60 Year Dec 24 May

Page 1

1



THE LETTER OF PRESIDENT The Faculty of Decorative Arts has been established on 18 May 1956 by Professor Silpa Bhirasri, for the curriculum management. This faculty has produced the professionals who were in high quality and ability with morality, ethics and wisdom in creating fine arts. It is also for developing, the academic and applied arts which are the international identity and harmonious with the design. Along 60 years, the Decorative Fine Arts has developed Thai education by relaying Art design and emerging the manpower of Interior design, visual communication design, product design, applied art study, ceramic, jewelry design and Fashion design, by integrating and developing the creative art works which can see from the lecturers, the aluminas, and the current students of the faculty which has been accepted largely in the academic and professional. The 60 inspiration, project publishing is for announcing the work of famous designer who is the master inspiration for the lecturers and the students on the 60th anniversary of Faculty of decorative fine Arts which has been supported in academic and public manifestation of creative designs. On behalf of Silpakorn University I’m glad and admired to the learning management and the graduates producing in Bachelor, Master and PHD of the faculty of Decorative Arts. And also in every kind of academic dimensions which have been noted nationally and internationally. I hope that the persons who join this project will get the knowledge, learn and inspired by the masterpieces of the famous designers and be able to develop their own works onward.

Assistant Prof. Chaicharn Thavaranvaj The President of Silpakorn University


60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์

เมื่ อ 60ปี ประเทศและสั ง คมได้ รั บ รู้ ถึ ง การปรากฏ คณะมัณฑนศิลป์ขึ้นในประเทศไทย ถือเป็นปรากฏการแห่งการ เปลี่ยนแปลงในวงการการศึกษาและวงการวิชาชีพในศาสตร์แห่ง ศิลปะและการออกแบบ เป็นจุดกำ�เนิดแห่งภูมิปัญญาที่สำ�คัญใน การพัฒนาประเทศด้วยศิลปะวิทยาการด้านการออกแบบ ซึง่ ตลอด ระยะเวลา60ปี องค์ความรูแ้ ห่งมัณฑนศิลป์ ได้ผลิต บ่มเพาะบุคลากร ผู้มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ให้กับประเทศไทย อย่ า งมากมายโดยต่ อ เนื่ อ งมาตลอด โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง คื อ บุคคลากรด้านศิลปะและการออกแบบ จากรุ่นสู่รุ่น บุคคลากร คุณภาพ แห่งมัณฑนศิลป์ จำ�นวนมากมาย ต่างล้วนแล้วแต่ได้ รับพลังการสร้างสรรค์ที่มีต้นกำ�เนิดจากแรงบันดาลใจ ทั้งศิษย์ เก่า ครูบาอาจารย์ ตลอดจนบุคลากรที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับคณะ มัณฑนศิลป์ ในวาระที่มัณฑนศิลป์ มีอายุครบรอบ60ปี ทางคณะ มัณฑนศิลป์ ได้จัดกิจกรรมขึ้นในหลายมิติตลอดทั้งปี พศ. 2559 นี้ ดังเช่นโครงการ 60 ปีแรงบันดาลใจนี้ เป็นการรวบรวมผู้ให้แรง บันดาลใจ ภายใต้การพิจารณาของ 7 สาขาวิชาในคณะมัณฑนศิลป์ โดยพิจารณาบุคคลผู้มีบทบาทสำ�คัญ ต่อสังคม ต่อประเทศชาติ มี คุณงามความดีที่ประจักษ์ชัด และเป็นตัวแทนที่ทำ�ให้เห็นถึงพลัง การสร้างสรรค์และผลกระทบต่อชุมชนและสังคมไทยของชาว มัณฑนศิลป์ บุคคลต้นแบบทัง้ 60คน คือสาระสำ�คัญอย่างมาก ต่อ การสร้างพลังให้คนรุน่ หลังได้ศกึ ษาเรียนรู้ จากวิถชี วี ติ จากแนวคิด

จากบทบาทต่างๆที่คนรุ่นหนึ่งมีอิทธิพลทางปัญญาสู่คนรุ่นต่อไป อย่างสืบเนื่อง เสมอมา ศิลปินและนักออกแบบที่สำ�เร็จ จะมีแกน ความคิดจากรากฐานต้นแบบอันประทับติดตรึงใจ และบุคคลใน อุดมคติ ซึ่งสร้างพลังสร้างสรรค์อันเกิดจาก “แรงบันดาลใจ” ด้วย ความเป็นครูแห่งชีวิต บุคคลผู้ถ่ายทอดด้วยความใกล้ชิดสนิทสนม หรือแม้แต่การถ่ายทอดผ่านผลงานคุณภาพ การรวบรวมแรงบันดาลใจชาวมัณฑนศิลป์ จึงเป็นส่วน หนึ่งในกิจกรรม ที่รวบรวมและนำ�เสนอผู้แทนเพียงส่วนน้อยจาก จำ�นวนหลายร้อยหลายพันชีวิตของชาวมัณฑนศิลป์ตลอดระยะ เวลา 60ปีที่ผ่านมา เป็นแรงบันดาลใจ ต่อสังคมและประเทศชาติ ด้วยศาสตร์แห่งมัณฑนศิลป์เป็นที่ประจักษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เอกพงษ์ ตรีตรง คณบดี คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร


60 Years

of Decorative Arts Inspirations

Along 60 years, Thai society has been aware of the presence of Decorative Arts, Silpakorn. It is the transformative education and profession in science, arts and design. It is the birth place of wisdom in developing countries in this area. The duration of 60 years of knowledge of Decorative Arts has produced nature personnel who have played a role in the development of economy and society, throughout the country by the thousands of the art and design personnel. From generation to generation, it informed the personnel quality, many of the decorative arts are all getting creative energies, originating from inspiration, both former lecturers as well as personnel, primarily associated with the decorative arts. On the occasion of 60th years aniversway, the Faculty of decorative Arts have launched , various dimension activities. One of that is 60 inspirations of Decorative Arts. The project is to consider 60 person

who have a key role to society and to the country with a value evident. It represents the power of creativity and social impact on the community and the decorative arts of Thailand. It impacts on society and the decorative arts and the 60 masters, who are highly significant. It is very important to empower future generations to learn from the life of the various roles, and the intellectual influence from one generation to the next generation of artists and designers traditionally. It has always been a success. The core idea underlying foundation of a stamp attached to fascinate personal idea. This creates a creative force due to “Inspired” by a life of lecturer, relays with intimacy or even broadcast quality output. It takes part in the event collected and presented only a minority of representatives from hundreds of thousands of lives throughout the duration of the decorative arts. “60 years 60 inspirations.”, for the society and the nation. The Decorative Arts is manifested. Assistant Prof. Akekapong Treetrong Dean of Faculty of Decorative Arts Silpakorn University



ประวั ต ิ คณะมัณฑนศิลป์ พ.ศ. 2476 รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตยได้รื้อฟื้นจัดตั้ง กรมศิลปากร ขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง (เคยมี กรมศิลปากร ในรัชสมัย รัชกาลที่ 6 และในรัชสมัยรัชกาลที่ 7 เป็น แผนกศิลปากรสถานขึ้น ต่อ ราชบัณฑิตสภา) ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี จึงเสนอโครงการ จัดตัง้ โรงเรียนสอนศิลปะดังกล่าวอีกครัง้ ต่อ พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์) ผู้อำ�นวยการกองสถาปัตยกรรมแห่งกรมศิลปากร ผู้สำ�เร็จการศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมด้านผังเมืองจากมหาวิทยาลัย ลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ เป็นผู้บังคับบัญชาที่มีความรู้ด้านศิลปะ สากลอย่างกว้างขวาง มีความเข้าใจในความปรารถนาและอุดมการ ทางศิลปะของท่าน ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ได้เสนอหลักสูตรการเรียนการ สอนที่นำ�มาจากศิลปินศึกษา พระสาโรชรัตนนิมมานก็ได้สนับสนุน โครงการนี้จนกระทั่งได้รับอนุมัติจากกระทรวงธรรมการให้จัดตั้ง โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ขึ้นในกรมศิลปากร ดำ�เนินการเรียน การสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2477 เป็นต้นไป โดยรับสมัครเยาวชนผู้ สนใจในงานช่างศิลป นักเรียนรุ่นแรกมี 7 คน ส่วนมากเป็นประติมากรผู้มีความ สามารถและมีชื่อเสียงในภายหลังทั้งสิ้น พ.ศ.2478 กรมศิลปากรได้รวม โรงเรียนประณีตศิลปกรรม และโรงเรียนนาฎดุริยางคศาสตร์ เป็นโรงเรียนเดียวกัน ตั้งชื่อใหม่ว่า โรงเรียนศิลปากร แบ่งเป็น 3 แผนก คือ แผนกประณีตศิลปกรรม แผนกศิลปอุตสาหกรรม แผนกนาฎดุริยางค์ ผลงานศิลปกรรมต่างๆ ของนักเรียนโรงเรียนศิลปากร แผนกประณีตศิลปกรรม (ต่อมาเรียก แผนกช่าง) เพื่อความกระชับ ทั้งที่กำ�ลังเรียนและสำ�เร็จแล้ว เป็นที่ประทับใจผู้นำ�รัฐบาลในสมัย นั้นอีกทั้งศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี และบรรดาศิษย์รุ่นแรกๆ ได้ ทุ่มเทกำ�ลังกาย กำ�ลังความรู้ ความสามารถ ปฎิบัติงานประติมากรร ชิ้นใหญ่ๆและสำ�คัญๆ เช่น อนุสาวรีย์ต่างๆ สนองความต้องการของ รัฐบาล สำ�เร็จเสร็จตามกำ�หนดการทุกครั้งทุกประการ เป็นที่เชื่อถือ และชื่นชมยกย่องของรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี จึงตระหนักถึง ความสำ�คัญของการศึกษาศิลปะในระดับสูงของชาติ ได้มีบัญชาให้ พระยาอนุมานราชธน (เสฐียรโกเศศ) อธิบดีกรมศิลปากรในขณะนั้น ดำ�เนินการร่วมกับศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอนของโรงเรียนศิลปากรแผนกช่าง ยกระดับให้ได้ มาตรฐานมหาวิทยาลัย ได้รับผู้เข้าศึกษาที่มีวุฒิสูงกว่าเดิม ให้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยศิลปากร เสนอเป็นร่างพระราชบัญญัตเิ ข้าสูร่ ฐั สภา และ ในที่สุดก็ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2486

มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2486 ได้เปิดสอนเพียงคณะเดียว คือ คณะจิตรกรรมและประติมากรรม ต่อมาในปี 2498 ได้ตั้ง คณะสถาปัตยกรรมไทย และโบราณคดี ตามลำ�ดับ แต่เนื่องจาก คณะจิตรกรรมและประติมากรรมในขณะนั้นมีวิชาศิลปการตกแต่ง (Decoration) อยู่ในหลักสูตรนั้นด้วย และนักศึกษาที่จบการศึกษา ในรุน่ ต่างๆ บางคนได้ออกไปทำ�งานด้านการตกแต่งภายในจนประสบ ความสำ�เร็จในการประกอบวิชาชีพพอสมควร “โดยเหตุที่รสนิยม ขอประชาชนซึ่งมีอยู่แก่สิ่งสวยงามเครื่องเรือน การตกแต่งภายใน เคหสถาน ร้านค้า โรงภาพยนตร์ เป็นต้น เหล่านี้สูงขึ้น” ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ซึ่งขณะนั้นดำ�รงตำ�แหน่ง คณบดี ค ณะจิ ต รกรรม และประติ ม ากรรม ได้ ห ารื อ ร่ ว มกั บ ศาสตราจารย์ ม.จ. ยาใจ จิตรพงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ม.ร.ว. พูน สวาท กฤดากร และม.จ. เฉลิมสมัย กฤดากร ซึ่งเป็นข้าราชการ ในกรมศิลปากรด้วยกัน และกำ�ลังสอนวิชาศิลปการตกแต่งอยูใ่ นคณะ จิตรกรรมฯ จัดทำ�โครงการจัดตั้งคณะมัณฑนะศิลป์ เป็นคณะวิชาที่ 4 ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2499

พัฒนาการของหลักสูตร

หลักสูตรปีการศึกษา 2499 – 2516 คณะมัณฑนศิลป์ จัดการศึกษาปีแรกในปีการศึกษา 2499 หลักสูตรปีการศึกษา 2499-2516 เป็นหลักสูตรสาขาออกแบบตกแต่ง ภายในสาขาวิชาเดียว โดยพัฒนามาจากหลักสูตรคณะจิตรกรรม และประติมากรรม มีการศึกษาทางวิจิตรศิลป์ เพื่อให้มีความรู้และ ทักษะทางศิลปะปฏิบตั ิ แล้วจึงแยกมาศึกษาเฉพาะด้านการออกแบบ ตกแต่งภายใน ซึง่ เป็นประยุกต์ศลิ ป์ เพือ่ สอนความต้องการของสังคม ไทยที่ยังขาดนักออกแบบตกแต่งภายใน โครงสร้างหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มวิชา คือ กลุ่ม วิชาเอก และกลุ่มวิชาโท กลุ่มวิชาเอกประกอบด้วยรายวิชา เช่น ศิลปการตกแต่ง วัสดการตกแต่ง สถาปัตยกรรมการตกแต่ง และ วิชาช่างไม้ เป็นต้น สำ�หรับกลุ่มวิชาโทเป็นรายวิชาที่ให้ความรู้ความ สามารถกว้างขวางมากยิ่งขึ้น ประกอบด้วยรายวิชา เช่น ทัศนีย วิทยา ประวัติศาสตร์ศิลปะ วิจัยศิลปไทย สถาปัตยกรรมไทย ทฤษฎี โครงสร้าง เครือ่ งเคลือบดินเผา คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ เป็นต้น การจัดการศึกษาแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ระดับอนุปริญญา หลักสูตร 3 ปี และระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี นักศึกษาสำ�เร็จ การศึกษาจะได้รบั อนุปริญญาศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) หรือปริญญา ศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) ตามลำ�ดับ


หลั ก สู ต ร 3 ปี และระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั ก สู ต ร 4 ปี นั ก ศึ ก ษาสำ � เร็ จ การศึ ก ษาจะได้ รั บ อนุ ป ริ ญ ญาศิ ล ปบั ณ ฑิ ต (มัณฑนศิลป์) หรือปริญญาศิลปบัณฑิต (มัณฑนศิลป์) ตามลำ�ดับ หลักสูตรปีการศึกษา 2517-2528 ในปี พ.ศ. 2517 คณะมัณฑนศิลป์ได้ปรับปรุงหลักสูตร มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในเรื่ อ งปรั ช ญาและวั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก สู ต ร หลักสูตรฉบับปรับปรุง มีปรัชญาการศึกษาที่สำ�คัญ คือ จัดการ ศึกษาให้บัณฑิตเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพประยุกต์ ศิลป์ และมีความรู้พื้นฐานด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ควบคู่ไปด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นนักออกแบบงานศิลปะที่มีความ คิด ความรูเ้ กีย่ วกับสังคมมนุษย์กว้างขวาง และเป็นมนุษย์สมบูรณ์ โครงสร้างหลักสูตรฉบับปรับปรุง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม วิชา ได้แก่ - กลุ่ ม วิ ช าพื้ น ฐานมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ นักศึกษาทุกคณะวิชาต้องศึกษา - กลุ่มวิชาพื้นฐานทางศิลปปฏิบัติและทฤษฎีศิลปะ นักศึกษาทุกสาขาวิชาในคณะมัณฑนศิลป์ต้องศึกษา เพื่อให้มี มาตรฐานทางศิลปปฏิบัติและทฤษฎีศิลปะในระดับเดียวกันและ ทำ�ให้นักศึกษาสามารถขอโอนย้ายสาขาวิชาภายในคณะฯ ได้ง่าย ขึ้น - กลุม่ วิชาเอกหรือวิชาบังคับของสาขาวิชา เป็นกลุม่ วิชา ที่สร้างความรู้ความสามารถในวิชาชีพโดยตรง นักศึกษาในสาขา วิชานั้นต้องศึกษาให้ครบถ้วน - กลุ่มวิชาเลือก เป็นกลุ่มวิชาที่เสริมความรู้ในวิชาชีพ ให้กว้างขวาง และส่งเสริมความสนใจความถนัดส่วนบุคคลให้มี โอกาสพัฒนามากขึ้น ในด้านการจัดการศึกษาได้เปลี่ยนมาใช้ระบบหน่วยกิต และยกเลิกการศึกษาระดับอนุปริญญาศิลป บัณฑิต (มัณฑนศิลป์) ให้มีเพียงระดับปริญญาศิลป บัณฑิตหลักสูตร 4 ปี ได้เพิ่มสาขาวิชาเป็น 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาออกแบบตกแต่งภายใน สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์และสาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา หลักสูตรปีการศึกษา 2529-2536 คณะมัณฑนศิลป์ได้ปรับปรุงหลักสูตรในปี พ.ศ. 2529 โดยปรับปรุงวัตถุประสงค์และเนื้อหาการเรียนการสอนของทุก สาขาวิชา และเพิ่มสาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา ทั้งนี้ให้เป็น หลักสูตรมีความทันสมัยและตอบสนองความต้องการของสังคม และตลาดแรงงานปัจจุบัน โครงสร้างหลักสูตรแบ่งเป็นกลุ่มวิชาเหมือนเดิม การ จัดการศึกษาใช้ระบบหน่วยกิตและมีระดับปริญญาศิลปบัณฑิต

