Press_3_INT

Page 2

แถลงข่าวสถานการณ์ธุรกิจเกษตรและอาหารในปจั จุบนั และแนวโน้มในอนาคต 20 กุมภาพันธ์ 2556

สำาหรับตลาดส่งออกของไทยในปี 2555 พบว่า การส่งออกไปยังตลาดภายในภูมภิ าค อาทิ อาเซียน ญีป่ ุน่ และจีน ยังขยายตัวดีในอัตราร้อยละ 9.7, 5.8 และ 19.1 ตามลำาดับ ส่วนตลาดหลักอย่างสหรัฐฯ และ สหภาพยุโรปทีป่ ระสบปญั หาเศรษฐกิจชะลอตัวเป็ นสาเหตุหลักทีท่ าำ ให้การส่งออกอาหารไทยหดตัวลงร้อยละ 9.8 และ 6.4 ตามลำาดับ ซึง่ ส่งผลทำาให้สนิ ค้าออกสำาคัญของไทยในตลาดดังกล่าวหดตัวลงตามไปด้วยโดย เฉพาะกุง้ และผักผลไม้แปรรูป (สับปะรด) ทัง้ นี้ อาเซียนยังคงเป็ นตลาดส่งออกอาหารอันดับ 1 ของไทย โดย มีสดั ส่วนร้อยละ 22.4 รองลงมาได้แก่ ญีป่ ุน่ (15.3%), สหรัฐฯ (11.5%), สหภาพยุโรป (10.9%), แอฟริกา (9.7%), และจีน (8.8%) ซึง่ เป็ นตลาดส่งออกอันดับ 2-6 ของไทย ตามลำาดับ

2. สถานการณ์สินค้าอาหารไทยในตลาดโลกในปี 2555  ส่วนแบ่งตลาดอาหารโลก แม้วา่ ในปี 2555 ไทยจะส่งออกสินค้าอาหารเพิม่ ขึน้ แต่สว่ นแบ่ง ตลาดอาหารโลกของไทยยังคงทีอ่ ยูท่ ร่ี อ้ ยละ 2.57 เช่นเดียวกับปี ก่อนหน้า ขณะเดียวกันไทยก็ ยังดำารงสถานะเป็ นประเทศผูส้ ง่ ออกอาหารอันดับ 12 ของโลกไว้ได้เช่นเดิม แต่เมือ่ พิจารณา ลงลึกไปทีส่ นิ ค้าส่งออกหลัก 7 รายการ จะพบว่า มีสนิ ค้ามากกว่าครึง่ นันคื ่ อ 4 ใน 7 รายการ ได้แก่ ข้าว กุง้ ทูน่าแปรรูป และสับปะรด เริม่ สูญเสียศักยภาพในการแข่งขัน พิจารณาได้จาก ส่วนแบ่งตลาดโลกทีล่ ดลง โดยเฉพาะข้าวทีไ่ ทยเคยเป็ นผูส้ ง่ ออกอันดับ 1 มายาวนาน แต่ในปี 2555 ไทยตกมาเป็ นผูส้ ง่ ออกอันดับ 3 ของโลก รองจากอินเดีย และเวียดนาม ส่วนการส่งออก กุง้ ทูน่าแปรรูป และสับปะรด แม้ไทยจะรักษาความเป็ นผูน้ ำาตลาดโลกไว้ได้ แต่สว่ นมีสว่ นแบ่ง ตลาดโลกมีแนวโน้มลดลง ส่วนสินค้าส่งออกหลัก 3 รายการทีไ่ ทยมีสว่ นแบ่งในตลาดโลกเพิม่ ขึน้ ได้แก่ น้ำาตาลทราย ผลิตภัณฑ์มนั สำาปะหลัง และไก่  โครงสร้างสิ นค้าอาหารส่งออกของไทย โครงสร้างสินค้าอาหารส่งออกของไทยยังไม่ เปลีย่ นแปลงนัก รูปแบบสินค้าส่งออกส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นสินค้าอาหารสดและแปรรูปเบือ้ ง ต้นคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 58 ส่วนสินค้าอาหารสำาเร็จรูปมีเพียงร้อยละ 38 ของอาหารส่งออก ทัง้ หมด ซึง่ รูปแบบสินค้าทีไ่ ทยส่งออกจะคล้ายๆ กับสินค้าอาหารของจีนทีม่ สี ดั ส่วนของการส่ง ออกอาหารสำาเร็จรูปใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม เมือ่ เทียบกับประเทศคูแ่ ข่งอื่นๆ อาทิ บราซิล มาเลเซีย อินโดนีเซีย และอินเดีย พบว่าอาหารสำาเร็จรูปของไทยมีสดั ส่วนสูงกว่ามากถึง 2 เท่าตัว ซึง่ แนวโน้มดังกล่าวแสดงให้เห็นพัฒนาการทีก่ า้ วหน้าไปอีกก้าวของอุตสาหกรรม อาหารไทย ทีส่ ามารถยกระดับสินค้าไปสูส่ นิ ค้าเพิม่ มูลค่าเพือ่ ตอบสนองผูบ้ ริโภคขัน้ สุดท้ายได้ โดยตรงไม่แพ้สนิ ค้าประเทศพัฒนาอย่างญีป่ ุน่ และยุโรป แต่จุดอ่อนของสินค้าอาหารของไทย คือยังคงเป็ นสินค้าทีผ่ ลิตตามคำาสังซื ่ อ้ และไม่มตี ราสินค้าเป็ นของตนเอง ซึง่ เป็ นโจทย์ใหญ่ท่ี ต้องดำาเนินนโยบายปรับปรุงแก้ไขต่อไป

Page 2 of 7


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.