วารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

Page 1

ปที่ 7 òä Ûa January - June 2012/ @ @1433@@¶ëþa@ô†b»@@–@1432òv¨aëˆ@ ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ยศาสตร

ฉบับที่ 12

†‡ÈÛa

@ @òîãb ã⁄aë@òîÇbànuüa@âìÜÈÛa@Þbª



วารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

Al-Nur Journal The Graduate School of Yala Islamic University ประธานที่ปรึกษา อธิการบดี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ที่ปรึกษา รองอธิการบดีฝายวิเทศสัมพันธและกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยอิสลายะลา รองอธิการบดีฝายวิชาการ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รองอธิการบดีฝายบริหาร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รองอธิการบดีฝายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูชวยอธิการบดีฝายทรัพยสินและสิทธิประโยชน มหาวิทยาลัยอิสลายะลา คณบดีคณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณบดีคณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณบดีคณะศึกษาศาสตร ผูอํานวยการสถาบันภาษานานาชาติ ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูอํานวยการสถาบันอัสสาลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เจาของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.มุฮําหมัดซากี เจะหะ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย ดร.อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี รองศาสตราจารย ดร.นิรันดร จุลทรัพย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ Assoc. Prof. Dr.Mohd Muhiden Bin Abd Rahman Fakulti Pengajian Islam, Universiti Malaya, Nilam Puri, Asst. Prof. Dr.Muhammad Laeba Islamic Law, International Islamic University Malaysia ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิเลาะ แวอุเซ็ง วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ผูชวยศาสตราจารย อุไรรัตน ยามาเร็ง คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อาจารยเจะเหลาะ แขกพงศ สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร ผูชวยศาสตราจารยซอลีฮะห หะยีสะมะแอ สํานักบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูชวยศาสตราจารยจารุวัจน สองเมือง คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร.ซาการียา หะมะ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร.ซอบีเราะห การียอ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร.อัดนัน สือแม สาขาวิชาภาษาอาหรับและวรรณคดี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


ผูทรงคุณวุฒิพิจารณาประเมินบทความประจําฉบับ รองศาสตราจารย ดร.เพชรนอย สิงหชางชัย รองศาสตราจารย ดร.จรัญ มะลูลีม ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพันธุ ศิริพันธุ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อับดุลเลาะ หนุมสุข ผูชวยศาสตราจารย อรทิพย เพ็ชรอุไร ผูชวยศาสตราจารย อุไรรัตน ยามาเร็ง ดร.นูรดินอับดุลเลาะฮ ดากอฮา ดร.มะรอนิง สาแลมิง ดร.วิสุทธิ์ บิลลาเตะ ดร.นิเลาะ แวอุเซ็ง ดร.มูฮามัสสกรี มันยูนุ ดร.อับดุลรอนิง สือแต อาจารยเจะเหลาะ แขกพงศ อาจารยนิมัศตูรา แว พิสูจนอักษร อาจารยมูฮําหมัด สะมาโระ อาจารยนัศรุลลอฮ หมัดตะพงศ อาจารยฆอซาลี เบ็ญหมัด กองจัดการ นายฟาริด อับดุลลอฮหะซัน นายมาหะมะ ดาแม็ง นายอับดุลยลาเตะ สาและ รูปแบบ นายนัสรูดิง วานิ นายอาสมิง เจะอาแซ กําหนดการเผยแพร 2 ฉบับ ตอป การเผยแพร มอบใหหองสมุดหนวยงานของรัฐและเอกชน สถาบันการศึกษาในประเทศและตางประเทศ ฉบับอิเล็กทรอนิกส

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ศูนยประสานงาน สํานักจุฬาราชมนตรีประจําภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนียะลา สถานที่ติดตอ บัณฑิตวิทยาลัย ชั้น 2 สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 135/8 หมู 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี 94160 โทร.0-7341-8614 โทรสาร 0-7341-8615, 0-7341-8616 Email: fariddoloh@gmail.com รูปเลม บัณฑิตวิทยาลัย พิมพที่ โรงพิมพมิตรภาพ เลขที่ 5/49 ถนนเจริญประดิษฐ ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี 94000 โทร 0-7333-1429

http://www.tci-thaijo.org/index.php/NUR_YIU/issue/archive

ทัศนะและขอคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้ เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนแตละ ทาน ทางกองบรรณาธิการเปดเสรีดานความคิด และไมถือวาเปนความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ


บทบรรณาธิการ มวลการสรรเสริญทั้งหลายเปนสิทธิแหง เอกองคอัลลอฮฺ  ที่ทรงอนุมัติใหการรวบรวมและจัดทํา วารสารฉบั บนี้ สํ า เร็ จ ลุ ลวงไปด วยดี ขอความสั น ติสุ ข และความโปรดปรานของอัล ลอฮฺ จงประสบแด ท า น นบีมุฮัมมัด  ผูเปนศาสนฑูตของพระองคตลอดจนวงศวานของทานและผูศรัทธาตอทานทั่วทุกคน วารสาร อั ล -นู ร เป น วารสารทางวิ ชาการฉบั บ สั ง คมศาสตร แ ละมนุ ษ ยศาสตร บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซึ่งไดจัดตีพิมพปละ 2 ฉบับ เพื่อนําเสนอองคความรูในเชิงวิชาการที่หลากหลาย จาก ผลงานของนักวิชาการ คณาจารย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทั้งภายในและภายนอก ทั้งนี้เพื่อเปนการเผยแพร องคความรูที่สรางสรรคและเปนประโยชนสูสังคม วารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฉบับนี้ เปนฉบับที่ 12 ปที่ 7 ประจําป 2555 (ประจําฉบับมกราคม-มิถุนายน) ที่ไดจัดทําในรูปแบบเลมวารสารและระบบอิเล็กทรอนิกสเพื่อรองรับการ ประเมินคุณภาพวารสารที่อยูในฐาน พรอมกันนี้ไดมีการ Submission (Thai Journals Online) บทความในฉบับนี้ ประกอบดวย 10 บทความ และ 1 บทวิพ าทยหนังสื อ (Book Review) ซึ่งไดร วบรวมบทความทางวิชาการที่ มี ความหลากหลายทางด านภาษา สาขาวิชา และประเด็นตางๆ ที่น าสนใจ ซึ่งผูวิจัยไดทํา การศึกษา เรียบเรีย ง ประกอบไปดวยแขนงวิ ชาดานตางๆ อยางเช น ชะรี อะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), อิส ลามศึก ษาทั่วไป, การบริหาร จัดการ, การวัดและประเมินผล, การบริหารธุรกิจ เปนตน บทความดังกลาวไดรับเกียรติจากบรรดาผูทรงคุณวุฒิ ทั้งในประเทศและตางประเทศทําหนาที่ตรวจสอบและประเมินคุณภาพของบทความ กองบรรณาธิการวารสาร ยินดีรับการพิจารณาผลงานวิชาการของทุกๆ ทานที่มีความสนใจ รวมถึง คําติชม และขอเสนอแนะตางๆ เพื่อนําสูการพัฒนาผลงานทางวิชาการใหมีคุณภาพตอไป

บรรณาธิการวารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

1

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

ความเปนไปไดในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย 

อับดุลฮาลิม ไซซิง  มุฮําหมัดซากี เจะหะ  ฆอซาลี เบ็ญหมัด  ดานียา เจะสนิ  อาหมัด อัลฟารีตีย  รอซีดะห หะนะกาแม บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปแบบศาลชะรีอะฮฺในกฎหมายอิสลาม ความเปนไปไดในการจัดตั้งศาล ชะรีอะฮฺในประเทศไทย และรูปแบบของศาลชะรีอะฮฺที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทยในอนาคตโดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิง คุณภาพเก็บรวบรวมขอมูลดวยการศึกษาเอกสารและวิจัยภาคสนาม การศึกษาเอกสารจะศึกษาขอมูลจากอัลกุรอาน ตําราอัลหะดีษ และตําราที่เขียนโดยนักวิชาการตลอดจนงานวิจัยตางๆที่เกี่ยวกับศาลชะรีอะฮฺในอิสลาม การวิจัย ภาคสนามโดยการสัมภาษณแบบเจาะลึกและการประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็น ผลการศึกษาพบวา ศาลชะรีอะฮฺ มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งสําหรับสังคมมุสลิมและตองดําเนินการ ตามหลักศาสนบัญญัติของอิสลาม การจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยถือไดวาเปนการใหสิทธิแกประชาชนที่เปน มุสลิมในการปฏิบัติตามหลักศาสนบัญญัติของตนตามรัฐธรรมนูญโดยจะทําใหการใชกฎหมายวาดวยครอบครัวและ มรดกสามารถบังคับใชอยางสมบูรณอันจะสงผลตอภาพลักษณที่ดีแกประเทศไทยในสายตาของประชาชนที่เปนมุสลิม และในประเทศมุสลิมทั่วโลก สําหรับอุปสรรคปญหาในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยนั้นมีสาเหตุอยู 2 สาเหตุ คือ ความไมเขาใจของรัฐ และการขาดเอกภาพของมุสลิมในการเรียกรองใหมีศาลชะรีอะฮปญหาดังกลาวสามารถแก ไดดวยการสรางความเขาใจแกรัฐและสังคมภายนอกดวยวิธีการจัดสัมมนา การทําเอกสารเผยแพร หรืองานวิจัยเปน ตน และตองสรางเอกภาพระหวางมุสลิม กระบวนการแรกในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยควรผลักดันให กฎหมายที่เกี่ยวของผานการรับรองจากสภาและควรมีการเตรียมความพรอมในดานบุคลากรที่จะมาทําหนาที่ในศาล ชะรีอะฮฺโดยการผลิต สรางบุคลากรที่มีความรูความสามารถเกี่ยวกับกฎหมายอิสลาม รูปแบบของศาลชะรีอะฮฺที่เหมาะสมกับลักษณะประเทศไทยนั้นควรเปน เอกเทศจากศาลยุติธรรม มี 2 ชั้ น ประกอบดวย ศาลชั้นตน และศาลอุทธรณ มีอํานาจพิพากษาคดีของมุสลิมรวมถึงคดีความที่มุสลิมกับผูที่มิใชมุสลิม โดยพิจารณาที่มูลเหตุแหงคดีวามาจากใครเปนหลัก ในดานพื้นที่นั้นควรขยายทุกจังหวัดทั่วประเทศที่มีมุสลิมจํานวน มาก อาจยึดหลักตามคณะกรรมกอิสลามประจําจังหวัดในดานอรรถคดีควรเพิ่มเติมจากคดีอื่นๆที่นอกเหนือจากคดีที่ เกี่ยวกับครอบครัวและมรดก สวนรูปแบบในการพิจารณาคดีนั้นไมจํากัดวาแบบไตสวนหรือแบบกลาวหา คําสําคัญ: ศาลชะรีอะฮฺ ความเปนไปได รูปแบบ 

ดร. (กฎหมายอิสลาม) อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร. (นิติศาสตร), ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา  ศศ.ม (อิสลามศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 



ศศ.ม (อิสลามศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ศศ.ม (อิสลามศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาอิสลามศึกษา, คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา  ศศ.ม (กฎหมายอิสลาม) อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

2

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

study the form of a Shariah court in Islamic law Abdulhalim Saising Muhammadzakee Cheha Ghazali Benmad Daneeya Jeh Seni Armad Alfaritee Rasidah Hanakamae Abstract This research aim to study the form of a Shariah court in Islamic law. the possibility of establishing a Shariah court in Thailand . form a series of Shariah court which may establish in future by using qualitative research methods in gathering data by gathering from the documents and collecting field data. In documents studying will study from Qur'an al-Hadith (Prophet prophetic) books and text books written by academics and written by academics and all researchs relating Shariah court in Islam. Field research use questionnaire instruments with in-depth interview and having brain storming sample group in Semina. The study result found that the Shariah court is very important for Muslim society which must follow the principle of Islamic law. The establishment of Shariah court in Thailand showing that Thai Muslim are given right in accordance to Thai constitutional thai provides Muslim using Family law and Laws of Inheritance in full force. Which will effect on good image of Thailand in Muslims eye round the world. The obstacies in establishing Shariah court in Thailand are two reasons; one is lacking understanding of the government and lacking solidarity of Muslims. In claming for Shariah court. Such aproblem could solve by making understanding to the government and public outdider by organizing semina, publishing relating paper or doing research and create a sense of solidarity on the concerning matter among Muslim and so on.The first step in establishing the Shariah court in Thailand is pushing for relating laws to be approved by parliament and second is thai having ready preparing in producing specialist or expert in Islamic law who will be staff of the Shariah court in future to come

Ph.D. (Shariah) Lecturer, Department of Shariah, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University. Asst. Prof. Ph.D. (In Law) Lecturer, Department of Shariah, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University.  M.A. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Shariah, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University. 



M.A. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Shariah, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University. M.A. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Islamic Studies, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University.  M.A. (Shariah) Lecturer, Department of Shariah, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University. 

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

3

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

The form of Shariah court which suet to Thai figure that should separate or independence from the Court of Justice which consist of to layers these are civil Court and Appeal Court which have power to judge cases of Muslim including cases which involve Muslim and none Muslim. By considering who is the cause of action is. The matter about area where the Shariah Court should be settled it should expand to all provinces which Muslim living in large number it might count to the existing of Provincial Islamic Committee.In case of lawsuit it should add more case more than Family laws and law of Inheritance case. The form of considering case not only limit to inquiring or accusing. Keywords: Shariah court, Islamic Law

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

4

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา ศาลชะรีอะฮฺเปนสวนหนึ่งของบทบัญญัติทางศาสนาอิสลามซึ่งสังคมมุสลิมทั่วไปทุกยุคทุกสมัยจะเพิกเฉย มิได ทั้งนี้เพราะศาลเปนกลไกสําคัญในอันที่จะสรางความเปนธรรมแกผูถูกละเมิดในสังคม ดวยหลักศาสนาอิ สลาม ดังกลาว มุสลิมในประเทศไทยซึ่งเปนองคาพยพหนึ่งของประชาชาติมุสลิมจึงมีการใชกฎหมายอิสลามตลอดมา โดย พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งผูนําประชาคมมุสลิมเปนผูมีอํานาจใชกฎหมายอิสลาม โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและ ความสอดคลองกับประเพณี การนับถือศาสนาอิสลามของประชาชนในทองถิ่นเปนสําคัญ ตามหลักฐานที่ไดมีการบันทึกไวปรากฏวาการใชกฎหมายอิสลามในประเทศไทยมีมาตั้งแตยุคสุโขทัยตราบ จนปจจุบั น (สมบู รณ พุทธจักร, 2529: 63-82) อัน สามารถกลาวได วาศาลชะรีอะฮมิ ใชสิ่งแปลกใหมสํ าหรับไทย โดยในสมัยอยุธยาไดแบงหนวยงานที่ทําหนาที่ ติดตอคาขายกับตางประเทศเปน “กรมทา” ซึ่ งประกอบดวย 3 กรม ดวยกัน ไดแก กรมทากลางสําหรับติดตอกับชาวตางประเทศทั่วไป กรมทาซายสําหรับติดตอกับจีน และกรมทาขวา มี หนาที่กํากับ ดูแลกิจ การการคาและการทูต กับ ชาวตางชาติดานฝ งทะเลตะวั นตก เชน อิน เดีย อารเ มเนี ย อาหรับ อิหราน รวมทั้งมุสลิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ มลายู จาม และรัฐในหมูเกาะอินโดนีเซีย (จุฬิศพงศ จุฬารัตน, 2544: 93) ในกรณีที่ชาวตางประเทศทั่วไป ในปจจุบันคดีเกี่ยวกับครอบครัวและมรดกใน 4 จังหวัดภาคใต ไดแก ปตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล ตก อยูภายใตอํานาจของศาลชั้นตน ตามพระราชบัญญัติการใชกฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ 2489 มาตรา 4 ที่กําหนดใหดะโตะยุติธรรม มีอํานาจชี้ขาดขอพิพาทเกี่ยวกับครอบครัวและมรดกที่มี คูความมุสลิมตามกฎหมายอิสลามรวมกับผูพิพากษา โดยดะโตะยุติธรรมมีอํานาจเพียงวินิจฉัยชี้ขาดตามขอกฎหมาย อิสลามแตไมมีอํานาจพิจารณาคดี เพราะอํานาจดังกลาวเปนของผูพิพากษา (พรบ.การใชกฎหมายอิสลาม, 2489) เมื่อพิจารณาถึงการใชกฎหมายอิสลามตามพระราชบัญญัติดังกลาว จะเห็นวายังขาดรายละเอียดตางๆที่ จําเปนตอการบริหารกฎหมายอิสลามอยูเปนอันมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการใชกฎหมายอิสลามในประเทศฟลิปปนส ศรีลังกา สิงคโปร ซึ่งประเทศเหลานี้ตางก็มีชาวมุสลิมเปนชนกลุมนอยอาศัยอยูเชนกัน กลาวคือพระราชบัญญัติฉบับ นี้เ พี ยงแต กํ าหนดให นําเอากฎหมายอิ ส ลามว าด ว ยครอบครั ว และมรดกมาบั ง คั บใช แทนบทบั ญ ญัติ แห ง ประมวล กฎหมายแพง และพาณิชย วาด วยครอบครั ว และมรดกเทานั้น โดยไม ไดกํ าหนดรายละเอี ยดเกี่ยวกับ หลัก กฎหมาย อิสลามที่จ ะนํามาบัง คับใช และวิธีพิจารณาตามกฎหมายอิสลาม ตลอดจนองคกรอื่นๆที่จําเปนสําหรับ การบริหาร กฎหมายอิ ส ลาม การใช ก ฎหมายอิ ส ลามจึ ง จํ ากั ด อยู เ ฉพาะแต ใ นศาลเท านั้ น ทํ าให ก ารใช ก ฎหมายอิ ส ลามขาด ประสิทธิภาพ เปนอุปสรรคตอการที่จะสงเสริมการดําเนินชีวิตภายใตหลักศาสนาอิสลามของประชาชนชาวไทยมุสลิม (สมบูรณ พุทธจักร, 2529: ฉ) ดวยความสําคัญและปญหาเกี่ยวกับศาลชะรีอะฮฺที่เกิดขึ้น คณะผูวิจัยจึงเห็นความจําเปนที่จะตองศึกษารูปแบบ ศาลชะรีอะฮฺในกฎหมายอิสลาม และความเปนไปไดในการกําหนดใหมีขึ้นในทางกฎหมายทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลอางอิง และนําเสนอเปนแนวทางในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1.ศึกษารูปแบบศาลชะรีอะฮฺในกฎหมายอิสลาม 2.ศึกษาความเปนไปไดและอุปสรรคปญหาในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย 3.ศึกษารูปแบบของศาลชะรีอะฮฺที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

