูใหยืมนั้น

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 34


ภาพนิ่ง 29

กําหนดสงใบสําคัญ 1. เดินทางไปประจําตางสํานักงาน : สงทางไปรษณียลงทะเบียน หรือธนาณัติ ภายใน 30 วัน นับจากวันไดรับเงิน 2.เดินทางไปราชการอื่น:สงภายใน 15 วัน นับจากวัน กลับมาถึง 3. ปฏิบัติราชการอื่นนอกจาก (1) – (2) :สงภายใน 30 วัน นับจากวันไดรับเงิน

คําชี้แจง การยืมเงิน ขอ 60 ใหผูยืมสงหลักฐานการจายและเงินเหลือจายที่ยืมไป (ถามี) ภายใน กําหนดระยะเวลา ดังนี้ (1) กรณี เ ดิ น ทางไปประจํ า ต า งสํ า นั ก งาน หรื อ การเดิ น ทางไปราชการประจํ า ใน ตางประเทศ หรือกรณีเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม ใหสงแกสวนราชการผูใหยืมโดยทางไปรษณีย ลงทะเบียน หรือ ธนาณัติ แลวแตกรณี ภายในสามสิบวันนับจากวันไดรับเงิน (2) กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมทั้งการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว ใหสง แกสวนราชการ ผูใหยืมภายในสิบหาวันนับจากวันกลับมาถึง (3) การยืมเงินเพื่อปฏิบัติราชการนอกจาก (1) หรือ (2) ใหสงแกสวนราชการผูใหยืม ภายในสามสิบวันนับจากวันไดรับเงิน ในกรณีที่ผูยืมไดสงหลักฐานการจาย เพื่อสงใชคืนเงินยืมแลวมีเหตุตองทักทวง ใหสวน ราชการผูใหยืม แจงขอทักทวงใหผูยืมทราบโดยดวน แลวใหผูยืมปฏิบัติตามคําทักทวงภายใน สิบหาวันนับจากวันที่ไดรับคําทักทวง หากผูยืมมิไดดําเนินการตามคําทักทวงและไมไดชี้แจง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 35


เหตุผลใหสวนราชการผูใหยืมทราบ ใหสวนราชการผูใหยืมดําเนินการตามเงื่อนไขในสัญญาการ ยืมเงิน โดยถือวาผูยืมยังมิไดสงใชคืนเงินยืมไวเปนหลักฐาน ตัวอยางเชน สมมุติวาทานไดรับคําสั่งยายไปประจําที่จังหวัดเชียงใหม กอนเดินทางตอง ยืมเงินเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการที่จะตองยายไปอยูตางสํานักงาน พอเดินทางถึง จังหวัดเชียงใหมแลวทานไมตองเดินทางกลับมากรุงเทพเพื่อมาเคลียรเงินยืม ใหทานสงใบสําคัญ (รายงานการเดินทาง) ทางไปรษณียลงทะเบียน และถามีเงินยืมเหลือก็สงเปนธนาณัติกกลับมา ภายในระยะเวลา 30 วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับเงิน กรณีเดินทางไปราชการอื่นชั่วคราว เชนสมมติวา เดินทางไปจังหวัดเชียงใหมเหมือนกัน แตระยะเวลา แค 10 วัน เมื่อกลับมาถึงสํานักงานแลว กรณีนี้ระยะเวลาการสงใชคืนเงินยืมจะตาง กับกรณีแรก กรณีแรกบอกวา 30 วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับเงิน กรณีไปราชการชั่วคราวนี้บอกวาให สงใชเพื่อเคลียรเงินยืมภายใน 15 วัน นับแตวันกลับมาถึง สวนกรณีสุดทายการยืมเงินเพื่อปฏิบัติราชการอื่น ในการปฏิบัติราชการอื่นอยาง เชน ยืม เพื่อจัดฝกอบรม คาใชจายในการฝกอบรม ตอนจัดฝกอบรมเราตองดูวายืมเงินมาตั้งแตวันไหน อัน นี้ก็ใชระยะเวลาในการสงใชใบสําคัญ ก็เปนระยะเวลา 30 วัน นับแตวันที่รับเงิน การฝกอบรมตางประเทศ ถาเดินทางไปชั่วคราว ก็เขากรณีไปราชการอื่นเปนการชั่วคราว กลับมาถึง ก็ลางใบยืมภายใน 15 วัน นับแตกลับมาถึง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 36


ภาพนิ่ง 30

การจายเงินยืม 1. ทําสัญญายืมตามที่ ก.ค. กําหนดและรับรองวาจะปฏิบัติตามระเบียบหรือ ขอบังคับของทางราชการและผูมีอํานาจไดอนุมัติ 2. สัญญายืมทํา 2 ฉบับ • ผูยืมเก็บ 1 ฉบับ • สวนราชการเก็บ 1 ฉบับ 3. เงื่อนไขการจายเงินยืม • ใหยืมเฉพาะเทาที่จําเปน • หามใหยืมครั้งใหม หากยังไมลางครั้งเกา • การจายเงินยืมเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ไมเกิน 90 วัน เวนแตขอตกลงกับ ก.ค.

คําชี้แจง การจ า ยเงิ น ยื ม ไม ว า เป น เงิ น ยื ม จากเงิ น งบประมาณ หรื อ เงิ น นอกงบประมาณ ตาม ระเบียบ ขอ 50 จะตองทําสัญญาการยืมเงิน สัญญาวางหลักทรัพย และสัญญาค้ําประกัน ตามแบบที่ กระทรวงการคลังกําหนดเทานั้น สวนราชการไมสามารถกําหนดรูปแบบเองได ใหผูมีอํานาจ อนุมัติ การจายเงินยืม ตามขอ 32 คือ สวนกลาง เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการระดับกรม หรือผูที่ไดรับมอบหมาย ดํารงตําแหนงตั้งแตระดับ 7 หรือเทียบเทาขึ้นไป สวนราชการในภูมิภาค เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการในภูมิภาคเปนผูอนุมัติ ตามระเบียบขอ 56 สัญญาการยืมเงินใหจัดทําขึ้นสองฉบับ โดยเมื่อผูยืมไดรับเงินตาม สัญญาการยืมแลว ใหลงลายมือชื่อรับเงินในสัญญาการยืมเงินทั้งสองฉบับ พรอมกับมอบใหสวน ราชการผูใหยืมเก็บรักษา ไวเปนหลักฐานหนึ่งฉบับ ใหผูยืมเก็บไวหนึ่งฉบับ

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 37


ตามระเบียบขอ 54 การอนุมัติใหยืมเงินเพื่อใชในราชการ ใหผูมีอํานาจพิจารณาอนุมัติ ใหยืมเฉพาะ เทาที่จําเปน และหามมิใหอนุมัติใหยืมเงินรายใหมในเมื่อผูยืมมิไดชําระคืนเงินยืมราย เกาใหเสร็จสิ้นไปกอน ซึ่งผูยืมจะตองประมาณการวาในการเดินทางแตละครั้งตองไปราชการ จํานวนกี่วัน มีคาใชจายอะไรเกิดขึ้นบาง เชน คาพาหนะเทาไหร คาเบี้ยเลี้ยงกี่วัน คาที่พักกี่คืน ตาม สิทธิที่ไดรับจากทางราชการ แลวรวมจํานวนคาใชจายที่คํานวณไดเพื่อทําสัญญาการยืมเงิน ผูมี อํานาจอนุมัติก็จะตรวจสอบวาวงเงินที่ขอยืมเหมาะสมหรือไม กับการเดินทางไปราชการในแตละ ครั้ง และขอ 59 การจายเงินยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรให จายไดสําหรับระยะเวลาการเดินทางที่ไมเกินเกาสิบวัน หากมีความจําเปนจะตองจายเกินกวา กําหนดเวลาดังกลาว สวนราชการจะตองขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลังกอน โดยชี้แจง เหตุผลความจําเปนที่ตองเดินทางเกินกวา 90 วัน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 38


ภาพนิ่ง 31

ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืม

1. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง

2. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลางที่มีสํานักงานอยูใน ภูมิภาคหรือแยกตางหากจาก กระทรวง ทบวง กรม 3. สวนราชการในภูมิภาค

หัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือ ผูที่ไดรับมอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง ตั้งแตระดับ 7 หรือเทียบเทาหรือผูมี ยศตั้งแต พันโท นาวาโท นาวา อากาศโท หรือพันตํารวจโท ขึ้นไป หัวหนาสวนราชการระดับกรมจะ มอบหมายใหหวั หนาหนวยงานเปน ผูอนุมัติจายเงินก็ได หัวหนาสวนราชการในภูมิภาค

คําชี้แจง สําหรับผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืม ตามขอ 51 ใหผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินตามขอ 32 เปนผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืมดวย ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินตามขอ 32 ไดแก 1. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลาง ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการระดับ กรม หรือ ผูที่ หัวหนาสวนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดํารงตําแหนงตั้ งแตระดับ 7 หรือ เทียบเทาขึ้นไปหรือผูที่มียศ ตั้งแตพันโท นาวาโท นาวาอากาศโท หรือพันตํารวจโทขึ้นไป เมื่อ ปรับตําแหนงจากซีเปนแทงทางกรมบัญชีกลาง ไดมีการออกหนังสือสั่งการไปวาใหเปนระดับ ชํานาญการในประเภทวิชาการ หรือวาเปนประเภทอาวุโสที่สามารถมอบหมายใหเปนผูอนุมัติการ จายเงินยืม 2. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลางที่มีสํานักงานอยูในสวนภูมิภาคหรือแยก ต า งหากจาก กระทรวง ทบวง กรม หั ว หน า ส ว นราชการระดั บ กรมจะมอบหมายให หั ว หน า สํานักงานเปนผูอนุมัติสําหรับหนวยงานนั้นก็ได เพราะโดยปกติแลว ถาเกิดจะใหหัวหนาสวนใน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 39


ระดับกรมเปนผูอนุมัติอาจจะไมเกิดความคลองตัว จึงกําหนดใหหัวหนาสวนระดับกรมสามารถ มอบหมายใหกับหัวหนาหนวยงานที่เปนสวนกลาง ในภูมิภาคอนุมัติจายเงินได 3. สวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการใน ภูมิภาคสําหรับการอนุมัติการจายเงินยืมในสวนราชการที่เปนสวนราชการในภูมิภาค ตามระเบียบ บอกวา ใหหัวหนาสวนราชการในภูมิภาคเปนผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืม ยกตัวอยางเชน กรมบัญชีกลาง มีหนวยงาน ที่ตั้งอยูในภูมิภาคก็คือสํานักงานคลังจังหวัด หัวหนาสวนราชการ ก็ คือ คลังจังหวัดเปนผูมีอํานาจอนุมัติ กรณีที่คลังจังหวัดไมอยู ผูรักษาราชการแทนคลังจังหวัด ก็ สามารถอนุมัติการจายเงินยืมได

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 40


ภาพนิ่ง 32

ชดใชเงินยืม • รับคืนเงินยืมใหออกใบเสร็จรับเงิน / ใบรับใบสําคัญ และบันทึกการรับคืน • เก็บรักษาสัญญายืมที่ยังไมชําระเงินคืนใหปลอดภัย • เรงรัดชดใชเงินยืม

คําชี้แจง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 41


ในเรื่องของการชดใชเงินยืม ในกรณีที่ผูยืมไดสงหลักฐานการจายเพื่อสงใชคืนเงินยืม แลวมีเหตุตองทักทวง ใหสวนราชการผูใหยืมแจงขอทักทวงใหผูยืมทราบโดยดวน แลวใหผูยืม ปฏิบัติตามคําทักทวงภายใน สิบหาวันนับจากวันที่ไดรับคําทักทวง หากผูยืมมิไดดําเนินการตามคํา ทักทวงและไมไดชี้แจงเหตุผลใหสวนราชการ ผูใหยืมทราบ ใหสวนราชการผูใหยืมดําเนินการ ตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงิน โดยถือวาผูยืมยังมิไดสงใชคืนเงินยืมเทาจํานวนที่ทักทวงนั้น ตามระเบียบขอ 61 เมื่อผูยืมสงหลักฐานการจายและหรือเงินเหลือจายที่ยืม (ถามี) ให เจาหนาที่ผูรับคืนบันทึกการรับคืนในสัญญาการยืมเงินพรอมทั้งออกใบเสร็จรับเงินและหรือใบรับ ใบสําคัญตามแบบที่กรมบัญชีกลางกําหนดใหผูยืมไวเปนหลักฐาน ตามระเบียบขอ 62 ใหสวนราชการเก็บรักษาสัญญาการยืมเงินซึ่งยังมิไดชําระคืนเงินยืม ใหเสร็จสิ้นไวใน ที่ปลอดภัยอยาใหสูญหายและเมื่อผูยืมไดชําระคืนเงินยืมเสร็จสิ้นแลวใหเก็บ รักษาเชนเดียวกับหลักฐานการจาย ตามระเบีย บขอ 63 ในกรณีที่ ผูยืมมิ ไ ด ชําระคืน เงิน ยื ม ภายในระยะเวลาที่ กํา หนด ให ผูอํานวยการกองคลังเรียกใหชดใชเงินยืมตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงินใหเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว อยางชาไมเกินสามสิบวันนับแตวันครบกําหนด

