GM 515

Page 1

gm club

อิซาโอะ เซคิกจุ ิ

กับความท้าทาย ทีร่ อคอยข้างหน้า ในฐานะประธาน นิสสัน ประเทศไทย และประธาน ภูมภิ าคอาเซียน THOugHT

gmlive . com

‘ใจหญิง’

ศ.นพ.นิธิ มหานนท์

‘ว่าด้วยการแปรอักษร’

ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย

‘ก้าวข้ามอุปสรรค ก้าวข้ามความท้าทาย ของความมัน่ คงทางอาหาร’

ปิยะชาติ อาร์ม อิศรภักดี (

)

ศ. ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล ดร.พลอยไพลิน ร่มโพธิภ์ กั ดิ์ นางสาวลลิตา หล�าพึง่

CEO BrANdi กับบทบาท ‘ตัวแทนธุรกิจโลก’ ในเวทีสงู สุดด้านความยง่ั ยืนของ UN ScOOP

New Wave of Business with AI

คลืน่ ลูกใหม่ของธุรกิจทีเ่ กิดจากเทคโนโลยี AI

ปรับบทบาทธุรกิจ สร้างความพร้อมเศรษฐกิจโลก th

YEAR

Gadgets

for Christmas

MAGAZINE OF THE GM GROUP

นิตยสารผูช้ าย ทีม่ ผี อู้ า่ นสูงสุดตลอด 38 ปี 2566 / 70 บาท

24 01 01

and

New Year

Celebrations !

EV Car Sports Performance ไม่แพงแต่แรง


table of

515

VolUMe 38 | 2023

4 EdItor S NotE Gadgets for Christmas 6 GAdGEt and New Year Celebrations ! EV Car Sports Performance ไม่แพงแต่แรง 8 CAr Daring Time 12 WAtCh (อาร์ม) อิศรภักดี 18 CovEr mAN ปิCEOยะชาติBRANDi กับบทบาท ตัวแทนธุรกิจโลก ’

34

Scoop : New Wave for Business with AI

26

Style

26 StYLE 34 SCoop 50 GM ClUB

ในเวทีสงู สุดด้านความยัง่ ยืนของ UN

Next in 2024 โลกแฟชัน่ ในปี 2024 มีอะไรให้ตดิ ตาม !

Future-ready Economy เศรษฐกิจทีพ่ ร้อมสำาหรับอนาคต New Wave for Business with AI คลืน่ ลูกใหม่ของธุรกิจทีเ่ กิดจากเทคโนโลยี AI อิซาโอะ เซคิกจุ ิ กับ ‘ความท้าทาย’ ทีร่ อคอยข้างหน้า ในฐานะประธาน นิสสัน ประเทศไทย และประธานภูมภิ าคอาเซียน

นหมืน่ และข้อกังขาในด้านความเท่าเทียม 54 trENd BIz นโยบายเงิ การกระตุน้ เศรษฐกิจและภาคการปฏิบตั ิ 58 ENtErtAINmENt

66 ThOUGhT

Film : The Killer การพังทลายของนาย ‘สมบูรณ์แบบ’ Book : The Colour out of Space สีสนั จากห้วงอวกาศ Travel : มองเกาหลี ‘แบบไม่มดี รามา’

ศ.นพ.นิธิ มหานนท์ : ‘ใจหญิง’ ศ.ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล | ดร.พลอยไพลิน ร่มโพธิภ์ กั ดิ์ | นางสาวลลิตา หลำาพึง่ : ก้าวข้ามอุปสรรค ก้าวข้ามความท้าทาย ของ ‘ความมัน่ คงทางอาหาร’ ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย : ‘ว่าด้วยการแปรอักษร’

72 CSv 73 NEWS & NEWS 74 ONE QUEsTION : หนึ่งคำาถามกับคนหนุ่ม



editor's note สวัสดีครับท่านผู้อ่าน GM ทุกท่าน ในทีส่ ดุ เราก็เดินทางมาถึงเดือนสุดท้ายของปี 2566 ปีแห่งการเปลีย่ นผ่านและเริม่ ต้นหลากหลายเหตุการณ์ ซึง่ ปฏิเสธไม่ได้เลยนะครับว่า เงินในกระเป๋าของพวกเราทุกคน เกีย่ วข้องกับเศรษฐกิจโลกไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม และถ้าหาก เริม่ ต้นธุรกิจในวันนีจ้ ะต้องเข้าสูก่ ติกาสากลโดยเฉพาะเรือ่ ง ความยัง่ ยืนโดยปริยายอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ และส�าหรับในเรือ่ งนีน้ ติ ยสาร GM ขอแนะน�าให้อา่ น บทสัมภาษณ์ Cover Man หรือผูช้ ายจากปก ปิยะชาติ อิศรภักดี CEO BRANDi จะมาบอกเล่าเรือ่ งราวในฐานะผูส้ วมบทบาท ตัวแทนธุรกิจโลกในเวทีสงู สุดด้านความยัง่ ยืนของ UN พร้อมกับบทความหลักทีจ่ ะฉายภาพอนาคตทางธุรกิจในหัวข้อ Future-ready Economy ปรับบทบาทธุรกิจ สร้างความพร้อม เศรษฐกิจโลก ซึง่ จะท�าให้การเดินสูเ่ ส้นทางธุรกิจเป็นไปอย่าง ถูกทีถ่ กู ทาง พร้อมกันนีย้ งั มีอกี หนึง่ บทความทีไ่ ม่ควรพลาดโดยเฉพาะ สายเทคโนโลยีทตี่ อ้ งการสร้างธุรกิจของตัวเอง New Wave of Business with AI คลื่นลูกใหม่ของธุรกิจที่เกิดจากเทคโนโลยี AI โดย วรวิสทุ ธิ์ ภิญโญยาง ซีอโี อ บริษทั อิมแพคมายด์ เอไอ จ�ากัด (ImpactMind.ai) ผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน Digital Marketing ทีม่ าฉายภาพธุรกิจด้านนีไ้ ด้อย่างชัดเจน อีกหนึง่ บทสัมภาษณ์ทผี่ มขอแนะน�าให้อา่ น คือ GM Club กับมุมมองของ อิซาโอะ เซคิกจุ ิ กับความท้าทายทีร่ อคอยข้างหน้า ในฐานะประธาน นิสสัน ประเทศไทย และประธานภูมภิ าคอาเซียน ทีผ่ า่ นร้อนผ่านหนาวกับบททดสอบมาหลายสนามทัว่ โลก ส่วนคอลัมน์ประจ�าในนิตยสาร GM เล่มนีย้ งั เต็มอิม่ และอยูใ่ น กระแสเช่นเคยครับ ไม่วา่ คอลัมน์ Trend Biz : นโยบาย เงินหมืน่ และข้อกังขาในด้านความเท่าเทียม การกระตุน้ เศรษฐกิจ

และภาคการปฏิบตั ิ สายความเร็วต้องไม่พลาดคอลัมน์ Car ทีม่ าแนะน�ารถยนต์ไฟฟ้าไม่แพงแต่แรง EV Car Sports Performance หรือสายเรือนเวลาต้องไม่พลาดคอลัมน์ Watch กับเรือ่ งราว Daring Time แบรนด์นาฬิกาชัน้ น�าทีต่ า่ งก็มที งั้ ความโดดเด่นด้านสมรรถนะ ฟังก์ชนั และงานออกแบบ รวมถึงเรื่องราวระดับต�านานที่ผสมผสานด้วยพลังสร้างสรรค์ อย่างไม่มีสิ้นสุด พร้อมเอาใจสายแฟชั่น What’s Next 2024 โลกแฟชัน่ ในปี 2024 มีอะไรให้ตดิ ตาม จากคอลัมน์ Style และเรือ่ งราวทีต่ ดิ เทรนด์ทวิตเตอร์อย่างแบนเกาหลี ซึง่ ผม มีมมุ มองในการชวนเทีย่ วเกาหลีแบบไม่ดรามาในคอลัมน์ Travel ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นเพียงตัวอย่างที่ผมหยิบยกมาเท่านั้น ยังมีอกี หลากหลายคอลัมน์ทนี่ า่ อ่านน่าสนใจ เพราะทัง้ ผม ทีมกองบรรณาธิการ และนักเขียนทุกท่านตัง้ ใจ น�าเสนอเพือ่ ผูอ้ า่ น GM ของเราครับ สุดท้ายนี้ - อยากจะขอลุน้ ในใจกับนโยบายทีห่ ลายคนรอคอย แต่ถูกต้านอย่างหนัก จนอาจสะดุดที่กฎหมายอย่างเงินดิจิทัล ที่ผมคิดเบาๆ ในใจว่าอาจจะเป็นหมัน แม้รัฐบาล อยากจะกระตุน้ ให้กระเตือ้ ง แต่คงไปต่อยาก และท้ายสุดนีข้ อบคุณทีต่ ดิ ตามกันอย่างสม�า่ เสมอ นะครับ พร้อมทัง้ ขอใช้พนื้ ทีต่ รงนีก้ ล่าวลาปีเก่า 2566 และกล่าวสวัสดีปใี หม่ 2567

อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์ เรามีคอลัมน์เด่นๆ ประจำาเดือน ให้คณ ุ ได้อา่ นในฉบับย่อ และบทสัมภาษณ์คดั สรรแล้ว จากฉบับก่อนๆ รวมทัง้ คอลัมนิสต์ทม่ี แี ฟนคลับ ติดตามอ่านเป็นประจำา ใน GM ให้คุณได้อ่านกันอีกด้วย ลองคลิกเข้าไปกันครับ

ติดตาม GM Magazine ในรูปแบบ เว็บไซต์ได้ทาง www.gmgroup.in.th, www.gmlive.com ทาง Facebook GM Live ทาง Twitter @MagazineGM * ข้อเขียน และภาพในนิตยสาร GM สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ห้ามน�าไปเผยแพร่ซ�้า ไม่ว่าจะเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด ยกเว้นได้รับการยินยอม เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรจาก บริษัท จีเอ็ม ยูนิคอร์น กรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน)


ผู้ก่อตั้ง ปกรณ์ พงศ์วราภา บรรณาธิการที่ปรึกษา ณิพรรณ กุลประสูตร บรรณาธิการบริหาร อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์ ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ ขนิษฐา เผือกผ่องใส กองบรรณาธิการ มนตรี จอมพันธ์, สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์​์ บริษัท จีเอ็ม ยูนิคอร์น กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการ ปกรณ์ พงศ์วราภา รองประธานกรรมการบริหาร สายงานปฏิบัติการ อภิรักษ์ หาญพิชิตวณิชย์ สายงานการเงิน พรจิตต์ พงศ์วราภา สายงานนิวมีเดีย พีศิลป์ พงศ์วราภา

บริหารการตลาดโดย

บริษัท วันวันทู สตูดิโอ จำากัด 1/178 ถนนบางแวก แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160

บรรณาธิการศิลปกรรม ปรีชา สอวัฒนชาติ ฝ่ายภาพ พิชญุตม์ คชารักษ์, สรรค์ภพ จิรวรรณธร พิสูจน์อักษร อภิรดี นุตตะโร บริหารฝ่ายโฆษณา / การตลาด กรองทอง สันดุษฎี ผู้จัดการทั่วไป ภานุวัชร พงศ์วราภา ผู้จัดการฝ่ายการเงิน วิมลลักษณ์ อาศัยพานิชย์​์

: GURU & MENTOR MAGAZINE IS PUBLISHED BY GM UNICORN GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

www.gmlive.com

112 Studio Company Limited 1/178 Bangweak Rd., Bangphai, Bangkae Bangkok 10160

ฝ่ ายโฆษณา / การตลาด

Tel. 0 8 16 5 9 7 0 0 8 ปกรณ์ พงศ์วราภา เจ้าของ บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ในนาม บริษัท จีเอ็ม ยูนิคอร์น กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) จัดจำาหน่ายทั่วประเทศ : เพ็ญบุญจัดจำาหน่าย แยกสี : กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) พิมพ์ที่ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์

Facebook.com/gmliveonline Email : gmlive2022@gmail.com CHAIRMAN / CEO PAKORN Pongvarapa EXECUTIVE VICE PRESIDENT Chief Operation Offificer APIRAK Harnpichitwanich Finance PORNJITT Pongvarapa New Media PESILP Pongvarapa

ART DIRECTOR GENERAL MANAGER

PRECHA Sowattanachat PANUVAT Pongvarapa

สั่งซื้อ e-Magazine ของ GM ได้ที่ App Store และ Play Store

AIS Book Store

Ookbee

Ookbee Buffet

Magzter


gadget

Gadgets

for Christmas and

New Year

Celebrations !

อุปกรณ์ทนั สมัย เพือ่ การฉลองคริสต์มาสและวาระขึน้ ปีใหม่สง่ ท้ายปี 2023 ! : Gadgeteer

และแล้ว...สายลมหนาวก็ได้พดั พา น�าเดือนสุดท้ายในหน้าปฏิทนิ ของปี 2023 มาเยือนอีกครั้ง วาระแห่งการเฉลิมฉลองทั้ง เทศกาลคริสต์มาสและขึน้ ปีใหม่ ก็เริ่มใกล้เข้ามา การซื้อของขวัญเพื่อ คนทีร่ กั และห่วงใย ยังเป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยชุบชูใจ ให้อบอุ่นอยู่เสมอ และ GM Magazine ฉบับส่งท้ายปี ขอเสนอลิสต์ของ อุปกรณ์ทนั สมัย เพือ่ การส่งท้ายปี ทีย่ งิ่ ใหญ่ทใี่ กล้เข้ามานี้

Steam Deck

สายเกมเมอร์ ไม่ควรพลาด เพราะนีค่ อื หนึง่ ในอุปกรณ์สดุ ล�า้ ส่งตรงจาก Valve ค่ายเกมเจ้าของแพลตฟอร์มดิจทิ ลั Steam ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ กับเครือ่ งเล่นเกมขนาดพกพา ทีส่ ามารถปรับแต่งการใช้งาน ได้อย่างอิสระ ไม่วา่ เกมทีม่ อี ยูใ่ น Library ของ Steam หรือเปิดใช้งาน Emulator ส�าหรับระบบอืน่ ๆ อีกทัง้ รูปทรงดีไซน์กระชับเหมาะมือ แถมตอนนีย้ งั มีรนุ่ หน้าจอ OLED ทีใ่ ห้การแสดงผลคมชัดยิง่ กว่าเดิม ก็เป็นอีกทางเลือกหนึง่ เว็บไซต์ : www.store.steampowered.com/steamdeck

Garmin Vivosmart 4 ส�าหรับใครทีเ่ ป็นสายสุขภาพรักไลฟ์สไตล์แบบแอคทีฟ ‘นาฬิกาดิจทิ ลั ’ คืออุปกรณ์ทขี่ าดไม่ได้สา� หรับการนี้ และ Garmin หนึง่ ในผูผ้ ลิต อุปกรณ์สายสมาร์ทชัน้ น�า ก็พร้อมน�าส่ง Vivosmart 4 รูปทรงเพรียวบาง ทันสมัย พร้อมหน้าปัดทีส่ ามารถตกแต่งได้ เพือ่ บอกข้อมูลทีส่ า� คัญ ไม่วา่ จะทัง้ อัตราการเต้นหัวใจ การออกก�าลังกาย วัดค่าความเครียด ทัง้ ยังมี GPS บ่งบอกต�าแหน่งไว้ให้อย่างเสร็จสรรพ เว็บไซต์ : www.garmin.com

Meta Quest 2

ใครทีช่ นื่ ชอบนวัตกรรมสาย Virtual Reality ส�าหรับการใช้งาน หรือส�าหรับการเล่นเกม แบรนด์ Meta Quest จัดเป็นตัวเลือกอันดับ ต้นๆ ทีเ่ หล่าผูใ้ ช้งานต่างไว้วางใจ ด้วยดีไซน์แว่นตา VR สีขาว เรียบง่าย น�า้ หนักเบา และคันบังคับทีส่ ามารถปรับให้กระชับเหมาะมือ ทัง้ หมดมาด้วย สนนราคาทีส่ ามารถเอือ้ มถึงได้ แต่ถา้ ใครอดใจรออีกหน่อย Meta Quest 3 ทีก่ า� ลังจะวางจ�าหน่าย เปิดให้ Pre-Order แล้วในขณะนี้ สนนราคาเริม่ ต้นที่


300 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 13,000 บาท ไม่รวมภาษี น�าเข้า) ซึง่ ก็ยงั ถือว่าถูกมากเมือ่ เทียบกับอุปกรณ์ ชนิดเดียวกันของแบรนด์อนื่ ในตลาด เว็บไซต์ : www.meta.com

Logitech Brio

แม้ผคู้ นจะเริม่ ทยอยกลับเข้าท�างานในส�านักงาน หลังการแพร่ระบาดของ COVID-19 กันมาระยะหนึง่ แต่วถิ กี ารท�างานแบบ Work from Home ก็ได้กลายเป็นอีกทางเลือกทีไ่ ม่หายไปไหน และยังคงมีอยูม่ าก ซึง่ อุปกรณ์สา� คัญอย่าง ‘Web Cam’ คือสิง่ ทีข่ าดไม่ได้สา� หรับการติดต่อสือ่ สารและประชุมงาน ถ้าต้องการความคมชัดระดับ 4K แล้วละก็ Logitech Brio คือค�าตอบ ด้วยขนาดกะทัดรัด ติดตัง้ ง่าย ให้ระยะการฉายภาพทีก่ ว้าง และความละเอียดสูงสุด เหมาะส�าหรับทุกโอกาสการใช้งาน เว็บไซต์ : www.logitech.com

iRobot Roomba j7+ ปิดท้ายด้วยอุปกรณ์ทเี่ หมาะส�าหรับใครทีอ่ ยากจะ ‘เก็บกวาด’ บ้านรับเทศกาลปีใหม่ และต้องการ หาผูช้ ว่ ยขนาดเหมาะมือทีร่ ใู้ จทีจ่ ะท�าให้งาน ดังว่านัน้ ง่ายขึน้ เลือกใช้ iRobot Roomba j7+ เครือ่ งดูดฝุน่ อัตโนมัตอิ จั ฉริยะจาก iRobot ทีม่ าพร้อมถังเก็บความจุสงู ความสามารถในการ ท�าความสะอาดได้อย่างรอบทิศ ระบบน�าทาง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และแอปพลิเคชันทีส่ ามารถ สั่งได้จากระบบโมบายที่ติดตั้งและใช้งานได้ง่าย แบบทันที เว็บไซต์ : www.irobotthailand.com /roomba-j7-plus

0 7


CAR : ธนา เศรษฐพานิช

EV Car Sports Performance ไม่แพงแต่แรง

ต้องยอมรับว่าการมาถึงของยานยนต์ พลังงานไฟฟ้า 100% นัน้ ได้ดสิ รัปชัน รถยนต์ทมี่ เี ครือ่ งยนต์เติมน�า้ มันเชือ้ เพลิง ให้สะดุง้ ได้ไม่นอ้ ย ยิง่ มีขา่ วออกมาว่ามีผทู้ ใ่ี ช้ รถไฟฟ้ามาแล้วกว่า 7 ปี แต่ความสามารถ ในการชาร์จของแบตเตอรีล่ ดลงแค่ 10% เท่านัน้ ค่าบ�ารุงรักษาอืน่ เกีย่ วกับเครือ่ งยนต์แทบไม่มี นอกจากเปลีย่ นยาง เปลีย่ นผ้าเบรก และระบบกันสะเทือน แบบนีก้ ย็ งิ่ ท�าให้นา่ ลอง โดยเฉพาะคุณสมบัตขิ องมอเตอร์ไฟฟ้า ทีแ่ รงบิดสูงตัง้ แต่กดคันเร่ง ท�าให้รถยนต์ไฟฟ้า หลายคันแรงตัง้ แต่เกิด อัตราเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ต�า่ กว่า 10 วินาที กลายเป็นเรือ่ งปกติไปแล้ว และขุมพลังบางคัน ก็ขนึ้ ไปถึง 300-400 แรงม้า บวกกับชิน้ ส่วน ในการประกอบทีล่ ดลง ท�าให้ตน้ ทุน การผลิตลดลง รวมถึงการสนับสนุนจากภาครัฐ ท�าให้มรี ถยนต์ไฟฟ้าสเปกซูเปอร์คาร์ ในราคารถบ้านเกิดขึน้ จริง GM ฉบับนีจ้ งึ ขอส่งประกวดรถไฟฟ้า ราคาไม่แพงแต่แรงเอาเรือ่ งมาให้พจิ ารณา จับจองเป็นเจ้าของกัน


Tesla Model 3 HIGHLAND

เวอร์ชนั ปรับปรุงใหม่ของ Tesla Model 3 รุน่ ขายดีทแี่ ก้ไขดีไซน์ในห้องโดยสารให้ดหู รูขนึ้ ทัง้ แผงด้านหน้าใหม่ การตกแต่งภายใน ทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงกันชนหน้าใหม่ ไฟหน้า ไฟท้าย และดิฟฟิวเซอร์ทปี่ รับปรุงใหม่พร้อมดีไซน์ดดุ นั ยิง่ ขึน้ ในด้านสมรรถนะ Model 3 HIGHLAND ได้รับการอัปเกรดด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าแบบใหม่ที่ให้ก�าลังและแรงบิดเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังมีชุดแบตเตอรี่ใหม่ ซึง่ ให้ระยะทางทีย่ าวขึน้ มอเตอร์ไฟฟ้า พละก�าลังสูงสุด 283 แรงม้า แรงบิดสูงสุด 420 นิวตันเมตร ท�าอัตราเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชัวั่ โมง ภายใน 6.1 วินาที ความเร็วสูงสุดอยูท่ ี่ 225 กิโลเมตรต่อชัวั่ โมง แบตเตอรี่ Lithium-ion LFP 57.5 kWh วิง่ ระยะทางสูงสุด 510 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครัง้ (มาตรฐาน WLTP) Model 3 HIGHLAND มีราคาเริม่ ต้นที่ 1,599,000 บาท

MG 4 ELECTRIC

MG4 รถยนต์เอสยูวไี ฟฟ้าเต็มรูปแบบทีเ่ ปิดตัวเมือ่ กลางปีแต่เริม่ มีให้เห็นบนท้องถนนเยอะขึน้ ด้วยกระแสวิจารณ์ไปในทางบวกในด้านการออกแบบทีม่ สี ไตล์ ระยะไกล และราคาไม่แพง รวมทัง้ ศูนย์บริการทีก่ ระจายเยอะกว่าใคร MG4 ขับเคลือ่ นด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าตัวเดียวทีใ่ ห้กา� ลัง 170 แรงม้า และแรงบิด 250 นิวตันเมตร มีอตั ราเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เพียง 7.9 วินาที ใช้แบตเตอรี่ 51 kWh มาตรฐาน IP67 ในการป้องกันน�า้ และฝุน่ และวิง่ ได้ ไกลถึง 450 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครัง้ และสามารถชาร์จได้ตงั้ แต่ 10-80% ในเวลาเพียง 35 นาที โดยใช้เครือ่ งชาร์จแบบ DC ภายในของรถมีการตกแต่งที่กว้างขวางส�าหรับผู้โดยสาร 5 คน มีแผงหน้าปัดดิจิทัลขนาด 10.25 นิ้ว และระบบอินโฟเทนเมนต์ หน้าจอสัมผัสขนาด 10.25 นิว้ และซันรูฟแบบพานอรามา MG4 ติดตัง้ ชุดระบบช่วยเหลือผูข้ บั ขีข่ นั้ สูง (ADAS) รวมถึงระบบควบคุมความเร็วคงทีแ่ บบปรับได้ และมีโหมดการขับขี่ 5 รูปแบบ ได้แก่ Eco, Normal, Sport, Custom และ Snow กับราคาใหม่ NEW MG4 ELECTRIC รุน่ X เพียง 869,000 บาท จึงเป็นตัวเลือก ทีน่ า่ สนใจมาก

BYD Seal Performance

BYD Seal Performance ซีดานไฟฟ้าขนาดกลางจาก BYD ทีม่ าพร้อมระบบส่งก�าลังไฟฟ้าแบบมอเตอร์คู่ จึงท�าให้รถคันนีก้ ลายเป็นระบบขับเคลือ่ น 4 ล้อ AWD ทีม่ พี ละก�าลังรวมถึง 520 แรงม้า และแรงบิด 670 นิวตันเมตร (เท่ากับรถปิกอัพเครือ่ งยนต์ 2.5 สองคัน) ท�าให้ BYD Seal Performance มีอตั ราเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ในเวลาเพียง 3.8 วินาที และชุดแบตเตอรีข่ นาด 82.5 kWh ทีอ่ ยูใ่ ต้พนื้ รถก็ทา� ให้รถมีจดุ ศูนย์ถว่ งต�า่ และการควบคุมรถดีขนึ้ มีระยะทางสูงสุด 570 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครัง้ และสามารถชาร์จได้ตงั้ แต่ 10-80% ในเวลาเพียง 30 นาที โดยใช้เครือ่ งชาร์จแบบ DC เป็นทางเลือกทีด่ สี า� หรับผูบ้ ริโภคทีก่ า� ลังมองหารถยนต์ไฟฟ้าทีม่ ดี ไี ซน์โดดเด่น และฟีเจอร์ระดับพรีเมียมมากมาย อาทิ ระบบควบคุมความเร็วคงทีแ่ บบแปรผัน ระบบช่วยรักษาช่องทางเดินรถ และการเบรกฉุกเฉินอัตโนมัติ BYD Seal Performance ตัง้ ราคาจ�าหน่ายเพียง 1,599,000 บาท (ใกล้เคียงกับ Tesla Model 3 รุน่ เริม่ ต้น)

0 9


Volvo XC 40 Recharge Pure Electric

1 0

Volvo XC40 Recharge Pure Electric คือ รถยนต์ SUV ขนาดกะทัดรัดทีใ่ ช้ไฟฟ้าเต็มรูปแบบ ขับเคลื่อนโดยระบบส่งก�าลังไฟฟ้ามอเตอร์คู่ที่ให้ก�าลังรวม 402 แรงม้า และแรงบิดสูงสุด 660 นิวตันเมตร ระบบขับเคลือ่ นแบบ 4 ล้อ AWD ช่วยให้สามารถเร่งจาก 0-100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ได้ภายใน 4.9 วินาที แล่นได้ไกลถึง 645 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครัง้ สามารถชาร์จได้ตงั้ แต่ 10-80% ในเวลาเพียง 40 นาที โดยใช้เครือ่ งชาร์จแบบ DC 200 kW ภายในมีการตกแต่งทีก่ ว้างขวางและหรูหราพร้อมทีน่ งั่ ส�าหรับผูโ้ ดยสาร 5 คน ห้องโดยสารมีระบบอินโฟเทนเมนต์หน้าจอสัมผัสขนาด 9 นิว้ แผงหน้าปัดดิจทิ ลั ขนาด 12.3 นิว้ และซันรูฟแบบพานอรามา และระบบเสียงระดับพรีเมียม ติดตัง้ ชุดระบบช่วยเหลือผูข้ บั ขีข่ นั้ สูง (ADAS) นอกจากนีย้ งั รองรับระบบขับขีก่ งึ่ อัตโนมัติ Pilot Assist ของวอลโว่อกี ด้วย XC40 Recharge Pure Electric จ�าหน่ายในราคา 2,590,000 บาท พร้อมรับประกันแบตเตอรีน่ าน 8 ปี และเครือ่ งชาร์จ Wall Box พร้อมบริการตรวจสภาพระบบไฟฟ้าและติดตัง้


NIO ET 5 ซีดานไฟฟ้าขนาดกลางจากประเทศจีนที่ยังไม่มีจ�าหน่ายในเมืองไทย แต่มีสเปกที่น่าสนใจ ET5 สร้างขึ้นบนแพลตฟอร์ม NT2 ของ NIO ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าคู่ที่ให้ก�าลังรวม 483 แรงม้า และแรงบิด 700 นิวตันเมตร ท�าอัตราเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ภายใน 4.3 วินาที แต่วิ่งได้ระยะทางสูงสุดถึง 1,000 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครั้ง โดยใช้ชุดแบตเตอรี่ขนาด 150 kWh NIO ET5 มีการออกแบบที่ทันสมัย ภายในกว้างขวางและหรูหรา มีระบบ NAD (NIO Autonomous Driving) ของ NIO ซึ่งสามารถจัดการงานการขับขี่บนทางหลวง เช่น การเปลี่ยนเลนและการเบรก เร่งความเร็ว หยุดอัตโนมัติ คาดว่าจะเป็นคู่แข่งที่แข็งแกร่งกับรถซีดานไฟฟ้าขนาดกลางอื่นๆ เช่น Tesla Model 3 และ Polestar 2 ราคาจ�าหน่ายในประเทศจีนคันละ 328,000 หยวน หรือประมาณ 1.7 ล้านบาท

XPeng G 9

XPeng G9 เป็นรถเอสยูวีไฟฟ้าสุดหรูขนาดฟูลไซส์ที่สร้างขึ้นจากสถาปัตยกรรมอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า X-EEA 3.0 ของ XPeng ซึ่งเคลมว่าชาร์จเร็วที่สุดในโลก ได้รับการออกแบบมาเพื่อรองรับคุณสมบัติขั้นสูง เช่น การขับขี่อัตโนมัติ และการสื่อสารระหว่างยานพาหนะด้วยกัน ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์คู่ที่ให้ก�าลังรวม 543 แรงม้า และแรงบิด 611 ปอนด์-ฟุต สามารถเร่ง 0-100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใน 3.9 วินาที ท�าความเร็วสูงสุด 200 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง มีระยะทางสูงสุด 702 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครั้ง และสามารถชาร์จได้ตั้งแต่ 10-80% ในเวลาเพียง 15 นาที โดยใช้สถานีชาร์จแบบซูเปอร์ชาร์จ 480 kW ซึ่งชาร์จเพียง 5 นาที จะช่วยเพิ่มระยะทางในการขับได้ถึง 200 กิโลเมตร G9 มีการตกแต่งภายในที่กว้างขวาง หน้าจอสัมผัสส�าหรับผู้โดยสารขนาด 15.6 นิ้ว ติดตั้งระบบช่วยขับแบบกึ่งอัตโนมัติ XPILOT 4.0 ที่พาคุณเดินทางได้ตั้งแต่ออกสตาร์ทจนกระทั่งน�าจอดที่จุดหมายปลายทาง XPeng ตั้งราคารุ่น G9 Launch Edition ไว้ที่ 469,900 หยวนในประเทศจีน หรือราว 2.5 ล้านบาท

0 9


wAtCh

Daring Time : Fullmoon

ต้อนรับฤดูกาลใหม่ ของแวดวงนาฬิกา ด้วยการเปิดตัว นาฬิการุ่นใหม่ล่าสุด ของบรรดาแบรนด์ นาฬิกาชัน้ น�า ทีต่ า่ งก็มที งั้ ความโดดเด่น ด้านสมรรถนะ ฟังก์ชนั และงานออกแบบ รวมถึงเรือ่ งราว ระดับต�านานทีผ่ สมผสาน ด้วยพลังสร้างสรรค์ อย่างไม่มสี นิ้ สุด

1.

1 26

FRANCK MULLER

Va n g u a r d B e a c h

คอลเลกชันใหม่ลา่ สุดของ Franck Muller กับสไตล์นาฬิกาสีสนั สดใส เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของการใช้ชวี ติ แบบแอคทีฟและสร้างสรรค์ โดยเป็นผลงานทีผ่ ลิตจากนวัตกรรมวัสดุตวั เรือนซึง่ ท�าจาก กลาสไฟเบอร์คอมโพสิตสีสดใส ทัง้ สีซมั เมอร์กรีน สีแดงเพลิง หรือสีฟา้ น�า้ ทะเล รวมถึงลวดลายเส้นบนเนือ้ วัสดุ ทีช่ ว่ ยเสริมความมีชวี ติ ชีวาและเป็นเอกลักษณ์ของนาฬิกาแต่ละเรือน คงไว้ดว้ ยเอกลักษณ์ของตัวเรือน ทรงตอนโนของ Vanguard ขณะทีบ่ นหน้าปัดและสายผ้าตกแต่งด้วยเฉดสีเดียวกันกับตัวเรือน ภายในติดตัง้ ด้วยกลไกจักรกลไขลานอัตโนมัติ


2. 70

3.

B L A N C PA I N F i f t y F a t h o m s

th

Anniversary Act 3

บทที่ 3 ของการเฉลิมฉลองครบรอบ 70 ปี คอลเลกชัน Fifty Fathoms นาฬิกาด�าน�า้ รุน่ ต�านานของแบรนด์ โดยในรุน่ ใหม่นยี้ งั คงบรรจุดว้ ย Moisture Indicator ฟังก์ชนั แสดงความชืน้ ไว้บนหน้าปัด ภายใต้ตวั เรือน 41.3 มิลลิเมตร ทีเ่ ป็นขนาดเดียวกันกับรุน่ ต้นแบบของปี 1953 แต่ทา� จาก วัสดุทองบรอนซ์ 9K ใหม่ ผสานเข้ากับขอบตัวเรือนปรับหมุนได้ ทิศทางเดียวส�าหรับจับเวลาการด�าน�า้ และสามารถล็อกได้ โดยท�าจากเซรามิกสีดา� ทนทานสูง พร้อมทัง้ ตกแต่งหน้าปัดสีดา� แบบด้าน บรรจุดว้ ยสารเรืองแสง Super-LumiNova® แบบวินเทจบนเครื่องหมายบอกเวลาชั่วโมง รุน่ นีผ้ ลิตในจ�านวนจ�ากัดเพียง 555 เรือน

R A D O True Square Thinline Les Couleurs Le Corbusier TM

ผสมผสานระหว่างดีไซน์อันโดดเด่นของนาฬิกา True Square มาหลอมรวมเข้ากับเฉดสีสันจากชุดสี Le Corbusier ที่มีอิทธิพล ต่อโลกศิลปะยุคใหม่ สู่นาฬิกาคอลเลกชันล่าสุดของ Rado โดยยังคงรังสรรค์ขึ้นจากนวัตกรรมวัสดุไฮเทคเซรามิกเอกสิทธิ์เฉพาะ ของแบรนด์ ผลิตเป็นตัวเรือน ไฮเทคเซรามิกแบบชิ้นเดียว ตกแต่งในเฉดสีเทาเข้มแบบด้าน ตัดกับรายละเอียดบนหน้าปัด สีด�าด้วยเฉดสีใหม่ อย่าง สีเขียว หรือสีน�้าตาลอมเทา และในเวอร์ชันสีด�าทั้งเรือน แต่ละรุ่นมาพร้อม สายไฮเทคเซรามิกและ ข้อสายกลาง เลือกใช้ เป็นสีเดียว กับรายละเอียด บนหน้าปัด เติมความกลมกลืน ให้กับลุคใหม่ ของนาฬิกา คอลเลกชันพิเศษนี้

1 3


3.

R A D O True Square Thinline Les Couleurs Le Corbusier TM


4.

PA N E R A I

Luminor Marina - 44 (PAM01312)

ยังคงครองสถานะการเป็นนาฬิกาไอคอนิกรุน่ ขายดีของแบรนด์ จากคอลเลกชัน Luminor Marina ทีม่ าพร้อมการเปิดตัวของรุน่ ใหม่ในนาฬิกา ตัวเรือนสเตนเลสสตีล AISI 316L ขนาด 44 มิลลิเมตร ประกอบด้วยขอบตัวเรือน สเตนเลสสตีลขัดเงา พร้อมทัง้ หน้าปัดโครงสร้างแบบแซนด์วชิ สีดา� ตกแต่งแบบด้าน ทีม่ ตี วั เลขอารบิกและเครือ่ งหมายขีดบอกชัว่ โมงเรืองแสงสีเขียว ด้วยสารเรืองแสง Super-LumiNova® และช่องหน้าต่างบอกวันทีท่ ี่ 3 นาฬิกา โดยการท�างานของกลไกจักรกลไขลานอัตโนมัติ P.9010 Caliber ส�ารองพลังงานได้นานถึง 3 วัน

1 5


1 6

5.

hUBLOt Classic Fusion Chronograph Orlinski Titanium


5.

hUBLOt Classic Fusion Chronograph Orlinski Titanium

ประติมากรรมอันเฉิดฉายบนข้อมือ กับนาฬิการุน่ ล่าสุด จากความร่วมมือของ Hublot และศิลปิน Richard Orlinski ซึง่ มาพร้อมตัวเรือน 41 มิลลิเมตร ท�าจากไทเทเนียมตกแต่งแบบ ไมโครบลาสต์และขัดเงา รวมถึง เอกลักษณ์เหลีย่ มมุมจากงานสร้างสรรค์ โดย Richard Orlinski ผสานไว้ดว้ ยฟังก์ชนั โครโนกราฟ ทีจ่ ดั วางหน้าปัดย่อยแสดงการจับเวลา และแสดงวินาทีเล็ก ณ ต�าแหน่ง 9 และ 3 นาฬิกา จากการท�างานของ กลไกจักรกลไขลานอัตโนมัติ โครโนกราฟ HUB1153 ลงตัวมากับสายยางสีด�าหรือ สายสร้อยข้อมือไทเทเนียม

6.