5

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

วิธีดําเนินการวิจัย การวิ จั ย เรื่ อ งความเป น ไปได แ ละรู ป แบบของศาลชะรี อ ะฮฺ ใ นประเทศไทย เป น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีการดําเนินการดังนี้ การวิจัยเอกสาร การศึ ก ษาเอกสารโดยศึก ษาข อมู ล จากอั ล กุ ร อาน หนั งสื ออั ล หะดี ษ และหนั ง สือที่ เ ขี ยนโดยนั กวิ ช าการ ตลอดจนงานวิจัยตางๆเกี่ยวกับศาลชะรีอะฮฺในขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบศาลชะรีอะฮฺในอิสลาม การวิจัยภาคสนาม การวิจัยภาคสนามโดยการสัมภาษณแบบเจาะลึกประกอบแบบสัมภาษณกับกลุมตัวอยางและการสัมมนา ระดมความเห็นจากผูเชี่ยวชาญ ในสวนที่เปนขอมูลเกี่ยวกับความเปนไปไดและอุปสรรคปญหาในการจัดตั้งศาลชะ รีอะฮฺและรูปแบบของศาลชะรีอะฮฺที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งมีรายละเอียดตามลําดับดังนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ไดแก นักวิชาการมุสลิม ดะโตะยุติธรรม ทนายความมุสลิม คณะกรรมการ อิสลามประจําจังหวัด นักกฎหมายและผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งประกอบดวย จังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส และ สตูล กลุมตัวอยาง กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ด ม าด ว ยการเลื อ ก แบบเจาะจงจากผู ที่ เ ป น นั ก วิ ช าการมุ ส ลิ ม ดะโตะยุติธรรม ทนายความมุสลิม คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด นักกฎหมายและผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งประกอบดวย จังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส และ สตูล จํานวน 18 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1) ประเภทของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสัมภาษณ มีทั้งหมด 3 ตอน คือ 1. ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัว จํานวน 5 ขอ 2. ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเปนไปได ในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย จํานวน 8 ขอ 3. ตอนที่ 3 รูปแบบของศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย จํานวน 8 ขอ 2). การสรางและพัฒนาเครื่องมือ เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้มีขั้นตอนในการสรางและพัฒนา ดังนี้ 1. ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของกับศาลชะรีอะฮฺ 2. นําขอมูล ที่ไดจากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข องมาวิเคราะห สังเคราะหอยางละเอียดมาเป น แนวทางในการสรางแบบสัมภาษณ 3. นํ า แบบสั มภาษณ เ สนอผู เ ชี่ ย วชาญจํ า นวน 3 ท าน เพื่ อ พิ จ ารณาความตรงเชิ ง โครงสร า ง (Construct Validity) และคัดเลือกเฉพาะขอคําถามที่มีคาความตรงตั้งแต 0.5 ขึ้น ไป เพราะถือวาคําถามนั้นมีความ สอดคลองกับโครงสรางและหัวขอที่กําหนด 4. นําแบบสัมภาษณไปปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญมาจัดพิมพ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

6

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

3) ขั้นเก็บรวมรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยในครั้งนี้มีขั้นตอนดังนี้ การวิจัยเอกสาร การวิจัยเอกสารจะศึกษาขอมูลจากอัลกุรอาน หนังสืออัลหะดีษ และหนังสือที่เขียนโดยนักวิชาการตลอดจน งานวิจัยตางๆเกี่ยวกับศาลชะรีอะฮฺในอิสลาม การวิจัยภาคสนาม การวิ จัยภาคสนามโดยการสัมภาษณเ จาะลึก ประกอบแบบสั มภาษณ กั บ กลุ มตั ว อย างดั งกล าวและการ สัมมนาระดมความเห็นจากผูเชี่ยวชาญ ตามลําดับดังนี้ ก. การสั ม ภาษณ เ จาะลึ ก ) In-depth Interview) กลุ ม ตั ว อย า งที่ เ ป น นั ก วิ ช าการมุ ส ลิ ม ดะโต ะยุ ติธ รรม ทนายความมุส ลิม คณะกรรมการอิส ลามประจํ าจั งหวัด นัก กฎหมายและผูดํ ารงตํ าแหน งทาง การเมือง ใน4 จังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งประกอบดวย จังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส และ สตูล ผูวิจัยตรวจสอบ ความสมบูรณของขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณจากนั้นนําขอมูลไปวิเคราะห ข. การสัมมนาระดมความคิดเห็น และขอเสนอแนะจากผูทรงคุณวุฒิ พรอมอภิปรายผลที่ไดจาก การวิเคราะหขอมูลภาคสนาม ประกอบขอมูลที่ไดจากการวิจัยเอกสาร ตามวัตถุประสงคของการวิจัย 4) ขั้นวิเคราะหขอมูลและนําเสนอผลการวิจัย การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้มีวิธีการดังนี้ 1. การวิเคราะหขอมูลเอกสาร ในการวิจัยขอมูลเอกสารเกี่ยวกับศาลชะรีอะฮฺในตํารากฎหมายอิสลาม ใชวิธีการวิเคราะหขอมูลเอกสาร ทางกฎหมายอิสลามในรูปแบบการวิเคราะหเชิงพรรณนา และการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบ วิธีการเรียบเรียงขอมูล ผูวิจัยจะทําการรวบรวมขอมูลในหัวขอที่เกี่ยวของตามวัตถุประสงคของการวิจัยจาก เอกสารปฐมภูมิทางกฎหมายอิสลาม และเอกสารทางกฎหมายอิสลามระดับอื่นๆ โดยผูวิจัยจะอธิบาย ใหขอสังเกต หรือวิจารณตามความเหมาะสม 2 .การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณและการสัมมนาระดมความคิดเห็น การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณและการสัมมนาระดมความคิดเห็นผูวิจัยวิเคราะหตามขั้นตอนดังนี้ 2.1 ตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณตามโครงสรางในแบบสัมภาษณ การ สัมมนาระดมความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูท รงคุณวุฒิ 2.2 ใช วิธี ก ารวิเ คราะห ขอมู ลเชิง คุ ณภาพรูป แบบตางๆ เช น วิ ธีก ารนั บจํ านวน วิธี วิเ คราะห เชิ ง พรรณนา descriptive Analysis (การวิ เ คราะห แบบอุ ป นั ย ) Analytic Induction) โดยการจั ดกลุ มและแยกประเภทข อมู ล ๖ (Classification) การใหความหมาย (Interpretation) การเชื่อมโยงเชิงตรรกะ ) Logical Association) รวมทั้งการวิเคราะห เปรียบเทียบขอมูล (Constant Comparison) โดยนําขอมูลมาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตาง และสรางเปน ขอสรุป (สิน พันธุพินิจ, 2547: 59, 282, 289) ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ คณะวิจยั ทําการศึกษาเฉพาะประเด็นรูปแบบศาลชะรีอะฮฺในกฎหมายอิสลาม ความเปนไป ไดในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย และรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพความเปนจริงในประเทศไทยตามทัศนะ ของนักวิชาการมุสลิม และผูที่มีสวนเกี่ยวของกับศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

7

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผลการวิจัย 1. รูปแบบศาลชะรีอะฮฺในกฎหมายอิสลาม จากการวิจัยถึงรูปแบบศาลชะรีอะฮฺในกฎหมายอิสลามสามารถสรุปไดดังนี้ ความหมายของศาลหรือ อัลเกาะฎออฺ” ศาลหรือ อัลเกาะฎออฺ หมายถึง “การพิพากษาอรรถคดีระหวางคูกรณีตามวิธีการและขั้นตอนที่กําหนดไว โดยเฉพาะในบทบัญญัติแหงกฎหมายอิสลาม” ศาสนบัญญัติของศาลในอิสลาม ศาล หรือ “อัลเกาะฎออฺ” ในระบบกฎหมายอิสลามมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งสําหรับสังคมมุสลิมและ ถือเปนความสําคัญที่อยูในลําดับแรก ภายหลังจากการศรัทธาตออัลลอฮฺ การจัดใหมีระบบศาลเพื่อดําเนินกระบวน พิจารณาคดีตามหลักกฎหมายอิสลามนับเปนอิบาดะฮฺและเปนหนึ่งในภารกิจหลักของบรรดาศาสนทูต การศาลจึงเปน บัญญัติทางศาสนาซึ่งสังคมมุสลิมทุกยุคทุกสมัยและทุกแหงหนจะเพิกเฉยมิได ประวัติความเปนมาของศาลในอิสลาม สังคมอาหรับยุคอารยชนกอนอิสลามการบังคับใชกฎหมายจะลงโทษอยางเขมงวดตอผูที่ออนแอและหยอน ยานสําหรับผูที่มีอํานาจและร่ํารวยคําพิพากษาก็ไมมีผลผูกพันบังคับคูกรณี และไมมีบรรทัดฐานที่แนนอน หลังจาก อิสลามไดเกิดขึ้น ณ ดินแดนอารเบีย อิสลามมิไดมีจุดยืนที่ปฏิเสธหรือตอตานวัฒนธรรมญาฮิลิยะฮฺทั้งหมด หากแตมี จุดมุงหมายเพื่อการปรับปรุง ฟนฟู โดยมีการปรับปรุงลั กษณะการพิจารณาพิพากษาคดี โดยบังคับใหคูกรณี ตอง ผูกพันและปฏิบัติตามคําพิพากษาและมีบทบัญญัติแหงกฎหมายเปนบัญทัดฐาน ในยุคของท านศาสดามุ หัมหมัดศ็อลลัลลอฮุอลั ยฮิวะสัลลัมทานศาสดาเปนผูที่ทําหนาที่พิพากษาอรรถคดี ตางๆที่เ กิด ขึ้นตามบัญญั ติแหงอั ลกุ รอานแตเพี ยงผูเดี ยวแตเ มื่ออาณาจัก รอิ สลามไดแผ ขยายออกไปในคาบสมุท ร อาหรับ ภารกิจในดานตางๆก็เพิ่มมากขึ้น ทานศาสดาจึงใหเศาะหาบะฮฺดําเนินการแทนตามความเหมาะสม ในยุคของเคาะลีฟะฮฺทั้งสี่การศาลดําเนินไปในลักษณะเดียวกับในยุคของทานศาสดาโดยอํานาจเด็ดขาดใน การตัดสินคดีความขึ้นอยูก ับเคาะลีฟะฮฺในฐานะผูปกครองสูงสุดมีการแตงตั้งผูแทนทําหนาที่พิพากษาอรรถคดีเพื่อแบง เบาภาระของเคาะลีฟะฮฺทั้งในนครมาดีนะฮฺและนอกนครมาดีนะฮฺ สมัยราชวงศอุมาวียะฮฺ มีลัก ษณะเดน คือ มี การบั นทึก การพิ จารณาคดี ความและคําตัด สิน เนื่องจากมีข อ พิพาทขัดแยงเพิ่มมากขึ้นและคูกรณีมักใหการขัดกัน จนบางครั้งมีการนําคดีที่ศาลไดพิพากษาแลวมาฟองรองใหม จึงกําหนดใหมีการบันทึกการพิจารณาคดีและคําตัดสินไวเปนหลักฐาน ในสมัยราชวงศอับบาสิยะฮฺการศาลไดวิวัฒนาการไปอยางมากเพราะวิชาการตางๆเจริญกาวหนา เกิดมัซฮับ หลายมัซฮับแตในขณะเดียวกันการศาลและการพิจารณาคดีไดรับอิทธิพลจากทางฝายการเมืองจนทําใหการตัดสิน เปนไปตามความประสงคของเคาะลีฟะฮฺ ในยุ คสมั ยราชวงศอัน ดะลู สิ ยะฮฺ มีเ คาะลี ฟ ะฮฺ สู งสุ ด เป น ผูนํ าดานตุ ลาการและไดดํ าเนิน ตามแนวทางของ บรรดาเคาะลีฟะฮฺแหงราชวงศอุมาวิยะฮฺและอับบาสิยะฮฺ ศาลในสมัยราชวงศอุษมานิยะฮฺมีการตราประมวลกฎหมายอิสลามขึ้นเรียกวา มะญัลละฮฺ อัลอะฮฺกาม อัลอะ ดะลิยะฮฺสงผลใหผูพิพากษาตองพิจารณาพิพากษาคดีตามตัวบทกฎหมายที่ตราขึ้น จะวินิจฉัยจากตัวบทอัลกุรอาน หรือสุนนะฮฺโดยตรงมิไดและมีการตรากฎหมายอื่นๆในเวลาตอมา

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

8

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

หลังจากการลมสลายของอาณาจักรอุษมานิยะฮฺประเทศมุสลิมหันไปยอมรับกฎหมายตะวันตกเขามาในการ ปกครองและการตัดสินคดีอยางไรก็ตามยังคงมีประเทศที่รอดพนจากการตกอยูภายใตการยึดครองของพวกลาอาณา นิ ค มตะวั น ตก ระบบการปกครองและการตุ ล าการจึ ง ยั ง มิ ไ ด รั บ การครอบงํ า หรื อ ทํ า ลาย เช น ในประเทศ ซาอุดีอาระเบียก็ยังคงใชระบบอิสลามเปนธรรมนูณในการปกครองและตัดสินคดีความ องคประกอบของศาลชะรีอะฮฺ ศาลชะรีอะฮฺมีองคประกอบที่สําคัญ 4 ประการคือ 1. ผูพิพากษา หรือ กอฎียฺ ผูพิพากษาจะตองมีคุณสมบัติดังนี้คือ ตองเปนผูนับถือศาสนาอิสลาม บรรลุศาสนภาวะ มีภาวะจิตใจที่ปกติ เปนอิสรชน เปนชาย เปนผูที่มีคุณ ธรรม เปน ผูที่มีความรูอยางถองแทและมีประสาทสัมผัส ที่สมบูรณ โดยมีอํานาจ หนาที่ในการยุติขอขัดแยงระหวางคูกรณีดวยการตัดสินหรือไกลเกลี่ย เปนวะลียฺใหแกหญิงที่ไมมีผูปกครอง มีอํานาจ ปกครองผู ไ ร ความสามารถ ดู แลทรั พ ย สิ น ที่ เ ป น สาธารณสมบั ติ พิ พ ากษาลงโทษแก ผู ที่ ก ระทํ าความผิ ด และ ควบคุมดูแลผูที่อยูภายใตการปกครอง 2. การฟองรอง การฟองรองคื อ คํากลาวที่เ สนอในศาลที่ มาจากบุคคลหนึ่งเพื่อเรียกรองสิท ธิที่เขาพึงไดห รือเพื่อบุคคลที ่ แตงตั้งเขาเปนตัวแทน ในการฟองรองนั้ นจะตองครบองคประกอบดังนี้ คือ ผูฟองรอง ผูถูกฟองรอง สิ่ง ที่ฟองรอง และสํานวนในการฟองรอง โดยทั้งหมดจะตองมีเงื่อนไขตามหลักศาสนาอิสลามกําหนด การฟองรองจึงจะสมบูรณ และไดรับการพิจารณา 3. พยานหลักฐาน วิธีการและหลักฐานที่ใชใ นการพิ สูจนคํ าฟองร องในระบบศาลอิส ลามคือ การรับสารภาพของฝายจําเลย พยานบุคคล การสาบานของผูถูกฟองรอง พยานบุคคล1 คน และการสาบานของผูฟองรอง การปฏิเสธการสาบาน ของผูถูกฟองรอง การเกาะสามะฮฺ พฤติการณแวดลอม และการรับรูขอมูลของผูพิพากษา 4. วิธีการพิจารณาคดี กระบวนการพิจารณาในศาลชะรีอะฮฺนั้นมีขั้นตอนดังนี้ คือ เสนอคําฟองตอศาล นําผูถูกฟองรองมาขึ้นศาล ดําเนินการฟองรองในชั้นศาลดวยการรับฟงคําฟองรองและการตัดสินของผูพิพากษา และดําเนินการตามคําพิพากษา ของศาล 2.ความเปนไปไดของการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย 2.1 ความจําเปนที่ตองมีศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย ศาลชะรีอะฮฺถือเปนองคกรหนึ่งที่มีความสําคัญตอการใชกฎหมายอิสลามในประเทศไทย นักวิชาการมุสลิม ดะโตะยุติธรรม และองคกรมุสลิมตางๆจึงเรียกรองใหมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺขึ้นมาในประเทศไทยเพราะถือว าการ เกิดขึ้นของศาลชะรีอะฮฺนั้นจะสงผลตอการบังคับใชกฎหมายอิสลามในประเทศไทยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดังคํา สัมภาษณจากกลุมตัวอยางถึงความจําเปนในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยนั้นมีดังนี้ 1. เพื่อเปนการใหสิทธิแกประชาชนที่เปนมุสลิมตามรัฐธรรมนูญที่ไดบัญญัติไววาทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิบัติตาม หลักศาสนบัญญัติของศาสนาที่ตัวเองนับถือ ดังนั้นถือไดวาหากประเทศไทยไดมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺขึ้นมาก็จะทําให การบังคับใชกฎหมายอิสลามที่มีอยูคือกฎหมายวาดวยครอบครัวและมรดกสามารถที่จะบังคับใชอยางสมบูรณอีกทั้ง ยังเปนการใหอํานาจแกดาโตะยุติธรรมในการตัดสินคดีที่เกี่ยวกับครอบครัวและมรดกของคนมุสลิมอยางเต็มที่