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 42


กรณีที่ผูยืมสงหลักฐานชดใชเงินยืม ปรากฏวามียอดคาใชจายสูงกวาจํานวนเงินที่ยืมไป ผู ยืมสามารถ ขอรับเงินในสวนที่สูงกวาเงินยืมได กรณีที่ถึงเวลาตองชดใชเงินยืมแตผูยืมยังไมชดใชเงินยืม ทางกองคลังมีหนาที่ตองเรงรัด ชดใช จะใหเวลาอีก 30 วัน นับตั้งแตครบกําหนดในแตละกรณี เชนยืมเงินไปจัดฝกอบรม ตองคืน ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ ไดรับเงิน พอครบกําหนด 30 วัน ผูยืมยังไมสงหลักฐาน ทางกองคลัง ตองเรงรัดใหชดใชเงินยืมภายใน 30 วัน นับแตวันครบกําหนด ถาผูยืมยังไมสงหลักฐาน ทางกอง คลังมีจะตองแจงใหกับหัวหนาสวนราชการ เพื่อพิจารณาสั่งการใหเปนไปตามสัญญายืมเงิน ก็คือ บังคับใหเปนไปตามสัญญายืมโดยใหหักเงินจากเงินที่เขาจะไดรับจาก ทางราชการอยางเชน เงิน ที่เขาพึงจะไดจากราชการอื่น ๆ เชน เงินเดือน คาจาง คาตอบแทน ทางกองคลังสามารถเสนอ หัวหนาสวนราชการเพื่อใหหักเงินมาชดใชคืนตามสัญญายืมได ยกตัวอยางเชน เจาหนาที่ยืมเงินไป 20,000.- บาท เพื่ อเป น คา ใชจ ายในการเดินทาง เมื่อครบกํ าหนดตามสัญญา 15 วัน ยัง ไม สง หลักฐานชดใชทางกองคลังเรงรัด 30 วัน ก็ยังไมสงหลักฐานชดใช ผอ.กองคลังตองรายงานไปยัง หัวหนาสวนราชการเพื่อสั่งการใหหักจากเงินเดือนเขามาชดใชคืนเงินยืม ในเรื่องของเงินยืมในการ ปฏิบัติราชการเปนแนววินิจฉัยของกระทรวงการคลังวาหักไดทั้งหมดเลยทั้งเดินทางไปราชการ และการปฏิบัติราชการอื่นเพราะเนื่องจากวา เปนขอตกลงตามสัญญาอยูแลว วาเขาจะตองปฏิบัติ ตามสัญญา เมื่อถึงกําหนดแลวไมใชคืนเงินยืมก็จะสามารถหักชดใชไดเลย หักไดทั้งจํานวนเทากับ วงเงินที่ยืมไป

ภาพนิ่ง 33

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 43


การรับเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการประกอบดวย สวนที่ 1 ใบเสร็จรับเงิน ขอ 64 ถึง ขอ 72 สวนที่ 2 การรับเงิน ขอ 73 ถึงขอ 78

ภาพนิ่ง 34

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 44


ใบเสร็จรับเงิน 1. ใชตามแบบ กค หรือทีไ่ ดรบั ความตกลง 2. จัดทําทะเบียนคุม 3. ใชเฉพาะภายในปงบประมาณ 4. รายงานภายในวันที่ 31 ตุลาคมของ ปงบประมาณถัดไป 5. เก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการ ประกอบดวย สวนที่ 1 ใบเสร็จรับเงิน ขอ 64 ใบเสร็จรับเงินใหใชตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด และใหมีสําเนาเย็บติดไว กับเลมอยางนอยหนึ่งฉบับหรือตามแบบที่ไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง ใบเสร็จรับเงินที่ออกดวยคอมพิวเตอรใหเปนไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ขอ 65 ใบเสร็จรับเงินใหพิมพหมายเลขกํากับเลม และหมายเลขกํากับใบเสร็จรับเงินเรียง กันไปทุกฉบับ ขอ 66 ใหสวนราชการจัดทําทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินไวเพื่อใหทราบ และตรวจสอบได ว า ได จั ด พิ มพ ขึ้ น จํ า นวนเท าใด ได จ า ยใบเสร็ จ รั บ เงิน ไปจํา นวนกี่ เ ลม เลขที่ ใ ดถึ ง เลขที่ ใ ด ให หนวยงานใด หรือเจาหนาที่ผูใด ไปดําเนินการจัดเก็บเงินเมื่อ วัน เดือน ป ใด ขอ 67 การจายใบเสร็จรับเงินใหหนวยงานหรือเจาหนาที่ไปจัดเก็บเงินใหพิจารณา จายในจํานวนที่เหมาะสมแกลักษณะงานที่ปฏิบัติ และใหมีหลักฐานการรับสงใบเสร็จรับเงินนั้นไว ดวย ขอ 68 ใบเสร็จรับเงินเลมใด เมื่อไมมีความจําเปนตองใช เชน ยุบเลิกสํานักงานหรือไมมี การจัดเก็บเงินตอไปอีก ใหหัวหนาหนวยงานที่รับใบเสร็จรับเงินนั้นนําสงคืนสวนราชการที่จาย ใบเสร็จรับเงินนั้นโดยดวน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 45


ขอ 69 เมื่อสิ้นปงบประมาณ ใหหัวหนาหนวยงานซึ่งรับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการ จัดเก็บเงินรายงานใหผูอํานวยการกองคลังหรือหัวหนาสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ทราบวามีใบเสร็จรับเงินอยูในความรับผิดชอบเลมใด เลขที่ใดถึงเลขที่ใด และไดใชใบเสร็จรับเงิน ไปแลวเลมใด เลขที่ใดถึงเลขที่ใด อยางชาไมเกินวันที่ 31 ตุลาคม ของปงบประมาณถัดไป ขอ 70 ใบเสร็จรับเงินเลมใดสําหรับรับเงินของปงบประมาณใด ใหใชรับเงินภายใน ปงบประมาณนั้นเมื่อขึ้นปงบประมาณใหม ใหใชใบเสร็จรับเงินเลมใหม ใบเสร็จรับเงินฉบับใดยัง ไมใชใหคงติดไวกับเลมแตใหปรุเจาะรู หรือประทับตราเลิกใช เพื่อใหเปนที่สังเกตมิใหนํามาใชรับ เงินไดอีกตอไป ขอ 71 หามขูดลบเพื่อแกไขเพิ่มเติมจํานวนเงินหรือชื่อผูชําระเงินในใบเสร็จรับเงิน หากใบเสร็จรับเงินฉบับใดลงรายการรับเงินผิดพลาด ใหขีดฆาจํานวนเงินและเขียนใหม ทั้งจํานวน โดยใหผูรับเงินลงลายมือชื่อกํากับการขีดฆานั้นไว หรือขีดฆาเลิกใชใบเสร็จรับเงินนั้น ทั้งฉบับแลวออกใหม โดยใหนําใบเสร็จรับเงินที่ขีดฆาเลิกใชนั้นติดไวกับสําเนาใบเสร็จรับเงินใน เลม ขอ 72 ใหสวนราชการเก็บรักษาสําเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งสํานักงานตรวจเงินแผนดินยัง มิไดตรวจสอบไวในที่ปลอดภัยอยาใหสูญหายหรือเสียหายได และเมื่อไดตรวจสอบแลวใหเก็บไว อยางเอกสารธรรมดาได

ภาพนิ่ง 35

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 46


เลขที่ ............... เลมที่ ............... ใบเสร็จรับเงิน ในราชการกรม.......................................... ที่ทําการ.......................................... วันที่..........เดือน..................พ.ศ. ................. ไดรับเงินจาก............................................................................................................... เปนคา........................................................................................................................ จํานวน................บาท...............สตางค (ตัวอักษร)...................................................... ไวเปนการถูกตองแลว (ลงชื่อ)............................................ผูรับเงิน (ตําแหนง)........................................

คําชี้แจง ตั ว อย า ง ใบเสร็จ รับ เงิ น ที่ ก ระทรวงการคลัง กํ า หนด มีสํ า เนาเย็ บติ ด เล ม ไว 1 ฉบั บ มี หมายเลขกํากับเลมเรียงกันไปทุกเลม หมายเลขกํากับใบเสร็จ เรียงกันไปทุกฉบับ สาระสําคัญ 11 รายการ ไดแก ครุฑ เลขที่ เลมที่ ใชในราชการอะไร ที่ทําการอยูที่ไหน วันเดือนปที่รับเงิน รับเงิน จากใคร เปนคาอะไร จํานวนเงินทั้งที่เปนตัวเลขและตัวอักษร มีขอความวารับไวเปนการถูกตอง แลว ลงชื่อผูรับเงิน ตําแหนงผูรับเงิน ในใบเสร็จรับเงินดวย ถาสวนราชการมีความจําเปนตองใชที่ รูปแบบไมเหมือนกับที่กระทรวงการคลังกําหนด ตองไดรับความตกลงกับกระทรวงการคลังกอน จึงจะใชได และใหมีการจัดทําทะเบียนคุม วาเบิกมาใชตั้งแตเลมที่เทาไหรถึงเลมที่เทาไหร จํานวน กี่เลม ในปนั้น จายใหใครไปแลวบาง เลมไหนที่ใชในปงบประมาณไหนก็ใหใชในปงบประมาณ นั้น ถามีใบเสร็จรับเงินเหลือก็ใหปรุเจาะรู หรือประทับตราเลิกใช ใหขึ้นเลมใหม มีการรายงาน การใชใบเสร็จรับเงินตอนสิ้นปงบประมาณ ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของทุกป สวนกลางรายงาน ผอ.กองคลัง สวนภูมิภาครายงานใหกับหัวหนาสวนราชการทราบดวย ในสวนที่ใชแลว จะมีสําเนา ตองเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย ถา สตง.ยังไมตรวจสอบ ทําลายไมได ตองเก็บรักษาไว 10 ป ตาม ระเบียบงานสารบรรณ จึงจะทําลายได ภาพนิ่ง 36

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 47


เงินที่รับ 1. เงินสด 2. เช็ค 3. ดราฟท 4. ตั๋วแลกเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการ ประกอบดวย สวนที่ 2 การรับเงิน ขอ 73 ถึงขอ 78 ขอ 73 การรับเงินใหรับเปนเงินสด เวนแตการรับเปนเช็ค ดราฟต หรือตราสารอยางอื่น หรือโดยวิธีอื่นใดใหปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลังกําหนด เงินที่สวนราชการรับ โดยปกติรับเปนเงินสด สามารถรับเปนเช็ค ดราฟต หรือวาตั๋วแลก เงินก็ไดแตตองเปนไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด

ภาพนิ่ง 37

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 48


เช็คที่รับ 1. เช็คธนาคารแหงประเทศไทย (เช็คประเภท ก.) 2. เช็คที่ธนาคารค้ําประกัน (เช็คประเภท ข.) 3. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย (เช็คประเภท ค.) 4. เช็คที่ผูมีหนาที่ชําระเงินผลประโยชนเปนผูเซ็นสั่ง จายและใชชําระโดยตรง (เช็คประเภท ง.)

คําชี้แจง ในเรื่องของการรับเช็ค ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการรับเงินผลประโยชน เปนเช็ค กําหนดวา ในการรับเช็คมีทั้งหมด 4 ประเภท 1. ประเภท ก. เปนเช็คธนาคารแหงประเทศไทย 2. ประเภท ข. เปนเช็คที่ธนาคารค้ําประกัน 3. ประเภท ค. เปนเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย เปนแคชเชียรเช็ค 4. ประเภท ง. เปนเช็คที่ผูมีหนาที่ที่ชําระเงินผลประโยชนเปนผูเซ็นสั่งจายและ ใชชําระโดยตรง การรับเงิน 3 ประเภท คือ ก ข ค สวนกลาง สั่งจายในนามกระทรวงการคลัง แต ถาสวนภูมิภาคจะสั่งจายในนามกระทรวงการคลังผานสํานักงานคลังจังหวัด แตถาเปนเช็คประเภท ง ไมวาสวนกลางหรือสวนภูมิภาค จะตองสั่งจายในนามสวนราชการ เช็คประเภท ง เปนเช็คสวน บุคคล มีโอกาสที่เช็คจะถูกปฏิเสธการจายเงินคอนขางสูงกวาเช็ค 3 ประเภท จึงกําหนดใหสั่งจาย ในนามสวนราชการผูรับเงิน เพราะวาสามารถติดตามไดถูกตองในกรณีที่ธนาคารปฏิเสธการ จายเงิน สําหรับการรับเปน ดราฟต หรือวาตั๋วแลกเงิน ปฏิบัติตาม ว 56 การรับเช็คประเภท ค คือ ในการรับแคชเชียรเช็ครับยังไง ดราฟต หรือตั๋วแลกเงินก็ใหปฏิบัติเชนเดียวกัน ภาพนิ่ง 38

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 49


การรับเงิน 1. ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง 2. โดยปกติใชเลมเดียว 3. บันทึกการรับเงินภายในวันที่รับเงิน 4. ตองมีการตรวจสอบ

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 ขอ 74 ในการจัดเก็บหรือรับชําระเงิน ใหสวนราชการซึ่งมีหนาที่จัดเก็บ หรือรับชําระเงินนั้น ออกใบเสร็จรับเงินใหแกผูชําระเงินทุกครั้ง เวนแตเปนการรับชําระเงินคาธรรมเนียมที่มีเอกสาร ของทางราชการระบุจํานวนเงินที่รับชําระอันมีลักษณะเชนเดียวกับใบเสร็จรับเงินโดยเอกสาร ดังกลาวจะตองมีการควบคุมจํานวนที่รับจายทํานองเดียวกันกับใบเสร็จรับเงิน หรือเปนการรับเงิน ตามคําขอเบิกเงินจากคลัง ในกรณีที่มีความจําเปนตองใหเจาหนาที่ไปจัดเก็บหรือรับชําระเงินนอกที่ตั้งสํานักงาน ปกติ ใหปฏิบัติเชนเดียวกัน ขอ 75 ใหใชใบเสร็จรับเงินเลมเดียวกันรับเงินทุกประเภท เวนแตเงินประเภทใดที่มีการรับ ชําระเปนประจําและมีจํานวนมากราย จะแยกใบเสร็จรับเงินเลมหนึ่งสําหรับการรับชําระเงิน ประเภทนั้นก็ได