OMEGA

Seamaster Planet Ocean Dark Grey

สืบทอดต�านานแห่งสมรรถนะและความสปอร์ตแห่งท้องทะเล กับรุน่ ล่าสุดทีส่ ร้างสรรค์จากซิลคิ อนไนไตรตเซรามิก (Si3N4) วัสดุเซรามิก อันล�า้ สมัย ซึง่ นับเป็นครัง้ แรกทีไ่ ด้นา� มาผลิตในคอลเลกชันปกติ ของ OMEGA โดยมาพร้อมคุณสมบัตดิ า้ นความทนทาน และน�า้ หนักเบา สวมใส่ได้สบายข้อมือ โดดเด่นด้วยรูปลักษณ์ในเฉด สีเทาเข้มสะท้อนความแข็งแกร่งแบบสปอร์ต รุน่ นีม้ ตี วั เรือนขนาด 45.5 มิลลิเมตร ผสานวงแหวนขอบตัวเรือนท�าจากไทเทเนียมเกรด 5 และฝาหลังแบบ NAIAD LOCK จดสิทธิบตั รโดยแบรนด์ คงประสิทธิภาพการกันน�า้ ได้ลกึ 600 เมตร

1 9



cover man

ปิยะชาติ อาร์ม อิศรภักดี (

)

CEO braNdi กับบทบาท ‘ตัวแทนธุรกิจโลก’ ในเวทีสงู สุดด้านความยง่ั ยืนของ UN

โลกของการท�าธุรกิจในอดีตไม่วา่ จะขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ ล้วนแล้วแต่มเี ป้าหมายทีส่ า� คัญเพียงหนึง่ เดียว นั่นคือ การสร้าง ‘ผลก�าไร’ แต่ในปัจจุบันจะเห็นว่าโลกก�าลังเผชิญกับทั้งปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึง่ ก�าลังส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจอย่างรุนแรง ท�าให้ภาคธุรกิจต้องปรับเปลีย่ นทัง้ วิถแี ละวิธใี นการท�าธุรกิจใหม่ อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ภาคธุรกิจไม่สามารถยึดเส้นทางแบบเดิมในการท�าธุรกิจเพือ่ สร้างผลก�าไรเพียงอย่างเดียว แต่ตอ้ งมี ‘ทางสายใหม่’ ที่ใส่ใจในการสร้างคุณค่าต่อผู้คน สังคม และสิ่งแวดล้อม ไปพร้อมๆ กับการสร้างการเติบโตและผลก�าไร อย่าง ‘ยัง่ ยืน’ GM Magazine เล่มนีไ้ ด้รบั เกียรติจากคุณปิยะชาติ (อาร์ม) อิศรภักดี CEO, BRANDi and Companies หรือ ‘BRANDi’ ทีป่ รึกษาด้านกลยุทธ์ระดับองค์กร เพือ่ เตรียมความพร้อมส�าหรับอนาคตและการเติบโตอย่างยัง่ ยืน อีกทัง้ ยังเป็นตัวแทนประเทศไทยไปร่วมพูดคุยในเวทีทสี่ า� คัญระดับโลกหลากหลายเวที มาอธิบายพร้อมช่วย บอกวิธใี นการติดกระดุมเม็ดแรกอย่างถูกต้อง เพือ่ สร้างการเติบโตของทัง้ ระบบนิเวศให้เกิดความยัง่ ยืน : สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

เหตุผลหรือแรงบันดาลใจที่ท�าให้สนใจเรื่องแบรนด์ จนมาเป็น BRANDi ในทุกวันนี้ ผมมองว่ า มนุ ษ ย์ ส นใจเรื่ อ งธุ ร กิ จ โดย ปิยะชาติ ธรรมชาติ อย่ า งตั ว ผมที่ จ บด้ า นวิ ศ วฯ ก็เห็นว่ามีวศิ วกรจ�านวนมากทีห่ นั มาท�าธุรกิจ แต่ตอนก่อนที่ จะก่อตั้ง BRANDi ขึ้นมา ก็ใช้เวลาในการส�ารวจธุรกิจ หลากหลายรูปแบบ และสั่งสมองค์ความรู้ต่างๆ จากนั้น ถึงตกผลึกว่าอะไรคือสิ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับ

: สรรค์ภพ จิรวรรณธร

ธุรกิจจริงๆ ผมพบว่าธุรกิจในปัจจุบนั มีอายุสนั้ ลงกว่าเดิมมาก มีงานวิจยั ว่าธุรกิจจะมีอายุเพียง 2-3 ปี แตกต่างจากแบรนด์ ที่เป็นสิ่งที่อยู่ได้นาน อีกทั้งยังสามารถสะสมมูลค่าและ เติบโตเหนือกาลเวลาได้ แต่หากย้อนเวลากลับไป 10 กว่าปี ทีแ่ ล้วสิง่ นีเ้ ป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายพอสมควร เพราะคนมีความเข้าใจ เรื่องแบรนด์น้อยมาก แต่นั่นก็หมายถึงโอกาสทางธุรกิจ เช่นกัน จึงกลายมาเป็นจุดเริ่มต้นของ BRANDi ที่ทุกคน เห็นในปัจจุบนั

1 9


สิ่งที่ BRANDi ท�าในปัจจุบันคืออะไร มีที่มาที่ไปอย่างไร ในประเทศไทยอาจจะรู ้ จั ก BRANDi กั น บ้ า ง ปิยะชาติ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้า แต่ดว้ ยสิง่ ที่ BRANDi ท�า อาจจะเป็นเรือ่ งทีใ่ หม่มากส�าหรับตลาดในประเทศไทย ตัง้ แต่เมือ่ 11 ปีทแี่ ล้ว ความตัง้ ใจเกิดจากวิธคี ดิ ทีว่ า่ ‘ธุรกิจที่เติบโตในยุค ทีผ่ า่ นมาจะสามารถรักษาของเดิมและเติบโตไปยังจุดทีด่ กี ว่าเดิม’

ซึง่ เรามองว่าเป็น ‘Good to GREAT’ ในเวอร์ชนั ธุรกิจ และ BRANDi มองว่าธุรกิจทีจ่ ะเป็น Good to GREAT ได้นน้ั ต้องไม่แสวงหาผลก�าไร (Profit) เพียงอย่างเดียว แต่ตอ้ งให้ความส�าคัญเรือ่ งผูค้ น (People) และสิง่ แวดล้อม (Planet) ด้วย ภาคธุรกิจต้องเป็นกลไกในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ แต่ใน ประเทศไทยไม่มีคนเชื่อสิ่งนี้ เพราะสมัยก่อนการท�าธุรกิจไม่ว่า จะรุน่ เก่าหรือรุน่ ใหม่ โจทย์มอี ยูแ่ ค่ 2 อย่าง คือ ‘ลดต้นทุน’ และ ‘เพิม่ ผลก�าไร’ เพราะฉะนัน้ จึงพูดถึงแค่คา� ว่า ‘ความเป็นเลิศในการ ด�าเนินงาน’ (Operational Excellence) น้อยมากทีจ่ ะมีคนพูดค�าว่า ‘การสร้างมูลค่า’ (Value Creation) ในภาคธุรกิจ แต่เมือ่ น�าสิง่ นี้ ไปพูดในต่างประเทศ เรือ่ งนีก้ ลับเป็นทีส่ นใจ เพราะธุรกิจต่างประเทศ จะมีธรุ กิจทีเ่ ป็นบริษทั ข้ามชาติ (Multinational Company: MNC) กระจายอยู่ทั่วโลก มีสาขาในหลายประเทศ ในทุกๆ ภูมิภาค เริ่มตั้งค�าถามว่าจะท�าธุรกิจให้เติบโตได้อย่างไร ถ้าไม่สามารถ รับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการท�า ธุรกิจทั้งทางตรง และทางอ้อมได้ และค�าถามต่อมา คือ แล้วถ้าสามารถรับผิดชอบได้ ท�าไมไม่ใช้สงิ่ นีเ้ ป็นโอกาสในการสร้างการเติบโตของธุรกิจ สิ่งนี้คือชุดความคิดของ BRANDi ชุดความคิดแบบนี้ไม่ได้ จ�าเพาะเจาะจงอยูก่ บั ภาคธุรกิจเท่านัน้ เพราะเมือ่ พูดถึงประมาณ 10 กว่าปีทแี่ ล้ว โลกมีความเป็นไซโล (Silo) ประมาณหนึง่ ธุรกิจ มีหน้าที่หาเงิน รัฐบาลมีหน้าที่ดูแลคน NGO มีหน้าที่รักษา สิง่ แวดล้อม ต่างคนก็ตา่ งท�า แต่พอ BRANDi ให้ความส�าคัญกับ ทัง้ 3 ด้าน ก็สามารถไปคุยกับทัง้ 3 ภาคส่วนได้ เราได้ไปคุยกับ องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN), ธนาคารโลก (World Bank Group) และการประชุมเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) และท�าให้เห็นช่องว่าง (Gap) ซึง่ ถ้าหาก ไม่เร่งปิดวันหนึง่ ปัญหาจะกลายเป็นปัญหาทีไ่ ม่สามารถแก้ได้ ‘ปัญหา’ และ ‘ช่องว่าง’ ที่ว่านั้นคืออะไร

ผมเห็นปัญหาที่ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวันนี้ และใน

ปิยะชาติ หลากหลายมิติ เริม่ จากเศรษฐกิจ วันนีม้ เี รือ่ งของ

2 0

เงินเฟ้อ ซึง่ เงินเฟ้อหากคุยเป็นภาษานักเศรษฐศาสตร์ ก็หมายถึง การมีคนจับจ่ายเยอะ เงินล้นตลาด ค่าของเงินลดลง แต่ในวันนี้ เงินเฟ้อเกิดจากอุปทานขาดแคลน (Supply Shortage) ภาคการผลิต มีปญั หา สงครามท�าให้ไม่สามารถส่งออกบางสิง่ บางอย่างได้ อาหาร ขาดแคลนทัว่ โลก ดังนัน้ เมือ่ อุปทานขาดแคลน ของมีจา� นวนน้อย จึงท�าให้มีราคาแพง เราจึงต้องกลับมาคุยกันว่าปัญหาแบบนี้ ใช่ปัญหาแบบที่ต�าราเรียนอธิบายไว้หรือไม่ หรือสมมุติว่าจะแก้ ปัญหานี้ ท�าอย่างไรให้คนที่มีรายได้น้อยมีรายได้เพิ่มขึ้น ก็เกิด การเพิม่ ค่าแรงขัน้ ต�า่ แต่ในยุคทีม่ โี ซเชียลมีเดียพ่อค้าแม่คา้ ต่างก็รู้ ว่าค่าแรงปรับขึ้นก็ขึ้นค่าอาหารตามไปด้วย จึงท�าให้เกิดทฤษฎี ทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายความสัมพันธ์การเพิ่มขึ้นของค่าจ้าง ตามราคาสินค้าและบริการทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ (Wage-price Spiral)

โดยรวมแล้วไม่ได้ทา� ให้ซอื้ อาหารได้เพิม่ ขึน้ เพราะในวันทีเ่ งินเพิม่ ขึน้ อาหารก็แพงขึน้ ตาม ปั ญ หาข้ า งต้ น ปั ญ หาการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ (Climate Change) ปัญหาความเหลือ่ มล�า้ (Inequality) ล้วนเป็น ปัญหาที่รัฐควรเป็นคนจัดการ แต่ถ้ารัฐแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ได้ จะส่งผลอะไรต่อภาคธุรกิจหรือไม่ ถ้าส่งผลต่อภาคธุรกิจ นัน่ แปลว่า ภาคธุรกิจต้องคิดว่าจะท�าอย่างไรต่อไป เพราะภาคธุรกิจมีศกั ยภาพ สูงทีส่ ดุ เพราะฉะนั้นปัญหาในโลกใบนี้ต้องให้ภาคธุรกิจเข้ามาแก้ไข อย่างเต็มความสามารถ ภาคส่วนอืน่ ท�าได้เพียงแค่การส่งเสริม เช่น การออกนโยบายสนับสนุน แต่ถา้ ภาคธุรกิจไม่ตง้ั ใจจริงก็ไม่สามารถ แก้ไขปัญหาเหล่านัน้ ได้ นีค่ ือสิ่งส�าคัญที่ท�าให้เห็นภาพว่าบทบาท ของภาคธุรกิจในโลกเศรษฐกิจใหม่ตอ้ งปรับเปลีย่ น ซึง่ ไม่ใช่การหา ผลก�าไรเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่ก็ไม่ใช่การหันมาท�าเพียง การดูแลผู้คนและสิ่งแวดล้อมเท่านั้น เพราะถ้าท�าแบบนั้นธุรกิจ จะกลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของปัญหาทันที สิ่งที่ต้องท�า คือเอาเรื่องของผู้คนและสิ่งแวดล้อมใส่เข้าไปใน กระบวนการท�าธุรกิจและตัง้ ค�าถามใหม่วา่ ถ้าหากด�าเนินธุรกิจในวิถี ทีช่ ว่ ยแก้ปญั หาให้กบั ผูค้ นและสิง่ แวดล้อม พร้อมทัง้ สร้างการเติบโต ได้จะเป็นสมการทีด่ ตี อ่ ธุรกิจหรือไม่ นัน่ คือสิง่ ที่ BRANDi พยายาม จะท�าและเป็นความพยายามทีไ่ ด้รบั การยอมรับในเวทีโลก


ท�าไมภาคธุรกิจจึงไม่สามารถแสวงหาผลก�าไรได้อีกต่อไป เพราะการมุ่งแต่แสวงหาผลก�าไร อาจไม่ได้ท�าให้ ปิยะชาติ คุณรวยอย่างทีเ่ คยเป็น มันมีแรงต้านในสังคมและ กระบวนการมากขึน้ ยกตัวอย่างสถานการณ์ เช่น คุณมีบริษทั ทีม่ ี คนท�างานอยู่ 5 คน บริษทั หาเงินมาได้ 100,000 บาท เจ้าของธุรกิจ เก็บไป 90,000 บาท ให้คนทีเ่ หลือคนละ 2,000 บาท ในยุคทีเ่ รายัง ไม่สามารถสื่อสารกันได้อย่างทุกวันนี้ทุกคนก็อาจจะพอใจ แต่ถ้า วันหนึง่ พวกเขาเริม่ เห็น เริม่ เปรียบเทียบว่า ท�าไมเจ้าของธุรกิจได้ 90,000 บาท แต่ท�าไมเขาได้แค่ 2,000 บาท และพอมีคนที่ท�า ธุรกิจคล้ายๆ กันบอกเขาว่าจะให้เพิม่ เป็น 5,000 บาท เขาก็อยาก จะไปท�าอันนั้นแทน พอเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเจ้าของธุรกิจก็จะเสีย ความสามารถในการท�าธุรกิจ ไม่สามารถท�าธุรกิจต่อได้ เพราะว่า ทีมงานไม่อยูด่ ว้ ย ฉะนัน้ การทีเ่ ราไม่สามารถท�า Wealth Distribution หรื อ การกระจายความมั่ ง คั่ ง ไปให้ ค นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ได้ คือความเสี่ยงในการท�าธุรกิจ ซึ่งเราอาจจะไม่ได้คิดว่ามันเป็น ความเสีย่ งในอดีต แต่ในวันนีก้ ลับเป็นความเสีย่ งทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ การมุง่ หน้าสูก่ ารแสวงหาผลก�าไรเพียงอย่างเดียวไม่ใช่เรือ่ งที่ ว่าควรท�าหรือไม่ควรท�าอีกต่อไป แต่เป็นสมการที่ ‘ท�าไม่ได้’ อีกแล้ว ในอดีต เวลาผลิตสินค้าขายคนไม่รู้หรอกว่าคุณมีต้นทุนเท่าไหร่ แต่ในปัจจุบันทุกอย่างมีความโปร่งใส เลยท�าให้ต้องคิดว่าจะเอา สมการของผูคู้ นและสิง่ แวดล้อมใส่เข้าไปได้อย่างไร ยิง่ ในเวทีโลก เรือ่ งนีก้ ลายเป็น ‘กติกา’ ทีถ่ า้ ไม่ทา� ก็จะเจอกับภาษีหรือค่าใช้จา่ ย ทีท่ า� ให้ความสามารถในการแข่งขันของเราต�า่ ลง อะไรทีจ่ ดุ ประกายให้มองเห็นความ ‘ไม่ปกติ’ ของการท�าธุรกิจ จนเขียนเป็นหนังสือ Business as UNusual งั้ น เราต้ อ งมามองให้ ใ หญ่ ขึ้ น ในเชิ ง ของสั ง คม ปิยะชาติ อย่างเช่น ‘ระบบการศึกษา’ เวลาทีเ่ ราอยูใ่ นโรงเรียน หรื อ ในมหาวิ ท ยาลั ย ข้ อ สอบมั ก จะถามเราว่ า ค� า ตอบ ข้อไหนถูกต้อง เราก็มีหน้าที่หาค�าตอบที่ถูกต้อง แต่พอเรา ออกมาเจอสังคมจริงๆ ไม่ได้ชวนให้เราหาค�าตอบทีถ่ กู ต้อง แต่ชวน ให้เราตั้งค�าถามที่ถูกต้อง ซึ่งจะตั้งค�าถามที่ถูกต้องได้ต้องกล้า ออกจากไซโลเดิม เราเป็นนักเรียนเราเก็งข้อสอบให้ได้คะแนนดี จ�าข้อสอบไปให้ได้คะแนนดี สบายๆ แต่พอต้องเปลี่ยนจาก การตอบค�าถามไปเป็นการตั้งค�าถาม มันปลายเปิด แล้วการ ตัง้ ค�าถามไหนล่ะทีจ่ ะถูกต้อง กลับมาทีภ่ าคธุรกิจ ถ้าวันนีธ้ รุ กิจให้ความส�าคัญกับการท�าก�าไร เพียงอย่างเดียวไม่ได้ แล้วธุรกิจต้องให้ความส�าคัญกับอะไร ซึง่ เป็นค�าถามปลายเปิดทีม่ หาศาลมาก จึงเป็นเหตุผลทีว่ า่ เมือ่ น�า ความยั่งยืนเข้ามาก็ไม่มีทิศทางที่ชัดเจน เพราะไม่ได้คิดในเชิง โครงสร้าง ไม่ได้มองแบบองค์รวม (Systematic) กลายเป็นการท�า ตามกระแส แล้วสุดท้ายก็อาจจะไม่ส�า เร็จ เราต้องคิดแบบ องค์รวม ถ้าวิธกี ารในการท�าธุรกิจมีทงั้ หมด 10 ขัน้ ตอน แต่เดิม หากมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นก็ จ ะปรั บ เปลี่ ย นที่ ขั้ น ตอนที่ 8 หรื อ 9 แต่ในปัจจุบนั ต้องเริม่ เปลีย่ นตัง้ แต่ขนั้ ตอนแรก สิง่ นีเ้ ลยกลายเป็น Business as UNusual เป็นการท�าธุรกิจทีไ่ ม่คนุ้ เคย ซึง่ ท�าให้เกิด แนวคิดในการเขียนหนังสือเล่มนีข้ นึ้ มา

ในเล่มมีบทหนึ่งที่พูดถึง ‘การปลูกฝังกรอบความคิดหรือ ทัศนคติ’ ต้องท�าอย่างไร เพราะเป็นเรือ่ งทีย่ ากและท้าทาย อย่างมาก BRANDi พยายามที่ จ ะเป็ น คนตรงกลาง ปิยะชาติ ในการเชือ่ มโลกทีผ่ า่ นมาแล้วกับโลกใหม่ ซึง่ การที่ จะเปลีย่ นแปลงได้จา� เป็นทีจ่ ะต้องเข้าใจทัง้ สองบริบทนี้ และดูวา่ จะสามารถเชือ่ มโยงกันอย่างไร ในอดีตเวลาทีส่ ร้างองค์กรธุรกิจ ก็เพียงจ้างคนเข้ามาและบอกทุกคนว่าการที่บริษัทจะโตได้ต้อง ช่วยกันท�าให้ตน้ ทุนต�า่ หรือบริษทั จะรวยได้ตอ้ งช่วยกันขายของ ให้ได้แพงๆ มีกา� ไรเยอะๆ เพราะฉะนัน้ ในองค์กรไม่วา่ จะมี 10 คน, 100 คน, 1,000 คน หรือ 10,000 คน ล้วนถูกปลูกฝังความคิด แบบนี้มาทั้งหมด ซึ่งข้อดีของธุรกิจหรือเศรษฐกิจแบบอดีตคือ มีความชัดเจน เมือ่ ก่อนไม่วา่ จะประเทศไหนๆ ก็ถามถึงแต่ GDP โตเท่าไหร่ แต่ 10 ปีหลังมานีค้ นไม่ได้ตงั้ ค�าถามว่า GDP โตขึน้ เท่าไหร่แล้ว แต่ถามว่าท�าไมการศึกษาทีป่ ระเทศฟินแลนด์ถงึ ดี ท�าไมประเทศ ในฝัง่ สแกนดิเนเวียถึงมีรถยนต์ไฟฟ้า (EV) ทีด่ มี าก ท�าไมประเทศ สิงคโปร์จึงเป็นประเทศที่มั่งคั่งทั้งที่เป็นประเทศที่เล็ก ท�าไม ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ถงึ มีเสถียรภาพสูง ซึง่ หลายสิง่ หลายอย่าง ไม่ได้เป็นค�าถามที่เกิดขึ้นจากเป้าหมายตัวเดียว คือใครรวย ที่สุดชนะ แต่กลายเป็นการมองในมิติที่กว้างขึ้นที่องค์กรธุรกิจ

2 1


กลับไม่เคยคุยกันในมิตเิ หล่านีเ้ ลย มีแต่การลดต้นทุน เพิม่ รายได้ แล้วอยู่มาวันหนึ่งจะบอกว่าไม่ต้องคิดถึงแต่เรื่องของการท�าก�าไร ก็จะเกิดความสับสนในองค์กร ท�าให้พนักงานไม่กล้าตัดสินใจ ท�าให้บริษทั เกิดความวุน่ วาย ซึง่ ผมเชือ่ ว่าองค์กรไทยทีอ่ ยูใ่ นช่วงของ การเปลีย่ นผ่าน (Transition) เป็นองค์กรทีก่ า� ลังเจอกับความวุน่ วาย ภายในองค์กร คนเริม่ เกิดความสับสนว่าจะก้าวเดินอย่างไรดี เช่น องค์กรต้องลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการ แต่ตวั ชีว้ ดั (KPI) ยังคงวัดผลก�าไรทีเ่ พิม่ ขึน้ แล้วจะเกิดการแลกเปลีย่ นกัน อย่างไร ดังนัน้ จึงต้องจัดชุดความคิดกันใหม่ เรียกว่าการออกแบบ ระบบนิเวศใหม่ (Redesign Ecosystem) ซึง่ ก็คอื คุณค่าทีอ่ งค์กร ออกแบบว่าจะให้เป็นอย่างไร ภาพนีก้ จ็ ะสะท้อนไปในระดับของสังคม ด้วยว่าสังคมจะให้คุณค่ากับอะไร เช่น ในประเทศอินโดนีเซีย หากจะนั่งรถเมล์เราสามารถไม่พกเงินสดแต่พกขวดพลาสติก และน�าขวดพลาสติกหยอดเป็นค่ารถเมล์แทน นัน่ คือวิธกี ารปลูกฝัง ให้คนรูถ้ งึ คุณค่า ไม่ใช่การคุยกันแค่เรือ่ งของขยะ (Waste) แต่กลับ ไม่รวู้ ธิ กี ารสร้างคุณค่าจากขยะ (Waste to Value) และยังเน้นเรือ่ ง ของความสะดวกสบายเป็นหลัก

2 2

เป้าหมายของธุรกิจคือการท�าก�าไร แต่จะสื่อสารอย่างไร ให้ทั้งภาคธุรกิจและคนในสังคมเข้าใจถึงความจ�าเป็นในการ หลอมรวมการท�าก�าไร การดูแลผูค้ น และสิง่ แวดล้อมให้เป็น เรื่องเดียวกัน ผมคิ ด ว่ า ค� า ถามมี ผ ลส� า คั ญ กั บ ค� า ตอบ ซึ่ ง ถ้ า ปิยะชาติ ตัง้ ค�าถามว่าธุรกิจจะท�าอย่างไรทีจ่ ะคืนก�าไรและดูแล เรือ่ งผูค้ น สังคม และสิง่ แวดล้อมได้ ค�าถามนีอ้ าจจะไม่เหมาะสม กับความยัง่ ยืนในปัจจุบนั เพราะบริบทในปัจจุบนั เราต้องมองเห็น ให้ได้ว่า ถ้าวันนี้ธุรกิจแก้ไขเรื่องของสังคมและสิ่งแวดล้อมไม่ได้ แล้วจะสร้างโอกาสใหม่ทางธุรกิจได้อย่างไร เพราะคนท�าธุรกิจ

ไม่ได้มีใครอยากเป็นคนไม่ดี เพียงแต่ในบางครั้งด้วยเป้าหมาย ที่ชัดท�าให้ลืมไปว่าจะต้องแลกกับอะไรบ้าง เพื่อให้สามารถไปถึง เป้าหมายตรงนั้นได้ แต่ ณ วันนี้ไม่สามารถท�าแบบนั้นได้แล้ว สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนไปทั้งหมด และสังคมก็ไม่อยากได้ การท�าแบบฉาบฉวย เช่น การน�าเงินไปบริจาคที่โรงเรียน มีการ ถือป้ายถ่ายรูปเป็นอันเสร็จพิธี ซึง่ สิง่ นีจ้ ะเป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในบริบท ของการท�ากิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ถ้ายังท�าสิ่งนี้ในวันนี้อยู่ ถ้ายังไม่สามารถน�าเข้ามาเป็นกระบวนการธุรกิจได้ ก็จะไม่มที างท�าได้ ในระดับทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง ในปัจจุบันมีธุรกิจมากมายที่พยายามจะแก้ปัญหาสังคมและ สิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นธุรกิจที่เติบโตทางธุรกิจ เช่น ‘Freitag’ แบรนด์กระเป๋าทีน่ า� เอาผ้าใบรถบรรทุก ซึง่ จริงๆ โดยสถานะเป็นขยะ ไปแล้วมาเปลี่ยนเป็นกระเป๋า Freitag ได้คุณค่า 2 อย่าง คือ 1. ได้การสร้างคุณค่าจากวัสดุเหลือใช้ (Waste to Value) และ 2. ได้ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness) ดังนัน้ สามารถยืนยันได้วา่ กระเป๋าใบหนึง่ ของเขาคือ ‘กระเป๋าใบเดียวในโลก’ ซึง่ ท�าให้ Freitag มีรายได้ธรุ กิจมากถึง 7-8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การที่ Freitag ท�าธุรกิจด้วยโมเดลแบบนี้ ท�าให้ได้พื้นที่สื่อแบบที่ไม่ต้องลงทุน เท่ า ไหร่ และถ้ า ต้ อ งลงทุ น เพื่ อ ให้ แ บรนด์ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก ทั่ ว โลก จะต้องเสียต้นทุนเท่าไหร่ ผมว่ามีหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพราะฉะนัน้ ในความเป็นจริงถ้ามองในมุมมองทีใ่ หญ่ขนึ้ เปิดกว้าง ทางความคิดมากขึน้ มองจากค�าว่า ‘ธุรกิจ’ (Business) ไปเป็น ค�าว่า ‘ระบบนิเวศ’ (Ecosystem) ก็จะเห็นว่ามีโอกาสอะไรทีจ่ ะใช้ได้ แบบยิงปืนนัดเดียวได้นกสามตัว ทัง้ ผลก�าไร ผูค้ น และสิง่ แวดล้อม สิง่ ส�าคัญคือการตัง้ โจทย์วา่ ธุรกิจจะตัง้ โจทย์อย่างไร และแต่ละ ธุรกิจก็มีโจทย์ที่ตัวเองต้องตั้งไม่เหมือนกัน บางธุรกิจท�าได้มาก บางธุรกิจท�าได้นอ้ ย ค�าถามคือท�าได้ดขี นึ้ อย่างไร หากเราหาตัวชีว้ ดั ทางการเงินมันก็ชดั เจนในตัวมัน แต่จะวัดอย่างไร เมือ่ พูดถึงอะไร ทีม่ มี ติ ขิ องการสร้างผลกระทบเชิงบวก (Positive Impact) ว่าดีตอ่ ผูค้ น ดีตอ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมอย่างไร เพราะความต้องการของ ผูค้ นทีม่ คี วามผันผวน (Dynamic) อยูต่ ลอดเวลา จึงจ�าเป็นต้อง กลับมาที่เรื่องของเจตนาและกระบวนการว่าพยายามจะท�าอะไร หรือสะท้อนให้เห็นอย่างไรว่าท�าได้ดแี ค่ไหน เช่น คุณ Paul Polman อดีต CEO ของ Unilever ได้นา� สิง่ นีเ้ ข้าไปในกระบวนการ สิง่ ไหนที่ Unilever ท�าได้ดกี บ็ อกว่าอันนีส้ เี ขียว อันไหนทีท่ า� ได้ไม่ดกี บ็ อกว่า อันนีส้ แี ดง แล้วเปลีย่ นสีแดงเป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็นต้องท�า (Call to Action) พร้อมเปิดพืน้ ทีใ่ นการร่วมสร้างสรรค์ของกลุม่ คน (Crowd Sourcing Idea) โดยมีสตาร์ทอัปทัว่ โลกมาช่วยกันแก้ปญ ั หา เกิดเป็นโมเดล แห่งการร่วมมือ (Engagement Model) สิ่งนี้จึงแสดงให้เห็นว่า เมื่อเข้าใจโมเดลว่าระบบนิเวศท�างานอย่างไร ก็จะรู้ว่าจะต้องท�า อย่างไรให้ธรุ กิจเติบโตด้วยวิธคี ดิ แบบนี้ ในฐานะที่ได้เข้าร่วมงานประชุมระดับโลกมากมาย ปัจจุบัน นี้เวทีต่างประเทศให้ความส�าคัญกับเรื่องอะไร และพูดถึง เศรษฐกิจปัจจุบันและอนาคตอย่างไร ผมยกตัวอย่าง ปีนี้ผมเพิ่งไปประชุมประจ�าปีของ ปิยะชาติ World Bank Group และ International Monetary Fund (IMF) ซึง่ เป็นปีที่ 3 ทีผ่ มไปเข้าร่วม สิง่ ทีอ่ ยากสะท้อนให้เห็น คือเวทีนี้เป็นเวทีที่ต้องพูดถึงเรื่องของการเงินมากที่สุดในโลก


แต่สง่ิ ทีพ่ ดู กันจริงๆ กลับไม่มเี รือ่ งของการเงินเลย กลายเป็นเรือ่ งที่ เกีย่ วข้องกับการเงินแทน เช่น จะกระจายเงินอย่างไรให้มปี ระสิทธิภาพ จะเก็บภาษีอย่างไรเพื่อที่จะดูแลเรื่องของสวัสดิการทางสังคมได้ดี จะท�าอย่างไรให้ระบบการเงินเข้าถึงและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น จะท�าอย่างไรให้โครงสร้างเศรษฐกิจปัจจุบนั น�าไปสูโ่ ลกทีน่ า่ อยู่ ในต่ า งประเทศมี ก ารคุ ย กั น ถึ ง เรื่ อ งเหล่ า นี้ ม าสั ก พั ก แล้ ว ก่อนประเทศไทย จนใน 1-2 ปีหลังนี้ในเวทีโลกต่างคุยกันว่า จะเปลีย่ นสิง่ ทีค่ ยุ ให้กลายเป็นผลสัมฤทธิไ์ ด้อย่างไร ทุกคนจึงกลับมา คุยกันทีแ่ กนหลัก (Core) ซึง่ ณ วันนีถ้ า้ จะท�าให้โลกนีเ้ ข้าสูร่ ะดับ ที่ มี ค วามยั่ ง ยื น และน� า ไปสู ่ อ นาคตได้ ในแต่ ล ะปี ต ้ อ งมี ก าร ผลักดันในการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของความยั่งยืนประมาณ 5-7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี ซึ่งเป็นจ�านวนเงินมหาศาลที่รัฐ ไม่สามารถลงทุนเองได้ ต้องเป็นภาคเอกชนทีต่ อ้ งเป็นผูข้ บั เคลือ่ น และรัฐก็ต้องจูงใจให้เอกชนเข้ามาด�าเนินการ นั่นจึงเป็นเหตุผล ที่ ต ้ อ งมาต่ อ จิ๊ ก ซอว์ กั น ใหม่ เพราะนี่ ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ภ าพของ ธุรกิจทีเ่ ป็น Business as UNusual เท่านัน้ แต่คอื การปรับโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจใหม่ทั้งหมด ว่าหลังจากนี้บทบาทของแต่ละคน แต่ละภาคส่วนต้องท�าหน้าทีอ่ ะไรเพือ่ ให้เหตุการณ์นเี้ กิดขึน้ ได้

ดังนัน้ ในเวทีใหญ่ๆ ไม่วา่ จะเป็นเวทีประชุมประจ�าปีของ World Economic Forum (WEF) หรืองานประชุมล่าสุดทีเ่ ราไปเข้าร่วมของ United Nations (UN) ซึง่ คือ High-Level Political Forum on Sustainable Development (HLPF) งานทีร่ วมผูท้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ หมด มาร่วมคุยกันในเวทีสหประชาชาติ ก็ล้วนแต่พูดถึงในประเด็น เหล่านี้ BRANDi เข้าไปอยู่บนเวทีระดับโลกเหล่านี้ได้อย่างไร ผมคิดว่า BRANDi อยูใ่ นองค์ประกอบทีเ่ หมาะสมคือ ปิยะชาติ ไม่ได้เป็นธุรกิจใหญ่ ยังเป็น SMEs ซึง่ ถือเป็นกระดูก สันหลังของเศรษฐกิจโลก ในวันนี้ถ้าต้องท�าธุรกิจให้คนได้รายได้ มากที่สุดในเชิงของปริมาณ ก็ต้องสนับสนุน SMEs เพราะถ้า สนับสนุนบริษทั ใหญ่ๆ ก็จะกระจุก หรือถ้าเป็นธุรกิจขนาดเล็กก็จะ ไม่มคี วามพร้อมในการขับเคลือ่ น ซึง่ การเป็น SMEs ทีม่ าจากประเทศ ก�าลังพัฒนาอย่างประเทศไทย มีโอกาสในการเติบโตได้มากถึงเลข 2 หลัก ในขณะทีป่ หี นึง่ ๆ GDP ของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วจะโตอยู่ ทีเ่ พียง 1-2% เท่านัน้ เหล่านีล้ ว้ นท�าให้เวทีโลกให้ความสนใจ และ ส�าหรับ BRANDi เองนี่คือความภูมิใจอย่างยิ่งที่ได้เข้าร่วมในการ ประชุม High-Level Political Forum on Sustainable Development