พ.ศ. 2537 – ปัจจุบัน การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รในปี 2537 ได้ ป รั บ ปรุ ง การ เรียนการสอน รายวิชาแกนของคณะแยกตามสาขาวิชา โดย มีวัตถุประสงค์ให้บัณฑิตเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ในการ สร้างสรรค์งานทางด้านมัณฑนศิลป์ เป็นผู้รอบรู้ มีทัศนคติอันดี งาม รู้จักคิดวินิจฉัย มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาตนเอง มีคุณธรรม และนำ�คุณประโยชน์มาสู้สังคม พ.ศ. 2539 คณะเริ่มจัดทำ�หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขา วิชาการออกแบบเครื่องประดับ เพื่อรองรับความต้องการกำ�ลัง คนในสาขาวิชาขาดแคลน รับนักศึกษารุน่ แรกในปีการศึกษา 2540 พ.ศ. 2541 คณะฯ ขยายการศึกษาหลักสูตรระดับ ปริญญาโท 3 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ประยุกต ศิลปศึกษา และเครื่องเคลือบดินเผา โดยเปิดสาขาการออกแบบ ภายใน ปี พ.ศ.2547 และสาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ในปี พ.ศ.2552 พ.ศ. 2549-2556 คณะฯ เปิดการเรียนการสอนระดับ ปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี ในสาขาวิชาการออกแบบนิเทศ ศิลป์และสาขาการออกแบบเครื่องแต่งกาย (ปัจจุบันปิดหลักสูตร ทั้งสองสาขาวิชาแล้ว) และได้เปิดหลักสูตรเครื่องแต่งกาย 4 ปี โครงการพิเศษ หลักสูตรนานาชาติระดับดุษฎีบัณฑิต หลักสูตร ปริญญาโทการออกแบบเครือ่ งประดับ และปรับปรุงหลักสูตรระดับ ปริญญาโท สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ (Design Arts) ตามลำ�ดับ ในปัจจุบัน คณะฯ ได้เปิดรับนักศึกษาและจัดการเรียน การสอนหลักสูตรปรับปรุง ประกอบด้วยหลักสูตรระดับปริญญา ตรี สาขาวิชาการออกแบบภายใน ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ประยุกตศิลปศึกษา เครื่องเคลือบดินเผา ออกแบบ เครื่องประดับ และออกแบบเครื่องแต่งกาย (โครงการพิเศษ) หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบเครื่องประดับ ศิลปะการออกแบบ และหลักสูตรดุษฎี บัณฑิต สาขาศิลปะการออกแบบ(หลักสูตรนานาชาติ) รวม 11 หลักสูตร

*มัณฑนศิลป์ คำ� มัณฑนะ ในที่นี้ แปลว่าประดับ

ตกแต่งวัตถุอาคารหรือสิ่งใดๆ ที่เป็นศิลปกรรม เพราะฉะนั้นการ แสดงออกแห่งศิลปะทุกชนิดซึ่งทำ�ขึ้นเพื่อให้งามแก่สิ่งใด ก็เป็น มัณฑนะ คำ�ว่า มัณฑนะนี้ บางทีก็ใช้หมายถึงแบบสร้างสำ�หรับ งานจุลศิลป์ (Minor Art) Decorative Arts ศิลปะตกแต่ง (มันฑนศิลป์) คำ�นี้ หมายถึงบรรดาผลิตกรรมศิลปะชนิดที่เรียกกันว่าจุลศิลป์ (Minor Art) เช่นการทอผ้าเครื่อง งานช่างรัก ช่างถม ช่างเงินช่างทอง ช่างแก้ว ช่างเครื่องปั้นดินเผา งานเขียนภาพสำ�หรับสมุดหนังสือ และงานช่างอื่น ๆ อีกเป็นอันมาก ถ้าศิลป์ตกแต่งเหล่านี้เป็นไป เพื่อประโยชน์การค้า

* มัณฑนศิลป์ จากหนังสือศิลปสงเคราะห์ (พจนานุกรมศัพท์ศิลปะของชาวตะวันตก) โดย ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี แปลโดยศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน


อ.เปลื่อง รับพระราชทานปริญญา ที่ท้องพระโรง

วันไหว้ครู (อ ศิลป์ พีระศรี อธิการบด๊ ชนิต อ หลวง9 )

พิธีครอบครูวันรับน้องใหม่ปี 2503


Decorative Arts History

In 1933 (2476) the government revived the fine arts Department again. ( the Fine Arts Department has been in the reign of King Rama 6 and in the reign of King Rama 7 is the Fine Arts Department directly to the Academy's Council) Professor Silpa Bhirasri proposed again a project of a Conservatoire to Pra Sarojratananimman (Saroj Sookyang), Director of the Department of Architecture, graduated from the School of Architecture, Urban Planning from the University of Liverpool, England, a commander with extensive knowledge of international art, understands the aspirations and ideals of the Arts. Professor Silpa Bhirasri proposed courses of instruction taken from the artist. Pra Sarojratananimman has supported the project till it has been approved by the Ministry of education to establish the school of Fine Arts in Fine Arts department, implementation of instruction from the year 1934 (2477) onwards, by recruiting young people interested in the arts. The First generation got 7 students; most of them are sculptors who have the ability and reputation after all. In 1935 (2478)the Fine Arts Department gathered the Fine arts and the school of Music and Dramatic Academy together, and renamed as the school of Arts which was divided into three sections, Fine art section, industrial Art section, Dramatic orchestra section. The art works of the fine art section (called technician sections onwards) impressed the head of the government at that time. Professor Silpa Bhirasri and all his first generation students devoted their knowledge, their capability, and the Energy. Chom Phon. Phibulsongkram, the prime minister awarded to the importance of higher education of Art of the nation. He asked Praya Anumanratchaton (Satienkoseat) the director of the Fine Art department, to cooperate with Professor Silpa Bhirasri to adjust the curriculum of the technician section to be the curriculum of the University and accepted the students who got the higher level. It was named Silpakorn University, which has been proposed as an act of the parliament, and has been announced by the government gazette on 12th October 1943 (2786) which established only one faculty, named Faculty

of Painting and Sculpture. In 1955 (2498) it has been established Thai architecture and archeology. But because of painting and sculpture are at the School of Decorative Arts (Decoration) in the curriculum itself. The Graduated Students have worked out successfully in interior at that time. "By virtue of the taste, this is to ask people what beautiful furniture, the interior housing, shops, theaters." Professor Silpa Bhirasri who currently held the position of Dean of the Faculty of Painting and sculpture discussed with Professor MJ Yajai Jittrapong, Assistant Prof. MLV.Poonsawat Krisdakorn MJ. Chalermsamai Krisdakorn who are the officers in the Department of Fine Arts together. They are teaching about decoration in the Faculty of Painting. So they did a project to establish the fourth faculty of Silpakorn University, as announced on May 18th ,1956 (2499).

The Development of the Courses academic

The Courses academic of 1956-1973 (2499 – 2516) in the Faculty of Decorative Arts opened for the students 1956 (2499) for the first year. The academic year 1956-1973 (2499 – 2516) was only interior design. The curriculum was developed from the Faculty of Painting and Sculpture. There is a study of the Fine Arts for having the knowledge and the artistic skill of practicing, then separating the study of the Applied Arts of the interior design, for responding the need of Thai social, the lack of an interior designer. The course was divided into two groups of the Major and Minor. The Major subjects include art as decoration, decoration material, architectural decoration, woodcraft and so on, in a Minor course provides knowledge more widely. The courses included such a perspective, art history research, art, architecture, Thai structural theory, ceramic, Math and English. The study was divided into two levels, three-year diploma programs and four-year undergraduate. The graduate received a diploma of Fine Arts (Decorative Arts) degree in Fine Arts (Decorative Art). The course academic was about 1974-1985


(2517-2528) In 1974 (2517), the course was revised on changing of philosophy and the objectives of the curriculum. This revised academic contained the important philosophy. It’s about the educational management to make the graduate able to be the applied art designer and to have the basic of humanities and social science together, which would make them to be the designer with good ideas about large social knowledge and became the perfect human. The revised curriculum was divided into four groups of subjects. - Elementary subjects, Humanities and Social Sciences, which all students, of all faculties must have studied. - Elementary subjects, art practice and art theory, which all students of Decorative Arts must have studied which would make the students be on the standard practice of art and the art theory, and it would help the students be able to request a transfer department within the Faculty easier. - The Major subjects or required subjects of the department, which were the group of subjects that constructed the professional capability, which the students of that discipline must study all. - The elective subjects were the group of subjects that supported the professional knowledge largely, and supported the interests, the personal talent, being developed. In educational management, It has changed to use the credit system and canceled the Diploma of Art. The decorative of art produced only the bachelor degree of art, courses study for 4 years. Adding 4 subjects, they were interior design, visual communication design, product design, and applied art design. The curriculum about 1986-1993 (2529-2536) The faculty of Decorative Arts revised the curriculum in 1986 (2529-2536) by revising the objectives and the content of all learning subjects and adding the ceramic subjects which were modern and respond to the society and labor needs in the presence. The structure of the curriculum was the same group of subjects; the educational management was in the same group of subject, and credit system, bachelor degree in Fine Art. 1994 – Presence In 1994, the curriculum is revised and improved the learning management, the core courses of the faculty up to the department based on the students’ construction, Talence and

Ability in creating the design work and having a good attitude, critical thinking, self-development and morality which convey the benefits to the society. In 1996 (2539) They have prepared the bachelor of Fine Art in Jewelry design The Faculty of decorative Arts for supporting the need of designers in this field. It was opened for admitting the first group of students in 1997 (2540). In 1998 (2541) they have amplified 3 curriculums of Master of Fine Art; visual communication design, applied art design and ceramic design. They also opened MFA of the interior design in 2004 (2547) and MFA of product design in 2009 (2552) During 2006-2013 (2549-2556) they have opened the 2 years Extension Programs in bachelor degree in visual communication design and Fashion design (which were closed.) They have opened the international special program in Fashion Design for 4 years in Phd, and Master of Fine Arts program in Jewelry and also revised the Master of Design Arts program. Nowadays we have admitted the students and revised the program for the bachelor degree in Interior design, visual communication design, and product design, ceramic design applied design, jewelry design and Fashion design (special Program). We have opened the graduate program in product design, jewelry design, design art, and PhD. Program of design art (international program). For all are 11 programs.

*Manthanasil, the word Manthana means to

decorate the building or other fine arts so any kind of art work with beauty is Manthana which also means Minor Art. The Decorative Arts mean all art products which are called Minor Art such as artisan weavers, lacquerer, by green Technician, silver and goldsmith, potter, glass technician, ceramics technician, Painter and drawer in books, and so much more. If these decorative arts are for commerce. It should be called commercial art, but it doesn’t change the meaning of decorative arts. Applied Art is another word which also means decorative arts because it is used with the general materials such as, a design on the cigarette box, or on the spoon handle or on the dishes, the design in the book or on the iron gate. These are all applied art because it increases the beauty to the general materials. So the commercial art and applied art are decorative arts.


60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



อาจารย์ นิรันดร์ ไกรฤกษ์ Ajarn Nirun Krairiksh

ตลอดเวลา 35 ปี 8 เดือนทีต่ ดั สินใจเข้ามาเป็นอาจารย์ ในภาควิชาออกแบบตกแต่งภายในก็ได้ทุ่มเทเวลาทั้งหมดใน หน้าที่การสอนและถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ นักศึกษาอย่างเต็มเวลาและสุดความสามารถมาโดยตลอด อายุราชการ และพร้อมอุทิศเวลาที่เหลือในชีวิตให้แก่การ ศึกษาทั้งหมด

Along 35 years, and eight months, for being as a professor in the Department of Interior, I have devoted all knowledges and experiences to the students, full-time with my best capacity. I devoted the rest of my life to the education.


“ Creating Art and design works, it is not only functional, but also the taste that we should not ignore. �


นายสุวรรณ คงขุนเทียน Suwan Kongkhunthain นักศึกษารุ่นที่ 17

บัญญัติ “10 ต้อง” เพื่อการออกแบบ | 10 Commandments for the design 1. ต้องเอาข้อจำ�กัดของกระบวนการผลิต มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งาน | 2. ต้องคิดในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ให้เป็นไปได้ 3. ต้องมั่นใจว่าผลผลิตที่คิดและทำ�ออกมา คือสิ่งที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ไม่ใช่สนองตอบความต้องการของตัวเราเอง 4. ต้องเข้าใจเรื่องของวัฒนธรรม กับวิถึชีวิตของคนปัจจุบัน เพื่อใช้ประกอบการพัฒนาการออกแบบ | 5. ต้องค้นหาเอกลักษณ์ของตัวตนให้เจอ 6. ต้องไม่ยึดติดกับสิ่งเดิมๆ ต้องเปิดกว้างเพื่อรับรู้จากการเปลี่ยนแปลง และ พร้อมที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลง 7. ต้องถามตัวเองเสมอว่า สิ่งที่คิดและทำ�นั้นแตกต่างไปจากเดิม หรือต่างจากคนอื่นอย่างไร 8. ต้องมองเห็นข้อดีและข้อเสียของวัสดุทุกครั้งที่ทำ�งาน | 9. ต้องศึกษาหาความรู้เรื่องศิลปะ | 10. ต้องฝึกมีรสนิยมที่ดี ซึ่งส่งผลต่อการทำ�งานมากที่สุด 1. Remove the restrictions of the production process become an inspiration to create jobs. 2. Think and make the impossible thing, been possible. 3. Be sure that the product which has been thought and acted out, are the needs of consumers, and are not the needs of our own. 4. Understand the culture and the lifestyle of the people today for supporting the development of design. 5. To find one’s identity. | 6. Do not stick to the same thing. Open to recognize the need to change and be ready to change. 7. Ask yourself what you think and act , how it is different from the original or different from others. 8. See the advantages and disadvantages of each work. | 9. Search and learn about the arts. 10. Have good taste which affects mostly to the work.


ม.ล.ภาวินี สันติศิริ

The Honourable Pawinee Santisiri ศิษย์เก่าปี 2519 (1976)

“ ”

รัก...ชอบ..และสนุกกับสิ่งที่ท�ำ อะไร ๆ ก็ตามมาเอง Love, admire and enjoy what you’ve done,whatever follows up……


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญเสริม เปรมธาดา Boonserm Premthada’s Synopsis

Boonserm

Premthada was born and raised in Bangkok, Thailand. He received his Bachelor of Fine Arts (Interior Design) with first class honors in 1988 and Masters of Architecture from Chulalongkorn University in 2002 and established his office named Bangkok Project Studio in 2003.

Boonserm believes that architecture is the physical creation of an atmosphere that serves to heighten man’s awareness of his natural surroundings. His work isn’t about designing a building, but rather the manipulation of light, shadow, wind, sound, and smell... creating an “poetics in architecture” that is a living being sense.

Prize and Category winner special solution International Brick Architecture 2014 Wienerberger Vienna Austria, Winner Silver Category “Public Buildings, Sports and Recreation” FritzHöger-Preis für Backstein-Architektur 2014 Germany, Award 21 for 21 World Architecture News 2012 United Kingdom, Highly commended World Architecture Festival 2012 United Kingdom and numerous other international awards.

