รายงานสถานการณ์ด้านการคลังปีงบประมาณ2555

Page 1

ด้านรายได้

• เดือนตุลาคม 2553 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 122,528 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,271 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.9) เนื่องจากการจัดเก็บภาษีเงินได้และภาษี สรรพสามิตรถยนต์ที่สูงกว่าประมาณการ อย่างไรก็ดี การเกิดอุทกภัยในหลายจังหวัดส่งผลต่อการจัดเก็บ ภาษีเล็กน้อย

ด้านรายจ่าย

• เดือนตุลาคม 2553 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 207,452 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 194,118 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 189,957 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุน 4,161 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 9.4 ของวงเงินงบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 13,334 ล้านบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจํานวน 4,885 ล้านบาท ส่งผลให้เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ ทั้งสิ้น 212,337 ล้านบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เดือนตุลาคม 2553 รัฐบาลมีรายได้นําส่งคลัง 122,430 ล้านบาท และ มีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 207,452 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลจํานวน 85,022 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 22,929 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 107,951 ล้านบาท รัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 16,000 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 91,951 ล้านบาท • ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 123,204 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 207,412 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 84,208 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 86,433 ล้านบาท และรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ จํานวน 18 ล้านบาท แล้วทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลเกินดุลทั้งสิ้น 2,207 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.02 ของ GDP

ฐานะการคลัง อปท.

• ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2553 ประมาณการว่า จะมีรายได้รวม 76,272 ล้านบาท (รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 7,874 ล้านบาท รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 52,928 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 15,470 ล้านบาท) และคาดว่ามีรายจ่าย จํานวน 73,150 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ การคลังของ อปท. เกินดุล 3,122 ล้านบาท • ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจําปีงบประมาณ 2553 มีรายได้ จํานวน 348,915 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 37,030 ล้านบาท รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รฐั บาลจัดเก็บและแบ่งให้ 171,900 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 139,895 ล้านบาท) และมีรายจ่ายรวมทั้งสิน้ 390,171 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ การคลัง ของ อปท. ขาดดุล 41,257 ล้านบาท

1 สํานักนโยบายการคลัง


สถานะหนี้สาธารณะ

• หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิน้ เดือนกันยายน 2553 มีจํานวน 4,230.7 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 42.0 ของ GDP โดยร้อยละ 91.4 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศ และส่วนทีเ่ หลือ ร้อยละ 8.6 เป็นหนี้ต่างประเทศ • หนี้ระยะยาวมีจํานวน 4,054.7 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจํานวน 176.1 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 95.8 และ 4.2 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลําดับ

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

• กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้สาธารณะ คงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดส่วน งบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 • กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2554 – 2558) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้แม้ว่ารัฐบาล จะต้องมีการกู้ยืมเพิ่มสูงขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในภาวะที่เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว ทั้งในส่วนของการขาดดุลงบประมาณ รายจ่ายประจําปี และการกูย้ ืมเพื่อดําเนินการแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ - รัฐบาลจะยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 - รัฐบาลไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 ได้ เนื่องจากยังมีความจําเป็นต้อง จัดทํางบประมาณแบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และจากสภาวการณ์ในปัจจุบันคาดว่าจะต้องจัดทํางบประมาณ แบบขาดดุลอย่างต่อเนื่องระหว่างปีงบประมาณ 2554 – 2558 - รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 ได้ แต่จะยังคงเป้าหมายการรักษาตัวชี้วัดดังกล่าวตั้งแต่ปี 2555

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล รัฐบาลได้ดําเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อให้โครงการ ต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการเพื่อสนับสนุนกิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มรี ายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัย และมาตรการเพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าํ ประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 2 ปี 2553 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2553) มีจํานวน 46,618.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 23.7 และมีการปล่อยสินเชื่อ และ การค้ําประกันสินเชื่อสะสมตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิน้ ไตรมาส 2 ปี 2553 จํานวน 1,033,242.3 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2553 มียอดสินเชื่อคงค้าง จํานวน 339,229.6 ล้านบาท โดยเป็นหนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จํานวน 35,289.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.4 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และ มีภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 4,944.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.9 ของยอดค้าํ ประกันสินเชื่อของ บสย.

สํานักนโยบายการคลัง 2


การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

• ร่างพระราชบัญญัติกองทุนสวัสดิการข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้เสนอความเห็นเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติกองทุนสวัสดิการข้าราชการ ส่วนท้องถิ่นที่กําหนดให้จัดตั้งกองทุนสวัสดิการข้าราชการส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นหลักประกันในการจัดสวัสดิการให้ ข้าราชการของ อปท. ในด้านต่างๆ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล การศึกษาบุตร เงินทําขวัญ ค่าเช่าบ้าน ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการ เป็นต้น โดยแหล่งเงินของกองทุนมาจากเงินที่รัฐบาลจัดสรรให้ เงินที่ อปท. สมทบ และทรัพย์สิน จากการบริจาค ทั้งนี้ กําหนดให้มีคณะกรรมการกองทุน โดยมีผู้บริหารสูงสุดของกระทรวงการคลังเป็นประธาน ทําหน้าที่ควบคุมและบริหารกองทุน โดย สศค. เห็นว่าปัจจุบัน อปท. มีระบบสวัสดิการที่มีลักษณะใกล้เคียงกับการ จัดสวัสดิการของข้าราชการส่วนกลางอยู่แล้ว ดังนั้น การจัดตั้งกองทุนฯ อาจเกิดความซ้ําซ้อนได้ อย่างไรก็ดี สําหรับ ปัญหาที่เกิดขึน้ เป็นปัญหาทีเ่ กี่ยวกับการจ่ายค่ารักษาพยาบาล โดย อปท. บางแห่งมีเงินไม่พอจ่าย หรือไม่ตั้ง งบประมาณค่ารักษาพยาบาลให้กับบุคลากรที่ถ่ายโอน ดังนั้น ควรแก้ปัญหาด้วยระบบเบิกจ่ายตรงแทนซึ่งจะ ครอบคลุมปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โดยให้กระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทยพิจารณาปรับปรุงระบบการจ่ายค่า รักษาพยาบาลของข้าราชการส่วนท้องถิ่นให้มีรูปแบบและลักษณะเดียวกันกับข้าราชการส่วนกลาง

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ระหว่างวันที่ 2 – 25 พฤศจิกายน 2553 1. เรื่อง ผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ (รศก.) ครั้งที่ 11/2553 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 เห็นชอบหลักการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยตามมติการประชุม รศก. ครั้งที่ 11/2553 โดยสามารถสรุปมาตรการให้ความช่วยเหลือที่ สําคัญได้ดังนี้ มาตรการช่วยเหลือระยะเร่งด่วน ที่จะช่วยเหลือความเสียหายด้านที่พักและทรัพย์สินรายละ 1 – 3 หมื่นบาท ขึ้นกับระดับความเสียหาย และครัวเรือนละ 5,000 บาทสําหรับกรณีฉุกเฉิน สําหรับมาตรการฟื้นฟู เกษตรกรและประชาชนทั่วไปหลังภาวะน้ําลด จะช่วยเหลือผู้ปลูกพืชในอัตราร้อยละ 55 ของต้นทุนการผลิต ผู้ประกอบอาชีพประมงและปศุสัตว์จะช่วยเหลือตามเกณฑ์ที่กําหนด เป็นต้น 2. เรื่อง ขออนุมตั ิรายละเอียดและเงื่อนไขการกู้เงินและการปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ตามพระราชกําหนดให้ อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 อนุมัตแิ ละเห็นชอบรายละเอียดและเงื่อนไขการกู้เงิน โดยการกู้เงินสําหรับปี 2554 ในวงเงินไม่เกิน 59,960.44 ล้านบาท ระยะเวลาการกู้ไม่เกิน 4 ปี และอัตราดอกเบี้ย คิดจากอัตราต่ําสุดของดอกเบี้ยเงินฝาก 6 เดือนของ 4 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่เฉลี่ย หรืออัตราดอกเบี้ย BIBOR บวกลบตามที่กระทรวงการคลังเห็นสมควร และอนุมัตใิ ห้กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ วงเงิน ไม่เกิน 82,769.71 ล้านบาท โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินและพันธบัตรรัฐบาลอายุ 12 – 20 ปี อัตราดอกเบี้ยคงที่ ตามอัตราตลาด

3 สํานักนโยบายการคลัง


3. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รบั ผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมือง คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 เห็นชอบมาตรการทางภาษีเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมืองเมื่อเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2553 ดังนี้ 1) ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาและนิติบุคคลให้ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลหรือกรุงเทพมหานคร 2) ยกเว้นภาษีเงินได้ ให้แก่บริษทั ประกันภัยที่ได้จ่ายเงินช่วยเหลือให้ผู้ได้รบั ผลกระทบ และ 3) ยกเว้นภาษีเงินได้ร้อยละ 1 ของต้นทุน ทรัพย์สินส่วนที่เหลือหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา นอกจากนี้คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... จํานวน 6 ฉบับและกฎกระทรวง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจําหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ 4. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อการพัฒนากองทัพเรือพาณิชย์ไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 เห็นชอบและอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออก ตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกําหนดให้กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเสียภาษีมูลค่าเพิ่มได้ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เนื่องจากปัจจุบันเจ้าของเรือไทย (เรือค้าชายฝั่ง) ไม่สามารถนําภาษีซื้อที่ถูกจัดเก็บจากการ ซื้อสินค้าหรือรับบริการจากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม มาใช้ประโยชน์ในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้ 5. เรื่อง ขออนุมตั ิงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเบิกเงินสํารอง จ่ายกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัยและวาตภัย) ครัวเรือนละ 5,000 บาท (ภาคใต้) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 อนุมตั ิงบกลางรายการเงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉิน หรือจําเป็น จํานวน 3,161,440,000 บาท เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) และอนุมัติเงิน จํานวน 1,865,910,000 บาท ให้แก่ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัยและวาตภัย) จํานวน 373,182 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 5,000 บาท) 6. เรื่อง ขออนุมตั ิให้สํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นค่าดอกเบี้ยสําหรับนโยบาย 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิฤตเพื่อคนไทยทุกคน ชดเชยให้การประปานครหลวง และขอขยายกรอบวงเงิน งบประมาณ รวมทั้งขออนุมตั ิกู้เงินในประเทศเพื่อชดเชยรายได้ค่าน้ําตามมาตรการลดภาระค่าครองชีพ ของประชาชน ระยะที่ 3 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 อนุมัติให้สํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจําปี เป็นค่าดอกเบี้ยเงินกู้ที่การประปานครหลวงได้ทดรองจ่ายไปก่อนตามนโยบาย 6 มาตรการ 6 เดือนฝ่าวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน และขยายกรอบวงเงินงบประมาณของมาตรการลดภาระค่าครองชีพของ ประชาชน ระยะที่ 3 จากกรอบเดิม จํานวน 388,500,000 บาท เป็น จํานวน 392,063,300 บาท โดยเงิน ส่วนนี้ให้การประปานครหลวงกู้เงินจากในประเทศ และให้รัฐบาลเป็นผู้รับภาระในการชําระคืนเงินต้น ดอกเบี้ยเงินกู้และค่าใช้จ่ายอื่นๆจากการกู้