ขอ 76 ใหสวนราชการบันทึกขอมูลการรับเงินในระบบภายในวันที่ไดรับเงิน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 50


เงินประเภทใดที่มีการออกใบเสร็จรับเงินในวันหนึ่ง ๆ หลายฉบับ จะรวมเงินประเภทนั้น ตามสําเนาใบเสร็จรับเงินทุกฉบับมาบันทึกเปนรายการเดียวในระบบก็ไดโดยใหแสดงรายละเอียด วาเปนเงินรับ ตามใบเสร็จเลขที่ใดถึงเลขที่ใดและจํานวนเงินรวมรับทั้งสิ้นเทาใดไวดานหลังสําเนา ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดทาย ในกรณีที่มีการรับเงินภายหลังกําหนดเวลาปดบัญชีสําหรับวันนั้นแลวใหบันทึกขอมูลการ รับเงินนั้นในระบบในวันทําการถัดไป ขอ 77 เมื่อสิ้นเวลารับจายเงิน ใหเจาหนาที่ผูมีหนาที่จัดเก็บหรือรับชําระเงินนําเงินที่ไดรับ พรอมกับสําเนาใบเสร็จรับเงินและเอกสารอื่นที่จัดเก็บในวันนั้นทั้งหมดสงตอเจาหนาที่การเงิน ของสวนราชการนั้น ขอ 78 ใหหัวหนาสวนราชการหรือผูที่ไดรับมอบหมายเปนลายลักษณอักษร จากหัวหนา สวนราชการตรวจสอบจํานวนเงินที่เจาหนาที่จัดเก็บและนําสงกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว ในระบบวาถูกตองครบถวนหรือไม เมื่อไดตรวจสอบความถูกตองตามวรรคหนึ่งแลว ใหผูตรวจแสดงยอดรวมเงินรับตาม ใบเสร็จรับเงินทุกฉบับที่ไดรับในวันนั้นไวในสําเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดทาย และลงลายมือชื่อ กํากับไวดวย สรุป ในการรับเงินของสวนราชการ ตองมีการออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง กําหนดใหใช ใบเสร็จรับเงิน เลมเดียวรับเงินทุกประเภท แตมีขอยกเวนอยูวา ถาเกิดการรับเงินของหนวยงานที่ รับประเภทไหนเปนการเฉพาะคอนขางมากก็ใหแยกออกมารับเงินประเภทนั้นอยางเดียวก็ได ใน การรับเงินจะตองมีการบันทึกวันที่ในการรับเงิน ยกตัวอยางเชน มีคนนําเงินมาชําระใหกับทาง ราชการ หลั ง จากป ด บั ญ ชี แ ล ว หลั ง 3 โมงครึ่ ง ให ส ว นราชการรั บ ไว แล ว หมายเหตุ ใ น ใบเสร็ จ รั บเงินฉบั บนั้ น ว ารั บเงิ น หลังป ด บัญชี พรอมเก็บรัก ษาเงิ น ไวใ นตูเซฟ ถ า เปน เงิน สด เก็บไวในตูเซฟลักษณะหีบหอ พอวันรุงขึ้นมีการบันทึกวารับเงินหลังจากปดบัญชี

ภาพนิ่ง 39 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 51


กรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังมิไดใชสูญหาย 1. แจงความนับแตทราบวาหาย 2. ติดประกาศยกเลิกไวในที่พบเห็นและ ตรวจสอบไดงาย 3. ทําหนังสือแจงเวียนการยกเลิกให สวนราชการตาง ๆ ทราบ คําชี้แจง ในกรณีที่ใบเสร็จรับเงินที่ยังมิไดใชสูญหาย กรณีนี้เปนแนววินิจฉัยของกระทรวงการคลัง กําหนดวา ใหสวนราชการตองแจงความนับตั้งแตที่ทราบวาใบเสร็จรับเงินที่ยังมิไดใชนั้นสูญหาย และตองมีการติดประกาศยกเลิกในที่เปดเผย พบเห็นไดงายดวยวา มีใบเสร็จรับเงินเลมใดบางที่ หายไป ทําหนังสือเวียนใหสวนราชการตางๆ ทราบวามีการยกเลิกใบเสร็จรับเงินเหลานั้น เพื่อ ปองกันการนําใบเสร็จรับเงินที่หาย นํากลับมาใชใหม แตถาเปนใบเสร็จรับเงินที่ใชแลวสูญหาย สตง. ยังไมไดทําการตรวจสอบ ก็ตองขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง วาเราจะใชเอกสาร หลักฐานอะไรให สตง. ตรวจสอบ ทุกครั้งที่เกิดการสูญหายของใบเสร็จรับเงินที่ใชแลว

ภาพนิ่ง 40

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 52


การจายเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ ประกอบดวย สวนที่ 1 หลักเกณฑการจายเงิน ขอ 31 ถึงขอ 38 สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 ถึงขอ 46 และสวนที่ 3 วิธีปฏิบัติในการจายเงิน ขอ 47 ถึงขอ 49

ภาพนิ่ง 41

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 53


หลักฐานการจาย หมายความถึง หลักฐานซึง่ แสดงวา ไดมีการจายเงินใหแกเจาหนี้หรือ ผูรับตามขอผูกพันแลว

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 ถึงขอ 46 กําหนดนิยาม ของคําวา หลักฐานการจายไววา คือหลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตาม ขอผูกพันโดยถูกตองแลว ขอ 39 การจายเงินของสวนราชการ ใหใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสําคัญรับเงิน ซึ่งผูรับเงิน เป น ผู อ อกให ห รื อ ใบรั บ รองการจ า ยเงิ น หรื อ เอกสารอื่ น ใดที่ ก ระทรวงการคลั ง กํ า หนดเป น หลักฐานการจาย ข อ 40 การจ า ยเงิ น โดยกรมบั ญชี ก ลาง เพื่อ เข าบั ญชี ใ ห กับ เจ าหนี้ ห รือ ผูมี สิท ธิ รั บ เงิ น โดยตรง ใหใชรายงานในระบบตามที่กระทรวงการคลังกําหนด เปนหลักฐานการจาย

ขอ 41 ใบเสร็จรับเงินอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ 1.ชื่อ สถานที่อยู ที่ทําการของผูรับเงิน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 54


2. วัน เดือน ป ที่รับเงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุวาเปนคาอะไร 4. จํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 5. ลายมือชื่อของผูรับเงิน ขอ 42 กรณีสวนราชการจายเงินรายการใด ซึ่งตามลักษณะไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจาก ผูรับเงินไดใหผูรับเงินลงชื่อรับเงินในใบสําคัญรับเงินเพื่อใชเปนหลักฐานการจาย ขอ 43 กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรับใบเสร็จรับเงินซึ่ง มีรายการไมครบถวนตามที่กระทรวงการคลังกําหนด หรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงิน ไดใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิก เงินตอสวนราชการ และเมื่อมีการจายเงินแลวใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและ ลงชื่อในใบสําคัญรับเงินและลงชื่อในใบสําคัญรับเงินนั้น เพื่อเปนหลักฐานการจาย ในกรณีที่ไดรับใบเสร็จรับเงินแลว แตเกิดสูญหาย ใหใชสําเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งผูรับเงิน รับรองเปนเอกสารประกอบการขอเบิกเงินแทนได ในกรณีที่ไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินได ใหขาราชการหรือลูกจาง ทําใบรับรองการ จายเงินโดยชี้แจงเหตุผล พฤติการณที่สูญหายหรือไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินไดและรับรองวา ยั ง ไม เ คยนํ า ใบเสร็ จ รั บ เงิ น นั้ น มาเบิ ก จ า ย แม พ บภายหลั ง จะไม นํ า มาเบิ ก จ า ยอี ก แล ว เสนอ ผูบังคับบัญชา ตั้งแตชั้นอธิบดีหรือตําแหนงเทียบเทาขึ้นไป สําหรับสวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง หรือผูวาราชการจังหวัดสําหรับสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อไดรับอนุมัติแลวใหใชใบรับรองนั้นเปนหลักฐานประกอบการขอเบิกเงิน ไดและเมื่อมีการจายเงินแลว ใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและลงชื่อในใบ สําคัญรับเงินนั้นเพื่อเปนหลักฐานการจาย ข อ 44 กรณี ห ลั ก ฐานการจ า ยของส ว นราชการสู ญ หายให ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามวิ ธี ก ารที่ กระทรวงการคลังกําหนด ขอ 45 หลักฐานการจายตองพิมพหรือเขียนดวยหมึก การแกไขหลักฐานการจายใหใชวิธี ขีดฆา แลวพิมพหรือเขียนใหม และใหผูรับเงินลงลายมือชื่อกํากับไวทุกแหง ขอ 46 ให สว นราชการเก็ บรัก ษาหลักฐานการจา ยไวใ นที่ปลอดภัย มิ ใ ห สูญ หายหรือ เสียหายได ทั้งนี้ เมื่อสํานักงานตรวจเงินแผนดินไดตรวจสอบแลวใหเก็บอยางเอกสารธรรมดาได

ภาพนิ่ง 42 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 55


ใบเสร็จรับเงิน

ซึ่งเปนหลักฐานการจาย อยางนอยตองมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1. ชื่อ สถานที่อยู หรือที่ทําการของผูรบั เงิน 2. วัน เดือน ป ที่รบั เงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุวา เปนคาอะไร 4. จํานวนเงินทั้งตัวเลขและอักษร 5. ลายมือชื่อของผูรับเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 41 ใบเสร็จรับเงินอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ 1. ชื่อ สถานที่อยู ที่ทําการของผูรับเงิน 2. วัน เดือน ป ที่รับเงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุวาเปนคาอะไร 4. จํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 5. ลายมือชื่อของผูรับเงิน

ภาพนิ่ง 43 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 56


ใบเสร็จรับเงิน ที่ทําการ อาคาร A วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เปนคา ปากกา จํานวนเงิน 500 บาท – สตางค (หารอยบาทถวน) (ลงชื่อ) @ ผูรับเงิน

คําชี้แจง ตัวอยางใบเสร็จรับเงินฉบับนี้ สามารถใชเปนหลักฐานการจายได ใบเสร็จรับเงินที่เปน หลักฐานการจาย หมายความวาหลักฐานที่แสดงวาสวนราชการไดมีการจายเงินไปใหกับบุคคล ภายนอก เชน จายชําระคาวัสดุสํานักงาน เจาหนี้จะออกใบเสร็จรับเงินใหกับสวนราชการ เพื่อเปน หลักฐานวาไดจายชําระหนี้คาสินคาแลว ซึ่งสาระสําคัญของใบเสร็จรับเงินตองระบุ อยางนอย 5 ขอ คือ ชื่อ สถานที่อยู ที่ทําการของผูรับเงิน วัน เดือน ป ที่รับเงิน รายการที่รับชําระเปนคาอะไร มีจํานวนเงินทั้งที่เปนตัวเลขและตัวอักษรรวมอยูดวย พรอมทั้งมีลายมือชื่อของผูรับเงินดวย

ภาพนิ่ง 44

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 57


บิลเงินสด บริษัท ปากกาไทย จํากัด พญาไท กทม. 10400

วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เปนคา ปากกาลูกลื่น จํานวนเงิน 500 บาท – สตางค (หารอยบาทถวน) (ลงชื่อ) @ ผูขาย

คําชี้แจง ตัวอยางใบเสร็จรับเงินฉบับนี้ไมสามารถใชเปนหลักฐานการจายไดเพราะรายการลงชื่อ จะตองลงชื่อผูรับเงิน ลงชื่อผูขายไมได สวนหัวใบเสร็จรับเงินจะเรียกใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงิน สดก็ได ไมใชสาระสําคัญ

ภาพนิ่ง 45 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 58


ที่ ................................... (สวนราชการเปนผูให)

ใบสําคัญรับเงิน วันที่ ...... เดือน ................... พ.ศ............ ขาพเจา ..............................................................อยูบา นเลขที่ ....................................................... ตําบล .............................................. อําเภอ ........................................... จังหวัด ................................................. ไดรับเงินจากแผนกการ ..................................จังหวัด ................................. ดังรายการตอไปนี้ รายการ

จํานวนเงิน

บาท จํานวนเงิน (ตัวอักษร) ....................................................... ลงชื่อ ................................................ผูรบั เงิน ลงชื่อ ................................................ผูจายเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 43 กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรบั ใบเสร็จรับเงินซึ่ง มีรายการไมครบถวนตามทีก่ ระทรวงการคลังกําหนด หรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงิน ไดใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิก เงินตอสวนราชการ และเมื่อมีการจายเงินแลวใหขาราชการหรือลูกจาง ทําใบสําคัญรับเงินและลง ชื่อในใบสําคัญรับเงิน เพื่อเปนหลักฐานการจาย

ภาพนิ่ง 46

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 59


ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน สวนราชการ ............................................. วัน เดือน ป

รายละเอียดรายจาย

จํานวนเงิน

หมายเหตุ

รวมทั้งสิ้น

รวมทั้งสิ้น (ตัวอักษร ) ......................................................................................................... ขาพเจา ........................................... ตําแหนง ................................................... กอง ........................................... ขอรับรองวารายจายขางตนนี้ไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับได และขาพเจาไดจายไปในนามของราชการโดยแท (ลงชื่อ)........................…………....... วันที่ ........................................