2 3


2 46

(HLPF) และเป็นองค์กรธุรกิจรายเดียวที่เป็นตัวแทนกลุ่มภาค ธุรกิจและอุตสาหกรรม (Business & Industry Major Group) และ ได้เข้าไปพูดในห้องประชุม General Assembly ของสหประชาชาติ และด้วยขนาดของ BRANDi ทีไ่ ม่ใหญ่นเี้ องจึงเป็นจุดแข็ง เราไม่ได้ นิยามว่าเราใหญ่หรือเล็ก แต่นยิ ามว่าเรา ‘พอดี’ ซึง่ ผมคิดว่าธุรกิจ ในปัจจุบนั นีก้ ารจะหาความ ‘พอดี’ ของตัวเองได้เป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทาย อย่างมาก ซึง่ ความพอดีนเี้ องทีท่ า� ให้สามารถพูดในสิง่ ทีอ่ ยากท�าได้ เต็มที่ ท�าให้เห็นว่ามีแนวทางที่ดีที่สุดในการทรานส์ฟอร์มแบบ องค์รวม (Systematic Transformation) ซึง่ ในวันนีห้ ากจะเปลีย่ น จากองค์กรทีท่ า� ธุรกิจทีใ่ ห้ความส�าคัญกับผลก�าไรเพียงอย่างเดียว สู่การเป็นองค์กรที่มีความพร้อมส�าหรับอนาคต (Future-ready) ทีม่ เี รือ่ งของทัง้ ผลก�าไร ผูค้ น และสิง่ แวดล้อมอยูใ่ นนัน้ จ�าเป็นต้อง ท�าการทรานส์ฟอร์มแบบองค์รวม และไม่ได้ทา� เฉพาะแค่ในระดับ ขององค์กร แต่เป็นในระดับทีใ่ หญ่มากกว่านัน้ เราต้องการเห็นเมือง ที่มีความพร้อมส�าหรับอนาคต (Future-ready City) ซึ่งผมได้มี โอกาสคุยเรื่องนี้ในการประชุม 8th Asia-Pacific Urban Forum ของ United Nations (UN) ทีป่ ระเทศเกาหลี ซึง่ มีการคุยกันเรือ่ ง ของการขยายตัวของเมือง (Urbanization) เราก�าลังคุยกันว่าเมือง ต้องพัฒนา เพราะเมืองมีการเปลีย่ นไปมาก ทัง้ เมืองทีม่ คี นท�างาน น้อยลง มีอัตราการเกิดของประชากรลดลง ผู้สูงอายุต้องการ การดูแลมากขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น การวางโครงสร้างบ้านเรือน ทีอ่ ยูอ่ าศัย พืน้ ทีส่ ว่ นกลาง พืน้ ทีส่ เี ขียว ระบบสวัสดิการต่างๆ ล้วน ต้องมีการเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก จึงต้องการเมืองทีม่ คี วามพร้อม ส�าหรับอนาคต (Future-ready City) และเมือ่ มองในมุมของประเทศ ที่มีการเปลี่ยนแปลงไป รัฐก็ต้องมีนโยบายในการสนับสนุนให้ เอกชนเข้ามาลงทุน เปลีย่ นการสวมหมวกของหน่วยงานก�ากับดูแล (Regulator) สู่การสวมหมวกของผู้สนับสนุน (Facilitator) ที่สนับสนุนเอกชนแทน ทั้งนี้ กรอบความคิดและทัศนคติที่ใช้ใน การเป็นผูส้ นับสนุนไม่ใช่เรือ่ งง่าย จะท�ายังไงให้เอกชนสามารถเติบโต ได้โดยที่ไม่เข้าไปก�ากับแต่เป็นการชี้แนะในพื้นที่ที่ควรชี้แนะและ ก�ากับในพื้นที่ที่ควรก�ากับ นั่นคือการท�าให้เกิดประเทศที่พร้อม ส�าหรับอนาคต (Future-ready Country) อย่างสมบูรณ์ ทั้งหมดที่กล่าวไปนี้ โดยรวมแล้วถือเป็นสมการที่ BRANDi ได้ดา� เนินการมาตลอดระยะเวลา 11 ปี และเป็นสิง่ ทีพ่ ยายามท�าให้ เห็นว่า BRANDi เป็นหนึ่งองค์กรที่มีความตั้งใจที่จะท�าสิ่งเหล่านี้ อย่างจริงจัง ซึ่งสามารถดูได้จาก Sustainable Development Goals (SDGs) ทัง้ 17 ข้อทีเ่ ราสามารถท�าได้ครบทุกข้อ ท�าให้เวที ต่างประเทศมองเห็นและ BRANDi เองก็ดใี จทีไ่ ด้มโี อกาสไปพูดอะไร บางอย่างบนเวทีโลกว่าหลังจากนีเ้ ราอยากเห็นภาคธุรกิจมีบทบาท ในการขับเคลือ่ นไปสูก่ ารเติบโตในมิตขิ องค�าว่าครอบคลุมและยัง่ ยืน (Inclusive and Sustainable) และเมือ่ มีคนโตไปกับธุรกิจมากยิง่ ขึน้ สิง่ ทีไ่ ด้กลับมาคือความยืดหยุน่ (Resilience) ซึง่ ก็คอื ความพร้อม ส�าหรับอนาคต (Future-ready) นัน่ เอง ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ ชัดขึ้น เมื่อธุรกิจด�าเนินไปและวันหนึ่งต้องเจอกับ COVID-19 ท�าให้เกิดสถานการณ์ Do or Die ซึง่ บางธุรกิจไปต่อไม่ได้ บางธุรกิจ ไปต่อได้ ท�าให้เห็นว่าความพร้อมส�าหรับอนาคต (Future-ready) ของแต่ละองค์กรมีตา่ งกัน และการเติบโตอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Growth) คือการเติบโตที่เติบโตแล้วยังมีอนาคตให้เติบโตต่อ เพราะฉะนัน้ ในเรือ่ งของความคิดจึงต้องเป็นความคิดทีม่ องทุกอย่าง

เติบโตไปพร้อมกัน เช่น การท�าโรงงานกระดาษต้องตัดต้นไม้มาท�า กระดาษ จนวันหนึ่งพบว่าไม่มีต้นไม้หลงเหลืออยู่แล้ว ท�าให้ธุรกิจ ไม่สามารถเติบโตต่อได้ ซึ่งธุรกิจเองก็ไม่เคยคิดถึงเรื่องนี้มาก่อน เพราะตอนนั้นต้นไม้ยังมีเยอะ ดังนั้น ธุรกิจจึงต้องกลับมามองว่า ท�าอย่างไรทีจ่ ะท�าให้เติบโตไปพร้อมกับธุรกิจและมีความยัง่ ยืน BRANDi ให้ค�าปรึกษาลูกค้าในโจทย์ที่ซับซ้อนและจับต้อง ได้ยาก เรามีวิธีน�าเสนอกับลูกค้าอย่างไร ทุ ก ครั้ ง ที่ ผ มคุ ย กั บ สื่ อ ในประเทศไทย ทุ ก คนลง ปิยะชาติ ความเห็นว่าเป็นเรือ่ งยากและจับต้องได้ยาก ผมตอบ 2 อย่าง คือ อย่างทีห่ นึง่ สิง่ ทีก่ า� ลังท�าอยูไ่ ม่งา่ ยอยูแ่ ล้ว เพราะถ้า โจทย์ทางธุรกิจมันง่าย บริษทั ทีป่ รึกษาก็จะไม่มที ยี่ นื แน่นอน ซึง่ โจทย์ ในธุรกิจปัจจุบุ นั นีย้ ากขึน้ ผมจึงไม่ได้พดู ถึงการท�าของง่าย แต่กา� ลังพูด ถึงการท�าของยากแบบมีทศิ มีทางและมีโครงสร้าง ดังนัน้ ผมจะไม่เคย บอกใครว่าเราจะมาท�าอะไรที่เห็นภาพชัด ผมพูดกับทุกคนที่ผมมี


โอกาสได้คยุ ด้วยทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศว่าการเปลีย่ นแปลง ครัง้ นีต้ อ้ งการผูน้ า� ทีม่ วี สิ ยั ทัศน์ ต้องการผูน้ า� ทีม่ าคุยกันแล้วเห็นภาพ ว่าก�าลังท�าอะไร เพื่อที่จะน�าไปสู่อะไร ซึ่งแน่นอนว่าเป็นเรื่องที่ยาก อย่างทีส่ อง ค�าว่านามธรรม ผมคิดว่าค�าๆ นีก้ า� ลังถูกกะเทาะเปลือก เรื่อยๆ ให้แตก เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมามีการจัดงาน United Nations General Assembly (UNGA) ทีน่ วิ ยอร์ก หลังจากนัน้ ไม่นาน ก็เกิดน�า้ ท่วมใหญ่ทงั้ เมือง นอกจากนีผ้ มเองเพิง่ เดินทางกลับมาจาก ประเทศโมร็อกโก ซึง่ ในเวลากลางวันอุณหภูมสิ งู ถึง 40 องศาเซลเซียส ส่วนเวลากลางคืนอุณหภูมติ า�่ เพียง 20 องศาเซลเซียส ค�าถามคือเรา สามารถรับรูถ้ งึ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เหล่านีไ้ ด้มากน้อยขนาดไหน รวมไปถึงเหตุการณ์ที่ประเทศโมร็อกโกเพิ่งจะเกิดแผ่นดินไหวครั้งที่ ใหญ่ท่ีสุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ เรื่องเหล่านี้เริ่มใกล้ตัวมากขึ้น ซึ่งเมื่อเห็นปัญหาชัดขึ้นและรู้ในจุดที่ยืนชัดขึ้น สิ่งที่ก�าลังพูดว่าเป็น นามธรรมจึงเป็นเรือ่ งของกระบวนการ และสิง่ นีค้ อื จุดที่ BRANDi เก่ง นีค่ อื จุดทีผ่ มพยายามท�าให้คนทีเ่ ข้ามาคุยด้วยได้เห็นในสิง่ ทีพ่ วกเขา

ยังมืดแปดด้าน ยกตัวอย่างเช่น ธุรกิจพลังงานก็จะไม่ได้มาถามว่า จะท�าอย่างไรให้ผลิตน�า้ มันได้มากขึน้ เพราะเขาช�านาญด้านนีม้ ากกว่า แต่จะถามว่าถ้าวันนี้ธุรกิจน�้ามันหายไป เขาจะโตจากธุรกิจอะไร อะไรคืออนาคตที่ควรจะเป็น โดยต่อยอดจากสิ่งที่เขามีอยู่เป็น ต้นทุนเดิม ซึง่ นัน่ คือความท้าทายทีเ่ ขาเองก็มองไม่ออก แต่ BRANDi อยูก่ บั สิง่ เหล่านีม้ ากว่า 10 ปี อยูก่ บั การเปลีย่ นสิง่ เหล่านีใ้ ห้กลายเป็น โครงสร้างทีจ่ บั ต้องได้อย่างชัดเจน ซึ่งเวลาคนถามเราว่าเราท�าธุรกิจให้ขับเคลื่อนด้วยความยั่งยืน เป็นศูนย์กลางได้อย่างไร เราแสดงให้เห็นผ่าน BRANDi HopeQuarter ซึง่ ทัง้ เบาะ ทีน่ ง่ั โต๊ะ และวัสดุอน่ื ๆ ในพืน้ ทีเ่ กิน 80% ผลิตขึน้ จาก วัสดุรไี ซเคิล เรียกได้วา่ เอาขยะมาท�าแทบจะทัง้ หมด เราพยายาม ท�าให้คนเห็นภาพด้วยการสาธิตให้เห็นว่าจริงๆ แล้วมันไม่ใช่เรือ่ งที่ มองไม่เห็นและจับต้องไม่ได้ แต่ต้องอาศัยการจินตนาการและ มองไปข้างหน้าประมาณหนึ่ง เพราะไม่ได้มีค�าตอบที่ถูกต้องที่สุด เพราะฉะนั้นผู้น�าที่คุยกับเราและเห็นสิ่งที่เราพยายามเชื่อมโยงกัน คือผูน้ า� ทีเ่ ข้าใจว่าเราจะสามารถเปลีย่ นสิง่ ทีม่ องไม่เห็นและจับต้อง ไม่ได้ ให้กลายเป็นสิง่ ทีค่ นเห็นแล้วมีความหวัง (Hope) และเห็นว่า มีโครงสร้างในการเดินไปข้างหน้าได้อย่างไร ทั้งนี้ ในตลาด ต่างประเทศบทสนทนาเหล่านี้ล้วนเป็นบทสนทนาที่เป็นปกติแล้ว แต่ในประเทศไทยเองก็ยงั เป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทายอยู่ อยากจะบอกอะไรกับผู้น�าองค์กรที่ได้อ่านบทสัมภาษณ์นี้ ผมคิดว่าพวกเขาก�าลังเหนื่อย เพราะว่าภาคธุรกิจ ปิยะชาติ ต้องรับอะไรมากกว่าทีผ่ า่ นมา หลายเรือ่ งทีต่ อ้ งใส่ใจ ก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกับธุรกิจโดยตรง เหมือนก�าลังปิดตาชกมวย ต้องเดินไปสู่สิ่งที่ไม่คุ้นเคย ทั้งที่ยังไม่เห็นปลายทาง ก�าลังคน ก็ตอ้ งใช้ เงินก็ตอ้ งใช้ แล้วก็พยายามอย่างหนักในการหาธุรกิจทีส่ อง ทีจ่ ะต่อยอดได้ มันคืออะไร วันนีส้ งิ่ ทีผ่ มอยากชวนผูน้ า� องค์กรในภาคธุรกิจท�า คือใช้เวลากับ การตัง้ ค�าถามทีถ่ กู ต้อง ค�าถามทีว่ า่ เราจะต้องให้ความส�าคัญกับผูค้ น และสิง่ แวดล้อมหรือไม่ คงไม่จา� เป็นต้องถามแล้ว ผมว่าเบอร์หนึง่ องค์กรในประเทศรูแ้ ล้ว แต่คา� ถามทีน่ า่ สนใจ คือจะท�าอย่างไรทีจ่ ะให้ ธุรกิจของเราเติบโตและแข็งแกร่งภายใต้สถานการณ์ในปัจจุบัน หรือมีอะไรมาทดแทนสิง่ ทีม่ อี ยูเ่ ดิมแล้วเติบโตต่อไปได้ ค�าถามทีถ่ กู จะส�าคัญมากกว่าการลองค�าตอบหลายๆ ค�าตอบ ทีอ่ าจจะไม่นา� ไปสูอ่ ะไรเลย นอกจากการสูญเสียทรัพยากร การติด กระดุมเม็ดแรกให้ถูกจึงส�าคัญอย่างยิ่ง และจะเป็นเรื่องที่ดีต่อ ประเทศไทยในอนาคต ถ้าภาคธุรกิจสามารถแก้ปัญหาสังคมและ สิง่ แวดล้อมไปพร้อมกับท�าก�าไร นีค่ อื จังหวะเวลาทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ทีจ่ ะต้องท�า เพราะไม่สามารถ รอไปอีก 5 ปี หรือ 10 ปี ได้อกี แล้ว เหมือนกับชือ่ หนังสือทีผ่ มชอบ เล่มหนึง่ ซึง่ คือ ‘Only the Paranoid Survive’

2 5


: Diesel

: Balenciaga

Next in 2024

เทรนด์ทยี่ งั คงจะโดดเด่นในปี 2024 แม้สไตล์สปอร์ตจะไม่หา่ งหายไปไหน บนรันเวย์ไม่วา่ จะซีซนั ไหนก็ตาม จะยังคงเห็นเสือ้ ผ้าสไตล์สปอร์ตอยูเ่ สมอ เนือ่ งด้วยเป็นเสือ้ ผ้า ทีส่ วมใส่งา่ ยและใช้งานได้จริงมากทีส่ ดุ ในวิถชี วี ติ ปัจจุบนั แต่สไตล์สปอร์ตก็มวี วิ ฒ ั นาการของมัน มีความนิยม ในแต่ละรูปแบบแตกต่างกันไป เช่นเดียวกันกับในปี 2024 นี้ ทีส่ ไตล์สปอร์ตมาพร้อมกับเสือ้ การแข่งขันกีฬา ทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ ทีเ่ ห็นได้ตงั้ แต่ในปี 2023 ก็คอื เสือ้ ทีมฟุตบอล ทีท่ งั้ ทีมฟุตบอลเองพยายามสร้างสรรค์ ให้มคี วามเป็นแฟชัน่ เข้าไปด้วย หรือการหยิบเอารูปแบบ ของเสือ้ ทีมฟุตบอลมาท�าเป็นเสือ้ แฟชัน่ เหมือนกับ Louis Vuitton, Moromoro, Mowalola รวมไปถึงเสือ้ ในแบบอเมริกนั ฟุตบอล หรือฮอกกี้ เช่น Dsquared2, Benetton รวมไปถึงเสือ้ ของนักแข่งรถ หรือการใช้ลวดลายกราฟิกฉูดฉาดเหมือนกับเสือ้ แข่งรถ เช่น Balenciaga หรือ Diesel

Sport

: Dsquared2

Next 2024 Style

What's

2 6

: Benetton

: Mowalola

โลกแฟชัน่ ในปี มีอะไรให้ตดิ ตาม !

: Louis Vuitton

: Santichai Apornsri

: Moromoro : Alive and More


: Moromoro

: Ferrari

: Diesel

: Y/Project

: Balenciaga

: Versace

: Louis Vuitton

การกลับมาของ Diesel ทีท่ า� ให้โลกแฟชัน้ สัน่ สะเทือนอีกครัง้ โดยเฉพาะโลโก้รปู ตัว D ทีก่ ลาย เป็นของเก๋ประจ�าปีไปแล้ว ไม่วา่ จะมาในรูปแบบของเข็มขัด เสือ้ หรือกระเป๋า แต่ Diesel ก็ไม่ได้มไี อเทมฮิตแค่กระโปรง เข็มขัด หรือเสือ้ กล้ามฉลุโลโก้รปู ตัว D เท่านัน้ แต่ยงั น�าเอาเทรนด์การใส่เดนิม ในแบบเดนิมออนเดนิมกลับมาอีกครัง้ เสริมทัพด้วย Calvin Klein ทีม่ าพร้อมแบรนด์แอมบาสซาเดอร์ระดับโลก อย่าง Jungkook ท่ที่ า� ให้ใครๆ ก็หนั กลับมาใส่เดนิมอีกครัง้ ในปี 2024 เทรนด์เดนิมจะกลับมาอีกครัง้ ในรูปแบบการใส่โททัลลุคหรือเดนิมออนเดนิมทัง้ ชิน้ บนชิน้ ล่าง มากไปกว่านัน้ จะได้เห็นเดนิมทีแ่ ปลกตาไปมากกว่าเดิม การฟอกสีทที่ า� ให้ดพู เิ ศษยิง่ ขึน้ และเทคนิค แพตเทิร์นต่างๆ ที่จะท�าให้การสวมใส่เดนิมไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แน่นอนว่ายังคงมาในรูปแบบงานโอเวอร์ไซส์ เห็นได้จากรันเวย์ของ Louis Vuitton, Diesel, Ferrari, Balenciaga หรือ Y/Project : Marine Serre

Denim

: Dsquared2

: Fendi

: JW Anderson

: Dries Van Noten

: Coach

: Isabel Marant : PONDER.ER

ในปี 2023 หนึง่ ในเทรนด์ฮติ แห่งปีกเ็ สือ้ ผ้าถักโครเชต์ หรือผ้านิต ผ้าไหมพรมต่างๆ ทีก่ ลายเป็นยูนฟิ อร์มหลักของหนุม่ ๆ ในช่วงหน้าร้อน และดูเหมือนว่านวัตกรรมการสร้างเส้นใยผ้าในแบบต่างๆ ทีม่ าจากการรีไซเคิลจะยิง่ ท�าให้เทรนด์นี้ ได้รบั ความนิยมและโดดเด่นมากยิง่ ขึน้ ทัง้ การพัฒนารูปแบบ สีสนั ของเส้นใยทีน่ า� มาใช้ รวมไปถึงแพตเทิรน์ โครงชุดต่างๆ ทีส่ ามารถน�าเอา ลักษณะของผ้าเหล่านีม้ าใช้ได้ และแน่นอนว่าในซัมเมอร์ปี 2024 เสือ้ ผ้าโครเชต์หรือการถักนิตตัวบางทัง้ หลายจะกลับมาอีกครัง้ ทัง้ ในรูปแบบคล้ายๆ เดิมอย่างใน Dries Van Noten, Marine Serre หรือ Coach แต่กจ็ ะมีการพัฒนาไปสูร่ ปู ทรงต่างๆ ทีน่ า่ สนใจ อย่างเชิต้ ตัวยาวในแบบ Fendi การผสมผสาน กับผ้าในเทกซ์เจอร์อนื่ ๆ ในแบบ Marine Serre หรือความโดดเด่นของเทคนิคในการสร้างสรรค์เนือ้ ผ้า การถักในแบบ JW Anderson

Crochet

การกลับมาเป็นผูน้ า� เทรนด์ของ Mugler ส่งให้เกิดผลกระทบทีส่ า� คัญอย่างหนึง่ ต่อโลกแฟชัน่ นัน่ ก็คอื เสือ้ ผ้าในแบบบอดีส้ ทู หรือชุดแนบเนือ้ เว้าตรงนัน้ ตรงนี้ โชว์เรือนร่างทัง้ หลาย และทีน่ า่ สนใจ ไปมากกว่านัน้ ก็คอื เทรนด์นไี้ ม่ได้จา� กัดเฉพาะเสือ้ ผ้าผูห้ ญิง แต่นั่นท�าให้เสื้อผ้าของผู้ชายเปลี่ยนไปด้วย เหมือนที่ได้เห็น พีพ-ี กฤษฏ์ หรือแจ็คสัน หวัง สวมใส่นนั่ แหละ ในปี 2024 เทรนด์เสือ้ ผ้าผูช้ ายทีม่ คี วามเซ็กซีจ่ ะยิง่ มีมากขึน้ ไปอีก ตัง้ แต่การสวมใส่เสือ้ ท่อนบนรัดๆ เพือ่ โชว์รปู ทรง ของกล้ามเนือ้ กับกางเกงทรงโอเวอร์ไซส์ ซึง่ ถือเป็นเบสิก เรือ่ ยมาจนถึงเสือ้ ผ้าลูกไม้ หรือผ้าซีทรูทเี่ ปิดเผยให้เห็นเนือ้ หนัง มากขึน้ ครอปท็อป เอวลอย เสือ้ คอเว้าลึก ไปจนถึงเสือ้ ผ้า ทีม่ ลี กู เล่น ดีเทล การคัตเอาต์ ซึง่ จะเห็นได้ใน Diesel, Coperni, LaQuan Smith หรือ Dion Lee

Sexy

: Diesel

: Coperni

: LaQuan Smith

: Dion Lee


: Marine Serre

เทรนด์ผชู้ ายใส่กระโปรง เป็นเทรนด์ทมี่ มี าเรือ่ ยๆ ด้วยกระแส การสวมใส่เสือ้ ผ้าในแบบไร้เพศ แต่กย็ งั ไม่ได้รบั ความนิยมแบบถึงทีส่ ดุ หรือในระดับแมส แต่ในปี 2024 นี้ เทรนด์นี้อาจจะกลับมา ฮิตมากกว่าเดิมก็เป็นได้ เพราะไอดอล ชายหลายคนได้โอบรับเอาเทรนด์นี้ไว้ โดยเฉพาะ Jungkook ในมิวสิกวิดโี อ Too Much ทีส่ วมใส่กระโปรงยีนส์ ผ่าหน้าชายรุย่ ทับกับกางเกงยีนส์อกี ชัน้ หนึง่ และนีแ่ หละคือสไตล์การใส่กระโปรง ในปี 2024 นี้ ซึง่ เห็นสไตล์ทคี่ ล้ายคลึงกันนีบ้ นรันเวย์ : Rokh ของ Diesel ทีส่ วมกระโปรงทับกางเกง เช่นเดียวกันกับใน Rokh ทีใ่ ช้กระโปรงป้ายพันรอบกางเกง อีกทีหนึง่ เทรนด์กระโปรงป้าย ในแบบใส่เดีย่ วๆ ยังเห็นได้ ใน Marine Serre และ Y3 นอกจากนีย้ งั มีกระโปรง ผ่าหน้าในแบบ GCDS กระโปรงผ้าตัดต่อในแบบ Balenciaga และกระโปรงผ้า เดนิมในแบบ PONDER.ER

Skirt

Y3 :

: Balenciaga

: Diesel

: PONDER.ER : GCDS

Workwaer

: Jacquemus

ความฮิตของการเกงคาร์โก ในปี 2023 ทีก่ ลายเป็นเทรนด์ระดับโลก ไม่จา� กัดเฉพาะหัวเมืองแฟชัน่ เท่านัน้ แต่ยงั ระบาดไปสูท่ วั่ ทุกท้องถนน ทัง้ เสือ้ ผ้าในระดับไฮเอนด์ไปจนถึง สตรีทแบรนด์ รวมไปถึงประเทศไทยด้วย เช่นเดียวกัน จะท�าให้ถกู น�ามาดัดแปลง พลิกแพลงต่ออีกครัง้ ในปี 2024 ในรูปแบบของเสือ้ ผ้าสไตล์เวิรก์ แวร์ ทีม่ คี วามสนุกสนานและแปลกตามากขึน้ โดยเฉพาะฟังก์ชนั ของกระเป๋า ซึง่ เป็นจุดเด่นของเสือ้ ผ้าเวิรก์ แวร์จะถูก น�ามาใช้กบั การผสมผสานกับเสือ้ ผ้า ในสไตล์อื่นๆ อย่างชุดสูทใน Sacai การน�าไปใช้กบั เดนิมในแบบ Ferrari การเปลีย่ นแมตทีเรียลเป็นหนังในแบบ Louis Vuitton ผ้าร่มในแบบ Dries Van Noten หรือการน�าไปใช้ในรูปแบบ แอคเซสโซรีในสไตล์ Givenchy หรือเสือ้ กัก๊ ของ Jacquemus

: Ferrari

: Givenchy

: Dries Van Noten

: Y3

: Sacai

: Mowalola

: Louis Vuitton

: Marine Serre

: Versace


: Diesel

: Prada

ในปี 2023 รูปทรงของแว่นกันแดดทีก่ ลายเป็นเทรนด์คอื แว่นรูปทรง แบบตาของไอ้มดแดง หรือตาของสไปเดอร์แมน ซึง่ คือ ทรงวงรีเฉียงเหมือนกับแว่นสไตล์สปอร์ตของ Oakley ทีถ่ กู หยิบจับมาท�าใหม่ และแน่นอนว่า ผูน้ า� เทรนด์นนั้ ก็คอื Balenciaga และดูเหมือนว่าเทรนด์นจี้ ะยังคงได้รบั ความนิยม อย่างต่อเนือ่ งในปี 2024 เพราะมองไปยังรันเวย์ไหนเราก็จะเจอตาไอ้มดแดงเต็มไปหมด Balenciaga เองซึง่ เป็นผูน้ า� เทรนด์แว่นตากันแดดทรงนีก้ ย็ งั คง ผลิตรูปทรงนี้ออกมาอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการน�าเสนอรูปทรงใหม่ๆ ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกันคือโค้งแนบไปกับใบหน้า อย่างแว่นทรงหน้ากาก อินทรีแดงก็เป็นหนึง่ ในนัน้ ทรงคล้ายๆ กันนีย้ งั เห็นใน Diesel หรือทรงทีด่ คู ล้ายกับแว่นตาด�าน�า้ ในขนาดทีด่ เู ล็กกว่าหรือแว่นตาว่ายน�า้ ก็มใี ห้เห็นในแบบ Versace, Zegna หรือ Louis Vuitton ในขณะที่ Prada นัน้ มาในแบบเลนส์ใส

Sunglasses

: Balenciaga

: Zegna

: Balenciaga

: Balenciaga

: Coperni

: Dior

: Louis Vuitton

: Fendi

: Miu Miu

: Versace

ในขณะทีเ่ ทรนด์อนื่ ๆ มาแล้วก็ไป แต่เทรนด์และ ความนิยมนีย้ งั คงเติบโตมากขึน้ เรือ่ ยๆ ก็คอื รองเท้าสนีกเกอร์ ปี 2023 ตลาดรองเท้าสนีกเกอร์มมี ลู ค่าสูงถึง 72.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และคาดว่าจะเติบโตถึง 100,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2026 ไม่วา่ จะรันเวย์ แบรนด์ไหน รองเท้าสนีกเกอร์คอื ไอเทม Must Have ทีแ่ บรนด์ตอ้ งมี พอๆ กับการต้องสร้างสรรค์กระเป๋า IT Bag ประจ�าซีซนั ให้ได้ และแน่นอนว่าหากเป็นรองเท้าสนีกเกอร์ในแบบแบรนด์แฟชัน่ ไฮเอนด์ คงไม่มแี บรนด์ไหนจะขายดีไปกว่า Balenciaga อีกแล้ว และ Balenciaga ก็มาพร้อมรุน่ ใหม่ Cargo ทีด่ คู ล้ายกับรุน่ Triple S และรุน่ Trainer ทีพ่ นื้ หนา รูปทรงใหญ่เทอะทะ ซึง่ รูปทรงคล้ายกันนีย้ งั เห็นได้ใน Diesel ในขณะที่ Coperni เลือกความเพรียวบางกับสนีกเกอร์รนุ่ ใหม่ ทีเ่ ป็นงานคอลแลบกันกับ PUMA หรือ Miu Miu เองก็เอางานคอลแลบ กับ New Balance กลับมาอีกครัง้ Loewe ก็มาพร้อมสนีกเกอร์ รุ่นแรกของแบรนด์ ในขณะที่ Fendi เป็นไฮบริดผสมผสานทั้งสนีกเกอร์ คร็อก และสลิปออนไว้ดว้ ยกัน

Sneakers

Loewe :

2 9


Next to Watch Dion Lee

EGONlab ทีจ่ ริง Dion Lee ไม่ใช่ดไี ซเนอร์หน้าใหม่ เขาเดบิวต์ คอลเลกชันแรกตัง้ แต่ปี 2009 ที่ Australia Fashion Week และได้มาโชว์ที่ London Fashion Week ในปี 2012 และเข้ารอบสุดท้าย International Woolmark Prize แต่งานที่ โดดเด่นและเริม่ สร้างชือ่ เสียงในระดับนานาชาติ เกิดขึน้ ในปี 2013 ในโชว์ New York Fashion Week กับคอลเลกชันทีป่ ระดับประดา ไปด้วยคริสตัลจากสวารอฟสกี รวมไปถึง การที่ เมแกน มาร์เคิล ดัชเชสแห่งซัสเซกซ์สวมใส่ เสือ้ ผ้าจากแบรนด์ของเขา ความโดดเด่นของเสือ้ ผ้าของ Dion Lee ก็คอื โครงชุดทีค่ มเฉียบตัดเย็บอย่างเรียบเนีย้ บ มีความโมเดิรน์ สูง แต่ในขณะเดียวกัน ก็แฝงไปด้วยความเย้ายวนและสวมใส่ ได้จริง แม้จะเริม่ ต้นด้วยเสือ้ ผ้าผูห้ ญิง แต่เมื่อเขาเริ่มออกแบบไลน์เสื้อผ้า ผูช้ ายควบคูไ่ ปด้วย กลับกลายเป็นว่า เสือ้ ผ้าผูช้ ายของเขานัน้ มีความโดดเด่น อย่างมาก ความคมเฉียบของดีไซน์ ยังคงเป็นพืน้ ฐานหลักเช่นเดียวกันกับ การสวมใส่ได้จริง แต่สงิ่ ทีท่ า� ให้ ดูโดดเด่นขึน้ มาก็คอื การเพิม่ ความเย้ายวนและสไตล์ทโี่ มเดิรน์ จ๋า จนท�าให้เป็นเสือ้ ผ้าส�าหรับผูช้ ายยุคใหม่ ทีโ่ ดดเด่นและมีเอกลักษณ์

3 2

สิง่ ทีน่ า่ สนใจของเบรนด์ EGONlab ก็คอื 2 ดีไซเนอร์ Florentin Glémarec และ Kevin Nompeix ต่างไม่มใี ครร�า่ เรียน แฟชัน่ หรือมีทกั ษะในการตัดเย็บ ท�าแพตเทิรน์ หรือท�าเสือ้ ผ้ามาโดยตรง และทีน่ า่ สนใจไปมากกว่านัน้ ก็คอื ความโดดเด่นของ แบรนด์คอื งานเทเลอริง ซึง่ ต้องอาศัยทักษะ ในการตัดเย็บอย่างสูง ซึง่ เขาบอกว่าได้เรียนรู้ มาจากเหล่าเอเตลิเยอร์ ในปารีสทีท่ า� เสือ้ ผ้า ให้กบั พวกเขานัน่ เอง แต่คา� ว่าเทเลอริงของ EGONlab ก็ไม่เหมือนใคร เสียด้วย ด้วยเพราะวิชนั ทีโ่ ดดเด่นในการก่อตัง้ แบรนด์ทนี่ า� เอางานเทเลอริงมาผสมผสาน กับแอตติจดู ในแบบพังก์ พร้อมด้วย แนวคิดในการแหกขนบ และท้าทาย รูปแบบของเสือ้ ผ้าว่าไม่ควรยึดติดกับ กฎเกณฑ์ใดๆ ในขณะเดียวกันก็ทดลอง เพือ่ หารูปแบบส�าหรับอนาคต ท�าให้เสือ้ ผ้า ของ EGONlab ทีแ่ ม้จะเป็นชุดสูท เทเลอร์สดุ เนีย้ บ แต่กลับแฝงไปด้วย แอตติจูดที่ไม่เหมือนกับงานสูทในแบบ Savile Row ของอังกฤษ และเมือ่ เขา น�าเอางานเทเลอริงมาใช้กับรูปแบบอื่นๆ แมตทีเรียลอืน่ ๆ จึงยิง่ เพิม่ ความน่าสนใจ ให้กบั เสือ้ ผ้าได้อย่างมหาศาล


ดี ไซเนอร์ที่ต้องจับตามองในปี 2024 LaQuan Smith LaQuan Smith ได้ชอื่ ว่า Future of New York เขากลายเป็นดีไซเนอร์ชื่อดัง ไปแล้ว ด้วยผลงานทีท่ า� ให้ กลายเป็นทีร่ กั ของ เซเลบริตคี นดังใน วงการฮอลลีวดู มากมาย ทัง้ Beyonce, Megan Thee Stallion, Khloe Kardashian, Kylie Jenner โดดเด่นด้วย เอกลักษณ์เสือ้ ผ้า สไตล์บอดีส้ ทู ทีส่ นุกสนาน มีสสี นั เซ็กซี่ และซูเปอร์ แฟชั่น เป็นเสื้อผ้าสร้าง เอกลักษณ์แก่ผสู้ วมใส่ และท�าให้ผู้ใส่นั้น หรูหราราวกับ เซเลบริตบี นพรมแดง แต่นนั่ คือเสือ้ ผ้า ผูห้ ญิงในแบบของ LaQuan Smith และ เมือ่ เขาเริม่ มาออกแบบ ไลน์เสือ้ ผ้าผูช้ าย ควบคูไ่ ปด้วย จึงได้เห็น สิง่ ทีไ่ ม่แตกต่างกัน ยืนพืน้ ด้วยความเซ็กซี่ และไม่ประนีประนอม กับความเป็นผูช้ าย ในแบบเดิม ในขณะเดียวกัน ก็เห็นความพยายาม ในการผสมผสานเสือ้ ผ้าทีม่ ี ความเป็นสตรีทสไตล์เข้ามา ร่วมกับความหรูหราในสไตล์ ของเขา แม้นจี่ ะเป็นเพียงจุดเริม่ ต้น เล็กๆ ในการออกแบบเสือ้ ผ้าผูช้ าย แต่จากการทีป่ ระสบความส�าเร็จอย่างมาก จากไลน์เสือ้ ผ้าผูห้ ญิง การเติบโตของ ไลน์เสือ้ ผ้าผูช้ ายในอนาคตของ LaQuan Smith คือสิง่ ทีน่ า่ จับตามอง เป็นอย่างยิง่

Peter

Do

ความโมเดิรน์ มินมิ ลั คือ เอกลักษณ์สา� คัญของ Peter Do และไม่แปลกใจเลยเพราะเขาท�างาน กับ Phoebe Philo ที่ Celine เจ้าแม่แห่งสไตล์มนิ มิ ลั มาก่อน และนัน่ ท�าให้เขาได้รบั รางวัล LVMH Prize รวมไปถึงการเสนอชือ่ เข้าชิงรางวัล CFDA Award อีกด้วย จนได้รบั ฉายาว่าเขา จะเป็นเจ้าพ่อมินมิ ลั ลิสต์คนต่อไปในวงการ แฟชัน่ และเมือ่ เขาเริม่ ท�าไลน์เสือ้ ผ้าผูช้ าย สิง่ นัน้ ก็ยงิ่ เด่นชัดมากยิง่ ขึน้ สิง่ ทีน่ า่ สนใจของคอลเลกชันเสือ้ ผ้า ผูช้ ายของ Peter Do ก็คอื ดีไซน์แทบจะ ไม่แตกต่างจากคอลเลกชันเสือ้ ผ้าผูห้ ญิง โดยทีเ่ ขาไม่จา� เป็น ต้องพูดว่ามันคือเสือ้ ผ้าไร้เพศ ความมินมิ ลั แต่เฉียบคม ของคัตติงยังเป็นพืน้ ฐานของเสือ้ ผ้า ผสมผสานไปกับดีเทล ทีท่ า� ให้ความมินมิ ลั นัน้ น่าสนใจมากขึน้ ไม่วา่ จะเป็นคัตติง หรือแพตเทิรน์ ในบางจุดทีท่ า� ให้เสือ้ ผ้าดูแปลกตาไป สิง่ ทีน่ า่ สนใจก็คอื การบาลานซ์ความเรียบเท่คลาสสิกนัน้ กับเทรนด์หรือความทันสมัยที่พอดี ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป แม้ทา� ให้เสือ้ ผ้าดูจะเป็นชิน้ คลาสสิก แต่กก็ ลับดูโมเดิรน์ มากๆ ไปพร้อมๆ กัน


The

New

Luxury

เทรนด์สา� คัญทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2023 ก็คอื ค�าว่า ‘Quiet Luxury’ ซึง่ มีความหมายถึงรูปแบบเสือ้ ผ้าทีด่ หู รูหรา แต่ทว่าเรียบง่าย