สํานักนโยบายการคลัง 4


สถานการณดานการคลัง หนวย : พันลานบาท ปงบประมาณ 2553 Q1

Q2

Q3

ปงบประมาณ Q4

ทั้งป

2554 ต.ค. 53

I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 การคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP (ปปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%

1/

230.2 1.4 100.8 76.1 25.4 5.1 21.2 71.9 23.0 (1.3) 21.5 1.5 400.7 16.4 349.0 25.9

246.5 11.5 106.5 55.5 22.4 29.7 18.9 7.1 19.3 (13.0) 18.5 0.8 413.6 19.3 336.3 17.9

401.1 6.4 98.9 23.5 25.1 42.1 25.5 (21.2) 76.2 242.7 75.3 0.9 626.8 18.4 545.6 19.1

386.7 23.4 99.5 16.7 24.3 14.5 26.0 6.8 17.3 (12.9) 16.6 0.7 553.8 19.3 448.0 15.9

102.9 (1.8) 221.9 28.2 24.4 2.8

116.0 (0.1) 230.6 38.0 22.0 31.8

263.7 (0.9) 226.3 23.1 23.7 42.0

451.2 11.6 396.2 9.3 55.0 111.7 103.5 8.2 0.3 (38.5)

482.8 (4.9) 433.0 (17.2) 49.8 74.6 70.8 3.8 0.2 154.9

(175.1) (129.3)

2,588.1 1,296.7 82.6 3,967.5 43.8 28.5

1,264.6 11.1 405.9 39.4 97.1 21.0 91.6 5.7 135.8 55.1 131.9 3.9 1,994.9 18.4 1,678.9 19.0

79.3 9.8 32.5 3.8 7.6 (2.2) 18.0 29.4 4.8 (11.0) 4.7 0.1 142.3 8.9 123.7 6.9

248.0 27.8 228.8 15.3 23.7 15.2

730.5 7.3 907.6 25.6 93.7 20.7

34.1 11.1 74.3 5.0 7.5 (1.2)

405.0 (8.4) 377.8 (10.7) 27.1 51.4 46.6 4.8 0.3 30.8

445.4 (37.8) 420.9 (41.8) 24.6 64.7 58.7 6.1 0.1

1,784.4 (6.9) 1,627.9 (9.1) 156.5 302.6 279.6 23.0 1.0 (18.0)

207.5 (129.6) 194.1 (142.2) 13.3 53.5 51.7 1.8 (43.4)

(146.8)

158.5

66.3

(97.1)

(108.0)

(145.1)

227.5

31.0

2,864.7 1,275.8 61.9 4,202.4 42.0 31.1

2,907.5 1,261.2 62.1 4,230.7 42.0 30.5

2,762.3 1,292.3 70.1 4,124.7 42.4 29.5

2.2

2,907.5 1,261.2 62.1 4,230.7 42.0 30.5

หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)

รวบรวมโดย : สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง

5 สํานักนโยบายการคลัง

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


• เดือนตุลาคม 2553

เดือนตุลาคม 2553 รัฐบาลจัดเก็บรายได้ รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 122,528 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,271 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 สุทธิ 122,528 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ ตามเอกสารงบประมาณ 5,271 ล้านบาท (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.9) หรือร้อยละ 4.5 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีทแี่ ล้ว * ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนตุลาคม 2553 ร้อยละ 5.9) เนื่องจากการจัดเก็บภาษีเงินได้และ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ที่สูงกว่าประมาณการ หน่วย: ล้านบาท อย่างไรก็ดี การเกิดอุทกภัยในหลายจังหวัดส่งผล เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว ต่อการจัดเก็บภาษีเล็กน้อย (%) (%) กรมสรรพากร 79,124 6.1 9.5 กรมสรรพสามิต 32,532 2.7 3.8 กรมศุลกากร 7,637 -5.6 -2.3 รัฐวิสาหกิจ 18,017 4.1 29.4 หน่วยงานอืน่ 3,788 3.4 -29.6 รายได้สทุ ธิ** 122,528 4.5 5.9 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.

(รายละเอียดตามตารางที่ 1)

ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลประจําปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553)

ลานบาท 300,000

250,000

200,000

150,000 122,528

100,000

50,000

0 ตค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

จัดเก็บ 53

เม.ย.

ปมก. 54

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

จัดเก็บ 54

สํานักนโยบายการคลัง 6


ลานบาท 140,000

ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553) จัดเก็บ 53 ประมาณการ 54

120,000

จัดเก็บ 54

119,293 111,375

114,329

100,000

80,000

79,124 72,229

74,564

60,000

40,000

31,333 31,675 32,532

20,000 7,813

8,090

7,637

0 กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต

กรมศุลกากร

ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สรุปได้ ดังนี้

รวม 3 กรม

กรมสรรพากร จัดเก็บได้รวม 79,124 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 4,560 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.1 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 9.5) ภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ 17,388 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,772 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.3 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 8.6) และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จัดเก็บได้ 16,590 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 1,539 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.2 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 12.7) กรมสรรพสามิต จัดเก็บได้รวม 32,532 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 857 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.7 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.8) โดยจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ได้สูงกว่า ประมาณการ 1,071 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.9 อย่างไรก็ดี ภาษีน้ํามันจัดเก็บได้ต่ํากว่า ประมาณการ 469 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.8 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 2.7) เป็นผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยใน หลายจังหวัด ทําให้ปริมาณความต้องการใช้ น้ํามัน เพื่อการคมนาคมขนส่งลดลง กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 7,637 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 453 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.6 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 2.3) เนื่องจากจัดเก็บอากรขาเข้าได้ต่ํากว่า ประมาณการ 396 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 1.1) เป็นผลจากการแข็งค่าของเงินบาท

7 สํานักนโยบายการคลัง


รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้ 18,017 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 710 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.1 เนื่องจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย และการไฟฟ้านครหลวง นําส่งรายได้จากกําไรสุทธิปี 2553 สูงกว่า ประมาณการจํานวน 2,039 และ 1,379 ล้านบาท ตามลําดับ อย่างไรก็ดี บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และธนาคาร อาคารสงเคราะห์ขอเลื่อนการนําส่งรายได้ ไปในเดือนพฤศจิกายน 2553 จํานวน 1,418 และ 1,251 ล้านบาท หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 3,788 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 123 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.4 (ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 29.6) เนื่องจากในปีที่แล้วมีรายได้จาก การไถ่ถอนหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่ครบกําหนดของ กระทรวงการคลัง จํานวน 2,570 ล้านบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 1)

สํานักนโยบายการคลัง 8


ตารางแสดงผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเดือนตุลาคม 2553 ที่มาของรายได้

ปีนี้

ปีที่แล้ว

เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว จํานวน ร้อยละ

1/

ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

จํานวน

ร้อยละ

1,650,000 ล้านบาท

1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.10 ภาษีอื่น2/ 2.11 รายได้อื่น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์ 5.3 เงินส่วนเกินจากการจําหน่ายพันธบัตรรัฐบาล 4.4 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ

รวมรายได้จัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net) 4/ หมายเหตุ

1/ 2/ 3/

79,124 16,590 17,388 167 41,734 2,439 784 22 32,532 12,023 4,076 3,584 4,741 6,452 1,067 145 168 158 79 39 7,637 7,494 1 142 119,293 18,017 3,788 3,720 68 141,098 16,800 15,300 1,500 930 840 122,528

3/

3/

3/ 3/

72,229 14,721 16,013 5 39,409 1,339 721 21 31,333 12,351 3,951 3,105 4,450 5,772 1,149 135 149 161 86 24 7,813 7,578 8 227 111,375 13,922 5,382 5,281 101 130,679

6,895 1,869 1,375 162 2,325 1,100 63 1 1,199 (328) 125 479 291 680 (82) 10 19 (3) (7) 15 (176) (84) (7) (85) 7,918 4,095 (1,594) (1,561) (33) 10,419

9.5 12.7 8.6 3,240.0 5.9 82.2 8.7 4.8 3.8 (2.7) 3.2 15.4 6.5 11.8 (7.1) 7.4 12.8 (1.9) (8.1) 62.5 (2.3) (1.1) (37.4) 7.1 29.4 (29.6) (29.6) (32.7) 8.0

74,564 15,051 15,616 395 40,999 1,820 662 21 31,675 12,492 4,277 3,250 4,700 5,381 1,078 101 141 140 81 34 8,090 7,890 8 192 114,329 17,307 3,665 3,570 95 135,301

4,560 1,539 1,772 (228) 735 619 122 1 857 (469) (201) 334 41 1,071 (11) 44 27 18 (2) 5 (453) (396) (7) (50) 4,964 710 123 150 (27) 5,797

6.1 10.2 11.3 (57.7) 1.8 34.0 18.4 4.8 2.7 (3.8) (4.7) 10.3 0.9 19.9 (1.0) 43.6 19.1 12.9 (2.5) 14.7 (5.6) (5.0) (26.0) 4.3 4.1 3.4 4.2 (28.4) 4.3

13,313 11,854 1,459 850 803 115,713

3,487 3,446 41 80 37 6,815

26.2 29.1 2.8 9.4 4.6 5.9

16,325 15,000 1,325 912 807 117,257

475 300 175 18 33 5,271

2.9 2.0 13.2 2.0 4.1 4.5

ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ตัวเลขคาดการณ์ (คาดการณ์คืนภาษีโดยกรมสรรพากร)

4/

เป็นรายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

9 สํานักนโยบายการคลัง


• พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 127 ตอนที่ 60 ก เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2553 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจํานวน 2,070,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 21.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจํา 1,661,482 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 15.9 เมื่อเทียบกับปีก่อน รายจ่ายลงทุน 345,617 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.7 เมื่อเทียบกับปีก่อน รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 32,555 ล้านบาท และรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 30,346 ล้านบาท

โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปีงบประมาณ 2553 รวมงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติม เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 1,700,000 -12.9 17.5 1,434,710 1.7 84.4 -100.0 214,369 -50.1 12.6 50,921 -20.0 3.0 1,700,000 -12.9 17.5 1,350,000 -15.9 350,000 0.8 9,726,200 7.5

ปีงบประมาณ 2554 จํานวน 2,070,000 20.0 1,661,482 80.3 30,346 1.5 345,617 16.6 32,555 1.6 2,070,000 20.0 1,650,000 420,000 10,358,400

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 21.8 15.9 100.0 60.7 -36.1 21.8 22.2 20.0 6.5

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปีงบประมาณ 2554 สํานักงบประมาณ

สํานักนโยบายการคลัง 10


• คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2553 เห็นชอบการกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน ไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4

เป้าหมายการ เบิกจ่าย แต่ละไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 496,800 496,800 517,500

เป้าหมายการเบิกจ่าย เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย สะสม ณ สิ้นไตรมาส การเบิกจ่ายสะสม สะสม (ล้านบาท) ณ สิ้นไตรมาส (%) (ล้านบาท) 414,000 910,800 1,407,600 1,925,100

• เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553) รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554 จํานวน 194,118 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันของ ปีที่แล้ว 113,974 ล้านบาท หรือร้อยละ 142.2 และ มีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 13,334 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 207,452 ล้านบาท

11 สํานักนโยบายการคลัง

อัตรา เบิกจ่าย %

20 44 68 93

- การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 194,118 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 9.4 ของวงเงินงบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 189,957 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา หลังโอนเปลี่ยนแปลง (1,725,583 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 4,161 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (344,417 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 18,095 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 6.8 ของงบประมาณงบกลาง (265,763 ล้านบาท) - สําหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตามหน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ หน่วยงาน อิสระตามรัฐธรรมนูญ มีการเบิกจ่าย 8,239 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 42.9 กองทุนและเงินหมุนเวียน 29,154 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22.8 และรัฐวิสาหกิจ 24,208 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21.0


- ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่ําสุด 3 อันดับสุดท้าย คือ กระทรวงแรงงาน มีการเบิกจ่าย 234 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.8 กระทรวงคมนาคม 1,241 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 1.5 และ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ 157 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.6 - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 13,334 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.3 ของเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (160,628 ล้านบาท)

การเบิกจายรายจายประจํา รายจายลงทุน และเงินกันไวเบิกเหลื่ อมป (รายเดือน)

ล านบาท 200,000 150,000 100,000 50,000 0

ต.ค. 53

รายจายประจํา

189,957

รายจายลงทุน

4,161

เงินกันไวเบิกเหลื่อมป

13,334

พ.ย. 53

ล านบาท

ธ.ค. 53

ม.ค. 54

ก.พ. 54

มี.ค. 54

เม.ย. 54

พ.ค. 54

มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ส.ค. 54

ก.ย. 54

การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2554 (สะสม)

2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

ต.ค. 53

พ.ย. 53

ธ.ค. 53

ม.ค. 54

ก.พ. 54

มี.ค. 54

เม.ย. 54

พ.ค. 54

มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ส.ค. 54

ก.ย. 54

พ.ศ. 2553

80,143

246,259

396,155

530,141

699,523

829,176

965,763

1,083,822

1,207,018

1,342,146

1,445,468

1,627,875

พ.ศ. 2554

194,118

สํานักนโยบายการคลัง 12


• รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนตุลาคม 2553 จํานวน 4,885 ล้านบาท

- เดือนตุลาคม 2553 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 4,885 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท1 - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทย เข้มแข็ง สะสมจนถึงสิ้นเดือนตุลาคม 2553 มีจํานวนทั้งสิ้น 239,286 ล้านบาท2 คิดเป็นร้อยละ 68.4 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท - สําหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการเบิกจ่าย 39,513 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 98.8 ของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 178 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.4 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (185 ล้านบาท) และสาขาสิ่งแวดล้อม 664 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (689 ล้านบาท) - ในขณะทีส่ าขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่ําสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 960 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.5 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,692 ล้านบาท) สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 360 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.7 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,928 ล้านบาท) และสาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 757 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.1 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (3,282 ล้านบาท) - สําหรับสาขาที่ยังไม่มีการเบิกจ่าย ได้แก่ สาขาพลังงาน มีวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ 174 ล้านบาท • รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในเดือนตุลาคม 2553 มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จํานวนทั้งสิ้น 212,337 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณ ทั้งสิน้ 212,337 ล้านบาท รายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 194,118 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 13,334 ล้านบาท และโครงการ ลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 4,885 ล้านบาท

1

เปนวงเงินที่ไดรับการอนุมัติตามพระราชกําหนดใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 รอบที่ 1 จํานวน 199,960 ลานบาท และรอบที่ 2 จํานวน 150,000 ลานบาท

2

เปนการเบิกจายจากโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง จนถึงสิ้นสุดปงบประมาณ 2553 จํานวน 234,401 ลานบาท

13 สํานักนโยบายการคลัง


รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ

วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ

เบิกจ่ายสะสม ร้อยละของการ ณ 31 ต.ค. 53 เบิกจ่ายสะสม

59,503.3

38,625.3

64.9

1.1 สาขาทรัพยากรน้ําและการเกษตร

59,503.3

38,625.3

64.9

2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ

74,781.1

44,946.3

60.1

46,586.5

38,450.4

82.5

174.3

-

-

-

-

-

3,281.7

757.4

23.1

14,691.5

960.2

6.5

9,172.9

3,936.4

42.9

2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

185.0

178.3

96.4

2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม

689.2

663.7

96.3

5,394.3

1,865.1

34.6

3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว

5,394.3

1,865.1

34.6

4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ

1,330.6

973.0

73.1

4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

1,330.6

973.0

73.1

51,981.4

27,358.6

52.6

51,981.4

27,358.6

52.6

1,927.7

359.9

18.7

1,927.7

359.9

18.7

106,542.1

84,432.2

79.2

7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน

106,542.1

84,432.2

79.2

8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

40,000.0

39,512.6

98.8

40,000.0

39,512.6

98.8

341,460.4

238,073.0

69.7

8,500.0

1,213.1

14.3

349,960.4

239,286.0

68.4

2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน

3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว

5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ

8.1 สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สํารองจ่ายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2553

สํานักนโยบายการคลัง 14


การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนตุลาคม 2553 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ประมาณ 18.46 ล้านบาท เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้วลดลง 14.14 ล้านบาท หรือร้อยละ 43.37

สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนตุลาคม 2553 หน่วย : ล้านบาท

รายการ 2553 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) รวม ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

15 สํานักนโยบายการคลัง

10.1 8.4 18.46

ตุลาคม 2552 38.20 -5.60 32.60

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 0.00 0.00 0.00


การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. · เดือนตุลาคม 2553 การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอกงบประมาณ สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 240.8 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายกองทุน ประกันสังคมและกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ

เดือนตุลาคม 2553 มีการเบิกจ่ายรวม 53,488.6 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 37,794.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 240.8 ประกอบด้วยรายจ่ายดําเนินงาน 51,734.1 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 37,872.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 273.2 เป็นผลมาจากรายจ่าย ของกองทุนประกันสังคม และกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติเพิ่มขึ้น ในขณะที่มีเงินให้กู้สูงกว่า การรับชําระคืน 1,754.5 ล้านบาท

สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553) หน่วย : ล้านบาท

รายการ

ตุลาคม 2553*

2552

อัตราเพิ่ม

การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ

53,488.6 15,694.4

1. รายจ่ายดําเนินงาน

51,734.1

13,861.5

273.2

1,754.5

1,832.9

-4.3

2. รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ

240.8

ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 16


ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553) เดือนตุลาคม 2553 รัฐบาลมีรายได้นําส่งคลัง 122,430 • เดือนตุลาคม 2553 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแส ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปี เงินสดขาดดุล 107,951 ล้านบาท คิดเป็น ปัจจุบันและปีก่อนรวม 207,452 ล้านบาท ส่งผลให้ ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 85,022 ล้านบาท ร้อยละ 1.1 ของ GDP 2 เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุลจํานวน 22,929 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 107,951 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชยการขาดดุลโดยการออก พันธบัตร จํานวน 16,000 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสด หลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 91,951 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท

ตุลาคม 2553 รายได้ รายจ่าย ปีปัจจุบนั ปีก่อน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดก่อนกู้ กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู้

122,430 207,452 194,118 13,334 -85,022 -22,929 -107,951 16,000 -91,951

เปรียบเทียบ 2552 115,828 90,339 80,144 10,196 25,489 -36,798 -11,309 0 -11,309

จํานวน 6,602 117,113 113,974 3,138 -110,511 13,868 -96,642 16,000 -80,642

ร้อยละ 5.7 129.6 142.2 30.8 -433.6 -37.7 854.5 100.0 713.0

1

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล

2

GDP ปปฏิทิน 2553 เทากับ 10,072.3 พันลานบาท และคาดการณ GDP ปปฏิทิน 2554 เทากับ 10,777.3 พันลานบาท

17 สํานักนโยบายการคลัง


ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 เดือนตุลาคม 2553 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • เดือนตุลาคม 2553 ปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิน้ 123,204 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิน้ 207,412 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 และ 2.1 ของ GDP ตามลําดับ

ด้านรายได้ ในเดือนตุลาคมรัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 123,204 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 33.7 โดยประกอบด้วยรายได้ใน งบประมาณ 123,087 ล้านบาท (ก่อนจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 116.6 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 207,412 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 122.7 ประกอบด้วยรายจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันและ ปีก่อน (ไม่รวมรายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 207,295 ล้านบาท รายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 116.6 ล้านบาท

• ดุลเงินงบประมาณเดือนตุลาคม 2553 ขาดดุลทั้งสิน้ 84,208 ล้านบาท หรือคิด เป็นร้อยละ 0.8 ของ GDP

ดุลเงินงบประมาณเดือนตุลาคม 2553 ขาดดุลทั้งสิ้น 84,208 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.8 ของ GDP ในขณะที่เดือนเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 994 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.002 ของ GDP

• ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณเดือนตุลาคม บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝากนอก 2553 เกินดุล 86,433 ล้านบาท คิดเป็น งบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้ รวมทั้งสิ้น 147,608 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ร้อยละ 0.9 ของ GDP ปีที่แล้วร้อยละ 344.5 มีรายจ่ายจํานวน 59,420 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 438.6 และมีเงินกู้ หักชําระคืน 1,755 ล้านบาท ทําให้ดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณเกินดุลทั้งสิ้น 86,433 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 0.9 ของ GDP

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงกระทบตอเศรษฐกิจ

สํานักนโยบายการคลัง 18


• ดุลการคลังของรัฐบาล เดือนตุลาคม 2553 ดุลเงินงบประมาณที่ขาดดุลรวมกับดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณที่เกินดุล และเมือ่ หักรายจ่ายจากเงินกู้ เกินดุลทั้งสิน้ 2,207 ล้านบาท คิดเป็น ต่างประเทศแล้วจํานวน 18 ล้านบาท ทําให้ดุลการคลัง ร้อยละ 0.02 ของ GDP ประจําเดือนตุลาคม 2553 เกินดุล จํานวน 2,207 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.02 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดือน เดียวกันปีที่แล้ว เกินดุล 15,637 ล้านบาท สําหรับดุลการ คลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็น ดุลการคลังที่สะท้อนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาลและ ทิศทางของนโยบายการคลังของรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายดอกเบี้ย และการชําระคืน ต้นเงินกู้) ประจําเดือนตุลาคม 2553 เกินดุลทั้งสิ้น 6,376 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ GDP ในขณะที่เดือน เดียวกันปีที่แล้วเกินดุล 23,161 ล้านบาท

ดุลการคลังเบือ้ งต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท

ปงบประมาณ

ต.ค. 53

ต.ค. 52

ลานบาท % of GDP

ลานบาท

เปรียบเทียบ

% of GDP

ลานบาท

รอยละ

31,066 114,280 (83,214) (14) 69,769 114,403 48,388 (3,754) (13,430) (16,784.0)