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

9

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

2. ศาลชะรีอะฮฺถื อเปน องค กรหนึ่ง ที่ทํ าหนาที่ ในการพิจ ารณาพิ พากษาคดี ของคนมุส ลิมดั งนั้ นหากมี การ จัดตั้งขึ้นมาก็จะทําใหระบบกฎหมายที่บังคับใชอยูนั้นสอดคลองกับวิถีชีวิตของชาวมุสลิมและสรางความพึงพอใจแก ชาวมุสลิมที่ไดปฏิบัติตามหลักศาสนาโดยมีกฎหมายและศาลรองรับอยางเปนทางการ 2.2 ประโยชนของการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย ผลตอภาพลักษณของประเทศไทย หากมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยแลวก็จะสงผลตอภาพลักษณของประเทศไทยในดานตางๆ เชน ภาพลักษณของรัฐบาลในสายตาของประชาชนมุสลิมดีขึ้นเพราะการที่รัฐใหโอกาสในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺนั้นแสดง ใหเห็นวารัฐใหสิทธิแกประชาชนอยางเทาเทียมกันอันจะนําไปสูความรูสึกของการเปนประชากรหลักมากขึ้น จะเกิด ความรูสึกรั กและหวงแหนดินแดนและความเปนพลเมืองของประเทศไทย ภาพลักษณที่ดีและการยอมรับจากกลุ ม ประเทศในโลกมุสลิมโดยจะทําใหเห็นถึงความจริงใจ และการใหอิสระในการปฏิบัติตามบทบัญญัติของศาสนาของ รัฐบาลไทยแกประชากรที่เปนมุสลิมอันจะนํามาซึ่งความรวมมือในดานตางๆตอไป ประโยชนตอการบังคับใชหลักกฎหมายอิสลามในประเทศไทย หากมี การจั ดตั้ งศาลชะรีอะฮฺ ขึ้น มาในประเทศไทยนั้ นจะส งผลใหเ กิด การพั ฒนาเกี่ยวกั บการใช กฎหมาย อิสลามในประเทศไทยทั้งในดานขอบเขตของเนื้อหาที่ บังคับใช ขอบเขตในดานพื้ นที่ที่บัง คับใช และขอบเขตในดาน อํานาจหนาที่ของผูใชกฎหมายอิสลามอันจะนํามาซึง่ การเรียนรูเกี่ยวกับกฎหมายอิสลามมากยิ่งขึ้น ประโยชนที่เกิดขึ้นตอกระบวนการยุติธรรม หากมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺขึ้นมาในอนาคตจะเปนการลดภาระของศาลยุติธรรมโดยจะทําใหมีจํานวนคดีลด นอยลงเพราะมีศาลเฉพาะมาทําหนาที่โดยตรงตลอดจนสรางความเชื่อมั่นและยอมรับในคําพิพากษาของศาลอันจะ นํามาซึ่งการทํางานที่รวดเร็วขึ้น อีกทั้งกระบวนการในการพิพากษาคดีระหวางศาลทั่วไปกับศาลชะรีอะฮฺนั้นก็มีความ แตกตางกันในบางเรื่องหากมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺขึ้นมาก็จะทําใหการดําเนินการของกระบวนการยุติธรรมนั้น ตรง กับความตองการของประชาชนและสอดคลองกับขนบธรรมเนียมประเพณีมากยิ่งขึ้น ผลตอปญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต ปญหาที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบันนั้นเกิดขึ้นมาจากปจจัยหลายอยางแตสวนหนึ่งก็เกิด ขึ้นมาจากการไมไดรับความเปนธรรมจากรัฐในเรื่องสิทธิที่ประชาชนพึงมีและถูกลิดรอนและเพิกเฉยจากรัฐ ดังนั้นหาก มีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺขึ้นก็เปนโอกาสหนึ่งที่จะทําใหกลุมบุคคลที่สรางปญหาอันเนื่องมาจากปจจัยนี้กลับมาใหความ รวมมือกั บรัฐและเลิกตอตานแต อยางไรก็ตามการที่จะใหสังคมเกิดสันติ สุขขึ้นมานั้นก็ขึ้น อยูกับบทบาทของศาลชะ รีอะฮฺในการที่จะปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่ไดรับมา 2.3 อุปสรรคปญหาในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย การเรียกรองใหมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทยนั้นมีมานานแลวศาลชะรีอะฮฺก็ยังไมสามารถจัดตั้ง ขึ้นมาไดอันเนื่องมาจากอุปสรรคตางๆทั้งที่เปนอุปสรรคจากภายนอกและอุปสรรคภายในสําหรับอุปสรรคปญหาที่เปน ปจจัยภายนอกนั้นคือความไมเขาใจจากฝายนิติบัญญัติจึงนํามาซึ่งความลาชาในกระบวนการเสนอรางกฎหมายเพื่อ จัดตั้งศาลชะรีอะฮฺ ความไมเขาใจนี้ทําใหการเรียกรองเพื่อจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺถูกมองเปนปญหาการแบงแยกดินแดน ตลอดจนการลดอํ านาจของศาลยุ ติธ รรมที่มีอยู แต เดิม อีก ทั้ง เกรงว าต องใชง บประมาณในการจั ดตั้ งสูง ดั งนั้ น นโยบายของรัฐบาลในแตละสมัยจึงไมใหความสําคัญในเรื่องนี้

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

10

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ในเรื่องความไมเขาใจนี้ไมเพียงเฉพาะรัฐเทานั้นแตสังคมอื่นที่เปนคนตางศาสนิกก็ไมเขาใจโดยมองวาเปน การเรียกรองสิทธิมากเกินไปซึ่งเปนอุปสรรคปญหาที่มุสลิมตองหาทางแกไขตอไป อุปสรรคปญ หาที่มาจากปจจัยภายใน ณ ที่นี้หมายถึ งอุปสรรคที่ เกิดจากประชาชนมุสลิ มเองกลาวคือคน มุสลิมเองยังขาดความเปนเอกภาพในการดําเนินการเพื่อใหมีการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺซึ่งจะเห็นไดวาองคกรมุสลิมตางๆ ที่ดําเนินการเรียกรองในเรื่องนี้ยังเปนการกระทําที่ตางคนตางทําอีกทั้งสังคมมุสลิมเองที่เปนประชาชนทั่วไป ก็ยังขาด ความรูในเรื่องศาลชะรีอะฮฺจึงไมคอยใหความสําคัญ 2.4 แนวทางแกไข แนวทางแกไขอุปสรรคปญหาสามารถแยกประเด็นดังตอไปนี้ ในดานการสรางความเขาใจแกรัฐและสังคมภายนอก จําเปนที่มุสลิมตองสรางความเขาใจแกรัฐและสังคมอื่นที่มิใชมุสลิม ในทุกรูปแบบ เชน การจัดสัมมนา การ ทําเอกสารเผยแพร การจัดทํางานวิจัย ในดานการรางกฎหมาย ปจ จุบั นกระบวนการในการจัด ตั้ง ศาลชะรี อะฮฺ นั้น อยู ในระหว างการเสนอเพื่ อรั บเป นกฎหมายดั งนั้ นผู ที่ มี อํานาจหนาที่เชน ส.ส และ ส.ว มุสลิมจะตองทําหนาที่ในการผลักดันใหกฎหมายฉบับนี้ผานการพิจารณาโดยจะตอง แสดงความเปนเอกภาพของมุสลิมทุกคนและไมมีการแบงแยกถึงแมอาจจะมาจากตางพรรคก็ตาม ในดานการสรางความพรอม มุสลิ มควรมีก ารสร าง ผลิต บุคคลากรที่ มีความรูความสามารถเพื่ อรองรับ การจั ดตั้ง ศาลชะรี อะฮฺที่ อาจ เกิดขึ้นในอนาคต เชน การเปดหลัดสูตรชะรีอะฮฺที่สรางบุคคลากรที่เชี่ยวชาญในเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายอิสลาม 3. รูปแบบของศาลชะรีอะฮฺที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทยในอนาคต 3.1 โครงสรางของศาล รูปแบบของศาลชะรีอะฮฺที่อาจมีการจั ดตั้งขึ้น ในประเทศไทยในอนาคตนั้น ผูทรงคุ ณวุติมีความคิด เห็นแบ ง ออกเปนสองฝาย ฝ ายแรกเสนอใหเปน แผนกหนึ่ง ในศาลยุติธ รรมกอนเพื่อไมใหเ กิดความรู สึกแปลกแยกแลวคอย แยกตัวเปนเอกเทศจากศาลยุติธรรมแตถึงจะเปนแผนกหนึ่งในศาลยุติธรรมก็ควรจัดแยกใหชัดเจน ฝายที่ส องเห็ นว าศาลชะรีอะฮฺ ที่อาจมีก ารจัด ตั้ง ขึ้น ในประเทศไทยในอนาคตนั้ นควรเป นเอกเทศจากศาล ยุติธรรมเพราะศาลชะรีอะฮฺมีลักษณะพิเศษจึงควรเปนเอกเทศจากศาลยุติธรรม เกี่ยวกับโครงสรางของศาลนั้นผูทรงคุณวุฒิไดมีความคิดเห็นที่แตกตางกันออกเปนสองทัศนะ ทัศนะแรกเสนอใหศาลชะรีอะฮฺที่อาจมีการจัดตั้งขึ้นในอนาคตนั้นควรมี 2ชั้นศาลประกอบดวยศาลชั้นตน และศาลฎีกา ทัศนะที่สองศาลชะรีอะฮฺที่อาจมี การจัดตั้ งขึ้น ในอนาคตนั้นควรมี 3ชั้ นศาลประกอบดว ยศาลชั้น ตน ศาล อุทธรณ และศาลฎีกา 3.2 เขตอํานาจศาล ในดานโจทกจําเลย โจทกจําเลยควรเปนมุสลิมทั้งสองฝายแตถึงอยางไรก็ตามประเทศไทยมีประชากรหลายศาสนาและอาศัยอยู รวมกันบางครั้งคดีตางๆถึงแมจะเกี่ยวของกับครอบครัวและมรดกก็ตามก็อาจจะมีขอพิพาทกันระหวางคนมุสลิมและ ตางศาสนิก ดัง นั้ นเพื่อเป นการปองกัน จึง ควรกํ าหนดใหอํานาจของศาลชะรี อะฮฺใ นด านโจทกจํ าเลยนั้น ขึ้น อยู กั บ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

11

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

มูลเหตุเแหงคดีวามาจากฝายใด หากมาจากมุสลิมก็ควรใหใชกฎหมายอิสลามบังคับ และควรเพิ่มโอกาสใหผูที่มิใช มุสลิมมีสิทธิที่จะรองขอใหใชกฎหมายอิสลามในการตัดสินคดีฟองรองตอศาลชะรีอะฮฺดวย เขตอํานาจในดานพื้นที่ ควรขยายทุกจังหวัดทั่วประเทศที่มีมุสลิมอาศัยอยูเพื่ อความเสมอภาคและยุติธ รรม แตตองมีมาตรการว า จังหวัดไหนที่มีมุสลิมนอยก็อาจจะจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในจังหวัดที่เปนศูนยกลางแลวใหครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัดโดย เริ่ มแรกให มีใ นจัง หวั ดที่ มีป ระชากรที่ เป นมุ สลิ มเป นจํ านวนมากกอนแลว คอยขยายไปจัง หวั ดอื่ น ทั้ งนี้ ตองดู ความ เหมาะสมในดานบุคลากรและจํ านวนประชากรที่นับถือศาสนาอิ สลามเปนหลัก อาจจะยึดหลักตามคณะกรรมการ อิสลามประจําจังหวัด กลาวคือ จังหวัดใดที่มีคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดก็ใหมีศาลชะรีอะฮฺ เขตอํานาจศาลในดานอรรถคดี คดีที่เกี่ยวกับครอบครัวและมรดกแตใหเพิ่มคดีที่เกี่ยวกับทรัพยสินการให คดีที่เกี่ยวกับองคกรมุสลิมตางๆ เชน การถอดถอนจุฬาราชมนตรีเปนตน 3.3 รูปแบบในการพิจารณาคดี ในดานรูปแบบในการพิจารณาคดีนั้นนักวิชาการอิสลามในประเทศไทยไดมีทัศนะแบงออกเปน 2 ทัศนะคือ ทัศนะแรกเห็นวาศาลชะรีอะฮฺที่อาจมีการจัดตั้งขึ้นในอนาคตนั้นควรมีรูปแบบไตสวนเพราะจะเปดโอกาสใหมี การฟองรองงายยิ่งขึ้นไมตองมีทนายความ ทัศนะที่สองเห็นวาควรเปนแบบอิสลามไมจํากัดวาไตสวนหรือกลาวหาอาจผสมผสนาตามความเหมาะสม 3.4 อํานาจหนาที่ของศาลชะรีอะฮฺที่นอกเหนือจากกระบวนการยุติธรรม เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของศาลชะรีอะฮฺนั้นผูทรงคุณวุฒิไดเสนอวาศาลชะรีอะฮฺควรมีหนาที่ในการพิจารณา พิพากษาคดีเทานั้น งานดานตุลาการหรือเอกสารก็ใหเจาหนาที่ธุรการสวนดานอื่นๆควรใหกรรมการอิสลามประจํา จังหวัดรับผิดชอบ แตก็มีผูทรงคุณวุฒิบางทานมีความคิดเห็นวาศาลชะรีอะฮฺนาจะมีหนาที่ที่นอกเหนือจากการพิพากษาคดีเชน การใหการอบรมในเรื่องศาสนาแกประชาชน อภิปรายผล ผลจากการวิจัยพบวา ผูทรงคุณวุฒิทั้งจากการสัมภาษณและการสัมมนา เห็นพองกันวาจําเปนตองมีศาลที่ ใช กฎหมายอิส ลามในประเทศไทย ซึ่ง สอดคลองกับ บทบั ญญั ติ แห ง ศาลอิส ลามที่ ให ความสํ าคัญ กั บศาล หรืออั ล เกาะฎออฺ โดยถือเปนความสําคัญที่อยูในลําดับแรกๆ ภายหลังจากการศรัทธาตออัลลอฮฺ การจัดใหมีระบบศาลเพื่อ ดําเนินกระบวนพิจารณาคดีตามหลักกฎหมายอิสลามนับเปนอิบาดะฮฺและเปนหนึง่ ในภารกิจหลักของบรรดาศาสนทูต และยังสอดคลองกับแนวปฏิบัติของทานนบีมุหัมมัด เกี่ยวของกับการศาลในหลายแงมุม เชน เกี่ยวกับการวินิจฉัย ชี้ขาดของผูพิพากษา คุณสมบัติของผูพิพากษา และผลตอบแทนของผูพิพากษาในโลกหนาอันนิรันดร โดยทานนบีมุหัม มัด เปนผูทําการพิพากษาดวยตนเอง หรือบางครั้งทานไดมอบหมายใหเศาะหาบะฮฺ บางทานเปนผูตัดสินคดี ซึ่ง ปรากฏในสุนนะฮฺทั้งลักษณะของคําพูดหรือวาจา การกระทํา และการยอมรับ ผูทรงคุณวุฒิเห็นพองวา ศาลที่ใชกฎหมายอิสลามในการตัดสินคดีความนี้จะตองมีลักษณะเปนศาลที่มีความ ละเอียดเกี่ยวกับการใชก ฎหมายอิสลามทั้งในดานสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติ ซึ่งสอดคลองกับรู ปแบบของการ พิพากษาคดี ความตามกฎหมายอิสลามของประเทศไทยในยุคกรุง ศรีอยุธ ยาจนกระทั่ งถึง ยุครัตนโกสิ นทรตอนต น เนื่ องจากในสมัยกรุง ศรี อยุธ ยาสมเด็ จพระบรมไตรโลกนาถได แบ งหน วยงานที่ติ ด ต อคาขายกั บต างประเทศ เป น