Beyond the realms of theory and practice- Boonserm’s work also carries a strong socio-economic and cultural agenda as The visibility of his work has led to invitations for lectures many of his projects have social programs that aim to improve and exhibitions at several institutions such as Royal Institute the lives of the under-privileged. of British Architects (RIBA), École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL), Indian Institute of Architects, University The Kantana Film and Animation Institute is a prime example of of Tokyo, University of Hong Kong, National University of Boonserm’s theoretical and real-world ideals. The embodies Singapore and several other international university. a to push architecture from “Modern” to “Timeless”. The project was selected as the Grand Prize Winner of the ar+d Outside of his role of architect and artist, Boonserm also is an Awards for Emerging Architecture in 2011. It was also shortlisted assistant professor of the Department of Interior Architecture for the Aga Khan Awards for Architecture, 2013 cycle, Grand at Chulalongkorn University. -


อาจารย์ไชยรัตน์ ณ บางช้าง Chairat Na Bangchang

การวางแนวความคิดไว้ตงั้ แต่เริม่ ทำ�งาน ช่วยให้การทำ�งนมุง่ ตรง สุจ่ ดุ หมายได้ไม่หลงทางและยังช่วยสนับสนุนให้เป็นชิน้ งานทีเ่ ป็นเรือ่ งราว อันสัมผัสได้ บางครัง้ สถานทีเ่ ป็นตัวกำ�หนดแนวทางในการออกแบบสภาพ แวดล้อม ทัศนียภาพทีม่ องเห็น จากภายใน ล้วนบอกเราได้วา่ ควรออกแบบ ในทิศทางใด สิง่ ของทุกชิน้ มีทที่ างเฉพาะของมัน หากจัดให้อยูใ่ นตำ�แหน่ง ที่เหมาะสมจะช่วยให้ผลงานงดงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้นอันเป็นเครื่องพิสูจน์ผล งาน ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานขนาดไหน ก็ไม่สามารถลดทอนความงามได้ แสดงว่าเป็นผลงานที่ดีชิ้นหนึ่ง Having the concept at the beginning helps to straight to the main point. Do not get lost and also helps to touch the story experience. Sometimes the place is a set of guidelines for the design environment, the view from inside tells us the direction that should be designed. Every object has a unique way of it. If it is placed in the right position.It helps the gorgeous rich and perfect as a testament portfolio. If the time is over for the artwork, It does not diminish the beauty. That means it is a good piece of work.


พันธ์พิไล ใบหยก Panpilai Baiyoke

ศิษย์เก่า รุ่นที่ 16

การทำ�งานออกแบบต้องคำ�นึงถึงเป้า หมายของผลงานออกแบบนั้นๆทำ�เพื่อใคร ตอบ สนองโจทย์หรือกิจการนั้นเกี่ยวกับอะไร และ ต้องการสื่ออะไรให้มวลชนหรือกลุ่มเป้าหมายใด ให้ได้รับผลที่ดีจากการออกแบบ อยู่แล้วมีความ สุขสบายตาและสบายใจ จึงจะเรียกว่าผลงาน ออกแบบนัน้ บรรลุสคู่ วามสำ�เร็จของทุกฝ่าย ทัง้ นี้ รวมด้วยการคำ�นึงถึงการลงทุนหรือค่าใช้จ่ายใน การตกแต่งก่อสร้างตามแบบที่เหมาะสม และ สมเหตุสมผลในการเลือกใช้วัสดุตกแต่งที่คุ้มค่า ทั้งราคาและคุณภาพที่ยังคงความสวยงามอย่าง มีคุณค่า จึงจะเป็นผลงานออกแบบที่สมบูรณ์ แบบในทุกประการ

ส่ ว นปรั ช ญาในการทำ � งาน ด้ ว ย ความเป็ น คนไทยก็ ย่ อ มต้ อ งรั ก ในวั ฒ นธรรม/ ประเพณีไทย บางครั้งจึงอดไม่ได้ที่เราจำ�เป็น ต้องแสดงออกถึงอิทธิพลของศิลปะ/วัฒนธรรม ไทยสอดแทรกไปในงานต่างๆที่เราต้องเกี่ยวข้อง หรือดำ�เนินงานนั้นๆ แม้จะในงานต่างประเทศ ที่เรามีกิจการดำ�เนินธุรกิจอยู่ นับเป็นความภาค ภูมิใจในศักยภาพของคนไทยที่มีอยู่ไม่แพ้ชาติใด ในโลก ด้วยศิลปะ/วัฒนธรรมไทยของเราที่มี ประวัติศาสตร์ความเป็นมาช้านานสืบทอดจาก บรรพบุรุษตระกูลช่างต่อเนื่องมีวิวัฒนาการที่ดี สืบต่อกันมา ให้เราได้มี “ตัวตน” สมควรที่ เยาวชนคนรุ่นหลังต้องช่วยกันรักษาสืบทอดต่อ ไปไม่ให้สูญสลาย


จรูญ อังศวานนท์

ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ส าขาทั ศ นศิ ล ป์ (สถาปั ต ยกรรมภายในและ มัณฑนศิลป์) นายจรูญ อังศวานนท์ ปัจจุบันอายุ ๗๘ ปี เกิดเมื่อวัน ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๙ ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีศิลปบัณฑิตจากคณะมัณฑนศิลป์ ภาควิชาการ ออกแบบ ตกแต่งภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร นายจรูญ อังศวา นนท์ ได้สร้างสรรค์ออกแบบตกแต่งภายในอย่างต่อเนื่อง โดยค านึง ถึงหลัก Lifestyle รวมทั้งเอาความรู้ในวิชาการออกแบบตกแต่งมา เสริม คือ จุดเด่นในเรื่องของการสร้าง Space พิเศษที่สามารถเพิ่ม ประโยชน์หรือมุมมองให้กับบ้านหรือสถานที่นั้นๆ ได้จึงไม่น่าแปลก ใจที่ในยุคนั้น นายจรูญ อังศวานนท์ จะเป็นนักออกแบบตกแต่งชั้น น าของประเทศที่ได้รับให้สร้างสรรค์ผลงานเป็นอันดับต้น ของไทย นอกเหนือจากบทบาทนักออกแบบตกแต่งภายในแล้ว ยังกล่าวได้วา่ นายจรูญ อังศวานนท์ เป็นบรมครูของวงการออกแบบตกแต่งภายใน ของประเทศไทย ได้ให้โอกาสและสร้างนักออกแบบตกแต่ง ภายใน ฝีมือดีอีกหลายท่านที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันอีกด้วย นายจรูญ อังศวา นนท์จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศน ศิลป์ (สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์) พุทธศักราช ๒๕๕๗


โกวิท เอนกชัย Mr. Kovit Anakechai คณะมัณฑนศิลป์ พ.ศ. 2507

หนังสือเล่มแรกของอาจารย์โกวิท เอนกชัย (เขมานันท ะ) เริ่มปรากฏต่อบรรณพิภพเมื่อปีพ.ศ. 2513 จากนั้นท่านอาจารย์ ก็ ไ ด้ ทำ � งานเขี ย นต่ อ เนื่ อ งมายาวนานถึ ง บั ด นี้ เ ป็ น เวลาถึ ง 37 ปี ประสบการณ์ทางด้านการศึกษาปฏิบัติธรรม ได้เรียนรู้โดยตรงจาก ครู ผู้เป็นสุดยอดของพระสงฆ์ทั้งทางด้านปริยัติและปฏิบัติคือท่าน อาจารย์พุทธทาสภิกขุ และหลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ อีกทั้งท่าน อาจารย์เขมานันทะยังได้เดินทางแสวงหาความรูค้ วามเข้าใจทางด้าน ศิลปะและวัฒนธรรม ได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกับชาวบ้าน ชาวนา ชาวประมง นักศึกษา ปัญญาชน ผู้คนหลากหลายอาชีพทั้ง ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทั้งผู้คนจากเอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา รวมทัง้ การได้เดินทางตัง้ แต่ชว่ งเป็นพระธุดงค์ เดินทาง ไปปฏิบัติธรรม บรรรยายธรรมะในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศไทย และ เมื่อลาสิกขาแล้ว ก็ได้รับเชิญให้เดินทางไปบรรยายธรรมะ จัดคอร์ส อบรมภาวนา บรรยายความรู้ทางด้านศาสนาเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศไทยและโลกตะวันออก โลกตะวันตก สิ่งเหล่านี้เป็นรากฐาน ทรัพยากรสูงค่าในตัวอาจารย์เขมานันทะ ให้มมี มุ มองอันกว้างไกล ลึก ซึง้ อย่างยิง่ ในศิลปะ ศาสนาและวัฒนธรรมไทยและมีความเป็นสากล หลากหลาย สิ่งเหล่านี้ท่านอาจารย์ได้ถ่ายทอดลงในงานเขียนทุกรูป แบบของท่านอย่างเต็มที่ ทั้งยังทำ�งานเขียนมายาวนานต่อเนื่องไม่ เคยหยุด ผลงานอันมีมมุ มองพิเศษและลุม่ ลึกในทางจิตวิญญาณ จาก รากฐานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมไทย อันเปิดกว้างสู่ความเป็น

สากลนี้ ทำ�ให้มีทั้งคนไทยและชาวต่างชาติหลากหลายรุ่นชน หลาก หลายอาชีพ สนใจในงานเขียนและทัศนะทุกด้านของท่านเขมานันท ะมาโดยตลอด หลายทศวรรษมาแล้วทีผ่ อู้ า่ นได้รบั ทัง้ ความรู้ ความเข้าใจ และทัศนะอันลุ่มลึกต่อชีวิต จากผลงานหลากหลายของท่านเขมา นันทะ ทั้งในภาคส่วนของงานกวีนิพนธ์ วรรณกรรม บทความทาง ศาสนาวิชาการ และงานปาฐกถาธรรม หลายทศวรรษมาแล้วที่ผู้อ่านได้รับทั้งความรู้ ความเข้าใจ และทัศนะอันลุ่มลึกต่อชีวิต จากผลงานหลากหลายของท่านเขมา นันทะ ทั้งในภาคส่วนของงานกวีนิพนธ์ วรรณกรรม บทความทาง ศาสนาวิชาการ และงานปาฐกถาธรรม ลั ก ษณะเด่ น ในงานวรรณกรรมและงานธรรมบรรยาย ทั้งหมดของท่านเขมานันทะนั้น นอกจากจะมีมิติกว้างไกลทั้งทาง ด้านศิลปะ นิเวศวิทยา มานุษยวิทยา ให้ความรู้ลุ่มลึกในหนทาง พุทธประเพณีของวัฒนธรรมไทยแล้ว ภาษาที่ท่านอาจารย์เลือกใช้ ก็มีความคมคาย ไพเราะ กินใจอย่างยิ่ง แต่ที่สำ�คัญที่สุดก็คือ ความ เข้าใจลึกซึง้ ต่อชีวติ และแก่นของชีวติ ทีเ่ ปิดเผยอยูใ่ นหนังสือเล่มต่างๆ ของอาจารย์ล้วนเป็นประสบการณ์ตรงที่ท่านอาจารย์ได้รับจากการ ปฏิบัติภาวนามายาวนานหลายสิบปี และยังปฏิบัติอยู่ทุกขณะใน ชีวิตประจำ�วัน


พีรพล พูลผลอำ�นวย Peerapon Poolpolamnuay นักศึกษา

โครงการออกแบบภายในศูนย์ส่งเสริมการสร้างสรรค์ดนตรี อุษาคเนย์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัด นครปฐม เพื่อต่อยอดจากวิสัยทัศน์ในการสร้าง “กรุงเทพเมือง ดนตรี” (Bangkok Music City) ผู้จัดท�ำศึกษาถึงปัจจัยและองค์ ประกอบที่จ�ำเป็น พบว่า กรุงเทพมีองค์ประกอบที่เหมาะสมต่อ การเป็นเมืองที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการท่องเที่ยวเชิงดนตรี หากแต่ยังขาดพื้นที่ในการส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ด้าน ดนตรี “กรุงเทพคือเมืองทีม่ พี นื้ ทีเ่ ล่น แต่ยงั ขาดพืน้ ทีค่ ดิ ” จึงน�ำมา ซึง่ แนวคิดในการสร้างศูนย์กลางทีส่ ง่ เสริมให้เกิดการคิดสร้างสรรค์ ดนตรี อันเป็นศูนย์กลางหนึ่งเดียวของอุษาคเนย์ โดยอาศัยแหล่ง ข้อมูลในการสร้างแรงบันดาลใจอันได้แก่ “ธรรมชาติ” (Natural) และ “ดนตรีท้องถิ่นภูมิภาคอุษาคเนย์”(Southeast Asian Traditional Music) น�ำมาสู่การออกแบบ “ศูนย์ส่งเสริมการ สร้างสรรค์ดนตรี อุษาคเนย์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล จังหวัดนครปฐม” พื้นที่ชานเมืองที่เพียบพร้อมด้วยแหล่ง ข้อมูล งานวิจัย บุคลากร และการเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะใน อนาคต ภายใต้ แ นวคิ ด ในการออกแบบคื อ “FACTOR OF CREATIVITY & ESSENTIAL CULTURE IS RELATED TO MUSIC” ออกแบบพืน้ ทีใ่ นเชิงกายภาพด้วยปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้ผใู้ ช้เกิดความ คิดสร้างสรรค์ ผสมผสานกับการออกแบบเชิงการตกแต่งด้วย อารมณ์ความรู้สึกของวัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอุษาคเนย์ เพื่อจุด มุ่งหมายหลักคือ ให้ผู้ใช้บริการสามารถสร้างสรรค์ดนตรีรูปแบบ ใหม่ ทีผ่ สมผสานแรงบันดาลใจทางธรรมชาติและอารมณ์ของเสียง ดนตรีท้องถิ่นภูมิภาคอุษาคเนย์เข้าไว้ด้วยกัน


60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



สถิตย์ เลิศในเกียรติ Stit Lertnaikiat

Managing Director, CGI Artist ศิษย์เก่า รุ่นที่ 21 ภาควิชาออกแบบนิเทศสิลป์ รุ่นที่ 1 แนวคิด : ภูมปิ ญ ั ญาไทย คนไทยน�ำวัสดุธรรมชาติมาใช้จนเป็นวิถชี วี ติ ตัง้ แต่อดีดและยิง่ มีให้เห็นจวบจนปัจจุบนั “Traditional Thai Packaging” ผลงาน : เป็นผู้ริเริ่มในมิติต่างๆ ของงานกราฟิกดีไซน์อยู่เลสมอ - ออกแบบด้วยแนวคิดภาพเพื่อการสื่อสารด้วยเชิงของความหมาย โดยก่อตั้งสตูดิโอและทีมงาน OMNIVISIONS สร้างผลงานออกแบบปกแผ่นเสียง - ริเริ่มในการใช้ Desktop Publishing และ Digital Imaging และเผยแพรความรู้ในการสร้างงาน ด้านนี้ - สอบเข้าเป็น Graphic Designs Technology Expert ของ WorldSkills International ท�ำหน้าที่ กรรมการจัดการแข่งขันและการตัดสิน WorldSkills Competitions - ก่อตั้งคณะกรรมการสาขา Graphic Designs Technology Thai WorldSkills Competitions โดยท�ำหน้าที่ประธานสาขาเพื่อด�ำเนินการแข่งขันคัดเลือกและอบรมนักศึกษาด้านนี้ไปเป็นตัวแทน ของประเทศ จนสามารถชนะเลิศในงาน AseanSkills Kuala Lumpur Malaysia 2008 และรอง ชนะเลิศในงาน WorldSkills Calgary Canada 2009 ออกแบบปกเทปและแผ่นเสียง เมดอินไทยแลนด /คาราบาว Made in Thailand / KARABAO Album Cover 1984 Top Pop Best Album Cover

A pioneer in the field of Graphic Designs - Employ conceptual designs to communicate with an image of meaning. Thefounder of OMNIVISIONS studio team to create record covers designs. - Initiative for Desktop Publishing and Digital Imaging and dissemination ofknowledge in the creation of this field. - A Graphic Designs Technology Expert of WorldSkills International organized thecompetition and judging at WorldSkills Shizuoka 2007 and WorldSkills Canada 2009. - Founded Graphic Designs Technology of Thai WorldSkills Competitions Committee and serves as chairman to recruit and train students to representative of Thai graphic designer. Finally earn 1st place in AseanSkills KL Malaysia 2008 and the 2nd place in WorldSkills Calgary Canada 2009. - Initiated a CGI (Computer-generated imagery) and dissemination of knowledge