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 การจายเงินของสวนราชการ ใหใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสําคัญรับเงิน ซึ่งผูรับ เงินเปนผูออกใหหรือใบรับรองการจายเงิน หรือเอกสารอื่นใดที่กระทรวงการคลังกําหนดเปน หลักฐานการจาย ขอ 43 กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรับใบเสร็จรับเงินซึ่ง มีรายการไมครบถวนตามที่กระทรวงการคลังกําหนด หรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงิน ไดใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิก เงินตอสวนราชการ และเมื่อมีการจายเงินแลวใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและ ลงชื่อในใบสําคัญรับเงินนั้น เพื่อเปนหลักฐานการจาย หลั ก ฐานการจ า ยในกรณี ยื ม เงิ น มาจั ด ฝ ก อบรม เช น ค า ปากกา ร า นค า ไม อ อก ใบเสร็จรับเงิน สามารถใชใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน เพื่อเปนหลักฐานการจายเงินได แตถาเปน โครงการใหญ ในกรณีเชารถ จะตองทําตามระเบียบพัสดุ ถาวงเงินที่จัดหาครั้งละ เกิน 5 พันบาท ตองจายตรงเจาหนี้ ภาพนิ่ง 47

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 60


ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล โปรดทําเครื่องหมาย9 ลงในชอง พรอมทั้งกรอกขอความเทาที่จําเปน

แบบ 7131

1. ขาพเจา..........................................................................ตําแหนง........................................................... สังกัด...................................................................................................................................................... 2. ขอเบิกเงินคารักษาของ ตนเอง คูสมรส ชื่อ ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน.............................. บิดา ชื่อ ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน............................. มารดา ชื่อ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน............................. บุตร ชื่อ ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน............................. เกิดเมื่อ............................................................เปนบุตรลําดับที่................................. ยังไมบรรลุนิติภาวะ เปนบุตรไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ ปวยเปนโรค..................................................................................................................................................... และไดเขารับการตรวจรักษาพยาบาลจาก(ชื่อสถานพยาบาล)......................................................................... ซึ่งเปนสถานพยาบาลของ ทางราชการ เอกชน ตั้งแตวันที่.................................................ถึงวันที่ ..............................................................เปนเงินรวมทั้งสิ้น.........................................................................บาท (............................................................................................)ตามใบเสร็จรับเงินที่แนบ จํานวน..............ฉบับ 3. ขาพเจามีสิทธิไดรับเงินคารักษาพยาบาล ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ตามสิทธิ เฉพาะสวนที่ขาดอยูจากสิทธิที่ไดรับจากหนวยงานอื่น เฉพาะสวนที่ขาดอยูจากสัญญาประกันภัย เปนเงิน..........................................................บาท (.........................................................................................)และ (1) ขาพเจา ไมมีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่นแตเลือกใชสิทธิจากทางราชการ มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลตามสัญญาประกันภัย เปนผูใชสิทธิเบิกคารักษาพยาบาลสําหรับบุตรแตเพียงฝายเดียว (2) ........ขาพเจา ไมมีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น แตคารักษาพยาบาลที่ไดรับต่ํากวาสิทธิตามพระราชกฤษฎีกาฯ มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลตามสัญญาประกันภัย มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่นในฐานะเปนผูอาศัยสิทธิของผูอื่น

คําชี้แจง - หลักฐานการจายเงินอีกรูปแบบหนึ่ง -

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 61


ภาพนิ่ง 48

4. เสนอ........................................................................... ขาพเจาขอรับรองวา ขาพเจามีสิทธิเบิกคารักษาพยาบาลสําหรับตนเองและบุคคลในครอบครัว ตามจํานวนที่ขอเบิก ซึ่งกําหนดไวในกฎหมาย และขอความขางตนเปนจริงทุกประการ (ลงชื่อ).....................................................ผูขอรับเงินสวัสดิการ (.....................................................) วันที่..............เดือน...................................พ.ศ............ 5. คําอนุมัติ อนุมัติใหเบิกได (ลงชื่อ).................................................................... (.................................................................) ตําแหนง................................................................. 6. ใบรับเงิน ไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล จํานวน..................................................บาท (.............................................................................................................) ไวถูกตองแลว (ลงชื่อ)...........................................................ผูรับเงิน (..........................................................) (ลงชื่อ)..........................................................ผูจายเงิน (..........................................................) วันที่...........เดือน...................................พ.ศ............. (ลงชื่อตอเมื่อไดรับเงินแลวเทานั้น)

คําชี้แจง หลักฐานการจายอีก 1 แบบ คือ แบบคําขอเบิกเงินที่มีชองชื่อผูรับเงินอยูในแบบ เชน ใบ เบิกเงินคารักษาพยาบาล ปกติเวลามาขอเบิกเงินคารักษาพยาบาล ถายังไมไดรับเงิน ก็ยังเปน เอกสารประกอบการเบิกเงินอยู พอไดรับเงินในขอที่ 6 จะมีสาระสําคัญลงลายมือชื่อผูรับเงิน เมื่อ สวนราชการจายเงินคารักษาพยาบาลใหกับผูมีสิทธิ ผูมีสิทธิลงลายมือชื่อผูรับเงิน ผูจายเงินลง ลายมือชื่อ แบบใบเบิกเงินคารักษาพยาบาลฉบับนี้ก็จะกลายเปนหลักฐานการจายเงิน อีกรูปแบบ หนึ่ง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 62


ภาพนิ่ง 49

รายงานการจายในระบบ

คําชี้แจง รายงานการจายในระบบ มาจากกรณีการจายตรงเจาหนี้ พอจายตรงเจาหนี้ไปแลวใหพิมพ ตัวรายงานการจายในระบบออกมาเปนหลักฐานการจายดวย แตวายังไมสิ้นสุดแคนั้น พอพิมพตัว รายงานในระบบออกมา เปนหลักฐานการจายในกรณีจายตรงเจาหนี้แลว สวนราชการยังมีหนาที่ ที่จะตองติดตามใหผูรับเงินหรือวาเจาหนี้ของเราออกใบเสร็จใหกับเราดวย ถาเกิดวาเราติดตามแลว ก็ ยั ง ไม อ อกใบเสร็ จ รั บ เงิ น ให กั บ เรา ให แ จ ง สรรพากร เหตุ ผ ล ที่ ใ ห ติ ด ตามใบเสร็ จ รั บ เงิ น เนื่องจากวาเปนรายไดของเจาหนี้ จะเปนประโยชนในเรื่องภาษีที่รัฐจะได เปนหนาที่ของทาง สรรพากรที่จะติดตามกับตัวเจาหนี้เอง เพื่อที่จะใหเจาหนี้ออกใบเสร็จรับเงินฉบับนั้น ใหกับสวน ราชการ

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 63


ภาพนิ่ง 50

แบบที่ กค. กําหนด

คําชี้แจง หลักฐานการจายตัวสุดทายเปนแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด ในเรื่องของการจายเงิน ผานธนาคาร ทางกระทรวงการคลังก็ไดกําหนดวาเปนกรณีการจายเงินใหเจาหนี้ผานธนาคาร จะ ให ใ ช ห ลั ก ฐานที่ ท างธนาคารออกใหเ ป น หลั ก ฐานการจา ย จะมี ทั้ ง ที่ บุ ค คลที่ จ ะรั บ เงิ น ที่ เ ป น บุคลากรของรัฐเอง แลวก็เปนบุคคลภายนอก

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 64


ภาพนิ่ง 51

การจายเงิน 1. มีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติ ค.ร.ม. หรือไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง 2. เปนรายจายในการดําเนินงานตามปกติ 3. ผูมีอํานาจไดอนุมัติ 4. มีหลักฐานการจาย 5. หามเรียกใบเสร็จหรือใหผูรับเงินลงชื่อรับเงิน โดยยังมิไดจายเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 หลักเกณฑการจายเงิน ขอ 31 ถึงขอ 38 ข อ 31 การจา ยเงิน ให ก ระทํา เฉพาะที่มี ก ฎหมาย ระเบีย บ ขอบังคับ คํ าสั่ ง กํา หนดไว หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตใหจายได หรือตามที่ไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง และผูมี อํานาจไดอนุมัติ ใหจายได ขอ 34 การจายเงินตองมีหลักฐานการจายไวเพื่อประโยชนในการตรวจสอบ ขอ 35 การจาย โดยที่ยังมิไดมีการจายเงินใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิการรับเงิน หามมิใหผูมี หนาที่ จายเงินเรียกหลักฐานการจายหรือใหผูรับเงินลงลายมือชื่อรับเงินในหลักฐาน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 65


ภาพนิ่ง 52

การจายเงิน

(ตอ)

6. ไมมารับเงินใหทําใบมอบฉันทะ /มอบอํานาจ 7. การโอนสิทธิเรียกรองใหปฏิบัติตามที่ กค. กําหนด 8. บันทึกการจายเงินในวันที่จาย 9. สิ้นวันตรวจสอบ

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 หลักเกณฑการจายเงิน ขอ 36 ขาราชการ ลูกจาง หรือผูรับบํานาญหรือเบี้ยหวัดที่ไมสามารถรับเงินไดดวยตนเอง จะมอบฉันทะใหผูอื่นเปนผูรับเงินแทนก็ได โดยใชใบมอบฉันทะตามแบบที่กระทรวงการคลัง กําหนด การจายเงินใหแกบุคคลภายนอก(ไมใชขาราชการ ลูกจาง หรือผูรับเบี้ยหวัดบํานาญ) หาก บุคคลนั้น ไมสามารถมารับเงินไดดวยตนเองจะทําหนังสือมอบอํานาจใหบุคคลอื่นมารับเงินแทน ก็ได การจายเงินในกรณีที่มีการโอนสิทธิเรียกรอง ใหเปนไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด (ตามหนังสือที่ กค 0526.5/ว 110 ลว 3 พ.ย. 41)

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 66


ขอ 37 ใหเจาหนาที่ผูจายเงินประทับตราขอความวา “จายเงินแลว” โดยลงลายมือชื่อ รับรองการจาย และระบุชื่อผูจายเงินดวยตัวบรรจง พรอมทั้งวัน เดือน ป ที่จายกํากับไวในหลักฐาน การจายเงินทุกฉบับเพื่อประโยชนในการตรวจสอบ ในกรณีที่หลักฐานการจายเปนภาษาตางประเทศ ใหมีคําแปลเปนภาษาไทยตามรายการที่ กําหนดวาใบเสร็จรับเงินตองมีสาระสําคัญ 5 รายการไวดวย และใหผูใชสิทธิขอเบิกเงินลงลายมือ ชื่อรับรองคําแปลดวย ขอ 38 การจายเงินทุกรายการตองมีการบันการจายเงินไวในระบบ และตองตรวจสอบการ จายเงิน กับหลักฐานการจายทุกสิ้นวัน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 67


ภาพนิ่ง 53

1. ขาราชการ ลูกจาง ผูรับบํานาญ เบี้ยหวัด ใบมอบฉันทะ

จาย

เงินสด เช็ค

สั่งจาย

* ตองไดรับอนุมัติจากผูเบิก *

2. นอกจากบุคคล 1. ใชใบมอบอํานาจ

ผูมอบฉันทะ ผูรับมอบฉันทะ จาย เช็ค

สั่งจายผูมอบอํานาจ คําชี้แจง ในกรณีที่ผูรับเงินไมสามารถมาขอรับเงินกับทางสวนราชการได ใหทําใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอํานาจ ใบมอบฉันทะจะเปนกรณีที่เปนขาราชการหรือวาลูกจาง ผูรับบํานาญหรือวา เบี้ยหวัด การจายเงินของสวนราชการใหผูมอบฉันทะ จายได 2 แบบ ทั้งเงินสดหรือเปนเช็คก็ได ถา เกิดวาสั่งจายเปนเช็ค การสั่งจาย สั่งจายใหกับผูมอบฉันทะหรือผูรับมอบฉันทะก็ได แตวาถาเกิด เปนกรณีของบุคคลภายนอกไมสามารถเดินทางมารับเงินดวยตัวเองได ตองใชใบมอบอํานาจ ตอง ทําหนังสือมอบอํานาจใหบุคคลอื่นมารับเงินแทน (แบบหนังสือมอบอํานาจตองเปนแบบหนังสือ มอบอํานาจทั่วไป แตใบมอบฉันทะเปนแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด) การจายเงินตองจายเปน เช็คเทานั้น เปนเงินสดไมไดและจะตองสั่งจายเฉพาะผูมอบอํานาจเทานั้น สั่งจายผูรับมอบไมได ตางจากกรณีมอบฉันทะ (หนังสือมอบอํานาจ ไมตองติดอากรแสตมป ในเรื่องของการมอบอํานาจ ใหมารับทรัพยสินหรือวาสิ่งของแทนกัน ตรงนี้ประมวลรัษฎากรกรยกเวนเอาไวไมตองติดอากร แสตมป) การแนบเอกสารระเบียบกระทรวงการคลังไมไดกําหนด

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 68


ในเรื่องของการโอนสิทธิเรียกรองใหเปนตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ตามหนังสือ สั่งการ ที่ กค 0526.5/ว 110 ลว 3 พ.ย. 2541 ในเรื่องของการโอนสิทธิเรียกรองการรับเงินใหบุคคล อื่น เวลาที่จะจายเงิน สมมุติวาสวนราชการเราทําสัญญากับนาย A มาทํากอสรางใหเรา กําหนด จายเปนงวดๆไป 10 เดือน สมมติวาจายไปใหแลว 2 งวด ในระหวางนั้นโอนสิทธิการรับเงิน ใหกับธนาคาร B ธนาคาร B ไดรับ โอนสิทธิมา เขาก็แจงมายังสวนราชการ เรื่องการโอนสิทธิ ของนาย A กับธนาคาร B เราไมตองใหความยินยอม เรารับทราบเฉยๆ วามีการโอนสิทธิเรียกรอง พอเรารับทราบวามีการโอนสิทธิเรียกรองแลว เวลาจายเงิน สิทธิในการรับเงินกลายไปเปนของ ธนาคาร B จายเงินเราก็จายใหกับธนาคาร B โดยยอดเงินสุทธิหมายถึงยอดเงิน หลังหักภาษี ณ ที่จายแลว ธนาคาร B ก็จะตองเปนผูออกใบเสร็จรับเงินใหกับสวนราชการ ตามยอดเงินสุทธิหลัง หักคาใชจายแลว สวนในเรื่องของการหักภาษี ณ ที่จาย การออกใบกํากับภาษี ตรงนี้คูสัญญาเดิม คือนาย A ยังตองเปนผูรับภาระในเรื่องของภาษีอยู ใบกํากับภาษีเราตองออกใหนาย A เปนไปตาม หนังสือของกระทรวงการคลัง ตาม ว 110 ก็คือหนาที่ในการออกใบเสร็จรับเงินคือผูที่รับเงินจริง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 69