33.7 122.7 8,373.6 (43.4) 418.7 344.5 438.6 (68.2) (85.9) (72.5)

รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. รายจายจากเงินกูตา งประเทศ 5. ดุลบัญชีนอกงบประมาณ (5.1-5.2-5.3) 5.1 รายได 5.2 รายจาย 5.3 เงินใหกูหักชําระคืน 6. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4+5) 7. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

19 สํานักนโยบายการคลัง

123,204 207,412 (84,208) 18 86,433 147,608 59,420 1,755 2,207 6,376

1.2 2.1 (0.8) 0.0 0.9 1.5 0.6 0.0 0.0 0.1

92,138 93,132 (994) 33 16,664 33,205 11,032 5,509 15,637 23,160

0.9 0.9 (0.0) 0.0 0.2 0.3 0.1 0.1 0.2 0.2


รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประจําไตรมาสที่ 4 และปีงบประมาณ 2553 1. ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2553 (เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2553) 1.1 ด้านรายได้ อปท. ประมาณการรายได้รวมของเศรษฐกิจจํานวน 7,853 แห่ง เป็นเงิน 76,272 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.4 ทั้งนี้ รายได้ของ อปท. ประกอบด้วย 1) รายได้ที่จัดเก็บเอง จํานวน 7,874 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10 ของรายได้รวม ลดลงจากไตรมาส เดียวกันปีที่แล้ว 520 ล้านบาท หรือร้อยละ 6 สําหรับรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง แยกเป็นรายได้จากภาษีอากร 5,864 ล้านบาท และรายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร 2,010 ล้านบาท 2) รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จํานวน 52,928 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 69 ของรายได้รวม เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 11,663 ล้านบาท หรือร้อยละ 28 3) รายได้จากเงินอุดหนุน จํานวน 15,470 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20 ของรายได้รวม ลดลงจาก ไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 10,880 ล้านบาท หรือร้อยละ 41 (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 เปรียบเทียบรายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2553 และ 2552 ประเภท

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

ไตรมาส 4 1)

1)

ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2552 1. รายได้จัดเก็บเอง 7,874.29 8,394.29 (ร้อยละของรายได้รวม) 10.32 11.04 1.1 รายได้จากภาษีอากร 5,864.29 5,636.85 (ร้อยละของรายได้จัดเก็บเอง) 74.47 67.15 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2,010.00 2,757.44 (ร้อยละของรายได้จัดเก็บเอง) 25.53 32.85 52,928.05 41,264.65 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ (ร้อยละของรายได้รวม) 69.39 54.29 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 15,469.98 26,350.37 (ร้อยละของรายได้รวม) 20.28 34.67 รวม 76,272.32 76,009.31 (ร้อยละของรายได้รวม) 100.00 100.00

จํานวน (520.00)

ร้อยละ (6.19)

227.44

4.03

(747.44)

(27.11)

11,663.40

28.26

(10,880.39)

(41.29)

263.01

0.35

1) ข้อมูลปีงบประมาณ 2552-2553 จากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ สศค. โดยจัดเก็บจาก อปท.จํานวน 600 แห่ง จาก 7,853 แห่ง

สํานักนโยบายการคลัง 20


1.2 ด้านรายจ่าย อปท. ประมาณการรายจ่าย อปท.จํานวน 7,853 แห่ง โดยพิจารณาจากข้อมูลการให้ สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร เป็นเงิน 73,150 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 32,955 ล้านบาท หรือร้อยละ 82 ซึ่งเป็นผลการจากการเร่งรัดการใช้จ่ายและการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายเพื่อการลงทุนโดย แยกรายละเอียด ดังนี้ 1) รายจ่ายงบกลาง เบิกจ่าย 6,915 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9 ของรายจ่ายรวม เพิ่มขึ้นจากไตรมาส เดียวกันปีที่แล้ว 2,261 ล้านบาท หรือร้อยละ 49 2) รายจ่ายประจํา เบิกจ่ายจํานวน 31,333 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43 ของรายจ่ายรวม เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 3,924 ล้านบาท หรือร้อยละ 14 3) รายจ่ายเพื่อการลงทุน เบิกจ่ายจํานวน 27,653 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38 ของรายจ่ายรวม เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 22,717 ล้านบาท หรือร้อยละ 460 4) รายจ่ายพิเศษ เบิกจ่ายจํานวน 5,523 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8 ของรายจ่ายรวม เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 3,913 ล้านบาท หรือร้อยละ 243 5) รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี เบิกจ่ายจํานวน 1,726 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2 ของรายจ่ายรวม เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 141 ล้านบาท หรือร้อยละ 9 (รายละเอียดตามตารางที่ 2) ตารางที่ 2 เปรียบเทียบรายจ่าย ของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2553 และ 2552 หน่วย : ล้านบาท ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง

ไตรมาสที่ 4

เปรียบเทียบ

1)

ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2552

1)

6,914.56

4,653.72

9.45

11.58

2. รายจ่ายประจํา

31,333.44

(ร้อยละของรายจ่ายรวม) 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (ร้อยละของรายจ่ายรวม)

จํานวน

ร้อยละ

2,260.84

48.58

27,409.52

3,923.92

14.32

42.83 27,653.17

68.19 4,936.28

22,716.89

460.20

37.80

12.28

4. รายจ่ายพิเศษ

5,523.25

1,610.33

3,912.92

242.99

(ร้อยละของรายจ่ายรวม) 5. รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี

7.55 1,726.04

4.01 1,585.26

140.78

8.88

2.36

3.94

73,150.46

40,195.11

32,955.35

81.99

100.00

100.00

(ร้อยละของรายจ่ายรวม)

(ร้อยละของรายจ่ายรวม) รวม (ร้อยละของรายจ่ายรวม)

ที่มา : เป็นตัวเลขประมาณการจากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ สศค. โดยพิจารณาจากการให้สินเชือ่ และเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) 1) ข้อมูลปีงบประมาณ 2552-2553 จากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ สศค. โดยจัดเก็บจาก อปท.จํานวน 600 แห่ง จาก 7,853 แห่ง

21 สํานักนโยบายการคลัง


1.3 ดุลการคลัง ประมาณการจากการให้สนิ เชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร โดยมี ดุลการคลังเกินดุล 3,122 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 32,692 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 91 (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และรูปที่ 1) ตารางที่ 3 เปรียบเทียบดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2553 และ 2552 ประเภท

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

ไตรมาสที่ 4 1)

1)

ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2552 1. รายได้ 76,272.32 76,009.31 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 7,874.29 8,394.29 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐจัดเก็บหรือแบ่งให้ 52,928.05 41,264.65 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 15,469.98 26,350.37 2. รายจ่าย 73,150.46 40,195.11 2.1 รายจ่ายงบกลาง 6,914.56 4,653.72 2.2 รายจ่ายประจํา 31,333.44 27,409.52 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน 27,653.17 4,936.28 2.4 รายจ่ายพิเศษ 5,523.25 1,610.33 2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 1,726.04 1,585.26 35,814.20 3. ดุลการคลัง 3,121.86

จํานวน 263.01 (520.00) 11,663.40 (10,880.39) 32,955.35 2,260.84 3,923.92 22,716.89 3,912.92 140.78 (32,692.34)

ร้อยละ 0.35 (6.19) 28.26 (41.29) 81.99 48.58 14.32 460.20 242.99 8.88 (91.28)

ที่มา : เป็นตัวเลขประมาณการจากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ โดยพิจารณาจากการให้สินเชือ่ และเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) 1) ข้อมูลปีงบประมาณ 2552-2553 จากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ โดยจัดเก็บจาก อปท.จํานวน 600 แห่ง จาก 7,853 แห่ง

รูปที่ 1 เปรียบเทียบดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2553 และ 2552

สํานักนโยบายการคลัง 22


2. ฐานะดุลการคลังของ อปท. ประจําปีงบประมาณ 2553 2.1 ด้านรายได้ อปท. มีรายได้ 348,915 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 29,166 ล้านบาท หรือร้อยละ 9 ประกอบด้วย รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง 37,030 ล้านบาท รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 171,990 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 139,895 ล้านบาท 2.2 ด้านรายจ่าย อปท. มีรายจ่ายโดยพิจารณาจากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบ ธนาคาร รวมทั้งสิ้น 390,171 ล้านบาท เพิ่มขึน้ จากปีที่แล้ว 76,167 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24 ประกอบด้วย รายจ่ายเพื่อการลงทุน 171,028 ล้านบาท รองลงมาคือ รายจ่ายประจํา 135,451 ล้านบาท รายจ่ายพิเศษ 31,167 ล้านบาท รายจ่ายงบกลาง 28,495 ล้านบาท และรายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 24,030 ล้านบาท ตามลําดับ 2.3 ดุลการคลัง อปท. ขาดดุลการคลัง 41,257 ล้านบาท ขณะที่ปีที่แล้วเกินดุล 5,744 ล้านบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 4 และรูปที่ 2) ตารางที่ 4 เปรียบเทียบดุลการคลังของ อปท. ประจําปีงบประมาณ 2553 และ 2552 ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐจัดเก็บหรือแบ่งให้ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย 2.1 รายจ่ายงบกลาง 2.2 รายจ่ายประจํา 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน 2.4 รายจ่ายพิเศษ 2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 3. ดุลการคลัง

ปีงบประมาณ 1)

2553 348,914.61 37,029.84 171,989.59 139,895.18 390,171.40 28,495.27 135,451.12 171,027.75 31,167.58 24,029.68 (41,257)

25521) 319,748.16 35,881.63 141,715.16 142,151.37 314,003.97 24,116.32 124,857.92 114,930.41 30,781.49 19,317.83 5,744.19

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน 29,166.45 1,148.21 30,274.43 (2,256.19) 76,167.43 4,378.95 10,593.20 56,097.34 386.09 4,711.85 (35,512.81)

ร้อยละ 9.12 3.20 21.36 (1.59) 24.26 18.16 8.48 48.81 1.25 24.39 (618.24)

ที่มา : เป็นตัวเลขประมาณการจากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ โดยพิจารณาจากการให้สินเชือ่ และเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) 1) ข้อมูลปีงบประมาณ 2552-2553 จากศูนย์ขอ้ มูลการคลังท้องถิน่ โดยจัดเก็บจาก อปท.จํานวน 600 แห่ง จาก 7,853 แห่ง

23 สํานักนโยบายการคลัง


รูปที่ 2 เปรียบเทียบดุลการคลังของ อปท. ประจําปีงบประมาณ 2553 และ 2552

สํานักนโยบายการคลัง 24


หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2553 หน่วย : ล้านบาท

• หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,230.7 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 42.0 ของ GDP ลดลงจากเดือนที่แล้ว 36.0 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้คงค้าง ที่เป็นภาระงบประมาณ ต่อ GDP เท่ากับร้อยละ 30.5 และแยกเป็นหนี้ ในประเทศร้อยละ 91.4 ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 8.6 เป็นหนี้ต่างประเทศ • หนี้คงค้างที่ลดลง เป็นผลจาก หนี้รัฐบาลกู้โดยตรงและหนี้ของ รัฐวิสาหกิจลดลง 26.0 และ 10.4 พันล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่ หนี้ของกองทุนฟื้นฟูฯ เพิ่มขึ้น 0.5 พันล้านบาท • หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงลดลง 26.0 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศลดลง 25.0 พันล้านบาท มีสาเหตุหลัก จากการไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงิน และ ตั๋วเงินคลัง ในขณะที่หนี้ต่างประเทศ ลดลง 1.0 พันล้านบาท

