seb outlook 2556-2557

Page 110

ตารางที่ 2 ตารางแสดงสินค้าส่งออก 5 อันดับแรกของออสเตรเลีย ปี 2012 สินค้าส่งออก

มูลค่าการส่งออก (ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย)

คิดเป็นร้อยละ ของการส่งออกทั้งหมด

1. แร่เหล็กและสินแร่

54,689

22.0

2. ถ่านหิน

41,273

16.6

3. ทองค�ำ

15,525

6.3

4. ก๊าซธรรมชาติ

13,418

5.4

5. น�้ำมันดิบ

10,989

4.4

ที่มา : Trade Analysis and Statistics Section Department of Foreign Affairs & Trade, Australian Government

สัดส่วนการส่งออกภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทเี่ พิม่ ขึน้ ทุกปี ประกอบกับทิศทางการขยายตัวของภาคการส่งออก สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพที่จะช่วยผลักดันเศรษฐกิจออสเตรเลียให้เติบโตต่อไปได้ในทุกภาวะเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ ออสเตรเลียอยู่ในยุคเฟื่องฟูส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เพราะไม่เพียงแต่ทองค�ำเท่านั้นที่เป็นที่ ต้องการในยามวิกฤติและเป็นปัจจัยเอือ้ ต่อความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของออสเตรเลีย สินแร่เองก็เป็นอีกหนึง่ สินค้าส่งออก ที่สร้างรายรับปริมาณมหาศาลให้แก่ประเทศ ออสเตรเลียจัดเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ที่ช่วยสนับสนุน การพัฒนาประเทศและก่อให้เกิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน จากทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้นว่า ภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่นนั้ มีมลู ค่าการส่งออก มากถึง 150,700 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย การเติบโตทางเศรษฐกิจจึงได้รบั แรงกระตุน้ มาจากภาคอุตสาหกรรมนีเ้ ป็นส�ำคัญ โดย ประเทศคู่ค้าหลักของภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ได้แก่ ประเทศจีน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 27.0 ของการส่งออกทั้งหมด การส่งออก สินค้าเหมืองแร่จำ� นวนมากนีเ้ ป็นแรงผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ของออสเตรเลียอยูใ่ นยุคเฟือ่ งฟู และท�ำให้การส่งออก แร่เหล็กและสินแร่มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราเร่ง ลักษณะการเติบโตอย่างก้าวกระโดดในภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่นี้ มีชื่อเรียกว่า Mining Boom โดยอัตราการเติบโตของแร่เหล็กและสินแร่ในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 28.7 ของการส่งออกทั้งหมด ส�ำหรับปี 2012 อัตราการขยายตัวของการส่งออกแร่เหล็กและสินแร่คิดเป็นร้อยละ 22.0 ของการส่งออก ทั้งหมด นอกจากนี้ เศรษฐกิจออสเตรเลียสามารถฟื้นตัวได้เร็วกว่าเศรษฐกิจโลก เนื่องจากออสเตรเลียได้ดุลการค้าจาก การส่งออกทองค�ำในช่วงวิกฤติ นักลงทุนส่วนใหญ่เลือกที่จะถือทองค�ำเพื่อเก็งก�ำไรแทนการลงทุนในตลาดเงินในภาวะวิกฤติ เศรษฐกิจ เนือ่ งจากความไม่มเี สถียรภาพภายในตลาดเงิน สะท้อนจากดัชนีตลาดหุน้ ทีต่ กลงและผันผวนทัว่ โลก แม้วา่ ออสเตรเลีย ไม่ได้พึ่งพาการส่งออกมากนัก หากแต่ความสามารถในการส่งออกทองค�ำเปรียบเสมือนโอกาส เพราะราคาทองค�ำในตลาดโลก มีแนวโน้มที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ อาทิ ในปี 2008 ซึ่งเศรษฐกิจโลกก�ำลังได้รับพิษจากวิกฤติ ซับไพรม์นั้น ราคาทองค�ำเพิ่มสูงขึ้นแตะระดับ 1,030.8 ดอลลาร์สหรัฐต่อออนซ์ และในปี 2011 ราคาทองค�ำได้ดีดตัวขึ้นอีกครั้ง สูงสุดอยูท่ รี่ ะดับ 1,920.3 ดอลลาร์สหรัฐต่อออนซ์ เนือ่ งจากผลกระทบจากวิกฤติหนีส้ าธารณะยูโรโซน จากอุปสงค์ของทองค�ำทีส่ งู ขึน้ ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ท�ำให้ออสเตรเลียได้ดุลการค้าจากการส่งออกทองค�ำ ภาพที่ 4 แสดงให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ของราคาทองค�ำออสเตรเลียที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ท�ำให้ออสเตรเลียได้ดุลการค้าจากการค้าทองค�ำ ในปี 2009 (วิกฤติซับไพรม์) ถึง 6,962.0 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย และในปี 2011 (วิกฤติหนีส้ าธารณะยุโรป) มีมลู ค่าสูงถึง 8,677.0 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เป็น การเน้นย�ำ้ ว่าสินค้าส่งออกทีเ่ ป็นทีต่ อ้ งการในช่วงวิกฤตินนั้ เป็นปัจจัยเอือ้ ต่อการฟืน้ ตัวจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกได้เร็วกว่าประเทศ อื่น ๆ

108


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.