3 2

ซึ่ ง แบรนด์ ที่ ก ลายมาเป็ น หั ว หอก ของเทรนด์ Quiet Luxury นั่นก็คือ Loro Piana แบรนด์น้องใหม่ล่าสุดในอาณาจักร แฟชั่นของเครือ LVMH โดยความหรูหรา ที่ Loro Piana ให้ความส�าคัญมากที่สุด ก็คือแมตทีเรียลที่ใช้ที่กลายมาเป็นคุณค่า ของแบรนด์ และคุณค่าของค�าว่า ‘หรูหรา’ หรือดูแพงตามเทรนด์ ในค�าว่า Quiet Luxury โดดเด่นด้วย CashFur กับการผสมผสานเข้ากับผ้าแคชเมียร์และ ผ้าไหม เพือ่ ให้มคี วามนุม่ มากยิง่ ขึน้ ขนแคชเมียร์ The Gift of Kings อันเป็นผลิตภัณฑ์เอกสิทธิ์เฉพาะของ Loro Piana ที่ได้มาจากแกะ เมอริโนที่ได้รับการดูแลอย่างดีที่สุดโดยผู้เพาะพันธุ์ท้องถิ่นมาหลาย ชั่วอายุคน ท�าให้ขนแกะเมอริโนนั้นมีคุณภาพและความประณีต ในระดับอันน่าอัศจรรย์ และขนอัลปากา Rain System หนังกลับ และหนัง รวมไปถึง CashDenim ซึ่งเป็นการท�างานร่วมกันระหว่าง ช่างฝีมือของ Loro Piana จากอิตาลีพร้อมกับผู้ผลิตเดนิมชื่อดังจาก ญีป่ นุ่ โดยมีการผสมผสานระหว่างเดนิม 60% และผ้าแคชเมียร์ 40% ท�าให้ได้เนื้อผ้าที่นุ่มและใส่สบาย และล่าสุด Loro Piana ได้มาเปิด บู ติ ก ที่ ป ระเทศไทยแล้ ว ณ สยาม พ า ร า ก อ น ที่ ยั ง ค ง ค อ น เ ซ ป ต ์ การตกแต่งในแบบ Quiet Luxury ด้วยโทนสีอนุ่ ไม้โอ๊กอันเป็นเอกลักษณ์ แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ดี ไ ซ น ์ Carabottino ไว้ อ ย่ า งครบถ้ ว น พื้ น ของบู ติ ก ได้ ใ ช้ วั ส ดุ ไ ม้ ป าร์ เ กต์ พร้อมแผ่นไม้วอลนัตเรียงตั้งฉากกันเพื่อสร้างลวดลายเรขาคณิต และสีเอิร์ธโทนอันอบอุ่นของ Kummel ผสมผสานเข้ากับแสงไฟ สีนวล ที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์ของเสื้อผ้าในแบบ Loro Piana ได้เป็นอย่างดี


Burberry Next

การมาของ ‘Daniel Lee’ ในฐานะของครีเอทีฟไดเรกเตอร์คนใหม่ ของ Burberry นัน้ เต็มไปด้วยความน่าสนใจ

Chapter

อย่างทีร่ กู้ นั ว่า Daniel Lee ประสบความส�าเร็จอย่างมากเมือ่ ครัง้ ท�างานให้กบั Bottega Veneta ทีส่ ามารถน�าเอาเอกลักษณ์งานสาน Intreccio ของแบรนด์มาสร้างสรรค์ใหม่จนกลาย เป็นกระเป๋า Must Have แห่งยุค โดยเฉพาะรุน่ Cassette รวมไปถึงการสร้างปรากฏการณ์ทาง แฟชัน่ มากมาย อย่างการน�าเอาสายโทรศัพท์มาท�าเป็นแอคเซสโซรี อันกลายเป็นจุดเริม่ ต้นของ การแสวงหาสิง่ ทีไ่ ม่นา่ จะน�ามาใช้สร้างสรรค์เป็นงานแฟชัน่ ได้ แต่กลับกลายมาเป็นแฟชัน่ แห่งยุค ซึ่งการเล่นสนุก (แต่ผ่านการคิดมาอย่างถี่ถ้วนแล้ว) จนท�าให้คนเซอร์ไพรส์นี่แหละ คือเอกลักษณ์การท�างานทีโ่ ดดเด่นของ Daniel Lee ในขณะที่ Burberry เองก็มเี อกลักษณ์ และมีภาพจ�ามากมายจากอดีต ไม่ว่าจะเป็นลายตาราง เทรนช์โค้ต ซึ่งถูกพลิกแพลงมา หลายต่อหลายแบบตัง้ แต่ยคุ ของ Christopher Bailey มาจนถึง Riccardo Tisci ความท้าทายของ Daniel Lee ในการมาท�างานที่ Burberry ก็คอื จะท�าอย่างไรให้ยงั มีความเซอร์ไพรส์นนั้ เกิดขึน้ ได้อกี ในขณะเดียวกันก็ตอ้ งประนีประนอมกับความเป็น Burberry ทีเ่ ก่าแก่อกี ด้วย ในผลงานคอลเลกชันแรกของ Daniel Lee ในการท�างานที่ Burberry ท�าให้ได้เห็นการน�าเอาลายตารางอันเป็นเอกลักษณ์ ของแบรนด์มาสร้างสรรค์ใหม่ด้วยโทนสีที่แปลกตาและสดใส ทั้งสีน�้าเงินสด สีเหลือง สีแดง พร้อมกับการสร้างสรรค์ ลวดลายใหม่ นัน่ ก็คอื ลายกุหลาบอังกฤษ ทีม่ คี วามแอบสแตร็กต์ มองจากไกลๆ จะดูคล้ายกับลายพราง นอกจากนีเ้ ทรนช์โค้ต และสีเบจอันเป็นเอกลักษณ์เดิมของแบรนด์กถ็ กู น�ามาสร้างสรรค์ ในรูปแบบงานเวิรก์ แวร์โดยใช้หนังเป็นหลัก ในขณะทีค่ อลเลกชัน ล่าสุดนีม้ าพร้อมกับลวดลายอัศวินอันเป็นโลโก้ของแบรนด์ และ สูทเทเลอร์สดุ เนีย้ บทีม่ ดี เี ทลและลูกเล่นทีย่ งั คงความคลาสสิก ดัง้ เดิมของแบรนด์ไว้ได้ แต่ในขณะเดียวกันก็พร้อมจะก้าวไปสู่ บทใหม่ภายใต้งานดีไซน์ใหม่ๆ ทีโ่ มเดิรน์ มากขึน้

3 3



scoop : ปิยะชาติ (อาร์ม) อิศรภักดี : ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั แบรนดิ แอนด์ คอมพานีส์ จำากัด

เศรษฐกิจที่พร้อม สำ�หรับอน�คต

ตั้งแต่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1820 จนถึงปี ค.ศ. 2022 GDP ของโลกมีการเติบโตกว่า 100 เท่า ในช่วงเวลากว่า 202 ปีมานี้ตัวเลข GDP ของโลกทำาให้ได้เห็นการขยายตัวของเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง หากแต่ความต่อเนื่องนี้กำาลังเริ่ม ชะลอตั ว ลงเนื่ อ งจากในปั จ จุ บั น มี ป ั จ จั ย ต่ า งๆ มากมายที่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเศรษฐกิจ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ สิง่ แวดล้อม, ภูมศิ าสตร์การเมือง, ความเหลือ่ มลำา้ หรือเหตุการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่ผ่านมา


3 6

การเติบโตของเศรษฐกิจโลกต่อจากนี้ อาจไม่ได้ขึ้นอยู่แค่การพยายามเพิ่ม ตัวเลข GDP แต่ขนึ้ อยูก่ บั ความสามารถในการลดผลกระทบ หรือควบคุมสถานการณ์ จาก ‘ความเสี่ยง’ ในรูปแบบต่างๆ ที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรงและเพิ่มความถี่ มากขึ้น แม้ว่านี่อาจไม่ใช่ครั้งแรกที่เศรษฐกิจโลกต้องเจอกับการเปลี่ยนแปลง แต่เหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นไม่ได้สร้างผลกระทบดังเช่นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งอาจเป็น เพราะเศรษฐโลกในอดีตเติบโตบนพื้นฐานของระบบที่ชัดเจน มีเครื่องมือ และตำารา จากผู้เชี่ยวชาญต่างๆ เป็นตัวช่วยในการรับมือหรือคาดเดาเหตุการณ์ได้ ในขณะที่ ทุกวันนี้นั้น การคาดเดาอนาคตเป็นเรื่องที่ยากขึ้น ไม่มีใครรู้ว่าความเสี่ยงจะเกิดขึ้น เมื่อไหร่ อย่างไร และรุนแรงแค่ไหน ดังนั้น สิ่งที่ต้องทำาคือปรับเปลี่ยนกลไก การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ จากการวิ่งไปข้างหน้าแบบ Active (พยายามหาคำาตอบ ให้ได้) มาเป็นลักษณะ Passive (ถ้ามันต้องเกิด จะต้องมีความพร้อมรับมือ) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับระบบเศรษฐกิจ หรือพูดง่ายๆ คือ เศรษฐกิจสำาหรับอนาคต ต้องมีความเป็น Future-ready นั่นเอง


คิดแบบ

Future - ready

ก่อนจะสร้างการเปลี่ยนแปลง สิ่งที่ต้องทำาก่อน คือ การปรับมุมมองใหม่ ให้สามารถมองเห็นไปในทิศทางที่ถูกต้องได้กว้างขึ้นและชัดขึ้น โดยเฉพาะการมองให้เห็น ‘ภาพรวมและความสัมพันธ์’ ในประเด็นที่อาจไม่เคยมองเห็น หรือไม่เคยคิดว่าเกี่ยวข้องกัน ซึ่งจะช่วยทำาให้ภาพที่เบลอมีความชัดเจนมากขึ้น จนนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างอย่างถูกต้องและตรงจุด มองสิ่งที่มีอยู่ ให้มีคุณค่� ก่อนอื่นต้องทำาความเข้าใจก่อนว่า โครงสร้างเศรษฐกิจ ณ ปัจจุบัน มีองค์ประกอบแบบใดบ้าง เป็นเศรษฐกิจจริง (Real Sector) หรือเศรษฐกิจไม่จริง (Financial Economy) อยู่เท่าไหร่ มีสัดส่วนอย่างไร นั่นเป็นเพราะในช่วงหลังภาพรวมเศรษฐกิจโลกมีอัตราการเติบโตจากเศรษฐกิจไม่จริง อยู่มาก ซึ่งเศรษฐกิจดังกล่าวมีความผันผวนอย่างมาก มีการขึ้น-ลงตามกลไกการตลาด โดยไม่ได้มีเหตุและผลที่ชัดเจน ทำาให้สามารถคาดเดาสถานการณ์ได้ยาก ยกตัวอย่างเช่น สถานการณ์ความผันผวนของสกุลเงินดิจิทัล ในปี ค.ศ. 2020 หลังจากการแพร่ระบาด ของ COVID-19 ผ่านมาระยะเวลาหนึ่ง ‘บิตคอยน์’ (Bitcoin) มีมูลค่าตำ่าลงกว่า 50% ภายในหนึง่ วัน นัน้ หมายความว่าหากถือบิตคอยน์มลู ค่า 100 เหรียญอยู่ ในเช้าวันต่อมาเงิน 100 เหรียญนัน้ จะเหลือมูลค่าเพียง 50 เหรียญเท่านั้น ความผันผวนที่เกิดขึ้นนี้เป็นความเสี่ยงที่ผู้ถือบิตคอยน์ ไม่สามารถคาดเดาและเตรียมการรับมือได้ เพราะมูลค่ามีการปรับขึ้น-ลงอย่างอิสระและรวดเร็ว ไม่มีหลักยึดหรือที่มาที่ไปของการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน ในขณะที่เศรษฐกิจจริง ซึ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสิ่งจำาเป็น ในการดำารงชีวิตอย่าง อาหาร บ้าน รถยนต์ หรือสินค้าอุปโภค สามารถหาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง ได้อย่างชัดเจนกว่า มีหลักยึด กลไกการเปลี่ยนแปลง ก็เป็นไปอย่างมีเหตุมีผล ทำาให้ (พอจะ) สามารถคาดเดา สถานการณ์และเตรียมการรับมือได้บ้าง ฉะนั้น สิ่งที่ควรทำา คือ ทำาให้เศรษฐกิจจริง เข้มแข็งมากขึ้น รับมือกับความเสี่ยงได้ดียิ่งขึ้น เพื่อลดความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นได้จากความผันผวนและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นการรักษาโครงสร้างหลักให้กับระบบเศรษฐกิจของโลก อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไม่สามารถเป็น เศรษฐกิจจริงหรือเศรษฐกิจไม่จริงเพียงอย่างเดียว เพราะทั้ง 2 ส่วนมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน หากแต่การจะเป็น Future-ready นั้น จำาเป็นต้องสร้างสมดุลขององค์ประกอบเศรษฐกิจ (Economic Portfolio) ที่จะทำาให้ระบบ มีความพร้อม ต่อกรกับทุกความเสี่ยง และมีขีดความสามารถในการเติบโตได้ ในทุกสภาวะแวดล้อม

3 7


มองให้เข้�ใจ จุดอ่อน จุดแข็ง ไม่ว่าจะเป็นการมองหาจุดอ่อนแล้วเสริมให้เป็นจุดแข็ง หรือพัฒนาจุดแข็งให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม ก็ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ต้องมองให้เห็น ทั้งแนวลึกยิ่งขึ้นกว่าที่ทำากันอยู่เป็นปกติ และแนวกว้างที่ต้องอาศัยการคิดนอกกรอบ เพื่อหาแนวทางใหม่ๆ ในการเตรียมความพร้อมให้กับ ‘ระบบเศรษฐกิจ’ เพราะการทำาทั้งสองสิ่งนี้อยู่ตลอดเวลา เปรียบเสมือนการฉีดวัคซีนให้กับระบบเศรษฐกิจ ให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงจากความเสี่ยงอยู่เสมอ

เมื่อมีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เศรษฐกิจโดยรวม ก็จะมีภมู คิ มุ้ กัน และทีส่ า� คัญมีความยืดหยุน่ มากพอ ที่จะรับแรงกระแทก ปรับตัว ไม่ตื่นตระหนกในการรับมือ กับสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็วและมีคุณภาพ ไปจนถึง มีความสามารถในการเปลีย่ นวิกฤติให้เป็นโอกาสได้ ในกรณีของประเทศไทย ก็นับได้ว่าเป็นหนึ่งในประเทศ ทีม่ โี ครงสร้างเศรษฐกิจทีด่ แี ละหลากหลาย อย่างไรก็ตาม กลับมีภมู คิ มุ้ กันทีค่ อ่ นข้างต�า่ เพราะยังคงพึง่ พา บางอุตสาหกรรมมากเกินไป ซึง่ จะเห็นได้จากผลกระทบของ เหตุการณ์การเกิดโรคระบาดใหญ่ (COVID-19) ทีท่ า� ให้ นักท่องเที่ยวในประเทศไทยกว่า 40 ล้านคนจากปีก่อนหน้า ลดลงกว่า 80% ส่งผลให้รายได้ลดลงกว่า 80% เช่นเดียวกัน ถือเป็นมูลค่ากว่า 1.5 ล้านล้านบาท เมือ่ ธุรกิจหลัก ของประเทศไทยที่ท�าเงินได้มหาศาลอย่างธุรกิจท่องเที่ยว

หรือห้างสรรพสินค้าไม่สามารถเปิดท�าการได้ ตามเงือ่ นไข ของความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วโดยรวมก็แทบ จะหยุดชะงัก เพราะมีธุรกิจมากมายที่ไม่สามารถปรับตัว ตามสถานการณ์ได้ และได้แต่รอดูวา่ สายป่านของใครดี และยาวกว่ากัน ธุรกิจไม่สามารถหาทางท�ารายได้เพิม่ ขึน้ ได้ แต่กย็ งั มีคา่ ใช้จา่ ยทีต่ อ้ งดูแลเท่าเดิม โดยสรุปแล้ว ในขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ วเป็น จุดแข็งของประเทศไทย เพราะเป็นจุดเริม่ ต้นในการน�าเงินจาก ต่างประเทศเข้ามา ตลอดจนสามารถท�าเงินให้กบั ประเทศ ได้เป็นกอบเป็นก�าตลอดทัง้ ห่วงโซ่คณ ุ ค่า แต่การพึง่ พา การท่องเทีย่ วก็สามารถกลายเป็นจุดอ่อนของประเทศด้วย เช่นกัน เมือ่ การท่องเทีย่ วล้มเศรษฐกิจของประเทศก็มโี อกาสล้ม ไปด้วยเช่นกัน เพือ่ เพิม่ ภูมคิ มุ้ กันและความยืดหยุน่ ให้กบั เศรษฐกิจของประเทศควรทีจ่ ะท�าให้รายได้ของประเทศมีทมี่ า


จากหลากหลายทาง (Portfolio Diversification) มากขึน้ โดยเฉพาะ จากเศรษฐกิจทีท่ า� ให้ประเทศเข้มแข็งขึน้ เช่น เศรษฐกิจทีม่ ี High Value Creation ท�าให้เกิด Know-how หรือ Innovation ทีต่ อ่ ยอดได้ เมือ่ ต้องพบเจอกับความเปลีย่ นแปลงก็จะสามารถ รับมือได้ดยี งิ่ ขึน้ เพราะเป็นเรือ่ งธรรมดาทีเ่ มือ่ มีบางอุตสาหกรรม ล�าบาก ก็จะมีบางอุตสาหกรรมทีเ่ ติบโตเช่นกัน เศรษฐกิจของแต่ละประเทศก็มจี ดุ อ่อนและจุดแข็งทีแ่ ตกต่าง กันไป การพยายามท�าความเข้าใจความเป็นไปของเศรษฐกิจ ข้างต้น ทั้งในบริบทของเศรษฐกิจโดยตรงและบริบทแวดล้อม จะช่วยให้สามารถรูไ้ ด้วา่ ควรจะแก้ในจุดไหนและอย่างไร เพื่อให้เศรษฐกิจพร้อมที่จะรับมือกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ท�าให้ภาครัฐสามารถออกแบบนโยบายและกลไก ขับเคลือ่ นทีเ่ หมาะสมกับระบบเศรษฐกิจโดยรวม มองห�โอก�ส

การตั้งรับอาจไม่ใช่วิธีการจัดการกับความเสี่ยง และความเปราะบางที่ดีที่สุดเพียงวิธีการเดียว บ่อยครั้งที่การรุกเพื่อหาโอกาสในการเติบโตไปข้างหน้า ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีการรับมือที่ดีไม่แพ้กัน วิธีที่ง่ายที่สุดในการมองหาโอกาสเพื่อสร้างการเติบโตของ ธุรกิจ (S-curve) คือ การศึกษาอย่างจริงจังว่าแต่ละเศรษฐกิจ มีศกั ยภาพในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมไหนบ้าง อาศัยต้นทุนเดิมดูวา่ ภายใต้เศรษฐกิจทีม่ อี ยู่ (Existing Economy) สามารถไปต่อยอด อะไรได้บา้ ง อะไรสามารถเปลีย่ นเป็นข้อได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ได้บา้ ง เช่น ประเทศไทยเป็น หมุดหมายในการท่องเทีย่ วอยูแ่ ล้ว ในปี ค.ศ. 2023 มีนกั ท่องเทีย่ ว เข้ามาในประเทศเป็นจ�านวนกว่า 20 ล้านคน และธุรกิจ Wellness มีการเติบโตกว่า 2.5 หมืน่ ล้านบาท อีกทัง้ ประเทศไทย ยังถูกจัดอันดับความมัน่ คงทางสุขภาพเป็นอันดับ 5 ของโลก สะท้อนให้เห็นศักยภาพทางการแพทย์ของประเทศไทย หากน�าทัง้ สองสิง่ มารวมกันก็จะเกิดเป็นการท่องเทีย่ วเชิงการแพทย์ (Medical Tourism) นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาในประเทศก็จะมี การใช้จา่ ยต่อคนทีส่ งู ขึน้ รวมถึงระยะเวลาในการท่องเทีย่ ว ก็จะยาวนานมากขึน้ และมีโอกาสท�าให้เกิดการกระจายรายได้ไปสู่ ภาคส่วนอืน่ ๆ ได้มากขึน้ สร้างโอกาสในการท�าเงินได้มากขึน้ การมองเศรษฐกิจให้ชดั และกว้างขึน้ เป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ขี อง การเตรียมความพร้อมสู่ Future-ready แต่จะท�าได้หรือไม่ได้ ก็ขนึ้ อยูก่ บั ว่าเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีทรัพยากรและ ขีดความสามารถ (Capacity) ทีพ่ ร้อมส�าหรับเรือ่ งนีม้ ากแค่ไหน และจะมีได้อย่างไร จ�กก�รมีระบบที่เก่งไปสู่ก�รมีคนที่เก่ง

เศรษฐกิจในอดีตจนถึงปัจจุบัน คือเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจาก โจทย์ที่ชัด นำามาสู่คำาตอบที่ชัดเจนเช่นกัน ทุกอย่างจะถูกมองเป็นโครงสร้าง มีระบบท�างานเป็นหลัก มีการน�ากระบวนการทีเ่ ป็นขัน้ เป็นตอนเข้ามาท�างานร่วมกับ เทคโนโลยีสนับสนุน โดยเฉพาะในช่วงหลังมีดิจิทัลเทคโนโลยี

เข้ามาสนับสนุน จึงท�าให้กระบวนการมีความสมบูรณ์มากขึน้ แต่เมื่อมีปัญหาที่ท�าให้มีการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างเกิดขึ้น ระบบทีม่ คี วามชัดเจนมาก (Rigid) ก็จะปรับเปลีย่ นเพือ่ รับมือ กับสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ได้ยาก ความสามารถในการปรับเปลีย่ น รับแรงกระแทกเมือ่ เจอปัญหาหรือวิกฤตินนั้ เรียกได้อกี อย่างหนึง่ ว่า ‘ความสามารถในการกลับมา’ (Resilience) ซึ่งถือเป็น ส่วนประกอบทีส่ า� คัญทีจ่ ะท�าให้เศรษฐกิจมีความเป็น Futureready แต่การจะเปลีย่ นจากเศรษฐกิจทีเ่ คยมีระบบแข็งแรง ซึง่ มุง่ เป้าไปทีป่ ระสิทธิภาพการผลิต (Productivity Efficiency) ไปสูเ่ ศรษฐกิจทีม่ คี วามยืดหยุน่ (Economic Resilience) ก็จะต้องเปลีย่ นไปให้ความส�าคัญกับการสร้างขีดความสามารถ (Capacity Building) เพราะระบบเป็นสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้ยาก และยิง่ ยากขึน้ เมือ่ การเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ บ่อย จนไม่สามารถ พึง่ พาระบบใดระบบหนึง่ ได้ การจะรับมือกับความเปลีย่ นแปลง ให้ได้ดจี งึ ต้องพึง่ พา ‘คน’ ซึง่ ถือว่าเป็นองค์ประกอบทีม่ ี ความยืดหยุ่นที่สุดในระบบเศรษฐกิจ ดังนั้น กุญแจส�าคัญ ของการเป็น Future-ready เลยเป็นเรือ่ งของการสร้างทุนมนุษย์ (Human Capital) และการท�าให้พวกเขาเป็น ‘คน’ ทีม่ คี วามพร้อมส�าหรับอนาคต (Future-ready Human Capital) ด้วยเช่นกัน สร้�งทักษะใหม่

ส่วนใหญ่คนมักจะคิดว่า ‘ทักษะ’ เป็นสิ่งที่เรียนรู้ได้ เพียงแค่ในห้องเรียน แต่สำาหรับทุกวันนี้ทักษะ เป็นสิ่งที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา และใน ทุกช่วงวัย อีกทัง้ สามารถเรียนรูจ้ ากสือ่ ออนไลน์ทเี่ ข้าถึงได้ ทุกที่ ทุกเวลา แต่เพราะการหลัง่ ไหลของข้อมูลทีม่ มี ากขึน้ ความรูใ้ หม่ทไี่ ด้ เรียนรูใ้ นเดือนทีผ่ า่ นมา อาจกลายเป็นความรูช้ ดุ เก่าในเดือน ถัดไปได้งา่ ยๆ การเรียนในมหาวิทยาลัยหรือการมีใบปริญญา จะเริม่ มีความส�าคัญน้อยลง เพราะชุดความรูท้ ใี่ ช้สอนใน ห้องเรียนอาจน�าไปใช้ในชีวิตจริงได้น้อยลงเรื่อยๆ และด้วย สถานการณ์ความเสีย่ งทีร่ นุ แรงขึน้ หรือมีความถีม่ ากขึน้ ท�าให้ไม่สามารถรูไ้ ด้อย่างแน่นอนว่าทักษะอะไรทีจ่ า� เป็นส�าหรับ อนาคต หรือทักษะทีม่ อี ยูต่ อนนีจ้ ะถูกแทนทีเ่ มือ่ ไหร่ ในเมือ่ ไม่สามารถรูไ้ ด้วา่ ความรูห้ รือทักษะทีม่ จี ะหมดอายุ เมือ่ ไหร่ สิง่ ทีท่ า� ได้จงึ ควรท�าให้คนมีความสามารถในการเรียนรู้ และสร้างทักษะตลอดชีวติ เพือ่ ทีจ่ ะท�าให้ ‘คน’ มีความพร้อม และยอมรับในการเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ จนเป็นเรือ่ งปกติ แบบอย่างทีด่ ใี นเรือ่ งนี้ คือ การโปรโมตค�าว่า ‘Lifelong Learning’ และการก่อตัง้ สถาบัน Lifelong Learning ของประเทศสิงคโปร์ ในปี ค.ศ. 2013 Lifelong Learning Institute Singapore (LLI) ได้ก่อตั้งขึ้นพร้อมกับความตั้งใจที่จะเป็นประตูสู่การเรียนรู้ ให้กบั ทุกคน ท�าหน้าทีท่ งั้ ให้ความรูบ้ นออนไลน์ ร่วมมือกับ ผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านต่างๆ จัดคอร์สเรียนให้กบั ผูท้ สี่ นใจ ให้ค�าปรึกษาเกี่ยวกับการวางแผนการศึกษาและเส้นทางอาชีพ รวมถึงมีพื้นที่ห้องสมุดที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ รัฐบาลสิงคโปร์ไม่ได้เพียงแค่สื่อสารเพื่อให้ทุกคนเตรียม ความพร้อม แต่สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ให้กับผู้คนเพิ่ม มากขึน้ ด้วย ไม่เพียงแค่สงิ คโปร์เท่านัน้ Lifelong Learning

3 9


ยังเป็นประเด็นทีไ่ ด้รบั การพูดถึงในอีกหลายประเทศ ในสหภาพยุโรปเองก็มกี ารรายงานว่า มีการเรียนรูข้ องประชากร ช่วงอายุ 25-64 ปี เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี ค.ศ. 2021 คิดเป็น 10% ของประชากรในประเทศสมาชิก สร้�งชุดคว�มคิดใหม่

กรอบความคิด (Mindset) เป็นสารตั้งต้นที่จะขาดไป ไม่ได้สำาหรับการพัฒนาคนไปสู่ความเป็น Futureready เพราะกรอบความคิดสามารถที่จะปลด ขีดความสามารถของตัวเราเองได้ และในขณะเดียวกัน ก็สามารถจำากัดความสามารถของตัวเราเองได้เหมือนกัน อย่างเช่น เราอาจเคยมีวธิ กี ารท�างานแบบหนึง่ ทีน่ า� ไปสู่ ความส�าเร็จของงานชิน้ นัน้ และเมือ่ ได้รบั มอบหมายให้ทา� งาน ชิน้ ใหม่ทคี่ ล้ายเดิมก็ยงั ใช้วธิ กี ารเดิม แต่ผลลัพธ์ของงาน ชิน้ นัน้ อาจไม่สา� เร็จเหมือนเดิม เนือ่ งด้วยตัวแปรทีม่ ผี ลกับงาน เปลีย่ นแปลงไป หรือมีปจั จัยอืน่ ๆ เข้ามาเพิม่ เติม เพราะฉะนัน้ จึงไม่ควรยึดติดอยูก่ บั กรอบความคิดใดความคิดหนึง่ หรือพึงพอใจกับความส�าเร็จแบบเดิม แต่ควรท�าให้กรอบ ความคิดพัฒนาอยูเ่ สมอ (Growth Mindset) หนังสือทีเ่ ขียน และอธิบายเรื่องนี้ได้เป็นอย่างดีคือ หนังสือชื่อ ‘What Got

You Here, Won’t Get You There’ – Marshall Goldsmith with Mark Reiter เป็นหนังสือที่ชวนคนอ่าน

เปิดกรอบความคิดออก แชร์ทกั ษะ วิธกี าร ทีจ่ ะท�าให้คนซึง่ ประสบความส�าเร็จแล้ว สามารถประสบความส�าเร็จขึ้นไปได้ ในอีกระดับ ซึง่ ผูเ้ ขียนหนังสือเล่มนีเ้ ป็น Executive Coach ซึง่ ได้รบั การยอมรับว่าเป็นคนทีเ่ ก่งทีส่ ดุ ในโลกในด้านนี้ การเปลีย่ นแปลงทีแ่ ท้จริงจะเกิดขึน้ เมือ่ ผูค้ นมีความพร้อมทัง้ วิธคี ดิ และวิธกี ารทีถ่ กู ต้อง ซึง่ จะเป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ า� คัญของ การเพิ่มขีดความสามารถของตัวเองได้ ในมิติของภาคเอกชน

4 6

เมือ่ ผูค้ นส่วนใหญ่ในองค์กรเพิม่ ขีดความสามารถก็จะน�าไปสู่ การเพิม่ ขีดความสามารถให้กบั องค์กรโดยธรรมชาติ และถ้าผูค้ นในทุกภาคส่วนของสังคมมีขดี ความสามารถทีส่ งู ขึน้ เศรษฐกิจของประเทศก็จะมีขดี ความสามารถเพิม่ ขึน้ เช่นกัน จึงไม่แปลกทีว่ นั นีท้ กุ เป้าหมายของการพัฒนาจะวิง่ กลับมาทีค่ น ซึง่ เป็นทรัพยากรทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ภายใต้ภมู ทิ ศั น์ของอนาคต ทีไ่ ม่แน่นอน เพราะทรัพยากรมนุษย์ (Human Capital) เป็นทรัพยากรทีส่ ามารถพัฒนาได้อย่างไร้ขดี จ�ากัด และเป็น ต้นทุนส�าคัญในการสร้างเศรษฐกิจแบบ Future-ready Economy

บทบ�ทใหม่ที่

Future - ready ม�กกว่�เดิม

การสร้างและการปฏิรูป (Transformation) ให้เศรษฐกิจมีความเป็น Future-ready จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างสมบูรณ์ หากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องไม่ร่วมเตรียม ความพร้อมไปด้วยกัน หรือขาดซึ่งความสามารถ ในการร่วมมือกัน (Collaborative) นอกเหนือจากการทีท่ กุ ฝ่ายต่างก�าลังเป็นองค์ประกอบทีส่ า� คัญ ในระบบเศรษฐกิจเดียวกันแล้วนัน้ Future-ready Economy ยังมีเป้าหมายทีใ่ หญ่กว่าแค่ใครคนใดคนหนึง่ เติบโต หากแต่เป็นการ เติบโตทีม่ องเรือ่ งของการกระจาย (Distribution) มากกว่าการกระจุก (Centralization) หรือกล่าวโดยสรุปคือ การเปลีย่ นกลไกจาก Me ไปเป็น We นัน่ เอง ดังนัน้ การมุง่ สู่ Future-ready Economy จึงต้อง


อาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึง่ จ�าเป็นทีจ่ ะต้องท�าความเข้าใจ บทบาทใหม่ของตัวเองให้เป็นไปในทางทีส่ อดคล้อง และเติมเต็มกับทุกฝ่าย

บทบ�ทของภ�ครัฐ

ในอดีต ภาครัฐต้องเปลีย่ นบทบาทจากการเป็นคนด�าเนินธุรกิจ (ให้บริการประชาชน) เอง มาเป็นการออกกฎหมายหรือข้อก�าหนด ทีเ่ อือ้ ให้ภาคเอกชนเข้ามาด�าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและ อยู่ในกรอบที่เอกชนรับได้มากยิ่งขึ้น ตลอดจนก�ากับดูแลกิจการ (Governance) และการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย (Compliance) อย่างไรก็ตาม ส�าหรับอนาคต ภาครัฐจ�าเป็นทีจ่ ะต้องก้าวข้าม จากการเป็นผูก้ า� กับหรือผูบ้ งั คับใช้กฎหมายมาเป็นผูท้ สี่ ร้าง สภาพแวดล้อม (Built Ecosystem) ทีเ่ อือ้ ให้ธรุ กิจสามารถเติบโตได้ อีกทัง้ ยังต้องเป็นหน่วยงานหลักในการสร้างระบบจูงใจ ทีจ่ ะน�าไปสูท่ งั้ การด�าเนินธุรกิจของภาคเอกชนและการบริโภคของ ภาคประชาชน โดยมุง่ ไปทีก่ ารสร้างผลกระทบเชิงบวกมากกว่า แค่เศรษฐกิจเติบโต แต่ยังรวมไปถึงสังคมที่ผู้คนมีคุณภาพชีวิต ทีด่ แี ละสิง่ แวดล้อมทีด่ อี กี ด้วย

บทบ�ทของภ�คเอกชน

เพราะโลกของเศรษฐกิจในปัจจุบนั วิง่ เร็วเกินกว่าทีใ่ ครคนใดคนหนึง่ จะเป็นผูอ้ อกกติกา ภาคเอกชนในฐานะผูน้ า� ในระบบทุนนิยมจึงมี บทบาททีจ่ ะต้องร่วมมือกันทัง้ ระหว่างเอกชนด้วยกันเอง ไปจนถึง กับรัฐบาลและผูบ้ ริโภค เพือ่ ออกแบบว่าโครงสร้างพืน้ ฐาน ทีจ่ า� เป็นต่อการเติบโตของธุรกิจแห่งอนาคต ควรจะมีหน้าตาเป็น อย่างไร และจะก�าหนดกติกาในการด�าเนินธุรกิจอย่างไร เพือ่ ให้ ธุรกิจมีพนื้ ทีใ่ นการเติบโตแต่ยงั คงไว้ซงึ่ มาตรฐานและบรรทัดฐาน ทีส่ า� คัญในสังคม ในการนีเ้ องภาคเอกชนโดยเฉพาะสมาคมต่างๆ จึงจะเข้ามามีบทบาทในการท�าให้เกิดการพูดคุย และเปลีย่ นมุมมอง รวมถึงจับมือกันเพือ่ รับมือกับความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ซึง่ จ�าเป็นจะต้องมีระบบนิเวศทีพ่ ร้อมส�าหรับการขับเคลือ่ น ไปข้างหน้า ไม่ใช่การรอกันไปรอกันมา ทัง้ ในมิตขิ องการออก กฎหมายหรือในมิติของการส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจ เป็นต้น

บทบ�ทของประช�ชน

เสียงและความต้องการของประชาชนถูกผลักดันให้เข้มแข็งขึน้ ตัง้ แต่ชว่ งทีโ่ ซเชียลมีเดียเข้ามามีบทบาทในสังคม เสียงของผูบ้ ริโภค (Consumer Voice) จึงมีบทบาทส�าคัญมากไม่ตา่ งอะไรจากอ�านาจ