1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ

ณ 31 ส.ค.53 2,993,501.26 55,238.12 2,878,263.14 1,271,589.09 173,903.51 546,959.23 141,157.69

หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ** 409,568.66 * 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น หนีท้ ี่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 61,610.99 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม 4,266,701.34 (1+2+3+4) GDP 10,072,300 หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) 42.4 31.6 หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ GDP

ณ 30 ก.ย. 53 2,907,482.31 54,187.63 2,853,294.68 1,261,162.00 168,194.86 543,670.78 140,141.73 409,154.63 62,100.43 4,230,744.74 10,072,300 42.0 30.5

(%) หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สํานักนโยบายการคลัง 26


•ธ หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 10.4 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนก่อน เนื่องจากมีการชําระคืนเงินกู้มากกว่า การเบิกจ่ายเงินกู้ โดยรัฐวิสาหกิจที่มี การชําระคืนเงินกู้สุทธิที่สําคัญ ได้แก่ ธกส. และ กฟภ. จํานวน 4.1 และ 2.3 พันล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่ ขสมก. และ กฟน. เบิกจ่ายเงินกู้สุทธิ 2.62 และ 0.9 พันล้านบาท ตามลําดับ

27 สํานักนโยบายการคลัง

หนี้สาธารณะ ณ 30 กันยายน 2553 หน่วย : พันล้านบาท หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ จํานวน 3,868.2 362.5 ร้อยละ (%) 91.4 8.6 หนี้สาธารณะ ณ 30 กันยายน 2553 หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสัน้ จํานวน 4,054.7 176.1 ร้อยละ (%) 95.8 4.2


กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินนโยบาย ทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษา เสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลังประกอบด้วยตัวชี้วัด และเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ o o o o

ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทํางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25

สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2554-2558 (รายละเอียดตามตาราง) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ o สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 o สามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 o ไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 เนื่องจากจําเป็นต้องจัดทํางบประมาณ แบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งจากสภาวการณ์ในปัจจุบันคาดว่าจะมีการจัดทํางบประมาณแบบ ขาดดุลอย่างต่อเนื่องระหว่างปีงบประมาณ 2554 – 2558 o ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 อย่างไรก็ดี จะยังคงเป้าหมายที่จะรักษาตัวชี้วัดดังกล่าวตั้งแต่ปี 2555 เพื่อการพัฒนาและการขยายตัวของ เศรษฐกิจที่ยั่งยืน

สํานักนโยบายการคลัง 28


ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ตัวชี้วัด 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ 3. การจัดทํางบประมาณสมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย สมมติฐานสําคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ - GDP Deflator - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้

สํานักนโยบายการคลัง 29

ปีงบประมาณ เป้าหมาย 2554 F 2555 F 2556 F 2557 F 2558 F ไม่เกินร้อยละ 60 42.5 44.2 45.2 45.6 45.6 ไม่เกินร้อยละ 15 10.5 11.7 12.1 12.3 12.4 สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 16.5 25.0 25.0 25.0 25.0 4.0 2.5 1.29

4.5 3.0 1.10

4.5 3.0 1.10

4.5 3.0 1.10

4.5 3.0 1.10


ไตรมาสที่ 2 ปี 2553 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2553) รัฐบาลมีการดําเนินมาตรการ กิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบัน การเงินเฉพาะกิจในโครงการต่าง ๆ ที่ สําคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมีผลการ ดําเนินงาน ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2553 ดังนี้ ● สินเชื่อและการค้าํ ประกันสินเชื่อ การอนุมัติสนิ เชื่อและการค้ําประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 2 ปี 2553 จํานวน 46,618.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว จํานวน 8,941.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.7

• สินเชื่อสะสมและการค้ําประกัน สินเชื่อสะสมนับตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิน้ ไตรมาสที่ 2 ปี 2553 มีจํานวน 1,033,242.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ผ่านมา จํานวน 46,618.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.7 โดยมีโครงการ สนับสนุนกิจการ SMEs อนุมัติสินเชื่อ สูงสุดจํานวน 593,402.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 57.4 ของยอดสินเชื่อสะสม

กิจกรรมกึ่งการคลัง จําแนกตามประเภทกิจกรรม หนวย : ลานบาท

อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 2 / 52

การอนุมัติสินเชื่อและค้ําประกันสินเชื่อ โครงการ

ยอดสะสม จากเริ่มดําเนินโครงการ ไตรมาส ไตรมาส 1/2553 2/2553

ยอดการอนุมัติ ในไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 2/2553 2/2552

ร้อยละ

กลุ่มสนับสนุนกิจการ SMEs

593,402.20 561,088.40 32,313.80 20,193.30

60.0

โครงการสินเชื่อ สําหรับกิจการ SMEs

509,694.70

486,902.80

22,791.90

19,210.60

18.6

โครงการค้ําประกันสินเชื่อ ให้แก่ SMEs

83,707.50

74,185.60

9,521.90

982.7

869.0

194,792.20 190,377.60

4,414.50

8,959.90

-50.7

กลุ่มสนับสนุน ผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัย โครงการปล่อยสินเชื่อ ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน โครงการบ้านเอื้ออาทร (เพื่อประชาชนกู้ซื้อบ้าน) กลุ่มสนับสนุน การประกอบอาชีพระดับฐานราก โครงการธนาคารประชาชน โครงการวิสาหกิจชุมชน* รวม

144,785.00

144,817.30

-32.3

5,015.90

-100.6

2,944.40

2,944.40

-

-

-

47,062.70

42,615.90

4,446.80

3,944.00

12.7

245,048.00 235,157.90

9,890.10

8,524.20

16.0

69,799.80 175,248.20

3,394.70 6,495.40

2,412.20 6,112.00

40.7 6.3

1,033,242.30 986,623.90 46,618.40 37,677.40

23.7

66,405.10 168,752.80

หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เปนการรายงานขอมูลการอนุมัติสินเชือ่ ของลูกคาวิสาหกิจรายยอยทั่วไป ซึง่ เปนการนับซ้ํากับลูกคาในโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs

สํานักนโยบายการคลัง 30


• หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลงจากไตรมาสทีผ่ ่านมา โดยมียอด NPLs จํานวน 35,289.2 ล้านบาท เมื่อเทียบกับยอดสินเชื่อ คงค้างจํานวน 339,229.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.4 และมีภาระ ค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 4,944.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.9 ของ ยอดค้ําประกันคงค้าง

หนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หนวย : ลานบาท

โครงการ

สิ้นไตรมาสที่ 2/2553 สินเชื่อ คงค้าง

1. กลุ่มสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชือ่ สําหรับกิจการ SMEs สินเชื่อ SMEs (ธพว.) สินเชื่อ SMEs (ธสน.) สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 1.2 การค้ําประกันสินเชื่อ (บสย.) 2. กลุ่มสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัย โครงการบ้านเอื้ออาทร โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 โครงการบ้าน ธอส. - สปส. โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. เพื่อทีอ่ ยู่อาศัยของผู้ประกันตน 3. กลุ่มสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก โครงการธนาคารประชาชน โครงการวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งหมด (ยกเว้นการค้ําประกันสินเชื่อ SMEs ของ บสย.) หมายเหตุ N/A หมายถึง ปิดโครงการแล้ว

31 สํานักนโยบายการคลัง

NPLs

NPLs ratio

166,329.20 67,651.00 15,238.80 38,898.50 44,603.90 55,784.96 103,474.16 32,224.18 28,389.89 10,636.95 9,304.94 15,970.45 2,532.96

28,369.66 20,666.76 1,659.90 2,017.00 4,026.00 4,944.14 1,358.25 391.81 472.26 155.48 111.89 78.21 68.24

17.05% 30.55% 10.89% 5.19% 9.03% 8.86% 1.31% 1.22% 1.66% 1.46% 1.20% 0.49% 2.69%

4,414.79

80.36

1.82%

69,363.21 19,392.61 49,970.60

5,561.25 866.85 4,694.40

8.02% 4.47% 9.39%

339,229.57 35,289.16

10.40%


ร่างพระราชบัญญัติกองทุนสวัสดิการข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... 1. ความเป็นมา สมาคมพนักงานเทศบาลแห่งประเทศไทยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติกองทุนสวัสดิการข้าราชการ ส่วนท้องถิ่น ให้นายกรัฐมนตรีพิจาณาเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร 2. สรุปสาระสําคัญของกฎหมาย ให้มีการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการข้าราชการส่วนท้องถิ่นเพื่อเป็นหลักประกันการจัดสวัสดิการให้ข้าราชการ ของ อปท. ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรักษาพยาบาล การศึกษาบุตร เงินทําขวัญ ค่าเช่าบ้าน ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการต่างจังหวัด เป็นต้น โดยที่มาของเงินกองทุนมาจากเงินที่รัฐบาลจัดสรรให้และ อปท. จ่ายสบทบ รวมทั้ง ทรัพย์สินที่มผี บู้ ริจาคให้ สําหรับการควบคุมและการบริหารกองทุนกําหนดให้มีคณะกรรมการกองทุนโดยมีผู้บริหาร ระดับสูงของกระทรวงการคลังเป็นประธานคณะกรรมการกองทุน 3. ความเห็นของ สศค. 3.1 ร่างกฎหมายดังกล่าวยังไม่สอดคล้องตามหลักการของการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการข้าราชการ ส่วนท้องถิ่น กล่าวคือ การจัดสวัสดิการให้แก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่นไม่ว่าจะโดยงบประมาณของ อปท. หรือจัดตั้ง ในรูปแบบกองสวัสดิการ ไม่ควรเกี่ยวข้องกับเงินงบประมาณของรัฐบาลซึง่ ไม่ใช่นายจ้างของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ตามหลักความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นนายจ้างกับลูกจ้าง ดังนั้น ข้อกําหนดตามร่างกฎหมายที่ให้กระทรวงการคลัง ต้องคํานวณเงินประเดิม เงินสะสม ที่รัฐบาลนําส่งเข้ากองทุนฯ หรือจัดสรรงบประมาณของรัฐบาลเข้าบัญชีเงินสํารอง ไม่เป็นไปตามหลักการและเหตุผลดังกล่าว 3.2 ปัจจุบัน อปท. มีระบบสวัสดิการ โดยการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีของ อปท. ซึ่งมี ลักษณะใกล้เคียงกับการจัดสวัสดิการของข้าราชการส่วนกลางอยู่แล้ว เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการ สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล สวัสดิการการศึกษาของบุตร และสวัสดิการเบี้ยกันดาร โดยออกเป็นระเบียบ กระทรวงมหาดไทย และกําหนดหลักเกณฑ์ในการเบิกจ่ายสวัสดิการของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไว้แล้ว ดังนั้นการ จัดตั้งกองทุนฯ อาจทําให้เกิดความซ้ําซ้อน 3.3 การจัดตั้งกองทุนฯ โดยใช้เงินงบประมาณของรัฐบาลนั้น น่าจะเข้าข่ายลักษณะเป็นกองทุน หมุนเวียน จึงไม่มีความจําเป็นที่จะจัดตั้งขึ้น เพราะระบบสวัสดิการ ในปัจจุบันยังสามารถรองรับการจัดสวัสดิการได้ สําหรับปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น การจ่ายค่ารักษาพยาบาล ซึง่ อปท. บางแห่งมีเงินไม่พอจ่าย หรือกรณีที่ อปท. ไม่ตั้ง งบประมาณค่ารักษาพยาบาลให้กับบุคลากรที่ได้รับการถ่ายโอน การปรับปรุงระบบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล โดยใช้ระบบเบิกจ่ายตรงและครอบคลุมข้าราชการส่วนท้องถิ่นทุกกรณี น่าจะเป็นทางแก้ปัญหาที่ตรงประเด็นปัญหา มากกว่า