ภาพนิ่ง 54

ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงิน 1. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง

2. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลางที่มีสํานักงานอยูใน ภูมิภาคหรือแยกตางหากจาก กระทรวง ทบวง กรม 3. สวนราชการในภูมิภาค

หัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือ ผูที่ไดรับมอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง ตั้งแตระดับ 7 หรือเทียบเทาหรือผูมี ยศตั้งแต พันโท นาวาโท นาวา อากาศโท หรือพันตํารวจโท ขึ้นไป หัวหนาสวนราชการระดับกรมจะ มอบหมายใหหัวหนาหนวยงานเปน ผูอนุมัติจายเงินก็ได หัวหนาสวนราชการในภูมิภาค

คําชี้แจง ขอ 32 การอนุมัติการจายเงินใหเปนอํานาจ ของบุคคลดังตอไปนี้ 1. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลาง ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการระดับ กรม หรือผู ที่ หัว หน าส ว นราชการระดั บ กรมมอบหมาย ซึ่งดํ า รงตํ า แหนงตั้ง แตร ะดับ 7 หรื อ เทียบเทาขึ้นไป หรือผูที่มียศตั้งแตพันโท นาวาโท นาวาอากาศโท หรือพันตํารวจโทขึ้นไป เมื่อปรับตําแหนงจากซีเปนแทงทางกรมบัญชีกลางไดมีการออกหนังสือสั่งการไปวาให เปนระดับชํานาญการ ในประเภทวิชาการ หรือวาเปนประเภทอาวุโส ที่สามารถมอบหมายใหเปน ผูอนุมัติการจายเงิน สวนราชการในราชการบริหารสวนกลางที่มีสํานักงานอยูในสวนภูมิภาคหรือ แยกต า งหาก กระทรวง ทบวง กรม หั ว หนา สว นราชการระดับ กรมจะมอบหมายใหหั ว หน า สํานักงานเปนผู อนุมัติสําหรับหนวยงานนั้นก็ได เพราะโดยปกติแลว ถาเกิดจะใหหัวหนาสวนใน ระดับกรมเปนผูอนุมัติอาจจะไมเกิดความคลองตัวแนนอน 2. สวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการใน ภูมิภาค สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 70


ภาพนิ่ง 55

วิธีปฏิบัติในการจายเงิน

1. จายเช็ค 2. จายเงินสด เฉพาะ

(1) การจายเงินจากเงินทดรองราชการซึ่ง เก็บรักษาเปนเงินสด (2) การจายใหขาราชการ ลูกจาง ผูรับบํานาญ ผูรบั เบี้ยหวัด (3) การจายเงินที่มีวงเงินต่ํากวา 5,000 บาท

3. จายผานธนาคาร

คําชี้แจง วิธีปฏิบัติในการจายเงิน สวนราชการตองจาย 1. เปนเช็ค 2. จะจายเปนเงินสด เฉพาะการ จายเงินจากเงินทดรองราชการซึ่งเก็บรักษาเปนเงินสด เปนการจายใหขาราชการ ลูกจาง หรือวา ขาราชการบํานาญ หรือ เปนการจายเงินที่มีวงเงินต่ํากวา 5,000 บาท 3 กรณี นี้จายเปนเงินสดได (แตละขอแยกจากกัน) 3. การจายผานธนาคาร ตองจายเปนเช็ค กรณีที่ไมใชเปน การซื้อ จาง เชา เช น การจ า ยเงิ น ค า รั ก ษาพยาบาล เราก็ จ า ยเป น เช็ ค ให กั บ ข า ราชการ สั่ ง จ า ยในนามเจ า หนี้ คือตัวขาราชการผูขอรับเงิน คารักษาพยาบาล จะตองขีดฆาหรือผูถือ ออก จะขีดครอมหรือไมขีด ครอมก็ได

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 71


ภาพนิ่ง 56

การเขียนเช็ค 1. ซื้อ / เชา / จาง • สั่งจายในนามเจาหนี้ • ขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” ออก • ขีดครอมเช็ค

คําชี้แจง ในเรื่องของการจายผานธนาคาร ถาเกิดวาเปนกรณีของการซื้อ จาง เชา การเขียนเช็คตอง สั่งจายในนามเจาหนี้ โดยจะตองขีดฆาคําวาหรือผูถือออก แลวก็ตองขีดครอมเช็คดวย

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 72


ภาพนิ่ง 57

การเขียนเช็ค 2.

(ตอ)

นอกจาก 1.

• สั่งจายในนามเจาหนี้ • ขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” ออก • ขีดครอมหรือไมก็ได

คําชี้แจง ถาเกิดวาไมใชกรณีของการ ซื้อ จาง เชา เชนการจายเงินคารักษาพยาบาลเราก็จายเปนเช็ค ใหกับขาราชการ จายก็สั่งจายในนามเจาหนี้คือตัวผูมารับเงินคารักษาพยาบาล ขีดฆาคําวาหรือผูถือ ออก ขีดครอมหรือไมขีดก็ได (ขีดฆาผูถือออกเพื่อปองกันกรณีเช็คสูญหาย)

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 73


ภาพนิ่ง 58

การเขียนเช็ค

(ตอ)

3. รับเงินสดมาจาย • สั่งจายในนามเจาหนาที่ของสวนราชการ • ขีดฆาคําวา“หรือผูถือ” ออก • หามออกเช็คสั่งจายเงินสด

คําชี้แจง ในการเขียนเช็คเพื่อรับเงินสดมาจาย เชน กรณีขาราชการเบิกคารักษาพยาบาล ตองการรับ เปนเงินสด ไมตองการรับเปนเช็ค ทางเจาหนาที่การเงินก็เขียนเช็คเพื่อรับเงินสดมาจาย ตองสั่ง จายในนามเจาหนาที่ของสวนราชการ ตามระเบียบใหสั่งจายในนามเจาหนาที่ของสวนราชการ ปกติคือเจาหนาที่การเงิน หรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่การเงิน ซึ่งการเขียนเช็คจะตอง ขีดฆาหรือผูถือดวย

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 74


ภาพนิ่ง 59

วิธีปฏิบัติในการจายเงิน (ตอ) 3. จายผานธนาคาร - ใหขาราชการ ลูกจาง (ว 7930) - ใหบุคคลภายนอก (ว 143)

คําชี้แจง วิธีปฏิบัติของการจายเงินในเรื่องของการสั่งจายผานธนาคาร ตรงนี้ คลังมีหนังสือสั่งการ อยู 2 ฉบับ คือ ว 7930 กับ ว 143 ถาเปนการจายใหกับขาราชการหรือวาลูกจางของสวนราชการ ไม วาจะเปนการจายคาตอบแทน หรือวาเงินที่เปนสวัสดิการตางๆ ว 7930 บอกวาถาตองการรับเงิน ผานธนาคาร ใหมาแสดงเจตนากับสวนราชการวาตองการรับเงินผานธนาคาร ก็จะมีแบบฟอรมให กรอกวาใหจายเงินเขาบัญชีใครบาง ภาระในเรื่องคาธรรมเนียมโอนเงินคนที่จะขอรับเงินผาน ธนาคารจะตองเปนผูรับผิดชอบ (กรณีบุคคลภายนอก ตาม ว 143 ปจจุบันไมไดใชแลว มันมีเรื่อง ของการจายตรง มันถูกจายเขาบัญชีของเจาหนี้อยูแลว เพราะฉะนั้น จะไมมีกรณีเจาหนี้มาแสดง ความจํานงขอรับเงินผานธนาคาร )

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 75


ภาพนิ่ง 60

การเก็บรักษาเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ ประกอบไปดวย สวนที่ 1 สถานที่เก็บรักษา ขอ 79 ถึงขอ 81 สวนที่ 2 กรรมการเก็บรักษาเงิน ขอ 82 ถึงขอ 87 และสวนที่ 3 การเก็บรักษาเงิน ขอ 88 ถึงขอ 94

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 76


ภาพนิ่ง 61

การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ 1. ตูนิรภัย 2. กรรมการ 3. วิธีการเก็บรักษาเงิน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ มีสาระสําคัญประกอบดวย 1 ตูนิรภัย 2 กรรมการ 3 วิธีการเก็บรักษาเงิน ขอ 79 ใหสวนราชการเก็บรักษาเงินสดที่จัดเก็บหรือไดรับไวในตูนิรภัยซึ่งตั้งอยูในที่ ปลอดภัยของสวนราชการนั้น

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 77


ภาพนิ่ง 62

ตูนิรภัย 1. กําปน หรือตูเหล็ก หรือหีบเหล็กอันมัน่ คง 2. ปกติตองมีลูกกุญแจอยางนอย 2 ดอก แตละดอกมีลักษณะ ตางกัน 3. ลูกกุญแจตูนิรภัยหนึง่ ๆ อยางนอยตองมี 2 สํารับ มอบให กรรมการถือกุญแจ 1 สํารับ อีกสํารับฝากเก็บในลักษณะหีบหอ - สวนกลาง สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ - สวนภูมิภาค ณ สํานักงานคลังจังหวัด 4. ตั้งไวในที่ปลอดภัยในสํานักงาน

คําชี้แจง ตูนิรภัย หมายถึง กําปน หรือตูเหล็ก หรือหีบเหล็กอันมั่นคง ปกติมีลูกกุญแจอยางนอย 2 ดอก แต ล ะดอกมี ลั ก ษณะต า งกั น ลู ก กุ ญ แจตู นิ รภั ย หนึ่ ง ๆ อย า งน อ ยต อ งมี 2 สํ า รั บ มอบให กรรมการถือกุญแจ 1 สําหรับ อีกสํารับฝากเก็บในลักษณะหีบหอ สวนกลางตองนําไปฝากที่ สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ สวนภูมิภาค ตองนําไปฝากหองเก็บเงินคลังใน ณ สํานักงาน คลังจังหวัด จังหวัดนั้น ๆ โดยตูนิรภัยตองเก็บไวในที่ปลอดภัยในสํานักงาน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 78


ภาพนิ่ง 63

กรรมการ • แตงตั้งขาราชการระดับ 3 / เทียบเทาขึ้นอยางนอย 2 คน • กรณีกรรมการไมสามารถปฏิบัติหนาที่ - แตงตั้งกรรมการชั่วคราว - มอบกุญแจ ตรวจนับตัวเงินและหลักฐานแทนตัวเงินให ถูกตองตามรายงานฯ เมือ่ กุญแจหาย หรือสงสัยวาจะมีการ ปลอมแปลงใหรีบรายงานหัวหนาสวนราชการเพือ่ สัง่ การ โดยดวน

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ ขอ 82 ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาแตงตั้งขาราชการซึ่งดํารงตําแหนง ระดับสามหรือ เทียบเทาขึ้นไปในสวนราชการนั้นอยางนอยสองคนเปนกรรมการเก็บรักษาเงินของสวนราชการ นั้น ขอ 84 ถากรรมการเก็บรักษาเงินผูใดไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหหัวหนาสวนราชการ พิจารณาแตงตั้งขาราชการ ปฏิบัติหนาที่กรรมการเก็บรักษาเงินแทนใหครบจํานวน การแตงตั้งผู ปฏิบัติหนาที่กรรมการเก็บรักษาเงินแทน จะแตงตั้งไวเปนการประจําก็ได

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 79


สําหรับกรรมการเก็บรักษาเงินของสวนราชการ ตาม ว 113 แกจากระดับ 3 เปนระดับ ปฏิบัติการหรือปฏิบัติงาน อยางนอย 2 คน เหมือนเดิม ซึ่งถาเกิดในกรณีกรรมการไมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ได ตองมีการแตงตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินชั่วคราวขึ้นมาไวดวย เพราะวาการแตงตั้ง กรรมการเก็บรักษาเงินชั่วคราวจะตั้งไวเปนการประจํา หรือเปนครั้งเปนคราวก็ได ซึ่งกรรมการที่ ปฏิบัติหนาที่ชั่วคราว หรือประจํา ตองมีการสงมอบกุญแจและตรวจนับตัวเงินและหลักฐานแทน ตัวเงินวาถูกตองตรงกันตามรายงานฯ ตอมาถาเกิดวามีพฤติการณวากุญแจหาย หรือสงสัยวาจะ หาย หรือถูกปลอมแปลงกุญแจ ตัวกรรมการเก็บรักษาเงินตองรีบรายงาน หัวหนาสวนราชการ ทราบเพื่อสั่งการตอไป วาจะตองทําอยางไรตอไปเปนอํานาจหนาที่ของหัวหนาสวนราชการ

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 80


ภาพนิ่ง 64 หัวหนา สวนราชการ

เจาหนาที่การเงิน รายงานฯ เงิน

กรรมการ รายงานฯ

ถูกตอง

-นําเงินเขาตู -ลงลายมือชื่อ ในรายงานฯ รายงานฯ รายงานฯ

รายงานฯ

รายงานฯ

เงิน

ไมถูกตอง -รวมกับ จนท. การเงินบันทึกเงิน ที่ตรวจนับได -ลงลายมือชื่อ รวมกับจนท. การเงินในรายงานฯ -นําเงินเขาตู รายงานฯ