ในฝัง่ ของภาคธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงหลายๆ เรือ่ งในระบบเศรษฐกิจ ช่วงไม่กปี่ ที ผ่ี า่ นมาจึงมักมีทม่ี าจากความต้องการในฝัง่ ของผูบ้ ริโภค จากเดิมทีร่ ะบบเศรษฐกิจมีภาคการผลิตสินค้าทีจ่ า� เป็นต้องใช้ (Commodity) เป็นตัวน�า วันนีอ้ ตุ สาหกรรมรุน่ ใหม่ทเี่ ติบโตกลับกลาย เป็นอุตสาหกรรมทีใ่ ห้ความส�าคัญกับการสร้างชุมชน (Community) ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคทัง้ ในมิติ ของรัฐและเอกชน จึงเปรียบเสมือนการได้ License to Operate ดังนัน้ การแสดงออกของผูบ้ ริโภคจึงมีบทบาทส�าคัญต่อการเปลีย่ น ในระบบเศรษฐกิจ การทีโ่ ลกให้ความส�าคัญกับเรือ่ งของความยัง่ ยืน ก็เป็นอีกหนึง่ เหตุการณ์ทสี่ ะท้อนมาจากเสียงของผูบ้ ริโภค น�าไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงของภาครัฐและภาคธุรกิจ จากตัวอย่างบทบาทของทัง้ 3 ภาคส่วนนีท้ า� ให้เห็นว่า การเปลีย่ น ผ่านจากเศรษฐกิจปัจจุบนั ไปสู่ Future-ready Economy นัน้ จ�าเป็น ทีจ่ ะต้องมีการท�าความเข้าใจบทบาทซึง่ กันและกันใหม่ ซึง่ ก็คอื ‘การท�าสัญญาประชาคม’ (Social Contract) ร่วมกันว่า อะไรคือ ‘คุณค่าร่วม’ (Shared Values) ทางสังคมที่ทุกฝ่ายจ�าเป็นที่จะต้อง ร่วมกันท�าให้เกิดขึน้ เศรษฐกิจแบบไหนทีด่ ตี อ่ อนาคตของทุกคน สังคมแบบไหนที่ดีต่อคุณภาพชีวิตโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง สิง่ แวดล้อมแบบไหนทีเ่ ราอยากด�ารงอยู่ พร้อมกับส่งต่อไปยังลูกหลาน ของเราจากทีไ่ ด้กล่าวถึงเหตุ ปัจจัย ตลอดจนบทบาทของแต่ละ ภาคส่วนมาทั้งหมดแล้วนั้น เมื่อน�ามาหลอมรวมกันก็จะเกิดเป็น แนวทางทีส่ ามารถท�าให้เศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีความเป็น Future-ready มากขึน้ ท�าให้ในเวลาทีเ่ กิดวิกฤติบางอย่างขึน้ ก็จะ สามารถรับมือได้เป็นอย่างดี และในขณะเดียวกันในเวลาที่มีโอกาส เข้ามาก็จะมีความสามารถในการคว้าโอกาสเพือ่ สร้างการเติบโตได้ ทัง้ นี้ หัวใจส�าคัญในการท�าโลกให้มโี ครงสร้างเศรษฐกิจทีม่ คี ณ ุ ภาพ และมีความพร้อมส�าหรับอนาคต คือ การสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจ บนความเข้าใจทีว่ า่ เรือ่ งไหนทีจ่ า� เป็นจะต้องแข่งขัน โดยมีความสามารถ ในการแข่งขัน (Competitive Advantage) เป็นตัวน�า หรือเรือ่ งไหนที่ จะต้องอาศัย ‘ความร่วม’ โดยต้องเพิม่ ขีดความสามารถในการร่วมมือ (Collaborative Advantage) เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายทีด่ ตี อ่ ทุกชีวติ Future-ready Economy เป็นโจทย์ยาก Fight บังคับทีท่ กุ คนต้อง ช่วยกันหาค�าตอบ เพราะอนาคตทีด่ ี ควรจะเป็นทรัพยากรทีท่ กุ คนเข้าถึงได้

4 1



scoop : วรวิสทุ ธิ์ ภิญโญยาง : ซีอโี อ บริษทั อิมแพคมายด์ เอไอ จำากัด (ImpactMind.ai)

หลากหลายธุรกิจที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ก่อเกิด นักธุรกิจรุ่นใหม่มากมาย ซึ่งหลายธุรกิจที่โด่งดัง มีจดุ เริม่ ต้นมาจากเทคโนโลยี หรือ AI แล้วพัฒนา ต่ อ ยอดสู ่ โ ลกธุ ร กิ จ โดยเฉพาะในปี 2023 ที่ ผ ่ า นมา โลกเรามี ค วามเปลี่ ย นแปลงเกิ ด ขึ้ น หลายด้าน ในหลากหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ภูมิรัฐศาสตร์ เศรษฐกิจ การเกิดสงคราม รวมถึง การผลั ก ดั น นโยบายการค้ า ระดั บ นานาชาติ ที่ ส ร้ า งผลกระทบให้ กั บ หลายอุ ต สาหกรรม เป็นวงกว้าง

คลื่นลูกใหม่ของธุรกิจ ที่เกิดจ�กเทคโนโลยี AI


แต่ถ้าเป็นเรื่องเทคโนโลยีแล้ว ไม่มีเรื่องไหนจะเด่นไปกว่าการเกิด Mass Adoption ของ Generative AI และการเปิดสมรภูมิรบใหม่ โดยมหาอำานาจด้าน เทคโนโลยีของโลกที่สร้างผลกระทบยิ่งกว่าเทคโนโลยีใดๆ ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา การถือกำาเนิดของ ChatGPT ถือว่าเป็น Disruption ใหม่ที่เกิดขึ้นในโลกและส่ง ผลกระทบอย่างมากกับโลกธุรกิจ นั่นเพราะคุณสามารถสั่งงาน AI ได้ เหมือนกับ สัง่ งานเพือ่ นร่วมงาน โดยงานต่างๆ ทีค่ นเราใช้เวลาในการทำาเยอะ ทัง้ การแก้ไขปัญหา ที่ยุ่งยากซับซ้อน กลับทำาได้รวดเร็วขึ้น การใช้งานหลักของ AI คือ การทำาตัวเป็น ผู้ช่วยในการทำางานหลากหลายด้าน และช่วยให้การตัดสินใจต่างๆ ของคนทำาได้ดี และรวดเร็วขึ้น

4 4

การเติบโตและพัฒนาการของโลก AI อยูใ่ นอัตราเร่งทีส่ งู มาก มีการเปลีย่ นแปลง เกิดขึ้นในทุกๆ วัน มีการทุ่มเม็ดเงินจำานวนมหาศาล เพื่อพัฒนาความสามารถของ โมเดลภาษาที่เรียกว่า Large Language Model หรือ LLM


ตัวโมเดลภาษา ถือเป็นหัวใจสำาคัญทีข่ บั เคลือ่ นการเติบโต ของโลก AI ไปข้างหน้า ทั้งค่าย OpenAI ที่มีโมเดล GPT4 หัวใจสำาคัญเบื้องหลัง ChatGPT ทีผ่ ใู้ ช้หลายร้อยล้านคนในโลกใช้งานอยู่ Google ทีม่ โี มเดลภาษาทีฉ่ ลาดมากๆ อย่าง Bard โมเดลภาษาชือ่ Claude จากบริษทั Antropic ทีไ่ ด้เงินลงทุนกว่า 4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐจาก Amazon และล่าสุด Grok ทีเ่ ป็นโมเดลภาษาจาก X หรือ Twitter เดิม ของ Elon Musk ทีม่ คี วามฉลาดไม่แพ้ GPT นอกจากผูใ้ ช้ Twitter จะสามารถจ่ายเงินใช้บริการ Grok ได้แล้ว และตัวมันเองก็จะถูกนำาไปใส่ในรถยนต์เทสล่า ทุกคันในอนาคต โมเดลภาษาเหล่านีใ้ ช้พลังคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง จำานวนมหาศาล ต้องใช้ปริมาณข้อมูลขนาดใหญ่ จึงต้องการเงินลงทุนจำานวนมาก เม็ดเงินลงทุนกว่า 25% ของการลงทุนทัง้ หมดในสหรัฐอเมริกา เป็นการลงทุนในธุรกิจ AI ซึง่ มากกว่าปีกอ่ นๆ ถึง 200%

AI Adoption Trends ปี 2023 ผูน้ าำ หลายองค์กร พยายามพูดถึงเทรนด์ทเี่ รียกว่า AI-first company แต่กย็ งั ไม่สามารถทำาแบบนัน้ ได้งา่ ยนัก ตัง้ แต่เทคโนโลยี AI ทีย่ งั ไม่นงิ่ มีการปรับเปลีย่ นตลอดเวลา ไปจนถึงวิสยั ทัศน์ของ ผูบ้ ริหารและพนักงานในองค์กร ทีอ่ าจจะยังไม่เห็นว่า AI จะเข้ามาช่วยตรงส่วนไหน ช่วยได้จริงหรือไม่ หรือไม่รวู้ า่ ควรจะ เริม่ ต้นนำา AI เข้ามาใช้ยงั ไง

ฟองสบู่ AI กำ�ลังจะแตกจริงมั้ย ? มีผเู้ ชีย่ วชาญหลายคนออกมาเตือนเกีย่ วกับ ‘Dot-AI Bubble’ หรือ ฟองสบู่ AI เนือ่ งจากการลงทุนด้านนีเ้ หมือนการเก็งก�าไร และเม็ดเงินลงทุนถูกใส่ไปให้กบั บริษทั ทีย่ งั ไม่มโี มเดลธุรกิจชัดเจน และส่วนใหญ่กย็ งั ขาดทุนจ�านวนมากอยู่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ จับตามอง มากในปี 2024 ว่าจะเกิดการระเบิดของฟองสบู่ AI หรือไม่ แม้วา่ โลก AI จะอยูใ่ นช่วงบนสุดของความ Hype และอาจมี ธุรกิจ Startup เกีย่ วกับ AI มากมายทีอ่ าจจะล้มหายตายจากไป ในปีหน้า แต่ปี 2024 จะกลายเป็นปีทเี่ รียกว่ายุคสมัยของ AI

เต็มตัวอย่างแน่นอน เพราะ AI จะแทรกซึมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่ง ในชีวติ ประจ�าวัน และการสือ่ สารกับ AI จะกลายเป็น Norm ทีค่ นทัง้ โลกต้องเรียนรู้ เหมือนการใช้ภาษาอังกฤษ New Wave of Business ในมุมมองส่วนตัวของผม คือ การน�า AI มาใช้งานกับธุรกิจ เพือ่ ลดต้นทุน เพิม่ Productivity สร้างธุรกิจใหม่ สร้าง S-Curve ใหม่ เป็น Growth Engine ตัวใหม่ ให้ธรุ กิจ และการเป็น AI-first Company น�า AI มาใช้งาน กับธุรกิจ ต้องท�ายังไง เริ่มจากอะไรบ้าง มาติดตามกันครับ Transformation to Super Power C-Level

เริม่ ทีก่ ารใช้งานทีใ่ กล้ตวั ทีส่ ดุ คือ การน�า AI มาใช้เพิม่ Productivity ส่วนตัว ความสามารถของ AI ในปัจจุบนั สามารถใช้ เหมือนเป็นผู้ช่วยซีอีโอและผู้บริหาร C-Level ต่างๆ ได้เลย ไม่วา่ จะเป็นการแบ่งเบาภาระในการย่อยข้อมูลจ�านวนมาก อย่างรวดเร็วและแม่นย�า การสรุปบทความ และเพิม่ Productivity ในการสือ่ สาร ทักษะการใช้ภาษา โดยเฉพาะการเขียน หรือช่วย เพิม่ พลังการเรียนรูใ้ ห้รวดเร็วยิง่ ขึน้ นับ 10 เท่า ท�าให้ซอี โี อ ที่มาพร้อมกับความสามารถด้าน AI จะกลายเป็น Super CEO ทีม่ พี ลัง Super Power สามารถทดสอบไอเดียธุรกิจได้รวดเร็ว และตัดสินใจได้เฉียบคมขึน้ ช่องว่างระหว่างซีอโี อทีใ่ ช้ AI กับซีอโี อทีไ่ ม่ได้ใช้ AI จะต่างกัน จนส่งผลกระทบกับธุรกิจ และถ้าซีอโี อท่านนัน้ น�าเครือ่ งมือ AI ไปช่วยเพิม่ ศักยภาพให้กบั เลขาฯ หรือผูช้ ว่ ย รอบตัวก็จะกลายเป็น ทีม Super Power และมี Productivity ในการบริหารงานต่างๆ เพิม่ สูงขึน้ อีกหลายเท่า ทักษะในการใช้งาน AI จึงเป็นทักษะส�าคัญทีส่ ดุ ทีซ่ อี โี อ และผู้บริหารระดับ C-Level ทุกคนควรต้องมีในปี 2024 ครับ Create a New Company Blueprint Equipped with AI

การจะเปลีย่ นแปลงทิศทางบริษทั เปลีย่ นวัฒนธรรมองค์กร เปลีย่ นคน และสร้างวิสยั ทัศน์ใหม่ๆ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายครับ เป็นความท้าทายของผูบ้ ริหารและเจ้าของธุรกิจทีต่ อ้ งเจอ แต่กจ็ า� เป็น ต้องมีการวางวิสยั ทัศน์และกลยุทธ์องค์กรใหม่ โดยพิจารณาจาก 3 ด้าน คือ

ความสามารถขององค์กรและพนักงานในปัจจุบนั (Current Capabilities) ขัน้ ตอนการทำางานทัง้ หมด (Processes) เทคโนโลยีตา่ งๆ ทีใ่ ช้งานภายในบริษทั ว่ามีสว่ นไหนบ้าง ทีจ่ ะนำา AI เข้าไปใช้งานได้

วิสยั ทัศน์และกลยุทธ์เป็นเรือ่ งส�าคัญ เพราะเป็นการก�าหนด ทิศทางองค์กร การจะสร้าง New Wave of Business แบบ AI-first ก็มีหลายแบบ ไม่ว่าจะเป็น การเป็น AI-first ในแง่ประสบการณ์ผู้ใช้, การเป็น AI-first ในแง่ของการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับ Operation หรือการสร้างนวัตกรรม

4 5


บางอย่างทีเ่ มือ่ ชัดเจนแล้วว่าต้องการเดินไปทิศทางไหน ก็พัฒนากลยุทธ์ให้สอดคล้องพร้อมกับ Roadmap ว่าจะน�า AI ไปใช้ในส่วนงานไหนบ้าง Redefine a Company Operating System

ส่วนที่ยากสุด คือ การปรับเปลี่ยนระบบปฏิบัติการ ที่ขับเคลื่อนธุรกิจ ก็คือ ‘คน’ เริ่มต้นจาก Top down คือ การให้ความรู้กับทีมผู้บริหารของทั้งบริษัท ให้เข้าใจถึง ศักยภาพของ AI และผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจ ทีส่ า� คัญหลังจากทีมบริหารเข้าใจและเห็นภาพตรงกัน ขัน้ ตอนต่อมา คือ ‘การสร้าง Commitment ร่วมกัน’ เพือ่ ให้ แต่ละคนใช้ทงั้ เวลาและ Resource ทีม่ ชี ว่ ยผลักดันให้เกิดขึน้ การสร้างทีม การหา Talent ใหม่ๆ เข้ามาร่วมทีม การปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรใหม่ๆ เพือ่ สร้างความเปลีย่ นแปลง ระยะยาวก็จะตามมา ทีส่ า� คัญ การมีเครือ่ งมือหลักพืน้ ฐาน ด้าน AI ให้พนักงานทัง้ องค์กรใช้เป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็น เหมือนทีต่ อ้ ง มีโปรแกรมพืน้ ฐานอย่าง Word Processing, Spreadsheet, e-Mail, Chat และถ้าเครือ่ งมือ AI พืน้ ฐานรองรับการท�างาน แบบเป็นทีมด้วย จะยิง่ เพิม่ Productivity ให้สงู ขึน้ ไปอีก หลายเท่าตัว ซึง่ จะได้เห็นความแตกต่างและช่องว่างมหาศาลระหว่าง องค์กรทีใ่ ช้ AI เป็นเครือ่ งมือท�างานพืน้ ฐานกับองค์กร ที่ไม่มีเครื่องมือดีๆ ให้พนักงานใช้ โดยเฉพาะองค์กรที่เป็น คูแ่ ข่งทางตรงในธุรกิจประเภทเดียวกัน ผลแพ้-ชนะ อาจมาจากเรือ่ งเล็กๆ เรือ่ งนีก้ เ็ ป็นได้

AI Literacy & Education การศึกษาและเรียนรูต้ ลอดเวลาเป็นสิง่ สำาคัญ และจำาเป็นมาก เนือ่ งจาก Use Case ใหม่ๆ ของ AI เกิดขึน้ อยูเ่ สมอ ความได้เปรียบจะอยูท่ วี่ า่ ใครรูเ้ ร็วกว่าใคร เพือ่ สร้าง First-mover Advantage และใครรูม้ ากกว่าใคร เพือ่ ทำาในสิง่ ทีด่ กี ว่า และแตกต่างกว่า เช่น การตลาด ก็มเี ครือ่ งมือ AI หลายตัว ทีช่ ว่ ยได้ตงั้ แต่การวางแผนการตลาด การคิดแคมเปญการตลาด การบริหารจัดการช่องทางออนไลน์ โซเชียลมีเดีย การผลิตคอนเทนต์ ทัง้ ข้อความ เสียง และวิดโี อ การยิงโฆษณาแบบ Automated ไปจนถึงการวัดผลการตลาด เพือ่ นำามาปรับปรุงแผน ให้ได้ผลดีขนึ้ แต่ใช้งบการตลาดน้อยลง

อาจมีการลดจ�านวนทีมงานและ Reskill พนักงานการตลาดไปท�างานทีม่ คี ณ ุ ค่าอย่างอืน่ หรือแม้กระทัง่ การลดค่าใช้จา่ ยในการจ้างทีมงานภายนอกได้จา� นวนมหาศาล หรืองาน Customer Service ก็ทา� ได้ตงั้ แต่ Customer Facing ส่วนทีต่ อ้ งเจอลูกค้าทัง้ ตอนขายของกับการแก้ไขปัญหา ซัพพอร์ตต่างๆ ท�าให้ตน้ ทุนในการขับเคลือ่ นธุรกิจลดลง ด้วยการใช้เครือ่ งมือ AI ชนิดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น Conversational AI การพัฒนาซอฟต์แวร์ การท�า Digital Transformation การมีเครือ่ งมืออย่าง GitHub Copilot ก็กลายเป็นผูช้ ว่ ยทีส่ า� คัญ ส�าหรับนักพัฒนาซอฟต์แวร์ทจี่ ะช่วยเร่งความเร็วในการเขียน โปรแกรม ลดความผิดพลาด และท�าให้โปรเจกต์ตา่ งๆ ในการพัฒนาซอฟต์แวร์เร็วมากยิง่ ขึน้ ซึง่ ทัง้ หมดนีต้ อ้ งการ การเรียนรูใ้ หม่ (Upskill) ด้าน AI และต้องการการ Reskill ซึ่งคนที่ถูก AI แทนที่ สามารถปรับเปลี่ยนไปท�างานอย่างอื่น ที่มีคุณค่ากับบริษทั ได้และอีกกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมและกระตุน้ ให้เรียนรู้ตลอดเวลา คือ การท�า Hackathon ภายในบริษัท หรือจัด Competition บางอย่าง เพือ่ หา ‘AI Champion’ มาสร้าง Initiatives ใหม่ๆ ในด้าน AI ให้บริษทั AI ช่วยลดช่องว่างให้คนตัวเล็ก และเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับโลกได้

4 6

หนึง่ ในเทรนด์ธรุ กิจทีม่ าแรง คือ การถือก�าเนิดของ Entrepreneur แบบฉายเดีย่ ว หรือทีเ่ รียกว่า Solopreneur



ทีแ่ ม้จะเป็นเจ้าของธุรกิจเพียงแค่คนเดียว แต่กลับหารายได้ ปีละหลักร้อยล้านได้ ซึง่ ก็มอี ยูไ่ ม่นอ้ ย คนเหล่านีไ้ ม่จา� เป็นต้อง จ้างพนักงานประจ�า ไม่จา� เป็นต้องมีออฟฟิศหรูหราใหญ่โต สามารถท�างานทีใ่ ดก็ได้และไม่จา� เป็นต้องท�างาน 24×7 (ยีส่ บิ สีช่ วั่ โมง, เจ็ดวัน) สามารถควบคุมเวลาการท�างานของ ตัวเองได้อย่างอิสระ โดยทีเ่ ขาเหล่านัน้ สามารถเข้าใจวิธกี าร น�าเครือ่ งมือ AI มาใช้ในธุรกิจ รูว้ า่ ทักษะไหนจะท�าให้เขา ประสบความส�าเร็จได้ รูว้ า่ กลุม่ เป้าหมายแบบเจาะจง (Niche Market) คือใคร จะเข้าถึงได้อย่างไร จะสร้าง Trust สร้าง Community กับคนเหล่านีไ้ ด้ยงั ไง และต้องใช้เครือ่ งมืออะไรบ้าง

4 8

ไม่วา่ จะท�าธุรกิจคนเดียว หรือมีทมี งานขนาดเล็ก ถ้ามีทกั ษะการใช้งาน AI ทีเ่ ก่ง ก็สามารถสร้างความได้เปรียบ บางอย่างให้กบั ตัวเองได้ แม้จะตัวเล็กแต่ถา้ เร็วกว่า + ฉลาดกว่า (ด้วย AI) อาจพลิกล็อกน�าหน้าบริษทั ใหญ่กว่าได้เช่นกัน

ลองมาดู Solopreneur อย่าง Justin Welsh

(รายได้ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี) จากการ ทำา Newsletter, คอร์สเรียนออนไลน์ 3 คอร์ส

Justin Welsh

Dan Koe

(รายได้ 6 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี) จากการทำาคอร์สเรียนออนไลน์สอนเรื่องการเขียน

Peter Levels

(รายได้ 3-5 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี) จากการใช้ AI ทำาแอปฯ สร้างรูป Profile ซึ่งทุกคนได้ ใช้เครื่องมือ AI หลายตัว มาเป็นตัวช่วยทั้งนั้น

Dan Koe

Peter Levels


โอก�สใหม่ๆ ท�งธุรกิจ

I

นอกจาก AI ช่วยเข้ามาลดต้นทุนและเพิม่ ประสิทธิภาพการทำางาน Productivity ต่างๆ แล้ว ยังสามารถสร้างโอกาสธุรกิจใหม่ๆ ได้อกี มากมาย ไม่วา่ จะเป็นการใช้ AI พัฒนาต่อยอดธุรกิจเดิม ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ต้นทุนน้อยลง หรือการใช้ AI เพือ่ สร้างธุรกิจใหม่ ก็สามารถทำาได้ เพราะมีโมเดลธุรกิจใหม่ๆ เกิดขึน้ ตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยี

Conversational AI Chatbot

ปกติหากจะซือ้ หนังสือก็จา่ ยเงินเพียงแค่ 1 ครัง้ เพือ่ ให้ได้หนังสือ มา 1 เล่ม หรืออาจจ่ายเงินเพิม่ อีกก้อนเพือ่ ให้ได้หนังสือ แบบ e-Book และ Audiobooks แต่ตอ่ ไปอาจมีการขายหนังสือ ร่วมกับ Chatbot ที่มีองค์ความรู้ของหนังสือเล่มนั้น บวกกับ องค์ความรู้พเิ ศษทีผ่ เู้ ขียนหนังสือใส่เพิม่ เข้าไป จนเกิดการขาย หนังสือ Bundle คูไ่ ปกับ Chatbot ขึน้ โมเดลธุรกิจก็จะเปลี่ยนจากการจ่ายเงินแบบ One-time เป็นรูปแบบ Recurring Subscription จ่ายเงินรายเดือน สามารถพูดคุยโต้ตอบเกี่ยวกับความรู้ในหนังสือเล่มนั้นได้ เป็นตัวอย่างของโมเดลธุรกิจแบบใหม่ที่มี AI เข้ามาเกี่ยวข้อง โดยการต่อยอดจากคอนเทนต์เดิมทีม่ ี

II

เทคโนโลยี AI Image Generator, Video Generator และ Voice Cloning

มีการน�าเทคโนโลยีทเี่ รียกว่า FaceSwap และ Body Generator ทีใ่ ช้สา� หรับสร้าง Virtual Influencer, ท�า Voice Cloning จาก AI และสร้างร่างอวตารเหมือนจริงมาท�าหน้าทีแ่ ทนบุคคลจริงก็กา� ลัง Disrupt วงการ Live Commerce ทีจ่ นี โดยการใช้ AI เหล่านี้ มาไลฟ์ขายของแทน Influencer ทีเ่ ป็นมนุษย์จริงๆ

และด้วยเทคโนโลยีเดียวกัน ต้นทุนในการใช้นางแบบสวย นายแบบหล่อ มาเป็นพรีเซนเตอร์สินค้าก็ต�่าลง เพราะมี Virtual Influencer เกิดขึน้ นับหมืน่ ทัว่ โลก การมีสตูดโิ อถ่ายภาพ

การจ้างงานคนจริง การเดินทางไปยัง Location สวยๆ เพือ่ ให้ได้ รูปพรีเซนต์สนิ ค้าทีแ่ ตกต่าง กลายเป็นสิง่ ที่ AI ท�าได้เกือบหมด

III

เทคโนโลยี

Conversational AI + Voice API

การใช้ AI พูดคุยสนทนาแทนคน สามารถพัฒนามาอยูใ่ นระดับที่ พูดคุยตอบโต้บทสนทนาได้ โดยทีไ่ ม่มใี ครจับได้ ก็ถกู น�ามา ใช้งานจริงแล้วกับระบบ Call Center ที่สามารถโทรฯ หาคนได้ นับแสนคนในคลิกเดียว พูดคุยสนทนาได้ โดยไม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ย ไม่มอี ารมณ์ความรูส้ กึ ถ้าถูกด่าหรือต่อว่า และเชือ่ มต่อกับ ระบบหลังบ้านในการบันทึก สรุป ส่งการแจ้งเตือน ลงข้อมูลใส่ ระบบ CRM ได้เลย AI ถูกพัฒนาให้ทำาหน้าที่เหล่านี้ได้ดีขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ คนที่ทำางานด้านนี้ก็มีอัตราการลาออกสูงมากเพราะเครียด การแทนที่ Call Center ที่ใช้คนทำา และเปลี่ยนไปใช้ AI แทน ก็สร้างโอกาสให้กับธุรกิจที่มีเทคโนโลยี มีความรู้ด้านนี้ และ ตัวบริษทั Call Center เองก็นา่ จะพิจารณา Disrupt ตัวเองก่อน เพราะยังมีความรู้ด้าน Conversation Design ที่คนอื่นยังไม่มี เพื่อสร้าง New Growth Engine ด้วย AI ก็เป็นได้ เทคโนโลยี AI มีความหลากหลายมากเกินกว่า Generative AI สามารถเอาไปใช้งานได้กับธุรกิจมากมาย ในแทบจะทุกฟังก์ชันธุรกิจ และสำาหรับใครที่กำาลังลังเลในเรื่องของการนำา AI มาใช้ ในวินาทีที่คุณลังเล มีคนอีกจำานวนมากในโลกกำาลังคิดจะ Disrupt บางส่วนบางฟังก์ชันของธุรกิจ มากไปกว่านั้น คือ การ Disrupt ธุรกิจแบบทดแทนได้เลย ถึงเวลาแล้วครับที่ต้องคิดว่า ธุรกิจของคุณจะนำา AI ไปใช้ เพือ่ ทำาอะไรบ้าง และจะใช้ AI ช่วยขับเคลือ่ นสร้าง Growth Engine ตัวใหม่ได้อย่างไร

4 9


gm club

อิซาโอะ เซคิกจุ ิ : สุกฤษฏิ์ บูรณสรรค์

: สรรค์ภพ จิรวรรณธร

กับ ‘ความท้าทาย’ ที่รอคอยข้างหน้า ในฐานะประธาน นิสสัน ประเทศไทย และประธานภูมิภาคอาเซียน เมือ่ โลกธุรกิจรถยนต์กำ� ลังเข้ำสูก่ ำรเปลีย่ นผ่ำนบนเส้นทำงทีม่ กี ำ� ลังกำรขับเคลือ่ นด้ำนกำรแข่งขันสูง ชนิดทีเ่ ปรียบได้กบั แรงม้ำของเครือ่ งยนต์ทวี่ ำ่ แรงและเร็วแล้วยังต้องแพ้ ไม่วำ่ จะเป็นเรือ่ งนวัตกรรม ดีไซน์ รำคำ รวมไปถึงกำรบริกำร พร้อมกำรมำของแบรนด์คำ่ ยรถยนต์นอ้ งใหม่มำกมำยทีน่ ำ่ จับตำมอง ในขณะทีแ่ บรนด์คำ่ ยเก่ำก็กำ� ลังปรับตัวอย่ำงเต็มทีเ่ พือ่ สูก้ บั สถำนกำรณ์นี้ ในขณะทีช่ อื่ ของ ‘นิสสัน’ (Nissan) คือยำนยนต์อนั ดับต้นๆ ทีค่ รองใจผูข้ บั ขีข่ องประเทศไทยมำอย่ำงยำวนำน ซึง่ ในสถำนกำรณ์เช่นนีม้ คี วำมพร้อมแค่ไหน และจะไปในทิศำงใด โดยเฉพำะกำรท�ำตลำดในภูมภิ ำคนี้ คือสิ่งที่ส�ำคัญอย่ำงยิ่ง มำร่วมหำค�ำตอบทั้งหมดไปกับ อิซำโอะ เซคิกุจิ ประธำน นิสสัน ประเทศไทย และประธำนภูมภิ ำคอำเซียน ถึงทิศทำงทีน่ สิ สันจะก้ำวต่อไปในเวลำถัดจำกนี้ กับ GM Magazine กันได้เลยครับ


: GT-R ตัวปัจจุบัน

มุมมองต่อตลาดรถยนต์ไทย ประเทศไทยเป็นหนึง่ ใน ‘ตลาด’ ทีม่ ี เซคิกจุ ซิ งั ความเฉพาะตัวตลาดหนึง่ ในโลก ไม่วา่ จะเป็น 1 ใน 2 ของรถยนต์ทขี่ ายในประเทศไทยเป็นรถกระบะ และในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ประเทศไทยมีผผู้ ลิตรถยนต์สญ ั ชาติ ญีป่ นุ่ เป็นผูเ้ ล่นหลัก อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ดงั กล่าว เริม่ เปลีย่ นไป เราเห็นแบรนด์ใหม่จา� นวนมากจากจีน เกาหลี และ อื่นๆ ซึ่งท�าให้อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยโดยเฉพาะ รถยนต์ทขี่ บั เคลือ่ นด้วยไฟฟ้าคึกคักมาก ช่วยเล่าถึงพันธกิจในประเทศไทย ผมมารับต�าแหน่งทีป่ ระเทศไทยเมือ่ เกือบ 3 ปี เซคิกจุ ซิ งั ทีแ่ ล้ว ในขณะทีท่ วั่ โลกตกอยูใ่ นสถานการณ์ COVID-19 ขัน้ วิกฤติ เรามีความท้าทายมากมายในการจัดหา เซมิคอนดักเตอร์ เช่น เราไม่สามารถผลิตหรือจัดหารถยนต์ได้ ตามทีเ่ ราต้องการ นิสสันเป็นแบรนด์หนึง่ ในขณะนัน้ ทีป่ ระสบ ปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์มากทีส่ ดุ โดยในตอนนัน้ สิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือการจัดหาชิน้ ส่วนทีใ่ ช้ในการผลิตเพือ่ ให้เรา สามารถผลิตรถยนต์ให้กบั ลูกค้าของเราในประเทศไทยได้ ตอนนีแ้ ม้วา่ สถานการณ์ตา่ งๆ จะดีขนึ้ แต่ความท้าทายทีเ่ คยมี อยูน่ น้ั ก็จะยังด�าเนินต่อไปอีกเล็กน้อยเนือ่ งด้วยสถาณการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั อาทิ สงคราม หรือ สภาพเศรษฐกิจถดถอย ขณะทีค่ วามท้าทายหลักคือการสร้างแบรนด์และผลิตภัณฑ์ ให้แข็งแกร่งเพือ่ ให้ตอ่ สูก้ บั คูแ่ ข่งซึง่ ก็คอื ผูผ้ ลิตรายอืน่ ๆ การแข่งขันในธุรกิจยานยนต์เป็นอย่างไรในขณะนี้ ส�าหรับในประเทศไทย เซคิกจุ ซิ งั ต้องขอขอบคุณส�าหรับยุทธศาสตร์ทชี่ ดั เจนจาก ภาครัฐ มีการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ตงั้ แต่การน�าเข้ารถยนต์ ไปจนถึงการผลิตในประเทศ ผมคิดว่าทิศทางโดยรวมของ การมุง่ เน้นทีพ่ ลังงานไฟฟ้าเนือ่ งจากนโยบายความเป็นกลางทาง คาร์บอน และความพยายามในการลด PM 2.5 เพือ่ สร้าง สภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เป็นสิง่ ทีร่ ฐั บาลพยายาม ท�าและประเทศไทยก็อยูใ่ นแนวทางนัน้ สิง่ ทีผ่ มก�าลังมองคือ ความเร็วในการเปลีย่ นผ่าน ลูกค้าชาวไทยพร้อมไหมกับ การเปลีย่ นผ่านนีม้ ากแค่ไหน ทีผ่ มกล่าวไปตอนต้นทีผ่ า่ นมา รถยนต์ 1 ใน 2 เป็นรถกระบะและก็เป็นเครือ่ งดีเซล และ ณ เวลานีย้ งั ไม่มยี หี่ อ้ ไหนผลิตกระบะ หรือ EV ยีห่ อ้ ไหนทีส่ ามารถ

ขึน้ ดอยทีเ่ ชียงใหม่พร้อมบรรทุกผักหรือผลไม้ 3 ตันนัน้ ยังไม่มี แม้ว่าเราจะเห็นรถยนต์ไฟฟ้า แต่ส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพฯ และ เขตเมืองใหญ่ หากมีความจ�าเป็นต้องเปลีย่ นไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า ผมคิดว่าเมือ่ นัน้ การเปลีย่ นแปลงจะเกิดขึน้ ในวันนีเ้ ราได้เห็น ผูค้ นบุกเบิกการใช้รถยนต์ไฟฟ้ามากขึน้ และรถยนต์ไฟฟ้าก็เป็น ทีย่ อมรับมากขึน้ แม้วา่ ทิศทางโดยรวมจะดีขน้ึ แต่คา� ถามคือ ความเร็วและไทม์ไลน์ หรือช่วงเวลาในการเปลีย่ นผ่านนัน้ จะเป็นอย่างไร นี่คือสิ่งที่เรายังคงเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด โดยผมคิดว่าสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ จะเปลีย่ นไป โดยการเปลี่ยนแปลงจะมาจากพฤติกรรมของลูกค้า วิธีที่ลูกค้า ซือ้ รถ วิธที ล่ี กู ค้าต้องการรับการบริการ รวมถึงวิธที ลี่ กู ค้ามองหา รถใหม่จะไม่เหมือนกับช่วงก่อน COVID-19 แน่นอน และอย่างทีผ่ ม ได้กล่าวไปก่อนหน้านี้ การแข่งขันได้เปลีย่ นไปอย่างมากในช่วง 2-3 ปี ทีผ่ า่ นมา ผูค้ นอาจไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่าจะเห็นรถยนต์ไฟฟ้า จ�านวนมากบนท้องถนนในกรุงเทพฯ และทีอ่ นื่ ๆ ผมคิดว่า เป็นช่วงเวลาทีน่ า่ สนใจส�าหรับตลาดรถยนต์ในประเทศไทยมาก สถานการณ์และความท้าทายของตลาดยานยนต์ไฟฟ้า ในประเทศไทย ผมคิดว่าเราอยู่ในช่วงเริ่มต้นที่มีผู้เล่น เซคิกจุ ซิ งั มากมายเข้ามาในตลาด หรือที่เรียกว่าผู้ใช้ รถยนต์ไฟฟ้ารุน่ บุกเบิก นีจ่ ะเป็นเพียงคลืน่ ลูกใหญ่ หรือจะ เป็นการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ในการทีล่ กู ค้าจะซือ้ ใช้ และ ชืน่ ชอบรถยนต์ไฟฟ้า ผมคิดว่ายังเร็วไปทีจ่ ะคาดการณ์ในตอนนี้ รวมถึงแบรนด์จากสหรัฐฯ และยุโรป กลยุทธ์การแข่งขันด้านรถยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค หากดูถงึ ภาพรวม รัฐบาลของแต่ละประเทศไทย เซคิกจุ ซิ งั และอินโดนีเซียก�าลังพยายามผลักดันให้ EV เป็นรถยนต์ประเภทต่อไปทีจ่ ะผลิตและส่งออก อินโดนีเซีย มีทรัพยากรมากมายส�าหรับการผลิตแบตเตอรี่ และประเทศไทย ก็กา� ลังผลักดันให้เป็นศูนย์กลางด้านการผลิตยานยนต์ทใี่ ช้ พลังงานไฟฟ้า ตอนนีย้ งั เร็วเกินไปทีจ่ ะบอกว่าบริษทั ใดมี การแข่งขันด้านการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าเพือ่ การส่งออกมากกว่ากัน ตอนนีเ้ ราต้องเข้าใจสถานการณ์กอ่ นว่าลูกค้ายอมรับการใช้งาน รถยนต์ไฟฟ้ามากน้อยเพียงใด เราจะค่อยๆ เห็นภาพนัน้ เพิม่ ขึน้ ในปีตอ่ ๆ ไป

5 1


: Concept Car - JMS (รูปจำก Global)