สํานักนโยบายการคลัง 32


4. ข้อเสนอของ สศค. 4.1 ในเบือ้ งต้นเห็นควรมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยรวบรวมข้อมูลสถิติงบประมาณและ การเบิกจ่ายจริงเกี่ยวกับเงินเดือน บําเหน็จบํานาญ ค่ารักษาพยาบาล และสวัสดิการอื่น ๆ รวมทั้งปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสวัสดิการของข้าราชการส่วนท้องถิ่น เพื่อประกอบการพิจารณาหาแนวทางแก้ไข 4.2 ให้กระทรวงการคลังและกระทรวงมหาดไทยพิจารณาปรับปรุงระบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาล ของข้าราชการส่วนท้องถิ่นให้มีรูปแบบและลักษณะเดียวกันกับระบบการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการ 5. สถานะล่าสุด สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีในฐานะที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีให้พิจารณาเรื่อง ดังกล่าวได้มีการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 โดยได้ข้อสรุปว่า ประเด็นปัญหาหลักของการขอจัดตั้งกองทุนฯ ดังกล่าว น่าจะเป็นเรื่องค่ารักษาพยาบาล โดยเฉพาะ อปท. ขนาดเล็ก ที่อาจมีปัญหาการบริหารงบประมาณ ไม่เพียงพอต่อการเบิกจ่ายของข้าราชการ ซึ่งอาจไม่จําเป็นต้อง แก้ไขปัญหาการโดยการจัดตั้งกองทุนฯ ตามแนวทางดังกล่าว จึงเห็นควรมอบหมายให้กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นในฐานะหน่วยงานกํากับดูแลไปศึกษารายละเอียดของปัญหาดังกล่าวของ อปท. ก่อนที่สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี จะได้สรุปนําเสนอนายกรัฐมนตรีต่อไป สาระสําคัญของร่างกฎหมาย หมวด 1 การจัดตั้งกองทุนและลักษณะกิจการกองทุน 1. ให้จัดตั้งกองทุนสวัสดิการข้าราชการส่วนท้องถิ่นเป็นนิติบุคคล เพื่อเป็นหลักประกันการจ่าย สวัสดิการและจัดสวัสดิการให้แก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่น โดยครอบคลุมข้าราชการของ อปท. ได้แก่ อบจ. เทศบาล อบต. และเมืองพัทยา (ยกเว้น ข้าราชการ กทม.) 2. กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ 1) เงินประเดิมและเงินสะสมที่รฐั บาลนําส่ง เข้ากองทุน 2) เงินสมทบประจําปีจาก อปท. 3) เงินรายได้จากงบประมาณของรัฐ 4) เงินพิเศษอื่นที่รัฐบาล จัดสรรให้ 5) รายได้อื่น 6) ทรัพย์สินที่มผี บู้ ริจาคให้ 7) ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สนิ ของกองทุน 3. กองทุนมีอาํ นาจกระทํากิจกรรมต่าง ๆ ภายในขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์ โดยกิจการของกองทุน ไม่อยู่ในบังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ 4. กองทุนไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและรายได้ ของกองทุนไม่ต้องนําส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ส่วนค่าใช้จ่ายการดําเนินงานของกองทุนใช้จ่ายจากเงินกองทุน ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกองทุนกําหนด หมวด 2 การควบคุมและการบริหาร 1. ให้มีคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการข้าราชการส่วนท้องถิ่น 35 คน ประกอบด้วย ปลัดกระทรวง การคลัง เป็นประธานคณะกรรมการฯ ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เป็นรองประธาน และกรรมการกองทุน มาจาก ผู้แทนข้าราชการส่วนท้องถิ่นและผู้ทรงคุณวุฒิ โดยคณะกรรมการมีหน้าทีก่ ําหนดนโยบายการลงทุนของกองทุน การกํากับดูแลจัดการกองทุน ออกข้อบังคับว่าด้วยการปฏิบัติงานของเลขาธิการ กําหนดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน เป็นต้น

33 สํานักนโยบายการคลัง


2. ให้มคี ณะอนุกรรมการจัดการลงทุน 11 คน ประกอบด้วย ผู้อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง เป็นประธาน และอนุกรรมการจากข้าราชการส่วนท้องถิ่นและผู้ทรงคุณวุฒิ มีหน้าทีใ่ ห้คาํ ปรึกษาด้านการกําหนด หลักเกณฑ์ในการเลือกสถาบันการเงินที่จะดูแลรักษาหรือรับฝากเงินของกองทุนและติดตามการดําเนินงานของ สถาบันการเงินนั้น ๆ 3. ให้มีคณะอนุกรรมการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร และรายงานความคืบหน้าการจัดการกองทุน 9 คน โดยมี ผู้แทนกรมบัญชีกลาง เป็นประธาน และมีผแู้ ทนส่วนราชการท้องถิ่นเป็นอนุกรรมการ หมวด 3 สวัสดิการ ให้ข้าราชการส่วนท้องถิ่นมีสิทธิได้รับสวัสดิการจากกองทุนตามระเบียบที่คณะกรรมการฯ กําหนด ได้แก่ การรักษาพยาบาล การศึกษาบุตร เงินทําขวัญ เงินสวัสดิการสําหรับการปฏิบัติงานประจําสํานักงาน ในพื้นที่พิเศษ เงินค่าตอบแทนพิเศษรายเดือนสําหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ค่าเช่าบ้าน ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ เงินรางวัลหรือตอบแทนอื่น และเงินช่วยเหลือหรือสิทธิประโยชน์อื่น หมวด 4 การเงิน การบัญชี และการตรวจสอบ 1. ให้รัฐตั้งงบประมาณรายจ่ายเป็นรายปี เป็นจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบของงบประมาณ รายจ่ายสวัสดิการของข้าราชการส่วนท้องถิ่นประจําปี เข้าบัญชีเงินสํารองทุกปีจนกว่าเงินสํารอง เงินกองกลาง และดอกผลของเงินดังกล่าวมีจํานวนเท่ากับงบประมาณรายจ่ายสวัสดิการของข้าราชการส่วนท้องถิ่นประจําปี และหลังจากนัน้ ให้รัฐตั้งงบประมาณรายจ่ายประจําปีสนับสนุนต่อไป จนกว่าเงินก้อนดังกล่าวจะเป็นสองเท่าของ งบประมาณรายจ่ายสวัสดิการของข้าราชการส่วนท้องถิน่ ประจําปี 2. ให้ อปท. ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจําปีให้แก่กองทุนฯ ตามจํานวนที่คณะกรรมการฯ กําหนด โดยคํานึงถึงรายได้ อปท. เป็นสําคัญ 3. กําหนดแนวทางในการจัดทําบัญชีกองทุน การรายงานแสดงการจัดการกองทุน การรายงาน แสดงฐานะการเงินของกองทุน และการรายงานผลการตรวจสอบบัญชีกองทุนโดยผู้สอบบัญชี หมวด 5 การควบคุมกํากับการจัดการกองทุน นายกรัฐมนตรีซึ่งรักษาการตาม พ.ร.บ. นี้มีอํานาจหน้าที่กํากับและดูแลการจัดการกองทุน หมวด 6 บทกําหนดโทษ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ดําเนินการจัดการกองทุนหรือผู้ที่มสี ่วนเกี่ยวข้องที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดของ พ.ร.บ. นี้ ต้องระวางโทษจําคุก หรือปรับ หรือทั้งจําและปรับ

สํานักนโยบายการคลัง 34


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 1. เรื่อง ผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ (รศก.) ครั้งที่ 11/2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามมติการประชุม รศก. ครั้งที่ 11/2553 และเห็นชอบหลักการให้ ความช่วยเหลือ และฟื้นฟูผู้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยโดยมีรายละเอียดดังนี้ การให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประสบอุทกภัย จะครอบคลุม 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ประชาชนทั่วไป ผู้ด้อยโอกาส และช่วยเหลือตนเองไม่ได้ 2) เกษตรกร 3) ผู้ประกอบการ และ 4) ระบบโครงสร้างพื้นฐาน โดยมีมาตรการดําเนินการช่วยเหลือ ดังนี้ 1) มาตรการช่วยเหลือระยะเร่งด่วน ประกอบด้วยการช่วยเหลือค่าเสียหายด้านที่พักอาศัยและทรัพย์สิน ที่ประสบอุทกภัย โดยใช้การช่วยเหลือ 1-3 หมื่นบาทขึ้นกับระดับความเสียหาย การช่วยเหลือผู้ประสบพิบัติภัย กรณีฉุกเฉินครัวเรือนละ 5,000 บาทและการให้ความช่วยเหลือสถานศึกษาที่ประสบอุทกภัย 2) มาตรการฟื้นฟูเกษตรกรและประชาชนทั่วไปหลังภาวะน้าํ ลด โดยสนับสนุนเงินแก่ผู้ประสบภัยตัง้ แต่ สิงหาคม 2553 จนสิ้นสุดฤดูฝนปี 2553 โดยช่วยเหลือผู้ปลูกพืชในอัตราร้อยละ 55 ของต้นทุนการผลิต และช่วยเหลือ ผู้ประกอบอาชีพด้านประมงและปศุสัตว์ตามเกณฑ์ที่กําหนด 3) มาตรการด้านการเงินและการคลัง ประกอบด้วยมาตรการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร และ ผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ มาตรการภาษีโดยการนําเงินบริจาคมา หักลดหย่อนภาษีได้ มาตรการอํานวยความสะดวกแก่ผู้ประสบอุทกภัย และการเบิกจ่ายเงินทดรองจากราชการ 4) มาตรการฟืน้ ฟูโครงสร้างพื้นฐาน โดยให้หน่วยงานที่เกีย่ วข้องเร่งสํารวจและซ่อมแซมระบบโครงสร้าง พื้นฐานโดยเร็ว พร้อมผ่อนผันให้ผปู้ ระกอบการก่อสร้างที่เป็นคู่สญ ั ญากับภาครัฐในพื้นที่ประสบอุทกภัย 5) มาตรการป้องกันและบรรเทาปัญหาภัยพิบัติในระยะยาว มอบหมายหน่วยงานต่างๆ เร่งดําเนินการใน ส่วนที่เกีย่ วข้อง เช่น ให้กระทรวงมหาดไทยเร่งปรับปรุงระบบเตือนภัย เป็นต้น