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

12

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

“กรมทา” ซึ่งประกอบดวย 3 กรม ดวยกัน ไดแก กรมทากลางสําหรับติดตอคาขายกับชาวตางประเทศทั่วไป กรมทา ซายสําหรับติดตอกับจีน และกรมทาขวา สําหรับติดตอกับประเทศมุสลิมในตะวันออกกลาง ในกรณีที่ชาวตางประเทศ ทั่วไปเกิดขอพิพาทกับคนไทย คดีจะถูกนําขึ้นสูศาลทากลาง แตถาคนไทยมีคดีความกับคนจีน ก็ตองขึ้นศาลกรมทา ซาย และถาคนไทยเกิดคดีความกับชาวมุสลิมก็ต องขึ้นศาลกรมทาขวา ซึ่งใชก ฎหมายอิส ลามบังคั บ ข อเท็จจริ ง ขางตนแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา “ศาลชะรีอะฮฺ” หรือ ศาลกฎหมายอิสลามเคยไดรับการสถาปนามาแลวในสมัยกรุง ศรีอยุธยาตลอดมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร จนกระทั่งไดมีการจัดตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 การใช กฎหมายอิสลามของกรมทาขวาก็ ถูกยกเลิ กไป (จุพิศพงศ จุฬารัต น, 2544: 130-133) และสอดคลองกั บการใช กฎหมายอิสลามตามกฎขอบังคับสําหรับปกครอง 7 หัวเมือง ร.ศ. 120 ซึ่งรับรองการใชกฎหมายวาดวยครอบครัว และมรดกอยางเปนเอกเทศ เนื่องจาก ตามความในกฎขอบังคับสําหรับปกครองบริเวณ 7 หัวเมือง ร.ศ.120 ขอที่ 32 กําหนดวา การพิพากษาคดีความในคดีครอบครัวและมรดกของมุสลิม เปนอํานาจของผูพิพากษากฎหมายอิสลามที่ เรียกว า “กอฎียฺ” นอกจากนั้นยั งสอดคลองกั บรูปแบบของศาลชะรีอะฮฺ ในประเทศที่ มีมุสลิมเปนชนสวนน อยบาง ประเทศ เชน ประเทศศรีลังกา ฟลิปปนส และสิงคโปร เปนตน ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1. ควรดําเนินการเพื่อใหมีศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย 2. ควรทําการชี้แจงใหทุกภาคสวนในประเทศไทยเขาใจถึงความจําเปนของการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติอิสลาม 2. ควรมีการศึกษาปจจัยที่เอื้อและปจจัยที่ยังขาดในการจัดตั้งศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

13

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม จุฬิศพงศ จุฬารัตน. 2544. บทบาทและหนาที่ขุนนางกรมทาขวาในสมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร (พ.ศ.21532435). วิ ท ยานิ พ นธ อัก ษรศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าประวั ติ ศาสตร ภาควิ ช าประวั ติ ศ าสตร คณะ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สมบูรณ พุทธจักร. 2529. การใชกฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปตตานี นราธิวาส ยะลาและสตูล. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Al Kasaniy, cilaudin Abi Bakr bin Mascud. 1982. Badaic al Sanaic. J 7. 2nd. Bayrut. Dar al Kitab al Arabiy Ibnu Qudamah, 1949. Al Mughni. n.p. Matbacah dar al Manar Ibnu Qayyim. n.d. Al Turuq al Hukmiyyah fi al Siyasah al Sharciyyah. Cairo. Matbacah al Madaniy. Ibnu Qayyim. 1973. Aclam al Muwaqcin. Bayrut. Dar al Jil. Al Khatib, Muhammad Ajyad. 1981. Lumhat fi al Maktabat wa Bath wa al Masodir. Bayrut. n.p. Al Kharaziy, n.d. Sharh al Kharaziy cala Mukhtasor al Khalil. Bulaq. Al Matbacah al Amiriyyah al Qubra. Ibnu Khaldun, n.d. Al Mukhtasor. Bayrut. Dar al Kitab al carabiy. Al Shartibiy, n.d. Al Muwafaqot. Misr. Al Matbacah al Salafiyyah. Al Shiraziy, 1960. Al Muhazab. Cairo. Matbacah Muhammad Mustafa al Halabiy. Al Shaukaniy, 1961. Nayl al cauta’. Cairo. Matbacah Muhammad Mustafa al Halabiy. Al Sharbiniy, 1933. Mugnni al Muhtaj ila al Macrifat al Fasil al Minhaj. Cairo. Matbacah Muhammad Mustafa al Halabiy.

อัล-นูร



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

15

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

พัฒนาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซงึ่ อัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิม อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต สุกรี หลังปูเตะ กาเดร สะอะ บทคัดยอ งานวิจัยเรื่องพัฒนาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมนี้ เปนการวิจัยแบบมีสวนรวม โดย มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิม งานวิจัยนี้ไดแบงการเก็บรวบรวม ขอมูลเป นสามขั้น ตอน ขั้น ตอนที่ 1 เปนการประชุ มเชิงปฏิ บัติการโดยกระบวนการมีสวนร วม ผูเข ารวมประชุมเชิ ง ปฏิบัติการประกอบดวยตัวแทนผูสอนตาดีกาจํานวน 60 คน และตัวแทนผูปกครอง 15 คน ขั้นตอนที่ 2 เปนการเสวนา กลุมผูทรงคุณวุฒิจากสามจังหวัดชายแดนภาคใตจํานวน 20 คน ขั้นตอนที่ 3 เปนการวิพากษหลักสูตร ผูวิพากษเปน ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 20 คน ผลการวิจัยพบวาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาแบบดั้งเดิม มีรูปแบบดังนี้ 1. เปนการศึกษา ที่มุงใหผูเรียนมีคุณธรรม มีความรู และความเขาใจในหลักการศาสนาอิสลามภาคบังคับ (ฟรฎอีน) 2. เปนการศึกษา เพื่อปฏิบัติศาสนกิจ และยึดมั่นในหลักศรัทธาในการดํารงชีวิตประจําวัน 3.เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐาน ในการใชภาษามลายู 4. เปนการศึกษาที่มุงรักษาไวซึ่งการใชภาษามลายู อักขระญาวี 5.เปนหลักสูตรที่มีโครงสราง ยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู หลักการของหลักสูตรมีดังนี้ 1. เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนมีคุณธรรม มีความรู และความเขาใจในหลักการ ศาสนาอิสลามภาคบังคับ (ฟรฎอีน) 2. เปนการศึกษาเพื่อปฏิบัติศาสนกิจ และยึดมั่นในหลักศรัทธาในการดํารงชีวิต ประจําวั น 3. เปน การศึกษาที่มุงให ผูเรียนมี ทักษะพื้น ฐานในการใชมลายู อาหรับ และมีทักษะพื้ นฐานในการอาน อัลกุรอาน 4. เปนการศึกษาที่สนองตอบความตองการและรักษาอัตลักษณของทองถิ่น 5. เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียน เปนมุสลิมที่ดี และเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ 6. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดาน สาระ เวลา และการจัดการเรียนรู 7. เปนการศึกษาพื้นฐานที่สามารถศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น 8. เปนหลักสูตรที่จัด การศึกษาไดทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ คําสําคัญ: หลักสูตร, ตาดีกา, อัตลักษณ

ดร. (การบริหารศึกษา) รองศาสตราจารย, อาจารยประจําภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานรินทร วิทยาเขตปตตานี



ศศ.ม.(รัฐศาสตร) ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยประจําสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร. (อิสลามศึกษา) ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยประจําภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานรินทร วิทยาเขต



ปตตานี

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

16

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Developing Curriculum of TADIKAs for Preserving Their Traditional Identity Ibrahem Narongraksakhet Shukri Lunguteh Kader Saad ABSTRACT This study was a participatory research which aimed at developing TADIKA’s curriculum which preserved its traditional identity. Three were three steps of the study. The first step was the workshop meeting. Participants of this meeting were 60 TADIKA’s instructors and 15 student’s guardians. The second step was the focus group. Twenty experts were selected for this step. The third step was the meeting to give comments on the draft of the curriculum. Twenty experts were selected to participate in that meeting. The findings were as follows; The identities of traditional TADIKA were education which aims at 1. Inculcating moral, knowledge and understanding about basic principles of Islam (Fard ‘in). 2. Practicing ibadah and having strong faith in their daily lives. 3. Possessing skills in using of Malay language. 4. Preserving the use of Jawi script. 5. Being the curriculum which was flexible in terms of the structure, contents and educational provision. Rationales of the curriculum aimed at 1. Inculcating moral, knowledge and understanding about basic principles of Islam (Fard ‘in). 2. Practicing ibadah and having strong faith in their daily lives. 3. Possessing skills in using of Malay and Arabic languages as well as possessing skills in reciting the Holy Qur’an. 4. Fulfilling local needs and preserving local identities. 5. Being good Muslim and member of the family, community and country. 6. Being the curriculum which was flexible in terms of the structure, contents and educational provision. 7. Being able to study in the higher level of education. 8. Being able to be the curriculum for all kinds of the educational provision and all kinds of target groups, and its academic achievement can be transferred. KeyWords: Curriculum, Tadika, Identity

Assoc. Prof. Ph. D (Education) Lecturer, College of Islamic Studies, Prince of Songkla University, Pattani Campus.



Asst. Prof. (Political Sciences) Lecturer, Department of Publish Administration Faculty of Liberal Art and Social Sciences, Yala Islamic University



อัล-นูร

Asst. Prof. Ph.D (Islamic Studies) Lecturer, College of Islamic Studies, Prince of Songkla University, Pattani Campus.


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

17

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา ตาดีกาเปนแหลงเรียนรูอิสลามและเปนสถาบันการศึกษาสําหรับยุวชนมุสลิมที่เกาแกที่สุดที่ถือกําเนิดในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต เดิมทีสถาบันการศึกษาแหงนี้จะถูกเรียกวาเสอโกละฮฟรฎอีน มัดราสะฮหรือเสอโกละฮมลายู หรือบาลาเศาะที่มาจากคําวาบาลั ยเศาะลาฮสถานที่ที่ มักจะนํ ามาเป นตาดี กา เมื่ อมีการใชคําวาตาดี กาในประเทศ มาเลเซีย คําวา “ตาดีกา” ก็ถูกนํามาใชเรียกสถาบันการศึกษาแหงนี้ (อิบราเฮ็ม ณรงครักษาเขตและนุมาน หะยีมะแซ, 2553) คําวา ตาดีกา (TADIKA) มาจากคํายอภาษามลายูวา “Taman Didikan Kanak Kanak” หมายถึงสวน หรือ อุทยานหรือศูนยอบรมเด็กเล็ก ซึ่งอาจจะหมายถึงโรงเรียนอนุบาลในบางครั้ง แตตาดีกาในจังหวัดชายแดนภาคใตไมใ ช โรงเรียนอนุบาล เพราะอายุของผูเรียนสวนใหญจะอยูในวัยประถมศึกษา สวนนอยมากที่จะอยูในวัยอนุบาล ในปจจุบัน มีจํานวนตาดีกาในจังหวัดยะลา ปตตานีและนราธิวาสทั้งสิ้น 1,628 ศูนย และมีผูเรียนจํานวน 168,938 คน (สํานัก บริหารยุทธศาสตรและบูรณาการการ ศึกษาที่ 12,2551 หนา 29) แรงผลักดันที่ทําใหเกิดตาดีกาคือแรงศรัทธาที่มีตอศาสนาและความรักที่มีตออัตลักษณและชาติพันธุของชาว มลายูมุสลิมในพื้นที่ มุสลิมถือวาอิสลามคือวิถีแหงการดําเนินชีวิต การดําเนินชีวิตตามครรลองของอิสลามตองอาศัย ความรู และการปฏิบั ติที่ถูก ตองจํ าเปนต องเริ่ มตนตั้ง แตยัง เยาว วัย โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหรือสถาบั น ศึกษาปอเนาะมิไดจัดการศึกษาระดับฟรฎอีน(ภาคบังคับ)สําหรับเด็กๆมุสลิมเหลานี้ โรงเรียนของรัฐที่ไมไดจัดการเรียน การสอนอิสลามแบบเขมก็มีการเรียนการสอนวิชาการศาสนานอยจนเกินไป ทางเลือกที่ดีที่สุดในการศึกษาวิชาศาสนา ระดับฟรฎอีนสําหรับเด็ก ๆ ก็คือตาดีกา ตาดีกาจะสอนเฉพาะวิชาศาสนาหนังสือเรียนสวนใหญเปนภาษามลายู มีหนังสือที่เปนภาษาอาหรับเฉพาะ รายวิชาภาษาอาหรับเทานั้น ภาษาที่ใชในการเรียนการสอนคือภาษามลายูถิ่นปะปนกับภาษามลายูกลางหนัง สือเรียน จะเปนภาษามลายูกลาง แตการอธิบายเนื้อหาจะเปนภาษามลายูถิ่นคลายๆ กับสําเนียงภาษามลายูของรัฐกลันตัน ใน ประเทศมาเลเซีย การจัดการเรียนการสอนของตาดีกาจะมีความหลากหลาย บางตาดีกาใชเวลาในการจัดการเรียนการสอนใน วันเสารกับวันอาทิตย หรือในตอนเย็นของวันจันทรถึงวันศุกร ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับความพรอมของชุมชน ผูสอนสวนใหญ จะเปนผลผลิตของปอเนาะหรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม บางคนอาจจะเปนผูนําศาสนาก็ได บุคคลเหลานี้จะ เปนอาสาสมัครในชุมชน ผูเรียนสวนใหญเปนนักเรียนที่เรียนในโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐ การจัดการเรียนการสอนของตาดีกานั้นจะเปนในลักษณะของการจัดการเรียนการสอนคลายกับการจัดการ เรียนการสอนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในปจจุบันไดมีความพยายามที่จะนําโรงเรียนตาดีกาเขา มาอยูใน ระบบ เชนการจัดหลักสูตรตาดีกาใหมีโครงสรางเปนชวงชั้นโดยแบงเปน 2 ชวงชั้น มี 8 สาระการเรียนรูตามระดับ พัฒนาการของผูเรียนคือชวงชั้นที่ 1 ระดับอิสลามศึกษาตอนตน ปที1 –3 และชวงชั้นที่ 2 ระดับอิสลามศึกษาตอนตน ป ที่ 4-6 ความพยายามที่ จ ะใช โ ครงสร างของหลั ก สู ต รดั ง กล าวก็ เ พื่ อการต อยอดกั บ หลั ก สู ต รอิ ส ลามศึ ก ษา พุทธศักราช 2546 ที่ปจจุบันใชอยูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม แตในความเปนจริงสังคมมุสลิมในจังหวัด ชายแดนภาคใตยังมีตาดีกาอีกจํานวนหนึ่งที่ไมตองการหลักสูตรที่ตอยอดกับหลักสูตรอิสลามศึกษาพุทธศักราช 2546 แตตองการจัดการเรียนการสอนที่ยังคงรักษาอัตลักษณดั้งเดิมของตาดีกา (อิบราเฮ็ม ณรงครักษาเขตและคณะ,2550) ดังนั้นการนําตาดีกาเขามาอยูในระบบเต็มรูปแบบควรปฏิบัติดวยความระมัดระวัง ในขณะเดียวกันก็ตองเปดโอกาสให ตาดีกาไดมีทางเลือกใหกับตนเองวาจะเลือกเขามาอยูในระบบหรือจะคงไวซึ่งความเปนตาดีกาดั้งเดิม สิ่งเหลานี้ควร เปนไปตามความสมัครใจของตาดีกาเอง

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

18

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ในป จจุบั นได มีความพยายามจากฝ ายรั ฐในการพัฒนาหลั กสูต รตาดีกาที่สามารถจะตอยอดกั บหลั กสูต ร อิสลามศึก ษาพุทธศัก ราช 2546 ความพยายามดังกลาวไดรับการตอบรับที่ ดีจากสว นหนึ่งของตาดีกา ด วยเหตุผ ล ดังกลาวจึงมีความพยายามจากหลายหนวยงานของรัฐในการพัฒนาหลักสูตรดังกลาว นอกจากนั้นยังมีความพยายาม ที่จะโนมนาวใหตาดีกาทั้งหมดใชหลักสูตรดังกลาวขางตน แตผลการวิจัยเรื่องวิเคราะหความตองการเพื่อพัฒนากรอบ หลักสูตรตาดีกาและสถาบันศึกษาปอเนาะ (อิบราเฮ็ม ณรงครักษาเขตและคณะ, 2550) พบวารอยละ 39.0 ของตาดี กาไม ตองการใชห ลัก สู ตรที่จ ะต อยอดกั บหลัก สู ตรอิส ลามศึ ก ษาพุท ธศั ก ราช 2546 หากไมมีการพั ฒ นาหลั กสู ต ร สําหรั บ ตาดีก าดัง กล าวซึ่ ง มีจํ านวน 400 กว าศูน ย ตาดี กาดั งกล าวจะมี ความรู สึก วาพวกตนถู กทอดทิ้ งและไม มี ความสําคัญ ซึ่งความรูสึกจะไมเปนผลดีตอความมั่นคงของรัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานการณที่ลอแหลมอยางเชน สถานการณในสามจังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบัน หากมีก ารบังคั บใหตาดีกาใช เฉพาะหลักสูต รที่จะต อยอดกั บ หลั ก สู ต รอิ ส ลามศึก ษาพุ ท ธศั ก ราช 2546 ยิ่ ง จะเพิ่ มเงื่ อนไขที่ ไ ม ดีต อความมั่ น คงของรั ฐ การพั ฒ นาหลั ก สู ต รที่ สอดคล องกั บ ความต องการของตาดี ก าจํ านวน 403 ศู น ย ดั ง กล าวมี ความจํ าเป น อย างยิ่ ง ในการทํ า วิ จั ย ครั้ ง นี้ คณะผูวิจัยไดพัฒนาหลักสูตรสําหรับตาดีกาเพื่อคงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมโดยใชกระบวนการมีสวนรวมจาก ผูมีผลไดผลเสียกับตาดีกา วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิม โดยกระบวนการมีสวนรวม คําถามวิจัย หลัก สูตรตาดี กาที่ คงไวซึ่ งอัต ลักษณข องตาดีก าดั้ง เดิ ม ที่ พัฒนาขึ้น ดว ยกระบวนการมี สวนรวมมีรูป แบบ อยางไร ขอบเขตการวิจัย ดานประชากร ประชากรและกลุ มตัว อย างที่ใ ชใ นการศึ กษาครั้ง นี้ คือผู มีผ ลไดผ ลเสีย (Stakeholders) กับ ตาดีก าในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต นิยามศัพทเฉพาะ 1 หลักสูตรตาดีกาดั้งเดิม หมายถึงหลักสูตรตาดีกาที่รักษาอัตลักษณของหลักสูตรตาดีกาแบบดั้งเดิมซึ่งมี ลักษณะดังนี้ 1.1 เนนภาษามลายู โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษามลายูที่ใชหุรูฟญาวี (อักขระญาวี) 1.2 เนนความรูที่เปนฟรฎอีนที่ครอบคลุมความรูสาขาตางๆ เชนสาขาฟกฮ ตัฟสีร อัคลาก เตาฮีด ตารีค หะดีษ 1.3 การจัดการเรียนการสอนจะมีความยืดหยุน ขึ้นอยูกับแตละสถานศึกษา 1.4 ใชภาษามลายูเปนภาษาหลักในการจัดการเรียนการสอน 1.5 มีการประเมินผลเพื่อเลื่อนชั้น 1.6 มาตรฐานของหลักสูตรเปนสิ่งที่สามารถปฏิบัติไดจริง 1.7 มีการเนนเรื่องอัคลาก (คุณธรรมและจริยธรรม) และวินัยในตนเอง 1.8 มีการคงไวซึ่งอัตลักษณในเรื่องของภาษาที่เขมขน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