5 2

แต่เมื่อเร็วๆ นี้ตามที่เราเห็นในข่าว ยุโรปได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ เล็กน้อย จากรถยนต์ไฟฟ้า 100% เป็นการผสมผสานระหว่าง รถยนต์ไฟฟ้าและเครือ่ งยนต์ประเภทอืน่ ๆ ดังนัน้ จากมุมมองของผม คือลูกค้าจะเป็นผูต้ ดั สินใจในทีส่ ดุ แต่เราจะดูวา่ การยอมรับใน ภูมภิ าคเราจะเป็นอย่างไร ไทย อินโดนีเซีย และกลุม่ ประเทศอาเซียน และดูความพร้อม รวมถึงโครงสร้างพืน้ ฐานในการชาร์จไฟฟ้า และอุปทานของกระแสไฟฟ้าในประเทศต่างๆ จะเป็น หนึง่ ในกุญแจส�าคัญในอนาคต โครงสร้ำงพื้นฐำนของรถยนต์ไฟฟ้ำ (EV) เป็นอย่ำงไร แนวทางของเราสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของบริษทั เซคิกจุ ซิ งั ทีเ่ ราเรียกว่า Nissan Ambition 2030 ทีป่ ระกาศ เมื่อ 3 ปีก่อน คือ การมุ่งเน้นและวางกลยุทธ์ในสิ่งที่เราเรียกว่า การขับเคลือ่ นด้วยพลังงานไฟฟ้า เมือ่ นิสสันมีผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ พลังงานไฟฟ้าขับเคลือ่ น 2 แบบ โดยแบบแรก คือ BEV (Battery Electric Vehicle) น�าโดย นิสสัน ‘ลีฟ’ ซึง่ เป็นเหมือนสัญลักษณ์ของ นิสสัน โดยเริม่ จ�าหน่ายมาตัง้ แต่ปี 2010 และอีกแบบหนึง่ เรียกว่า e-Power ซึง่ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และเราผลิตและประกอบ เครือ่ งยนต์ทน่ี ใี่ นประเทศไทย พลังในการขับเคลือ่ นมาจาก มอเตอร์ไฟฟ้า 100 เปอร์เซ็นต์ แต่ลกู ค้าไม่ตอ้ งชาร์จไฟเหมือน BEV เพียงแค่ต้องเติมน�้ามัน ซึ่ง BEV และ e-Power นี้จะเป็น 2 เสาหลักของกลยุทธ์ ทีส่ ง่ เสริมเรือ่ งการขับเคลือ่ นด้วยพลังงาน ไฟฟ้าของนิสสันทัว่ ทัง้ โลก สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตรงกับวิสัยทัศน์ของนิสสันในปี 2030 หรือไม่ สิง่ นีส้ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของนิสสัน เซคิกจุ ซิ งั เป็นอย่างดี ด้วยปริมาณการใช้รถยนต์ไฟฟ้าที่ เพิม่ ขึน้ เราไม่เพียงแต่โฟกัสที่ BEV เพียงอย่างเดียว เพราะเรายังมี e-Power ทีเ่ ป็นจุดเชือ่ มในการเปลีย่ นผ่านจากเครือ่ งยนต์สนั ดาป ทีใ่ ช้นา�้ มันสูร่ ถแบบ EV ก็เพราะมันขับเคลือ่ นด้วยไฟฟ้า 100 เปอร์เซ็นต์ เพียงแต่ไม่ตอ้ งชาร์จ ตัง้ แต่ผมย้ายมารับต�าแหน่ง

: กำรผลิต Kicks + กำรผลิต Battery e-Power

ทีป่ ระเทศไทยยอดขายของ Kicks e-Power เพิม่ ขึน้ ถึงกว่า 2 เท่าตัว และนัน่ แสดงให้เห็นว่า e-Power เป็นทีย่ อมรับในตลาดไทยมากเพียงใด นิสสันดีใจมากที่ e-Power ได้รบั การยอมรับจากลูกค้าในแต่ละตลาด ในฐานะของเทคโนโลยีทขี่ บั สนุก โดยทีล่ กู ค้าได้ประสบการณ์ของรถยนต์ ไฟฟ้าแต่ไม่ตอ้ งเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้รถเหมือนทีผ่ า่ นมา เพราะว่า สาธารณูปโภครวมถึงเทคโนโลยีโดยเฉพาะแบตเตอรีไ่ ฟฟ้ายังมีขอ้ จ�ากัด จะมีรถรุ่นใหม่เข้ำมำที่ Nissan Thailand หรือไม่ ขอบคุณทีเ่ ป็นแฟนนิสสัน ซึง่ เราให้ความส�าคัญมากทีส่ ดุ เซคิกจุ ซิ งั คนไทยจ�านวนมากรักหลายรุน่ เราด�าเนินธุรกิจ ในประเทศไทยมาตัง้ แต่ปี 2495 ซึง่ เริม่ ต้นด้วยรถกระบะ และวันนีก้ ม็ ี รถยนต์นงั่ เรามี EV เรามีรนุ่ e-Power และรถกระบะ มีบางช่วงที่ การท�าผลิตภัณฑ์ของเราไม่สอดคล้องต่อเนือ่ ง แต่เราก�าลังปรับเปลีย่ น ผลิตภัณฑ์และกลยุทธ์ของแบรนด์เรา ผมคิดว่าความสอดคล้องของ กลยุทธ์และการท�างานกับแบรนด์และ ความเข้าใจในแฟนๆ ของนิสสัน เป็นสิง่ ส�าคัญ เราเริม่ วางกลยุทธ์ของเราเมือ่ สองสามปีทแี่ ล้ว เราก�าลัง ด�าเนินการทีละขัน้ ตอน จะค่อยๆ เห็นว่าแบรนด์ของเราแข็งแกร่งขึน้ ทุกปี รุน่ ทีเ่ รามีในปัจจุบนั คือ Kicks e-Power, Almera, Terra, และ Navara รวมถึงเรามี Iconic ของ Brand อย่าง GT-R Supercar ทีใ่ ครๆ ก็ชนื่ ชอบและเป็นทีร่ จู้ กั และ Leaf ทีเ่ ป็นยานยนต์ไฟฟ้าคันแรกที่ จ�าหน่ายในเชิงพาณิชย์ซงึ่ เป็นทีย่ อมรับจากลูกค้าทัว่ โลก นอกจากนัน้ เรายังมีแผนทีจ่ ะเพิม่ รุน่ ใหม่ๆ ในประเทศไทยอีกด้วยแน่นอน


กับ Navara เป็นอย่ำงไร หลำยคนรอ Navara รุ่นใหม่ ไม่ใช่แค่ Navara เท่านัน้ ทีเ่ ราก�าลังศึกษาและรับฟัง เซคิกจุ ซิ งั ลูกค้าอย่างถีถ่ ว้ นถึงคุณสมบัติ สเปก รวมถึงลักษณะ เฉพาะทีล่ กู ค้าชาวไทยมองหาในรถยนต์ เราก�าลังศึกษาและพัฒนา ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าชาวไทย แล้ว GT-R เป็นอย่ำงไร เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ทึง่ มากจริงๆ ทีเ่ รามีแฟนๆ GT-R ชาวไทย เซคิกจุ ซิ งั จ�านวนมากในประเทศไทย ทันทีที่ GT-R เปิดจอง ในประเทศไทย ก็ถกู จองจนหมด ด้วยการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ ทีผ่ า่ นปริมาณการผลิต GTR จึงมีอย่างจ�ากัดมากทัว่ โลก แต่เราก็สามารถ น�าเข้ามาในประเทศไทยได้จา� นวนหนึง่ เพราะเรามีแฟนๆ อยูเ่ ป็น จ�านวนมากครับ โดยขณะนี้เรายังมีลูกค้า GT-R ใหม่ๆ เข้ามาอย่าง ต่อเนื่อง แสดงให้เห็นถึงความชื่นชอบของแฟนตัวจริงของรถ Super Sport รุน่ นีจ้ ริงๆ กำรบริหำรควำมเสี่ยงส�ำหรับประเทศไทย ถ้ามองประเทศไทยกับประเทศทีผ่ มเคยท�างานมา เซคิกจุ ซิ งั ประเทศไทยมีจดุ แข็ง เพราะนิสสันอยูใ่ นตลาดมากว่า 70 ปี เรามีฐานการผลิตทีแ่ ข็งแกร่งมากในประเทศ เรามีโรงงานถึง 2 แห่ง และเรามีโรงงานเครือ่ งยนต์ เรามีบริษทั ผลิตเครือ่ งมือ และขึน้ แบบต่างๆ การลงทุนขนาดใหญ่เกิดขึน้ ในประเทศไทย และเรา จะยังลงทุนในไทยต่อไป โดยเฉพาะการมี Minor Change และน�ารุน่ ใหม่ๆ เข้ามา และนัน่ แสดงให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ของเราทีม่ ตี อ่ ประเทศไทย และยังแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มี เสถียรภาพมาก ซึง่ สามารถดึงดูดการลงทุนได้อย่างต่อเนือ่ ง ข้อพิสจู น์ อีกประการหนึง่ คือการทีค่ แู่ ข่งรายอืน่ ก�าลังเข้ามาและลงทุนกัน อย่างคึกคัก ผมคิดว่าโดยรวมแล้ว แน่นอนเราต้องวัดกันทีก่ ารจัดการ ทีเ่ หลือ แต่ประเทศไทยเป็นประเทศทีม่ น่ั คงมาก มีหว่ งโซ่อปุ ทาน ทีแ่ ข็งแกร่งมาก เพราะบริษทั รถยนต์เพียงอย่างเดียวไม่สามารถผลิต รถยนต์ได้ รถยนต์ 1 คัน จะมีสว่ นประกอบต่างๆ ถึง 30,000 ชิน้ เรามีซัพพลายเออร์ ใน Tier ที่ 2 ที่ 3 ที่แข็งแกร่ง มีซัพพลายเออร์ ท้องถิน่ จ�านวนมากทีม่ คี วามแข็งแกร่ง อยูใ่ น Ecosystem ทีเ่ รามี

ผมมองว่าความเสีย่ งนัน้ อยูท่ กี่ ารขาดแคลนชิน้ ส่วน อย่างกรณีของ เซมิคอนดักเตอร์และวิกฤติเช่น COVID-19 คงไม่มใี ครคาดคิดมาก่อน ว่าสถานการณ์เช่นนีจ้ ะรุนแรง ดังนัน้ ทีมงานของเราในญีป่ นุ่ และใน ประเทศไทยจึงเริม่ จ�าลองความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต และจะ จ�ากัดการเปลีย่ นแปลงเหล่านัน้ ได้อย่างไร และผมคิดว่าควรมีการรีววิ Supply Chain ของเราให้แข็งแกร่งขึน้ ปัจจุบนั กลยุทธ์ของนิสสันในภูมภิ าคนีค้ อื การรวบรวม การผลิตโดยใช้ชนิ้ ส่วนในท้องถิน่ ซึง่ ส่วนใหญ่มอี ยูใ่ นประเทศไทย ผมคิดว่าเป็นกลยุทธ์ทชี่ ดั เจนมากและยังท�าให้การจัดการของเราง่ายขึน้ โดยเฉพาะเมือ่ เกิดสถานการณ์ทไี่ ม่คาดคิด ข้อควำมที่อยำกฝำกถึงลูกค้ำนิสสันในประเทศไทย ผมคิดว่านิสสันยังคงเดินหน้าสร้างแบรนด์ให้ เซคิกจุ ซิ งั แข็งแกร่งขึน้ เรามีแฟนๆ มากมาย รวมถึงสมาชิก GT-R ทีร่ จู้ กั และชืน่ ชอบ GT-R Datsun ก็เป็นหนึง่ ในชือ่ ทีห่ ลายๆ คน ในประเทศไทยจ�าได้วา่ เป็นรถกระบะทีแ่ ข็งแกร่งและทนทาน และเรายังคงสืบทอดมรดกนัน้ มาสู่ Navara ของเราจนถึงทุกวันนี้ แต่ความท้าทายอย่างหนึง่ ทีผ่ มเจอและพยายามท�าให้ดขี นึ้ คือ คนรุน่ เราขึน้ ไปจะจดจ�านิสสันว่าเป็นแบรนด์ทดี่ มี าก เป็นแบรนด์ที่ แข็งแกร่งมาก คนรุน่ ใหม่อาจไม่คอ่ ยมีความผูกพันกับแบรนด์นสิ สัน เท่าไหร่ และนีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราก�าลังท�าให้ดขี นึ้ ท�าอย่างไรให้นสิ สัน เป็นแบรนด์สา� หรับทุกคนรวมถึงคนรุน่ ใหม่ ซึง่ สิง่ เหล่านี้ ในระดับโลกเองเราก็ให้ความส�าคัญอย่างมาก จะเห็นว่าในงาน Japan Mobility Show 2023 หรือชือ่ เดิม คือ Tokyo Motor Show Nissan เราได้น�าเสนอรถยนต์ต้นแบบถึง 5 คัน ทีต่ อบโจทย์การเปลีย่ นแปลงการใช้ชวี ติ ของผูค้ น โดยเราใช้ Theme ทีว่ า่ Electrified Excitement ส�าหรับ ‘ภารกิจในประเทศไทย’ เรามีสง่ิ ทีต่ อ้ งท�าอีกมาก แต่เรามีความคืบหน้า และผมตัง้ ตารอทีจ่ ะใช้เวลากับประเทศไทย ให้มากยิง่ ขึน้ เรามุง่ มัน่ พยายามท�าให้แบรนด์นสิ สันเป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ และเป็นทีร่ กั มากยิง่ ขึน้ พร้อมสร้างแฟนๆ นิสสันในประเทศไทย ให้มากขึน้ อีกด้วยครับ

: Leaf กับกำร Charge ไฟ

5 3


‘นโยบายเงินหมื่น’


trend biz : Couching Economist

และข้อกังขาในด้าน ความเท่าเทียม การกระตุน้ เศรษฐกิจ และภาคการปฏิบตั ิ เป็นทีแ่ น่นอนแล้วว่า นโยบาย ‘แจกเงินหมืน่ ’ ภายใต้การน�าของรัฐบาลเพือ่ ไทย จะยังคงเดินหน้า ต่อไปเพื่อให้ลุล่วงตามที่ได้ประกาศเอาไว้ในการหาเสียง หลังจากที่มีข้อโต้แย้ง กังขา และค�าถาม ต่างๆ มากมายในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา ในส่วนค�ำตอบนัน้ แน่นอนว่ำ อำจจะไม่ใช่คำ� ตอบทีช่ วน ให้หำยสงสัยไปเสียหมด และอำจจะถูกมองว่ำเป็นกำร ‘ซือ้ เวลำ’ ต่อไปเรือ่ ยๆ ในขณะทีภ่ ำครัฐพยำยำมหำแนวทำง ข้อปฏิบัติ และพิจำรณำข้อบวก-ลบของนโยบำยดังกล่ำว จนกว่ำจะถึงจุดทีล่ งตัวเหมำะสมทีส่ ดุ แต่ถึงอย่ำงนั้นแล้ว ควำมมุ่งหมำยที่จะ ‘กระตุ ้ น เศรษฐกิจ’ ของนโยบำยเงินหมื่นในครั้งนี้ก็ยังคงมีเรื่องที่ น่ำสงสัยและจุดบอดซ่อนเร้นอยูไ่ ม่นอ้ ย ทีย่ งั ต้องกำรค�ำตอบ ทีช่ วนให้หำยข้องใจ สร้ำงควำมสบำยใจกันทุกฝ่ำย ในข้อแรก-เงื่อนไขของกำรแจกเงินหมื่นให้ผู้ที่มีอำยุ ตั้งแต่ 16 ปี ออกมำใช้จ่ำยนั้นเป็นกำรวำงเป้ำหมำยที่ ‘กว้ำงจนเกินไป’ และขำดกำรมองปัจจัยในจุดย่อย เพรำะกำร กระตุน้ เศรษฐกิจจะต้องเกิดกำร ‘ใช้จ่ายใหม่’ (Net New Expense) เพือ่ น�ำเงินมำหมุนเวียนในระบบ ไม่ใช่กำรน�ำเงิน ทีเ่ พิง่ ได้รบั ‘มาใช้ชดเชย’ (Substitute Expense) เงินที่ ตัง้ ใจะจ่ำย แล้วเก็บออมเงินก้อนแรกไว้แทน ซึง่ แม้จะช่วย ควำมมัง่ คัง่ ให้กบั ผูอ้ อมในระยะยำว แต่ผลในเชิงกำรกระตุน้ เศรษฐกิจอำจจะไม่ได้ดงั่ ใจรัฐบำล หรื อ ถ้ ำ มองว่ ำ ไม่ ไ ด้ ช ่ ว ยเหลื อ เพี ย งแค่ ค นยำกจน แต่เป็นประชำชนทัง้ ประเทศ อัตรำกำรใช้จำ่ ยของแต่ละกลุม่ ประชำชนจะช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของประเทศได้มำกน้อย แค่ไหน ? คนรวยอำจจะน�ำเงินไปใช้จ่ำยนอกประเทศ เสียดุลกำรช�ำระเงินเป็นรอยรัว่ ทีเ่ สียไป ชนชัน้ กลำงและคน สูงวัยอำจจะน�ำไปอดออมไม่นำ� ออกมำใช้ ซึง่ จะเวียนเข้ำสู่

เรือ่ งกำรถกเถียงของ New Expense และ Substitute Expense ทีก่ ล่ำวไปในข้ำงต้น มำตรชี้วัดทำงเศรษฐกิจก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่น่ำกังขำ เพรำะกำรใช้งบกำรเงินของครัวเรือน (Household Balance Sheet) เป็นตัวผ่ำนในกำรกระตุ้นเศรษฐกิจในภำวะที่หนี้ ครัวเรือนสูงอยู่อำจจะไม่ได้มีประสิทธิภำพมำกเท่ำกับกำร ใช้จำ่ ยผ่ำนงบกำรเงินของภำครัฐ (State Balance Sheet) ในโครงกำรที่ ช ่ ว ยปลดล็ อ กข้ อ จ� ำ กั ด หรื อ คอขวดต่ ำ งๆ ในกิจกรรมทำงเศรษฐกิจที่จะช่วยเพิ่มขีดควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขันของประเทศในระยะยำว

จำกทีก่ ล่ำวไปข้ำงต้นจะกลำยเป็นข้อถกเถียงได้ 2 ทำง ว่ำแท้จริงแล้วกำรกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยกำรแจกเงินหมื่น

5 5


ไปยังครัวเรือนนัน้ กระตุ้นได้จริงหรือ ? ด้วยจ�ำนวน เงินที่เทียบเท่ำกัน จะดีกว่าหรือไม่ ถ้ำหำกรัฐบำล จะยอมถอย แล้วใช้เงินนัน้ ลงทุนไปกับโครงสร้ำงพืน้ ฐำน ทีส่ ำมำรถต่อยอดออกไปได้มำกกว่ำ ? นีเ่ ป็นค�ำถำมทีน่ ำ่ สนใจอย่ำงมำก เพรำะในทำงหนึง่ กำรกระตุน้ เศรษฐกิจด้วยระบบและโครงสร้ำงพืน้ ฐำน สำมำรถคำดกำรณ์และวัดผลที่น่ำจะเกิดขึ้นได้ตำม แนวทำงสถิตแิ ละกำรเงิน แต่เป็นกำรลงทุนระยะยำว ที่อำจจะไม่ได้เกิดผล ‘ในทันที’ เมื่อเทียบกับกำรจับ เงินหมืน่ ใส่มอื ครัวเรือนเพือ่ ออกไปใช้จำ่ ย แล้วการใช้จ่ายของครัวเรือน กระตุ้นได้จริงๆ หรือ ? อย่ำลืมว่ำ-ในยุคปัจจุบนั นอกเหนือจำกกำรกระตุน้ เศรษฐกิจแล้ว ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันระดับ ประเทศและระดับโลก (Global Competitiveness) ก็ เ ป็ น อี ก มำตรชี้ วั ด ถึ ง ควำมเจริ ญ ทำงเศรษฐกิ จ ประเทศที่ ส ำมำรถพั ฒ นำบุ ค ลำกรที่ มี คุ ณ ภำพ สร้ ำ งสรรค์ น วั ต กรรมใหม่ ๆ คิ ด ค้ น ประดิ ษ ฐ์ ห รื อ วิจัย เป็นแนวทำงที่หลำยประเทศเลือกใช้ เพรำะให้ ผลิตภำพทีด่ ใี นระยะยำว

5 8

เงินหมื่นอำจจะคึกคักในช่วงแรกของกำรใช้จ่ำย แต่สดุ ท้ำยก็คอื กำรจ่ำยเงินเพือ่ ‘ใช้จ่ายเป็นรายวัน’ แล้วจบกัน ไม่ได้สร้ำงหรือหลงเหลือสิ่งใดทิ้งเอำไว้ เพือ่ กำรต่อยอดต่อไปในอนำคต

ยังไม่นับรวมปัญหำด้ำนวิธีกำรที่จะน�ำเงินหมื่น ไปสู่มือของประชำชน (สรุปจะใช้แอปพลิเคชันเดิม ของรัฐบำลทีแ่ ล้วหรือจะพัฒนำด้วยระบบ Blockchain ที่ยังไม่มีทีท่ำว่ำจะเกิดขึ้น ?) ร้ำนค้ำและกำรใช้งำน เงิ น หมื่ น (ที่ ดู จ ะมี ข ้ อ จ� ำ กั ด มำกขึ้ น ทุ ก ครั้ ง ที่ มี ประกำศใหม่ๆ จนเกือบจะเหลือแค่เพียง Chain Store ของพ่อค้ำรำยใหญ่ทเี่ รำรูก้ นั ดี)


ดังนั้น ‘การแจกเงินหมื่นครั้งนี’้ จึงไม่ใช่สิ่งที่ จะสามารถท�าได้งา่ ยๆ เพียงแค่หยิบเอาเงินไปวาง ใส่มือ แล้วกระตุ้นให้คนออกไปซื้อของ ผลิ ต ภาพของประเทศโดยรวม ขี ด ความ สามารถในการแข่งขัน ผลประโยชน์ในแง่ระบบ และโครงสร้างในระยะยาว เป็นปัจจัยที่สมควร เอามาคิดทบในสมการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และแน่ น อน-ย่ อ มมี ค� า ตอบที่ อ าจจะไม่ ไ ด้ น่าฟังนัก ว่าสิ่งที่กล่าวไป ‘สามารถท�าได้’ ไม่ได้ จ�ากัดแค่เพียงการแจกเงินตามทีร่ ฐั บาลได้ตงั้ ใจไว้ จับปลาให้คนกิน เขามีกินได้แค่เพียงหนึ่งวัน แต่ ถ ้ า คุ ณ สร้ า งระบบจั บ ปลาที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คุณอาจจะไม่ต้องสอน แล้วประชาชนจะสรรหา วิธีการที่จะท�าอะไรสักอย่างกับ ‘ปลา’ ที่อยู่ใน แม่น�้านั้นเอง งบประมาณของประเทศก็เช่นกัน

5 7


: Filmholic

film

The Killer

การพังทลายของนาย ‘สมบูรณ์แบบ’

‘เขา’ เป็นชายชาวตะวันตกธรรมดาคนหนึ่ง

5 8

แต่งตัวไม่สนสไตล์ ชอบพูดกับตัวเอง ท�างานซ�้าๆ ที่ได้รับมอบหมายอย่างหมดจด ถูกต้อง จนกลายเป็นกิจวัตรจ�าเจที่แทบไม่ใส่ใจ เขาชอบการอ่านหนังสือ จดจ�าวรรคทอง และฟังเพลงจากวง The Smiths ขณะท�างาน…


‘เขา’ นิยามตัวเองว่าเป็น ‘มนุษย์สมบูรณ์แบบ (Perfectionist)’ แต่แล้ววันหนึง่ ‘เขา’ ท�างานผิดพลาด และเป็นครัง้ แรกทีโ่ ลก แห่ง ‘ความสมบูรณ์แบบ’ ได้พงั ทลายลงต่อหน้า ส�าหรับงานทัว่ ไป ความผิดพลาดคือการเสียเวลา เสียชือ่ เสียง เสียเงินทอง แต่สา� หรับ ‘เขา’ แล้วนัน้ ‘ความผิดพลาด’ อาจจะตามมา ด้วยการ ‘เสียชีวติ ’ ถ้าหากไม่ทา� อะไรสักอย่างลงไป ‘เขา’ คือ ‘นักฆ่า’...

และ ‘เขา’ คื อ ตั ว เอกใน ภาพยนตร์เรื่อง ‘The Killer’ ในการก�ากับของ David Fincher ที่ ฉ ายทางเครื อ ข่ า ย Netflix อยู่ในขณะนี้ ที่จะจูงมือคุณไปสู่ ความบรรลัยพินาศของชายนักฆ่า ทีท่ า� งานผิดพลาด และต้องออก จาก ‘Safe Zone’ ของตัวเอง เพื่ อ ตามแก้ ไ ขผลลั พ ธ์ จ าก ความผิดพลาดนัน้ ๆ The Killer จัดเป็นโปรเจ็กต์ ที่เหล่าแฟนๆ หนังของ David Fincher ผูก้ า� กับ Se7en และ Gone Girl ต่างตัง้ หน้าตัง้ ตาเฝ้ารอ เป็นงานดัดแปลงจากคอมมิกฝรั่งเศสเรื่อง ‘Le Tueur’ ของ Alexis Nolent ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิตของ ‘เขา’ (รับบทโดย Michael Fassbender นักแสดงชื่อดังที่หลายคนคุ้นเคยกันดี) ยอดนักฆ่านิรนาม ผูม้ ฝี มี อื ระดับปรมาจารย์ สามารถท�างานได้อย่าง ‘สมบูรณ์แบบ’ ระดับก�าหนดวินาทีตายเป้าหมายได้ ส�าหรับ ‘เขา’ แล้ว การฆ่าเป็นศิลปะ เป็นศาสตร์ และเป็น ‘ความจ�าเจ’ ทีท่ า� โดยแทบไม่ตอ้ งใช้ความคิดอะไรกับมันมาก จนกระทัง่ กระสุนสัง่ ตายงานล่าสุด ปลิดชีพคนผิดเป้าหมาย ความหายนะและวายป่วงของ ‘เขา’ จึงตามมา หนังเรื่องนี้ คือผลงานของ Fincher อย่างสมบูรณ์แบบ และเล่นกับ ‘สไตล์’ การเล่าเรื่อง ทั้งภาพ ไดอะล็อก และ จังหวะจะโคนอย่างหนักหน่วง ตัวละคร ‘เขา’ เปิดฉากด้วยการ Monologue ชีวิตตัวเอง ราวกับนั่งคุยกับผู้ชมในช่วงพาร์ตแรก ได้พาย้อนกลับไปว่าเกิดเหตุการณ์และความผิดพลาดอะไรขึ้น ทีน่ า� ไปสูต่ วั ละครทีผ่ า่ นเข้ามาในชีวติ ทีห่ ลากหลาย ตัง้ แต่ภรรยา ผูค้ อยระวังหลัง เหล่านักฆ่าหลากหลายสไตล์ และผูว้ า่ จ้างทีเ่ ป็น ต้นทางของเรือ่ งราวทัง้ หมด แน่นอนว่าแม้จะจัว่ หัวว่าเป็นหนัง ‘นักฆ่า’ แต่มนั ก็ Slow-burn เดินเรือ่ งช้า ซึง่ เป็นลายเซ็นอันเป็นเอกลักษณ์ของ David Fincher ทีน่ า่ จะท�าให้ผชู้ มหล่นหายกลางทางไปไม่นอ้ ย แต่ถา้ ผ่านจุดนีม้ าได้

หนังท�าหน้าทีไ่ ด้ดที งั้ ในส่วนการน�าพาเรือ่ งราวไปสูป่ ลายทาง จังหวะ หักมุม การอรรถาธิบายกรรมวิธกี ารฆ่า ไปจนถึงฉากแอคชันเดือดๆ และฉากเชือดเฉือนทางการสนทนาทีพ่ อมีให้หอมปากหอมคอ ซึง่ ทัง้ หมดถูกก�ากับอย่าง ‘เหมาะเจาะ ถูกจังหวะ’ ตามสไตล์ Fincher ผูก้ า� กับทีถ่ อื ได้วา่ เป็นนักสมบูรณ์แบบนิยม (Perfectionist) คนหนึง่ ของวงการ การมีอยูข่ องฉากหรือเหตุการณ์ ไม่ได้เกิดขึน้ อย่างส่งๆ แต่จะต้องอยูใ่ นจุดทีค่ วรอยู่ ตัวละครต้องพูดในประโยค ทีต่ อ้ งพูด ร้อยเรียงอย่างเป็นกระบวนการทีล่ งล็อกไม่มากไม่นอ้ ย และทั้ ง หมดก็ เ พื่ อ บรรยายถึ ง ‘การพั ง ทลายของความ สมบูรณ์แบบ’ ของ ‘เขา’ ...นักฆ่านิรนาม ผู้ที่ต้องสะสาง ความผิดพลาด และเผชิญหน้ากับความไม่แน่นอนที่ไม่มีความ สมบูรณ์แบบใดจะมารองรับได้ จะเรียก The Killer ว่าหนังสารคดีชีวิตนักฆ่าได้หรือไม่ ? ก็ใกล้เคียง แต่จะเรียกว่าหนังแอคชันบู๊เลือดสาดได้หรือไม่ ? ก็อาจจะห่างไกลไปสักนิด แต่เป็นส่วนผสมสุดแปลกทีล่ งตัวอย่าง ประหลาดๆ และให้รางวัลกับผูช้ มทีม่ คี วามอดทนมากพอทีจ่ ะค่อยๆ ตามเรือ่ งและน้อมรับ ‘ความสมบูรณ์แบบ’ ที่ David Fincher ได้ถางทางเอาไว้

‘มีคนกล่าวว่า นักสมบูรณ์แบบนิยม คือผูท้ ตี่ อ้ งท�าให้ทกุ อย่างดีเลิศ สมบูรณ์แบบไร้ที่ติ ซึง่ นัน่ ไม่จริง เพราะสุดท้ายนัน้ จะจบด้วย การไม่ได้ทา� อะไรเลย’ David Fincher กล่าวให้สมั ภาษณ์ครัง้ หนึง่ เมือ่ ถูกถามถึง นิยามของการเป็น Perfectionist ของตนเอง ‘แต่ผมมองว่า นักสมบูรณ์แบบนิยม คือคนทีอ่ นุญาตให้ ‘ความไม่สมบูรณ์แบบ’ อยูใ่ นจุดทีม่ นั สมควรจะต้องอยู’่

ความไม่สมบูรณ์แบบในจุดที่มันควรอยู่... อย่างไม่ผิดพลาด เช่นเดียวกับการสร้างความฉิบหายในชีวติ ของ ‘เขา’ ตัวเอกของ The Killer กระสุนผิดพลาดเพียงหนึง่ นัด กลายเป็นชนวนทีน่ า� ไปสูป่ ฏิกริ ยิ าลูกโซ่ของเหตุการณ์ทที่ า� ให้เรือ่ งราวทัง้ หลายถูกแขวน อยูบ่ นความไม่แน่นอน ซึ่งถ้าถอยตัวเองออกมาดูในฐานะคนนอก นี่ละ...คือความ ‘สมบูรณ์แบบ’ ในสไตล์ David Fincher ขนานแท้เลยทีเดียว

5 9


: Bookworms

book


The Colour out of Space

สีสนั จากห้วงอวกาศ

หนึ่งในมวลอารมณ์ที่เป็นปฐมพื้นฐานที่ก่อร่างสร้างความเป็นมนุษยชาติมานับแต่ห้วงเวลาโบราณ ไม่อาจมองข้ามได้ซึ่ง ‘ความกลัว’ ต่อทุกสรรพสิ่ง และเหนืออื่นใด คือความกลัวต่อ ‘สิ่งที่ไม่ร’ู้ ไม่อาจอธิบาย ไม่อาจจ�านรรจา ไม่อาจรจนา ไม่อาจให้นิยาม ความกลัวเป็นสัญชาตญาณแรกเริ่ม และแรงผลักมนุษยชาติสู่ความก้าวหน้า และเป็นวัตถุดิบชั้นดีที่ ‘H.P.Lovecraft’ ยอดนักเขียนสายสยองขวัญระดับต�านาน ได้ใช้เป็นพื้นฐานของผลงานเกือบทุกชิ้นก่อนสิ้นชีพลาจากโลกนี้ไป ตนเอง สีหน้าบิดเบี้ยวด้วยความหวาดกลัวสุดขีด สิ่งเดียว ทีจ่ ะไขความลับได้ คือบันทึกของผูต้ ายทีห่ ลงเหลือไว้ ทีจ่ ะน�า ไปสูต่ น้ เหตุอนั แสนด�ามืด

ชือ่ ของ H.P.Lovecraft ดูคนุ้ เคยกับผลงานเขียนทีโ่ ด่งดัง ในช่วงหลังอย่าง ‘เสียงเพรียกจากคธูลู (The Call of Cthulhu)’ ที่เบิกทางให้นักอ่านรุ่นใหม่ได้สัมผัสมิติแห่งความสยอง ที่ยิ่งใหญ่ และมนุษยชาติเป็นเพียงสิ่งที่หาแก่นสารมิได้ ก่อก�าเนิดเป็นรากฐานของงานแนว ‘สยองขวัญจักรวาล (Cosmic Horror)’ ทีส่ ง่ อิทธิพลไปยังงานเขียน ภาพยนตร์ ดนตรี และวิดโี อเกมนับไม่ถว้ น แต่ ไ ฉนเลยจะมี เ พี ย งแค่ เ ล่ ม เดี ย ว เพราะแฟนของ H.P.Lovecraft ระดั บ เข้ า เส้ น เดนตายทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก กลับยินยอมพร้อมใจร่วมโหวตให้กับรวมเรื่องสั้น 3 เรื่อง ภายใต้ชอื่ ‘สีสันจากห้วงอวกาศ (The Colour out of Space)’ ให้เป็นรวมเรื่องสั้นที่ดีที่สุดที่ H.P.Lovecraft ได้เคยเขียนมา The Colour out of Space เป็นหนังสือรวม 3 เรือ่ งสัน้ สยองขวัญ ทีท่ กุ เรือ่ ง...ต่างมีอทิ ธิพลและทรงพลังในตนเอง ในแง่ของความสยองขวัญอย่างไม่รจู้ บ - ประกอบไปด้วย สีสนั จากห้วงอวกาศ (The Colour out of Space) | เมือ่ อุกกาบาตลึกลับตกลงมายังหมูบ่ า้ นชานเมืองอันห่างไกล และผูท้ ไี่ ด้เข้าไปส�ารวจต่างกลับออกมาในสภาพไม่สมประดี พูดจาเลอะเลือนราวกับคนบ้า ประหนึง่ ว่าพยายามจะอธิบาย ‘บางสิง่ ’ ทีเ่ หนือล�า้ ยิง่ กว่าทีม่ นุษย์จะสามารถให้นยิ ามได้ ผูม้ าหลอกหลอนในความมืด (The Haunter of the Dark) | โรเบิร์ต เบลค จิตรกรและนักเขียน ผู้ใฝ่ใจใน ไสยศาสตร์ เสียชีวติ อย่างลึกลับข้างหน้าต่างในห้องพักของ

เงาทมิฬเหนืออินส์เมาธ์ (The Shadow over Innsmouth) | ชายคนหนึง่ เดินทางมายังเมือง Innsmouth อันเป็นเมืองทีบ่ รรพบุรษุ ของเขาได้ตงั้ รกราก เมืองแห่งความ ล้าหลัง ยากจน และกลิน่ อายของความลึกลับจากคนท้องถิน่ ที่มีรูปร่างใบหน้าน่ารังเกียจ ก่อนจะกลายเป็นการหนีตาย จากการไล่ลา่ ของคนพืน้ ถิน่ และการไขปริศนาชาติกา� เนิดที่ ข้องเกีย่ วกับลัทธิอบุ าทว์ทเี่ ป็นดัง่ สันหลังของเมืองแห่งนี้ H.P.Lovecraft เขียนรวมเรื่องสั้นทั้ง 3 เรื่องนี้ไว้ในปี ค.ศ.1927-1931 และมาจนถึงวันนี้ ได้พิสูจน์ตนแล้วว่า นวนิยายแนวสยองขวัญจักรวาลนั้น ทรงพลัง ลึกลับ และ แทบไม่ ‘เก่า’ ไปตามกาลเวลา

อาจจะด้วยเพราะ Lovecraft ได้เล่นกับสิ่งที่เป็น สัญชาตญาณพืน้ ฐานทีส่ ดุ ทีฝ่ งั ในส่วนลึกของจิตใจของผูค้ น ความกลั ว ต่ อ สิ่ ง ไม่ รู ้ . ..การได้ รั บ ค� า ตอบที่ ไ ม่ อ าจ อธิ บ ายได้ . .. อั น น� า ไปสู ่ ค วามบ้ า คลั่ ง เมื่ อ พบว่ า ... มนุษยชาตินั้น เล็กน้อยเพียงใด เมื่อเทียบกับจักรวาล อันหนาวเหน็บ โหดเหี้ยม และกว้างใหญ่ราวกับอนันต์

The Colour out of Space (ผู้แปล : นภ ดารารัตน์ / ส�านักพิมพ์ : เวลา)

6 1


travel

มองเกาหลี ‘แบบไม่มด ี รามา’ : อภิรกั ษ์ หาญพิชติ วณิชย์

เพิง่ กลับมาจากเกาหลี 4 วันครับ พร้อมกับมีกระแส #แบนเทีย่ วเกาหลี บนโลกออนไลน์ ในเรือ่ งนีผ้ มมีขอ้ มูล และมุมมองแบบนีค้ รับ