* รายงานฯ = รายงานเงินคงเหลือ ประจําวัน

คําชี้แจง โดยวิธีในการเก็บรักษาเงิน เปนหนาที่ของการเงินตองนําตัวเงินหรือเอกสารแทนตัวเงิน กั บ รายงานเงิ น คงเหลื อ ประจํ า วัน ส งให ก รรมการเก็ บ รั ก ษาเงิ น กรรมการเก็ บ รั ก ษาเงิ น ก็ จ ะ ตรวจสอบดูวาตัวเงินเอกสารแทนตัวเงิน กับรายงานเงินคงเหลือประจําวันถูกตองตรงกันหรือ เปลา ถาถูกตองตรงกัน จะนําเงินเก็บเขาตูนิรภัย ลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจําวัน แลวรายงานทางกองคลังทราบ ทางกองคลัง ก็จะรายงานใหหัวหนาสวนราชการทราบ แตวาถาตัว เงินและรายงานเงินคงเหลือประจําวัน กรรมการตรวจสอบแลววาไมถูกตองตรงกัน กรรมการเก็บ รักษาเงินรวมกับเจาหนาที่การเงินรวมกันบันทึกวาเงินที่รับไวมีจํานวนเทาไหร ลงลายมือชื่อ รวมกัน เก็บไวในตูนิรภัย แลวรายงานใหหัวหนาสวนราชการทราบ เพื่อพิจารณาสั่งการ โดยให รายงานทันที ที่ทราบวาตัวเงินกับรายงาน ฯ ไมตรงกัน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 81


ภาพนิ่ง 65

การนําเงินสงคลัง

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 95 ถึงขอ 100 ขอ 95 เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสวนราชการผูเบิกนําสงคืนคลัง ภายใน สิบหาวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง ในกรณีที่สวนราชการมีการรับคืนเงินที่ไดจายไปแลว ใหนําสงคืนคลังภายในสิบหาวันทํา การ นับจากวันที่ไดรับคืน ขอ 96 การนําเงินสงคลัง ถานําสงกอนสิ้นปงบประมาณหรือกอนสิ้นระยะเวลาเบิกเงิน ที่กันไวเบิกเหลื่อมป ใหสวนราชการนําสงเปนเงินเบิกเกินสงคืน แตถานําสงภายหลังกําหนด ดังกลาว ใหนําสงเปนรายไดแผนดินประเภทเงินเหลือจายปเกาสงคืน

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 82


ภาพนิ่ง 66

กําหนดเวลานําเงินสงหรือนําฝากคลัง ของสวนราชการผูเบิก 1. เช็ค - วันที่ไดรับ หรืออยางชาภายในวันทําการถัดไป 2. เงินรายไดแผนดิน - เกินหมื่นบาทนําสงโดยดวนไมเกิน 3 วันทําการ

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 97 เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลา ดังตอไปนี้ 1. เช็ค ดราฟต หรือตั๋วแลกเงิน ใหนําสงหรือนําฝากในวันที่ไดรับหรืออยางชาภายในวัน ทําการถัดไป 2. เงินรายไดแผนดิน ใหนําสงอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง แตถาสวนราชการใด มีเงิน รายไดแผนดินเก็บรักษาในวันใดเกินหนึ่งหมื่นบาท ก็ใหนําเงินสงโดยดวนแตอยางชาตองไมเกิน สามวันทําการ ในกรณีที่สวนราชการไดรับเปนเช็คมา ตองนําเช็คที่ไดรับสงคลังหรือฝากคลังในวันที่ ไดรับ หรืออยางชาภายในวันทําการถัดไป ยกเวนเช็คที่เปนหลักประกันซอง สามารถเก็บไวได 7 วัน ถาเกิน 7 วัน ตองนําฝากคลัง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 83


ภาพนิ่ง 67

กําหนดเวลานําเงินสงหรือฝากคลังของสวน ราชการผูเบิก 3. เงินเบิกเกินสงคืนหรือเงินเหลือจายปเกาสงคืน

(ตอ)

- ภายใน 15 วันทําการ นับจากวันไดรับเงินจากคลังหรือไดรับเงินคืน

4. เงินนอกงบประมาณ - อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง

5. เงินนอกงบประมาณเบิกจากคลังเพื่อรอการจาย - ภายใน 15 วัน นับจากวันรับเงินจากคลัง

คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 97 เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลา ดังตอไปนี้ 3. เงินเบิกเกินสงคืน หรือเงินเหลือจายปเกาสงคืนใหนําสงภายในสิบหาวันทําการ นับจาก วันรับเงิน จากคลังหรือนับจากวันที่ไดรับคืน 4. เงินนอกงบประมาณ ใหนําฝากคลังอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง แตสําหรับเงินที่เบิกจาก คลัง เพื่อรอการจายใหนําฝากคลังภายในสิบหาวันนับจากวันรับเงินจากคลัง แตถาเปนเงินเบิกเกินสงคืนหรือเงินเหลือจายปเกาสงคืน เงินเบิกเกินสงคืนหมายถึง เงินที่ เบิกจากคลัง ออกมาแลวไมไดจาย หรือวาจายไมหมด สวนนั้นตองนําสงคืนภายใน 15 วันนับแต วันที่ไดรับเงิน แตถาจายไปแลวมีเหตุตองรับเงินคืนมาใหนําสงคืนภายใน 15 วันทําการ นับจากวัน ไดรับเงินคืน ถาเปนเงินนอกงบประมาณตองนําฝากคลังอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง แตถาเปนเงิน นอกงบประมาณที่เบิกจากคลังเพื่อรอการจายถายังไมไดจายภายใน 15 วัน นับจากวันรับเงินจาก คลัง ตองนําฝากใหม

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 84


ภาพนิ่ง 68

จัดทํา pay-in slip ที่มี barcode เพื่อนําฝากเงินสด/เช็คเขาบัญชีกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลัง

สวนราชการ 3 บันทึกขอมูล การนําสง

2

1

รับฝาก บันทึก ขอมูล และคืน สําเนา pay-in slip + deposit slip

สาขาธนาคารกรุงไทย กรมบัญชีกลาง/สํานักงานคลัง

4 บันทึกขอมูลและโอน เงินที่รับฝากไปรวมที่ สาขานานาเหนือ / สิ้นวันโอนเงินเขา TR 1* ที่ ธปท. และ ธปท. สงขอมูล เขาระบบ GFMIS

ระบบ GFMIS

5

เขาระบบ GFMIS เพื่อผานรายการและ กระทบยอดการนําสง

* TR1 : บัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1

คําชี้แจง สุดทายวิธีการการนําเงินสงคลังในระบบ GFMIS ดาวนโหลดใบเปอินสลิปจาก Web Report ที่มี barcode เปนรหัสศูนยตนทุนของหนวยงาน เพื่อนําเงินสดหรือเช็คนําฝากเขาบัญชี กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลัง โดยการกรอกขอมูลลงในใบเปอินสลิปที่เปนศูนยตนทุนของ หนวยงาน พรอมกับนําเงินสดหรือเช็คไปฝากที่สาขาธนาคารกรุงไทย ซึ่งธนาคารจะรับฝากเงิน และทํ าการบัน ทึ ก ข อมู ล เมื่อบั น ทึกเสร็จ จะคืน สํ า เนา ใบเปอินสลิ ปให กับส ว นราชการ สว น ราชการไดรับกลับมาใหนํามาเปนหลักฐานในการบันทึกขอมูล การนําเงินสงคลัง หรือนําเงินฝาก คลัง กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดก็จะเขาระบบ GFMIS เพื่อผานรายการและกระทบ ยอดนําสง ขอควรระวังในการนําสงเงินของสวนราชการ คือการบันทึกในเปอินสลิป การทํา เครื่องหมายใหเลือกใหถูกตองวานําสง หรือนําฝากคลัง เวลาบันทึกขอมูลในระบบ GFMIS ให บันทึกตรงกัน เพื่อใหการกระทบยอดเปนไปดวยความรวดเร็ว ถูกตอง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 85


ภาพนิ่ง 69

• • • • •

กลุมงานวิชาการดานการคลังการบัญชี สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร โทร 0 77 511207 โทรสาร 0 77 501025 www.cpn@cgd.go.th

คําชี้แจง กรณี มี ป ญ หาหรื อ ข อ สงสั ย สามารถติ ด ต อ สอบถามได ต ามหมายเลขโทรศั พ ท และ e-mail ที่ปรากฏ

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 86


เอกสารอางอิง 1. “ระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551” 2. หนังสือเวียนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 2.1 หนั ง สื อ ด ว นที่ สุ ด ที่ กค 0409.3/ว 115 ลงวั น ที่ 30 กั น ยายน 2547 เรื่ อ ง หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการเบิกจายเงินและการนําเงินสงคลังตามระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) 2.2 หนังสือดวนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว 14 ลงวันที่ 27 มกราคม 2548 เรื่อง การเบิก ค า ใช จ า ยค า งเบิ ก ข า มป ใ นระบบบริ ห ารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ ด ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส (GFMIS) 2.3 หนังสือที่ กค 0526.5/ว 110 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2541 เรื่อง วิธีปฏิบัติในการ จายเงินกรณีโอนสิทธิเรียกรอง 2.4 หนังสือที่ กค 0530.1/ว 143 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2543 เรื่อง การจายเงินใหกับ เจาหนี้โดยผานธนาคาร 2.5 หนังสือที่ กค 0526.7/ว 7930 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ 2540 เรื่อง การขอรับเงิน ของทางราชการโดยวิธีผานธนาคาร 2.6 หนังสือ ที่ กค 0423.3/ว 370 ลงวันที่ 13 ตุลาคม 2554 เรื่อง แนวปฏิบัติทางบัญชี เกี่ยวกับการนําเงินสงคลังเปนเช็ค

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 87


ภาคผนวก


คลินกิ ความรู้สคู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด ZONE 8 1. หลักการและเหตุผล ตามที่กรมบัญชีกลางได้กําหนดวิสัยทัศน์ “กํากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด” โดยมีพันธกิจหลักในการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติและพัฒนา ขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐด้าน กฎหมายการคลัง การบัญชี การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ การตรวจสอบภายใน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เงินนอกงบประมาณและอื่นๆ เพื่อเป็นการรักษาวินัย และความยั่งยืนทางการคลัง รวมถึงการบริหารเงินสดภาครัฐให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดถึงการสนับสนุนการบริหารเศรษฐกิจการคลัง และเป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ทางการคลัง สํานักงานคลังจังหวัดเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมบัญชีกลางซึ่งปฏิบัติภารกิจอยู่ในส่วนภูมิภาค มีภารกิจหน้าที่ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกรมบัญชีกลางให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ที่กําหนด ประกอบกับได้มีการปรับเปลี่ยนบทบาทจากเดิมที่ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบมาเป็นกํากับดูแล และเน้นการให้บริการเป็นสําคัญ การปรั บเปลี่ ยนบทบาทจากการตรวจสอบ มาเป็ นการกํ ากั บดู แลและเน้ นการให้ บริ การ กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ซึ่งมีหน้าที่ให้คําปรึกษาด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ ด้านการเงินการคลังและระบบพัสดุภาครัฐแก่บุคลากรของส่วนราชการ รวมทั้งกํากับระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government procurement : E-gp) ระบบบําเหน็จค้ําประกันในส่วนภูมิภาค ระบบฐานข้ อมู ลบุ ค ลากรภาครั ฐ แต่ ขณะนี้ ปรากฏว่ าบุ คลากรของกลุ่ มวิ ชาการด้ านการคลั งการบั ญ ชี และกลุ่มงานอื่น ๆ ขาดความเข้มแข็งด้านองค์ความรู้ และประสบการณ์ในการให้คําปรึกษาแนะนําด้านต่าง ๆ แก่บุคลากรของส่วนราชการ ประกอบกับมีข้าราชการบรรจุใหม่ ทําให้การปฏิบัติงานในการให้คําปรึกษาแนะนํา ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กฎหมายการเงิ น การคลั ง การบั ญ ชี ยั ง ขาดความน่ า เชื่ อ ถื อ และไม่ มี ค วามชั ด เจน ทําให้การปฏิบัติงานดังกล่าวไม่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ สํานักงานคลังเขต 8 และกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ของสํานักงานคลังจังหวัดในเขต 8 ได้ตระหนักถึงปัญหา/อุปสรรคดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะดําเนินโครงการ “คลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็ง ทางวิชาการของจังหวัด zone 8” เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ ด้านการเงินการคลังแก่บุคลากรกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มงานอื่นของสํานักงานคลังจังหวัด เมื่ อกลุ่ มงานภายในของสํ านั กงานคลั งจั งหวั ด มี ความเข้ มแข็ ง มี ความพร้ อม ทั้ งความรู้ ความสามารถ และมีความเชื่อมั่นในองค์ความรู้ พร้อมทั้งจะขยายออกสู่หน่วยงานภายนอก 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการให้แก่บุคลากรกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มอื่น ๆ ของสํานักงานคลังจังหวัด รวมทั้งบุคลากรของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. เพื่อความเป็นเอกภาพในทางวิชาการ (การให้ความรู้ คําปรึกษา ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน) 3. เป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ 3. กลุ่มเป้าหมาย 1. บุคลากรของกลุ่มวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มอื่น ๆ ของสํานักงานคลังจังหวัด 2. บุคลากรของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ผูป้ ฎิบัติ และผูบ้ ริหาร) /4. ระยะเวลา...