ไพโรจน์​์ ธีระประภา Pairoj Teeraprapa

Graphic Designer, Special Lecturer, Owner of The Chonabod ศิษย์เก่า รุ่นที่ 29 / ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ รุ่นที่ 1

ไพโรจน์ ธีระประภา ได้รบั รางวัลศิลปินศิลปาธร ประจ�ำ ปี 2557 สาขาเรขศิลป์ โดย ส�ำนักงานศิลปวัฒนธรรม ร่ ว มสมั ย กระทรวงวั ฒ นธรรม เป็ น นั ก ออกแบบ กราฟฟิกไทยที่มีสไตล์อันโดดเด่น ผลงานของไพโรจน์ สะท้อนความเป็นไทยในมิติของศิลปะวัฒนธรรม รวม ทั้งชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน นอกจากนี้ยังอุทิศตนท�ำงานเพื่อสังคมมากมายทั้งการ เป็นวิทยากร อาจารย์พเิ ศษ กรรมการ ให้กบั สถาบันการ ศึกษาและหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งท�ำงานอาสาสมัคร และงานเพื่อสังคมในนามกลุ่ม “เซียมไล้”


นายอรรถพล ศิริมงคล Mr. Atthapol Sirimongkol

Managing Director ศิษย์เก่า รุ่น 38 / ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

พีเ่ อเป็นคนทีไ่ ม่หยุดทีจ่ ะเรียนรู้ ซึง่ เป็นคุณสมบัตทิ สี่ �ำคัญอย่างหนึง่ ของคนทีท่ �ำงานใน วงการComputer Graphic เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว โดยในช่วง10ปีทผี่ า่ นมามีSoftwareและMediaทีเ่ กิดขึน้ และหายไปอยูต่ ลอด ซึ่งปัจจุบันนี้นอกจากจะมี softwareต่างๆให้เรียนรู้มากขึ้นแล้ว ยังมีสื่อใหม่ๆเกิดขึ้น มาพร้อมๆกันอีกด้วย และซึ่งพี่เอก็คอยติดตามและกระตุ้นให้น้องๆเปิดหูเปิดตาและ เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆอยูเ่ สมอ นอกจากนัน้ การรูถ้ งึ ความถนัดและศักยภาพของตัวเองก็เป็น สิง่ ทีส่ �ำคัญ แอนิเมชัน่ เป็นงานทีม่ รี ปู แบบทีห่ ลากหลาย แต่เพราะความชอบและความ ถนัดในงานที่เกี่ยวกับCharacter Animation ท�ำให้สตูดิโอเล็กๆอย่างบริษัทมัฟฟิ่น สามารถพัฒนาและสร้างผลงานได้อย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ และในฐานะของคนท�ำงานพาณิชย์ศิลป์ การหาทางออกระหว่างความต้องการของ ลูกค้าและการสร้างผลงานที่ดี ก็เป็นจุดที่ท้าทายการท�ำงานอย่างมาก ซึ่งพี่เอก็ไม่ ย่อท้อในการแก้ปญ ั หางานให้ลกู ค้า แต่กไ็ ม่ทงิ้ ความเป็นความตัง้ ใจทีจ่ ะรักษาคุณภาพ ผลงานให้อยู่ในระดับที่ดีอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งตรงนี้ผมเองเห็นว่าเป็นจุดที่ส�ำคัญ เป็น 1 ในคุณสมบัติที่คนท�ำงานในสายงานพาณิชย์ศิลป์ หรือสายงานต่างๆควรต้องมีและ รักษาไว้


ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี Assistant Professor Arwin Intrungsi

ศิษย์เก่า ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ รุ่นที่ 36

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาวิน อินทรังษี ท�ำงานเป็นอาจารย์ในคณะมัณฑนศิลป์ มากว่า 20 ปี ตลอดระยะเวลาในการท�ำงานได้ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ของ ทางคณะมัณฑนศิลป์ รวมทั้งคณะวิชาและหน่วยงานอื่นๆ ของมหาวิทยาลัย มาโดยตลอด นอกจากนี้ยังได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณางาน วิชาการ งานประกวด หรือเป็นกรรมการด�ำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ของ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน อาทิ มหาวิทยาลัยต่างๆ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงพาณิชย์ ส�ำนักงาน ป.ป.ช ฯลฯ นอกจากงานสอนและงานวิชาการ แล้วยังท�ำงานออกแบบด้านวิชาชีพอย่างสม�่ำเสมอ โดยมีผลงานที่เผยแพร่ สู่สาธารณะและรางวัลจากการประกวดงานออกแบบต่างๆ ให้เห็นเป็นที่ ประจักษ์ รางวัลที่ได้รับ - รางวัลสินค้าไทยทีม่ กี ารออกแบบดี Design Excellence Award (DEmark) หมวดกราฟิกดีไซน์ จัดโดย ส�ำนักส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพือ่ การ ค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ - รางวัล Good Design Awards (G-mark) จัดโดย สมาคมส่งเสริมการ ออกแบบอุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (JIDPO)

ผลงาน : ฟอนท์ “ลีลาศ” “Leelas” แนวความคิด ฟอนต์ภาษาไทยที่ออกแบบให้มีลักษณะเป็นดิสเพลย์ฟอนต์ มีรูปแบบเป็น มัลติไลน์ฟอนต์ ให้อารมณ์หรูหรา อ่อนหวาน คลาสสิก เทคนิคการสร้างสรรค์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Adobe Illustrator และ Fontlab Studio


อธิปัตย์ กมลเพ็ชร Film Director, Stop-motion Animation

ศิษย์เก่า Dec.29 นิเทศศิลป์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ปี 2533

การทำ�งาน : Creative Director รับงานผลิต มิวสิควิดีโอ บริษัท รถไฟดนตรี จำ�กัด ปี2559-2534 Artdirector ฟรีแลนซ์ รับงานผลิตภาพยนตร์โฆษณา Director ผลิตมิวสิควิดีโอ ปี 2534-2535 ก่อตั้งบริษัท ซิงเกิ้ลเฟรม จำ�กัด ผลิตภาพยนตร์โฆษณา มิวสิควิดีโอ ปี 2535-2537 Director ประจำ�ให้กับบริษัท อัพเพอร์คัท จำ�กัด บริษัทในเครือ GMM Grammy ปี 2537-2544 ก่อตั้งบริษัท อะมีบ้าฟิล์ม จำ�กัด Director ผลิตภาพยนตร์โฆษณา Project Maneger : Event ปี 2544-ปัจจุบัน ผลงาน : รางวัลมิวสิควิดีโอและภาพยนตร์โฆษณาที่สร้างจากเทคนิคแอนิเมชั่นหลายชิ้น ภาพยนตร์แอนิเมชั่นขนาดสั้นเรื่อง ไอ้จุก ความยาว 18 นาที รางวัลรองชนะเลิศภาพยนตร์สั้นแอนิเมชั่น รางวัลประยุตย์ เงากระจ่าง มูลนิธิหนังไทย ปี 2540 ภาพยนตร์แอนิเมชั่น 4 มิติงาน พ่อ The Greated of the King the Greeting of the Land. ฉายบนพระที่นั่งอนันตสมาคม ประกอบการแสดงดนตรีออเคสตร้า ปี 2552 ภาพยนตร์แอนิเมชัน่ เทิดพระเกียรติพระเจ้าอยูห่ วั เรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอน ธรรมะแห่งราชาความยาว 30 นาที รางวัลทีไ่ ด้รบั : รางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สนั้ แอนิเมชัน่ รางวัลประยุตย์ เงากระจ่าง มูลนิธหิ นังไทย ปี 2554 ภาพยนตร์แอนิเมชั่นประกอบการแสดงศิลปะร่วมสมัย นาฏศิลป์โขนร่วมสมัย เรื่องรามเกียรติ์ ตอน บุกลงกา ความยาว 40 นาที ในวาระครบรอบ 80 ปี บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำ�กัด ปี 2556


คมภิญญ์ เข็มกำ�เนิด Kompin Khemkumnerd ผู้ก�ำกับภาพยนตร์แอนิเมชั่น

ศิษย์เก่า รุ่นที่ 30 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ เขาคื อ คนไทยคนหนึ่ ง ที่ มี ค วามฝั น ว่ า อยากร่ ว มงานกั บ บริ ษั ท แอนนิ เ มชั่ น ชื่ อ ดั ง อย่ า ง “Walt Disney” ดังนัน้ เมือ่ จบจากคณะมัณฑณศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ทำ � งานแอนิ เ มชั่ น พอสมควรแล้ ว เขาจึ ง เลื อ กไป ศึกษาต่อในสถาบันที่มีชื่อเสียงอย่าง California Institute of the Arts สหรัฐอเมริกาหรือที่เรียก สั้นๆว่า CalArts ระหว่างการศึกษาคำ�ป้อนได้รับ ทุนการศึกษาจาก Disney Feature Animation Studios หลังจากเรียนจบแล้วเขาได้เป็นส่วนหนึ่ง ในหนังแอนนิเมชั่นเรื่องเยี่ยมอย่าง Tarzan และ Atlantis ต่อมาเขาได้ย้ายค่ายมาร่วมงานกับ Blue Sky Studios ในเรื่อง Ice Age ท้ายสุดเขาหอบหิ้ว ประสบการณ์ทั้งหมดกลับมาเมืองไทย และเข้าร่วม งานกับบริษัทกันตนาแอนนิเมชั่นสตูดิโอในฐานะ ผู้กำ�กับภาพยนตร์แอนิเมชั่น ผู้สร้างซีรี่ส์โทรทัศน์ เรื่อง “ซน” และภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องดัง “ก้าน กล้วย” โดยผลงานล่าสุดคือ “เอคโค่ จิ๋วก้องโลก” ภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องแรกของไทยที่สร้างในรูป แบบ 3D Stereoscopic อย่างเต็มรูปแบบ การทำ � งานด้ า นนี้ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาหรื อ ปริญญาบัตรบอกอะไรได้ไม่มากเท่ากับตัวผลงาน

ภาพยนตร์แอนิเมชั่นอาจเริ่มต้นจากทีมงานเล็กๆ ที่ร่วมกันพัฒนาไอเดียที่น่าสนใจให้กลายเป็นหนัง โดยมีโปรดิวเซอร์ ผู้กำ�กับ อาร์ตไดเร็กเตอร์ และ คนเขียนบททำ�งานร่วมกัน เมื่อโปรเจ็กต์ได้รับการ อนุมัติ ก็จะมีเงินทุนเพิ่มขึ้น ทีมงานก็เริ่มโตขึ้น หนัง แอนนิเมชั่นเรื่องหนึ่งอาจใช้เวลาทำ�นานมากอย่าง Tarzanใช้เวลาถึง 5 ปี แอนิเมชั่นเป็นงานที่ยาก ต้อง ใช้ความอดทนสูง คนที่จะมาทำ�อาชีพนี้จึงต้องมีใจ รัก และต้องมีความเพียร รวมทัง้ มีความคิดเปิดกว้าง พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา รางวัลที่ได้รับ : - รางวัล Mejor Largometraje จาก เทศกาลภาพยนตร์ แ อนิ เ มชั่ น Animadrid2006, Spain - รางวัลภาพยนตร์ยอดนิยมแอนิเมชั่น และ รางวัลภาพยนตร์ยอดเยีย่ มกิตติมศักดิ์ จากงาน ประกาศรางวัลพระสุรัสวดี - รางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัล ภาพยนตร์ยอดเยีย่ ม จากงานประกาศรางวัลสุพรรณ หงส์ทองคำ�


เปรมา จาตุกัญญาประทีป Prema Jatukanyaprateep อาจารย์พิเศษ Figure Drawing

ศิษย์เก่า รุ่นที่ 46 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

เป็นนักออกแบบภาพประกอบที่ชนะ “รางวัลมัง งะนานาชาติ” ครั้งที่ 7 (International MANGA Award) จากการประกวดการ์ตูนระดับนานาชาติ ของรัฐบาลญี่ปุ่น ไม่เพียงความสามารถด้วยการ วาดเขียน แต่เปรมาก็เป็นเลิศในการคิดเนื้อหา และการบอกเล่าเรื่องราวเฉพาะตัว ด้วยความรัก ในการวาดรูปและจริงใจกับความชอบของตนเอง

ไม่ เ พี ย งมี ค วามสามารถในเรื่ อ งงานออกแบบ แล้ ว เปรมายั ง กลั บ มาสอน ถ่ า ยทอดความรู ้ ประสบการณ์ทไี่ ด้เรียนมาจากประเทศฝรัง่ เศส ใน นักศึกษานิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มาอย่างต่อ เนือ่ ง ด้วยความเสียสละ ความทุม่ เท และความสา มารถทีเ่ ปีย่ นล้น จึงท�ำให้เปรมาเป็นแรงบันดาลใจ ให้เยาวชน คนรุ่นใหม่อย่างแท้จริง

ผลงาน : Sky Sky รางวัลที่ได้รับ : Grand Prix / Silent Manga Audition Organised by Coamix corp of Japan



60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



วริศ ศิลยานันท์ Waris Silayananta

ศิษย์เก่า ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ปี 2555-2558 ประวัติการท�ำงาน 2558 นักศึกษาฝึกงาน (ออกแบบฉากประกอบโฆษณา) บริษั PHENOMENA BANGKOK ทักษะความสามารถ ด้านการออกแบบ : ออกแบบฉากและเวที (Set Design) ออกแบบเฟอนิเจอร์ (Furniture Design) ออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ด้าน IT : โปรแกรม 2D Adobe Illustrator โปรแกรม 3D Rhinoeeros 5 งานอดิเรก : ท�ำ Model scale อ่านนิตยสาร National Geopraphic

ผลงาน : “โครงการออกแบบอุปกรณ์ถ่ายภาพแบบมือสมัครเล่นส�ำหรับผู้พิการ” แนวความคิดเกีย่ วกับผลงาน : ผมต้องการสร้างอุปกรณ์ทสี่ ามารถเปิดโอกาสให้ผพู้ กิ ารทางร่างกาย(ส่วน แขน)สามารถแสดงมุมมองที่แตกต่างของแต่ละคนโดยแสดงผ่านการถ่ายรูปได้ด้วยตนเอง


โกสิน วรเวทยากรณ์ Kosin Voravattayagon อาชีพ นักออกแบบรถยนต์ Chief designer / Car designer

ศิษย์เก่า รุ่น 42 ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์

ผลงาน : Saab CrossoverX (Concept vehicle design) 2010 Saab CrossoverX ถูกออกแบบตามหลัก Scandinavian design ได้แก่ simplicity และ purity โดยได้แรงบันดาลใจจากงานออกแบบแก้วของสวีเดน รถถูก ออกแบบให้ตอบโจทย์กับ lifestyle ของคนรุ่นใหม่ที่ชอบเดินทางและท�ำกิจกรรม จุดเด่น ของงานคือการวาง layout ภายในใหม่ให้ปลอดภัยยิ่งขึ้นโดยการขยับเบาะให้มาอยู่ด้าน ในตรงกลางและขยับให้ center console ออกไปด้านข้างแทน และเพิ่มความยืดหยุ่นการ ใช้พื้นที่ภายในห้องโดยสาร เช่น เบาะหน้า สามารถพับและเลื่อนไปไว้ใต้คอนโซลหน้า เพื่อ เบาะหลังสามารถเลื่อนไปด้านหน้าส�ำหรับการนั่งแบบ Ottoman เพิ่มความสะดวกสบาย ในการเดินทางไกล


คฑา มหากายี

Kata Mahakayi

กรรมการและก่อตั้งมูลนิธิ กระต่ายในดวงจันทร์ เจ้าของโรงแรมพระนครนอนเล่น

ศิษย์เก่า ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์


จุฑามาส บูรณะเจตน์ Jutamas Buranajade

ศิษย์เก่า รุ่น 42 ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ จุฑามาส บูรณะเจตน์ ทำ�งานร่วมกับ ปิติ อัมระรงค์ ภายใต้ชื่อ o-d-a ซึ่งย่อมาจาก object design alliance ทำ�งานออกแบบข้าว ของเครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ และยังมีกิจกรรม ทางการออกแบบอื่นๆ โดยวัสดุที่ทั้งคู่ให้ความ สนใจเป้นพิเศษคือไม้ o-d-a สร้างชื่อจากการ