35 สํานักนโยบายการคลัง


มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 1. เรื่อง ขออนุมัติรายละเอียดและเงื่อนไขการกู้เงินและการปรับโครงสร้างหนีเ้ งินกู้ตามพระราชกําหนดให้ อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552

คณะรัฐมนตรีอนุมัติและเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1) อนุมัติรายละเอียดและเงื่อนไขการกู้เงินสําหรับปี 2554 โดยการทําสัญญากู้เงิน วงเงินไม่เกิน 59,960.44 ล้านบาท เพื่อใช้สําหรับแผนงานหรือโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ตามที่ คณะรัฐมนตรีอนุมัติ โดยมีระยะเวลาเงินกู้ไม่เกิน 4 ปี และอัตราดอกเบี้ยคิดจากอัตราต่ําสุดของอัตราดอกเบี้ยเงิน ฝากประจํา 6 เดือนประเภทบุคคลธรรมดาของ 4 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) เฉลี่ย หรืออัตราดอกเบี้ย BIBOR ที่ประกาศโดยธนาคารแห่งประเทศไทยและบวกส่วนเพิ่มหรือลบส่วนลดตามที่กระทรวงการคลัง เห็นสมควร โดยปรับอัตราดอกเบี้ยทุกงวด 6 เดือนหากมีการเปลี่ยนแปลง 2) อนุมัติให้กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ภายใต้พระราชกําหนดให้อํานาจ กระทรวงการคลังกู้เงินฯ วงเงินไม่เกิน 82,769.71 ล้านบาท โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินและพันธบัตรรัฐบาลอายุ 12 – 20 ปี อัตราดอกเบี้ยคงที่ตามอัตราตลาด และมีแหล่งเงินกู้คือ สถาบันการเงินและนักลงทุนระยะยาว ภายในประเทศ 3) เห็นชอบให้หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดส่งคําขอรับจัดสรรวงเงินกู้พร้อมทั้งเอกสารรายละเอียด ประกอบที่ครบถ้วนให้สํานักงบประมาณ พิจารณาภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 และให้สํานักงบประมาณ พิจารณาจัดสรรให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 8 ธันวาคม 2553 หากหน่วยงานเจ้าของโครงการไม่สามารถดําเนินการได้ ตามกําหนดเวลาให้ยกเลิกวงเงินกู้ส่วนที่ไม่ได้รับการอนุมัติจัดสรรจากสํานักงบประมาณ ยกเว้นโครงการที่ คณะรัฐมนตรีได้มีมติขยายระยะเวลาการขอรับจัดสรรให้แล้ว 2. เรื่อง รายงานผลการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลในไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบตามที่กระทรวงการคลังรายงานผลการแปลงตั๋วเงินคลังเป็นพันธบัตรรัฐบาลใน ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จํานวนรวม 104,000 ล้านบาท ทําให้ ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กระทรวงการคลังมีวงเงินตั๋วเงินคลังรวมทั้งสิ้นจํานวน 154,000 ล้านบาท ประกอบด้วย ตั๋วเงินคลังเพื่อการ บริหารเงินสดรับ - จ่ายของรัฐบาล จํานวน 80,000 ล้านบาท และตั๋วเงินคลังเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ที่สะสมมาจนถึงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จํานวน 74,000 ล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 36


3. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมือง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการทางภาษีเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รบั ผลกระทบจากการชุมนุมทาง การเมืองระหว่างเดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1) มาตรการภาษีด้านเงินช่วยเหลือจากรัฐบาล ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลให้แก่ ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลหรือกรุงเทพมหานคร 2) มาตรการภาษีด้านการประกันภัย ยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทประกันภัยซึ่งได้จ่ายเงินช่วยเหลือให้ผู้ที่ ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมือง และผูท้ ี่ได้รับเงินได้จากบริษัทประกันภัย 3) มาตรการภาษีเกี่ยวกับทรัพย์สินและสินค้าถูกเพลิงไหม้หรือเสียหายเกี่ยวเนื่องกับการเกิดเพลิงไหม้ ยกเว้นภาษีเงินได้ร้อยละ 1 ของต้นทุนทรัพย์สินส่วนที่เหลืออยู่หลังหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา และเงินได้ที่ ได้รับจากการปลดหนี้ค่าสินค้า กรณีทสี่ ินค้าได้รับความเสียหายไม่สามารถขายต่อได้ เจ้าหนี้สามารถจําหน่ายหนี้ สูญจากบัญชีลกู หนี้ได้ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการ ยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... จํานวน 6 ฉบับ และกฎกระทรวง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ออกตามความใน ประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจําหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ทั้งนี้ ภายหลังจากที่ร่างพระราชกฤษฎีกาและร่าง กฎกระทรวงดังกล่าวมีผลใช้บังคับแล้ว จะมีการออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากรต่อไป มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 1. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อการพัฒนากองเรือพาณิชย์ไทย คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกําหนดให้กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเสียภาษีมูลค่าเพิ่มได้ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ปัจจุบันเจ้าของเรือไทยที่ให้บริการขนส่งทางทะเลภายในประเทศ (เรือค้าชายฝั่ง) ไม่สามารถนําภาษีซื้อที่ถูกจัดเก็บ จากการซื้อสินค้าหรือรับบริการจากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม มาใช้ประโยชน์ในการคํานวณ ภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ทําให้เจ้าของเรือไทยมีต้นทุนเพิ่มขึ้นและไม่สามารถบริหารจัดการกระแสเงินสดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การปรับปรุงกฎหมายภายใต้มาตรการภาษีดังกล่าวจึงเป็นการสนับสนุนให้การบริหารจัดการกระแส เงินสดมีประสิทธิภาพมากขึ้น และลดต้นทุนในการประกอบธุรกิจเรือค้าชายฝั่ง และลดปัญหาอันเกิดจากความ ผิดพลาดในการเฉลี่ยภาษีซื้อระหว่างกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มและกิจการที่ตอ้ งเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

37 สํานักนโยบายการคลัง


2. เรื่อง ขอยกเว้นไม่ปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจําหน่ายกิจการหรือหุน้ ทีส่ ว่ นราชการ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นเจ้าของ พ.ศ. 2504 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการการแก้ไขเพิ่มเติมร่างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจําหน่าย หุ้นที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเป็นเจ้าของ พ.ศ. 2504 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) โดยให้คณะรัฐมนตรีมีอํานาจ อนุมัติการผ่อนผันให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบนี้ โดยให้กําหนดวิธีปฏิบัติ ในการจําหน่ายจ่ายโอนหุ้นตามข้อเสนอของกระทรวงการคลัง เพื่อเพิ่มความคล่องตัวให้กับการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ เป็นการลงทุนในตลาดเงินตลาดทุนของรัฐวิสาหกิจบางประเภท รวมถึงการจําหน่าย หุน้ ที่ได้จากการปรับโครงสร้าง หนี้ในเวลาที่เหมาะสม ทั้งนี้ ในส่วนของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ได้รับการยกเว้น กรณีการจําหน่ายจ่ายโอนหุ้นที่ได้มาตาม นโยบายของรัฐบาล หรือหุ้นในกิจการทีก่ ระทรวงการคลังถือครองร่วมอยูด่ ้วย จะต้องได้รับอนุมัติจากกระทรวงการคลัง ก่อนจึงจะดําเนินการได้ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจําหน่ายหุ้นที่ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นเจ้าของ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ยกร่างขึ้นตามแนวทางที่ กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอ คณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการต่อไป 3. เรื่อง ขออนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายกรณี ฉุกเฉินหรือจําเป็น เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัยและวาตภัย) ครัวเรือนละ 5,000 บาท (ภาคใต้) คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณเสนอขออนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) จํานวน 3,161,440,000 บาท และอนุมัติเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัยและวาตภัย) จํานวน 373,182 ครัวเรือน ครัวเรือนละ 5,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,865,910,000 บาท ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ โดยให้สํานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณตรงให้ธนาคารออมสินซึ่งเป็น หน่วยรับงบประมาณตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติไว้แล้ว

สํานักนโยบายการคลัง 38


มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 1. เรื่อง ขออนุมัติให้สาํ นักงบประมาณจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นค่าดอกเบีย้ สําหรับนโยบาย 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน ชดเชยให้การประปานครหลวง และขอขยายกรอบวงเงิน งบประมาณ รวมทั้งขออนุมตั ิกู้เงินในประเทศเพื่อชดเชยรายได้ค่าน้ําตามมาตรการลดภาระค่าครองชีพของ ประชาชน ระยะที่ 3 คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ ทั้ง 3 ข้อ ดังนี้ 1. ให้สํานักงบประมาณ (สงป.) จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีเป็นค่าดอกเบี้ยเงินกู้ที่ การประปานครหลวง (กปน.) ได้ทดรองจ่ายไปก่อน ตามนโยบาย 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน 2. ขยายกรอบวงเงินงบประมาณของมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชน ระยะที่ 3 จากกรอบวงเงินเดิมที่ได้รับจัดสรร จํานวน 388,500,000 บาท เป็น จํานวน 392,063,300 บาท ซึ่งคํานวณจาก ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง 3. ให้ กปน. กู้เงินในประเทศ เพื่อชดเชยรายได้ค่าน้ําจากการดําเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพ ของประชาชน ระยะที่ 3 ในวงเงิน 392,063,300 บาท โดยมีกระทรวงการคลังค้ําประกันเงินกู้ และรัฐบาลเป็น ผู้รับภาระในการชําระคืนเงินต้น ดอกเบี้ยเงินกู้และค่าใช้จา่ ยในการกู้เงินทั้งหมด

39 สํานักนโยบายการคลัง


สถิติด้านการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) 2533 2534 2535 (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร 192,488 237,308 261,042 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 39,338 48,913 52,945 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 58,900 75,032 87,273 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1,794 2,870 2,884 ภาษีการค้า 88,035 106,183 37,783 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 66,614 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 9,629 อากรแสตมป์ 3,780 3,691 3,781 รายได้อื่นๆ 642 620 134 กรมสรรพสามิต 73,279 92,493 102,028 ภาษีน้ํามันฯ 32,014 44,415 41,346 ภาษียาสูบ 13,636 15,904 15,490 ภาษีสุราฯ 13,754 15,734 15,247 ภาษีเบียร์ 6,625 7,973 7,818 ภาษีรถยนต์ 15,713 ภาษีเครื่องดื่ม 5,142 6,224 5,125 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 301 ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 1,813 1,927 695 รายได้อื่นๆ 295 316 294 ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) 7 ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม 38 ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว 1 ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ 2 ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหินอ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ 1,697 1,821 621 ภาษีไม้ขีดไฟฯ 87 82 19 ภาษียานัตถุ์ 29 24 8 กรมศุลกากร 91,025 93,196 86,246 อากรขาเข้า 89,869 91,998 85,082 อากรขาออก 55 13 11 รายได้อื่นๆ 1,102 1,185 1,153 รวม 3 กรม 356,792 422,997 449,316 หน่วยงานอื่น 48,147 53,977 76,048 ส่วนราชการอื่น 29,527 30,225 42,896 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 18,620 23,752 33,152 รวมรายได้จัดเก็บ 404,939 476,974 525,364 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ 404,939 476,974 525,364 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 404,939 476,974 525,364 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 2,183,545 2,506,635 2,830,914 รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 18.5 19.0 18.6 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2553 -2554 จากสํานักนโยบายมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546

