RHYTHM MAGAZINE Issue 9

Page 1

live as your life

Volume 1

Issue 9

วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ

WORLD CHOIR GAMES 2012 ASK EXPERT

สุรเชษฐ์ ชานกสกุล

July 2012

MAGAZINE

FREE COPY

RHY THM

NEW WAVE

อริษย์ ไทรรัตตัญญู (ลุค) พ่อสอนผมว่า คนเราเกิดมาครั้งเดียว คิดอยากท�ำอะไร ให้ท�ำไปเลย www.Rhythm-Magazine.com




EDITOR ’ S RHYTHM ก่อนจะท�ำคอลัมน์ในฉบับนี้ ทางเราได้วางรูปแบบเนื้อหาไว้ แล้วสลับซับเปลี่ยน ไปมา มากกว่า 3 ครั้งเลยครับ พอมาจบลงตรงผลสรุปว่า เราจะรอผลการแข่งขันการ ประกวดการประสานเสียงโลก World Choir Games ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ปาไป กลางๆ เดือนนิดหน่อย ถือว่ารอของดีมีประโยชน์ไม่ว่ากันนะครับ จริงๆ แล้วเดือนนี้เป็น เดือนแห่งการประกวดในระดับนานาชาติเลยครับ เฉพาะการประกวดประสานเสียงโลก ทีมจากประเทศไทยก็ไปสร้างชื่อเสียงมาตั้ง 3 ทีม ซึ่งมีเนื้อหาที่สนใจอย่างมากในฉบับ อีกทัง้ การประกวดวงโยธวาทิตโลกทีป่ ระเทศแคนาดา และรวมไปถึงการประกวดคอนเสิรต์ ทีย่ โุ รปอีกด้วย แต่สองเรือ่ งนีค้ อยติดตามต่อไปนะครับ ดูจากงานแล้วอะไรจะมากมายขนาด นัน้ แต่นแี้ หละครับทีเ่ รียกว่า “ฝีมอื ” ปลายเดือนก็จะมีการประชุมและสัมมนาผูฝ้ กึ สอนวง โยธวาทิตภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ 17 ระหว่างวันที่ 25-29 ก.ค. 2555 นี้ ที่ประเทศ สิงค์โปร์ด้วย (17th Conference of the Asia Pacific Band Directors’ Association) แต่รับประกันครับว่าเราจะน�ำเรื่องราวต่างๆ เหล่านี้มาบอกกล่าวให้กับผู้อ่านได้อย่าง ทั่วถึงแน่นอน

ท้ายนี้ขอย�้ำอีกครั้งครับว่า อย่าพลาดกับ The 8th Thailand Drumline & Color Guard Contest 2012 และ Marching Band International Contest 2012 โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง Blue Devil Drum & Bugle Corps มาเมืองไทย ..แน่นอนครับ บรรณาธิการอ�ำนวยการ วสวัตติ์ วะดี editor-rhythm@hotmail.com

4 RHYTHM

มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่





ContentS Editor’s Rhythm.......................... 4 Calendar.................................10 Event News.............................12 COVER STORY...........................14

30

วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ

WORLD CHOIR GAMES 2012........18 Cincinnati USA

DID YOU KNOW........................22 Mr.Satoshi Yagisawa & Nontri OrchestraWinds

Music Technology.....................24 ACOUSTIC DESIGN 2

Ask Expert...............................26 สุรเชษฐ์ ชานกสกุล

New Wave..............................28 อริษย์ ไทรรัตตัญญู (ลุค)

RHYTHM TEAM

18

22 Art & Acting............................30 Branding Your Band

Sectional.................................32 Leading instructors 8 RHYTHM

ที่ปรึกษา บรรณาธิการอ�ำนวยการ บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ Graphic Design ที่ปรึกษากฎหมาย

ภราดามีศกั ดิ์ ว่องประชานุกลู ดร.ชัยพฤกษ์ เมฆรา อ.สุรพล ธัญญวิบูลย์ อ.นิพัต กาญจนะหุต อ.กิตติ เครือมณี ณรงค์ คองประเสริฐ วสวัตติ์ วะดี ธวัชชัย ใจมุข จตุรภัทร อัสดรชัยกุล เกษม ด้วงสน ประมาณ จรูญวาณิชย์ ชนัญ บุญพุทธารักษา

บริษัท ริธมิคส์ จ�ำกัด

เลขที่ 106/126 หมู่ 7 หมู่บ้านชัยพฤกษ์ ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 โทร.053-334556 โทรสาร.053-334557 E-mail: rhythmmagazine@hotmail.com www.Rhythm-Magazine.com



CALENDAR คอนเสิร์ต ๖๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ

JULY 2012

Marching Show Bands, Calgary, Canada รายการแข่ง Marching Band ที่เมือง Calgary รั ฐ Alberta ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 6-15 กรกฎาคม 2555 World Association of Marching Show Band 2012 Championships ซึ่ ง มี ที ม จากหลากหลาย ประเทศทัว่ โลก และหนึง่ ในนัน้ มีทมี จากตัวแทน ประเทศไทยอยู ่ ด ้ ว ย คื อ ที ม “วงโยธวาทิ ต เยาวชนจังหวัดพิษณุโลก” ลงแข่งขันในรุ่น Junior Band Champion ยังไงฝากส่ง แรงใจร่วมเชียร์ไปกับพวกเค้าให้สร้างชื่อเสียง ด้านดนตรีให้กับประเทศไทย

แสดงเดีย่ วไวโอลินคอนแชร์โต้หมายเลข 1 คอนเสิ ร ์ ต เทิ ด พระเกี ย รติ “คอนเสิ ร ์ ต ๖๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ” น้อมถวาย พระพรเพื่อทรงพระเกษมส�ำราญ ผ่าน “เพลง สุ น ทราภรณ์ ” บทเพลงแห่ ง ความสุ ข และ เกียรติภมู แิ ห่งคีตศิลป์ไทย ผลงานอันเป็นอมตะ และทรงคุณค่าของครูเอือ้ สุนทรสนาน บรรเลง โดย วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ อ�ำนวยเพลง โดย นรอรรถ จันทร์กล�่ำ ขับร้องโดย รวงทอง ทองลั่นธม ศิลปินแห่งชาติ, พรศุลี วิชเวช, สุภัทรา โกราษฎร์, ธีรนัยน์ ณ หนองคาย, กรกันต์ สุทธิโกเศศ (อาร์ม เคพีเอ็น), เชี่ยวชาญ กิ จ สมบั ติ ไชย, ณั ฏ ฐ์ น รี มะลิ ท อง, สุ บ งกช ทองช่ ว ง, ชาตรี ชุ ่ ม จิ ต ร, ดวงพร ผาสุ ข , นั ก ร้ อ งคลื่ น ลู ก ใหม่ สุ น ทราภรณ์ และคณะ นักร้องประสานเสียงเยาวชนไทย

การแข่งขันออเคสตร้าระดับโลก

เตรียมพบกับ การแข่งขันออเคสตร้า เวที ใหญ่ระดับโลก กับรายการ “Summa Cum Laude International Youth Music Festival Vienna 2012”ที่ เดอะโกลเด้นฮอลล์ กรุง เวียนนา ประเทศออสเตรีย วันที่ 7-11 กรกฎาคม 2555 โดยมีวงออเคสตราเยาวชนไทย สยาม ซินโฟนิเอตต้า เป็นตัวแทนประเทศไทยในการ แข่งขันในครั้งนี้ด้วย 10 RHYTHM

เรียว โกโต เกิดทีน่ วิ ยอร์ค เป็นศิลปินเดีย่ วไวโอลิน ระดับซุปเปอร์สตาร์รนุ่ ใหม่ทมี่ าแรงทีส่ ดุ คนหนึง่ ในยุค ปัจจุบัน ซึ่งมีอายุเพียง 24 ปี ในปีหน้าเขาจะแสดง เดี่ยวไวโอลินคอนแชร์โต้หมายเลข 1 ของ Paganini กับวง Munich Philharmonic อ�ำนวยเพลงโดย Lorin Maazel และเขาเป็นศิลปินในสังกัดค่ายเพลง Deutsche Grammophon โดยจะจัดคอนเสิร์ต ขึ้นที่ประเทศไทยในวันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555 เวลา 20.00 น. ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย หอประชุมใหญ่ สาวกของหนุ่มคนนี้ไม่ควรพลาดกับ งานนี้โดยสามารถหาซื้อบัตรได้ที่ thaiticketmajor ราคา 500 - 2500 บาท

การแข่งขันการร้องประสานเสียงโลก เตรี ย มพบกั บ การแข่ ง ขั น การร้ อ ง ประสานเสียงระดับโลก “World Choir Games 2012” ที่เมือง Cincinnati, Ohio ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ในช่ ว ง ระหว่างวันที่ 4 -14 กรกฎาคม 2555 โดยมีคณะนักร้องประสานเสียงจากเมือง ไทยจ�ำนวน 3 ทีมด้วยกันจากสาธิตกจุฬา ม.พายัพเชียงใหม่ แล้วก็วงสวนพลู ยังไง พวกเราชาวนักดนตรีเมืองไทย ช่วยเป็น ก�ำลังใจให้กับตัวแทนประเทศไทยทั้ง 3 ด้วย เพราะจะเป็นการสร้างชื่อเสียงให้ กับเมืองไทยและเผยแพร่วัฒนธรรมไทย ให้ชาวต่างชาติได้เห็นผ่านบทเพลงการ ร้องประสานเสียง


แผนการเรียนศิลป์-ดนตรี โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย เชียงใหม่

World Music Contest 2009, Kerkrade, Netherlands.

ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่

ฝ่ายวิชาการ (ศิลป์-ดนตรี)

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกมัธยม (053) 245572-5 ต่อ 421, 404, 406

Fax. (053) 245571 www.montfort.ac.th

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ด�ำเนินงานด้านการศึกษาในสายสามัญโดยเฉพาะ แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์, แผนการเรียนศิลป์-ฝรัง่ เศสและภาษาจีน นอกจากนัน้ ยังมีกจิ กรรมทีส่ ร้างชือ่ เสียงให้กบั โรงเรียนเป็นอย่างยิง่ คือ กิจกรรมวง โยธวาทิต โดยโรงเรียนได้สง่ เสริมกิจกรรมด้านดนตรีสากล ให้กบั นักเรียนอย่างต่อ เนื่องในลักษณะนอกเวลาเรียน และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระศิลปะ แผนการเรียนศิลป์- ดนตรี เริ่มขึ้นในปีการศึกษา 2553 เพื่อรองรับความ ต้องการของนักเรียน ที่ต้องการเรียนวิชาดนตรีเป็นวิชาหลัก และสามารถน�ำไป สอบเพื่อศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยได้ ซึ่งผลงานด้านวงโยธวาฑิตและด้าน ดนตรีเป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ สาธารณชนอย่างชัดเจนเสมอมาตลอดระยะเวลากว่า 80 ปี


EVENT NEWS Amazing Rachmaninov

ละครเพลง Blood Brothers

6-7 กรกฎาคม 2555 คอนเสิ ร ์ ต Amazing Rachmaninov โดยวง ดุรยิ างค์ฟลี ฮาร์โมนิกแห่ง ประเทศไทย วงดุ ริ ย างค์ ฟ ี ล ฮาร์ โมนิ ก แห่ ง ประเทศไทย หรือ TPO ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลไทย ในการดูแลของวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดคอนเสิร์ต Amazing Rachmaninov โดยมี Gudni A. Emilsson หัวหน้าวาทยกรประจ�ำวงมาคอนดักต์ พร้อมกัน นี้ ยังได้พบกับบทเพลง Flute Concerto in E minor op.57 ของ Saverio Mercadante นักประพันธ์อิตาลี โดยได้ Guiseppe Nova นักฟลู้ทชาว อิตาลี น�ำฟลู๊ททอง 19.5 กะรัต (19.5 carats gold Powell flute) ที่ผลิต ขึ้นมาเพื่อเขาโดยเฉพาะ มาเป็นโซโลอิสท์บรรเลงเพลงนี้ ร่วมกับวง TPO

Solidarity Concert เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2555 วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย (TPO) ในการดูแลของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับ เชิญไปแสดงในงานระดมทุนเพือ่ การก่อสร้างอาคารเรียนและเอนกประสงค์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในชื่อคอนเสิร์ต " Solidarity Concert" โดยมี พิชญาภา เหลืองทวีกิจ นักไวโอลีน และ วิศุวัฒน์ พฤกษ วานิช นักแซกโซโฟน มาร่วมบรรเลงบทเพลงอันไพเราะ อ�ำนวยเพลงโดย พันตรี ประทีป สุพรรณโรจน์ จัดขึ้น ณ โรงละครกาดเธียเตอร์ อุทยาน การค้ากาดสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ งานครั้งนี้มีกลุ่มนักเรียน นักศึกษาที่ สนใจในด้านดนตรี ให้ความสนใจกับเป็นอย่างมาก

50 Anniversary SINO-THAI เ มื่ อ วั น ที่ 7 มิ ถุ น า ย น 2555 วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิก แห่ ง ประเทศไทย (Thailand Philharmonic Orchestra หรือ TPO) ภายใต้การสนับสนุน ของรัฐบาลไทย ในการดูแลของ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับเชิญไปแสดงในงาน 50 Anniversary SINO-THAI พร้อมทั้ง วง String Quartet วง TPO Brass Quintet วง Saxophone Quartet มาร่วมสร้างสีสันในงาน ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ 12 RHYTHM

เมื่ อ วั น ที่ 28-30 มิ ถุ น ายน 2555 วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการแสดงละครเพลง จัดการแสดงละครเพลง Blood Brothers “อาถรรพ์สายโลหิต” ละครเพลงเต็มรูปแบบพร้อม ฉาก แสง สี เสียง มีบรรยายไทย-อังกฤษ ใช้วงดนตรีสดบรรเลงทุก รอบ โดยได้ ริชาร์ด ราล์ฟ ผู้ก�ำกับมากฝีมือที่การันตีด้วยผลงานการ ก�ำกับแสดงละครเพลงที่มีในระดับนานาชาติ ยุทธพล ศักดิ์ธรรม เจริญ วาทยกรควบคุมวงดนตรี และคอลลีน เจนนิงส์ ควบคุมเสียง ร้องของเหล่านักศึกษาสาขาการแสดงละครเพลง ละครเพลง Blood Brothers “อาถรรพ์สายโลหิต” เป็นเรื่องที่ Willy Russell ผู้เขียน บทและดนตรีเป็นละครเพลงได้บอกเล่าเรือ่ งราวความเศร้าสลดใจของ ฝาแฝดผู้ถูกกีดกันให้พลัดพรากจากกัน แต่สุดท้ายก็ได้พบกันและรัก ผูห้ ญิงคนเดียวกัน เรือ่ งราวบอกเล่าสะท้อนความคิดหลากหลายอย่าง เช่น ปัญหาความเหลื่อมล�ำ้ ระหว่างคนรวยกับคนจน ปัญหาเรื่องการ เลี้ยงดูบุตรบุญธรรม ไสยศาสตร์ความเชื่อที่มีผลต่อการด�ำเนินชีวิต ปัญหาวัยรุ่นและการปรับตัวเข้าเป็นวัยผู้ใหญ่ ฯลฯ

HONG KONG INTERNATIONAL YOUTH MARCHING BAND COMPETITION 2012

เมื่อเวลา 21.30 น.วันที่ 3 มิถุนายน 2555 นางศราพร กรอบมุข ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสากลศึกษาบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี พร้อม ด้วยผู้ปกครองนักเรียนจ�ำนวนมากได้เดินทางมาที่อาคารผู้โดยสาร ขาเข้าสนามบินสุวรรณภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ เพือ่ รอรับบุตรหลาน ซึง่ เป็นนักเรียนของโรงเรียนสากลศึกษา บางบัวทอง กว่า 64 ชีวติ ทีเ่ ดิน ทางไปแข่งขันวงโยธวาทิต HONG KONG INTERNATIONAL YOUTH MARCHING BAND COMPETITION 2012 ทีเ่ ขตปกครองพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน 2555 ถึงวัน อังคารที่ 3 กรกฎาคม 2555 โดยสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศระดับ โลกประเภท Junior Championship จูเนียร์ แชมเปี้ยนชิฟ ซึ่งเป็น รางวัลสูงสุดของการแข่งขันในครั้งนี้มาได้ ซึ่งถือว่าได้สร้างชื่อเสียงให้ กับประเทศไทยอย่างมากเลยทีเดียว


Marcato Saxophone Pro Shop

ส�ำหรับผู้ที่รักแซกโซโฟน เรามีแซกโซโฟนให้ท่านเลือกมากมาย ตั้งแต่ระดับนักเรียนถึงระดับมืออาชีพ พร้อมทั้งอุปกรณ์และการรับประกัน

เชิญทดลอง

Yanagisawa Saxophone A-992 นวัตกรรมตัวเครื่องบรอนซ์ พร้อมการตอบสนองที่ชัดเจน ด้วยช่วงกว้างของไดนามิค ที่ให้เสียงอันอบอุ่นและไพเราะ

Marcato Music Co.,Ltd. บริษัท มาร์คาโต้ มิวสิค จ�ำกัด 3 ซอยรามค�ำแหง 12 หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-7173976-77, 086-7990077 แฟกซ์ 02-7173975 www.marcato.co.th Email: info@marcato.co.th

ตัวแทนจ�ำหน่าย Yamaha, kenneth, Yanagisawa, Hoffner String, Meyer Mouthpiece, Jody Jazz Mouthpiece, Otto Link Mouthpiece, Claude Lakey Mouthpiece, Best Brass, Sibelius Software, Bam Case


วิทยาลัยดุริย เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: มหาวิทยาลัยพายัพ

อาคาร ศรีสังวาลย์

วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย ศิ ล ป์ พั ฒ นามาจากแผนกดนตรี ค ริ ส ตจั ก รวิ ท ยาลั ย พระคริสตธรรม ในระยะแรก มีฐานะเป็น สาขาวิชา สังกัดคณะมนุษยศาสตร์ นับเป็น 1 ใน 8 สาขาวิชาแรกที่เปิดด�ำเนินการพร้อมกับการก่อตั้งวิทยาลัยพายัพเมื่อปี พ.ศ.2517 โดยมีอาจารย์แคโรลีน คิงสฮิลล์ เป็นหัวหน้าสาขาวิชาดุริยศิลป์คนแรก การจัดการเรียนการสอนมุง่ เน้นให้นกั ศึกษามีความรูท้ างวิชาการดนตรีสากลแบบ รอบด้าน เพื่อให้สามารถท�ำงานด้านดนตรีได้อย่างหลากหลาย

มหาวิทยาลัยพ

14 RHYTHM


ยศิลป์ HISTORY ในปี พ.ศ. 2548 ภาควิชาดุริยศิลป์ ได้ปรับปรุงหลักสูตรและจัดการเรียนการ สอนให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ที่มีความ ต้องการผู้เชี่ยวชาญดนตรีเฉพาะทางมาก ขึ้น โดยแบ่งกลุ่มวิชาออกเป็น 6 แขนงวิชา คือ ดนตรีศึกษา ดนตรีเชิงพาณิชย์ การ ประพันธ์เพลง ดนตรีแจ๊ส ดนตรีศาสนา และ การแสดงดนตรี การจัดกลุม่ แขนงวิชาท�ำให้ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนในกลุ่มแขนง วิชาที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ ตามความ ถนัดของแต่ละคน สามารถพัฒนาทักษะ ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและสามารถ แข่งขันในตลาดแรงงานได้ ในปี พ.ศ. 2549 ภาควิชาดุริยศิลป์ได้ เปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยศิลป์ ประกอบ ด้วยกลุ่มวิชา 4 แขนงวิชา คือ ดนตรีศึกษา ดนตรีชาติพนั ธุ์ การประพันธ์เพลง และการ แสดงดนตรีสากล จากการขยายงานด้าน การเรียนการสอนและการบริการวิชาการ ในปี พ.ศ. 2551 ภาควิชาดุรยศิลป์จึงได้รับ การปรับสถานภาพเป็นวิทยาลัยดุริยศิลป์

ได้รับเชิญเป็นวิทยากร กรรมการตัดสินใน กิจกรรมบริการวิชาการต่างๆ และเข้าร่วม กิ จ กรรมการจั ด แสดงดนตรี ใ ห้ แ ก่ อ งค์ ก ร หน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ วิทยาลัยดุริยศิลป์ ยั ง มี แ หล่ ง บริ ก ารวิ ช าการด้ า นดนตรี ห ลาก หลาย เช่น 1. โครงการดนตรีเยาวชน ที่มุ่งส่งเสริม ศักยภาพด้านดนตรีให้แก่นักเรียนเยาวชนใน เชียงใหม่ 2. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานดนตรีของ สถาบัน Trinity Guildhall of London 3. เป็นสถานที่ประสานงานของสมาคม นักเปียโนภาคเหนือ

นอกจากนี้ คณาจารย์และนักศึกษา ของวิทยาลัยดุริยศิลป์ยังมีบทบาทส�ำคัญ ในแสดงของวงเยาวชนเชียงใหม่ซิมโฟนี ออร์เคสตรา (The Chiang Mai Philharmonic Youth Band & The Chiang Mai Symphony Orchestra) อันเป็น วงคอนเสริต์ดนตรีคลาสสิกที่มีชื่อเสียง ของจังหวัดเชียงใหม่ และพัฒนาวง Big Band Jazz ของวิทยาลัยดุริยศิลป์ ด้วย เจตนารมณ์ ที่ จ ะพั ฒ นาดนตรีของภาค เหนือ เปิดโอกาสให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ และให้ผู้ที่สนใจเรียนด้าน ดนตรีได้มโี อกาสเรียนรูไ้ ด้อย่างกว้างขวาง และลึกซึ้งในศิลปะการดนตรี

วิ ท ย า ลั ย ดุ ริ ย ศิ ล ป ์ มี กิ จ ก ร ร ม บริ ก ารวิ ช าการทั้ ง ภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยอย่างกว้างขวาง คณาจารย์