ชนะรางวั ล จากงานประกวดออกแบบระดั บ นานาชาติมากมาย ปัจจุบันทำ�งานออกแบบ เฟอร์นิเจอร์สำ�หรับเด็กให้กับ Katoji ประเทศ ญี่ปุ่น พร้อมออแบบและผลิตสินค้าภายใต้แบ รนต์ o-d-a ของตนเอง

ผลงาน : แซลมอน (Salmon) ประเภทงาน : ม้านั่งยาว (Bench) รางวัลที่ได้รับ : “Finalist” งานประกวดออกแบบเฟอร์นิเจอร์ IFDA Competition 2014 ประเทศญี่ปุ่น แนวคิดผลงาน : “ทำ�อย่างไรจึงจะออกแบบม้านั่งยาวที่น่าสนใจจากเสาไม้ต้น เดียว?” ม้านั่งยาวที่ชื่อ “Salman” ทำ�จากไม้เสาท่อนใหญ่ฯ ท่อนเดียว ซึ่งเราพยายามค้นหาแนวทางใหม่ที่คาดว่าไม่เคยมีคนทำ�มาก่อน จนค้น พบว่าถ้าเราเปลี่ยนวิธีการผ่าไม้ให้เป็นแนวทะแยง 45 องศา ในทางยาว ไปตลอดทั้งเส้น จะได้ท่อนไม้ที่มีหน้าตัดเป็นทรงสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 ท่อน ทีส่ ามารถนำ�มาประกอบเข้าด้วยกันทำ�ให้เกิดม้านัง่ ทีม่ พี นื้ ทีใ่ นการ นัง่ กว้างขึน้ กว่าเดิม และใช้ไม้รปู ทรงเดิมพลิกกลับลงมาเพือ่ เป็นส่วนของ ขาในตัวมันเอง เนือ้ หาของงานอยูท่ ปี่ ระเด็นสำ�คัญเดียวคือเรือ่ งชำ�แหละ ไม้ท�ำ ให้นกึ ขัน้ ตอนการทำ�ซูชแิ ละด้วยลวดลายทีเ่ ป็นริว้ ชัดเจนของไม้สน พวกเราจึงเรียกมันว่า Salmon Bench


ธีรวัต พุทธวรชัย

Teerawat Puttavorachai Graphic Design

ศิษย์เก่า ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์


อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล -

ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)

ศิษย์เก่า / อาจารย์ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คุ ณ อภิ สิ ท ธิ์ จ บการศึ ก ษาจากคณะมั ณ ฑนศิ ล ป์ สาขา การออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จากนั้นเข้าศึกษา ต่อปริญญาโทสาขาบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และปริ ญ ญาโทด้ า นการออกแบบอุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เบอร์ มิ ง แฮม จากนั้ น ทำ � งานในอุ ต สาหกรรมการ ออกแบบ พร้อมทั้งเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ก่อนจะมา ร่วมทีมบริหารศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่งผู้ อำ�นวยการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ


ศุภพงศ์ สอนสังข์ Suppapong Sonsang นักออกแบบผลิตภัณฑ์ Product Designer

ศิษย์เก่า ป.ตรี 2537, ป.โท 2543 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ การศึกษา : 2541 ปริญญาตรี สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2548 ปริญญาโท สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


มนัสพงษ์ สงวนวุฒิโรจนา Manatspong Sanguanwuthirojana สถาปนิก ผู้ก่อตั้ง


Shinpanu Athichanabadee ศิษย์เก่า 1999-2003 ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์

Education 1995-1998 Saowapha Vocational College, Bangkok 1999-2003 Bachelor degree of decorative arts [Product Design] Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, Bangkok Thailand



60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



กรกต อารมย์ดี Korakot Aromdee

กออกแบบและเปลี่ยนมุมมองวัสดุท้องถิ่นให้เป็นผลงานสร้าง สรรระดับโลกผู้นี้เกิดในครอบครัวที่มีกิจการประมง กรกต จึงมีความคุ้น เคยและเติบโตมากับเครื่องมือประมงและจักสาน ตั้งแต่ แห อวน ตาข่าย งานฝีมือและงานหวาย ไปจนถึงวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้านของไทย อย่างแท้จริง สิง่ เหล่านีไ้ ด้กลายเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างอัตลักษณ์ใน งานออกแบบประติมากรรมติดตั้งพื้นที่เฉพาะกรณี ประติมากรรมลอยตัว และงานศิลปกรรมเฉพาะตัวของกรกต ภายหลังจากการสำ�เร็จการศึกษาระดับศิลปมหาบัณฑิตในสาขา ประยุกตศิลปศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรในปี พ.ศ. 2547 กรกตได้รบั รางวัล นักออกแบบแห่งปี (Designer of The Year) จากมหาวิทยาลัย ศิลปากรในปี พ.ศ. 2548 ภายหลังจากนั้น ชื่อเสียงของกรกตเป็นที่โด่ง ดังในวงการออกแบบของไทยเป็นอย่างดีจนกระทั่งเขาได้รับเลือกโดย คณะกรรมการ เพื่อนำ�ไปแสดงในนิทรรศการระดับโลกอย่าง Maison & Objet ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2549 โดยการแสดงผล งานในครั้งนั้นนับเป็นจุดเริ่มต้นของการประสบความสำ�เร็จระดับโลกขอ งกรกต ความสำ�เร็จของกรกตในฐานะนักออกแบบทีน่ �ำ ภูมปิ ญ ั ญาของไทย

ไปปรากฏอยู่ในนิทรรศการทั่วโลก อาทิเช่น งานแสดงแฟชั่น New York Fashion Design Week in New York ณ เขต Meatpacking ในมหานคร นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2551 การแสดงผลงานประติมากรรมติด ตั้งกำ�แพง ณ Marina Bay Sand ในเกาะสิงคโปร์ ในปี พ.ศ. 2552 ผลงาน ออกแบบติดตั้งเพื่อตกแต่งสถานที่ ณ Red Sea ประเทศซาอุดีอาระเบีย รวมถึงความสำ�เร็จล่าสุดจากนิทรรศการ Salone Milan Fair ณ กรุงมิลาน ประเทศอิตาลี ในปี พ.ศ. 2557 และ รางวัล Good Design Award จาก องค์กรส่งเสริมงานออกแบบผลิตภัณฑ์แห่งประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2558 ความสำ�เร็จเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ซึ่งกรกตมักให้สัมภาษณ์ อย่างอารมณ์ดเี สมอว่าความสำ�เร็จและชือ่ เสียงสำ�หรับเขานัน้ มิได้ได้มาโดย ทันทีหรือง่ายดาย แต่เป็นการเรียนรู้ที่ไม่เคยหยุดนิ่งนับตั้งแต่จากกิจการ ของครอบครัวในสมัยที่ยังเป็นเด็ก ความอุตสาหะ ความชื่นชอบในศิลปะ และการออกแบบรวมถึงความรับผิดชอบที่มีอย่างเสมอต้นเสมอปลายที่ ทำ�ให้เขาประสบความสำ�เร็จอย่างทุกวันนี้


จิระเดช มีมาลัย Jiradej Meemalai

จิระเดช สำ�เร็จการศึกษาในระดับศิลปมหาบัณฑิตใน สาขาประยุกต์ศิลป์ในปี พ.ศ. 2547 โดยการนำ�เสนอโครงการผล งานประติมากรรมติดตั้งในพื้นที่เฉพาะกรณี อาคารสักการสถาน พระมารดาแห่งมรณสักขี ณ จังหวัดมุกดาหาร ผลงานของจิระ เดชนั้นมุ่งเน้นนำ�เสนอทัศนคติ ความคิดเชิงปรัชญาผ่านกระบวน นำ�เสนอทางสุนทรียศาสตร์ทชี่ �่ำ ชองในการใช้ทศั นธาตุในด้านต่างๆ โดยเฉพาะการนำ�เสนอรูปทรงทีผ่ า่ นกระบวนการคิดและสัจจะแห่ง วัตถุ นอกเหนือจากความสามารถทางด้านการถ่ายทอดทัศนศิลป์ แล้ว จิระเดช ยังเป็นผูท้ มี่ คี วามสามารถทางด้านทฤษฎีและปรัชญา ผ่านการทำ�หน้าที่ภัณฑารักษ์ให้กับนิทรรศการสำ�คัญระดับชาติ และสากล รวมถึงการเป็นศิลปินเชิญพำ�นักในต่างประเทศ ได้รับ ทุนส่งเสริมและรางวัลทางด้านศิลปะจากนานาประเทศ จิระเดชและพรพิไลผู้เป็นศิลปินและคู่ชีวิต ร่วมกัน สร้างสรรผลงานศิลปกรรมในฐานะศิลปินสหวิทยาการในชื่อของ JiandYin โดยเป็นที่ประจักษ์ในหลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น โครงการศิลปะและปฏิบตั กิ ารผ่านสือ่ ทีห่ ลากหลายอย่าง ภาพถ่าย การแสดง และประติมากรรม เป็นต้น ผลงานของทัง้ สองมุง่ เน้นนำ� เสนอเรื่องราวสถานการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างคน รวมถึงความ สัมพันธ์ของคนทีม่ ตี อ่ บริบททางสังคม ผลงานของจิระเดชและพร พิไลบางส่วนนั้นได้รับการประมูลจากสถาบัน Christie’s ในส่วน ของศิลปกรรมร่วมสมัยและสมัยใหม่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2552 ได้รับการนำ�เสนอในนิทรรศการ

ณ ห้องแสดงภาพ Ratskeller – Contemporary Art Gallery ณ กรุงเบอร์ลนิ สหพันธรัฐเยอรมนีในปี พ.ศ. 2556 รวมถึง ณ Lingam Museum Catharijne Convent ประเทศเนเธอแลนด์ และเมื่อ เร็วๆนี้ ณ Pier2 Art Center ในเขต Kaohsiung ณ ประเทศ ไต้หวัน ในปี พ.ศ. 2558 นอกจากความสำ�เร็จในฐานะศิลปินและ นักออกแบบไทยแล้ว จิระเดชและพรพิไลยังเป็นผู้ที่มีอุปการคุณ ต่อวงการศิลปะร่วมสมัยของไทยผ่านการจัดตั้ง โครงการสร้าง ความเป็นไปได้และความร่วมมือทางศิลปะและวัฒนธรรม ‘บ้าน นอก’ ณ จังหวัดราชบุรีในปี พ.ศ. 2554 และเป็นวิทยากรและ อาจารย์พเิ ศษให้กบั มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบันชัน้ นำ�อืน่ ๆ อาทิเช่น จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึงเปิดให้ชมสถานที่ปฏิบัติงานให้กับ นักศึกษาระดับปริญญา โทจาก Department of Art มหาวิทยาลัย California State University ลอส แอนเจลิส สหรัฐอเมริกา และจัดทำ�โครงการ ปฏิบตั กิ ารให้กบั นักศึกษานานาประเทศ อาทิเช่น โครงการปฏิบตั ิ งานศิลปะ YZU Creative art workshop ณ Department of Art and Design มหาวิทยาลัย Yuan Ze University ประเทศ ไต้หวัน ในปี พ.ศ. 2555


ผศ. ไพรวัลย์ ดาเกลี้ยง

Assistant Professor Praiwan Dakliang ผศ. ไพรวัลย์ สำ�เร็จการศึกษาในระดับปริญญาศิลปบัณฑิต จากภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ในสาขาจิตรกรรมเกียรตินิยมอันดับที่หนึ่ง และได้อุทิศตน ให้กับวงการวิชาการศิลปะในฐานะนักวิชาการช่างศิลป์ และอาจารย์ ประจำ� ณ ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษานับตัง้ แต่ พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา ทักษะชัน้ เลิศทางจิตรกรรมในรูปแบบอภิสจั จนิยมของผศ. ไพรวัลย์ ได้ เป็นทีป่ ระจักษ์และได้รบั การยอมรับในระดับประเทศ อาทิเช่น รางวัล ชนะเลิศ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม จาก งานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครัง้ ที่ 27 พ.ศ. 2524 รางวัลทีห่ นึง่ เหรียญ ทองบัวหลวง ประเภทภาพเขียนร่วมสมัย จากนิทรรศการจิตรกรรมบัว หลวง ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2524 รางวัลที่หนึ่ง จากการประกวดจิตรกรรม เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 เนื่อง

ในวโรกาสฉลองศิริราชสมบัติครบ 50 ปี ในพุทธศักราช 2539 ผศ. ไพรวัลย์ นับเป็นผู้ที่มีอุปการคุณต่อวงการศิลปะของไทย ด้วยเป็นผู้ ที่อุทิศตนในฐานะครูผู้สอนศิลปะ และผู้อุทิศรายได้ที่เกิดจากผลงาน ศิลปกรรมส่วนตัวให้กบั การกุศลต่างๆ มอบทักษะเป็นวิทยาทานให้กบั ผู้ที่สนใจทั้งในและต่างประเทศ ทั้งการตอบรับคำ�เชิญจาก Thai Art Council of Los Angeles สหรัฐอเมริกา เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ ผลงานศิลปะให้แก่ผู้ที่สนใจในปี พ.ศ. 2551 และสถาบันต่างๆใน ระดับประเทศ ปัจจุบัน ผศ. ไพรวัลย์ เป็นข้าราชการอาจารย์ประจำ� ณ ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

The royal portrait of the Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Our Beloved Princess exhibition, 2014 พระสาทิสลักษณ์ในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากนิทรรศการ ทูลกระหม่อมของ ปวงชน พ.ศ. 2558

Paradise, 2014 แดนสุขาวดี พ.ศ. 2557


ศศิวรรณ ดำ�รงศิริ ศศิวรรณ ดำ�รงศิริ ศศิ ว รรณ เป็ น ผู้ เชี่ ย วชาญทางด้ า น ผ้าไทยทั้งผ้าไหม มัดหมี่ และ ผ้ามัดย้อม ภาย หลังจากการสำ�เร็จการศึกษาในระดับศิลปมหา บัณฑิตในสาขาประยุกตศิลปศึกษาในปี พ.ศ. 2531 ศศิวรรณประสบความสำ�เร็จในฐานะนัก ออกแบบโดยได้รับรางวัลและเกียรติยศต่างๆ มากมาย อาทิเช่น รางวัลจากองค์การ UNESCO ถึง 6 ครั้ง อาทิเช่น รางวัล The Jury of the UNESCO Crafts Prize for Asia Pacific ในปี พ.ศ. 2546 ด้วยเจตนารมย์ที่ต้องการยกระดับ สถานะของผู้หญิงไทยในฐานะนักออกแบบและ สถานะของงานผ้าไทยให้เป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ สากล ผลงานการออกแบบและความชำ�นาญ การทางด้ า นสิ่ ง ทอของศศิ ว รรณเป็ น แรงผลั ก ดันให้กับเศรษฐกิจในประเทศด้วยการส่งเสริม ภู มิ ปั ญ ญาผ้ า ทอของไทยผ่ า นการอบรมทาง วิ ช าการ และการสอนในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย และสากล อาทิเช่น การบรรยาย The Kasuri / Ikat of Asia ณ International House เมือง โอซาก้ า และยั ง ถ่ า ยทอดผ่ า นสถานี โทรทัศ น์ ช่อง NHK ในประเทศญี่ปุ่น และยังได้รับทุนจาก Foundation for Asia Management ประเทศ ญี่ปุ่น เพื่อสนับสนุนการอบรมและพัฒนางาน ผลิ ต ไหมมั ด หมี่ ใ ห้ มี ม าตรฐานสู ง ขึ้ น ในหั ว ข้ อ Women Weaving Group of Thai Mudmee Silk ระหว่างปี พ.ศ. 2535-2537 และได้รับ รางวัล นักออกแบบดีเด่นแห่งปี พ.ศ. 2547 โดย มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2559 ผลงาน ของศศิวรรณได้ร่วมแสดงในนิทรรศการ World Ikat Textile ที่ Brunei Gallery Room ณ มหาวิทยาลัย SOAS University of London กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ปั จ จุ บั น ศศิ ว รรณเป็ น ผู้ เชี่ ย วชาญ พิเศษทางด้านสิง่ ทอให้กบั มหาวิทยาลัยศิลปากร และดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั และผูจ้ ดั การ ฝ่ายออกแบบ บริษัท ชบาติก จำ�กัด