19

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

1.9 ผูสอนเปนที่นับถือและเชื่อฟงอยางจริงจัง 1.10 มี ก ารฟ น ฟูกิ จ กรรมเสริมหลั ก สู ต รที่ เ สริ มทั ก ษะในการใช ภาษามลายู กิ จ กรรมดั ง กล าวได แก กิจกรรมอันนาชีภาษามลายู การแขงขันอานบทรอยกรองมลายูเปนตน 1.11 ไมเนนในเรื่องการอานอัลกุรอาน เพราะผูเรียนเรียนการอานอัลกุรอานจากภูมิปญญาทองถิ่นอยูแลว 2 จังหวัดชายแดนภาคใต หมายถึงสามจังหวัดชายแดนภาคใตอันไดแก ยะลา ปตตานี และนราธิวาส 3.นักวิชาการศึกษา หมายถึง ผูทรงคุณวุฒิที่มีวุฒิทางการศึกษาที่มีความรูเกี่ยวกับตาดีกาและปอเนาะ 4.ผู ทรงคุณวุ ฒิ หมายถึง ภูมิปญ ญาท องถิ่ น ปราชญทองถิ่น หรือนัก วิชาการที่ไม มีวุฒิ ทางการศึกษาที่ มี ความรูเกี่ยวกับตาดีกาและปอเนาะ 5.ฟกฮ หมายถึง ศาสนบัญญัติ 6.เตาฮีด หมายถึง หลักศรัทธา 7.ตัฟสีร หมายถึง อรรถาธิบายอัลกุรอาน 8.ตารีค หมายถึง ศาสนประวัติ 9.ตัจญวีด หมายถึง หลักกรอานอัลกุรอาน 10.หะดีษ หมายถึง วจนะทานศาสดา 11.อัคลาก หมายถึง จริยธรรม 12.โตะฟากีร หมายถึง ผูเรียนในปอเนาะ 13.ชีริก หมายถึง การตั้งภาคีตออัลลอฮ 14.บิดอะอ หมายถึง อุตริกรรมตางๆ 15.อิบาดะอ หมายถึง การเคารพภักดีตออัลลอฮ 16.มัษฮับ หมายถึง สํานักคิดทางศาสนบัญญัติ วิธีการดําเนินการวิจัย 1.ประชากร ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือผูมีผลไดผลเสีย (Stakeholders) กับตาดีกาในจังหวัด ชายแดนภาคใต 2.กลุมตัวอยาง 1.กลุมตัวอยางที่ใชในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดแกตัวแทนผูสอนตาดีกา และตัวแทนผูปกครองของผูเรียน ตาดีกาจํานวนทั้ งสิ้น 75 คน การคัดเลือกกลุมตัว อยางดังกลาวมี ขั้นตอนและรายละเอียดดังตอไปนี้ ขั้นตอนที่หนึ่ ง คณะผูวิจัยไดใชวิธีหากลุมตัวอยางแบบบอลหิมะ (snow ball) เพื่อคนหาวาตาดีกาใดบางที่ตองการใชหลักสูต รที่จะ คงไว ซึ่ง อั ตลั กษณข องตาดี ก าดั้ งเดิม จากขั้ นตอนดั งกล าวนี้คณะผู วิจั ยไดต าดีก าจากสามจัง หวัด ชายแดนภาคใต จํานวน 60 ศูนย ขั้นตอนที่สองคณะผูวิจัยไดใชวิธีสุมแบบงายเพื่อคัดเลือกตาดีกาดังกลาวใหเหลือ 30 ศูนยแลวเลือก กลุมตัวอยาง 2 คนจาก 1 ศูนย โดยใชวิธีแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยคัดเลือกตัวแทนผูสอนที่เปนหัวหนา ครูหรือผูที่ดูแลเรื่องวิชาการที่มีความรูเกี่ยวกับหลักสูตรตาดีกา ไดกลุมตัวอยางดังกลาวจํานวนทั้งสิ้น 60 คน ขั้นตอน ที่สาม คณะผูวิจัยไดสุมตัวอยางตัวแทนผูปกครองจากตาดีกาจํานวน 30 ศูนยที่ถูกคัดเลือกใหเหลือจํานวน 15 ศูนย โดยการสุมแบบงาย (simple sampling) จากจํานวนตาดีกา 15 ศูนยที่ถูกสุม คณะผูวิจัยไดเลือกกลุมตัวอยางที่เปน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

20

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ตัวแทนผูปกครองจํานวน 1 คนจาก 1 ศูนยโดยวิธีแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยเลือกจากตัวแทนผูปกครองที่ มีความรูเกี่ยวกับหลักสูตรตาดีกา ไดกลุมตัวอยางดังกลาวจํานวนทั้งสิ้น 15 คน รวมกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนผูสอน ตาดีกาและตัวแทนผูปกครองของผูเรียนตาดีกาจํานวนทั้งสิ้น 75 คน 2.กลุมผูทรงคุณวุฒิ ไดแกตัวแทนผูทรงคุณวุฒิจากจังหวัดชายแดนภาคใต ไดมาโดยวิธีการสุ มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จํ านวน 20 คน ซึ่งประกอบดว ยตัวแทนผู ทรงคุณวุ ฒิจากเขตพื้นที่การศึกษา ตัว แทนผูทรง คุณวุ ฒิจากสํ านัก บริ หารยุทธศาสตร และบูร ณาการการศึก ษาที่ 12 ตั วแทนจากสํ านั กงานคณะกรรมการอิส ลาม ประจําจังหวัด และผูทรงคุณวุฒิจากสถาบันอุดมศึกษา 3. กลุ มตัว อย างที่ ใ ชใ นการวิ พ ากษห ลั กสู ต ร ได แกตั ว แทนผู ส อนตาดี กา ตัว แทนผูป กครองและตั วแทน ผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จํานวน 20 คน 3.เครื่องมือ เปนเครื่องมือที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นเองประกอบดวย 1.รางกรอบหลักสูตรเพื่อการประชุมเชิงปฏิบัติการโดยกระบวนการมีสวนรวม 2.แบบสอบถาม 3.รางหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมของตาดีการางที่หนึ่ง 4.รางหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมของตาดีการางที่สอง 4.การเก็บรวบรวมขอมูลจะมี 3 วิธี 1.การเก็บรวบรวมขอมูลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการโดยกระบวนการมีสวนรวมของผูมีผลไดผลเสีย (Stakeholders) กับตาดีกาซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูสอนตาดีกา และตัวแทนผูปกครอง 2.การเก็ บรวบรวมขอมูล จากการเสวนากลุ มผู ทรงคุณ วุฒิ ซึ่ งเปน ผูทรงคุ ณวุ ฒิจ ากสามจัง หวั ดชายแดน ภาคใตซึ่งประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากตาดีกา จากสถาบันศึกษาปอเนาะ จากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จากเขตพื้นที่การศึกษา จากสํานักผูตรวจราชการประจําเขตตรวจราชการที่ 12 จากสํานักงานคณะกรรมการอิสลาม ประ จําจังหวัด และจากสถาบันอุดมศึกษา 3.การเก็บรวบรวมขอมูลจากการวิพากษหลักสูตร ผูวิพากษไดแกตัวแทนผูสอนตาดีกา ตัวแทนผูปกครอง ของผูเรียนตาดีกา ตัวแทนผูทรงคุณวุฒิจากเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต ตัวแทนผูทรงคุณวุฒิจ าก สํ านั ก ผู ต รวจราชการประจํ าเขตตรวจราชการที่ 12 จากสํ านั ก งานคณะกรรมการอิ ส ลามประจํ าจั ง หวั ด และ ผูทรงคุณวุฒิจากสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต 5.การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลจะเปนรูปแบบการวิเคราะหเชิงเนื้อหา(Content Analysis) โดยจะวิเคราะหขอมูลที่ไดจาก การประชุมเชิงปฏิบัติการ การเสวนากลุมผูทรงคุณวุฒิ และการวิพากษหลักสูตร ผลการวิจัย 1.เพื่อตอบคําถามวิจัยวาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิม ที่พัฒนาขึ้นดวยกระบวนการ มีสวนรวมมีรูปแบบอยางไร 2.แนวคิด ทฤษฎี หลักการควรใชลักษณะใดเพื่อใหสอดคลองกับสภาพทองถิ่น 3.ลักษณะสําคัญของหลักสูตร

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

21

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

4.องคประกอบของหลักสูตร 5.รายละเอียดของแตละองคประกอบ ผลการวิจัยพบวา หลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมที่พัฒนาขึ้นดวยกระบวนการมีสวนรวมของผูมีผลได ผลเสีย (Stakeholders) กับตาดีกามีลักษณะดังนี้ 1.อัตลักษณดั้งเดิม 1. เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนมีคุณธรรม มีความรู และความเขาใจในหลักการศาสนาอิสลามภาคบังคับ (ฟรฎอีน) 2. เปนการศึกษาเพื่อปฏิบัติศาสนกิจ และยึดมั่นในหลักศรัทธาในการดํารงชีวิตประจําวัน 3. เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐานในการใชภาษามลายู 4. เปนการศึกษาที่มุงรักษาไวซึ่งการใชภาษามลายูที่ใชอักขระญาวี 5. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู 2.หลักการ เพื่ อให การจั ด การศึ ก ษาศาสนาอิ ส ลามของตาดีก ารั ก ษาไว ซึ่ ง อัต ลั ก ษณดั้ ง เดิ มของตาดีก า จึง กํ าหนด หลักการสําคัญของหลักสูตรตาดีกาในจังหวัดปตตานี นราธิวาสและยะลา ไวดังนี้คือ 1. เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนมีคุณธรรม มีความรู และความเขาใจในหลักการศาสนาอิสลามภาคบังคับ (ฟรฎอีน) 2. เปนการศึกษาเพื่อปฏิบัติศาสนกิจ และยึดมั่นในหลักศรัทธาในการดํารงชีวิตประจําวัน 3. เป นการศึ กษาที่มุงให ผูเ รียนมีทั กษะพื้น ฐานในการใช ภาษามลายู อาหรั บ และมีทั กษะพื้น ฐานในการ อานอัลกุรอาน 4. เปนการศึกษาที่สนองตอบความตองการและรักษาอัตลักษณของทองถิ่น 5. เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนเปนมุสลิมที่ดี และเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ 6. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู 7. เปนการศึกษาพื้นฐานที่สามารถศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น 8. เปนหลักสูตรที่จัดการศึกษาไดทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ 3.จุดหมาย 1.มีอัคลากที่ดี มีทักษะเบื้องตนในการเขาสังคม 2. ปฏิบัติอิบาดะฮที่เปนฟรฎอีนได 3.มีทักษะพื้นฐานในการพูด อาน ฟงและเขียนใชภาษามลายูและภาษาอาหรับ 4. อานอัลกุรอานได 5. มีความรูเกี่ยวกับฟรฎอีน 6.รักษาอัตลักษณของความเปนมลายูมุสลิม 7.จําบางโองการของอัลกุรอาน และบางอัลหะดีษ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

22

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

8.มีความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรอิสลามเบื้องตน 9. มีความรูเกี่ยวกับหลักเตาฮีดเบื้องตน 10.มีทักษะในการเรียนรู ใฝหาความรู และปฏิบัติตามหลักคําสอนเบื้องตนของศาสนาในชีวิตประจําวัน 4.โครงสราง เพื่อใหก ารจัดการเรียนการสอนของตาดีกาสามารถดําเนิ นการอยางมีร ะบบ และมีป ระสิทธิ ภาพ จึ งได กําหนดโครงสรางของหลักสูตร ดังนี้ 4.1 ระดับชั้น กําหนดหลักสูตรเปนระดับชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียน 4.2 สาระการเรียนรู สาระการเรียนรูตามหลักสูตร ซึ่งประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะ หรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียน ประกอบดวย 8 สาระ ดังนี้ 1. อัลกรุอาน 2. อัลหะดีษ 3. เตาฮีด (หลักศรัทธา) 4. ฟกฮ(ศาสนาบัญญัติ) 5. ตารีค (ศาสนาประวัติ) 6. อัคลาก (จริยธรรม) 7. ภาษาอาหรับ 8. ภาษามลายู ภาษามลายูกําหนดใหเรียนในทุกชั้น สวนสาระอื่น ๆ สามารถเลือกจัดการเรียนรูไดตามความเหมาะสม 4.3. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรี ยนเปนกิจกรรมที่จัดใหผูเ รียนไดพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุงเนนเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ไดจัดใหเรียนรูตามสาระการเรียนรู 8 สาระ การเขารวมปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสม รวมกับผูอื่นอยางมีความสุขกับกิจกรรมที่เลือกดวยตัวเอง ตามความถนัดและความสนใจอยางแทจริง การพัฒนาที่ สําคัญของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไดแกการพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคมโดยอาจจัดเปนแนวทางหนึ่งที่จะสนองนโยบายในการสรางเยาวชนของชาติใหเป นผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และคุณภาพ เพื่อพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยที่สมบูรณ ปลูกฝงและสรางจิตสํานึก ของการทําประโยชนเพื่อสังคม ซึ่งผูดําเนินการจะตองดําเนินการอยางมีเปาหมายมีรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม กิจกรรมพัฒนาผูเรียน แบงเปน 3 ลักษณะ คือ 4.3.1 กิจ กรรมนะศี หะฮ (การตักเตือน) เปน กิจ กรรมที่ส งเสริมและพั ฒนาความสามารถของผูเ รียนให เหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล สามารถคน พบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสรางทักษะชีวิต วุ ฒิ ภาวะทางอารมณ การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพที่ดี ซึ่งผูสอนทุกคนตองทําหนาที่เปนผูใหนะศี หะฮแนะแนว ใหคําปรึกษาดานชีวิต การศึกษาตอ และการพัฒนาตนเอง 4.3.2 กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่พัฒนาผูเรียน เปนผูปฏิบัติดวยตนเองอยางครบวงจร ตั้งแตศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทํางาน โดยเนนการทํางานรวมกันเปนกลุม 4.3.3 กิจกรรมสงเสริมผูเรียน ใหมีทักษะในการอาน จําอัลกุรอานและหะดีษ สนับสนุนการจัดการเรียนการ สอนโดยภูมิปญญาทองถิ่นรวมกับผูจัดการหลักสูตรใหผูเรียนไดเรียนอยางทั่วถึง 4.4 โครงสรางหลักสูตร กําหนดเวลาในการจัดการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนไว ดังนี้ แตละชั้นมีเวลาเรียนประมาณปละ 252 - 440 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยวันละ 5 - 6 ชั่วโมง -สาระการเรียนรูตองใชเปนหลักเพื่อสรางพื้นฐานการคิด การเรียนรู และการแกปญหา

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

23

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

-กิจกรรมที่เสริมสรางการเรียนรูนอกจากสาระการเรียนรู 8 สาระแลว สามารถจัดกิจกรรมการพัฒนาตน ตามศักยภาพ 5. มาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณดั้งเดิมของตาดีกากําหนดมาตรฐานการเรียนรู 8 สาระ การเรียนรูที่เปน ขอกําหนดคุณภาพผูเรียนดานความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมของแตละสาระการเรียนรู เพื่อใชเปนจุดหมายในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค สาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุมนี้เปนพื้นฐานสําคัญที่ผูเรียนรูทุกคนตองเรียนรู โดยอาจจัดเปน 2 กลุมคือ กลุม แรกคือกลุมภาษา ประกอบดวย ภาษามลายู และภาษาอาหรับเปนสาระการเรียนรูที่สถานศึกษาตองใชเปนหลักใน การจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อเปนเครื่องมือที่จะใชในการเรียนรูสาระอื่นๆ ตอไป กลุมที่ สองคือกลุมอิสลามศึกษา ประกอบดวย อัลกรุอาน อั ลหะดีษ เตาฮีด (หลักศรัทธา) ฟกฮ (ศาสนบัญญัติ) ตารี ค (ศาสนาประวัติ ) และอั คลาก(จริ ยธรรม) เปน สาระการเรี ยนรู ที่เ สริมสร างพื้ นฐานความเป นมนุ ษย ที่มีห ลัก ยึด มั่ น สามารถปฏิบัติอิบาดะฮที่เปนภาคบังคับ (ฟรฎ อีน) และเสริมสรางพื้ นฐานของการเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยูในสังคมอยางสงบสุข มาตรฐานการเรียนรูในหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณดั้งเดิมของตาดีกากําหนดไวเฉพาะมาตรฐานการ เรียนรูที่ จําเปน สําหรับ การพัฒ นาคุ ณภาพผู เรียนทุก คนเทานั้น สําหรับ มาตรฐานการเรียนรู ที่สอดคล องกับ สภาพ ปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญ ญาทองถิ่น คุณลั กษณะอันพึงประสงค เพื่อเปน สมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนมาตรฐานการเรียนรูที่เขมขนขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ ผูเรียน ใหสถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติมได 6. การจัดหลักสูตร หลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัต ลักษณดั้ง เดิมของตาดีกาเป นหลักสูตรที่กําหนดมาตรฐานการเรียนรูในการ พัฒนาผูเรียนดานอิสลามศึกษาระดับฟรฎอีน การจัดการศึกษาดังกลาวเปนการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ในการ จัดการเรียนการสอนนั้น กําหนดโครงสรางที่เปนสาระการเรียนรู จํานวนเวลาอยางกวางๆ ผูเรียนเมื่อเรียนจบ โดย คํานึงถึงสภาพปญหา ความพรอม เอกลักษณ และคุณลักษณอันพึงประสงค การจัดการหลักสูตรตองจัดสาระการเรียนรูใหครบทั้ง 8 สาระ ในทุกชวงชั้นใหเหมาะสมกับธรรมชาติการ เรียนรู และระดับพัฒนาการของผูเรียนโดยจัดหลักสูตรเปนรายป การศึกษาระดับนี้เ ปนชวงแรกเริ่มของการศึก ษาศาสนาอิสลาม หลักสูตรที่ จัดขึ้นมุงเนนใหผูเ รียนพัฒนา คุณภาพชีวิต กระบวนการเรียนรูทางสังคม ทักษะพื้นฐาน ดานการอาน การเขียน การคิดวิเคราะห การติดตอสื่อสาร และพื้นฐานความเปนมนุษย เนนการบูรณาการอยางสมดุลทั้งในดานรางกาย จิตวิญญาณ สติปญญา อารมณ สังคม และวัฒนธรรม 7. การจัดเวลาเรียน ใหผูจัดการหลักสูตรจัดเวลาเรียนใหยืดหยุนไดตามความเหมาะสมในแตละชั้น ป แตละทองถิ่น ทั้งการจัด เวลาเรียนสาระการเรียนรู 8 สาระ และรายวิชาที่จัดทําเพิ่มเติม รวมทั้งตองจัดใหมีเวลาสําหรับกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ทุกภาคเรียนตามความเหมาะสม