6 2


แรงงาน

เกาหลีใต้นนั้ ต้องการผีนอ้ ยมากๆ ครับ เพราะแม้วา่ เกาหลีใต้จะพัฒนาไปไกล ไม่วา่ จะเป็น ‘ซัมซุง แอลจี’ แต่อุตสาหกรรมดั้งเดิมยังต้องการใช้แรงงานคนอยู่ และกลุ่มนี้ขาดคนไม่ได้ โดยเฉพาะงานฝีมือ หรืองาน เครื่องจักรขนาดเล็กที่ต้องใช้มนุษย์ท�างานเป็นหลัก ส� า หรั บ ผมแล้ ว มองว่ า ในเชิ ง ระบบนั้ น รั ฐ เองก็ เ อา หูไปนาเอาตาไปไร่เป็นเรื่องปกติ... ซึ่งปัญหานี้ญี่ปุ่นก็มี แต่เขาใช้เรื่องการให้โควตาฝึกงานมาเป็นเครื่องมือ บังหน้า เช่นเดียวกับที่อิสราเอลที่ต้องการแรงงานไทย มาท�าการเกษตร ตรวจคนเข้าเมืองเกาหลี

ได้ยินมาเยอะจริงๆ ถึงความแปลกๆ และผู้ใหญ่ ที่ผมรู้จักหลายคนก็เจอไม่ให้เข้าประเทศ ทั้งๆ ที่ไม่มี ปัจจัยทีน่ า่ สงสัยจริงๆ ...ซึง่ ก็ไม่รเู้ ขาคิดหรือใช้ดลุ ยพินจิ อย่างไร ...คนไทยหลายคนจึงไม่คิดจะไปเกาหลีเลย เพราะไม่พร้อมโดนปฏิเสธ ผีนอ้ ยจากไทย

มีมากจริงๆ ครับ เท่าที่เคยรู้เคยเห็น ขอบอกว่า อยูก่ นั เป็นชุมชนเลย แล้วคนทีน่ นั่ ก็รู้ และไม่แตกต่างจาก แรงงานเพือ่ นบ้านทีม่ าอยูใ่ นไทย เพียงแต่วา่ ทัง้ หมดนัน้

สมประโยชน์กนั อย่างลงตัวจริงๆ ครับ นอกจากนีส้ าวๆ ของบ้านเราทีไ่ ปท�างานนอกประเทศก็ขนึ้ ชือ่ มากๆ ถ้าหาก ใครนึกไม่ออกลองผ่านไปต้นถนนออร์ชาร์ดที่สิงคโปร์ แล้วจะรูว้ า่ งานท�านองนีไ้ ทยเรามีชอื่ มาก (ไม่ขอแตะเรือ่ ง ผิดถูกหรือเรื่องอาชีพ แต่ขอเขียนในแง่ข้อเท็จจริงว่า ภาพลักษณ์นเี้ ป็นเรือ่ งทีต่ า่ งชาติมองคนไทยในมุมนีจ้ ริงๆ) คนเกาหลี

โดยพืน้ เพเป็นคนไม่คอ่ ยนุม่ นวลอยูแ่ ล้ว การเดินชน แล้วต่างคนต่างไปไม่ใช่การไม่มีมารยาท แต่ทว่าเป็น


เรือ่ งปกติของคนเกาหลีทเี่ ขามองข้ามกัน และมองความเร่งรีบเป็นหลัก ฉะนัน้ ทีเ่ ห็น ในสือ่ จึงเป็นทัง้ ส่วนทีน่ า� เสนอให้ตา่ งชาติ และเป็นส่วนทีก่ ล่อมเกลาพฤติกรรมคน ในชาติ เหมือนทีเ่ คยดูละครญีป่ นุ่ ซึง่ สะท้อนถึงวินยั ผ่านกีฬาวอลเลย์บอลท�านองนัน้ ซึ่งคนไทยต้องมองแบบเข้าใจว่าเขาถูกกระท�ามาเยอะจริงๆ และสภาวะสงคราม ยังคงอยู่ ท�าให้ความดิบยังฝังในการแสดงออก การบริการ

ส่วนตัวแล้ว...ผมคิดว่าคนเกาหลีเขาบริการไม่คอ่ ยดีมากนัก ซึง่ อย่าเอาไปเป็น ประเด็นผสมดรามาเลย แต่ระยะหลังๆ ผมว่าในเมืองเริ่มมีมารยาทขึ้นมาเยอะ ประมาณว่าดีกว่าทีฮ่ อ่ งกง มาเก๊า แต่ไม่ถงึ หรือเทียบเท่าประเทศญีป่ นุ่ ทีป่ รับเรือ่ ง การบริการและสร้างพฤติกรรมใหม่ๆ มานาน ไทยและเกาหลี

ก่อนหน้านีเ้ วลาผมไปงานทีเ่ กาหลีใต้ (ประมาณก่อนปี 2000) รวมถึงการไปท�างาน ครัง้ ล่าสุดในเดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา ซึง่ ในงานทางผูจ้ ดั งานทีเ่ กาหลีกจ็ ะพูดถึงไทย เสมอๆ ว่าประเทศไทยคือชาติทมี่ าช่วยเขารบ เขาส�านึกบุญคุณ แต่เดีย๋ วนีส้ ว่ นตัว ได้ยินน้อยลง ซึ่งก็คงไม่แปลกนักเพราะคงไม่ได้ส่งผ่านมาที่คนรุ่นใหม่ และกับ ไทยเองในมุมมองของการทีเ่ ป็นลูกค้า ก็เหมือนกับการทีเ่ ขาน�าสินค้าอีกตลาดมาให้เรา คล้ายๆ สินค้าบางอย่างทีไ่ ทยน�าไปขายในประเทศเพือ่ นบ้าน เช่น ขนมถุงเกรดรองๆ เป็นต้น เรือ่ งนีเ้ ห็นภาพชัดเจนเรือ่ งกลุม่ ของศิลปินทีเ่ ลือกไทยเป็นตลาดในบางกลุม่ ควรไปเทีย่ วเกาหลีไหม

ผมมองว่าทุกประเทศเราควรได้ไปเทีย่ วถ้ามีกา� ลังจ่าย และกับเกาหลีใต้ยงั ไป เทีย่ วได้เพราะมีแง่มมุ แตกต่างทีส่ ามารถเรียนรูไ้ ด้มากมาย แต่ถา้ ไม่ชอบไม่ถกู จริต ไม่อยากเสีย่ ง ก็ขอพูดตรงๆ ว่า ‘ไม่ตอ้ งไปให้เสียอารมณ์’ โดยไม่ตอ้ งไปดรามา


หรือร่วมสงครามออนไลน์ให้วา้ วุน่ ใจ และถ้ายังชอบดูซรี สี ์ หรือชอบฟังเพลงของเขาก็จดั ไปตามรสนิยม ตามความ ชอบไม่ตอ้ งไปแบนเกาหลีหรอกครับ การเทีย่ วเกาหลีให้สนุก

ผมว่ามีหลายมุม มุมแรก คือ ‘การตามรอยซีรีส์’ ‘ตามรอยศิลปินคนไหนทีเ่ ราชอบ’ เราก็สนับสนุนโดยไป ตามย่าน ตามร้านสวยๆ ร้านกาแฟเก๋ๆ ผมว่าก็เพลิดเพลิน เป็นอย่างยิง่ แต่อย่าไปเทียบบริการแบบญีป่ นุ่ เพราะนัน่ เขาท�ามาก่อน ปรุงแต่งเข้าทีแ่ ล้ว โบราณสถานเกาหลี

กลุ่มของเก่าอย่างพวกวัด วัง หรือโบราณสถาน อย่าหวังว่าเก่าจริงๆ และอย่าไปเทียบกับจีนหรือญี่ปุ่น เพราะ 2 ชาตินั้นถ้าย้อนประวัติศาสตร์มีความเป็นมา อย่างที่จีน พระราชวังที่สร้างจากหินเก่ากว่าใหญ่กว่า ยังหลงเหลือเยอะกว่ามากๆ (แต่วา่ วัตถุโบราณลงเรือไปอยู่ ทีไ่ ต้หวันเกือบหมด ซึง่ ถ้าจะดูกต็ อ้ งไปทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์กกู้ ง) ส่วนทีญ ่ ปี่ นุ่ ก็ทา� ลายไปไม่นอ้ ย แต่เขาท�าใหม่ได้กอ่ นและ เล่าเรือ่ งได้ไว ส�าหรับทีเ่ กาหลีไม่มขี องพวกนี้ เพราะแทบ ไม่เหลือ เช่น วัดในโซลมี 2 แห่ง วัดต่างจังหวัดอยูใ่ นป่า (เพราะคนหนีศกึ มาบวช ศาสนาจึงถูกด้อยค่า) ...ส่วนวัง 5 แห่ ง ที่ มี ห ลงเหลื อ อยู ่ ก ่ อ นหน้ า นี้ ก็ เ หลื อ แค่ หิ น ทีเ่ ห็นส่วนใหญ่สร้างทีหลัง (จากภาพถ่ายทีม่ เี หลือ) อย่าง เคียงบกก็มกี ารสร้างเติมบ่อยๆ เกาหลีใต้รอบล่าสุด

2 ปี นี้ ผ มไปเกาหลี 4 ครั้ ง งานการท่ อ งเที่ ย ว งานไอซีที และงานซีรสี ์ รวมถึงเทีย่ วเองครัง้ หนึง่ ตอนแรกๆ ผมก็ยงั เทียบกับญีป่ นุ่ บ้าง แต่หลังๆ เริม่ มองมุมใหม่แบบ ไม่เทียบ โดยศึกษาการเขียนเรื่องของเขาใหม่ที่ปัดฝุ่น วัด วัง เล่าเรือ่ งอย่างมีเทคนิคและจูงใจคนใหม่ โดยเทีย่ ว ตามฤดูกาล พร้อมกับใส่ชดุ ฮันบก รวมถึงการมียา่ นใหม่ๆ เช่ น ‘เมี ย งดง มหาวิ ท ยาลั ย ฮงอิ ก ฮงแด คั ง นั ม ’ ซึง่ เมือ่ ก่อนมีแต่ ‘ทงแดมุน นัมแดมุน’ ลองเทีย่ วแบบศึกษา

ที่ ส ามารถตี ค วามไม่ ต ามกระแส ซึ่ ง ตามต� า รา Culture นั้ น มี C ตั ว ใหญ่ ใ นแบบคลาสสิ ก ที่ เ น้ น ประวัตศิ าสตร์จากบนลงล่าง จากเก่ามาใหม่ ตอนนีข้ อชวน ให้มอง c ตัวเล็กแบบสร้างใหม่จาก Track พืน้ ๆ ขึน้ มา อย่าง ‘ราเม็ง ซูช’ิ ญีป่ นุ่ ใช้ไปแล้ว ...เกาหลีกม็ ี ‘มาม่าเกาหลี ซอสแดง ซอสด�า ไก่ทอด’ ...คือถ้ามาเทีย่ วแบบแนวศึกษา ก็อาจจะสนุกไปอีกแบบ

มากๆ เพราะสเกลใหญ่กว่า ซึ่งสิงคโปร์ เป็น Trading Nations โดยขนาดเป็น ข้อจ�ากัด แต่เกาหลีนั้นมีมิติ และเล่นได้ มากกว่านัน้ เยอะซึง่ เขาก�าลังท�าอยู่ ทีเ่ ขียนแบบนีเ้ พราะไม่อยากให้มดี รามา แต่ก็จะบอกว่า ...2 ปีนี้ไปท�างาน และ ดูงานทีป่ ระเทศนีก้ ว่า 4 ครัง้ ...เห็นเรือ่ งดีๆ ของที่ นี่ เ ยอะ แต่ ท่ี ไ ม่ ดี ก็ ม าก อย่ า ง คอร์รปั ชันเยอะ นักการเมืองติดคุกแป๊บเดียว และมีสถิติคนฆ่าตัวตายมากที่สุดในโลก อารมณ์ประมาณว่าอ่อนแอก็แพ้ไป ซึง่ น่าเศร้า นะส�าหรับผม สรุปว่า ‘ชอบก็ไป’ ‘ไม่ชอบก็ขา้ ม’ ครับ

เกาหลีนา่ จับตามาก

แต่สา� หรับผม ณ วันนี้ คงไปไม่บอ่ ยแบบญีป่ นุ่ ทีท่ า� เข้าทีแ่ ล้ว และขอย�า้ ว่าไม่อยากเทียบกัน โดยมองว่าเกาหลี เหมือนสิงคโปร์ทสี่ ร้างสรรค์ใหม่เกือบหมด แต่นา่ เรียนรู้

6 5


‘ใจหญิง’

: ศ.นพ.นิธิ มหำนนท์ อายุรแพทย์หวั ใจ สวนสุขภาพอรุณสหคลินกิ

ผมต้องจ�ำใจยอมรับว่ำ ‘ใจหญิง’ นัน้ รวนเร ใจหญิงนัน้ บทจะป่วยขึน้ มำ ‘วินจิ ฉัยไม่งำ่ ย รักษำได้แต่กไ็ ม่งำ่ ยอีกเหมือนกัน’ หมอหัวใจทัว่ โลกต่ำงยอมรับในข้อเท็จจริงนีเ้ ช่นเดียวกับผม ตัวอย่าง ความแตกต่าง (หรือช่องว่าง) ระหว่างหัวใจชาย-หัวใจหญิงทีจ่ ะพูดถึงนัน้ เกีย่ วข้องกับโรคหัวใจและ หลอดเลือด ซึง่ ในทีน่ หี้ มายถึง ‘โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย’ ผมไม่อยากจะบอกให้เสียใจ แต่ก็ต้องบอกว่า...ล่าสุดเฉพาะในสหรัฐอเมริกาประเทศเดียวมีผู้หญิงเสียชีวิต ด้วยโรคดังกล่าว โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจมากกว่าปีละ 5 แสนคน ซึง่ นัน่ มากกว่าจ�านวนผูเ้ สียชีวติ จาก สาเหตุอนื่ ๆ อีก 7 สาเหตุรวมกันเสียอีก และแน่นอนว่าจ�านวนการเสียชีวติ มากกว่าผูช้ ายอีกด้วย ผมหาเรือ่ งค�านวณตัวเลขออกมาให้ใจเสียมาก ยิง่ ขึน้ ไปอีก คือมีผหู้ ญิงเสียชีวติ ด้วยโรคหัวใจตกประมาณนาทีละ 1 คน ผูห้ ญิงอาจจะแก่งา่ ยก็จริง แต่ไม่ได้ อยากตายอย่างทีค่ ณ ุ พ่อบ้านทัง้ หลาย (แอบ) คิดนะครับ และแม้วา่ ทางการแพทย์สมัยใหม่ จะส่งผลให้การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจมีประสิทธิภาพสูงขึน้ ก็ตาม


พูดง่ายๆ คือ รักษาแล้วหายมากขึน้ เสียชีวติ น้อยลงอย่างชัดเจน เมื่อเทียบกับในอดีต แต่ผู้ที่รอดชีวิตส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นผู้ชาย ในขณะทีแ่ ม้จะได้รบั การรักษาแบบเดียวกัน อัตราการเสียชีวติ ของ ผูห้ ญิงทีป่ ว่ ยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจก็ลดลงเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ ผู้หญิงมีข้อเสียเปรียบที่เป็นผลต่อเนื่องมาจากความเชื่อยุค การแพทย์แผนโบราณทีว่ า่ โรคหลอดเหลือดหัวใจเป็นโรคของผูช้ าย ไม่ใช่ของผูห้ ญิง ทีผ่ า่ นมาผูห้ ญิงทีท่ า� ท่าจะมีอาการของโรคหัวใจจึงมัก ถูกมองว่า

เกล็ดเลือดและระบบการแข็งตัวของเลือดก็มีแนวโน้มที่จะขยันท�า หน้าทีม่ ากเกินไป กระบวนการอักเสบ (Inflammation) ของหลอดเลือด ทีส่ มั พันธ์กบั การเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบก็มากกว่าผูช้ ายถึง 5-7 เท่า สภาวะทางจิตใจและสังคม รวมทั้งระบบควบคุมอารมณ์และ ความคิดที่ซับซ้อนแตกต่าง มีรายงานว่าภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดหัวใจเพศหญิงส่งผลเสียต่อการรักษาและการฟืน้ ตัว จากโรคโดยตรง ซึง่ ภาวะนีพ้ บได้นอ้ ยกว่าในผูป้ ว่ ยเพศชาย

โชคดีที่ความเชื่อนี้ค่อยๆ จางลงตามกาลเวลา แต่ก็ยังส่งผล ระยะยาว เหตุเพราะข้อมูลการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องกับการป้องกันและ รักษาโรคดังกล่าวได้มาจากคนไข้ผชู้ ายเป็นส่วนใหญ่ ขณะทีย่ งั มีขอ้ มูล ลึกลับทางชีวภาพทีย่ งั ไม่ถกู ค้นพบอีกมากมายในคนไข้ผหู้ ญิง ทฤษฎี การรักษาที่ใช้กันมาจึงได้ผลสูงสุดส�าหรับเจ้าของข้อมูลคือผู้ชาย แต่พอมาใช้กับผู้หญิงก็คล้ายเป็นการเกาวนเวียนอยู่รอบๆ ที่คัน ยิง่ เกายิง่ มันแต่เฉียดซ้ายทีขวาทีไม่ตรงจุด ไม่หายคัน (หัวใจ) เสียที นะสิครับ จุดอ่อนอีกจุดหนึง่ อยูท่ อี่ าการซึง่ น�าคนไข้มาหาหมอ อาการเจ็บ แน่นหน้าอกทีเ่ กิดจากกล้ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด หรือเรียกว่า Angina นั้นพบได้ชัดเจนกว่าคนไข้ผู้ชาย แต่ส�าหรับคุณผู้หญิงทั้งหลายจะ แตกต่างกัน แทนทีจ่ ะรูส้ กึ แน่นกลางหน้าอกแบบหนักๆ ร้าวไปถึงแขน หรือกรามขณะออกแรงตามต�าราว่าไว้ ซึ่งหมอจะรู้ได้โดยง่ายว่า เข้าข่ายโรคหัวใจ แต่คนไข้สาวน้อยสาวใหญ่สว่ นหนึง่ ทีม่ าหาผมแล้ว ได้รบั การวินจิ ฉัยในตอนท้ายว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบนัน้ บางคน มาด้วยอาการปวดไหล่ ปวดคอ ร้อนในอก เหนือ่ ยหัวใจ เสียดลิน้ ปี่ อยูเ่ ฉยๆ ก็เป็น ออกแรงก็เป็น เป็นตอนเช้าก็มี เป็นตอนเย็นก็บอ่ ย บางทีเป็นตอนเครียด บางทีไม่เครียดก็เป็น ฯลฯ ยากไปกว่านั้น คนไข้อกี ส่วนหนึง่ มักจะมีอาการเจ็บอกก่อกวน หมายถึง เจ็บหน้าอก แบบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ได้มสี าเหตุจากโรคหัวใจเข้ามาป่วนชวนให้ (หมอ) สับสน เห็นไหมครับว่า ความไม่แน่นอนของสาวๆ สร้างความยากล�าบาก ให้กับผมขนาดไหน ถึงแม้ว่ากายของทั้งชายและหญิงจะประกอบ ไปด้วยธาตุดนิ น�า้ ลม ไฟ และอากาศเหมือนๆ กัน แต่สดั ส่วนของ ธาตุนนั้ ต่างกันจึงท�าให้เกิด ‘จุดต่างระหว่างชายหญิง’ เช่น ฮอร์โมนเพศหญิงมีส่วนช่วยป้องกันการเกิดภาวะหลอดเลือด หัวใจตีบ ผู้หญิงที่ยังมีฮอร์โมนเพียงพอ นั่นคือยังไม่เข้าสู่วัยหมด ประจ�าเดือนจึงมีโอกาสเป็นโรคน้อยกว่าผูช้ ายวัยเดียวกัน (ซึง่ ถือว่า อยู่อย่างได้เปรียบมาค่อนชีวิตแล้วละครับ) แต่ทันทีที่ย่างเข้าสู่วัย หมดประจ�าเดือน คุณผูห้ ญิงทัง้ หลายจะได้รบั ความเท่าเทียมทางเพศ อย่างที่เรียกร้องกันสมใจทุกท่านทันที เพราะเป็นช่วงเวลาที่ไม่มี ตัวช่วยแล้ว ทัง้ หญิงและชายจึงมีโอกาสทีจ่ ะเป็นโรคพอๆ กัน เคยมีงานวิจยั ขนาดใหญ่ทดลองให้ฮอร์โมนเอสโตรเจนในผูห้ ญิง วัยหมดประจ�าเดือน หวังว่าจะช่วยให้ผหู้ ญิงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ น้อยลง สรุปสุดท้ายผลกลับกลายเป็นตรงกันข้าม กลุม่ ผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั ฮอร์โมนทดแทนกลับเสียชีวติ ด้วยโรคหัวใจมากขึน้ โดยเฉพาะในช่วง 1-2 ปีแรกด้วยซ�า้ กระบวนการทางชีวภาพทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิดภาวะหลอดเลือด ตีบหรืออุดตันในผูห้ ญิง จัดอยูใ่ นประเภทไปทางมากเกินพอดี เช่น

(อันนี้ผมชิงถามให้ก่อน เพราะอย่างไรก็ต้องมีใครสักคนท้วง อยูแ่ ล้ว) มีครับ...ไม่ใช่คา� แนะน�าแต่เป็นค�าขอร้องจากผม และจากสมาคม หมอโรคหัวใจของสหรัฐอเมริกาที่ก�าหนดเป็นแนวทางมาตรฐานให้ ใช้กนั ทัว่ โลก โดยขอร้องให้สาวน้อยสาวใหญ่ทงั้ หลายทีม่ คี วามเสีย่ ง ต่อโรคหัวใจช่วยกันดูแลรักษาเนือ้ รักษาตัวจะได้ไม่เป็นโรคหลอดเลือด หัวใจ หรือทีเ่ ป็นอยูแ่ ล้วก็ไม่ให้เป็นมากขึน้ ทีผ่ มจะขอร้องนัน้ เป็นเพียง พืน้ ฐานเบือ้ งต้น (แต่สา� คัญระดับสูงสุด) นัน่ คือ ขอให้ปรับเปลีย่ น วิถชี วี ติ (Life Style Modification) เพือ่ ป้องกันโรคหัวใจนัน่ เอง

“โอ๊ย...ผูห้ ญิงเขำไม่เป็นกันหรอก โรค (หลอดเลือด) หัวใจน่ะ ส�ำออยละไม่วำ่ ”

“เอำแต่คอ่ นแต่แคะกันตัง้ แต่ตน ้ จนใกล้จะจบขนำดนีแ้ ล้ว ใจคอ

จะปล่อยให้ฉันเป็นโรคหัวใจตำยไปไวๆ หรือยังไง จะไม่แนะน�ำวิธี ป้องกันบ้ำงเลยเหรอพ่อคุณ”

ขอร้อง 1 อย่ำสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่อบอวล ไปด้วยควันบุหรี่ เช่น ถ้าคุณรูว้ า่ สามี (ทีส่ บู บุหรี)่ และควันบุหรี่ (ทีส่ ามี

สูบ) เป็นสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นพิษ ก็ตอ้ งหลีกเลีย่ งทัง้ ควันบุหรีแ่ ละสามี ขอร้อง 2 ออกก�ำลังกำยให้เหนื่อยระดับปำนกลำง นับนิ้ว รวมเวลาที่เหนื่อยให้ได้อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน หลายๆ วันใน 1 สัปดาห์ (ได้ทกุ วันนับว่าประเสริฐ) ขอร้อง 3 กิน ‘อำหำรเสริมสุขภำพใจ’ (Heart-Healthy Diet)

ซึง่ ก็คอื ผักผลไม้ทหี่ ลากหลาย เมล็ดธัญพืช ปลาทะเล ถ้าเป็นนม หรือผลิตภัณฑ์นมต้องเป็นนมทีม่ ไี ขมันต�า่ /ไร้ไขมัน โปรตีนทีม่ ไี ขมัน อิ่มตัวต�่า (เนื้อสัตว์ ไม่ติดหนัง/ไม่ติดมัน หรือโปรตีนจากพืช) และไม่กนิ เค็ม ขอร้อง 4 ควบคุมน�้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์พอรับได้ นั่นคือ ดัชนีมวลกายอยูใ่ นช่วง 18-23 กิโลกรัม/เมตร2 และลดรอบเอวให้อยู่ ในเกณฑ์ คือ น้อยกว่า 32 นิ้ว โดยใช้มาตราการกินอาหารตาม ข้อขอร้อง 3 ควบคูก่ บั ออกก�าลังกายตามข้อขอร้อง 2 ขอร้อง 5 ถ้ำคนรอบข้ำงสงสัยหรือมีข้อสงสัยว่ำตัวเองจะมี ปัญหำด้ำนสุขภำพจิต อย่ำลังเลทีจ่ ะขอควำมช่วยเหลือเพือ่ หำสำเหตุ และเข้ำรับกำรรักษำ ขอร้อง 6 ตรวจสุขภำพประจ�ำปี หรือประจ�ำครึง่ ปี จับผูก้ อ่

การร้ายที่เป็นเหตุของโรคหัวใจให้ได้เสียตั้งแต่เนิ่นๆ จะได้รีบ ด�าเนินการปราบปราม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ในเลือดสูง ฯลฯ ส�าหรับคนทีพ่ บว่าเป็นอยูแ่ ล้วก็ขยันกินยา หาหมอ และแน่วแน่ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีผ่ มขอร้องทัง้ 5 ข้อ ส�ำหรับผมแล้ว ใจของคุณๆ ผูห้ ญิงจะรวนเรแค่ไหนผมไม่วำ่ ขอแต่อย่ำท�ำร้ำยหัวใจตัวเองเท่ำนั้นเป็นพอครับ

6 7


ก้ำวข้ำมอุปสรรค ก้ำวข้ำมควำมท้ำทำย ของ ‘ควำมมัน่ คงทำงอำหำร’

: ศำสตรำจำรย์ ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล | ดร.พลอยไพลิน ร่มโพธิภ์ กั ดิ์ | นำงสำวลลิตำ หล�ำพึง่

จำกวิกฤติสงครำมและสภำพภูมอิ ำกำศทีแ่ ปรปรวน เป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เรือ่ งควำมมัน่ คงทำงอำหำรเป็นประเด็นทีม่ คี วำมส�ำคัญอย่ำงมำก ในสังคมระดับโลกครับ เนือ่ งจำกควำมต้องกำรอำหำรทีส่ งู ขึน้ ตำมประชำกรทีเ่ พิม่ ขึน้ แต่อย่ำงไรก็ตำม สภำพกำรเปลีย่ นแปลงทัง้ ทำงสังคมและสิง่ แวดล้อม มีผลท�ำให้เกิดควำมท้ำทำยในกำรรักษำควำมมัน่ คงทำงอำหำรอย่ำงยัง่ ยืน โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ได้ให้คา� นิยาม ‘ควำมมัน่ คง ทำงอำหำร’ ประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. กำรมีอำหำรเพียงพอ (Food Availability) 2. กำรเข้ำถึงอำหำร (Food Access) 3. กำรใช้ประโยชน์จำกอำหำร (Food Utilization) และ 4. กำรมีเสถียรภำพด้ำนอำหำร (Food Stability) ส�าหรับประเทศไทยนั้นได้ก�าหนดค�านิยาม ‘ควำมมั่นคงทำงอำหำร’ ที่สอดคล้องกับทาง FAO เช่นกัน คือ ‘กำรเข้ำถึงอำหำรที่มีอย่ำงเพียงพอต่อกำรบริโภคของประชำชนในประเทศ มีควำมปลอดภัยและคุณค่ำทำงโภชนำกำรเหมำะสม’ ซึง่ ในขณะทีป่ ระเทศไทยต้องการเร่งพัฒนา


เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร แต่จากการจัดอันดับของ ‘ดัชนี ความมัน่ คงทางอาหาร’ (Global Food Security Index) ของ 113 ประเทศทั่วโลกในปี 2565 กลับพบว่าประเทศไทยได้คะแนนรวม 60.1 คะแนน โดยอยูใ่ นอันดับที่ 64 ของโลก ลดลงจากปี 2564 ซึง่ เคยอยูอ่ นั ดับที่ 51 นัน่ เท่ากับว่าไทยเราลดอันดับลงมาถึง 13 อันดับ ส่งผลให้อนั ดับความมัน่ คงทางอาหารของไทยในอาเซียนอยูอ่ นั ดับ 5 รองจาก สิงคโปร์ มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ดังนัน้ เพือ่ จะก้าวข้ามข้อจ�ากัดทีไ่ ทยก�าลังเผชิญอยูท่ งั้ ผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ประเทศไทยต้องกลับมา ทบทวนความเชือ่ มโยงระหว่างการสร้างความมัน่ คงทางด้านอาหาร กับมิติการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของประเทศและสังคมโลก แม้ว่าประเทศไทยได้เสนอตัวเองในฐานะ ‘ครัวโลก’ โดยอาศัย ความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากมีทรัพยากร ธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์ มีการลงทุนอย่างต่อเนือ่ งในนวัตกรรมอาหาร และมีความมุ่งมั่นตั้งใจรักษามาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร ก็ตาม ทัง้ นี้ ในปี 2564 ประเทศไทยเป็นผูส้ ง่ ออกอาหารอันดับที่ 13 ของโลก ฉะนัน้ เพือ่ ทีจ่ ะตัง้ รับกับความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ และสร้างความมัน่ คงทางด้านอาหารทีย่ งั่ ยืน จึงต้อง พิจารณาถึงศักยภาพการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของ ภายในประเทศเองและตลาดโลกด้วยครับ โดยในแง่ของการเป็นผู้ผลิตอาหาร ซึ่งปัจจุบันมีหลายด้าน ทีต่ อ้ งส่งเสริมและสนับสนุน เนือ่ งจากประเทศไทยเริม่ เข้าสูส่ งั คม สูงวัย (Aged Society) ท�าให้อายุโดยเฉลีย่ ของเกษตรกรมากกว่า 50 ปีขนึ้ ไป ในสัดส่วนร้อยละ 60 ในขณะทีค่ า่ นิยมของคนรุน่ ใหม่ ทีม่ ตี อ่ อาชีพเกษตรนัน้ เป็นไปในทิศทางทีล่ ดลงจนถึงขาดความสนใจ ทัง้ ทีเ่ กษตรกรเป็นกลไกหลักทีข่ บั เคลือ่ นประเทศไทย การสนับสนุน การประกอบอาชีพและการเสริมแรงบวกทางด้านมุมมองและ วิสยั ทัศน์ตอ่ วิชาชีพเกษตรจึงส�าคัญ เพราะจะท�าให้ฟนั เฟืองการผลิต อาหารเป็นไปอย่างมัน่ คง ซึง่ ต้องพัฒนาทัง้ กลุม่ เกษตรและเทคโนโลยี รวมถึงวางแผนเพือ่ ทีจ่ ะรับมือกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ในสถานการณ์ปจั จุบนั ทีม่ คี วามแปรปรวน (Climate Change and Extreme Weather) เนือ่ งจากมีแนวโน้มความรุนแรงมากขึน้ ทัง้ ยัง พยากรณ์ดา้ นต่างๆ ได้ยากขึน้ ด้วย ไม่วา่ จะเป็น การพัฒนาด้าน เทคโนโลยีการผลิต การควบคุมการระบาดและการจัดการศัตรูพชื การควบคุมคุณภาพผลผลิต การวิเคราะห์พนื้ ทีเ่ สีย่ ง และการประเมิน วัฏจักรการผลิตอาหาร ทัง้ นี้ ยังต้องค�านึงถึงการลดการสร้างมลพิษ เช่น ลดการผลิต PM 2.5 ควบคูไ่ ปกับการเปลีย่ นแปลงกระบวนการผลิต โดยสิง่ ทีเ่ ริม่ ได้ง่ายและเร่งด่วน คือ ลดการเผาในที่โล่ง และสร้างแรงจูงใจ ในการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนของ อุตสาหกรรม รวมถึงสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความส�าคัญ ของการท�าการเกษตร เช่น ความเชื่อมโยงทรัพยากรธรรมชาติ ภายใต้ รู ป แบบการพั ฒ นาแนวใหม่ ที่ เ น้ น การเพิ่ ม มู ล ค่ า ของ ผลผลิตเดิมควบคู่กับการใช้ทรัพยากรต่อหน่วยที่ลดลงและต้อง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะจากนี้ไปการเจรจาหรือท�าสัญญา การค้านัน้ ได้ปรับเข้าสูโ่ หมดบนหลัก ESG (Environmental, Social

and Governance) ซึ่งจะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ธุรกิจ ด้วยบทบาทความรับผิดชอบ และเนื่องจากปัจจุบันความเสี่ยงจากเสถียรภาพทางการค้า ระหว่างประเทศและภัยพิบัติมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน และถี่ยิ่งขึ้น เช่น ภาวะข้าวยากหมากแพงที่เกิดขึ้นทั่วโลกซึ่งเป็น ผลกระทบจากการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ตัง้ แต่การแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อเนือ่ งมาถึงความตึงเครียด ทางเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นทั่วโลกจากกรณี รัสเซีย-ยูเครน ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการน�าเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ อีกประการหนึง่ คือ สัญญาระยะยาว (Long-term Contract) ท�าให้ ประเทศไทยขาดความมัน่ คงทางอาหาร การสร้างความร่วมมือเพือ่ รักษาเสถียรภาพทางอาหาร และลดผลกระทบต่อความเสียหาย จากวิกฤติการณ์ตา่ งๆ จึงเป็นอีกหนึง่ ทางออกทีส่ า� คัญ เพราะในอนาคตยั ง ต้ อ งรั บ มื อ กั บ ความมั่ น คงทางอาหาร ในสังคมเมือง (Urban Food Security) เนือ่ งจากมีการคาดการณ์วา่ ในปี 2030 ประชากรประมาณ 70% ของประเทศจะย้ายสู่เมือง ความท้าทายที่จะเกิดขึ้น คือปัญหาเรื่องการขาดแคลนเกษตรกร ผูผ้ ลิตอาหาร และการปนเปือ้ นสะสมมลพิษของอาหารจากกิจกรรม ของชุมชนเมือง ซึง่ ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพและเศรษฐกิจอย่างมาก และการสร้างพืน้ ทีส่ เี ขียวในเมือง รวมถึงลดการน�าเข้าอาหารจาก ภายนอกพื้นที่ สนับสนุนการศึกษาเรื่องอาหารที่เป็นประโยชน์ การบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ส่งเสริมการสร้างพื้นที่ตลาดสด ทีส่ ะอาดและปลอดภัย รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับ อาหารท้องถิน่ นอกจากเป็นการสร้างชุมชนทีม่ กี ารเชือ่ มโยงและยัง่ ยืน ทางอาหารแล้ว ยังเป็นส่วนส�าคัญของความมั่นคงทางอาหาร ในเมืองทีย่ งั่ ยืนอีกด้วยครับ สุ ด ท้ ำ ยนี้ ผ มขอสรุ ป ง่ ำ ยๆ ถึ ง ปั จ จั ย และควำมเชื่ อ มโยง ที่เกี่ยวข้องกับควำมมั่นคงทำงอำหำรของไทยได้ตำมไดอะแกรม นีค้ รับ

6 9


ว่ำด้วย ‘กำรแปรอักษร’

: ชำคริต ดิเรกวัฒนชัย รองกรรมการผูอ้ าำ นวยการ - สำานักกิจการและสือ่ สารองค์กร บมจ.บีอซี ี เวิลด์

ช่วงนีม้ คี นพูดเรือ่ งนีเ้ ยอะมำก ยิง่ พอรูว้ ำ่ ผมเป็นเด็กสวนกุหลำบ ซึง่ เป็นหนึง่ ในจตุรมิตรสำมัคคี ก็มคี นทัง้ ถำมทัง้ แหย่เรือ่ งนี้ มำกกว่ำสิบคนในช่วงไม่กวี่ นั นี้ งานผมก็ยงุ่ มากเสียด้วย แต่คา� ถามเหล่านัน้ ก็ทา� ให้ผมได้ทบทวนเรือ่ งนี้ เปรียบเทียบ กับเหตุการณ์ทมี่ ใี ครก็ไม่รซู้ งึ่ ไม่ได้มสี ว่ นเกีย่ วข้องเลยพยายามสร้างกระแสให้ยกเลิก บ้างละ ต่อต้านการแปรอักษรบ้างละ ผมได้แต่ใช้เวลาล้มตัวลงนอนก่อนจะหลับ 2-3 คืนทีผ่ า่ นมาคิดเรือ่ งนี้ หลังจากคิดถึงช่วงเวลาการแปรอักษรท�าให้จา� ได้วา่ ภำพจำก: เพจนักเรียนสวนกุหลำบ


4;

1;