รศ. (พิเศษ) ระพี ลีละศิริ

Visiting Associate Professor Rapee Leelasiri

ระพี สำ�เร็จการศึกษาในระดับศิลปบัณฑิตสาขาศิลปะไทย จาก ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ในปี พ.ศ. 2533 และได้ เป็นนักวิชาการศึกษาสิ่งทอและวิทยากรให้กับมหาวิทยาลัยและสถาบัน ต่างๆตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ความชำ�นาญการพิเศษทางด้านสิ่ง ทอและเส้นใยของระพีเป็นที่ยอมรับด้วยความสำ�เร็จในระดับชาติและ สากล ทั้งรางวัล G-Mark Good Design Award ด้วยผลงานพรมทอ มือ Honeycomb Collection ณ กรุงโตเกียว ในปี พ.ศ. 2552 และอีก สองรางวัลจากสถาบันเดียวกันในปี พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2556 รางวัล เหรียญทองเกียรติคุณ อาจารย์ศิลป์ พีระศรี ในสาขานักออกแบบไทย แห่งปี พ.ศ. 2554 ปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2547 ในประเภทผลงานสิ่ง ทอ โดยมหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานของระพีได้รับคัดเลือกในฐานะนักออกแบบไทยกลุ่ม แรกเพือ่ นำ�ไปจัดแสดงในห้องสมุดวัสดุ Material ConneXion ในปี พ.ศ. 2549 ในสาขาต่างๆทัว่ โลก ทัง้ มหานครนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา โคโลญจ์ สหพันธรัฐเยอรมนี มิลาน ประเทศอิตาลี กรุงเทพมหานคร และเมือง แดกู ประเทศเกาหลี รวมถึงในนิทรรศการระดับนานาชาติ Heimtextil Fair เมืองแฟรงค์เฟิร์ต สหพันธรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2551 เป็นต้น ปัจจุบัน ระพี เป็นนักออกแบบตกแต่งภายในและผู้บริหาร บริษทั Rapeeleela & Bonne รวมถึงเป็นวิทยากรและอาจารย์ผชู้ �ำ นาญ การให้กับหลากหลายสถาบัน อาทิเช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ สมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ


ดร. ฐิติพร ฌานวังศะ

Thitiporn Chanawangsa, Ph.D

ดร. ฐิตพิ ร เป็นผูท้ มี่ ชี อื่ เสียงทางด้านการออกแบบและผลิต สิง่ ทอสร้างสรรค์ ภายหลังจากการสำ�เร็จการศึกษาในระดับศิลปมหา บัณฑิต สาขาประยุกตศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2547 ดร. ฐิตพิ ร ได้เป็นนักออกแบบและวิทยากรให้กบั โครงการพิเศษ ต่างๆ อาทิเช่น ได้รับเกียรติให้เป็นนักออกแบบและวิทยากรพัฒนา ผลิตภัณฑ์ภายใต้โครงการกำ�ลังใจ ในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา ร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยผู้ต้องขังเรือนจำ�กลาง จังหวัดขอนแก่น และเป็นที่ปรึกษาให้กับโครงการและการประกวด ต่างๆที่จัดขึ้นโดยศูนย์ส่งเสริมศิลปชีพระหว่างประเทศ ดร. ฐิตพิ ร ได้รบั รางวัลไทยสร้างสรรค์ ประจำ�ปี พ.ศ. 2553 ในสาขางานฝีมือและหัตถกรรม ซึ่งเป็นรางวัลพระราชทานในสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยสำ�นักงานบริหารและ พัฒนาองค์ความรู้ รางวัลนักออกแบบแห่งปี ในสาขาการออกแบบสิง่ ทอและผ้า โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรในปี พ.ศ. 2552 และรางวัลใน

ระดับสากล อาทิเช่น รางวัล Good Design Award (G-Mark) จาก การออกแบบ พรมนวดเท้า Foot Massage Carpet และตะกร้า Spirit in Nature Bloom Basket จัดขึ้นโดยกรมส่งเสริมการ ออกแบบอุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น (JIDPO) ในปี พ.ศ. 2553 นอกจากนี้ ดร. ฐิติพร ยังได้ร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการ Salone del Mobile มิลาน ประเทศอิตาลี พ.ศ. 2554 และงานนิทรรศการ Maison & Objet ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2554- 2557 ปั จ จุ บั น ดร. ฐิ ติ พ ร ดำ � รงตำ � แหน่ ง ผู้ จั ด การบริ ษั ท ให้ คำ � ปรึ ก ษาทางด้ า นนวั ต กรรมการออกแบบและการจั ด การวิ จั ย Peakchan ให้กับองค์กรภาครัฐและเอกชน และเป็นวิทยากรให้กับ มหาวิทยาลัยและองค์กรต่างๆ


สหเทพ เทพบุรี Sahathep Tepburi

ภายหลังจากสำ�เร็จการศึกษาในระดับศิลปมหา บั ณ ฑิ ต สาขาประยุ ก ตศิ ล ปศึ ก ษาทางด้ า นประติ ม ากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรในปี พ.ศ. 2548 สหเทพได้เป็นนัก วิชาการศึกษาศิลปะและอาจารย์ โดยได้แสดงผลงานให้เป็นที่ ประจักษ์ในนิทรรศการและการประกวดศิลปกรรมต่างๆ และ ยังได้รบั รางวัลชนะเลิศจาก การประกวดศิลปกรรม ปตท. ครัง้ ที่ 18 ในปี พ.ศ. 2546 รางวัลชนะเลิศประเภทประติมากรรม ติดตัง้ เฉพาะที่ จัดโดยธนาคารกรุงไทยในปี พ.ศ. 2547 รางวัล ชนะเลิศการแข่งขันการออกแบบประติมากรรมติดตั้งเฉพาะ ที่ ณ สวนลุมพินี วห้กับนิตยสาร ดิฉัน ในปี พ.ศ. 2550 และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่หนึ่งในการประกวดศิลปกรรม เพื่อโอลิมปิกส์ ที่จัดขึ้นโดยสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วม สมัย กระทรวงวัฒนธรรม และคณะกรรมการโอลิมปิกส์แห่ง ประเทศไทยภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ ในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้น สหเทพยั ง ได้ รั บ รางวั ล ข้ า ราชการดี เ ด่ น โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา ในปี พ.ศ. 2551 ปัจจุบัน สหเทพ ดำ�รงตำ�แหน่งอาจารย์ประจำ� ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร

ผลงาน น�้ำพระทัยจากในหลวง Selected work from Sahathep Tepburi

ผลงานประติมากรรม ณ สวนประติมากรรมกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย Selected work from the Sculpture Garden, Krungthai Bank


วินัย ปราบริปู Winai Prabripoo

วินยั สำ�เร็จการศึกษาจากภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2522 และเป็นผู้สร้าง ผลงานศิลปกรรมให้เป็นทีป่ ระจักษ์ทงั้ ในระดับประเทศและสากล อาทิ เช่น นิทรรศการเดี่ยว ณ บริติช เคาน์ซิล พ.ศ. 2524 และ พ.ศ. 2539 ณ หอศิลป์แห่งชาติ พ.ศ. 2540 และในรูปแบบนิทรรศการกลุม่ ได้แก่ นิทรรศการศิลปกรรมบัวหลวง ณ หอศิลป์พีระศรี กรุงเทพฯ พ.ศ. 2523 นิทรรศการศิลปกรรมกราฟิกร่วมสมัยแห่งประเทศไทย ณ หอศิลป์พีระศรี กรุงเทพฯ และสถานที่แสดงงาน เมือง เนิร์นแบร์ ก สหพันธรัฐเยอรมนี และสัญจรในทวีปยุโรป ในปี พ.ศ. 2526 เป็น อาทิ สำ�หรับวินัยแล้ว นอกเหนือจากเกียรติยศจากการสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะชั้นเยี่ยมให้เป็นที่ประจักษ์ การได้รับเสด็จสมเด็จพระ เทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2555 ณ หอศิลป์ริมน่าน ซึ่งเป็นหอศิลป์ที่เขาจัด ตั้งขึ้นนั้น ถือเป็นเกียรติยศอันน่าภาคภูมิใจสำ�หรับผู้ที่อุทิศตนให้กับ วงการศิลปะของไทย

นอกจากนี้ วินยั ยังได้รบั ปริญญาดุษฎีกติ ติมศักดิศ์ ลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ในปี พ.ศ. 2555 ปัจจุบัน วินัยยังคงสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อร่วมแสดง กับกลุ่มศิลปินทั้งในและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง นอกจากการเป็นผู้สอนความรู้ทางด้านศิลปะ และศิลปิน ผู้ทรงเกียรติแล้ว วินัยยังเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ก่อตั้งหอศิลป์ริมน่าน ณ จังหวัดบ้านเกิดของตน โดยมีเจตนารมย์อันแรงกล้าว่า ‘เราควร สร้างผลงานชีวิตในส่วนที่น่าจะทำ�ได้ดีที่สุด ศิลปะที่สร้างสรรค์ควรที่ จะเผยแพร่ การสร้างพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ในบ้านเกิดเมืองนอนจะ เป็นความสุขและเกิดประโยชน์ต่อตัวเองและชุมชนเมืองน่านตลอด จนผู้มาเยือนทั้งเป็นศักดิ์ศรีแก่บ้านเมือง’


60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี Assistant Professor Venich Suwanmoli ผู้ประกอบการ entrepreneur

บุคลากรเก่า ภาควิชา เครื่องเคลือบดินเผา เป็นอาจารย์ผู้ร่วมบุกเบิก เป็นแรงสำ�คัญในการก่อตั้งภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา เป็นอาจารย์ที่ใจดี ถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคต่างๆ ทางด้านเครื่องเคลือบดินเผาด้วย ความตั้งใจ เป็นผู้สร้างสรรค์งานเครื่องเคลือบดินเผาทางด้านศิลปะ ที่เคยได้รับรางวัลเหรียญทองใน การประกวดเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ เป็นผูส้ ร้างสรรค์งานออกแบบอุตสาหกรรม รุน่ บุกเบิกของประเทศไทย ปัจจุบนั ประสพความ สำ�เร็จในสาขาอาชีพเครื่องปั้นดินเผา สร้างอาชีพและรายได้ให้กับชาวบ้านหลายร้อยชีวิต หลังจากเกษียณอายุ แต่ยงั สร้างสรรค์งานศิลปะและงานออกแบบอุตสาหกรรมเครือ่ งเคลือบ ดินเผาอย่างต่อเนื่อง He is a professor who establishes the Ceramics Department. He is a generous teacher who intends to relate his Knowledge and techniques He created so many of ceramic arts which one of them won the gold medal in the national contest earthenware. He is the first Creative Industry Charter of Thailand .Now his success in the professional field of pottery which created jobs and income for many local people. After retirement, he created continuously art and industrial ceramic design. ผลงาน : แสงสีแห่งอารยธรรม (LIGHT & COLOR OF CIVILIZATION) แนวคิดผลงาน : ศิลปะสื่อประสมนามธรรม เซรามิก(Ceramic mixed media)ที่แสดงถึงความเจริญทาง ด้านวัตถุและเทคโนโลยี อันมีผลต่อความเป็นอยู่สมัยใหม่ที่หรูหราฟุ่มเฟือย แต่ในด้านจิตใจนั้นกลับ เสื่อมลงคล้ายๆกับสถาปัตยกรรมที่เสื่อมโทรมลงตามกาลเวลา เทคนิคการสร้างสรรค์ : ขึ้นรูปด้วยมือ (Coiling Method) เผาเคลือบ 1250 องศาเซลเซียส เผาตกแต่งด้วยเคลือบ Luster และเคลือบทอง ใช้โลหะสเตนเลส(Stainless) ประกอบ และใช้ไฟสีจากหลอด LED. Concept : The concept of this artwork is Ceramic mixed media that show the growth of the technology and affects the well-being of modern luxury. But in the mind , it’s back to deteriorate similarly to the architectural degradation over time. Creative techniques : Molded by hand (Coiling Method) burned glazed pottery decorated with 1250 C. Luster glaze and gold-plated metal used in stainless steel (Stainless) consists of a light bulb and LED.


ทัศนัย ศิลป์ประเสริฐ Tasanai Silprasert ผู้จัดการโรงงานรุ่งศิลป์ Manager Rung Silpa Ceramics Factory

ผู้ให้การสนับสนุนคณะฯ ในด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม

คุณทัศนัย ศิลป์ประเสริฐ เป็นผู้ริเริ่มและพัฒนาเตาเผาโอ่งขนาดใหญ่ ที่เรียกกันว่า “เตา จัมโบ้” ซึ่งเป็นส่วนสำ�คัญในการพัฒนาการผลิตผลงานเครื่องปั้น ดินเผาในจังหวัดราชบุรี เตาจัมโบ้ นี้สามารถบรรจุผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการเผามากขึ้นกว่าเตาเผาโอ่งมังกรรุ่นก่อน ซึ่งเตาจัมโบ้นี้เป็นจุด เปลี่ยนแปลงที่เป็นไปในทางที่ดีของวงการเครื่องปั้นดินเผาราชบุรี คุณทัศนัย ยังให้การสนับสนุนโครง การสัมนาเชิงปฏิบัติการ ระดับนานาชาติของภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ ทำ�ให้ ศิลปินนานาชาติทเี่ ข้าร่วมโครงการฯ ชืน่ ชมในภูมปิ ญ ั ญาของคนไทย ในปัจจุบนั คุณทัศนัยยังมีความมุง่ มัน้ ทีจ่ ะพัฒนาการทำ�งานเครือ่ งปัน้ ดินเผาแบบพืน้ บ้านของราชบุรี ให้เป็นทีย่ อมรับในระดับสากลต่อไป Mr. Tasanai Silprasert is an innovator and developer of large kiln ,called “ Jumbo klin” This is the most important development in the production of pottery clay in Ratchaburi. This Jumbo klin packaged products can be used to fire up the jars kiln, glazed water jar with dragon pattern more than before.The “ Jumbo klin” is the good transformation for the pottery industry of Ratchaburi

ผลงาน : เตาจัมโบ้ The River Of Life เตาฟืนขนาดใหญ่เพื่อใช้เผาผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาราชบุรี Stoves to burn a large pottery products in Ratchaburi .


ประทีป จันทราภิรมย์ Prateep Chantarpirom ธุรกิจส่วนตัว CERAMICS FACTORY

ศิษย์เก่า และ อาจารย์พิเศษ รุ่นที่ 2 / ภาคเครื่องเคลือบดินเผา

คุณประทีปหรือที่น้องๆเรียกกันว่า พี่เปียก เป็นพี่ที่น่ารักมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ใจกว้าง มีแต่ให้ โดยไม่หวังผลตอบแทน เมื่อน้องมีปัญหาก็จะได้รับคำ�ปรึกษาที่ดีทุกครั้ง ทั้งการใช้ชีวิตและ เทคนิคการทำ�งานแบบมืออาชีพ พี่เปี๊ยกเป็นที่รักของพี่ๆและน้องๆทุกคน ในด้านอาชีพการงาน พี่ เปีย๊ กเป็นคนขยัน หลังจากเรียนจบการศึกษาจากภาควิชาเครือ่ งเคลือบดินเผา ก็มงุ่ มัน่ ทำ�งานเกีย่ วกับ เครื่องเคลือบดินเผาจนเกิดความชำ�นาญ และเป็นมืออาชีพ สร้างฐานะ สร้างงานให้กับคนในชุมชน จนมีโรงงานขนาดเล็กๆเป็นของตนเอง และมีผลงานออกสู่สาธารณชนอย่างไม่ขาดสาย นอกจาก นี้ยังได้กลับเข้ามาเป็นอาจารย์พิเศษภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ทำ�ให้พเี่ ปีย๊ กมีโอกาสได้ใช้ประสบการณ์อนั มีคา่ ถ่ายทอดให้กบั น้องๆรุน่ ต่อๆไปในภาควิชา ความเมตตาในฐานะที่ ความเป็นมืออาชีพของผูท้ ที่ �ำ งานเครือ่ งเคลือบดินเผามาโดยตลอด ทำ�ให้การ ถ่ายทอดวิชาความรู้สู่รุ่นน้องๆ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อเนื่องเป็นเวลาหลายปี Khun Prateep who are called P’Peak by us, is nice, generous and tolerant. He loves to give without gaining back. Any time we get problems , he always give us some good advices about good techniques in work and how being professional. He is our beloved senior and diligent in work. After having educated from Ceramic Design sector, he intended to work expertly and professionally about ceramics. He built himself and jobs for the community till become the owner of the small factory.At last he owned a small factory.He presents his work to the public regulary. Otherwise he comes back for being special lecturer in ceramic desisgn sector at Faculty of Decorative Arts in Silpakorn university where he can relate his precious experiences to other juniors. With his merits and professional work make the young generator to have efficient and effective knowledge for many years.