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

24

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

8.สาระและมาตรฐานการเรียนรู หลัก สูต รตาดี กาที่คงไวซึ่ งอั ตลั กษณดั้ งเดิมของตาดี กากํ าหนดสาระการเรียนรู เป นเกณฑใ นการกําหนด คุณภาพของผูเรียน เมื่อเรียนจบหลักสูตรซึ่งกําหนดไวเฉพาะสวนที่เปนพื้นฐานในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ สําหรับ สาระการเรียนรูตามที่ศาสนาบังคับ ตามความสามารถ ความถนั ด และความสนใจของผูเ รียน ผูจั ดการหลักสูต ร สามารถพัฒนาเพิ่มเติมได สาระการเรียนรูอิสลามศึกษามีรายละเอียด ดังตอไปนี้ สาระที่ 1 อัลกุรอาน 1. มีทักษะเบื้องตนในการอานอัลกุรอาน 2. เห็นคุณคาของอัลกุรอาน 3.รักและมีมารยาทในการอานและฟงอัลกุร อาน 4.สามารถทองจําอัลกุรอานบางสูเราะฮในุซอัมมา 5.มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของอัลกุรอานุซอัมมา 6.นําหลักคําสอนในอัลกุรอานมาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน สาระที่ 2 อัลหะดีษ 1.สามารถทองจําบางหะดีษที่กําหนด 2.มีความรูพนื้ ฐานเกี่ยวกับกิจวัตรของทานศาสดา และรักที่จะปฏิบัติตาม 3. ตระหนักและเห็นคุณคาของอัลหะดีษ 4. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับสุนนะฮบิดอะฮ สาระที่ 3 เตาฮีด (หลักศรัทธา) 1.มีความรู ความเขาใจในหลักการศรัทธาเบื้องตน 2.ยึดมั่นในหลักศรัทธาที่ถูกตองไมตั้งภาคีตออัลลอฮ 3.รูสาเหตุของสิ่งที่จะทําใหศรัทธาสั่นคลอน 4.มีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการกระทําที่เปนชิริก 5.ตระหนักและเห็นคุณคาความสําคัญหลักศรัทธาในอิสลาม สาระที่ 4 ฟกฮ (ศาสนบัญญัติ) 1.มีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับบทบัญญัติในอิสลามที่เปนฟรฎอีน 2.สามารถนําศาสนบัญญัติมาใชในการประกอบอิบาดะฮที่เปนฟรฎอีนได 3. ตระหนักและเห็นคุณคาความสําคัญของศาสนบัญญัติ สาระที่ 5 ตารีค (ศาสนประวัติ) 1.มีความรู ความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับสีเราะฮของทานศาสดาและประวัติอิสลาม 2.ตระหนักและเห็นคุณคาความสําคัญประวัติอิสลาม 3.สามารถนําความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรอิสลามมาใชในการดําเนินชีวิตได สาระที่ 6 อัคลาก (จริยธรรม) 1.มีความรูและความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับจริย ธรรมอิสลาม 2.ปฏิบัติตามจริยธรรมอิสลามเบื้องตนในการดําเนินชีวิต 3.ตระหนักและเห็นคุณคาความสําคัญของจริยธรรมอิสลาม

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

25

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

สาระที่ 7 ภาษาอาหรับ 1.มีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับธรรมชาติของภาษาอาหรับ 2.มีทักษะเบื้องตนในการพูด อาน ฟงและเขียนภาษาอาหรับ 3.สามารถสื่อสารงายๆ ดวยภาษาอาหรับ 4.ตระหนักและเห็นคุณคาความสําคัญของภาษาอาหรับ 5.มีเจตคติที่ดีตอภาษาอาหรับ สาระที่ 8 ภาษามลายู 1.มีทักษะเบื้องตนในการพูด อาน ฟงและเขียนภาษามลายู 2.มีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับธรรมชาติของภาษามลายู 3.สามารถนําความรูภาษามลายูใชในการสื่อสาร 4.ตระหนักและเห็นคุณคาความสําคัญของภาษามลายู 5. มีเจตคติที่ดีตอภาษามลายู 8. การจัดการเรียนรู พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่2) มาตรา 22 กําหนด แนวทางในการ จัดการศึกษาไววา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองได และถือ วาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็ม ตามศักยภาพ ฉะนั้นผูสอนและผูจัดการศึกษาจะตองมีบทบาทเปนผูชี้นํา ผูถายทอดความรู และเปนผูชวยเหลือสงเสริมและ สนับสนุนผูเรียนในการแสวงหา และใหขอมูลที่ถูกตองแกผูเรียน เพื่อนําขอมูลเหลานั้นไปใชสรางสรรคองคความรูของ ตน การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณดั้งเดิมของตาดีกา นอกจากจะมุงปลูกฝงดานปญญา พัฒนาการคิดของผูเรียนใหมีความสามารถในการรับรูเขาใจและคิดสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณแลว ยังมุง พัฒนาความสามารถทางอารมณ โดยการปลูกฝงใหผูเรียนเห็นคุณคาของตนเอง เขาใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผูอื่น สามารถแกปญหา ขอขัดแยงทางอารมณไดถูกตองเหมาะสม การเรียนรูสาระการเรียนรูตาง ๆ มีกระบวนการและวิธีการที่หลากหลาย ผูสอนตองคํานึงถึงพัฒนาการ ทางดานรางกาย และสติปญญา วิธีการเรียนรู ความสนใจและความสามารถของผูเรียนเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง ดังนั้นการจัดการเรียนรูในแตละชวงชั้น ควรใชรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตาม สภาพจริง การเรียนรูดวยตนเองจากผูสอนการเรียนรูรวมกัน การเรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และการเรียนรูบูรณาการการเรียนรูคูคุณธรรม ทั้งนี้ตองพยายามนํากระบวนการ การจัดการ กระบวนการอนุรักษ และพัฒนาสิ่งแวดลอมกระบวนการทางวิทยาศาสตรไปสอดแทรกในการเรียนการสอนทุกกลุมสาระการเรียนรู เนื้อหา และกระบวนการตาง ๆ ขามกลุมสาระการเรียนรู ซึ่งการเรียนรูในลักษณะองครวม การบูรณาการเปนการกําหนด เปาหมายการเรียนรวมกัน ยึดครูเปนหลักโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ พรอมนํากระบวนการเรียนรูจากสาระเดียวกัน หรือตางสาระมาบูรณาการ ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งจัดไดหลายลักษณะ 10.แนวทางจัดการเรียนรูในแตละระดับชั้น การจัดการเรียนรูตองสนองตอบตอความจําเปนที่เหมาะสมของผูเรียน โดยคํานึงถึงหลักจิตวิทยาพัฒนาการ และจิตวิทยาการเรียนรู ทั้งนี้ในแตละคาบเรียนนั้นไมควรใชเวลานานเกินความสนใจของผูเรียน ตองจัดการเรียนรูให

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

26

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ครบทุกกลุมสาระการเรียนรูในลักษณะบูรณาการ ที่มีภาษามลายูเปนหลัก เนนการเรียนรูตามสภาพจริง มีความสุข และปฏิบัติถูกตอง เพื่อพัฒนาพื้นฐานการติดตอสื่อสาร ทักษะพื้นฐานในการคิด 11.สื่อการเรียนรู การจัดการศึกษาตามหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่ง อัตลักษณดั้งเดิมของตาดีกานี้ มุงสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรู หลักคําสอนที่ถูกตองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และใชเวลาอยางสรางสรรค เพื่อสนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ เรียนรูไดจากสื่อการเรียนรู และแหลงการเรียนรู ประเทศชาติ รวมทั้งจากเครือขายการเรียนรูตางๆ ที่มีอยูในทองถิ่น ชุมชนและอื่นๆ และพัฒนาสื่อการเรียนรูขึ้นเอง หรือนําสื่อตาง ๆ ที่มีอยูรอบตัวและในระบบสารสนเทศมาใชในการเรียนรู โดยใชวิจารณญาณในการเลือกใชสื่อ และ แหลงความรู โดยเฉพาะหนังสือเรียนควรมีเนื้อหา สาระ ครอบคลุมตลอดชวงชั้น สื่อสิ่งพิมพควรจัดใหมีอยางเพียงพอ ลักษณะของสื่อการเรียนรูที่จะนํามาใช ควรมีความหลากหลาย และถูกตอง ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ สื่อ เทคโนโลยี และอื่น ๆ ซึ่งชวยสงเสริมใหการเรียนรูเปนไปอยางมีคุณคานาสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม และรวดเร็วขึ้น รวมทั้งกระตุนใหผูเรียนรูจักวิธีการแสวงหาความรูเกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง ลึกซึ้ง และตอเนื่องตลอดเวลา 12.การวัด และการประเมินผลการเรียนรู เกณฑการผานชวงชั้น และการจบหลักสูตร การจัด การศึ กษาตามหลัก สูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัต ลักษณ ดั้งเดิ มของตาดีกาซึ่งใช เวลาประมาณ 4-6 ป ผูเรียนจะสามารถจบการศึกษาระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนตน โดยผูเรียนตองผานการศึกษาแตละระดับชั้นตามเกณฑ ดังนี้ 12.1 ผูเรียนตองเรียนรูตามสาระการเรียนรูทั้ง 8 สาระ และไดรับการตัดสินผลการเรียนใหไดตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนด 12.2 ผูเรียนตองผานการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด 12.3 ผูเรียนตองเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และผานการประเมินตามเกณฑที่กําหนด 13. เอกสารหลักฐานการศึกษา สถานศึกษาตองพิจารณาจัดทําเอกสารการประเมินผลการเรียน เพื่อใชประกอบการดําเนินงานดานการวัด และประเมินผลการเรียน เชน เอกสารแสดงผลการเรียนรูของผูเรียน แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใน รายวิชาตาง ๆ แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนรายบุคคล ระเบียนสะสมแสดงพัฒนาการดานตาง ๆ และ แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค เปนตน สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล จากผลการวิจัยที่พบวาหลักสูตรตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมเปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนมี คุณธรรม มีความรู และความเขาใจในหลักการศาสนาอิสลามภาคบังคับ เพราะการศึกษาในระดับตาดีกาเปนการจัด การศึก ษาที่เ ปน พื้น ฐานที่ เน นการปลู กฝ งความศรัท ธาคุณธรรมจริยธรรม และให ผูเ รียนสามารถปฏิบั ติศ าสนกิ จ พื้นฐาน นอกจากนั้นหลักสูตรของตาดีกาที่คงไวซึ่งอัตลักษณของตาดีกาดั้งเดิมจะมุงใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐานในการใช ภาษามลายู รักษาไวซึ่งการใชภาษามลายูที่ใชอักขระญาวี การมุงใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐานในการใชภาษามลายู รักษา ไวซึ่งการใชภาษามลายูที่ใชอักขระญาวีดังกลาวก็ เปนเพราะวัตถุ ประสงคดั้งเดิมหนึ่งของตาดีกาคื อการรัก ษาไวซึ่ ง ภาษามลายู (อิบราเฮ็ม ณรงครักษาเขต และนุมาน หะยีอาแซ,2553) สวนการที่หลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดาน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

27

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

สาระ เวลา และการจัด การเรียนรูนั้ น ก็อาจจะเป นเพราะการจัด การเรี ยนการสอนในตาดีก ามีความหลากหลาย บางครั้งการจัดตารางเรียนของแตละตาดีกาก็จะไมเหมือนกัน การจัดตารางการเรียนการสอนก็มักจะใหความยืดหยุน เปนไปตามความสะดวกของแตละตาดีกา ขอเสนอแนะสําหรับตาดีกา ใหตาดีกาที่ตองการักษาอัตลักษณดั้งเดิมของตาดีกามีอัตลักษณ หลักการ จุดหมาย มาตรฐานและสาระการ เรียนรูดังขอคนพบในงานวิจัยนี้ ขอเสนอแนะตอภาครัฐ สําหรั บหนว ยงานทางการศึก ษาเช นกระทรวงศึก ษา ธิ การเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา สํ านั กงานคณะกรรมการ การศึกษาเอกชน เปนตน 1.เปด โอกาสใหต าดีก าที่ตองการรักษาอัตลั กษณข องตาดีกาดั้ งเดิ มสามารถเลือกใชหลั กสูตรที่ไดจ ากข อ คนพบนี้ เพราะหลักสูตรที่คนพบจากงานวิจัยนี้มีลักษณะที่คลายกับหลักสูตรอิสลามศึกษาฟรฎอีนประจํามัสยิด พ.ศ 2548 ขอแตกตางที่สําคัญคือหลักสูตรที่ไดจากขอคนพบจากงานวิจัยนี้มีความยืดหยุนสอดคลองกับอัตลักษณของตา ดีกาดั้งเดิม 2.หากทางรัฐตองการใหหลักสูตรอิสลามศึกษาฟรฎอีนประจํามัสยิดพ.ศ 2548 เปนทั้งหลักสูตรที่จะตอยอด กับหลักสูตรอิสลามศึกษา 46 และเปนหลักสูตรตาดีกาดั้งเดิมก็สามารถกระทําได แตตองพิจารณาใหมีความยืดหยุน ดังหลักการที่คนพบในงานวิจัยนี้ สําหรับหนวยงานทางความมั่นคง 1.ประสานงานหนวยงานทางความมั่นคงใหเขาใจและทราบวาหลักสูตรของตาดีกาดั้งเดิมมีลักษณะที่คลาย กับหลักสูตรอิสลามศึกษาฟรฎอีนประจํามัสยิดพ.ศ 2548 ขอแตกตางที่สําคัญคือหลักสูตรของตาดีกาดั้งเดิมมีความ ยืดหยุนกวา ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยตอไป สาระการเรียนรู ทั้ง ในหลั กสู ตรอิส ลามศึก ษาฟร ฎอีน พ.ศ 2548 และหลัก สูต รตาดี กาดั้ง เดิ มยั งมี ความ ซ้ําซอน ควรมี การศึกษาเพื่อลดความซ้ําซอน โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึ กษาที่จะนําไปสูการบูรณการบางสาระการ เรียนรูเขาดวยกันจะเปนสิ่งที่มีประโยชนมากสําหรับตาดีกา

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

28

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม สํานักบริหารยุทธศาสตรและบูรณาการการศึกษาที่ 12 ขอมูลสารสนเทศทางการศึกษาปการศึกษา 2551 เขต พัฒนาพิเศษาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต (ออนไลน) สืบคนจาก www.inspect12.moe.go.th (25 มิถุนายน 2551) สํานักผูตรวจราชการประจําเขตตรวจราชการที่ 12 .2547. แนวทางการพัฒนาสถาบันศึกษาปอเนาะในจังหวัด ชายแดนภาคใต ยะลา: สํานักผูตรวจราชการประจําเขตตรวจราชการที่ 12 อิบราเฮ็ม ณรงครัก ษาเขต, นิเลาะ แวอุ เซ็ง, อะหมัด ยี่สุ นทรง, กาเดร สะอะ, สุท ธิศักดิ์ ดือเระ, สุก รี หลังปู เตะ , เกษตรชัย และหีม, มูฮัมหมัดดาวู ด บินร าหมาน, ปรั ศนี หมั ดหมาน, ตายูดิน อุ สมาน, และตูแวคอลีเยาะ กาแบ. 2550. วิเคราะหความตองการเพื่อพัฒนากรอบหลักสูตรตาดีกาและสถาบันศึกษาปอเนาะ. วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานีคณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อิบราเฮ็ม ณรงครั กษาเขต และนุมาน หะยีอาแซ. 2553. ทฤษฎี ใหมส ถาบันการศึก ษามุส ลิมจัง หวัดชายแดน ภาคใต ความจริงที่ยังไมถูกเปดเผย. ปตตานี: หาดใหญกราฟฟก