- 2 4. ระยะเวลา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2556 5. สถานที่ จังหวัดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานคลังเขต 8 6. วิทยากร วิทยากรจากสํานักงานคลังเขต 8 และสํานักงานคลังจังหวัดในเขต 8 7. ขอบเขตการดําเนินการในองค์ความรู้ - การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม - สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร - เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน - การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ - กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ - เงินนอกงบประมาณ 8. วิธีการพัฒนา 1. การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ ทดสอบความรู้ รวมทั้งการจัดทําคู่มือการบรรยาย 2. ศึกษา/วิเคราะห์ เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบการณ์ระหว่างกัน 9. การรับรองผลการร่วมโครงการ ผู้ผ่านการทดสอบหลังการเข้าร่วมโครงการ โดยใช้เกณฑ์ ๖๐ % จะได้รับใบรับรองผ่านการอบรม โครงการคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 จากสํานักงานคลังเขต 8 10. งบประมาณ งบดําเนินงานของสํานักงานคลังจังหวัด 11. การประเมิน 1. การประเมินความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการ (Pre test) 2. การประเมินความรู้หลังเข้าร่วมโครงการ (Post test) 3. การสังเกตการณ์ระหว่างการฝึกอบรม เพื่อประเมินการเรียนรู้และการมีส่ วนร่วม ของผู้เข้าร่วมโครงการ 4. ผู้เข้าร่วมโครงการกรอกแบบประเมินความพึงพอใจ 5. สํานักงานคลังเขต 8 จะติดตามประเมินผล (Follow Up) เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ และผู้ผ่านการอบรมกลับไปปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว อย่างน้อย ๓ – 4 เดือน /11. ตัวชี้วัดความสําเร็จ...



แผนปฏิบัติการ โครงการคลิ แผนปฏบตการ โครงการคลนกความรู นิกความร้สูค่ วามเข้ วามเขมแขงทางวชาการของจงหวด มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับั ที​ี่

ขันั้ ตอนและกิจกรรมในการดํ ใ าเนินงาน

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556 ไตรมาส

ผู้รับผิดชอบ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.. ธ.ค. 1 2 3 4

1

2

ก่อนดําเนินการ 1.1 จดทาคาสงแตงตงคณะทางาน จัดทําคําสั่งแต่งตั้งคณะทํางาน ประชุ ประชมระดมสมอง มระดมสมอง ทปรกษา ที่ปรึกษา และคณะทางาน และคณะทํางาน 1.2 เขียนโครงการคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 1.3 กําหนดรูปแบบ/วิธีการ การดําเนิน หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ 1.4 นําเสนอคลังเขต ๘ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ ระหว่างดําเนินการ ๒.๑ ศึกษาค้นคว้ากฎหมายระเบียบ และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ติดต่อประสาน ทําหนังสือเชิญวิทยากร จัดทําเอกสารประกอบการบรรยาย 2.3 ทําหนังสือเชิญคณะทํางาน เข้าร่วมรับฟังการบรรยายจากวิทยากร 2.4 นําเสนอโครงการ รายงานผลการดําเนินงานต่าง ๆ ต่อคลังเขต และคลังจังหวัด ในเขต 8 (รอบที่ 1) เพื่อพิจารณาคัดเลือกประกวด 2.5 จัดทําแบบประเมินความรู้ก่อน - หลังการร่วมโครงการ ๒.6 วิทยากรถ่ายทอดความรู​ู้แก่คณะทํางานกลุ​ุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี 2.7 จัดทําร่างคู่มือการบรรยายในวิชาที่ได้รับมอบหมาย 2.8 นําส่งร่างคู่มือให้คลังเขต 8/วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ 2.9 ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบร่างคู่มือ/ผ่านร่างคู่มือ 2 10 แกไข 2.10 แก้ไข ปรบปรุ ปรับปรงง และจั และจดทาคู ดทําค่มอฉบบสมบู ือฉบับสมบรณ์ รณสงคลงเขต ส่งคลังเขต 8/กรมบญชกลาง 8/กรมบัญชีกลาง 2.11 คลังเขต 8 และคลังจังหวัดในเขต 8 จัดทําข้อสอบแต่ละหัวข้อวิชา (เพื่อวัดความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยจัดทํา Pre test และ Post test) ๒.12 ถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรสํานักงานคลังจังหวัด ในกลุ่มงานวิชาการด้านการคลัง ั ี ี ป ี่ ี ้ โ ้ ่ โ ้ ํ

คณะทางานกลุ คณะทํ างานกล่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี

คณะทํางานกลุ่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี


แผนปฏิบัติการ โครงการคลิ แผนปฏบตการ โครงการคลนกความรู นิกความร้สูค่ วามเข้ วามเขมแขงทางวชาการของจงหวด มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับั ที​ี่

ขันั้ ตอนและกิจกรรมในการดํ ใ าเนินงาน

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556 ไตรมาส

ผู้รับผิดชอบ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.. ธ.ค. 1 2 3 4

2

3

ระหว่างดําเนินการ (ต่อ) 2 ถายทอดความรู 2.13 ถ่ายทอดความร้แก่กบุบคลากรสํ คลากรสานกงานคลงจงหวดในกลุ านักงานคลังจังหวัดในกล่มอน อื่น ๆ (เวทการแลกเปลยน (เวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ โดยผู้ร่วมโครงการต้องทําแบบทดสอบ Pre test และ Post test) 2.14 จัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรของหน่วยงานภายนอก 2.15 สรุปผลคะแนนแบบทดสอบ 2.16 จัดทําใบรับรองฯ นําเสนอคลังเขต คลังจังหวัด ลงนาม และมอบแด่ ผู้ผ่านโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ หลังดําเนินการ 3.1 ทดสอบ และติดตามผลผู้ผ่านโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด โดยคลังเขต 8 (ติดตามประเมินผล รอบที่ 2) ๓.2 การจัดทํารายงานสรุปการประเมินผล ๓.3 รายงานสรุปผลโครงการเสนออธิบดีกรมบัญชีกลาง

กําหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

คณะทางานกลุ คณะทํ างานกล่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี

คณะทํางานกลุ่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี


คําสัง่ สํานักงานคลังเขต ๘ ที่ 20 /๒๕๕4 เรือ่ ง แต่งตั้งคณะทํางานคลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 ของกลุม่ งานวิชาการด้านการคลังการบัญชี .................................... การบริหารงานแบบบูรณาการด้วยการทํางานเชิงรุกระหว่างสํานักงานคลังเขต ๘ และสํานักงานคลังจังหวัด ในเขต ๘ ซึ่งได้มีมติร่วมกันในการจัดทํายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลังการบัญชีและเศรษฐกิจ (Zone ๘) สําหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ของกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ภายในเขต ๘ เพื่อเป็นการ สร้ า งองค์ ค วามรู้ ท างวิ ช าการให้ แ ก่ บุ ค ลากร ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร ความเป็ น เอกภาพทางวิ ช าการ และเป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยทางวิ ช าการ ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการ เกี่ ย วกั บ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับด้านการเงิน การคลัง การบัญชี เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานและการดํ า เนิ น การตามอํ า นาจหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายในภาพรวม มี ค วามเป็ น เอกภาพเป็ น ไปตามเป้ า หมายของกระทรวงการคลั ง เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห ารงานแบบบู ร ณาการ ตลอดจนการบริหารจัดการเป็นไปในเชิงรุกและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรแต่งตั้ง ที่ปรึกษาและคณะทํางานคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลัง การบัญชี โดยมีองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) นางสาวอรุณ สว่างสินอุดมชัย คลังจังหวัดกระบี่ ที่ปรึกษาคณะทํางาน (๒) นางธิดา บุญรัตน์ คลังจังหวัดภูเก็ต ทีป่ รึกษาคณะทํางาน (๓) นางวชิราพร บุญคล่อง นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งผู้อํานวยการส่วนตรวจสอบและติดตามประเมินผล ประธานคณะทํางาน (๔) นายปิยพงษ์ เพ็ญสวัสดิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งนักวิชาการคลังชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน (๕) นายเพ็ญลดา สายสวัสดิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งนักวิชาการคลังชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน (๖) นางสาวจินาพร ทวีวัฒนะพงษ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๗) นางกรองจิต แซ่เอี้ย นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๘) นางจรรยา ชัยฤทธิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๙) นางเอมอร อ่อนวงศ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (10) นางสาวเสาวลักษณ์ จันทร์ทิพย์ นักวิชาการคลังชํานาญ คณะทํางาน (11) นางสาวสุนีย์ หวันเดาะเลาะ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางานและเลขานุการ (12) นางสาวลักขณา สุภาพ นักวิชาการคลังชํานาญ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ (๑3) นางรุ่งกานต์ ทองบํารุง นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. ดําเนินการตามนโยบาย การกําหนดยุทธศาสตร์การทํางาน การอํานวยการ การบริหารจัดการและติดตาม ประเมิ นผลในงานของกลุ่ มตามภารกิ จ ภายใต้ ความสอดคล้ องกั บนโยบาย/ยุ ทธศาสตร์ /แนวทาง และเป้าหมาย ที่คณะกรรมการการจัดทํายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง การบัญชี และเศรษฐกิจ Zone 8 กําหนด รวมทั้งงานที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคลังเขต 8 /2. เสนอแนะเชิงนโยบาย...


-22. เสนอแนะเชิ ง นโยบายและรายงานผลการดํ า เนิ น งาน ปั ญ หาและอุ ป สรรคหรื อ ข้ อ เสนอแนะ ต่ อคณะทํ างานการจั ดทํ ายุ ทธศาสตร์ การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็ งด้ านการเงิ นการคลั งการบั ญชี และเศรษฐกิจ Zone 8 เพื่อทราบหรือนําไปพิจารณากําหนดแนวทางรวมทั้งการแก้ไขปัญหา และอุปสรรค 3. สร้างความร่วมมือระหว่างบุ คลากรภายในองค์กร ส่วนราชการ องค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคส่วนต่าง ๆ ในการดําเนินงานภายใต้ภารกิจที่รับผิดชอบ 4. ให้คําแนะนําปรึกษา ตอบข้อหารือ รวมทั้งสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อบั งคั บ และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ด้ า นการเงิ น การคลั ง การบั ญ ชี การตรวจสอบภายใน และการพัสดุ 5. ดําเนินการจัดคู่มือการบรรยายเกี่ยวกับกฎหมายการเงินการคลัง 6. ดําเนินการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ภายในสํานักงาน 7. ดําเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรด้านการเงินการคลังการบัญชี การตรวจสอบภายใน และพัสดุ แก่หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ 8. ติดตามประเมินผลดําเนินงานตามโครงการ 9. ดําเนินงานตามภารกิจอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ ตัง้ แต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕4

(นางกิตติยา เมธิโยธิน) คลังเขต ๘


แบบทดสอบความรูก้ ่อนการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Pretest) โครงการ “Follow Up & Evaluation คลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” วันที่ 4 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิชา การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ ----------------------จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ 1. หลักฐานการจ่าย คือความหมายในข้อใด ก. หลักฐานทีม่ ีการจ่ายเงินให้เจ้าหนี้หรือผูม้ ีสิทธิรับเงินตามภาระผูกพัน ข. ใบเสร็จรับเงิน ค. ใบสําคัญรับเงิน ง. ถูกทุกข้อ 2. เงินรายได้แผ่นดิน คือความหมายในข้อใด ก. เงินที่ส่วนราชการจัดเก็บหรือรับไว้เป็นกรรมสิทธิตามกฎหมาย ข. เงินที่มีกฎหมายบัญญัติไม่ให้ส่วนราชการนําไปใช้จ่ายหรือหักไว้เพื่อการใด ค. เงินทีส่ ่วนราชการจัดเก็บหรือรับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและพ.ร.บ.วิธีการงบประมาณบังคับไม่ให้ส่วนราชการไปใช้จา่ ย หรือหักไว้เพื่อการใด ง. ไม่มีข้อใดถูก 3. ข้อมูลหลักผู้ขาย ประกอบด้วยข้อใด ก. ขื่อ ที่อยู่ เลขประจําตัวประชาชน ข. เลขประจําตัวผู้เสียภาษี เลขที่บญ ั ชีธนาคาร ค. ข้อมูลของหน่วยผู้เบิกหรือเจ้าหนี้ที่ใช้สาํ หรับการขอรับเงินขอเบิกจากคลัง ง. ทุกข้อรวมกัน 4. ระบบ ตามระเบียบฉบับนี้ หมายความถึง ก. ช่องทางที่กระทรวงการคลังกําหนดในการนําเข้าข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ข. ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ค. ทั้งข้อ ก. และ ข. ง. ไม่มีข้อใดถูก 5. ผู้ใดเป็นผูม้ สี ิทธิถือบัตรกําหนดสิทธิ์การใช้รหัสผู้ใช้งานและรหัสย่อย ก. ผู้เบิก ข. ผูท้ ี่ผู้เบิกมอบหมาย ค. เจ้าหน้าทีก่ ารเงิน ง. ผู้ที่หัวหน้าหน่วยงานผู้เบิกจัดนําส่งหรือมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 1


6. ผู้เบิกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีหน้าที่ ก. เป็นผู้เบิกเงินจากคลัง ข. เป็นผู้อนุมตั ิการจ่ายเงินให้เจ้าหนี้ ค. กําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและแนวทางการควบคุมการปฏิบัติงานของหน่วยงานผู้เบิก ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามงบประมาณการจ่ายประจําปี ส่วนราชการสามารถดําเนินได้ ก. ตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี ข. ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับการจ่ายเงินของแผ่นดิน ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่ถูกทั้ง ก และ ข 8. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ถือบัตร กําหนดสิทธิการใช้ SMART CARD รหัสผูใ้ ช้งาน User name และ รหัสผ่าน มีหน้าที่ ก. การได้รับมอบหมายต้องจัดทําเป็นคําสั่ง และมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ข. ผู้ได้รับมอบหมายดําเนินการเบิกเงินจากคลังอนุมัติจ่ายเงิน นําเงินส่งคลัง ค. บันทึก และปรับปรุงข้อมูลและการเรียกรายงานในระบบ ง. ทุกข้อประกอบกัน 9 การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ หากมารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 11. การชดใช้เงินยืมต้องนําหลักฐานมาส่งต่อส่วนราชการภายในกําหนด ก. กรณีเดินทางไปราชการประจําต่างสํานักงาน ต้องส่งคืนเงินยืมภายในกําหนด 15 วัน นับแต่วันทีไ่ ด้รับเงิน ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราว ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันกลับ มาถึง ค. การปฏิบัติราชการอื่น ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันที่ได้รับเงิน ง. ถูกหมดทุกข้อ 12. การเบิกเงินจากคลังไปจ่ายเป็นเงินสด จ่ายได้ในกรณีใด ก. การจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบํานาญ ข. การจ่ายเงินที่วงเงินการขอเบิกต่ํากว่า 5000 บาท ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 2