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประดิพัทธุ์ เลิศรุจิดำ�รงค์กุล Assist.Prof Pradiphat Lertrujidamrongkul

ศิษย์เก่า รุ่นที่ 33 และ บุคลากรปัจจุบัน ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประดิพัทธุ์ เลิศรุจิดำ�รงค์กุลเป็นผู้มีความรอบรู้ และความสามารถ ทางศิลปะหลายแขนง เช่น วาดเส้น จิตรกรรม ประติมากรรม และศิลปะและการออกแบบ ได้ สร้างผลงานแสดงต่อสาธารณะอย่างสม่ำ�เสมอ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดี แก่นักศึกษา ในการฝึกฝน ฝีมือ ตามกระบวนการสร้างผลงานเครื่องเคลือบดินเผา เพราะการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา ต้องประกอบด้วยทักษะทางศิลปะหลายแขนง อีกทั้งยังเป็นผู้ส่งเสริมให้นักศึกษามีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ก้าวล้ำ� เพื่อเป็นพื้นฐานของงานออกแบบที่มีคุณภาพ Asst Prof. Pradiphat Lertrujidamrongkul is an expert with the various ability in many fields such as drawing, painting, sculpture in art and design. It was consistently shown in public. This is a good model for students to practice skills In the process of creating works of porcelain. The design must include porcelain artistic specializations. He also encourages students to be creative and innovative. The basis of design quality.

ผลงาน : สนามช้าง จังหวัดสุรินทร์ (Surin Elephant field) ผลงานออกแบบสนามช้างจังหวัดสุรินทร์ แนวคิด สื่อถึงความ งามในสถาปัตยกรรม ที่สัมพันธุ์กับแบบโบราณ ของพื้นที่ เชิดชูวัฒนธรรม ของท้องถิ่นให้กลมกลืนเข้ากับวิถีชีวิต การออกแบบที่ดึงเอาบริบททาง วัฒนธรรมเข้ามาผสมผสาน จะทำ�ให้ คนพื้นถิ่นรู้สึกมีส่วนร่วม ในรูปแบบ สถาปัตยกรรม เน้นลงไปถึงการตกแต่งด้วยวัสดุที่ให้คุณค่าต่อความรู้สึก ทำ�ให้ผเู้ ข้ามาใช้ เกิดความอิม่ เอิบ และระลึกถึงวัฒนธรรมอันดีงามของอดีต

This Surin Elephant field design concept reflects the beauty of the architecture with the honorable traditional culture blending into the local way of life. The design brings out the cultural context to make people feel involved vernacular. Architectural style focuses on the finishing materials that provides value to the feelings. The incoming was a glow and recalling the previous culture.


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว Professor Emeritus Sermsak ข้าราชการเกษียณอายุ

ศิษย์เก่า รุ่นที่1 / บุคลากรเก่า / ผู้เชี่ยวชาญ ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา การออกแบบ

ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดินาคบัว เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา และ เป็นแบบอย่าง ของผูบ้ กุ เบิกงานวิชาการในด้านเครือ่ งเคลือบดินเผา สร้างความเจริญรุง่ เรืองแก่วงการ เครื่องเคลือบดินเผาสมัยใหม่ในเมืองไทย ส่วนการสร้างสรรค์ผลงาน ท่านยังเป็นแบบอย่างและดำ�เนินต่อ มา อย่างสม่ำ�เสมอ ผลงานของท่านเป็นแรงบันดาลใจ และแม่แบบของการแสดงออกทางความคิดและ การสร้างสรรค์ จนท่านได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาออกแบบอุตสาหกรรม ในปี 2559 ท่าน ได้สร้างคุณประโยชน์ให้กับคณะมัณฑนศิลป์ มากมาย ทำ�ให้สร้างความภูมิใจแก่วงการศิลปะและการ ออกแบบเป็นอย่างยิ่ง Professor Emeritus Sermsak Narkbua established the Ceramics Department and exemplary pioneering work in the field of technical ceramics. The prosperity of the ceramic design in Thailand. The creative work was also made and carried out. Usually his work is inspiring. And templates of expression, thought and creativity. It has been honored as a National Artist in industrial design in 2016 has generated benefits to the revolutionary cause a lot of pride in the field of art and design as well. ผลงาน : ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ วัดโสธรวรารามวรวิหาร (Chofa,Bairaka ,hanghong Wat Sothornwararamworawihan) การปั้น และจัดสร้าง ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ วัดโสธรวรารามวรวิหาร ดินสโตนแวร์ (ดินเครือ่ งหิน) ชุบเคลือบสีทอง แนวคิดของผลงาน การทำ�เครือ่ งเรือนทีต่ อ้ งการให้มคี วามคงทนถาวร ซึง่ มี ขนาดชิ้นใหญ่ จะต้องใช้ศิลปะและวิทยาการผสมผสาน ให้ได้ชิ้นงานตามแนวคิดและแบบ มีความสัมพันธ์ กับส่วนอื่นๆ ของสถาปัตยกรรม The Molding of Chofa ,Bairaka and Hanghong at Wat Sothornwararamworawihan are made of the stoneware (soil and rock) gold plating. The concept of work is to make the big furniture more permanent. It requires a combination of art and science. To get a job as a concept and model related to the other architecture


เปี่ยมสุข เหรียญรุ่งเรือง Piamsook Rianrungrueng ข้าราชการเกษียณอายุ

บุคลากรเก่า อาจารยประจ�ำคณะมัณฑนศิลป (เครื่องเคลือบดินเผา) พ.ศ.2517 - 2525 ความเชี่ยวชาญพิเศษ : วิชาประวัติศาสตร์เครืองเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ ถึง พ.ศ. 2543 อาจารย์เปี่ยมสุข เป็นแบบอย่างของ ทั้งจิตรกร และนักค้นคว้า ทางด้านประวัติศาสตร์เครื่อง เคลือบดินเผา อาจารย์ได้สร้างคุณปู การในด้านตำ�รา ประวัตเิ ครือ่ งเคลือบดินเผา ให้แก่นกั ศึกษาได้ ศึกษาและ อ่านกัน ในขณะเดียวกันท่านยังเป็นจิตรกร มีผลงานด้านการสร้างสรรค์เป็นแบบอย่างให้ นักเรียนนักศึกษายึด เป็นแม่แบบ ในการเจริญรอยตาม Professor Piamsook Rianrungrueng is an artist and a researcher in history of ceramics. She producted so many text books about ceramics which give valueable basic to the ceramic students.Meanwhile ,she is an artist who has so many creative works in field of painting which the students can stand on. ผลงาน : คุณป้า (Beloved Aunt) - ดิน earthen ware clay - เคลือบใส - เผา oxidation firing - อุณหภูมิในการเผา 1040 องศาเซลเซียส


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภกา


ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ Assistant Professor Sayumporn Kasornsuwan

ศิษย์เก่า และ อาจารย์ประจ�ำ รุ่นที่ 7 / ภาคเครื่องเคลือบดินเผา -รุ่นที่ 32 / คณะมัณฑนศิลป์ ท่านอาจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ เป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า ของภาควิ ช าเครื่ อ งเคลื อ บดิ น เผาผู้ เ ปี่ ย มความสามารถ เคยได้ รั บ รางวั ล ยอดเยี่ยม และรางวัลดีเด่น จากการประกวด เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ด้วยความเป็นผู้มี วิสัยทัศน์ท่านอาจารย์สยุมพรได้เป็นผู้ริเริ่ม ชักชวนให้ศิษย์เก่าภาควิชาเครื่องเคลือบดิน เผา ที่ไปเป็นอาจารย์ตามสถาบันต่างที่มีการ เรียนการสอนเกี่ยวกับเครื่องเคลือบดินเผา ร่วมกันจัดกิจกรรม เครื่องเคลือบดินเผา 4 สถาบันขึ้นมา ซึ่งในกิจกรรมนี้ได้ก่อให้เกิด ประโยชน์ ใ นด้ า นแลกเปลี่ ย นความรู้ ใ นเชิ ง ปฏิบัติการและเชิงวิชาการต่อวงการการเรียน การสอนทางด้ า นเครื่ อ งเคลื อ บดิ น เผาของ ไทย และกิจกรรมดังกล่าวนั้นก็ได้ถูกพัฒนา ขึ้นให้กลายเป็นกิจกรรมระดับนานาชาติทาง ด้านเครื่องเคลือบดินเผาแบบเต็มรูปแบบเป็น ลำ�ดับต้นๆ ในประเทศไทย ข้าพเจ้ามีความ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าด้วยความที่ท่านอาจารย์ มีจิตใจที่จะพัฒนาวงการเครื่องเคลือบดินเผา ไทยในรูปแบบงานศิลปะ ให้เป็นที่ทัดเทียม ระดับนานาชาตินั้น จะก่อให้เกิดประโยชน์ กับสังคม ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติทเี่ ดีย่ ว กับดินต่อไป

Assistant Professor Sayumporn Kasornsuwan is an alumni in the Department of Ceramics. He is capable and ever awarded with outstanding from The National Ceramic Competition,with a wide vision Assistant professor Sayumporn Kasornsuwan is a pioneer to persuade the alumnis of the Department of Ceramics who have been the lecturers at the other institute to join on the ceramic activities, called four institutions ceramics in which bring benefits in terms of knowledge sharing in workshops and academics on the instruction of the ceramics of Thailand, and such activities are also being developed to the international activities of the ceramics in Thailand I really hope that the spirit of Professer Sayumporn Kasornsuwan who wants to develop the Thai porcelain in art work ,being comparative in the international level which brings benefits to society,National eartnen Art & Culture.


พักตร์วรี ขำ�บุญเกิด Phakwaree Kambunkerd

นักศึกษา รุ่น 57 ภาควิชา เครื่องเคลือบดินเผา

เป็นนักศึกษา ที่ตั้งใจศึกษา ปฏิบัติงานเรียนโดยอุตสาหะ ตั้งแต่ชั้นปีที่หนึ่ง จนถึงปัจจุบันซึ่งกำ�ลังทำ�ศิลปนิพนธ์ โดยผลงานศิลปนิพนธ์ ชุดนี้ ถือว่าเป็นการแก้ปญ ั หาการเลีย้ ง กระต่ายได้ดีมาก มีรูปแบบร่วมสมัย ทำ�ความสะอาดง่าย ไม่สะสมเชื้อ โรค มีการออกแบบให้เป็นชุดเลี้ยงกระต่าย ซึ่งสามารถนำ�ไปพัฒนาต่อ เพื่อการพาณิชย์ ได้เป็นอย่างดี

She is an intended student who studies and practices since the first year . So far, now doing a thesis, the contribution of this thesis considers the problem of feeding rabbits quite well with a contemporary style, easy to clean, not accumulate germs .It is designed to be a feeding rabbit set,which can be well developed for commercial.

ผลงาน : บ้านกระต่ายสายพันธุ์แคระ Home dwarf rabbit breeds การสร้างสรรค์ผลงานเครื่องเคลือบดิบเผาชุดบ้านกระต่าย เป็นการสร้างสรรค์งานเพือ่ แก้ปญ ั หาการเกิด heatstroke ซึง่ เป็นอาการ ทีม่ กั เกิดขึน้ กับกระต่ายจนถึงขัน้ เสียชีวติ อันเนือ่ งจากอากาศเมืองไทยที่ ร้อนมาก นอกจากการทำ�บ้านกระต่ายเพือ่ ลดความร้อนในกรงเลีย้ ง แล้ว ในชุดงานนี้ยังมีผลิตภัณฑ์อื่นที่ออกแบบให้เป็นชุดเดียวกันในรูปแบบ สีสัน แบบร่วมสมัย ซึ่งเข้ากันได้ดีกับที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ในปัจจุบันชุด บ้านกระต่าย ประกอบไปด้วย ป้านลดอุณหภูมิ ภาชนะใส่อาหารชนิด เม็ด ,ชุดปลูกข้าวสาลีเพื่อให้กระต่ายได้กินอาหารสดๆจากต้น,ชุดบรรจุ หญ้าแห้ง และอุโมงค์ลอด ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดจากการสังเกตพฤติกรรม ของกระต่ายที่ข้าพเจ้าเลี้ยงเอง และการเก็บข้อมูลจากผู้เลี้ยงกระต่าย

The creation of porcelain, pottery raw rabbit home series is a creative solution to the heatstroke, a condition that often occurs with rabbit , means of death. Due to the very hot weather in Thailand. In addition to the rabbit home to reduce heat in the cage in the batch are also other products that are designed to be set in a colorful, contemporary, which is compatible with the most residents currently set rabbit home. Including the bluff cooling Food container Tablets , Set wheat to eat rabbit food fresh from the tree, filling the hay and a tunnel. All this is due to the behavior of my own rabbits and the retention of the rabbit.



60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



อาจารย์ โกศล สุวรรณกูฏ Gosol Suwannagood อาจารย์พิเศษ (ข้าราชการ) Part time Lecturer

บุคลากรเก่า ภาควิชา ออกแบบเครื่องประดับ ที่ปรึกษาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต

ก่อตัง้ และผูว้ างรากฐานการเรียนการสอนของภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร The establisher and leader of a firm foundation for the Department of Jewelry Design. The faculty of Decorative Arts, Silpakorn University.


ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกชัย พันธ์อารีวัฒนา Assistant Professor Ekkachai Panarreewattana ศิษย์เก่า รุ่น 37 ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน อาจารย์พิเศษ ภาควิชาการออกแบบและการขึ้นรูปเครื่องประดับ ผลงานการออกแบบเครื่องประดับของเอกชัยเป็นส่วน หนึ่งในการรักษา ”สมดุล” ของสังคมวัฒนธรรมไทยใน ปัจจุบัน ด้วย“เศรษฐกิจพอเพียง” จะมีวิธีที่เริ่มต้นจาก แนวคิดเรื่องการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจริงๆ แล้ว ก็มีหลักการคล้ายกันหลายอย่างกับค�ำว่า “การอยู่อย่าง พอเพียง” แม้อาจไม่ตรงกันมากนัก แต่ก็ใกล้เคียงกัน ตรงที่ “ผล” เมื่อผู้ออกแบบและผู้บริโภคได้มีการค�ำนึง ถึงเรือ่ งของสิง่ แวดล้อม เรือ่ งของระบบนิเวศน์ ประโยชน์ ใช้สอยทีค่ มุ้ ค่า คุม้ ราคา คุม้ กับพลังงาน เหมาะสมกับการ ผลิต มีความเหมาะสมในการใช้วัสดุ ค�ำนึงถึงมลพิษและ ของเสียที่จะเกิดขึ้น และให้ความส�ำคัญมากขึ้นกว่าเรื่อง ของภาพลักษณ์ หน้าตา ความทันสมัย ผลก�ำไร ความ ฟุ้งเฟ้อในการอุปโภคบริโภคก็จะลดลงได้ เข้าสู่สภาวะที่ เหมาะสมได้

ผลงาน : ดอกไม้ (Flower) รางวัลที่ได้รับ : นักออกแบบยอดเยี่ยมแห่งปี 2549

The Creative Contemporary Jewelery by Ekkachai can be part of balancing the current Thai society with the “sufficiency economy” begins at design processes which reflect “sufficiency,” is Ecological Design or Eco-design. Many of its principles are in complying with the self-sufficient economy concept. It emphasizes the idea that both the designers and the consumers pay more attention to the environment, ecological system, usage and proper materials rather than images, fashion and profits. Extravagant consumption will thus decrease to a sufficient level.