พายัพ

RHYTHM 15


วิทยาลัยดุริยศิลป์เปิดสอนดนตรีในระดับต่างๆ หลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาโท หลักสูตรระยะสั้น

ส�ำหรับนักดนตรี ครูสอนดนตรี หรือ ศิ ล ปะ ที่ ก� ำ ลั ง สอนหรื อ ท� ำ งานในที่ ต่างๆ และสนในที่จะเพิ่มความรู้ด้าน ดนตรีให้แก่ตนเอง สามารถสมัครเข้า มาเรียนได้ เป็นหลักสูตร 1 ปี

หลักสูตรศิลป์ดนตรี ส�ำหรับนักเรียนมัธยมปลายที่มีความ

สนใจและอยากเป็นนักดนตรี ประกอบ อาชี พ เกี่ ย วกั บ ดนตรี สามารถที่ จ ะ เลือกเรียนเอก ศิลป์-ดนตรีได้ ขณะนี้ วิทยาลัยดุริยศิลป์ได้ท�ำการเปิดศิลป์ดนตรีร่วมกับโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย และในปีหน้านี้โรงเรียนดารา วิทยาลัยก็จะเข้ามาร่วมท�ำหลักสูตรนี้ เช่นกัน

หลักสูตรสถาบันดนตรี เปิ ด สอนดนตรี ส� ำ หรั บ บุ ค คลทั่ ว ไป

ตั้งแต่เด็กอายุ 2 ขวบจนถึง 70-80 ปี สอนทุกอย่างเกี่ยวกับดนตรี ไม่ว่าจะ เป็น เปียโน กีตาร์ กลอง ร้องเพลง ทฤษฏีดนตรี และอื่นๆ ทั้ง Classical music และ Rock music

วง Acappella 7 โครงการเสริมหลักสูตรและนอกหลักสูตร เ ช ่ น ก า ร ท� ำ กิจกรรมร่วมกับ มูลนิธวิ งดุรยิ างค์เยาวชนเชียงใหม่ (The Chiang Mai Youth Philharmonic Band and Symphony Orchestra), Big Band Jazz, คณะนักร้องประสานเสียง หรือ การท�ำกิจกรรมใน โครงการ Student Exchanged ระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัย พายัพและนักศึกษาต่างชาติโดยการจ่ายค่าเทอมที่เมืองไทยแต่ตัว ไปเรียนที่ต่างประเทศ

ผลงานของศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน ศิลปินวง ETC, Acappella 7, นิว-จิ๋ว , Sixty Miles, Raccoon party เป็นต้น ปี 2554 Esther นางสาว ซู ฮวั น ชา นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 วิทยาลัยดุรยิ ศิลป์ มหาวิทยาลัย พายัพ ได้เป็นตัวแทนระดับ มหาวิ ท ยาลั ย ทั่ ว ประเทศ ผ่ า นเข้ า รอบชิ ง ชนะเลิ ศ การประกวดแข่ ง ขั น เปี ย โน รายการ The Osaka International Music Competition ซึ่งแข่งขันที่เมือง Osaka ประเทศญี่ปุ่น

วง ETC 16 RHYTHM

UNIVE


วง Sixty Miles

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ“โครงการประกวดขับร้องเพลงประสานเสียง อุดมศึกษาเนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554” ได้รับเชิญให้ไปแสดงงาน International Trumpet Guild 2011, MN และงาน Asian Young Musician’s Connection, CA 2011. และยังได้ทัวร์คอนเสริต ในเมือง Chicago, Indiana, Minnesota และ California อีกด้วย

PAYAP ERSITY

นิว-จิ๋ว

RHYTHM 17


SINGING TOGETHER BRINGS NATIONS TOGETHER การแข่งขันครั้งนี้เปรียบเสมือนการแข่งขันกีฬา Olympic กล่าวคือมีการจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี และประเทศต่างๆ สลับกันเป็นเจ้า ภาพจัดการแข่งขัน มีการคัดเลือกผูเ้ ข้าร่วมแข่งขันจากประเทศต่างๆ ในปีนไี้ ด้กำ� หนดจัดขึน้ ในระหว่างวันที่ 4 – 14 กรกฎาคม 2555 มีจุด มุง่ หมายเพือ่ ให้คนหลายชาติ ได้มคี วามเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ผ่าน เสียงเพลงเป็นตัวขับกล่อม ในปีนี้มีผู้เข้าร่วมงานประมาณ 15,000 คน จาก 90 กว่าประเทศ มีประเภทการแข่งขัน 23 ประเภท คณะ นักร้องประสานเสียงมหาวิทยาลัยพายัพ ได้ผ่านการคัดเลือกให้เข้า ร่วมแข่งขันในประเภท Mixed Chamber Choir อ�ำนวยเพลงโดย อาจารย์ อายุ นามเทพ และประเภท Musica Contemporanea อ�ำนวยเพลงโดย ดร.ชัยพฤกษ์ เมฆรา บทเพลงที่คณะนักร้องประสานเสียงมหาวิทยาลัยพายัพ ใช้ ในการประกวดในประเภท Mixed Chamber Choir เป็นบทเพลง ที่ประพันธ์ขึ้นส�ำหรับคณะนักร้องที่ประกอบไปด้วยเสียง Soprano Alto Tenor และ Bass เป็นบทประพันธ์ที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์ บทเพลงส�ำหรับโชว์ความสามารถ ความเป็น ensemble หรือ team work และบทประพันธ์ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม ซึ่งได้เลือกใช้บทเพลง จากทางล้านนาคือบทเพลง เสเลเมา

โดย ธเนศ วงศ์สิงค์ และยังมีเพลงจากเพื่อนบ้านชาวจีน ในบทเพลง Spring Dream โดย Chen Yi ผลการแข่ ง ขั น ปรากฏว่ า คณะนั ก ร้ อ งประสานเสี ย ง มหาวิทยาลัยพายัพ ได้รับรางวัลเหรียญเงิน จากการแข่งขันทั้ง สองประเภท น�ำความภาคภูมิใจมาสู่ ครอบครัว วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ และประเทศไทยเป็นอย่างมาก นอกเหนือจากการแข่งขันแล้วสมาชิกคณะนักร้องซึ่งเป็น นักศึกษาวิทยาลัยดุริยศิลป์ ปีที่ 2-5 ได้รับประสบการณ์ตรง จาก การที่ได้เปิดโลกทัศน์ และการแสดงในเวทีนานาชาติ ซึ่งถือได้ว่ามี ค่ามากกว่าการได้เหรียญเงิน เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ที่สอนแทบจะไม่ได้และหาเรียนจากห้องเรียนไม่ได้ นอกจากการ แข่งขัน คณะนักร้องประสานเสียงมหาวิทยาลัยพายัพยังได้รว่ มแสดง ใน Friendship Concerts ณ Fairfeild Green Valley และ College Hill Presbyterian Chuch ซึ่งในการแสดงแต่ละครั้งก็ได้มีโอกาส ได้เผยแพร่วัฒนธรรมล้านนาและประเทศไทยให้เป็นที่ประจักษ์แก่ นานาชาติ โดยได้อันเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์ในองค์พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช สายฝน และลมหนาว เพลงล้าน นา คือ เพลงล่องแม่ปงิ เสเลเมา และเพลงไทยเพราะๆ รักคุณเข้าแล้ว

บทเพลงทีใ่ ช้ในการประกวดประเภท Musica Contemporanea เมื่อแสดงเสร็จในแต่ละครั้ง จะได้รับค�ำชมและเสียงปรบมือ เป็นบทเพลงร่วมสมัยที่ประพันธ์ขึ้นใหม่และไม่เคยแสดงที่ไหนมา อย่างกึกก้องแต่ละการแสดงมีผู้ชมกว่า 1,000 คน และยังได้รู้จัก ก่อนจะต้องน�ำไป World Premiered ในงานนี้เท่านั้น ซึ่งเราได้น�ำ กับคนไทยในเมือง Cincinnati ที่ให้ความต้อนรับช่วยเหลือดูแลเป็น 2 บทเพลงใหม่ไปแสดงในครั้งนี้ คือ Poi Luang Parade (แห่ปอย อย่างดี ท�ำให้รู้สกึ ภาคภูมิใจในความเป็นไทยเป็นอย่างมาก หลวง) โดย ดร.ชัยพฤกษ์ เมฆรา และ Voices Without Owner 18 RHYTHM


What is the World Choir Games? The World Choir Games is the Olympics of choral music. For more than a decade, the Games have united people from around the world through the power of song and in the spirit of friendly competition. Throughout the event’s history, more than 2,000 choirs have participated in competitions across Europe and Asia. In 2012, the World Choir Games took place this July 4-14 in the United States for the first time ever. Hundreds of choirs and thousands of visitors have come to Cincinnati to share their cultural heritage and to celebrate our global community with music, the common language of the world. ต่ อ ไปในอนาตดหวั ง ว่ า ประเทศไทยและ หน่วยงานต่างๆ จะให้ความสนับสนุนการแข่งขัน World Choir Games ของคณะนักร้องตั ว แทน ประเทศไทยมากขึ้น เพื่อให้ทุกๆ วงจะได้มีเวลา และทุ ่ ม ความสามารถ ให้กับการฝึกซ้อมอย่าง เต็มที่ เพื่อให้ได้รางวัลชนะเลิศเหรียญทองในการ แข่งขันครั้งต่อๆ ไป

RHYTHM 19


2012

WORLD CHOIR GAME

Competed Category 7 Mixed Chamber Choirs Conducted by Ayu Namtep 20 RHYTHM


Competed Category 15 Musica Contemporanea Conducted by Chaipruck Mekara

ES

RHYTHM 21


เรื่อง: สุคนธรส ไทยยืนวงษ์ ภาพ: Nontri Orchestra Winds

DID YOU KNOW

&

Mr.Satoshi Yagisawa Nontri OrchestraWinds

(NOW.)