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

29

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

การควบคุมแนวคิดทางศาสนาที่บดิ เบือนในรัฐกลันตัน: กรณีศึกษาการควบคุมดูแลกลุม แนวคิดอัลนักชาบันดีย อิบรอเฮม สือแม อิสมาแอ สะอิ มาหามะสอเระ ยือโระ บทคัดยอ โครงการวิจั ย การควบคุ มแนวคิด ทางศาสนาที่ บิดเบือนในรั ฐกลั นตัน : กรณีศึก ษาการควบคุ มดูแลกลุ ม แนวคิดอัลนักชาบันดีย มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษานโยบายและแนวทางการควบคุมดูแลแนวคิดตางๆของรัฐบาลรัฐ กลันตัน 2) เพื่อศึกษาบทบาทรัฐบาลรัฐกลันตันในการควบคุมดูแลแนวคิดอัลนักชาบันดีย 3) เพื่อศึกษาแนวคิดอัลนัก ชาบันดียและสิทธิในการเผยแผแนวคิดและความเชื่อ 4) เพื่อศึกษามุมมองของอัลนักชาบันดียตอบทบาทหนาที่ของ รัฐบาลรัฐกลันตันในการดูแลแนวคิดตางๆผลการวิจัยพบวา รัฐบาลมีนโยบายที่ชัดเจนในการควบคุมดูแลแนวคิดตางๆ โดยมุงเปลี่ยนรัฐกลันตันใหเปนรัฐอิสลาม (Islamic State) ดวยการสรางความถูกตองในเรื่องอากีดะห (หลักการ ศรัทธาหรือความเชื่อ) ฟกเราะห (ความคิด) และอัคลาก (จริยธรรม) ในการควบคุมแนวคิดตางๆนั้นเปนภาระหนาที่ ของสํานักงานคณะกรรมการอิสสลามแหงรัฐกลันตัน และทางสํานักงานฯไดมอบหมายใหกรมกิจการศาสนาอิสลาม เปนผูรับผิดชอบโดยตรง ซึ่งการควบคุมแนวคิดบิดเบือนนั้นมีขั้นตอนในการกํากับดูแลอยางชัดเจน ดวยความรวมมือ จากหนวยงานตางๆที่มีอยูในสํานักงานฯ สําหรับแนวคิดอัลนักชาบันดียแลวถือเปนกลุมแนวคิดที่ทรงอิทธิพลตอสังคม ประเทศมาเลเซีย ถู กเผยแพรในรัฐกลัน ตันไมน อยกวา 40 ป หรือเกือบ 100 ป เปน กลุมแนวคิดที่มีความเชื่อและ พิธีกรรมทางศาสนาที่แตกตางกับ หลายๆกลุมแนวคิด อื่น ปจ จุบัน รั ฐบาลรั ฐกลัน ตันยังไมมีการพิจรนาและวินิจฉั ย ความบิดเบือนของแนวคิดนี้ เพราะหลักฐานที่มียังไมเพียงพอที่จะเอาผิดและดําเนินคดีกับกลุมแนวคิดนี้ได แตมีการ ติดตามและตรวจสอบการเคลื่อนไหวของบางกลุมแนวคิดนี้ เปนเหตุใหมุมมองแนวคิดนี้ตอการควบคุมดูแลของรัฐบาล แตกตางกันไป ผลการวิจัยนี้สามารถนําเปนแนวทางในการควบคุมดูแลกลุมตางๆที่มีอยูในประเทศไทย โดยเฉพาะใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต ดวยการวางนโยบายและแนวทางการควบคุมที่ชัดเจนและเปนธรรมมากที่สุด คําสําคัญ: การควบคุมดูแล, แนวคิดบิดเบือน, แนวคิดอัลนักชาบันดีย, รัฐกลันตัน, พรรคพาส, ตอรีเกาะฮฺ, ซูฟย

ดร. (อิสลามศึกษา), อาจารยประจําสาขาวิชาอุศูลุดดีน (หลักการศาสนา) คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ศศ.ม. (อิสลามศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาอุศลู ุดดีน (หลักการศาสนา) คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา  ศศ.ม. (อิสลามศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาอุศูลุดดีน (หลักการศาสนา) คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

30

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

the distorted Way of religion tendency thinking in Kelantan State: Case study of controlling the tendency thinking of Al Naqsyabandy Ibrahem Suemae Ismaie Sa-i Mahamasorreh Yueroh Abstract Project research of controlling the distorted Way of religion tendency thinking in Kelantan State: Case study of controlling the tendency thinking of Al Naqsyabandy the object of 1) to study policy and the way to controlling oversee many thinking in government of Kelantan State, 2) study about the role of Kelantan government to controlling the tendency thinking of Al Naqsyabandy, 3) study about tendency thinking of Al Naqsyabandy and the right to spread his tendency thinking and faith, 4) study about Al Naqsyabandy viewing to the role of Kelantan government in the part see over tendency thinking. The research shown that government had policy to controlling oversee many tendencies thinking to change Kelantan State become to Islamic State by the way to building the right faith, thinking, and morals. To controlling many tendencies thinking was the duty of Kelantan Islamic Committee and the office directly give to Islamic Department controlling about this by clearly step under the another office oversee of Islamic Committee Office. Al naksabandi tendency thinking, it was the influence thinking in Malaysian social. It was atlases 40 years or may be 100 year spread in Kelantan State. They were group thinking believe and do the religion criminal different from each other. The Kelantan government do not thing to punish up to the distorted way of tendency thinking. They have no basis to carry them in legal action but had to followed and checked the movement some of them. Because of this the government controlling upto this distorted way of tendency thinking difference. This research was the way can use in Thailand to controlling over the groups, especially three southern provinces by policy and the clearly way to controlling but must be fairness or justice. KeyWords: Controlling, distorted way, Al naksabandi tendency thinking,Kelantan State, Pas Party, Torigat, Sufism

Ph.D. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Usuluddin, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University. M.A. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Usuluddin, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University.  M.A. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Usuluddin, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University. 

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

31

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา การพัฒนาบานเมืองใหเกิดความสงบสุข ความเปนเอกภาพและความมั่นคงทางสังคมเปนวาระสําคัญยิ่งที่ ทุกๆรัฐบาลไดหยิบยกขึ้นมาเปนประเด็นหลักในการแกไขปญหาสังคม ซึ่งหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรงจะตอง ดูแลเรื่องนี้ เ ปน การเฉพาะ สํานัก งานคณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจ และสัง คมแห ง ชาติเ ปน หน ว ยงานหนึ่ ง ที่ รับผิดชอบในเรื่องดังกลาว และไดตั้งกรอบแนวคิดในแผนพัฒนาฯ ที่10 (2549: 8) วา มุงพัฒนาสู “สังคมที่มีความสุข อยางยั่งยืน Green Society” ประเทศไทยเปนประเทศพหุสังคม มีความหลากหลายทางศาสนา ความเชื่อ แนวคิดและวัฒนธรรม ความ หลากหลายเหลานี้หากไมไดรับการกํากับดูแลจากรัฐบาล อาจสรางความแตกแยกในสังคมพหุวัฒนธรรมและศาสนา ได ซึ่งอาจกอความไมเปนเอกภาพในประเทศชาติและบานเมืองไดทุกเมื่อ ความขัด แย งทางความเชื่อถือเป นสาเหตุ ห นึ่ง ที่จ ะก อป ญหาทางสั งคมไดทุ กเมื่อ ศาสตราจารย ฮัน ทิง ตั น (1996: ฉบับวันที่ 25) ไดชี้ประเด็นสําคัญเกี่ยวกับความขัดแยงวา ขอขัดแยงที่เกิดขึ้นระหวางวัฒนธรรมเทานั้น ที่จะมี โอกาสขยายตัวและเปนอันตรายตอสันติภาพในโลกไดมากกวา แมวาผลประโยชนทางเศรษฐกิจจะยังคงมีความหมาย ตอไป แตก็จะไมใชประเด็นที่สําคัญ ที่สุด อีกตอไปแลว มนุษยจะแสวงหาเอกลักษณรวมกันจากอารยธรรมของ กลุมตน จะผนึกกําลังเขาดวยกัน และพรอมที่จะตอสูหรือยอมตายเพื่อความเชื่อตามอารยธรรมของตนมาก ขึ้น การเคลื่อนไหวของกลุมแนวคิดตางๆยอมจะทําใหเกิดประโยชนหรือกอปญหาในสังคมนั้นๆอยางแนนอน ซึ่ง ผูมีอํานาจหนาที่จําเปนที่จะตองวางนโยบายและใหการดูแลตอการเคลื่อนไหวของแนวคิดตางๆที่มีอยูในสังคมที่ตน รับผิดชอบอยู เพื่อไมใหเกิดความเสียหายกับผลประโยชนสวนรวม ซึ่งแตละประเทศจําเปนที่จะตองยอมรับในความ หลากหลายที่มีอยู เพราะความหลากหลายทางศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมเปนสิ่งคูบานคูเมืองมาตั้งแตโบราณ กาล ไมวาจะเปนประเทศที่ปกครองโดยใชกฎหมายอิสลามเปนหลัก หรือประเทศที่ปกครองดวยกฎหมายอื่น นโยบายรัฐบาลเปนสิ่งจําเปนที่จะมาควบคุม กํากับดูแลพฤติกรรมของบุคคลใหอยูภายใตกรอบและขอบเขต ที่ไดวางไว ธีโอดอร โลวี (Theodore Lowi) (ศ.ดร.ปยนาถ บุนนาค : 8) ไดแบงนโยบายออกเปน 3 ประเภทหลัก หนึ่งใน นั้นคือ นโยบายที่เ กี่ยวกั บการควบคุมพฤติกรรมของบุคคล หรือของภาคเอกชนเพื่อประโยชนของสัง คมสว นรวม (Regulatory Policies) การวางระเบียบและแนวทางบนพื้น ฐานนโยบายที่ไดว างไว เพื่อ ใหไดมาซึ่งสังคมที่มีความสุ ข อยางยั่งยืนนั้นมีความสําคัญเปนอยางมาก ผจญ คําชูสังข (2548 : 65) ไดกลาววา “กฎหมายหรือระเบียบทางสังคม จึงเปนกรอบมาตรฐานให แต ละคนในสังคมปฏิ บัติเ พื่อความเป นระเบียบของสัง คมนั้ นๆ จึง ถูกบั ญญัติ ขึ้นมาใช เป น เครื่องมือในการบริหารและการจัดการของผูมีอํานาจหนาที่ในการปกครองดูแล ซึ่งจะเปนเครื่องบงชี้ใหคนในสังคม นั้นๆไดตระหนักถึงความถูก-ผิด”. ประเทศมาเลเซียเป นอีกประเทศหนึ่งที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศาสนา มีกลุมแนวคิดตางๆ มากมายที่เกิดขึ้นในสังคม ซึ่งทางรัฐบาลประเทศมาเลเซียใหความสําคัญ ติดตาม และกํากับดูแลกลุมเหลานี้ เพื่อให เกิดประโยชนสูงสุดแกประเทศชาติ บทบาทการกํากับ ดูแลแนวคิ ดต างๆนั้น ไม ไดเ ปน ภาระหนาที่ข องรั ฐบาลกลางเพียงฝายเดี่ยว แตเ ปน การ กระจายอํานาจการกํากับดูแลสูรัฐบาลรัฐตางๆในประเทศ เพื่อใหงายตอการควบคุมดูแล ซึ่งรัฐกลันตันเปนรัฐหนึ่งที่มี สวนรวมในการกํากับดูแลแนวคิดตางๆที่มีอยูในประเทศมาเลเซีย รั ฐ กลั น ตั น เป น รั ฐ หนึ่ ง ที่ มีความหลากหลายทางเชื้ อชาติ ศาสนา แนวคิ ด และความเชื่ อ ทั้ ง ยั ง เป น รั ฐ ที่ พยายามใชห ลัก การอิ สลามในการบริห ารและปกครอง การใช กฎหมายอิส ลามในการบริ หารรั ฐไมไ ดทํ าใหความ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

32

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

หลากหลายทางศาสนา ความเชื่อ แนวคิดและลัทธิตางๆที่มีอยูในรัฐสูญสลายไปหรือเกิดการตอตานนโยบายและการ กํากับดูแลของรัฐบาล ทั้งๆที่รัฐบาลเองมีความเชื่อและแนวคิดที่ตางกันกับแนวคิดและลัทธิเหลานั้น อยางไรก็ตาม การกํากับดูแลของแตละรัฐนั้น รวมถึงรัฐกลันตัน จําเปนที่จะตองไมขัดกับนโยบายกลาง และ หนวยงานรัฐบาลกลางที่รับผิ ดชอบการควบคุมดู แลแนวคิ ดตางๆนั้ น คือ สํานักงานพั ฒนาศาสนาอิสลามมาเลเซี ย หรือที่เรียกกันวา ยากิม (JAKIM). ฉะนั้น การกํากับดูแลแนวคิดตางๆใหอยูบนพื้นฐานนโยบายของประเทศชาติ และสามารถสรางประโยชนได นั้นเปนสิ่งที่นาศึกษายิ่ง และสามารถที่จะนํามาเปนแนวทางในการแกปญหาตางๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได ดวยเหตุที่รัฐบาลรัฐกลันตันเปนรัฐบาลที่มีแนวคิดสุนนีย บวกกับความหลากหลายของแนวคิดที่มีอยูในรัฐ ทางผูวิจัยมีความเห็นวาแนวคิดที่จะนํามาเปนกลุมเปาหมายในการทําวิจัยในครั้งนี้ควรเปนแนวคิดที่มีการวินิจฉัยโดย ยากิมวาเปนกลุมแนวคิดที่บิดเบือนที่แพรหลายอยางกวางขวางในรัฐกลันตัน จึงมีความเห็นที่จะเลือกแนวคิดอัลนักชา บันดียเปนกลุมเปาหมายในการดําเนินการวิจัยในครั้งนี้ วิธีดําเนินการวิจัย การวิจยั นี้มุงวิเคราะหนโยบายและแนวทางการทํางานของรัฐบาลรัฐกลันตันในการกํากับ ควบคุม และดูแล กลุมแนวคิดอัลนักชาบันดีย และเปนการสะทอนใหเห็นสภาพความเปนจริง บริบท และจุดยืนแนวคิดนี้ที่มีตอนโยบาย และแนวทางการกํากับดูแล หรือการควบคุ มดูแลของรัฐบาลรัฐกลันตั นตอแนวคิ ดนี้ กรอบแนวคิ ดที่กําหนดไวเป น แนวความคิดกวางๆที่ทําหนาที่นําทางใหนักวิจัยแสวงหาความจริงเกี่ยวกับการกํากับและควบคุมดูแลแนวคิดบิดเบือน ของรัฐบาล และพฤติกรรมของผูนับถือแนวคิดบิดเบือนที่มีตอแนวทางการควบคุมของภาครัฐเทานั้น ไมไดมุงที่จ ะ พิสูจนแนวคิดทฤษฎี 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรในการวิจัยนี้ ไดแก เจาหนาที่รัฐบาลรัฐกลันตัน และสมาชิกกลุมแนวคิดนักชาบันดีย รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีกลุมตัวอยาง 4 กลุม ดังนี้ 1) เจาหนาที่รัฐที่มีหรือเคยรับตําแหนงในหนวยงานรัฐที่มีสวนรูเห็น เกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการควบคุมดูแลพฤติกรรมกลุมแนวคิดบิดเบือน 2) เจาหนาที่หนวยงานที่เกี่ยวของ มี ตําแหนงบริหารงานทั่วไป 3) แกนนําหรือศิษยเกาที่ถูกไววางใจใหเปนตัวแทนผูนําของกลุมแนวคิด 4) สมาชิกทั่วไปของ กลุมที่นับถือความเชื่อและปฏิบัติพิธีกรรมตางๆของกลุม 2. ขอบขายการวิจัย ผูวิจัยไดแบงขอบขายของการวิจัยออกเปน 2 สวน ดังนี้ 2.1 ขอบเขตดานเนื้อหา การวิ จัยครั้งนี้มีขอบขายของเนื้อหาการวิจัยใน 3 ประเด็นหลักคือ 1) นโยบายและแนวทางการควบคุ ม แนวคิ ด บิด เบือน 2) ความเชื่อและพิธี ก รรมทางศาสนาของกลุ มแนวคิ ด อัล นั กชาบั น ดีย 3) การกํากั บดู แลกลุ ม แนวคิดอัลนักชาบันดียในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย 2.2 ขอบเขตดานพื้นที่ ผูวิจัยไดเลือกรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เปนพื้นที่ดําเนินการกิจกรรมหลักของการวิจัย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