การเข้าแปรอักษรเป็นการแสดงการมีสว่ นร่วมส�าหรับเด็กผอมๆ แห้งๆ เตะบอลไม่เก่งอย่างผม ซึ่งอยากท�าอะไรให้โรงเรียนบ้าง ทีส่ า� คัญการมีสว่ นร่วมไม่ใช่แค่การแปรอักษรนะครับ ผมเข้าร่วมตัง้ แต่ ‘ลงโค้ด’ ลงโค้ดคือการเขียนลงในช่องว่ารูปทีจ่ ะแปรนี้ เพลตอันนี้ ต้องใช้สอี ะไรบ้าง เป็นงานละเอียดมาก จ�าได้ใช้เวลาลงโค้ดกันเป็น เดือน อาสากันมาท�า ท�ากันตอนเช้าและเย็น ก่อน-หลังการเรียน และช่วงใกล้วนั ก็แอบโดดเรียนมาท�า มีคณ ุ ครูมาตามนะ แต่ครูกไ็ ม่ตี ที่โดดเรียน ...สิ่งที่ท�าเป็นกระบวนการซึ่งท�าให้เรามีการวางแผน เวลาท�างาน มีความละเอียดแบบไม่สามารถผิดพลาดได้เลย เพราะ ความผิดพลาดจะท�าให้สว่ นรวมเสียหายได้

2;

ในวันงานการแปรอักษร เป็นการเรียนรูท้ จี่ ะท�าตามค�าสัง่ ของพีๆ่ และพี่ๆ เชียร์ลีดเดอร์ ผมรู้สึกถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ เพื่อนๆ ทั้งหมดบนอัฒจันทร์ รู้ว่าพวกเราทุกคนต้องท�าพร้อมกัน มันถึงจะส�าเร็จ คนเดียวจะไม่สามารถท�าอะไรให้ส�าเร็จได้เลย แต่คนเดียวสร้างความเสียหายได้ ถ้าไม่ทา� พร้อมและเหมือนคนอืน่ เราจึงตัง้ ใจกันมาก

3;

ความสุข คือเมือ่ รุน่ พีส่ งั่ ให้เรายกเพลตพร้อมกัน แล้วได้ยนิ เสียง ทีค่ นดูบนฝัง่ ตรงข้ามปรบมือให้ดว้ ยความชืน่ ชม นัน่ คือความภูมใิ จ เติ ม ความฮึ ก เหิ ม ของพวกเราที่ มี เ กื อ บเต็ ม ตลอดเวลาอยู ่ แ ล้ ว ยิง่ เต็มล้นไปอีก จ�าได้มกี ารแปรเป็นรูป ‘วัดพระแก้ว’ ทีม่ เี ทคนิคพิเศษ โดยเป็นหน้าทีข่ องคนทีไ่ ด้นงั่ ตรงทีแ่ ปรในส่วนของหลังคาพระอุโบสถ ซึ่งพอพวกเรายกเพลตแล้วเราก็ได้ยินเสียงปรบมือดังเกรียวกราว เพราะความสวยงาม แค่นพ้ี วกเราก็สขุ ใจสุดๆ แล้ว โดยผมเป็นกลุม่ คนที่ได้กระจกเงาเล็กๆ ที่มีหน้าที่ในการเอากระจกสะท้อนแดด กลับไปยังผู้ชมให้เห็นเป็นแสงระยิบระยับของหลังคารพระอุโบสถ (เป็นความคิดสร้างสรรค์ของเด็กสมัยนั้น) ซึ่งจ�าได้ว่าพอพวกเรา น�ากระจกเงาสะท้อนแสงแล้วจะได้ยินเสียงปรบมือที่ยาวนานมากๆ พร้อมเสียงวี้ดวิ้วตลอด และนั่นแหละคือความสุข ความภูมิใจ ความตืน้ ตันทีส่ ดุ ๆ จริงๆ ครับ

ปีที่ผมแปร ผมเจอฝนลงมาห่าใหญ่ แต่เชื่อไหมครับ...ผมไม่มี ความกลัวแฉะเลย จ�าได้แต่กลัวว่าเพลตจะแฉะ เพราะถ้าเพลตแฉะ แล้วเราจะแปรอักษรต่อไม่ได้ จ�าได้พวกเราปกป้องเพลตกันสุดฤทธิ์ ทีส่ า� คัญวันนัน้ กลับบ้านแบบโทรมๆ แฉะๆ แต่ผมโชคดีทพ่ี อ่ ผมไม่วา่ อะไรเลย ไม่มีการต�าหนิโรงเรียนที่ปล่อยนักเรียนตากฝน มีแต่ ความชืน่ ชมและภูมใิ จลูกชายคนนี้ ...สรุปคือ ฝน ร้อน ไม่ใช่ปญ ั หา ของผมเลยครับ

5;

ปีต่อๆ มาที่ไม่ได้แปรอักษร ผมก็มาเป็นคนดูแล น้องๆ เสิร์ฟอาหารให้น้องๆ ปฐมพยาบาลน้อง เข้าไปแปรแทนตอนน้องไปเข้าห้องน�้า คือแม้ไม่ได้แปรอักษร แต่พวกเราก็มาเชียร์บอลอ่ะชัวร์อยูแ่ ล้ว แต่รตู้ วั ว่ามีหน้าทีม่ ากกว่านัน้ คือการให้กา� ลังใจพีๆ่ น้องๆ เพือ่ นๆ ของเราทุกคน

6;

การแข่งขันฟุตบอล ตอนเชียร์กเ็ ต็มที่ มีจกิ กัดเพือ่ นต่างโรงเรียน บ้าง (ที่จริงไม่ใช่แค่บ้าง แต่จิกกัดกันมาตลอด) มีปีที่สวนกุหลาบ เป็นแชมป์ เราก็ดีใจยิ่งกว่าแมนยูฯ เป็นแชมป์ (หมายถึงแมนยูฯ ปีนนั้ นะ คงไม่ใช่ปนี )้ี ถ้าเราแพ้เราก็ดรามากันสุดๆ ร้องไห้กส็ ดุ ๆ แต่ เราก็เรียนรูว้ า่ ชนะก็ดี แพ้กเ็ ป็นไปได้ ท�าให้เรายอมรับผลการแข่งขัน ทุกอย่างได้ดี ขอแค่ทา� เต็มทีก่ พ็ อ ฉะนั​ั้น การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตร ไม่ใช่แค่การเตะบอลของ นักเรียนนะครับ มันคือ ‘มหกรรมการฝึกบุคลากรของประเทศไทย’ ช่วงเวลานัน้ ๆ เป็นช่วงทีพ่ วกเราเริม่ วัยรุน่ เป็นวัยก�าลังเรียนรู้ ทุกสิง่ ที่ เรียนรูเ้ กิดจากการท�าจริง ได้รบั รู้ อะไรทีด่ กี ท็ า� ซ�า้ อะไรไม่ดกี เ็ รียนรู้ ทีจ่ ะไม่ทา� ดังนั้น กรุณำอย่ำวิจำรณ์พวกเรำดังเกินไป ถ้ำคุณไม่เคยมี ประสบกำรณ์กำรเรียนรูจ้ ำกงำน ‘จตุรมิตรสำมัคคี’

7 1


CSV

AWC จับมือ ททท. และมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ เปิดตัวโครงการ ‘AWC Stay to Sustain’ อนุรักษ์และฟื้นฟูต้นไม้ในป่าชุมชน พร้อมขับเคลื่อนการท่องเที่ยวยั่งยืน : กรรฐา

7 2

บริษัท แอสเสท เวิรด์ คอร์ป จ�ากัด (มหาชน) หรือ AWC ผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ของไทยทีม่ งุ่ เน้นตอบสนองไลฟ์สไตล์ แบบครบวงจร สานต่อความร่วมมือกับการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (ททท.) พร้อมผนึกก�าลังกับ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ร่วมขับเคลื่อนการท่องเที่ยวยั่งยืน (Sustainable Tourism) ชวนนักท่องเทีย่ วร่วมโครงการ ‘AWC Stay to Sustain’ เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูต้นไม้ในป่าชุมชน เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ พร้อมดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และเพิ่มการผลิตก๊าซออกซิเจนให้กับ อากาศบนโลกใบนี้ ควบคูก่ ารสร้างรายได้ในชุมชนเพือ่ สนับสนุน เศรษฐกิจประเทศในระยะยาว ตอกย�้าความมุ่งมั่นด�าเนิน ธุ ร กิ จ ตามกลยุ ท ธ์ ก รอบการด� า เนิ น งานการพั ฒ นาที่ ย่ัง ยื น 3BETTERs ของ AWC ทั้ง BETTER Planet BETTER People และ BETTER Prosperity ซึง่ สอดคล้องกับเป้าหมาย ของททท. ทีม่ งุ่ สนับสนุนการท่องเทีย่ วแบบคาร์บอนต�า่ (Low Carbon) พร้อมขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเป็นหนึ่งในผู้น�า การสร้างการท่องเที่ยวยั่งยืนระดับโลก ร่วมส่งต่อคุณค่ากับ นักท่องเทีย่ วจากทัว่ โลก ‘AWC Stay to Sustain ’ เป็นหนึ่งในโครงการตาม กรอบการด�าเนินงานด้านความยัง่ ยืนของ AWC (3BETTERs) ผ่านความร่วมมือกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ เพื่อร่วมฟื้นฟูดูแล ผืนป่าในระยะยาว โดย AWC ตัง้ เป้าสนับสนุนการอนุรกั ษ์และ ฟืน้ ฟูตน้ ไม้ในแต่ละปีประมาณ 500,000 ต้น รวมกว่า 5,000 ไร่ สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 2,500 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี หรือเท่ากับการเข้าพัก 1 คืน ร่วมดูแลต้นไม้ 1 ต้น จะช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ราว 5 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี สอดรับกับ เป้าหมายระยะยาวของ AWC ในการมุง่ สูค่ วามเป็นกลางทาง คาร์บอนภายในปี 2573 นอกจากนีย้ งั ร่วมกับ มูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวงฯ สนับสนุนการสร้าง รายได้ชุมชนด้วยการสรรหาผลิตภัณฑ์งานฝีมือจากชุมชน

ทัว่ ประเทศมาตกแต่งในโรงแรมแบรนด์พนั ธมิตรชัน้ น�าระดับโลก เครือ AWC รวมถึงการน�าผลผลิตทางการเกษตรคุณภาพจาก ชุมชนมาปรุงอาหารและเสิรฟ์ ให้นกั ท่องเทีย่ วทีเ่ ข้าพักในโรงแรม ได้ลมิ้ รส เปิดโอกาสให้คนไทยได้มโี อกาสแสดงผลงานสูส่ ายตา ของนักท่องเทีย่ วทัว่ โลก ควบคูก่ ารสนับสนุนความยัง่ ยืนเพือ่ สังคม ทีม่ นั่ คงรุง่ เรืองด้วยการเติบโตทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่าเทียม ทั้งนี้ ยังตั้งเป้าให้ทุกโรงแรมและศูนย์การค้าในเครือได้รับ ประกาศนียบัตร โครงการ STAR ‘ดาวแห่งความยัง่ ยืน’ ของ ‘การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย’ ตามเป้าหมาย STGs (Sustainable Tourism Goals) ของ ททท. สะท้อนความมุง่ มัน่ ของ AWC ที่ด�าเนินงานตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกมิติของ ธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และ การมีธรรมาภิบาลที่ดีของสถานประกอบการ ควบคู่การสร้าง คุณค่าอย่างยั่งยืนในระยะยาวให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตลอด ห่วงโซ่คณ ุ ค่า และร่วมขับเคลือ่ นประเทศไทยสูก่ ารเป็นจุดหมาย ปลายทางด้านการท่องเทีย่ วยัง่ ยืนระดับโลก


newS & newS

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ งานฉลองครบรอบ ‘145 ปี บี.กริม’ พร้อมทอดพระเนตรนิทรรศการทรงคุณค่า ‘ประวัติศาสตร์ของ องค์กร 6 แผ่นดิน ยึดมั่นการทำาธุรกิจที่เป็นมิตรต่อประชาสังคม’ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินไปเป็นองค์ประธานงานเฉลิมฉลองครบรอบการ ด�าเนินธุรกิจในประเทศไทยปีที่ 145 ของ บี.กริม องค์กรทีอ่ ยูเ่ คียงคูส่ งั คมไทย จากรากฐานปรัชญาการด�าเนินธุรกิจด้วยความโอบอ้อมอารี ซึง่ จัดขึน้ อย่างยิง่ ใหญ่ ภายใต้ชอื่ ‘บี.กริม 145 ปี แห่งการด�าเนินธุรกิจด้วยความโอบอ้อมอารี รับใช้และ เติบโตเคียงข้างกับประเทศไทย’ พร้อมทอดพระเนตรนิทรรศการ ‘145 ปี บี.กริม’ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เมือ่ ช่วงค�า่ วันพุธที่ 15 พฤศจิกายน 2566 โดยมี มร.ฮาราลด์ ลิงค์ และคณะผูบ้ ริหาร บี.กริม ร่วมเฝ้าฯ รับเสด็จ ก้าวสู่ปีที่ 7 ภาครัฐ ประชาสังคม และ 52 องค์กรเอกชน รวมพลังเด ินหน้าแผนงานมูลนิธิสานอนาคตการศึกษา คอนเน็กซ์อีด ี ชู ‘แนวทางความร่วมมือ 3 ภาคส่วน สานต่อการศึกษาไทย ประจำาปี 2566’

รวมพลังต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 สานต่อเจตนารมณ์และความมุง่ มัน่ ในการร่วมขับเคลือ่ นการศึกษาไทย ให้กา้ วไกลอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน มูลนิธสิ านอนาคตการศึกษา คอนเน็กซ์อีดี น�าโดยองคมนตรี พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ประธานทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ จัดการประชุม ‘แนวทางความร่วมมือ 3 ภาคส่วนในการสนับสนุนการศึกษาไทย ประจ�าปี 2566’ ณ แกรนด์ ฮอลล์ ชัน้ 3 ทรู ดิจทิ ลั พาร์ค เวสต์ โดยมีคณะทีป่ รึกษาและผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภาครัฐ พลต�ารวจเอก เพิม่ พูน ชิดชอบ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ภาคประชาสังคมและภาคเอกชน นายศุภชัย เจียรวนนท์ ประธานคณะผูบ้ ริหาร เครือเจริญโภคภัณฑ์ และประธานกรรมการ บมจ.ทรู คอร์ปอเรชัน่ ในฐานะ ประธานคณะกรรมการบริหารมูลนิธฯิ พร้อมด้วยซีอโี อ คณะผูบ้ ริหารจากองค์กร ผูร้ ว่ มก่อตัง้ ตลอดจนเครือข่ายพันธมิตร ร่วมกันแลกเปลีย่ นความคิดเห็น หารือและวางแผนการด�าเนินงานในระยะต่อไป ซึง่ เน้นให้โรงเรียนส่งเสริม กระบวนการจัดการเรียนรูท้ ใี่ ห้เด็กเป็นศูนย์กลาง (Child-centric Learning) และการลงมือปฏิบตั ิ (Action-based Learning) เพือ่ ส่งเสริมการสร้างกิจกรรม การเรียนรูน้ อกหลักสูตร (Extracurricular) ในศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชน (Learning Center) ช่วยให้เด็กเรียนรูต้ ามความสนใจ ค้นคว้า ทดลอง น�าไปสูก่ ารอภิปรายด้วยเหตุผล ส่งผลให้เกิดการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รียนให้รกั การเรียนรูต้ ลอดชีวติ พลิกโฉมศักยภาพเด็กไทยให้เป็นเด็กดี มีความสามารถ ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต

เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประจำาราชอาณาจักรไทย เข้าชมนิทรรศการ ‘AlgorithmiC orgAniSmS’ รอบพิเศษ ที่ moCA BAngKoK มร.แร็มโก โยฮันเนิส ฟัน ไวน์คาร์เดิน เอกอัครราชทูต ราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ประจ�า

ราชอาณาจักรไทย เข้าชม นิทรรศการสุดล�า้ ‘Algorithmic Organisms’ รอบพิเศษ ผลงานศิลปินดิจทิ ลั อาร์ต ชาวดัตช์ระดับแนวหน้าของโลก 0010x0010 ทีไ่ ด้เปิด ประสบการณ์ใหม่ให้คนไทยได้ชนื่ ชมผลงานดิจทิ ลั อาร์ตแนวอาว็องการ์ด (Avant-Garde) อันเต็มเปีย่ มไปด้วยพลังและจิตวิญญาณ ครัง้ แรกในประเทศไทยก่อนเดินสายเปิดนิทรรศการในหอศิลป์ชน้ั น�า ทัว่ โลก ณ พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะไทยร่วมสมัย (MOCA BANGKOK) โดยเปิดให้เข้าชมฟรีไม่มคี า่ ใช้จา่ ย ตัง้ แต่วนั นี้ ถึง 22 ธันวาคม 2566 ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย (MOCA BANGKOK) ทุกวันอังคารวันอาทิตย์ เวลา 10.00-18.00 น. ปิดท�าการทุกวันจันทร์ ฮุนได มอเตอร์ ก่อสร้างโรงงานรถยนต์ ไฟฟ้าแห่งใหม่ในเมืองอุลซาน ต่อยอดมรดกอันล้ำาค่าพร้อมเดินหน้าสู่วิสัยทัศน์ พลังงานไฟฟ้าเต็มรูปแบบ บริษทั ฮุนได มอเตอร์ จัดพิธเี ปิดด�าเนินการก่อสร้างโรงงานผลิต รถยนต์ไฟฟ้าแห่งใหม่ ณ ศูนย์อตุ สาหกรรมในเมืองอุลซาน ซึง่ เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมยานยนต์ขนาดใหญ่ของประเทศเกาหลีใต้ โดยโรงงานผลิตรถยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะแห่งใหม่นจ้ี ะเป็น รากฐานส�าคัญเพือ่ การเติบโตในอนาคตของบริษทั ในยุคแห่งพลังงาน ไฟฟ้า และสานต่อปณิธานของประธานผูก้ อ่ ตัง้ โรงงานแห่งแรก ของฮุนได มอเตอร์ เมือ่ กว่าครึง่ ศตวรรษทีผ่ า่ นมา โรงงานผลิตรถยนต์ ไฟฟ้าแห่งนีถ้ กู ออกแบบให้คา� นึงถึงผูค้ นเป็นหลัก โดยใช้นวัตกรรม แพลตฟอร์มการผลิตแนวใหม่ในการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม การปฏิบตั งิ านทีเ่ หมาะสมกับพนักงานมากทีส่ ดุ โดยโรงงาน เมืองอุลซานถูกก�าหนดให้เป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์ของฮุนได ในยุคพลังงานไฟฟ้า ซึง่ จะกลายเป็นฐานการผลิต ยานยนต์หลักแห่งอนาคต

7 3


GM เชื่อว่าค�าถามที่ดีน�ามาซึ่งค�าตอบที่สร้างสรรค์ ค�าตอบที่สร้างสรรค์สามารถสร้างแรงบันดาลใจ และเปลี่ยนแปลงโลกให้ดีขึ้น เราเลยโยน 1 ค�าถามให้พวกเขาตอบ : กบูร

เป็นกระแสมาอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ Soft Power ที่กลายเป็นวลียอดฮิตไปทั่วบ้านทั่วเมือง และสะกิดให้ภาครัฐตื่นตัวหันมาสนับสนุนเพื่อยกระดับไปสู่เวทีโลก แต่ก็ยังมีข้อกังขาว่าความหมายที่แท้จริงของวลียอดฮิตนี้คืออะไร และส�าหรับประเทศไทยจะมุ่งไปในทิศทางไหน ลองมาฟังเสียงของเขาและเธอที่เป็นส่วนหนึ่ง ในการขับเคลื่อนประเทศว่า Soft Power ในความคิดพวกเขาคืออะไร และในสายอาชีพพวกเขาควรเป็นรูปแบบไหน

ศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล

Soft power สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง ทีย่ งั่ ยืนของสังคมได้ครับ

Soft Power เป็น อีกหนึง่ แนวทางใน การสร้ า งอิ ท ธิ พ ลเหนื อ ผู ้ อื่ น โดยอาศั ย พลั ง ในการโน้ ม น้ า ว ดึ ง ดู ด ความสนใจ ปรับเปลี่ยน ความคิดและพฤติกรรม ของคนด้วยความเต็มใจ ซึง่ จะเห็นตัวอย่างได้จากการน�าวัฒนธรรมมาใช้ ในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจผ่านสินค้า และสื่อต่างๆ จนท�าให้เกิดความชื่นชอบต่อ วัฒนธรรมหรือวิถขี องประเทศนัน้ ๆ และสามารถ น�าความนิยมชมชอบนี้ไปต่อยอดเพื่อท�าให้ เกิดโอกาสในด้านอืน่ ตามมา แต่ประเด็นส�าคัญ ของการใช้ Soft Power อยู่ที่ ‘คุณค่าและ มู ล ค่ า ’ ร่ ว มกั น ทั้ ง ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม และทรัพยากรมนุษย์ มากกว่าการสร้างความ ครอบง�าหรืออิทธิพลแต่เพียงอย่างเดียว ซึ่งเมื่อพูดถึง Soft Power จึงมักจะคิดถึง การน�าวัฒนธรรมมาใช้เป็นเครื่องมือในการ โน้มน้าวหรือดึงดูดความสนใจ แต่แท้จริงแล้ว วัฒนธรรมเป็นเพียงส่วนส�าคัญหนึ่งที่น�ามาใช้ ในการขั บ เคลื่ อ นการเปลี่ ย นแปลงเท่ า นั้ น ดังนั้น ไม่ใช่ว่าการเผยแพร่วัฒนธรรมทุกครั้ง จะจัดเป็น Soft Power ได้ หากมองให้ลกึ ลงไป ในความหมายของ Soft Power ก็จะพบว่าสิง่ ที่ มีความส�าคัญก็คอื ‘คุณค่า’ ของสิง่ ทีน่ า� มาใช้ ในการขับเคลื่อน ที่ต้องสามารถยึดโยงกับ ความสนใจของผูค้ นได้จริงและต่อเนือ่ ง การใช้ Soft Power จึงไม่ได้จา� กัดอยูท่ กี่ ารใช้ ประโยชน์วัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ แนวคิดเดียวกันนี้ในการสร้างกระแสด้านบวก ในสังคมผ่านการสร้างความเปลีย่ นแปลงด้าน ความคิดและพฤติกรรมของผู้คน พร้อมทั้ง ผ่านการสร้าง ‘คุณค่า’ ร่วมกัน เพือ่ ให้สามารถ ยึดโยงความสนใจของทุกคนที่จะท�าให้การใช้

รศ.ดร.พิภพ อุดร

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7 4

รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Soft Power คือ ‘พลั ง ในการขั บ เคลื่อนหรือปรับเปลี่ยน พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ค น ’ โดยตั้ ง อยู ่ บ นฐานของ ความเลือ่ มใส หรือนิยม ชมชอบ ซึ่งตรงกันข้าม กับการบังคับให้ท�าตาม โดยใช้กา� ลังหรือกฎหมาย ในบริ บ ทระหว่ า งประเทศ Soft Power สามารถประเมินได้จาก ‘มูลค่าทางเศรษฐกิจ รวม’ ของทุกประเทศที่เกิดจากการที่คนใน ประเทศนัน้ ๆ หันมาซือ้ ‘สินค้าหรือบริการ’ ของ ประเทศแหล่ง Soft Power ด้วยเหตุความนิยม ชมชอบ คลั่งไคล้ หรือเลื่อมใสในวัฒนธรรม ประเพณี วิถีไลฟ์สไตล์ หรือแนวปฏิบัติอื่นๆ ซึง่ รวมถึงการแต่งกาย อาหาร ดนตรี วิถชี วี ติ และอื่ น ๆ ที่ โ ดยทั่ ว ไปมั ก ใช้ ศิ ล ปิ น ดารา ภาพยนตร์ คลิป เพลง หรือหนังสือ เป็นกลไก ในการเผยแพร่ แต่ทอี่ าจจะนึกไม่ถงึ ก็คอื ‘ระบบ การศึกษาก็ถอื เป็น Soft Power ทีห่ ยัง่ รากลึก’ เพราะเป็ น ต้ น ทางของการปลู ก ฝั ง วิ ธี คิ ด โลกทัศน์ ความรู้ และทักษะต่างๆ ซึง่ เป็นพลัง ขับเคลือ่ น และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมทีส่ า� คัญ ไม่วา่ จะเป็นการศึกษาแบบตะวันตก การศึกษา แบบตะวันออก การศึกษาแนวพุทธ การให้ ความรู ้ และพั ฒ นาทั ก ษะที่ ล ะเมี ย ดละไม ในด้านศิลปะ วัฒนธรรม ตลอดจนสุนทรียะทีม่ ี ความน่าลุ่มหลง น่าค้นหาของแต่ละพื้นที่ ประเทศในโลกจ�านวนไม่นอ้ ยใช้ระบบการศึกษา เป็นกลไกขยาย Soft Power ของตนเอง ควบคู่ ไปกั บ การสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ประเทศอย่ า ง เป็นกอบเป็นก�า ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร จีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ อินเดีย และอินโดนีเซีย เป็นต้น

ตั ว อย่ า งการศึ ก ษาไทยที่ มี ศั ก ยภาพ ในการเป็น Soft Power ทีข่ ยายผลไปได้ทวั่ โลก เนือ่ งจากมีทงั้ ความลึกซึง้ และความละเมียดละไม ของศาสตร์ ที่ น ่ า เลื่ อ มใส ก็ เ ช่ น นวดไทย แพทย์แผนไทย ผ้าไทย ซึง่ ผ้าไทยนีม้ ที งั้ ผ้าไหม ผ้ า ฝ้ า ยทอมื อ ผ้ า มั ด ย้ อ ม ผ้ า บาติ ก ฯลฯ ดนตรีไทย มวยไทย การประกอบอาหารไทย ไปจนถึงวิถชี วี ติ แบบไทยในอดีต ทัง้ การอาศัยอยู่ ในเรือนไทย การด�านา ปลูกข้าว การประมง ฯลฯ ซึง่ หากคณะกรรมการ Soft Power ระดับชาติ จะจริงจังกับการใช้การศึกษาเป็นกลไกในการ ขับเคลือ่ นเรือ่ งนี้ ก็ขอแนะน�าให้ Focus กับเฉพาะ บางเรือ่ งทีม่ ศี กั ยภาพสูง มีโอกาสทีส่ ง่ ผลกระทบ ในวงกว้างกับประชาชนในประเทศ และผลักดัน เรื่องนั้นๆ ให้เป็น Pilot Project จนประสบ ความส�าเร็จเป็นรูปธรรมในระดับสูงก่อนขยาย ไปสูเ่ รือ่ งอืน่ ๆ ต่อไป ผมไม่แนะน�าให้ทา� หลายๆ เรื่องไปพร้อมๆ กัน เพราะ Impact จะน้อย เนื่ อ งจากการใช้ ง บประมาณและทรั พ ยากร ต่างๆ ไม่เกิดประโยชน์สงู สุดครับ

พีท -พีรพัฒน์ ตุลยาเดชานนท์ เจ้าของเพจ : กินกับพีท

Soft Power ใน ความหมายของ ผม ซึ่งมองแบบกว้างๆ นั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ก ลุ ่ ม คนใน สังคมเห็นชอบและกระท�า เป็นจ�านวนมากพอทีจ่ ะเกิด ความน่าสนใจ จนมีคน อืน่ ๆ ร่วมกันกระท�าตาม หรือด�าเนินต่อในทางบวก ระยะยาว เรียกว่าส่งผลในทางทีด่ ี โดยหากมอง ในสายอาชีพผมคงเป็นเรือ่ งของเหล่าคนทีส่ นใจ อาหารระดับใดก็ตาม พูดถึงร้านอาหารใดๆ หรือเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับวงการอาหารในทางทีด่ ี จนเกิดการอยากกินอยากปฏิบตั ติ าม และได้รบั ผลประโยชน์ทดี่ ใี นทุกๆ ฝ่าย ทัง้ ผูป้ ระกอบกิจการ ผูบ้ ริโภค และอืน่ ๆ แบบอยูก่ นั ได้ยาวๆ ไปด้วย กันครับ


สิงห์ เอสเตท ผนึกความร่วมมือศูนย์วจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ทะเลอันดามันตอนบน

ด�าเนินโครงการ SOS อนุรก ั ษ์ปลาฉลามกบ ทีเ่ กาะพีพี

สิงห์ เอสเตท ตอกย�้ำควำมส�ำคัญของกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน เดินหน้ำ โครงกำรอนุรกั ษ์ปลำฉลำมกบ หรือ SOS (Save Our Shark) อย่ำงยัง่ ยืน ทีศ่ นู ย์กำรเรียนรูท้ ำงทะเล (Marine Discovery Center) ในพืน้ ทีโ่ รงแรม ทรำย พีพี ไอส์แลนด์ วิลเลจ จังหวัดกระบี่ เพือ่ ช่วยรักษำควำมสมดุล ของระบบนิเวศทำงทะเลในพืน้ ทีท่ ะเลเกำะพีพี

โดยล่าสุดได้รบั ความไว้วางใจจากศูนย์วจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ทะเล อันดามันตอนบน ให้เป็นเอกชนรายแรกๆ ทีไ่ ด้ดา� เนินโครงการอนุรกั ษ์ปลาฉลามกบ อย่างยัง่ ยืน ตัง้ แต่การฟักไข่ อนุบาลลูกฉลามวัยอ่อน ไปจนถึงการปล่อยคืน กลับสูธ่ รรมชาติในพืน้ ทีเ่ หมาะสม ตามค�าแนะน�าของศูนย์วจิ ยั ฯ เพือ่ สนับสนุน การอนุรกั ษ์สายพันธุข์ องปลาฉลามกบให้มคี วามสมบูรณ์และยัง่ ยืนต่อระบบนิเวศ ทางทะเลของประเทศไทย นางฐิตมิ า รุง่ ขวัญศิริโรจน์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า บริษัทรูส้ กึ ภูมิใจเป็นอย่างยิง่ ที่ได้รบั โอกาสจากศูนย์วจิ ยั ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ทะเลอันดามันตอนบน ให้ดา� เนินโครงการอนุรกั ษ์ ปลาฉลามกบอย่างยัง่ ยืนในครัง้ นี้ ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายของบริษัททีม่ งุ่ เน้น และให้ความส�าคัญในการด�าเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (SDGs) โดยเฉพาะการอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (SDGs14: Life Below Water) “การอนุรกั ษ์สตั ว์ทะเลหายากอย่างฉลามกบ เป็นเรือ่ งจ�าเป็นอย่างยิง่ เพราะ ปลาฉลามเป็นสัตว์ทมี่ คี วามส�าคัญต่อระบบนิเวศทางทะเลอย่างมาก ทีส่ า� คัญในช่วง ไม่กปี่ มี านี้ จ�านวนปลาฉลามยังมีปริมาณลดลงมากกว่า 20 เท่า” นางฐิตมิ ากล่าว ดร.ก้องเกียรติ กิตติวฒ ั นาวงศ์ ผูอ้ า� นวยการศูนย์วจิ ยั ทรัพยากรทางทะเล และชายฝัง่ ทะเลอันดามันตอนบน กล่าวว่า ศูนย์วจิ ยั ฯ มัน่ ใจในศักยภาพและ ความเชีย่ วชาญของสิงห์ เอสเตท ในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ มีชวี ติ ทางทะเล โดยดูจากประสบการณ์และโครงการต่างๆ ที่ได้ท�ามา นอกจากนี้ บริษั ทยังมีนักวิทยาศาสตร์ทางทะเล และบุคลากรที่มีความสามารถในการ ช่วยดูแลอนุบาลฉลามกบอย่างเต็มที่ สิงห์ เอสเตท มีความพร้อมอย่างยิ่งในเรื่องของสถานที่และสิ่งอ�านวย ความสะดวกต่างๆ เพือ่ รองรับการด�าเนินงานในโครงการอนุรกั ษ์ปลาฉลามกบ โดยมีศนู ย์การเรียนรูท้ างทะเล ทีก่ อ่ ตัง้ ในปี 2561 ตัง้ อยูภ่ ายในบริเวณโรงแรม ทราย พีพี ไอส์แลนด์ วิลเลจ บนเกาะพีพี โดยเป็นหนึง่ ในโครงการทีส่ ะท้อนแนวคิด การด�าเนินธุรกิจของบริษัท ทีใ่ ห้ความส�าคัญกับการพัฒนาธุรกิจโรงแรมอย่างยัง่ ยืน ผ่านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเชิงรุก เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศทางทะเล ในพืน้ ทีเ่ กาะพีพี นอกจากนีย้ งั ได้ดา� เนินโครงการด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางทะเล ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและสถาบันการศึกษามาโดยตลอด อาทิ

พีพกี า� ลังจะเปลีย่ นไป เป็นโครงการฯ ทีน่ า� พีพีโมเดลมาใช้ในการแก้ ไขปัญหา ปะการังฟอกขาว ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและนักวิชาการ โตไวไว เป็นโครงการฯ ต่อเนือ่ งจากโครงการพีพกี า� ลังจะเปลีย่ นไป ด้วยการ ปล่อยปลาการ์ตนู และปลูกปะการังด้วยวิธี Coral Propagation ร่วมกับ อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเ่ กาะพีพี โครงการติดตามและฟืน้ ฟูปะการังในพืน้ ทีบ่ ริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ ธารา-หมูเ่ กาะพีพี โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศจากโดรน ร่วมกับคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ล่าสุด เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ทางทะเลของศูนย์ การเรียนรูท้ างทะเล โรงแรมทราย พีพี ไอส์แลนด์ วิลเลจ ได้ชว่ ยชีวติ ‘ฉลามกบ’ (Bamboo Shark) ที่ได้รบั บาดเจ็บ ซึง่ เป็นฉลามขนาดเล็ก ทีอ่ ยู่ในภาวะใกล้ ถูกคุกคาม (Near Threatened) ของสหภาพนานาชาติเพือ่ การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature) ซึ่งปัจจุบันฉลามดังกล่าวได้รับการดูแลอย่างดีในบ่ออนุบาลสัตว์น�้าของศูนย์ การเรียนรูท้ างทะเลของโรงแรม ก่อนหน้านี้ในเดือนพฤษภาคม ศูนย์การเรียนรู้ทางทะเลยังได้ช่วยเหลือ ‘ปลาสิงโต’ (Lionfish) ที่ได้รบั บาดเจ็บ โดยทีช่ าวบ้านท้องถิน่ เป็นผูน้ า� มาส่งให้ ศูนย์การเรียนรูท้ างทะเลของรีสอร์ท เนื่องจากปลาสิงโตที่ดูสวยงามแต่มีพิษ ร้ายแรง จึงต้องอาศัยการจัดการปลาอย่างระมัดระวังโดยผูเ้ ชีย่ วชาญของศูนย์ การเรียนรูท้ างทะเล โดยขณะนีป้ ลาสิงโตก�าลังได้รบั การดูแลรักษาอย่างถูกวิธี รวมถึงทีศ่ นู ย์การเรียนรูท้ างทะเลยังมีบอ่ อนุบาลปลาการ์ตนู (Clownfish Nursery) เพือ่ เพาะขยายพันธุก์ อ่ นทีจ่ ะปล่อยกลับสูแ่ นวปะการังในเวลาและสภาพแวดล้อม ทีเ่ หมาะสม อนึง่ โรงแรมทราย พีพี ไอส์แลนด์ วิลเลจ (SAii Phi Phi Island Village) เป็นหนึง่ ในโรงแรมของบริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จ�ากัด (มหาชน) หรือ ‘SHR’ บริษัทในเครือของสิงห์ เอสเตท ตัง้ อยู่ในพืน้ ที่ ต�าบลอ่าวนาง อ�าเภอเมือง จังหวัดกระบี่ และอยูภ่ ายในเขตพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเ่ กาะพีพี ทีผ่ า่ นมาโรงแรมได้ทา� งานร่วมกับชุมชนท้องถิน่ เป็นอย่างดี เพือ่ ให้เข้าใจการอนุรกั ษ์ และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ซึ่งศูนย์การเรียนรู้ทางทะเลของ โรงแรมไม่ได้เป็นเพียงสิง่ อ�านวยความสะดวกหรือสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�าหรับแขก ทีเ่ ข้าพักเท่านัน้ แต่เป็นศูนย์กลางการให้ความรูส้ า� หรับทุกคน รวมทัง้ ชาวบ้านและ เยาวชนทีส่ ามารถเรียนรูเ้ กีย่ วกับสิง่ มีชวี ติ ท้องถิน่ “ความมุง่ มัน่ และท�างานในการอนุรกั ษ์ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทางทะเล อย่างจริงจัง เพือ่ ให้เราก้าวไปข้างหน้าอย่างยัง่ ยืนพร้อมๆ กับสังคมและชุมชน โดยรอบ อีกทัง้ ยังสามารถส่งต่อองค์ความรู้ให้กบั คนรุน่ ใหม่ตอ่ ไป คือหนึง่ ใน แนวทางการด�าเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืนของบริษัท” นางฐิตมิ ากล่าวทิง้ ท้าย



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.