Thai & Japanese Friendship Concert

คอนเสิร์ตแห่งมิตรภาพ เ มื่ อ ห ล า ย ป ี ที่ ผ ่ า น ม า น น ท รี ออร์เครสตร้าวินด์ ได้หยิบเอาผลงานเพลงซึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีทั้งเพลง Classic ,Pop และ เพลงไทยร่ ว มสมั ย และแน่ น อนย่ อ มต้ อ ง น� ำ เอาบทประพั น ธ์ ที่ ถู ก เรี ย บเรี ย งส� ำ หรั บ เครื่องลมโดยเฉพาะมาบรรเลง และหนึ่งใน นั้นคือเพลงที่ Mr. Satoshi Yagisawa ได้ ประพันธ์เอาไว้ นนทรีออร์เครสตร้าวินด์ได้ มี โ อกาสบรรเลงเพลงภายใต้ ก ารประพั น ธ์ ของผู้ประพันธ์ชาวญี่ปุ่นรายนี้อยู่หลายต่อ หลายเพลง และมีผู้น�ำบันทึกการแสดงไปลง ในเวปไซด์ Youtube นั่นคือที่มาของการได้ มาพบกับวงของ Mr. Satoshi

22 RHYTHM

คุณ Satoshi เล่าให้สมาชิกในวงฟัง ว่า เขาได้มีโอกาสชม และฟังเพลงที่วงนนทรี แสดง ผ่านทาง Youtube และรู้สึกทึ่งเพราะ เขารู้สึกถึงว่าท่วงท�ำนองเหล่านั้นได้ออกมา จากหัวใจของนักดนตรีภายในวงทุกคน เขา จึงเร่งติดต่อผ่านมาทาง Facebook เพื่อ ขอเข้ามาดูวงซ้อมและร่วมแสดงคอนเสิร์ต ในไทย คุ ณ Satoshi กล่ า วไว้ ค รั้ ง หนึ่ ง ว่ า "ความสัมพันธ์ของวาทยากรกับนักดนตรี มิ อาจแนบแน่นเท่าที่ครูมีต่อศิษย์" หลังจาก ที่ ไ ด้ เ ห็ น การฝึ ก ซ้ อ มของ นนทรี ภายใต้ การดูแลโดย อ.สุรพล ธัญญวิบูลย์ และเช่น เดียวกัน คุณ Satoshi เคยพูดกับ อ.สุรพล ว่า "คุณคือวาทยากร ผู้ยิ่งใหญ่" โดย อ.สุรพล ตอบพร้อมกับรอยยิ้มที่ถ่อมตัวว่า "ไม่หรอก ครับ ผมก็แค่ครูธรรมดาคนหนึ่ง" ทั้งคู่นับถือ และให้เกียรติกัน อย่างมาก. อาจารย์หลายท่านภายในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ยังไม่รู้ด้วยซ�้ำว่าองค์กรมีวง ดนตรีดีๆ อยู่อีกวงหนึ่ง แต่ทุกท่านที่มีโอกาส ได้มาชมการแสดงดนตรีของวงนนทรี ก็จะถาม เสมอว่า "เมื่อไหร่จะมีอีก" และอีกหลายท่าน

กลายเป็นกลุม่ ประจ�ำในการเข้าชมไปเสียแล้ว บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลายต่อหลายท่านล้วนให้การสนับสนุนวงใน ทุกด้านเป็นอย่างดี โดยเฉพาะอาจารย์ภายใน ภาควิชาดนตรี ทั้งให้การสนับสนุน การมีส่วน ร่วมต่างๆ เพื่อช่วยท�ำให้ผลงาน Concert Thai-Japanese Friendship Concert ส�ำเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี

Mr.Satoshi Yagisawa


RHYTHM 23


สนุกกับเทคโนโลยี ดนตรีง่ายนิดเดียว

Music Technology ACOUSTIC DESIGN 2 เรื่อง : ปิยทัศน์ เหมสถาปัตย์ Commercial Music Production Cincinnati College-Conservatory of Music,USA piyatutred@gmail.com

สวัสดีครับผูอ้ า่ นทุกท่าน หลังจากทีฉ่ บับทีแ่ ล้วเราได้พดู เกีย่ วกับเรือ่ งปัญหาต่างๆของ Acoustic Design ไปแล้วในฉบับนี้ผมจะมาลงลึกเกี่ยวกับ วัสดุ หรือวิธี แก้ปัญหาของห้องนั้นๆ เบื้องต้น อย่างง่ายๆ เลยนะ ครับ ว่าแล้วก็อย่ารอช้ามาเริ่มกันเลยดีกว่าครับ เริ่มด้วยสิ่งที่ง่ายที่สุดก็คือการ “ปิดมุม” ซึ่งมุมที่ว่านี้เป็นที่ที่มีการสะท้อนกลับไปมาของเสียงเกิดขึ้น เยอะที่สุดในห้อง การปิดมุมห้องนั้นท�ำไม่ยากครับ ลองดูตัวอย่างจากรูปนี้นะครับ จะสังเกตุได้ว่ามีการน�ำแผ่นสี่เหลี่ยมมาปิดตรงมุมห้องเอาไว้ หากเราท�ำแบบนี้ทุกๆมุมของห้องที่เป็น สีเ่ หลีย่ มจตุรสั เราจะได้หอ้ งทีเ่ ป็นแปดเหลีย่ มแทน ซึง่ จะลดมุมสะท้อน 90 องศาทีม่ มุ ห้อง ให้กลายเป็นมุม 135 องศาแทน และหากเราท�ำแบบนี้กับฝั่งเพดานห้องด้วย แบบในรูปก็จะช่วยเช่นกันครับ โดยวัสดุทใี่ ช้อาจจะเป็นไม้เปล่าๆ หรือว่าไม้ทแี่ ปะฟองน�ำ้ รังไข่ทหี่ าได้ไม่ยากก็ได้ครับ ก็แล้วแต่วา่ อยาก จะให้ห้องมันเสียงแห้งแค่ไหนครับ(ในหลายๆกรณีนักดนตรีไม่ชอบห้องที่เสียงแห้งเกินไป) ต่อมาก็คงเป็นเรื่องที่หลายๆคนน่าจะรู้อยู่แล้วก็คือการติดพวกฟองน�้ำซับเสียงทั้งหลาย ซึ่งมีหลาก หลายชนิดมาก แล้วแต่ระดับคุณภาพราคา ส่วนที่เป็นที่นิยมที่สุดก็คงจะเป็นฟองน�้ำแบบรังไข่ตามรูป ซึ่ง หาได้ง่ายและราคาถูก วิธีการติดฟองน�้ำพวกนี้ไม่ได้ fix ชัดเจนเพราะว่าแต่ละลักษณะของห้องนั้นมีลักษณะนะของการ สะท้อนที่ต่างกัน อีกทั้งแต่ละคนมีความต้องการจะให้เสียงของออกมาไม่เหมือนกัน ดังนั้นจะติดตรงไหน บ้างมากหรือน้อย ผมไม่สามารถแนะน�ำได้ แต่แนะน�ำให้ลองติดดูในที่ๆ คิดว่าจะเป็นจุดตกกระทบที่แรก ของล�ำโพง,แอมป์ ซึ่งจะช่วยลดการสะท้อนของเสียงได้ในระดับหนึ่งเลยทีเดียว เรือ่ งสุดท้ายทีผ่ มอยากจะพูดถึงคือเรือ่ งของวัสดุ ส่วนใหญ่ แล้วในหลายๆที่ที่ผมเห็น วัสดุที่ใช้ท�ำก�ำแพงมักจะไม่ซับซ้อน คือก่อด้วยปูนแล้วโปะทับอีกชั้นด้วยยิปซัม (ซึ่งหลายๆคนจะ เจอปัญหาที่ว่ามักจะชอบมีคนมาแกะแคะแงะให้มันหลุดร่วง จนพื้นสกปรกเป็นประจ�ำ) ส่วนวัสดุอื่นๆก็เช่น Rock Wool (ใยหิน), Glass Wool (ใยแก้ว) เป็นต้น ส่วนพื้นหลายๆ ที่ก็มัก จะมีการปูพรม ซึง่ ช่วยได้พอสมควรในเรือ่ งการลดเสียงสะท้อน แต่ก็เพิ่มความล�ำบากในการท�ำความสะอาดด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีเทคนิคขั้นสูงที่ค่อนข้างจะต้องการการ ค�ำนวณอย่างดี และ ใช้งบประมาณมากขึ้นในการท�ำเช่นการ ท�ำก�ำแพง 2 layer, การท�ำพื้นอีกชั้นนึงและใส่สปริงเข้าไป ตรงกลาง หรือแม้แต่การท�ำเพดานชัน้ ทีส่ องซึง่ แขวนลงมาจาก เพดานชัน้ แรกเป็นต้น ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ เรือ่ งพวกนีต้ อ้ งการการศึกษา การค�ำนวณ ซึ่งผมไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Acoustic Design จึงไม่สามารถอธิบายให้ละเอียดได้

เรื่องที่สาม ก็เป็นเรื่องที่มองข้าม ไม่ได้เลยเหมือนกัน ซึ่งก็คือเรื่องของ ประตู ควรจะเป็นประตูที่มียาง seal ให้สนิทเวลาที่ปิดเพื่อป้องกันเสียงที่ รั่วออกไปข้างนอก จะดีมากๆหากสามารถท�ำประตู ได้สองชั้น ความแตกต่างในเรื่องการ รั่วของเสียงระหว่างประตูชั้นเดียวกับ ประตูสองชัน้ นัน้ สามารถเห็นได้ชดั เลย ทีเดียว ประตูหนีไฟเป็นหนึง่ ในประตูที่ ได้รับความนิยมในเรื่องความแข็งแรง ความหนาของประตู และใช้กนั ในห้อง อัดเสียงหลายๆทีแ่ ต่อาจจะมีราคาทีส่ งู หน่อย ซึง่ ตรงนีก้ แ็ ล้วแต่วา่ แต่ละคนจะ พิจารณานะครับ สุ ด ท้ า ยนี้ ข อพู ด ว่ า การท� ำ Acoustic Design นั้นควรจะคิดถึง งบประมาณที่ มี อ ยู ่ เ ป็ น อั น ดั บ แรก พยายามจั ด สรรการใช้ เ งิ น กั บ ดู สภาพห้ อ งที่ เรามี อ ยู ่ ใช้ สิ่ ง ที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ เป็นประโยชน์ อย่างเช่นการที่การท�ำ Bed Room Studio (ห้องอัดในห้อง นอน) เป็นทีน่ ยิ มก็เพราะว่า มีเตียง, ผ้า ม่าน, โซฟา, พรม และอีกสารพัดอย่าง 24 RHYTHM

ทีช่ ว่ ยซับเสียง ให้เราท�ำงานได้ในระดับหนึง่ หรือแม้แต่หลายๆ คนจบงานใน Bed Room Studio ก็มีเช่นกัน ดังนั้นการ จัดสรรงบประมาณในการ Design Acoustic และการเข้าใจ สภาพห้องของเรา ให้ดี จึงเป็นเรื่องที่ ส�ำคัญมากๆเลยที เดียว ส�ำหรับฉบับ นี้ผมขอลาไปก่อน นะครับ สวัสดีครับ


Amethyst Mallet Instruments

ผลิตและจัดจ�ำหน่าย Marimba Vibraphone Xylophone โครงสนาม รับซ่อมเครื่อง Percussion ทุกประเภท Amethyst Mallet Instrument 54/3 หมู่ 4 ต.คลองจุกกระเฌอ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 โทร. 089-8923420 www.amethystmallets.com


เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: สุรเชษฐ์ ชานกสกุล

ASK EXPERT

สุรเชษฐ์ ชานกสกุล มิตรภาพที่ดี เกิดจากดนตรีรอบตัวเรา

วินาทีที่เริ่มรู้จักดนตรี ผมรูจ้ กั ดนตรีโดยบังเอิญตอนประถม 4 ทีค่ นข้างบ้านเอา Electone มาเล่นที่บ้านผมเนื่องจากบ้านผมรับเลี้ยงเด็กโดยคุณยาย ท�ำให้ผมอยู่กับ น้องๆ หลายคนในบ้านหลังนีแ้ ละเค้าก็พก Electoneมาบ้านยายทุกวันผม เลยขอเค้าเล่นด้วย และเพลงแรกทีห่ ดั แกะเล่นก็คอื เพลง “สยามมานุสติ” โชคดีมากตอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่โรงเรียนนารีนิรมล สุขุมวิท ได้ ตัดสินใจซื้อ กลองใหญ่ 1 ใบ กลองแต๊ก 2 ใบ ฉาบ 1 ใบ และ Melodian 1 ตัว เพื่อใช้ในงานกีฬาสี ผมโชคดีที่ได้รับโอกาสนั้นเพราะครูเห็นว่าเล่น เพลง “สยามมานุสติ” นั้นคือแรงพลังดันให้ผมชอบดนตรี เพราะผมอยู่ กับ เมโรเดียนนี้ 2 ปี และจริงๆผมก็เป็นคนชอบร้องเพลงมากในช่วง ก็ จะเป็นยุคของไมโคร ร้องได้ทุกเพลง 55 ผมมีความสนใจในวงโยธวาทิต มาตั้งแต่นั้นโดยเวลามีรุ่นพี่ในวงเมโลเดียน ที่ไปต่อโรงเรียนอื่นและเข้า วงโยฯ ผมจะชอบถามเค้าเสมอว่า เป็นไงบ้าง สนุกไหม ผมอยากร่วม กิจกรรมนี้มาก มันเท่ห์ดี จากนั้น ช่วงเปลี่ยนส�ำคัญอยู่ตรงนี้เพราะว่า ผมจะเลือกเข้าเรียนโรงเรียนศรีวิกรณ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชน แต่ผมไป สอบเข้าโรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง ตรงเอกมัย ตามเพื่อนๆ และพี่ๆ ในวง เมโลเดียนของผม และผมก็โชคดีที่สอบติด ท�ำให้ที่บ้านตัดสินใจให้เรียน

์Nanchang International Tattoo 2011, China

1st Place Division I, 2012 26 RHYTHM

โรงเรียนรัฐบาล ซึ่ง เรียนโรงเรียนนี้ไม่ได้ตื่นเต้นอะไร จนมีเช้าวันหนึ่ง มี วงโยธวาทิตประจ�ำโรงเรียนลงมาเล่นเพลงชาติ และ เวลาปล่อยนักเรียน ขึ้นชั้นเรียน เขาเล่นเพลง Hawaii Five-0 ผมชอบมากๆ เพราะได้ยิน บ่อยๆ ใน โฆษณาของ “สวนสยามทะเลกรุงเทพ” ผมแอบไปยืนหน้า ห้องวงโยฯบ่อยๆ เพราะชอบเห็นเครื่องดนตรีมันได้เห็นแล้วมีความสุข ไม่รู้ท�ำไมเหมือนกาน และเช้าวันหนึ่งเค้าประกาศรับสมัครนักเรียนวง โยวันเดียว มีคนไปสมัคร 300 กว่าคน ฝึกแถวกันอยู่ 3 เดือนกว่าๆ คน ก็ค่อยๆ หายไปเรื่อยๆ จนเหลือคนที่รักกิจกรรมนี้เพียงแค่ 9 คนในรุ่น ของผม ผมโชคดีมากทีไ่ ด้รบั การดูแลเอาใจเป็นอย่างดีจากรุน่ พีท่ มี่ ธั ยมวัด ธาตุทอง ซึ่งในยุคนั้น ความรู้ด้านการปฎิบัติดนตรียังอยู่ในวงแคบๆ แต่ พี่พิพัฒน์ คงคาร พี่สุรภาพ เดชพรหม และ พี่อนุพงษ์ มุ่งสมานกุล เป็น บุคคลส�ำคัญในชีวติ วงโยฯของผม จึงอยากจะขอขอบคุณผ่านบทความนี้ ครับ มัธยม 1-3 ผมได้มีโอกาสร่วมประกวดวงโยธวาทิตนิสิตนักศึกษา 2 ครั้ง และกิจกรรมดีๆ อีกมากมายที่คิดว่าถ้าขาดช่วงเวลานี้ ผมคงจะเป็น ผูช้ ายทีเ่ อาแต่ใจ ท�ำงานไม่ฟงั ใคร ไม่มคี วามอดทน ขอบคุณอะไรมากมาย ที่นี่ วงโยธวาทิตโรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง


จุดเปลี่ยน การเริ่มฉุกคิด ที่จะเรียนและอยู่กับดนตรี เริ่มตอนจบ ม.3 ต่อ ม. 4 ที่โรงเรียนเซนต์ดอมินิกด้วยเหตุผล ทางบ้านอยากให้ “ตั้งใจเรียน” ?? ผมเลิกเล่นดนตรีไปเลยตอนอยู่ ม.ปลาย เนือ่ งจากย้าย มาอยู่ที่ โรงเรียนเซนต์ดอมินิก ที่นี่ผมหยุดกิจกรรม ดนตรีเกือบทั้งหมดเพื่อเอาเวลามาตั้งหน้าตั้งตา เรียนซึ่งไม่ใช่สิ่งที่ ผมชอบนัก ไม่ใช่สงิ่ ทีผ่ มชอบนัก แต่เนือ่ งจากเพือ่ นๆ ในห้องเรียน เรียนเก่งกัน มากๆๆ ผมจึงต้องพยายามเรียนพิเศษ เพือ่ ไม่ให้ตวั เองเป็นทีส่ ดุ ท้ายของห้อง กลับ บ้านอ่านหนังสือ ท่องศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อให้มีความรู้พอที่จะทันเพื่อนๆ ใน ห้องเรียน แต่ก็แอบๆ ขึ้นไปบนห้องวงโยธวาทิตเล็กๆ ของโรงเรียนซึ่งไปขอน้องๆ ในวงเอาTrumpet มาเป่าบ้างสนุกๆ และไม่เคยคิดว่าจะต้องกลับมาเป่าจริงๆ จังๆ อีก จน มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเซนต์ดอมินิก ให้ความส�ำคัญกับกิจกรรม วงโยฯโดยส่งวงเข้าประกวด ผมได้รับการทาบทามจาก ม.รณชัย รัตนเศรษฐ และ ม.อิทธิพล เข็มประสิทธิ์ ให้มาช่วยโรงเรียนร่วมกิจกรรมแข่งครัง้ นัน้ และ ช่วงนีเ้ ป็น ช่วงเวลาทีส่ ำ� คัญทีท่ ำ� ให้ผมกลับมาเล่นดนตรีจริงจังอีกครัง้ โดยใช้ความรูท้ างด้าน ดนตรีสอบเข้า สาขาดนตรี ภาควิชาศิลปนิเทศ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (ปัจจุบันคือภาควิชาดนตรีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์) ผมกลับมาเล่นดนตรีอีกครั้งโดยพี่ๆ Staff ที่ช่วยสอนวงโยฯ ใน ยุคนั้น เขาเรียนดนตรีกันในหลายๆ ที่ อาทิเช่น จุฬา ม.เกษตร ประสานมิตร ราช มงคล ซึง่ ยุคนัน้ ก็มที ๆี่ เรียนดนตรีไม่กที่ ี่ แต่หลักส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ผมเลือกที่ เรี ย น ไม่ใช่เรื่องของความดังของสถาบัน แต่มันคือมิตรภาพที่ผมได้จากพี่ๆ ผมตัดสินใจเลือก ม.เกษตร อันดับเดียว เพื่ออยู่กับรุ่นพี่ที่มีความเป็น กันเองกับผมที่ชื่อ อ.เอ ถาวร อยู่สบาย แห่งโรงเรียนสวนลุมพินี (ในปัจจุบัน)

สัมผัสตรงในงานดนตรีที่ได้รับ หมดจากชีวิตวัยเด็กที่เล่นวงโยธวาทิต ก็เปลี่ยนตัวเองมาเป็นผู้สอนวง โยธวาทิตโดยเริ่มจากการเป็น Staff ที่ โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย ราชบุรี และ สอนวงโยธวาทิตอีกมากมายจนถึงปัจจุบัน ชีวิตผมมีโอกาสและประสบการณ์ วิ่ง เข้ามามากมาย จากความไว้ใจของพี่โก้ มิสเตอร์แซกแมน ให้ร่วมเล่นกับ Team

ผมคิ ด ว่ า โชคดี ที่ ตั ว เองมี แ นวความคิ ด ว่ า จะต้ อ ง “ใช้ดนตรีแสวงหามิตรภาพรอบๆ ตัว” โดยไม่ได้หวังผล ตอบแทนอะไรมากมาย ซึง่ เด็กๆเรียนดนตรีรนุ่ ใหม่ๆหลายคน ก็คิดเหมือนผม และผมคิดว่าพวกเราคิดไม่ผิด ผมดีใจที่ใน Facebook ของผมจะมีนอ้ งหลายๆ คนชอบพิมพ์มาหาผมว่า “You are my Idol” ทุกครัง้ ผมก็จะมีกำ� ลังใจกับค�ำพูดดีๆ ที่น้องๆหลายๆ คนมอบให้ อาจจะเป็นเพราะ ผมเล่นดนตรี ตัง้ แต่ ลูกทุง่ ไปถึง Symphony Orchestra โดยไม่รสู้ กึ ว่า สิง่ นีผ้ มเกลียด หรือผมไม่ชอบ หรือผมกลัว หรือผมไม่อยาก เล่น หรือผมเหนือ่ ย คือ ค�ำพวกนีแ้ ทบไม่มอี ยู่ในหัวผมเลย คือมี แนวความคิดในการเปิดใจพอสมควรกับการเล่นและสอนดนตรี ของผม มากพอสมควรสามารถติดตามแนวคิด และสิง่ ดีดดี ี ดีดดี ดี ี ของผมได้ที่ surasi ohn chanoksakul

Back Upที่ชื่อ “หนูท�ำได้” ร่วมเล่นกับพี่ฟอร์ด สบชัย ไกรยูรเสน และ อัดเสียงทั้งอัลบัมให้กับพี่ฟอร์ด ซึ่งตรง นั้นเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี ที่ได้เข้าสู่วงการ Brass Section Back Up ของเมืองไทย และ มี Album ให้กบั ศิลปิน และ เพลงโฆษนาอีกมากมาย อาทิ Bird Thongchai, Macha Concert, Amm Suawarak, Nong Plub, Nong Ploy, UHT, Endophine, Revelution, Koh Mr.saxman, Soul After Six, T-Bone, BYrd-Hart, Ha-Ru, JRP Big Band, Hineken Jazz Festival, Bangkok Jazz Festival, Infinity Band, Mr.Team Band, 10th years Berkery Concert, Groove Rider, Woman in Love Concert, Benmore, Hinneken, Love IS Concert, Boyd Eleven, Bird Concert, Chatri Band, Nopporn chamni,Jenifer Kim,Jan,Black Head,Ford,Nut Meria,Joe Pause,Bee Pherapat,Aum Varitda (Down town Story II),Wind Chill GMM Soul after six, ETC Band, T-six เศรษฐา ศิรฉายา ศรีไศล สุชาติวฒ ุ ิ The impossible GrandX และอื่นอีกมากมาย ร่วมไป ถึงอัลบัมลูกทุ่ง อีกมากมาก มากกว่า 1,000 เพลง ทั้งนี้ ไม่ได้คิดทิ้ง งานทางด้าน Symphony Orchestra จน ตัดสินใจเล่น Orchestra อย่างจริงจังเมื่อปลายปี 2007 ที่ Thailand Philharmonic Orchestra ในต�ำแหน่ง Principal Trumpet จนถึงปัจจุบัน และก็ไมได้หยุดที่จะ ท�ำวงโยธวาทิต และ workshop ดนตรีให้กบั น้องๆ ตอนนี้ ผมมีสงิ่ ทีท่ า้ ท้ายตัวผมมากๆๆ คือต้องการเล่นดนตรี Jazz ให้ได้ดีๆ ซึ่งผมก็ก�ำลังตั้งใจเรียนรู้มันจากการเล่นวง JRP little Bigband และ Brass Wave Band ในปัจจุบันที่ ร้าน Saxophone Pub และ VIE HOTLE RHYTHM 27


เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: CTC เชียงใหม่

NEW WAVE

อริษย์ ไทรรัตตัญญู (ลุค) พ่อสอนผมว่า

คนเราเกิดมาครั้งเดียว คิดอยากท�ำอะไร ให้ท�ำไปเลย

1st Place, Yamaha Band Battle

อริษย์ ไทรรัตตัญญู (ลุค) อายุ 17 ปี เกิดทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา แต่มาเติบโต ที่จังหวัดเชียงใหม่ เริ่มเรียนชั้นอนุบาลที่ โรงเรียนนานาชาติเชียงใหม่ (Chiangmai International School) ถึงขณะนี้ก�ำลัง เรียนเทอมสุดท้าย Grade 12 โดยเริ่ม เรียนเปียโนครั้งแรกตอนอายุ 9 ขวบ และเรียนดนตรีเรื่อยมา โดยคุณพ่อและ คุณแม่ให้การสนับสนุนทุกด้านเกี่ยวกับ ดนตรีซึ่งเป็นสิ่งที่ชื่นชอบ จนกระทั่งเมื่อ ตอนอยูเ่ กรด 9 ได้เรียน Bass อย่างจริงจัง ควบคู่กับการเรียนเปียโน กลอง กีต้าร์ ไฟฟ้า และเรียนการร้องเพลงด้วย เมื่อ ลุคได้เรียนรู้ว่าสิ่งที่เขาถนัดและรักและ มีความสุขมากที่สุดเมื่อได้เล่นก็คือ Bass จึงได้เข้าร่วมวงกับเพื่อนๆ ที่มีใจรักด้าน ดนตรีเหมือนกันที่โรงเรียนสยามกลการ นครพิงค์ และได้มีโอกาสได้เข้าแข่งขัน 28 RHYTHM

ระดับภาคและระดับประเทศมาตลอด จนกระทั่งในปีนี้ 2555 ลุคได้มีโอกาส ได้เป็นหัวหน้าวง ได้มีโอกาสร่วมในการ เขียนเพลง และได้รว่ มกับเพือ่ นๆ ในนาม วง Groove Unity เข้าแข่งขัน Yamaha Band Battle และได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นตัวแทนเข้าร่วมการแข่งขันรอบชิง ชนะเลิศ Thailand Asian Beat award เพื่อเป็นตัวแทนไปแข่งขัน Asian Beat Award ที่ประเทศสิงค์โปร์ ถึงแม้ว่าคุณ พ่อคุณแม่จะสนับสนุนอย่างเต็มทีใ่ นด้าน การเรียนดนตรีแต่กอ็ ยากให้ลคุ ได้ทำ� งาน อาชีพอืน่ และไม่คอ่ ยเห็นด้วยทีล่ คุ จะเอา ดีทางด้านอาชีพนักดนตรี แต่เมื่อเห็น ความตัง้ ใจของลุคและความสามารถทาง ด้านดนตรีแล้วคุณพ่อคุณแม่กไ็ ม่ได้ขดั ใจ และพร้อมทีจ่ ะสนับสนุนในทุกเรือ่ งในสิง่ ที่ลุครักและใฝ่ฝัน


ดังนั้นจึงได้สมัครเข้าเรียนที่ Berklee College of Music ที่บอสตัน สหรัฐอเมริกา ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นที่ ใ ฝ่ ฝ ั น มาตลอดชี วิ ต การ เล่นดนตรี ที่จะมีโอกาสไปเรียนที่นี่เพราะ โรงเรียนนี้มีชื่อเสียงมากในด้านดนตรีและ กฎเกณฑ์การคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนก็ยาก มาก แต่ก็มีโอกาสได้รับการคัดเลือกที่จะไป Auditionเพื่อเข้าเรียนที่ Berklee College of Music ซึ่ ง ทางโรงเรี ย นได้ ม าท� ำ การ คัดเลือกนักเรียนที่ประเทศสิงค์โปร์เมื่อเดือน มีนาคม 2555

ผมรูส้ กึ ขอบคุณพระเจ้าอย่าง มาก ที่สามารถผ่านการสัมภาษณ์ และขั้นตอนการ Audition ทุกอย่าง หวังว่าเมื่อเรียนจบ ผมจะใช้ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่ ได้ รั บ จาก Berklee College of Music มาท�ำงานด้านดนตรีที่ผม รักอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมทั้ง แบ่งปัน เผื่อแผ่ความรู้ทั้งหมดที่มี ให้กับผู้คนที่มีใจรักในดนตรีเฉกเช่น เดียวกับผมครับ

นายอริษย์ ไทรรัตตัญญู (ลุค) ได้ รั บ การคั ด เลื อ กเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ชั้ น น� ำ ข อ ง โ ล ก ที่ ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก าถึ ง 2 แห่ ง ได้แก่ Berklee College of Music, Boston, Massachusettes, USA ซึ่งเป็น มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงอันดับหนึ่ง ด้านดนตรี Jazz และอีกแห่งหนึ่งคือ Mc Nally Smith College of Music, St Paul, Minnesota,USA ทัง้ นีไ้ ด้ตดั สิน ใจเลือกศึกษาต่อที่ Berklee College of Music, Boston, Massachusettes, USA

RHYTHM 29


เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: Yamaha Band & Orchestra

Art& Acting

Branding Y โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย

โรงเรียนเทพศิรินทร์สมุทรปราการ ปัจจุบันวงโยธวาฑิตต่างๆ ที่เกิดขึ้นไม่ ว่าจะเป็นวงน้องใหม่หรือวงที่มีประวัติความ เป็นมาอันยาวนาน ล้วนแล้วแต่มีพัฒนาการ ในการสร้างนักดนตรีน้อยๆ ให้เกิดขึ้นเป็น ประจ�ำทุกปี ส�ำหรับวงโยธวาทิตวงหนึ่งนั้น เราจะเห็นว่าจะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี มากชิ้น ทั้งเครื่องเป่าและเครื่องกระทบ แต่ อีกสิ่งหนึ่งที่เป็น ความโดดเด่น ชัดเจน และ สวยงาม สะท้ อ นความเป็ น สถาบั น หรื อ องค์กรได้อย่างตรงๆ ก็คอื ชุดดุรยิ างค์ (Band Uniform) เพราะชุดดุริยางค์ คือสิ่งแรกที่ เราจะสัมผัสได้จากการมองเห็น เป็นสัมผัส แห่งความรูส้ กึ เข้าถึงจิตอารมณ์ของโรงเรียน นัน้ ๆ ได้โดยตรง เพียงแค่นกั ดนตรียนื จัดแถว ขาตรง แขนแนบชิดตัวหรืออยู่ในท่าเตรียม ก็รู้สึกได้แล้วว่า เท่ห์ มีพลัง จนอยากจะเล่น ดนตรีขึ้นมาทันที 30 RHYTHM

พลังอันซ่อนเร้นในชุดดุรยิ างค์นนั้ ย่อมเป็นที่มาของความเป็นเอกลักษณ์ และตั ว ตนของโรงเรี ย น ชุ ด ดุ ริ ย างค์ ที่ถูกสวมใส่โดยนักเรียนของโรงเรียน นั้ น ๆ ก็ จ ะยิ่ ง เปล่ ง ประกายและดู มี คุณค่าเพิ่มมากขึ้นเมื่อเกิดการบรรเลง ด้วยบทเพลงอย่างพร้อมเพียงเช่นกัน ฉะนัน้ ความส�ำคัญทีม่ องข้ามไม่ได้อย่าง เด็ดขาด คือหลักการคิด การออกแบบ ที่ จ ะสะท้ อ นคุ ณ ค่ า และมู ล ค่ า ในตั ว ตนของนักเรียน ผ่านเครื่องแต่งกาย “ชุดดุริยางค์” อย่างถูกต้องและมีหลัก เกณฑ์ โดยพื้นฐานแล้ว เรื่องที่จะต้อง ตระหนักเป็นประการต้นๆ ในการจะมี ชุดดุริยางค์ สักชุดหนึ่ง คงต้องอาศัย องค์ประกอบที่ครบด้านเพื่อพิจารณา เช่น ภาพลักษณ์ทตี่ อ้ งการของวง ความ

รู ้ สึ ก และความจดจ� ำ ที่ ต ้ อ งการสร้ า ง ให้ผู้พบเห็น จากหลักการและความ รู้สึกภายในเช่นนี้ จะถูกวิเคราะห์และ แยกแยะออกมาเป็ น องค์ ป ระกอบที่ ง่ายต่อการเลือกสรร เช่น สี แบบชุด หมวก พู่หมวก รองเท้า ปลอกแขน ถุงมือ รวมไปถึง การตัดเย็บ การเก็บ รักษาโดยถุงคลุมชุด กล่องเก็บพู่ กล่อง เก็บหมวก การซักรีดชุด อายุการใช้งาน ของชุด เป็นต้น โดยรวมทัง้ หมดแล้ว ชุด ดุริยางค์ คงไม่ใช่เสื้อและกางเกงทั่วไป ที่สั่งตัดและน�ำมาใส่เฉยๆ ได้ แต่มัน คือ Uniform ที่แปลว่า “เครื่องแบบ” เครื่องแบบที่บอกความเป็นนักดนตรี ของโรงเรียน รวมทั้งศักดิ์ศรีของการ เป็นตัวอย่างเยาวชนที่ดีด้วยนั่นเอง