2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899

2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190

2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729

73 157 10

136 111 11

156 109 12

153 119 10

56 2

64 2

69

75 2

6

52 7

59 16

55 12

105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701

116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794

128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250

129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650

38,902 608,106

43,253 707,546

45,525 815,143

49,106 895,291

41,432 38,354 3,078

48,723 45,330 3,393

52,937 49,143 3,794

37,813 34,148 3,665

10,348 556,326

6,262 652,561

7,108 755,098

7,473 850,005

556,326 3,165,222 17.6

652,561 3,629,341 18.0

755,098 4,681,212 16.1

850,005 4,611,041 18.4


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหินอ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2553 -2554 จากสํานักนโยบายมหภ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบา

2540 518,620 115,137 162,655 5,322 264 195,813 34,286 4,734 408 180,168 63,983 29,816 22,763 21,383 32,295 7,519 1,765 129 168

2541 498,966 122,945 99,480 5,316 342 232,388 35,241 2,992 263 155,564 65,373 28,560 20,257 23,191 8,557 7,023 1,003 538 442

2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419

2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444

2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713

2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582

204 142

481 139 126 163 103 11 19 56 3

474 158 114 191 87 6 24 49 3

579 3,999 97 218 127 11 20 55 53

525 213 62 246 112 14 26 59 5

556 212 45 268 126 15 23 60 5 15

104,160 102,704 8 1,448 802,947 106,101 38,102

69,338 67,108 17 2,213 723,868 91,813 42,518

68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679

87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182

92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482

98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483

111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599

68,000 909,049

49,295 815,681

56,364 793,346

44,075 817,595

59,135 874,766

1,065 57,862 959,437

64,114 1,104,627

58,400 55,313 3,087

74,660 63,858 10,802

7,073 843,576

7,559 733,462

75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111

57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082

77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416

843,576 4,732,610 17.8

733,462 4,626,447 15.9

709,111 4,637,079 15.3

750,082 4,922,731 15.2

785,416 5,133,502 15.3

79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,192 16,525 850,667 5,450,643 15.6

80,150 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,934 40,604 968,330 5,917,369 16.4

11 91 7 17 59 19

2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78

1


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหินอ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2553 -2554 จากสํานักนโยบายมหภ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบา

2547 772,236 135,155 261,890 31,935

2548 937,149 147,352 329,516 41,178

2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524

2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735

2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033

6 111 192

2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 0 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164

2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 0 3 95 141

2554 (1 เดือน) 79,124 16,590 17,388 167 41,734 2,439 784 22 32,532 12,023 4,076 3,584 4,741 6,452 1,067 145 168 158 79 39 5 31 16 2 3 2 0 0 8 11

316,134 20,024 6,820 278 275,773 76,996 36,325 26,181 42,749 65,012 9,350 2,859 1,641 763 12,625 993 280 97 332 167 34 23 44 5 48 82 161

385,718 26,304 6,816 266 279,395 76,458 38,193 28,620 45,483 58,760 10,106 3,712 1,849 762 13,935 1,121 398 86 372 179 40 38 74

417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52

434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46

503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37

53 92 185

26 104 196

16 111 202

106,122 103,635 267 2,220 1,154,132 135,747 49,086 2,976 25,075

110,403 106,917 285 3,202 1,326,948 147,472 60,664 3,210

96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330

90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052

99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682

80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822

86,129 1,703,775

101,430 1,837,643

86,641 1,684,297

97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 227,371 131,950 3,868 91,553 1,994,966

7,638 7,494 1 142 119,294 21,805 3,720 68 18,017 141,099

6,000 52,611 1,289,880

1,484 82,114 1,474,420

77,165 1,581,524

115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,713 47,726 1,108,986 6,489,476 17.1

131,220 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,328 58,400 1,264,928 7,092,893 17.8

162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 7,850,193 17.1

181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 8,529,836 16.9

202,716 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,258 65,420 1,545,837 9,075,493 17.0

199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,050,715 15.6

222,709 170,280 52,429 11,942 13,518 1,746,797 67,886 1,678,911 10,128,000 16.6

16,800 15,300 1,500 930 840 122,529 122,529 10,888,000 1.1

36,951


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ

2532

2533

2534

2535

2536

2537

1. วงเงินงบประมาณ

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

625,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

17.9

(อัตราเพิ่ม)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

11.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

376,382.3

(สัดส่วนต่อ GDP)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

10.8

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

60.2

(อัตราเพิ่ม)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

7.2

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

212,975.6

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

6.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

34.1

(อัตราเพิ่ม)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

24.1

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

35,642.1

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

5.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

(4.5)

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

600,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

12.3

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(25,000.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

(0.7)

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ

2538

2539

2540

2541

2542

2543

1. วงเงินงบประมาณ

715,000.0

843,200.0

944,000.0

830,000.0

825,000.0

860,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

17.4

18.0

18.1

16.4

16.5

16.7

(อัตราเพิ่ม)

14.4

17.9

12.0

(10.3)

3.1

4.2

434,383.3

482,368.2

528,293.4

519,505.8

586,115.1

635,585.1

(สัดส่วนต่อ GDP)

10.6

10.3

10.1

10.2

11.7

12.4

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

60.8

57.2

56.0

62.6

71.0

73.9

(อัตราเพิ่ม)

15.4

11.0

9.5

(0.2)

14.4

8.4

253,839.8

327,288.6

391,209.7

279,258.1

233,534.7

217,097.6

6.2

7.0

7.5

5.5

4.7

4.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

35.5

38.8

41.4

33.6

28.3

25.2

(อัตราเพิ่ม)

19.2

28.9

19.5

(26.5)

(8.9)

(7.0)

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5,350.2

7,317.3

3.7

4.0

2.6

3.8

0.6

0.9

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

(82.9)

36.8

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

800,000.0

750,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

17.4

18.0

17.8

15.4

16.0

14.6

(อัตราเพิ่ม)

19.2

17.9

9.7

(15.5)

2.3

(6.3)

3. การขาดดุล/เกินดุล

0.0

0.0

0.0

(47,980.0)

0.0

0.0

0.0

(0.9)

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(25,000.0) (110,000.0) (0.5)

(2.1)

4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP)

2544

2545

2546

910,000.0 1,023,000.0

2547

2548

2549

999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0

17.5

19.3

17.2

18.0

17.4

17.5

5.8

12.4

(2.3)

16.4

7.4

8.8

679,286.5

773,714.1

753,454.7

836,544.4

881,251.7

958,477.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

13.0

14.6

13.0

12.9

12.2

12.3

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

74.6

75.6

75.4

71.9

70.5

70.5

6.9

13.9

(2.6)

11.0

5.3

8.8

218,578.2

223,617.0

211,493.5

292,800.2

318,672.0

358,335.8

4.2

4.2

3.6

4.5

4.4

4.6

24.0

21.9

21.2

25.2

25.5

26.3

0.7

2.3

(5.4)

38.4

8.8

12.4

12,135.3

25,668.9

34,951.8

34,155.4

50,076.3

43,187.2

1.3

2.5

3.5

2.9

4.0

3.2

65.8

111.5

36.2

(2.3)

46.6

(13.8)

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

805,000.0

823,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

15.5

15.5

14.2

16.4

17.4

17.5

7.3

2.2

0.2

28.9

17.5

8.8

(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)

(99,900.0)

0.0

0.0

(1.5)

0.0

0.0

(อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา

(อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(2.0)

(3.8)

825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0

(3.0)

5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคง คลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP)

2550

2551

2552

2553

2554

1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0 2,070,000.0 18.6

18.0

22.4

17.5

20.0

15.2

6.0

17.6

(12.9)

21.8

1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4 1,434,710.1 1,662,604.2 13.5

13.1

16.2

14.8

16.1

72.5

73.1

72.3

84.4

80.3

18.5

6.9

16.3

1.7

15.9

374,721.4

400,483.9

429,961.8

214,369.0

344,495.1

4.5

4.3

4.9

2.2

3.3

23.9

24.1

22.0

12.6

16.6

4.6

6.9

7.4

(50.1)

60.7

55,490.5

45,527.0

63,676.1

50,920.9

32,554.6

3.5

2.7

3.3

3.0

1.6

28.5

(18.0)

39.9

(20.0)

(36.1)

-

-

46,679.7

-

30,346.1

-

-

2.4

-

1.5

1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0 1,650,000.0 16.9

16.2

18.4

13.9

15.9

4.4

5.3

7.3

(15.9)

22.2

(146,200.0) (165,000.0) (347,060.5) (350,000.0) (420,000.0) (1.7)

(1.8)

(4.0)

(3.6)

(4.1) 10,358,400. 8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0 0

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2553 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท


เรื่อง

ผู้รับผิดชอบ

บทสรุปผูบ้ ริหาร ไพลิน ช่างภิญโญ สถานการณ์ด้านรายได้ ไพลิน ช่างภิญโญ สถานการณ์ด้านรายจ่าย วิธีร์ พานิชวงศ์ การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ สุภชัย ภูริเกษม การเบิกจ่ายของกองทุนนอก สุภชัย ภูริเกษม งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบกระแส สิทธิรัตน์ ดรงคมาศ เงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. สุภชัย ภูริเกษม สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ สิทธิรัตน์ ดรงคมาศ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง บุณฑรีก์ โฆษิตานุฤทธิ์ การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง พันทิพา จิตรจง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังให้แก่ พหล เก้าเอี้ยน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สิทธิรัตน์ ดรงคมาศ สถิติด้านการคลัง - รายได้รัฐบาล ไพลิน ช่างภิญโญ - โครงสร้างงบประมาณ วิธีร์ พานิชวงศ์ - ดุลการคลังของ อปท. กิจจา ยกยิง่

โทรศัพท์

E-mail

3546 3546 3543 3584 3584

pailinchang@hotmail.com pailinchang@hotmail.com withee@mof.go.th sphoorik@hotmail.com sphoorik@hotmail.com

3558

sitthirat.d@mof.go.th

3584 3558 3544 3553

sphoorik@hotmail.com sitthirat.d@mof.go.th Taree983@mof.go.th pu_pant28@hotmail.com

3575

pahol@fpo.go.th

3558

sitthirat.d@mof.go.th

3546 3543 3590

pailinchang@hotmail.com withee@mof.go.th kitchar@fpo.go.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.