13. สาระสําคัญในการเขียนเช็คสั่งจ่าย กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ตรงกับข้อใด ก.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้หรือผู้มสี ิทธิ ข.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ค.ไม่ต้องขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก 14. ใบสําคัญรับเงิน ใช้ได้ในกรณีใด ก.ใบเสร็จรับเงินสูญหาย ข.เรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินไม่ได้ ค.ใบรับรองการจ่ายเงินสูญหาย ง.ไม่มีข้อใดถูก 15. ประเภทหลักฐานการจ่ายตรงกับข้อใด ก.ใบรับรองการจ่ายเงิน ข.หนังสือมอบฉันทะ ค.หนังสือมอบอํานาจ ง.ไม่มีข้อใดถูก 16. เงินรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย ก. รายได้จากภาษีอากร ข. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ค. รายได้จากรัฐพาณิชย์และรายได้อื่น ๆ ง. ถูกทุกข้อ 17. รายจ่ายงบกลางได้แก่ ก. เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ ข. ค่าทดแทนสําหรับผู้ได้รับอันตรายในการรักษาความมัน่ คง ค. เงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น ง. ถูกทุกข้อ 18. การจ่ายเงินยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีคาบเกีย่ วปีงบประมาณ ให้ใช้จ่ายได้ไม่เกินกี่วัน ก. 90 วัน ข. 80 วัน ค. 70 วัน ง. 60 วัน 19. เหตุผลในการปรับปรุงระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.๒๕๒๐ มาเป็นระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ คือข้อความในข้อใด ที่ถูกที่สดุ ก. เป็นการรวมระเบียบเบิกจ่ายและระเบียบเก็บรักษาเงินนําเงินส่งคลังเข้าด้วยกัน ข. ระเบียบที่ใช้อยู่เดิมไม่ทันสมัยกับระบบการบริหารการเงินการคลังฯ (GFMIS) ค. รวมระเบียบเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ง. เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานการเงินการ คลัง ตามระบบ (GFMIS)

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 3


20. การกําหนดระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและนําเงินส่งคลังอาศัยอํานาจตามความใน มาตราใด ในมาตราใด และพ.ร.บ.ใด ก. มาตรา 23 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ข. มาตรา 23 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ค. มาตรา 21 (5) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ง. มาตรา 21 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 4


1 .ในการกําหนดระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและนําเงินส่งคลังอาศัยอํานาจตามความในมาตราใด และพ.ร.บ.ใด ก. มาตรา 23 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ข. มาตรา 23 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ค. มาตรา 21 (5) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ง. มาตรา 21 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ 2. ใบสําคัญรับเงิน ใช้ได้ในกรณีใด ก.ใบเสร็จรับเงินสูญหาย ข.เรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินไม่ได้ ค.ใบรับรองการจ่ายเงินสูญหาย ง.ไม่มีข้อใดถูก 3. ประเภทหลักฐานการจ่ายตรงกับข้อใด ก.ใบรับรองการจ่ายเงิน ข.หนังสือมอบฉันทะ ค.หนังสือมอบอํานาจ ง.ไม่มีข้อใดถูก 4.เงินรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย ก. รายได้จากภาษีอากร ข. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ค. รายได้จากรัฐพาณิชย์และรายได้อื่น ๆ ง. ถูกทุกข้อ 5.. การจ่ายเงินยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีคาบเกี่ยวปีงบประมาณ ให้ใช้จ่ายได้ ไม่เกินกี่วัน ก. 90 วัน ข. 80 วัน ค. 70 วัน ง. 60 วัน 6. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ ถ้ามารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 8. การชดใช้เงินยืมต้องนําหลักฐานมาส่งต่อส่วนราชการภายในกําหนด ก. กรณีเดินทางไปราชการประจําต่างสํานักงาน ต้องส่งคืนเงินยืมภายในกําหนด 30 วัน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 5


นับแต่วันที่ได้รับเงิน ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราว ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันกลับ มาถึง ค. การปฏิบัติราชการอื่น ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 30 วัน นับจากวันที่ได้รับเงิน ง. ถูกหมดทุกข้อ 9. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ ถ้ามารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 11 การเบิกเงินจากคลังไปจ่ายเป็นเงินสด จ่ายได้ในกรณีใด ก. การจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบํานาญ ข. การจ่ายเงินที่วงเงินการขอเบิกต่ํากว่า 5000 บาท ค. ถูกทั้ง ก และข ง. ไม่มีข้อใดถูก 12. สาระสําคัญในการเขียนเช็คสั่งจ่าย กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ตรงกับข้อใด ก.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิ ข.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ค.ไม่ต้องขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก 13. ใครเป็นผู้อนุมัติการจ่ายเงินของส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ก. ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่ระดับ 7 หรือ เทียบเท่าขึ้นไป ข. หัวหน้าสํานักงานที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ค. หัวหน้าส่วนราชการในภูมิภาค ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด 14. กรรมการเก็บรักษาเงินของส่วนราชการอย่างน้อยต้องมีกี่คน ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 4 คน ง. 5 คน ง.ไม่มีข้อใดถูก 15. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ถือบัตร กําหนดสิทธิการใช้ SMART CARD รหัสผู้ใช้งาน User name และ รหัสผ่าน มีหน้าที่ ก. การได้รับมอบหมายต้องจัดทําเป็นคําสั่ง และมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ข. ผู้ได้รับมอบหมายดําเนินการเบิกเงินจากคลังอนุมัติจ่ายเงิน นําเงินส่งคลัง ค. บันทึก และปรับปรุงข้อมูลและการเรียกรายงานในระบบ ง. ทุกข้อประกอบกัน 16. การเบิกเงินที่มิได้กําหนดในระเบียบนี้ หรือมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบ ต้องทําความ ตกลงกับ ก. สํานักงบประมาณ สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 6


ข. สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ค. กรมบัญชีกลาง ง. กระทรวงการคลัง 17.เหตุผลในการปรับปรุงระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.๒๕๒๐ มาเป็นระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ คือ ข้อความในข้อใดที่ถูกที่สุด ก. เป็นการรวมระเบียบเบิกจ่ายและระเบียบเก็บรักษาเงินนําเงินส่งคลังเข้าด้วยกัน ข. ระเบียบที่ใช้อยู่เดิมไม่ทันสมัยกับระบบการบริหารการเงินการคลังฯ (GFMIS) ค. รวมระเบียบเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ง. เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานการเงินการคลัง ตามระบบ (GFMIS) 18. การซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มีวงเงินตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ก. ส่วนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ/สั่งจ้างเพื่อทําการจองงบประมาณในระบบ ข. กรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้เจ้าหนี้โดยตรง ค. จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากของส่วนราชการ ง. ถูกทุกข้อ 19. การขอเบิกเงินจากคลัง ในการซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของหรือเช่าทรัพย์ต้องดําเนินภายใน ก. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สิน ข. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับงานถูกต้อง ค. 5 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือจากวันที่ได้รับแจ้งจาก หน่วยงานย่อย ง. 5 วันนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือวันที่ได้รบั แจ้งจากหน่วยงานย่อย 20 การเบิกเงิน หมวดค่าสาธารณูปโภค กรมบัญชีกลางสัง่ จ่ายเงินเข้าบัญชีใด ก. เข้าบัญชีเงินฝากส่วนราชการ ข. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้โดยตรง ค. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารเจ้าหน้าที่การเงิน ง. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับโดยตรง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 7


แบบทดสอบความรูห้ ลังการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Posttest) โครงการ “Follow Up & Evaluation คลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” วันที่ 4 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิชา การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ ----------------------จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ 1. ในการกําหนดระเบี ยบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรั กษาเงิ นและนําเงินส่งคลังอาศัยอํานาจ ตามความในมาตราใด และพ.ร.บ.ใด ก. มาตรา 23 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ข. มาตรา 23 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ค. มาตรา 21 (5) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ง. มาตรา 21 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ 2. ใบสําคัญรับเงิน ใช้ได้ในกรณีใด ก.ใบเสร็จรับเงินสูญหาย ข.เรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินไม่ได้ ค.ใบรับรองการจ่ายเงินสูญหาย ง.ไม่มีข้อใดถูก 3. ประเภทหลักฐานการจ่ายตรงกับข้อใด ก.ใบรับรองการจ่ายเงิน ข.หนังสือมอบฉันทะ ค.หนังสือมอบอํานาจ ง.ไม่มีข้อใดถูก 4. เงินรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย ก. รายได้จากภาษีอากร ข. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ค. รายได้จากรัฐพาณิชย์และรายได้อื่น ๆ ง. ถูกทุกข้อ 5. การจ่ายเงินยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีคาบเกี่ยวปีงบประมาณ ให้ใช้จ่ายได้ ไม่เกินกี่วนั ก. 90 วัน ข. 80 วัน ค. 70 วัน ง. 60 วัน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 1


6. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ หากมารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถอื เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 8. การชดใช้เงินยืมต้องนําหลักฐานมาส่งต่อส่วนราชการภายในกําหนด ก. กรณีเดินทางไปราชการประจําต่างสํานักงาน ต้องส่งคืนเงินยืมภายในกําหนด 30 วัน นับแต่วันทีไ่ ด้รับเงิน ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราว ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันกลับ มาถึง ค. การปฏิบัติราชการอื่น ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 30 วัน นับจากวันที่ได้รับเงิน ง. ถูกหมดทุกข้อ 9. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ ถ้ามารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 11 การเบิกเงินจากคลังไปจ่ายเป็นเงินสด จ่ายได้ในกรณีใด ก. การจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบํานาญ ข. การจ่ายเงินที่วงเงินการขอเบิกต่ํากว่า 5000 บาท ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 12. สาระสําคัญในการเขียนเช็คสั่งจ่าย กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ตรงกับข้อใด ก.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้หรือผู้มสี ิทธิ ข.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ค.ไม่ต้องขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 2


13. ใครเป็นผู้อนุมัติการจ่ายเงินของส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ก. ผู้ทหี่ ัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่ระดับ 7 หรือ เทียบเท่าขึน้ ไป ข. หัวหน้าสํานักงานที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ค. หัวหน้าส่วนราชการในภูมิภาค ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด 14. กรรมการเก็บรักษาเงินของส่วนราชการอย่างน้อยต้องมีกี่คน ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 4 คน ง. 5 คน ง.ไม่มีข้อใดถูก 15. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ถือบัตร กําหนดสิทธิการใช้ SMART CARD รหัสผูใ้ ช้งาน User name และ รหัสผ่าน มีหน้าที่ ก. การได้รับมอบหมายต้องจัดทําเป็นคําสั่ง และมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ข. ผู้ได้รับมอบหมายดําเนินการเบิกเงินจากคลังอนุมัติจ่ายเงิน นําเงินส่งคลัง ค. บันทึก และปรับปรุงข้อมูลและการเรียกรายงานในระบบ ง. ทุกข้อประกอบกัน 16. การเบิกเงินที่มิได้กําหนดในระเบียบนี้ หรือมีปัญหาเกีย่ วกับการปฏิบัติตามระเบียบ ต้องทําความ ตกลงกับ ก. สํานักงบประมาณ ข. สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ค. กรมบัญชีกลาง ง. กระทรวงการคลัง 17. เหตุผลในการปรับปรุงระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.๒๕๒๐ มาเป็นระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ คือ ข้อความในข้อใดที่ถกู ที่สุด ก. เป็นการรวมระเบียบเบิกจ่ายและระเบียบเก็บรักษาเงินนําเงินส่งคลังเข้าด้วยกัน ข. ระเบียบที่ใช้อยู่เดิมไม่ทันสมัยกับระบบการบริหารการเงินการคลังฯ (GFMIS) ค. รวมระเบียบเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ง. เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานการเงินการ คลัง ตามระบบ (GFMIS) 18. การซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มวี งเงินตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ก. ส่วนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ/สั่งจ้างเพื่อทําการจองงบประมาณในระบบ ข. กรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้เจ้าหนี้โดยตรง ค. จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากของส่วนราชการ ง. ถูกทุกข้อ สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 3


19. การขอเบิกเงินจากคลัง ในการซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของ หรือเช่าทรัพย์ต้องดําเนินภายใน ก. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สิน ข. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับงานถูกต้อง ค. 5 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือจากวันที่ได้รับแจ้งจาก หน่วยงานย่อย ง. 5 วันนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือวันที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานย่อย 20 การเบิกเงิน หมวดค่าสาธารณูปโภค กรมบัญชีกลางสั่งจ่ายเงินเข้าบัญชีใด ก. เข้าบัญชีเงินฝากส่วนราชการ ข. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้โดยตรง ค. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารเจ้าหน้าที่การเงิน ง. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับโดยตรง

สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

หน้า 4


เฉลยข้อสอบแบบทดสอบความรู้การประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการ "Follow Up & Evaluation คลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8" วันที่ 4 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 5. วิชา การเบิกจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Pretest ก ค ง ค ง ค ค ง ก ก ข ค ก ข ก ง ง ก ง ง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร

ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Posttest ง ข ก ง ก ก ก ง ก ก ค ก ค ก ง ง ง ง ค ง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.