Your Band โรงเรียนเซ็นต์โยเซฟคอนเวนต์

โรงเรียนหอวัง

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย

วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ

RHYTHM 31


Saxophone Performance 1 โดย พสิษฐ์ โภคินวัฒนดิษฐ์

เมือ่ พูดถึงศิลปะการเป่าแซกโซ โฟน แน่นอนทีส่ ดุ ผูเ้ ป่าต้องได้เรียนรู้ ขั้นพื้นฐานอย่างดีแล้วซึ่งหมายรวม ถึง การหายใจ การวางปาก ในบท ต้น ๆ ส่วนในบทนีจ้ ะกล่าวถึงศิลปะ ที่สูงขึ้นในการเป่าแซกโซโฟน การ เป่าเก่งหรือจะพัฒนาไปสู่ความเก่ง ประกอบด้วยปัจจัย ดังนี้ การวางนิ้ว : การวางนิ้วในการเป่าแซกโซโฟนควรเป็นไปตาม ธรรมชาติที่สุด ลดขึ้นแล้วปล่อยมือลงข้าง ๆ อย่างธรรมชาติ ลักษณะ ของมือและนิ้วที่วางบนแป้นนิ้วแซกโซโฟน จะมีลักษณะเหมือนลักษณะ ของมือและนิ้ว ขณะยืนปล่อยมือลงข้าง ๆ คือมีความโค้งเป็นธรรมชาติ น�้ำหนักของจะไม่อยู่บนมือขวา แต่จะอยู่บนสายคล้องคอ นิว้ ทุกนิว้ วางอยูบ่ นแป้นนิว้ ไม่เกร็ง การกดแป้นนิว้ ในขณะทีเ่ ป่าเป็น ไปตามธรรมชาติคือ ไม่กระแทก เมื่อปล่อยแป้นนิ้ว นิ้วจะไม่กระเด้งห่าง ออกจากแป้นนิ้วพยายามให้นิ้วติดอยู่กับแป้นนิ้วตลอดเวลา การฝึกความเร็วของนิ้ว : ศิลปะของการใช้นิ้ว ระยะเวลาของตัวหยุด เมื่อจะ เป่าให้นึกถึงเสียงที่จะเป่าก่อน ในขณะเดียวกันให้เปลี่ยนนิ้วไปยังเสียงที่จะเป่า ฝึก ในท�ำนองเดียวกันนีต้ ลอดทัง้ บทฝึกในทุกบันไดเสียง พยายามฝึกอย่างช้า ๆ เพือ่ สร้าง สมาธิของนิ้วให้อยู่กับแป้นนิ้ว การพัฒนาความเร็วของนิ้ว ต้องฝึกอย่างสม�่ำเสมอจนเป็นกิจวัตร สิ่งที่ควร ระมัดระวังคือ ไม่ควรเป่าให้เร็วเกินความสามารถที่จะควบคุมจังหวะ ส�ำเนียงและ ความชัดเจนของเสียงได้การฝึกผิด ๆ จนติดเป็นนิสัย เป็นปัญหาที่ยากต่อการแก้ไข การฝึกอย่างเร็วนั้นควรเป็นความเร็วที่สามารถควบคุมได้ ทั้งจังหวะ ส�ำเนียง และ ความชัดเจนในกรณีที่ไม่สามารถจะเป่าตรงที่ยาก ๆ ได้นั้น ควรจะลดความเร็วลงมา อุปกรณ์ที่ช่วยได้อีกอย่างคือ ดินสอด�ำ ส�ำหรับท�ำเครื่องหมายในโน้ตเพลง เพื่อเตือน ความจ�ำว่าตรงที่เราผิดเราได้แก้ไขให้ดีขึ้นแล้วหรือยัง นิ้วแทน : ความคล่องตัวในการใช้นิ้วเป็นเรื่องของทักษะที่เกิดจากการฝึกหัด วลีเพลงบางวลีมีความไม่คล่องตัวอย่างมากส�ำหรับการใช้นิ้วแท้ในการเป่าให้ได้เสียง ที่ต้องการ นิ้วแทนช่วยแก้ปัญหาให้การใช้นิ้วได้คล่องตัวขึ้นในวลีเพลงเหล่านั้น นิ้ว แทนบางนิว้ เสียงอาจจะเพีย้ นสูง หรือต�ำ่ ไปจากเสียงเดิม แต่กพ็ อจะอนุโลมได้สำ� หรับ วลีเพลงที่เร็ว ส่วนวลีเพลงที่ช้าควรใช้นิ้วแท้ไม่ควรใช้นิ้วแทนโดยไม่จำ� เป็น นักแซกโซโฟนจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้จักนิ้วแทนทุกนิ้ว แล้วฝึกจนสามารถ น�ำมาใช้ได้ทันที เมื่อเห็นวลีเพลงที่จ�ำเป็นจะต้องใช้นิ้วแทนโดยที่ไม่ต้องเสียเวลาคิด ว่าควรใช้นิ้วอย่างไร ฉะนั้นนิ้วแทนจึงเป็นเสมือนวิทยายุทธส� ำหรับนักแซกโซโฟน ตัวอย่างวลีเพลงที่ใช้นิ้วแทน F# นิ้วแทนควรจะใช้เมื่อวลีเพลงอยู่ในลักษณะบันไดเสียงโครมาติก คือ การไล่ เสียงกันแบบครึ่งเสียง B FLAT นิ้วแทน B FLAT นิ้วแทนมีให้เลือกใช้ได้ถึง 4 นิ้ว แต่ละนิ้วที่จะใช้ขึ้นอยู่ กับความเหมาะสมกับวลีเพลง ทีม่ า: http://sax-kamjohn.blogspot.com/2008/12/saxophone_7759.html

เกี่ยวกับผู้เขียน พสิษฐ์ โภคินวัฒนดิษฐ์ ผู้เล่นและปฏิบัติเครื่องดนตรี Woodwind มานานกว่า 20 ปี เป็นผูค้ วบคุมวง ผูอ้ �ำนวยเพลงและเป็นผูฝ้ กึ สอนให้กบั วงดุริยางค์ชั้นน�ำในประเทศไทยพร้อมรางวัลมากมายทั้งระดับประเทศ และนานาชาติ ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ประจ�ำแผนการเรียนศิลป์ดนตรี และ เป็นผู้ฝึกสอนวงโยธวาทิตโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

32 RHYTHM

with the leading Instructors

BRASS

WOODWIND

SECTIONALS

Provide practical tips

A Horn Player’s Study Guide โดย ชนากร แป้นเหมือน

ระดั บ ที่ 5 ผู ้ เ ล่ น ควรจะ ได้เรียนกับครูผู้ช�ำนาญ ถ้าใน สถาบันดนตรีหรือมหาวิทยาลัย นักเรียนควรจะเลือกเรียนกับ ครูที่มีความช�ำนาญในระดับนี้ ควรพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ ขัดเกลาการฝึกซ้อมประจ�ำวัน ให้ มี ค วามคล่ อ งในทุ ก ตอนที่ เล่น ไม่ใช่เพียงแค่รกั ษาความสามารถทีเ่ ล่นได้แล้ว แต่ทสี่ ำ� คัญประการหนึง่ คือการแก้ปัญหาที่เป็นรากฐานการฝึกหัดพื้นฐาน ซึ่งได้ฝึกทักษะบางอย่าง มาตั้งแต่ระดับที่ 1 หรือ 2 แล้ว ในระดับนี้ผู้เล่นควรจะปฏิบัติดังนี้ 1) พัฒนาความกว้างของช่วงเสียงถึง 4 ออคเตฟ ด้วยเสียงที่หนักแน่น ทุก Dynamics ที่เล่น 2) มีความช�ำนาญในการเล่น Sight-reading, สามารถ Transpose และสามารถอ่านโน้ตกุญแจต่างๆได้ 3) เล่น Lip trills ได้อย่างกลมกลืน, Hand stopping, การตัดลิ้นแบบ ต่างๆ และ Flutter tongue โดยสามารถเล่นเทคนิคต่างๆนี้ได้ง่าย 4) มีความเข้าใจในทฤษฎีดนตรี และสามารถวิเคราะห์ Musical forms ต่างๆได? 5) ศึกษาประวัตศิ าสตร์ทางดนตรีและเข้าใจความแตกต่างของดนตรีใน ยุคต่างๆ และสามารถเล่นดนตรีในยุคต่างๆตามสไตล์ของดนตรีในยุคนั้นๆ หนังสือที่ควรอ่าน • Farkas -- The Art of Brass Playing (now available through Wind Music) • Schuller -- Horn Technique • Pottag-Andraud -- 335 Selected Melodious and Progressive Technical Studies, Books I & II (เล่มสีฟ้าและเล่มสีแดง) • Schuller -- Studies for Unaccompanied Horn • Beethoven -- Sonata, opus 17 • Bach, J.S./Miller -- Brass Duet Notebook, Vol. 2 • Bach, W.F./Miller -- Brass Duet Notebook, Vol. 1 • Bacon, editor -- 88 German Quartets • Gallay -- Grand Quartet • Bach, J.S./Oldberg -- Prelude

เกี่ยวกับผู้เขียน ชนากร แป้นเหมือน อตีตนักเล่นฮอร์นวง Bangkok Symphony Orchestra และวง Siam Philharmonic ปริญญาตรีสาขาดนตรีสากล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรตินิยมอันดับสอง ปริญญาโทการ จัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิดา้ ) ปัจจุบันเป็นผู้บริหาร บริษัท มาร์คาโต้ มิวสิค จ�ำกัด


โดย อนุสรณ์ พรเนรมิตร

แบบฝึกหัดในระดับถัด มาจะเป็นระดับที่สอง โดย มี ร ายละเอี ย ดในการฝึ ก ปฏิบัติดังต่อไปนี้นะครับ Exercise 2 Single Stroke แบบฝึกหัดนี้เป็นแบบฝึกหัดในการเล่น Rudiment Single Stroke หรือว่าการเล่นสองข้างสลับมือกัน เวลา ที่เราเล่นโน้ต Single Stroke สมมติว่าถ้าเราตี Single Stroke ส่วนบนโน้ตเขบ็ด สองชั้น ถ้าเราแยกมือออกมา หนึ่งมือ โดยสมมติเล่นมือข้างซ้ายของเราเล่นบนขอบกลอง ให้เรา สังเกตุทมี่ อื ขวา ลักษณะการตีมอื ขวาของเราจะมีลกั ษณะเหมือนกัน กับเวลาที่เราเล่นแบบฝึกหัด 8th on hand และเช่นเดียวถ้าเราตัด มือขวาออกโดยที่ให้เราเล่นมือขวาที่ขอบกลองแล้วให้มือซ้ายเล่น บนหนังกลองเราก็จะสังเกตุได้ว่ามือซ้ายที่เราเล่นบนหนังกลองนั้น จะมีลักษณะการตีเหมือนกันกับเวลาที่เราเล่นแบบฝึกหัด 8th on Hand เพราะฉะนัน้ เมือ่ เวลาเราเล่นโน้ตพวก Single Stroke ให้เรา ใช้วิธีการตีที่เหมือนกันกับเวลาที่เราเล่นแบบฝึกหัด 8th on Hand เหมือนกันทั้งสองข้าง คือใช้ลักษณะการตีแบบ Full Stroke ก็คือ การ Rebound เหมือนกันทั้งสองข้าง ข้อควรระวังเวลาที่เราโน้ต Single Stroke เราควรจะต้องเช็คน�้ำหนักของการตี,วิธีการตีและ การยกไม้ของทั้งสองข้างให้เท่าและเหมือนกัน ส�ำหรับวิธีการฝึกซ้อมแบบฝึกนี้นะห้องแรกเล่นโน้ตเขบ็ด 1 ชั้นด้วยมือขวา ส่วนห้องที่สองเราแทรกมือซ้ายเข้ามาจะกลาย เป็นโน้ต Single Stroke บนส่วนโน้ตเขบ็ดสองชั้น โดยในขณะที่ เราเล่นโน้ตห้องที่สองเราจะต้องรักษาเรื่องของจังหวะและสัดส่วน โน้ตของมือขวา วิธีการตี และน�้ำหนักของการตี ที่ให้เหมือนและ เท่ากันกับห้องแรก และเราควรที่จะซ้อมแบบฝึกหัดโดยเริ่มต้น ด้วยมือซ้ายด้วย เกี่ยวกับผู้เขียน ผู้เชี่ยวชาญพิเศษทางด้าน Percussion บ.สยามดนตรียามาฮ่า จ�ำกัด ผูค้ วบคุมและฝึกสอนวง Max Percussion หัวหน้าผูฝ้ กึ สอน กลุ่มเครื่อง Percussion Siamyth Drum and Bugle Corps ผู ้ ฝ ึ ก สอน Percussion วงโยธวาทิ ต ร.ร.สตรี วิ ท ยา 2 และ สุรนารีวิทยา