ภิรดา เสนีวงศ์ ณ อยุธยา Pirada Senivongse na Ayudhya นักออกแบบและพัฒนาเครื่องประดับ และ สินค้าอื่นๆ Jewellery and product designer / developer แนวคิดเกี่ยวกับผลงาน : เครื่องประดับของไตรโหมดส�ำหรับ Slize collection คือ การ พยายามใช้ความคิดสร้างสรรค์มาเล่นกับการทดลองให้เกิดสิ่งใหม่ จากโครงสร้างเดิม การเปิดกว้างที่จะทดลองในสิ่งใหม่ๆถือเป็น ความท้าทายที่จะให้ได้มาสู่ผลงานอีกมิติที่น่าสนใจ ส�ำหรับcollectionนึ้ เราเล่น กับ การตัด การต่อ การเฉือน และ การผสมผสาน ฟอร์มที่ต่างกันเข้าด้วยกัน วัสดุที่ใช้คือ พลอยสังเคราะห์ โลหะ และ อคลิลิค ซึ่งไม่ใช่วัสดุที่แปลกใหม่ต่อวงการเครื่องประดับเลย ความ ท้ า ทายอยู ่ ที่ เ ราจะท�ำสิ่ ง เดิ ม ให้ ห ลุ ด ออกจากความซ�้ ำ ซากจ�ำเจ อย่างไร สินค้าชิ้นนี้เป็นการค�ำนึงถึงลูกค้าหรือผู้สวมใส่ ที่สามารถมีส่วนร่วม ในการเลือกสวมใส่ผลิตภัณท์ โดยสามารเลือกวิธีการใส่ได้5รูปแบบ หรือมากกกว่านั้นตามการสร้างสรรค์ของผู้ใช้ผลิตภัณท์ มากไปกว่า นั้นยังเลือประกอบคู่สี หรือ mix and match การสวมใส่และคู่สี ให้เป็นไปในสไตล์รูปแบบและความต้องการของตนเองได้ เป็นการ เพิ่มลูกเล่นของเครื่องประดับ และเพิ่มความสัมพันะ์ระหว่างสินค้า และผู้ใช้ ซึ่งทาง TRIMODE ACCESSORIES มีความตั้งใจว่า เมื่อ ลูกค้าได้ซื้อผลิตภัณท์ของทางแบรนด์ไปแล้วนอกจากจะได้สินค้าที่ ถูกใจ ยังได้ความประทับใจ และของที่ไร้กาลเวลา ไม่ตกยุคสมัย ยิ่ง ใช้ก้อยิ่งรักในตัวผลิตภัณท์นั้น ในเบื้องต้นเราได้น�ำเอาพลอยทรงมาตรฐานที่มีอยู่เดิมมาผ่าครึ่ง และเจียรเก็บพื้นผิว แต่กระบวนการนี้นั้นนนอกจากจะท�ำให้ต้อง เอาของที่มีอยู่เดิมมาผ่าออก แล้วเจียรเพิ่ม ยังท�ำให้เสียเนื้อวัสดุ ใช้เวลามากขึ้น จึงได้ท�ำการให้ช่างทดลองฝึกเจียรพลอยที่มีรูปร่าง ลักษณะผ่าครึ่งเลยตั้งแต่ต้น ท�ำให้สิ้นเปลืองวัสดุน้อยลง ประหยัด เวลาการผลิตมากขึ้น

ศิษย์เก่า รุ่นที่ 44 ภาควิชาเครื่องประดับ

This first collection of Trimode Accessories, we are suspicious in synthetic gems, metals and acrylics. Combine these objects with the idea of cutting, slicing and sprinkle of Trimode special technique and you will meet the new crown jewel.The design of this collection is consumer-centric. Consumers can choose to don the rings by 5 or more ways, due to the modularity of the rings which can be seamlessly integrated with the other items in this collection.The assembling method has evolved from bisecting gemstones from their traditional cuts to a novel, unconventional gemstone cutting, to produce halves of the traditional shapes. This is to remove excessive material loss from polishes of newly cleaved edges and lengthy processing time.Despite opting stay with the traditional gemstone cuts, we have experimented with new cutting methods to make perfect halves of those traditional shapes. This has prompted us to borrow some of the techniques from mirror setting to the Jewellery craftsmanship, which requires excessive training and several technique adjustments.


นุตร์ อารยะวานิชย์ Nutre Arayavanish เจ้าของกิจการ นักออกแบบเครื่องประดับ

ศิษย์เก่า รุ่น 45 ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ แนวคิดผลงาน : ช่วงชีวิตเป็นชุดงานที่น�ำผลงานเก่าที่ได้รับรางวัลใน ปี 2007 มาดัดแปลงเป็นงานชุดใหม่ ผลงานทั้ง7ชิ้น เป็นศิลปะจัดวาง ที่สามารถน�ำมาใส่เป็นเข็มกลัด ได้ ผลงานแสดงถึงช่วงชีวิตของมนุษย์ที่มาความ สวยงามแฝงอยู่ทุกขณะในแต่ละช่วงเวลา ผ่าน ดอกไม้ดอกหนึ่งตั้งแต่เกิดจนตาย (ท�ำขึ้นเพื่อจัดแสดงที่โรงแรมโซฟิเทลโซ กรุงเทพฯ)

ผลงาน : ช่วงชีวิต (Life Time) รางวัลที่ได้รับ [English] -Jewellery Designer of the year 2007, British Jewellers’ Association, UK -New Designer of The Year 2007, London Design Business Center, UK -Designer of The Year 2009, Department of Export Promotion, Royal Thai Government

‘Lifetime’ is a remake project from ‘Blossoming’, an awarded collection from 2007. The installation that can be also used as brooches reflects one’s lifetime, showing in comparison to a flower from its birth to death in the context that all the moment of one’s life can be all beautiful depending on how we look at it and nothing to do with age or states. (The project was made in collaboration with Sofitel So Hotel Bangkok)


อนุศักดิ์ แก้วกระจ่าง Anusak Kaewkrajang นักออกแบบเครื่องประดับและแฟชั่น Jewelry Designer

ศิษย์เก่า รุ่นที่ 2 ภาควิชาออกแบบเครื่องระดับ

ผลงาน : งอบ (NGOB HAT) ง อ บ เ ป็ น ห ม ว ก ข อ ง ช า ว น า แ ล ะ เกษตรกรไทย ซึ่งชาวนาเปรียบได้เหมือนกระดูก สั น หลั ง ของชาติ แ ละเป็ น โครงสร้ า งหลั ก ของ เกษตรกรไทย ผลงาน จึงสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้าง ละรูปแบบซึ่งต่างจากภาพลักษณ์ของหมวกดั้งเด มากกว่าการสวมใส่จริง

“Njob”is the hat of thai farmer and agriculture. Thai farmer is like the spine which is the main structure of thai agriculture. This product reflects the model of hat which is different from the real dressing image .


วิรัตน์ ลีรัตนขจร Virat

อาจารย์พิเศษ

อาจารย์พิเศษ ภาควิชาการออกแบบและการขึ้นรูปเครื่องประดับ

นักออกแบบและผู้ก่อตั้งแบรนด์เครื่องประดับ Living Extra ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และยังเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้ในฐานะอาจารย์พิเศษของภาควิชาออกแบบ เครื่องประดับ “งานสอนและการท�ำเครือ่ งประดับไม่ได้เป็นแค่สว่ นหนึง่ ในชีวิต แต่เป็นส่วนเดียวกันกับชีวิตของผม” A designer and founder of Living Extra, a unique jewelry brand, and also a dedicated guest lecturer of the Jewelry department. “Teaching and jewelry making is not just a part of life, but it is my life”


ณัฐวัตร ศรีนุ่น Nattawat Srinoon

นักศึกษาปัจจุบัน รุ่นที่ 57 ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ

ตลอดระยะเวลาของการเป็ น นั ก ศึ ก ษาคณะ มัณฑนศิลป์ ข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจเป็นอย่าง มากที่ได้ก้าวเดินตามความฝันของตนเองในฐานะ “นักออกแบบเครือ่ งประดับ” นับแต่การได้เข้ามา ศึกษาเล่าเรียนในวันแรกจนถึงปัจจุบันนี้ ข้าพเจ้า ได้รบั การบ่มเพาะรากฐานทางความรูอ้ ย่างเหนียว แน่ น จากคณาจารย์ ภ าควิ ช าออกแบบเครื่ อ ง ประดับ และกลุม่ เพือ่ นพีน่ อ้ ง ตลอดจนได้รบั ความ อนุเคราะห์จากทางคณะและคณาจารย์ในหลาก หลายด้าน เช่น เงินทุนการศึกษา การแนะแนวงาน ประกวด การประกอบอาชีพในอนาคต ทั้งหมด ทั้งมวลนี้ล้วนเป็นแรงส่งเสริมที่ช่วยหล่อหลอม ให้ตัวข้าพเจ้าประสบความส�ำเร็จและสานฝันตัว ตนเองให้เป็นจริง และตอนนี้ข้าพเจ้าสามารถพูด ได้อย่างเต็มปากเต็มค�ำว่า ข้าพเจ้าโชคดีเป็นอย่าง มากทีไ่ ด้กา้ วเข้ามาอยูใ่ นสังคมทีม่ คี วามอบอุน่ ราย ล้อมด้วยบุคลากรและคณาจารย์ทมี่ คี ณ ุ ภาพเช่นนี้

Throughout the duration of the Faculty of Decorative Arts ,I am very proud of the tremendous strides that have followed their dreams. As “ Jewelry designer. Since the study came on the first day until now,I have been cultivating a strong foundation of knowledge from the faculty of the Department of Design . Friends and siblings as well as receive help from the board and faculty in a variety of areas such as education funding . Guidance contest The future career these and more are all strongly encouraged to preach to me to succeed and make their dreams a reality . And now I can say for stating that , I was very fortunate to have stepped into the society with warmth surrounded by staff and faculty quality like this .

ผลงาน : Action in Color field รางวัลที่ได้รับ รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง เครื่องประดับส�ำหรับสุภาพบุรุษ โจทย์ของการออกแบบครั้งนี้คือ Battle of color และแรงบันดาลใจหลักในการออกแบบเครื่อง ประดับชุดนี้มาจากการท�ำงานศิลปะแนว Color Field ซึ่งเน้นการท�ำงานของพื้นที่สี ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกัน ข้าพเจ้าจึงน�ำเสนอมุมมองของงานเครื่องประดับที่แสดงออกถึงรูปแบบของสีสันที่เสมือน เป็นการแต่งแต้มเรือนร่างของผู้สวมใส่ The prosecution of this jewelry design is the Battle of color and inspiration .This Color Field art works to highlight of local color . The interactions is to offer a view of the jewelry that expresses the theme of colors dotting on the virtual body of the wearer .



60

ปี

แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์



ชัยชน สวันตรัจฉ์ Fashion Designer

ศิษย์เก่า ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์

พี่ โ ก้ หรื อ อ.โก้ เป็ น อาจารย์ พิเศษของภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย นอกจากความสามารถทางด้านงานแฟชัน่ ที่ มีมาตั้งแต่เมื่อครั้งเป็นนักเรียนวิทยาลัยช่าง ศิลป์ กับรางวัล Priew Young Designer จนกระทั่งมีแบรนด์เสื้อผ้าเป็นของตัวเอง “Muse” และ “Good Mixer” ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ ง ง่ายที่นักออกแบบจะสามารถสร้างแบรนด์ และดูแลธุรกิจด้วยตัวเอง จนกระทัง่ แบรนด์ เป็นที่รู้จักแถวหน้าของวงการแฟชั่นเมือง ไทยวันนี้พี่โก้ ได้สละเวลามาเป็นอาจารย์ พิเศษถ่ายทอดความรู้และประสบการณื ให้ กับน้องๆภาคแฟชั่น อย่างสม่ำ�เสมอ


อินทิรา ทัพวงศ์ INTIRA THUPWONG


ชำ�นัญ ภักดีสุข

Chamnan Pakdeesuk

ศิษย์เก่า ภาควิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์

Chamnan Pakdeesuk was born in Bangkok on February 19, 1967. Graduated from faculty of decorative arts, Silpakorn University, the leading of learning and creating international design arts.

The first prize he had won as young designer from Praew magazine, then he was represented to national fashion contest in Singapore. Since he has lived in London for nine years to accumulate his experiences on fashion line. After being back to Bangkok, he joined with fly now brand. It’s not too long, in 1997 he brought fly now brand to London fashion week.

Now he moved as head designer of fly now and he was chosen by harper's bazaar Thailand held the position creative & fashion director.

Fly now was established in 1983 under Somchai Songwattana's management and gained mainstream interest in 1994. Chamnan Pakdisuk developed designs which has pushed the brand to international frame since he joined the fashion house. Currently, fly now is well-known in many countries


เมนาท นันทขว้าง Maynart Nantakwang

Fashion Designer

ศิษย์เก่า ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน

ดีไซเนอร์ระดับ legend อีกท่านนึงของวงการแฟชั้น เมืองไทย พี่กบ หรือ พี่กบ Soda เป็นที่รู้จัก และเป็นแรง บันดาลใจให้กับ ดีไซเนอร์รุ่นต่อๆมา โดยตลอด

Legendary Fashion Designer of Thai fashion industry, Khun Maynart is a founder owner and designer of the famous brand SODA. She has been an inspiration for many fashion designers in Thailand.



โครงการจัดพิมพ์หนังสือ 60 ปี แรงบันดาลใจมัณฑนศิลป์ หลักการและเหตุผล เนื่องในโอกาสปี 2559 ครบรอบการก่อตั้งคณะมัณฑนศิลป์ 60 ปี โดยคณะฯ ได้ถือกำ�เนิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2499 ด้วยดำ�ริของ ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี และได้ด�ำ เนินการเปิดสอนในสาขาวิชาศิลปตกแต่ง (Decorative Arts) ในระหว่าง พ.ศ. 2499 – 2516 คณะมัณฑนศิลป์ จัดการศึกษาเพียงสาขาวิชาเดียว คือ สาขาวิชาศิลปตกแต่ง แต่ใน เวลานั้น เรียกชื่อว่าสาขาวิชามัณฑนศิลป์ ตามชื่อคณะวิชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 – 2544 คณะฯ ได้มีการปรับปรุงและ พัฒนาโครงสร้างหลักสูตร เป็นการจัดการศึกษาเฉพาะระดับปริญญาตรี ไม่มรี ะดับอนุปริญญา พร้อมทัง้ ขยายสาขาวิชาเพิม่ ขึ้น นับถึงปัจจุบันคณะมัณฑนศิลป์ เปิดสอนเพื่อผลิตบัณฑิตระดับ ปริญญาตรี 7 สาขาวิชา คือ สาขาการออกแบบภายใน สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขา ประยุกต์ศิลปศึกษา สาขาเครื่องเคลือบดินเผา สาขาการ ออกแบบเครื่องประดับ และสาขาการออกแบบเครื่องแต่งกาย โดยมีวัตถุประสงค์ให้บัณฑิต เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ในการสร้างสรรค์งานด้านมัณฑนศิลป์ เป็นผู้รอบรู้ มีทัศนคติอันดีงาม รู้จักคิดวินิจฉัย มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนา ตนเอง มีคุณธรรมและนำ�คุณประโยชน์มาสู่สังคม ในโอกาสนี้ คณะฯ จึงเห็นสมควรให้มีโครงการจัดพิมพ์หนังสือ 60 ปี แรงบันดาลใจ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานนักออกแบบ ผู้ที่มีชื่อเสียงด้านศิลปะการออกแบบ ที่เป็นต้นแบบแรงบันดาลใจ ให้แก่คณาจารย์และนักศึกษาคณะมัณฑนศิลป์ ได้สร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ ออกเผยแพร่เป็นที่ประจักษ์ ต่อสาธารณชน ในสาขาวิชาสาขาการออกแบบภายใน สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขา ประยุกต-ศิลปศึกษา สาขาเครื่องเคลือบดินเผา สาขาการออกแบบเครื่องประดับ และสาขาการออกแบบเครื่องแต่งกาย ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อเป็นกิจกรรมทางวิชาการด้านศิลปะการออกแบบ เนื่องในโอกาสครบรอบการก่อตั้งคณะ มัณฑนศิลป์ 60 ปี 3.2 เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานนักออกแบบ ผู้ที่มีชื่อเสียงด้านศิลปะการออกแบบ เป็นต้นแบบที่ เป็นแรงบันดาลใจให้แก่คณะมัณฑนศิลป์ แก่วงวิชาการและวิชาชีพการออกแบบและสาธารณชน หลักเกณฑ์การคัดเลือกนักออกแบบ เป็นผู้ที่มีชีวิตอยู่ มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตอาสาช่วยเหลืองานของคณะมัณฑนศิลป์ มีผลงานสร้างชื่อเสียงเป็นที่ ประจักษ์ เป็นแรงบันดาลใจต้นแบบ ไม่ต้องคำ�นึงสาขาวิชาที่สำ�เร็จการศึกษาและสาขาวิชาที่ประกอบอาชีพ





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.