GUARD

PERCUSSION

Basic Battery Percussion (2)

Flags Basic Fundamentals (1) โดย ประพันธ์ศักดิ์ ปานเสียง

ก่ อ นการเล่ น ธงทุ ก ครั้ ง คนเล่นธงก็จะรู้กันอยู่แล้วว่า ควรมีการ warm up ก่อน เพื่อฝึกกล้ามเนื้อหรือความ พร้ อ มเพรี ย งของท่ า จึ ง มี แบบฝึ ก หั ด ง่ า ยๆ ส� ำ หรั บ การฝึกธงมาฝากพวกเราบางคนที่ยังไม่รู้รายละเอียดของท่าที่ใช้ ให้ ได้ลองน�ำไปฝึกฝนกันดู โดยถ้าหากไม่มีการก�ำหนดวิธีการฝึกขึ้นมา ก็จะท�ำให้แต่ละคนคิดไม่เหมือนกัน หรือเก็บรายละเอียดของท่าได้ ไม่ดี สิ่งจ�ำเป็นที่ต้องมีการก�ำหนดลักษณะท่าทางขึ้นมา ซึ่งมีอยู่ด้วย กัน 8 เบสิคพื้นฐาน โดยชื่อเรียกของท่าแต่ละท่านั้น อาจจะมีที่มาไม่ เหมือนกับชือ่ ท่าทีเ่ ราเคยเรียนมา ซึง่ การเรียกชือ่ ท่าต่างๆ ไม่ได้บงั คับ ตายตัวว่าชือ่ นัน้ ถูกหรือผิด แต่การตัง้ ชือ่ ขึน้ มาเพือ่ ให้งา่ ยต่อการเข้าใจ ของผู้เล่นเป็นหลัก

1. Drop Spins หรือที่บ้านเราเรียกกันว่าการควงนั่นเอง โดย จะเริ่มจากการ Set up ด้ามธง ให้ผู้เล่นถือด้ามธงโดยให้ชายผ้าธงไป ทางด้านมือที่อยู่ด้านบน มือด้านบนให้จับบริเวณสลิปด้านล่างสุดผ้า ธง และมือด้านล่างให้จับบริเวณจุกธง โดยมือล่างนั้นให้ Set up ที่ บริเวณสะดือ แล้วถือด้ามธงให้อยู่กลางสายตา หลังจากนั้นให้เริ่มนับ จังหวะ And one (หรือและ 1) ที่บ้านเราเรียกกัน ที่ต้องและ1 เพราะ เราจะเริ่มท�ำการเคลื่อนที่ด้ามธงที่เราจับ set up ไว้ ให้เข้าสู่จังหวะ 1 โดยจังหวะที่ 1 นัน้ เราจะท�ำการคว�ำ่ มือด้านบนลงมาทีบ่ ริเวณสะดือให้ หัวธงชี้ลงด้านล่าง เป็นแนวตั้งฉากกับพื้น ส่วนมือล่างให้คว�่ำลงเช่น กันโดยต่อติดจากมือบน ซึ่งถือว่าสิ้นสุดจังหวะที่ 1 ให้ผู้ฝึกสอนตรวจ เช็คจังหวะนี้ให้ดี เพราะถ้าหากจังหวะนี้ท�ำไม่ถูก หรือท�ำผิดแล้วจะ ท�ำให้จังหวะอื่นๆ เกิดความไม่พร้อมกัน จังหวะที่ 2 ให้ใช้แรงจากมือ ล่างพลิกหัวด้ามธงขึ้นมาด้านบนให้ท้ายด้ามธงตั้งฉากกับพื้น ส่วนมือ บนในจังหวะที่ 1 ให้มาจับเป็นมือล่างแทนในจังหวะที่ 2 ส่วนจังหวะ ที่ 3,4 ก็คือท�ำเหมือนเดิมในจังหวะที่ 1 ,2 ดู ภ าพประกอบ : http://www.youtube.com/ watch?v=7tG9ifCJn_c

เกี่ยวกับผู้เขียน ประพันธ์ศักดิ์ ปานเสียง ผู้ฝึกสอนและออกแบบการแสดงการ ใช้อุปกรณ์ Color Guard ให้กับวงดุริยางค์ชั้นน�ำของเมืองไทยทั้งใน ระดับประเทศและระดับนานาชาติอาทิเช่น รายการการแข่งขันดนตรี โลก และวงดรัมคอร์ปภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

RHYTHM 33


live as your life

E

Issue 3

January 2012

2012

HM

MAGA

March 2012

MAGAZINE

Issue 2

Volume 1

M

MAGAZ December 2011

INE

MAGAZINE live

as your life

Volume 1

Issue 7

May 2012

MAGAZINE

RHY THM

FREE COPY

Issue 5

April 2012

FREE COPY

Volume 1

Issue 6

FREE COPY

Volume 1

RHY TH

FREE COPY

RHY THM RHY THM RHY THM r life live as you

live as you r life

ZINE

e your lif live as

FREE COPY

November 2011 MAGAZIN

Volume 1

Volume 1 Issue 4 February

MAGAZINE

FREE COPY

Issue 1

FREE COPY

RHY THM

FREE COPY

live as you r life

Volume 1

RHY T

RHY THM live as your life

r life live as you

Volume 1

Issue 8

June 2012

MAGAZINE

BRAS

Forte

THAILAND INT WIND ENSEM ERNATIONAL

BLE COMPETI การประกวดวงดุ างค TION 2011 เครื่องลม ที่มีมายาวนานกวรา ิย10 ป

SIAMYTH DRUM PS AND BUGLE COR

ดรัม คอร วงแรกของประเทศ

Musi

c

ASK EXPERT

เกาเกมส เกาจริง

B &sey

Hawkes

In Memorial of Ampล

ASK EXPER

NO

NTRI ORCH วงออเคสตรา วินด ESTRA WIND วงที่ 9 ของโลก

Th

UM KORN DR PHRANA CORPS & BUGLE ยาลัย

C

มูลนิธิวงดP O เยาวชนเชียุริยางค์ งใหม่ ww w.R hyt hm

.net

Ma gaz

DIRECTOR

อ นี่คือเพลงของพ งเลน เพลงที่เรากําลัine.n et

ท ดรัมคอรปมหาวิ ศ วงแรกของประเท

thmM www.Rhy

RT ASK EXPEตนาการ

ine .ne t

บทเพลงแหงจิน

ee

ra

Maga zine.n et

T

ASK EXPER

นิพัทธ กาญจนะหุต ตรี คนตนแบบของคนดน

เวิ้งนครเกษม

al Cups st 2012 The 31 Roy nte Marching Band Co

พื้นที่ประวัติศาสต การรักษาหรือรื้อทิร์้ ที่รอ ง?

th

ASK EXPER

T

มุทากร โคตรรักษา

แตกต่างและสร้างสรร

www.R hythmM agazine

นายกิตติศักดิ์ พันธุดํารงกุ

เมื่อเสียงหัวใจเตนเปน T เสียง …เพอรคัสชั่น www.R hythm

BERR พวกเรารัS กกันมากค Y รับ เราไม่เ คยทิ้งกัน ชีวิตที่เดินมาPERT ไกลเกินฝัน ถวายงานรCIA L ับ ต้เบื้องพ ด้วยการ ATTAWIT COMMER ใช้ใD ระย ุคลบาท COLLEGE BAN วงดุริยางคของคนอาชีวะ ASK EX

ค์บนงานดนตรีและดีไ

ซด์

cussion Freedom Per Ensemble

Bangkok Soc iety Drumline (BK K)

ดรัมไลน์วงแรกของเมื www.R hythm

จเจาพระยา

ดรัมไลนแหงบานสมเด็

องไทย

-Maga zine.c om

www.R hythm

MARCHING THAILANDMP N BAND CO ETITIO

-Maga zine.c om

มงฟอร์ตวิทยาลัย

วงดุริยางค์ 3 แผ่นดิน

ASK EXPERT

พงศกร เรืองโรจน์ ความส�าเร็จ แรงบันดาลใจน�ามาซึ่ง zine.com

NEW WAVE

จิณณวัตร มั่นทรัพย์ คนเขียนเพลง บรรเลงสร้างคน

T ASK EXPER ์ นิสันต์ ยกสวัสดิ NEW WAVE

คมกริช สุนทรนนท์ ท�าเลยครับ ถ้าเรารักที่จะท�ามัน

www.R hythm

-Maga

www.Rhy thm-Mag azine.com

www.Rhythm-Magazine.com " สมัครสมาชิกนิตยสาร ต้องการสมัครสมาชิกนิตยสาร Rhythm Magazine จ�ำนวน 12 ฉบับ (12 เดือน) เริ่มตั้งแต่เดือน....................................... โดยยินดีเสียค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเป็นจ�ำนวนเงิน 450 บาท

ข้อมูลผู้สมัครสมาชิก ชื่อ........................................................นามสกุล............................................ เพศ

ชาย

หญิง

อายุ............ปี อีเมล์........................................................... โทรศัพท์บ้าน.............................................................................................. โทรศัพท์ที่ท�ำงาน.............................................โทรสาร........................................โทรศัพท์มือถือ..........................................................

ที่อยู่ในการจัดส่ง บริษัท/หน่วยงาน.....................................................หมู่บ้าน.........................................เลขที่................................ซอย............................ ถนน............................ต�ำบล/แขวง...........................อ�ำเภอ/เขต...................................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย.์ .................

ที่อยู่ในการออกใบเสร็จ เหมือนที่อยู่ในการจัดส่ง บริษทั /หน่วยงาน..................................................หมูบ่ า้ น.......................................... เลขที.่ ...............................ซอย.............................ถนน............................................... ต�ำบล/แขวง.................................................อ�ำเภอ/เขต............................................ จังหวัด.........................................................รหัสไปรษณีย.์ ........................................

วิธีการช�ำระเงิน (ระยะเวลา 1 ปี จ�ำนวน 12 ฉบับ) เช็คสั่งจ่ายนาม บริษัท ริธมิคส์ จ�ำกัด โอนเงินเข้าบัญชี ออมทรัพย์ ชื่อ บริษัท ริธมิคส์ จ�ำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาสันป่าข่อย เลขที่บัญชี 253-4-41407-9

ส่งใบสมัครสมาชิกพร้อมส�ำเนาการโอนเงินมาที่ ฝ่ายสมาชิก บริษัท ริธมิคส์ จ�ำกัด เลขที่ 106/126 หมู่ 7 หมู่บ้านชัยพฤกษ์ ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 โทร.053-334556 โทรสาร.053-334557 E-mail:rhythmmagazine@hotmail.com สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร.088-1380507

RHY THM MAGAZINE

agaz




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.