33

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

3. เครื่องมือการวิจัย การวิ จั ยนี้ มีก ระบวนการดําเนิน การวิจั ยเป นไปในลัก ษณะการมีส วนร วมของภาครั ฐ และประชาชน ผ าน ตัวแทนกลุมตัวอยางที่หลากหลายตามที่ไดกําหนดไวเบื้องตน ทั้งนี้ในการเก็บขอมูลการวิจัยจากการดําเนิ นการตาม กิจกรรมตางๆ มีดังนี้ 1. การสัมภาษณแบบเจาะลึก โดยการกําหนดประเด็นหรือแนวคําถาม (scheduleguide) ไวลวงหนากอน สัมภาษณ ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1) นโยบายในการควบคุมแนวคิดบิดเบือน 2) แนวทางการควบคุมดูแลแนวคิด บิดเบือน 3) ความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนาของกลุมแนวคิด 4) การกํากับดูแลกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดียและ จุดยืนของกลุมแนวคิดตอนโยบายและแนวทางการกํากับดูแล 2. การสนทนากลุ มยอย โดยที่คณะผูวิจั ยเตรียมประเด็นคําถามที่ใกลเคี ยงกับประเด็นคําถามที่ใชในการ สัมภาษณแบบเชิ งลึก เพื่อใชในการเก็บขอมูลเกี่ยวกั บประเด็น ตางๆที่ได มาขั้น ตน และเปนการถวงคําถาม ซึ่ งเป น ประโยชนอยางมากในการตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูล 3. การสังเกต โดยทีมวิจัยรวมสังเกตพฤติกรรมการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและปรากฏการณตางๆที่ เกิดขึ้นจากการใชชีวิตประจําวันของกลุมแนวอัลนักชาบันดีย และนํามาวิเคราะหและเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นกับผล การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับกลุมแนวคิดนี้ 4. การวิเคราะหขอมูล การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เนนการเก็บขอมูลภาคสนาม ฉะนั้น การวิเคราะหขอมูลของการวิจัยนี้จึง ดําเนินการไปพรอมๆ กับการเก็บรวบรวมขอมูล เปนการวิเคราะหขอมูลแบบอุปนัย ดวยการสรางขอสรุปของขอมูล จากสิ่งที่ปรากฏขึ้นในขณะที่ดําเนินกิจกรรมตามกระบวนการวิจัย และนําเสนอผลการวิเคราะหในรูปแบบรายงานเชิง พรรณนาวิเคราะห (Descriptive Analysis) ขอคนพบในการวิจัย ในการรายงานผลการวิจัยครั้งนี้ไดรายงานเปนความ เรียงเชิงบรรยาย ประกอบกับขอความสําคัญที่ไดจากการสัมภาษณ และการสังเกต สรุปผลการวิจัย ในการวิจัยนี้ไดกําหนดกรอบการศึกษาไว 3 ประเด็นใหญ คือ 1) นโยบายและแนวทางการควบคุมแนวคิด บิดเบือน 2) ความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนาของกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดีย 3) การกํากับดูแลกลุมแนวคิดอัลนักชา บันดียในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งไดผลการศึกษาดังนี้ 1. นโยบายและแนวทางการควบคุมแนวคิดบิดเบือน จากการศึกษาถึงนโยบายและแนวทางการควบคุมแนวคิดบิดเบือนของรัฐบาลรัฐกลันตันสามารถสรุปผลได ดังนี้ 1.1 นโยบายของรัฐบาลรัฐกลันตัน จากการศึกษาพบวา รัฐบาลรัฐกลันตันไดใชนโยบาย มุงเปลี่ยนรัฐกลัน ตันใหเปนรัฐอิสลาม (Islamic State) ในการควบคุมดูแลแนวคิดที่มีอยูในรัฐ ดวยการออกกฎระเบียบและขอบังคับ ตางๆ โดยสโลแกน MBI : Membangun Bersama Islam (พัฒนาดวยวิถีอิสลาม) เปนแนวคิดสําคัญของพรรคพาสใน การปกครองและบริหารจัดการบานเมืองบนพื้นฐานหลักการอิสลาม ซึ่งรัฐบาลมีความเห็นวาตองเริ่มจากการสราง ความถูกตองในเรื่องอากีดะห (หลักการศรัทธา) ฟกเราะห (ความคิด) และ อัคลาก (จริยธรรม) บนพื้นฐานหลักการ อิสลามที่มีอยูในคัมภีรอัลกุรอานและสุนนะฮฺของทานนบี (Ucapan Daras Presiden: 62) 1.2 แนวทางการควบคุมแนวคิดบิดเบือน จากการศึกษาพบวา การควบคุมแนวคิดบิดเบือนในรัฐกลันตัน เปนภาระหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการอิสสลามแหงรัฐกลันตันโดยมอบหมายใหกรมกิจการศาสนาอิสลามเปน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

34

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผูรับผิดชอบโดยตรง แตเปนการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานและฝายตางๆที่มีอยูในสํานักงานคณะกรรมศาสนา อิสลามแหงรัฐกลันตัน ประกอบดวย 1) กรมกิจการศาสนาอิสลาม 2) แผนกอากีดะหและชาริอะฮฺ ฝายวิจัย 3) ฝาย บังคับคดี 4) ฝายรับคําฟอง 5) ฝายดะวะฮฺ 6) ศาลชาริอะฮฺ ในการควบคุมแนวคิ ดบิ ด เบื อนนั้ นมี 8 ขั้ น ตอนหลั ก ซึ่ งสามารถสรุ ปได ดัง นี้ 1)การรับเรื่องรองเรี ยน ประชาชนสามารถแจงหรือรองเรียนความผิดปรกติของกลุมแนวคิดในการปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา หรือยึดหลักคํา สอนที่ขัดกับชาริอะฮฺแกเจาหนาที่ผูรับผิดชอบเพื่อดําเนินการตรวจสอบและเอาผิดกับแนวคิดนั้นๆ 2)การตรวจสอบ เบื้องตน แผนกอากีดะหและชาริอะฮฺ ฝายวิจัยจะเปนผูตรวจสอบเบื้องตน เกี่ยวกับความผิดปรกติของแนวคิดที่ถู ก รองเรี ยนมาด วยการส ง สายลั บหรื อสายสื บ เพื่อค น หาหลั ก ฐานและข อเท็ จ จริ ง 3)การสอบสวน เป น ขั้ น ตอนที่ ดําเนินการหลังจากไดรับรายงานจากฝายวิจัยเกี่ยวกับแนวคิด ซึ่งฝายบังคับคดีจะทําเรื่องสงไปยังฝายรับ คําฟองเพื่อ ออกคําสั่งสอบสวนใหกับฝายบังคับคดี จากนั้นจึงมอบหมายงานใหแผนกสอบสวนเปนผูดูแล และอาจขอความรวมมือ จากแผนกอากีดะหและชาริอะฮฺของฝายวิจัยมารวมสอบสวนดวย4)การตรวจสอบหลักฐาน ฝายรับคําฟองจะทําการ ตรวจสอบรายงานที่สงมาจากฝายบังคับคดีในฐานะพยานปากสําคัญในคดีนี้ เมื่อรายงานดังกลาวถูกตรวจสอบและ สามารถเปนหลักฐานได ฝายรับคําฟองก็จะทําเรื่องฟองสงไปยังศาลชาริอะฮฺ แตหากรายงานดังกลาวยังไมสามารถ ระบุความผิดของกลุมอยางชัดเจน ฝายรับคําฟองจะสงเรื่องใหฝายบังคับคดีดําเนินการสอบสวนใหมอีกครั้ง 5)การ ฟองศาล หลังจากการตรวจสอบรายงานและหลักฐานตางๆเปนอันเสร็จสิ้น ฝายรับคําฟองจะทําเรื่องฟองสงไปยัง ศาลชาริอะฮฺพรอมหลักฐานดังกลาว 6)การจับกุม เมื่อศาลฯพิพากษาชนะคดี ศาลฯจะออกหมายจับใหกับฝายบังคับ คดี เพื่อทําการจับกุมกลุมแนวคิดบิดเบือนใหเปนไปตามกฎหมายที่ไดบัญญัติไว ซึ่งกฎหมายไดใหอํานาจแกฝายบังคับ คดีสามารถจับกุมแนวคิดบิดเบือนไดโดยไมตองพึ่งตํารวจ แตเพื่อปองกันเหตุรายที่อาจเกิดขึ้นไดทุกเมื่อ จึงสามารถ ขอความรวมมือจากตํารวจเพื่อจับกุมผูตองหาตามหมายจับของศาล 7)การลงอาญา เปนการลงโทษผูกระทําผิดฐาน ปฏิบัติแนวคิดบิดเบือน ซึ่งกฎหมายไดบัญญัติในมาตราที่ 119 วรรคหนึ่ง ดวยบทลงโทษจําคุกระยะเวลาไมเกินสามป และโบย 8)การตักเตือน ฝายดะวะฮฺในฐานะผูทําหนาที่เผยแพรสัจธรรมและขัดเกลาจิตใจจะมีบทบาทในการสราง จิตสํานึกใหกับสมาชิกกลุม การตักเตือนดังกลาวมีสองชวง คือ การตักเตือนชวงอยูในคุก และการตักเตือนกอนปลอย ตัวออกจากคุก 8 ขั้นตอนที่ไดกลาวมานั้นจะใชในกรณีที่มีหลักฐานที่ชี้ชัดถึงความบิดเบือนของกลุมแนวคิ ด แตในกรณี ที่ ขอมูลที่ไดมายังไมสามารถชี้ขาดถึงความบิดเบือนของกลุมแนวคิดไดนั้น ทางฝายวิจัยจะทําเรื่องสงไปยังสํานักงานมุฟ ตี เพื่ อตรวจสอบและวินิ จฉั ย จากนั้น สํานัก งานมุฟ ตีก็ จะสง คําวิ นิจ ฉัยให กับ ฝายวิจั ย เพื่ อดํ าเนิ นการตามขั้ นตอน ดังกลาว (2552, ธันวาคม 24, 2553, กันยายน 22, 2553, ตุลาคม 19-20) 2. ความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนาของกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดีย จากการศึกษาถึงความเชื่อและพิธีกรรมทางศาสนาของกลุมแนวคิดบิดเบือน โดยเฉพาะกลุมแนวคิดอัลนัก ชาบันดีย สามารถสรุปผลไดดังนี้ 2.1 แนวคิดบิดเบือนและลักษณะที่บิดเบือนของกลุม จากการศึกษาพบวา แนวคิดบิดเบือน คือ แนวคิด หรือการปฏิบัติที่นํามาโดยชาวมุสลิมหรือคนตางศาสนิกที่มีการอางถึงที่มาจากหลักคําสอนอิสลามหรืออางถึง ความ ถูกต องบนพื้ นฐานหลัก คําสอนอิส ลาม แตใ นความเป นจริง แลว แนวคิ ดหรื อการปฏิบั ติดั งกลาวขัด กับ หลัก คําสอน อิสลามที่มาจากคําภีรอัลกุ รอานและสุ นนะฮฺ ของทานนบีมูหัมหมั ด และขัดกับ คําสอนของนักวิชาการสุ นนะฮฺ (สาร ปญหารวมสมัย, 2008: 3)

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

35

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ประเทศมาเลเซียไดรับอิทธิผลจากประเพณี (World View) ของประเทศเพื่อนบาน คือประเทศอินโดนีเซีย อัน เนื่องจากรัฐที่อยูฝงตะวันตกของประเทศมีประชากรสวนหนึ่งที่มาจากประเทศเพื่อนบาน ซึ่งบุคคลเหลานี้ไดนําความ เชื่อดั้งเดิมตางๆนาๆเขามาในประเทศมาเลเซีย โดยสวนใหญแลวความเชื่อเหลานี้เปนความเชื่อดั้งเดิมของศาสนาฮินดู จากนั้นไดมีการนําความเชื่ออิสลามมาสอดแทรกในความเชื่อฮินดูดั้งเดิม ซึ่งเปนเหตุของการเกิดการบิดเบือนในหลัก ความเชื่ออิสลาม (Siti Norbaya, 2007: 5-7) รัฐบาลรัฐกลันตันไดยึดเกณฑกลางในการตัดสินความบิดเบือนของแนวคิด ซึ่งประกอบดวย 7 อยาง คือ 1) ศรัทธาตอหลั กความเชื่อที่ ขัดและไมส อดคล องกับหลั กความเชื่ อของอะหลุล สุนนะฮฺ 2) ไมยอมรับความจริ งที่มีอยู ในอัลกุรอานและหะดีษตามที่นักวิชาการอิสลามไดยอมรับ 3) มีการอางวาเปนนบีที่สงมาหลังจากทานนบีมูหัมหมัด 4) มีความเชื่อวาการรวบรวมหลายศาสนาใหเปนหนึ่งเดี่ยวเพื่อเปนทางเลือกใหแกมวลมนุษยในการนับถือและศรัทธามั่น 5) มีการอางตัวเอง หรือผูนํา หรือกลุมแนวคิดดวยขออางที่ขัดกับหลักความเชื่อของอะหลุลสุนนะฮฺ อยางเชนการอาง ตั ว เองหรื อผู นํ าเป น ชาวสวรรค เ ป น ต น 6) กระทํ าอุ ต ริ ก รรมในศาสนาและยึ ด แนวคิ ด ใหม ที่ ขั ด กั บ ความเชื่ อและ บทบัญ ญั ติข องอิ ส ลาม 7) อรรถาธิ บายอัล กุ รอานและตี ความหะดีษ ตามความประสงค ของตนเอง (สารคํ าชี้แจง เกี่ยวกับ 58 ลักษณะแนวคิดบิดเบือนในประเทศมาเลเซีย, 2008: 1-2) แนวคิดบิดเบือนมีลักษณะพิเศษที่แตกตางกับแนวคิดทั่วไปดังนี้ 1) ศรัทธาตอพระครูหรือผูนําที่เสียชีวิตและมี ความเชื่อวาผูนําสามารถใหความชวยเหลือเมื่อใดที่มีการเอยชื่อของทาน 2) สาบานที่จะปกปดแนวคิดที่นับถือและไม เปดเผยใหคนนอกแนวคิดรับรู 3) ยกยองลูกหลานชาวยิววาเปนประชาชาติที่ดีเลิศที่สมควรเปนแบบอยาง 4) ประกาศ แตงตั้งตนเองหรือผูนําเปนนบี 5) มีการอางถึงการครอบครองทรัพยสินบางอยางของทานนบี อาทิ ดาบและอื่นๆ 6) เชื่อและศรัทธาวาหลักคําสอนแตละแนวคิดเหมือนกันหมด ซึ่งสามารถนําพาผูนับถือสูสวนสวรรค 7) ประกาศตัวเอง เปนวาลีหรือผูมีความศักดิ์สิทธิ์ 8) อางตัวเองหรือผูนําเปนอิหมามมะหดีย 9) เชื่อวาผูนําสามารถใหชาฟาอัต (ความ ชวยเหลือ) ในวันอาคีรัตได 10) ละทิ้งการละหมาดวันศุกรขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของแนวคิด (สารปญหา รวมสมัย, 2008) สาร “คําชี้แจงเกี่ ยวกั บ 58 ลัก ษณะแนวคิด บิ ดเบือนในประเทศมาเลเซี ย” ได ชี้แจงลั กษณะของแนวคิ ด บิดเบือนและอธิบายเหตุผลของการบิดเบือนอยางละเอียด ซึ่งสามารถกลับไปดูในงานวิจัยนี้ได 58 ลักษณะแนวคิด บิด เบื อนที่ ร ะบุ โ ดยยากิ มถื อเป น กรอบทั่ ว ไปในการตั ด สิน ความบิ ด เบื อนของแต ล ะกลุ มแนวคิด ที่ มีอยู ใ นประเทศ มาเลเซีย 2.2 แนวคิดอัลนักชันบันดีย จากการศึกษาพบวา แนวคิดอัลนักชาบันดีย หรืออันนักชาบันดียะฮฺ เปนกลุม ซูฟกลุมหนึ่งที่มีการพาดพิงถึงชายที่มีชื่อวา มูฮัมมัด บาหาอุดดีน อัลบุคอรีย (เสียชีวิตเมื่อปฮิจเราะหศักราช 791) ใน การกอตั้งแนวคิดนี้ ซึ่งคําวา “อัลนักชาบันดีย” เปนคําภาษาเปอรเซียมีความหมายวาชางทาสี ชางแกะสลัก การนําคํา นี้มาใชกับกลุมอัลนักชาบันดีย เนื่องจากชาวนักชาบันดีย คิดวาพวกเขาพยายาม สลักความรักตออัลลอฮฺในจิตใจของ พวกเขาดวยรูปแบบเฉพาะ ตามแนวทางของพวกเขา (Feriduddin Aydin, 1997: 9 ) แนวคิดอัลนักชาบันดียเริ่มเปนที่รูจักนับตั้งแตแนวคิดนี้ถือกําเนิดในดินแดนประเทศตุรกี แลวคอยๆกระจาย ไปยัง เมือง มาวารออันนั ฮรฺ (Ma wara’ annahr)1 เมืองคอรอซาน (Kha rasan)2 แลว เขาสูดินแดนอิ นเดีย เมื่ อ

1 2

Ma Wara` Annahr หรือ Transoxiana เปนชื่อโบราณของภูมิภาคตัง้ อยูในเอเชียกลางระหวางแมน้ํา Amu Darya และแมน้ํา Syr Darya เปนชื่อโบราณของพื้นที่ที่กวางขวางครอบคลุมเอเชียกลางและอัฟกานิสถาน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

36

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

อาณาจักรบนีสัลจูก (Bani Saljuk)3 ลมสลาย อาณาจักรออตโตมาน4เขามามีอํานาจ แนวคิดนี้ก็แพรหลายในดินแดน ของอาณาจักรออตโตมาน (Feriduddin Aydin, 1997: 32) ในประเทศมาเลเซียมี 9 แนวคิดที่แพรกระจาย ซึ่งแนวคิดนักชาบันดียะหเปนหนึ่งในสองแนวคิดที่ทรงอิทธิผล ในประเทศมาเลเซี ย แนวคิ ด นี้ ถู ก เผยแผ ใ นประเทศมาเลเซี ยโดยบรรดาลู ก ศิ ษ ย ที่ จ บมาจากประเทศอิ น โดนี เ ซี ย แนวคิดอัลนักชาบันดียไดเขามาในรัฐกลันตันไมนอยกวา40 ป หรือเกือบ 100 ป ซึ่งเปนระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร (Nik Abdul Aziz Bin Haji Nik Hasan, 1977: 46-48. Abdul Rahman Haji Abdullah, 1997: 51-52. Himpunan Fatwa Warta Negeri Melaka: 2) แนวคิดนี้มีความเชื่อดังนี้ 1) สมาชิกและแกนนําของกลุมมีชีวิตและมีความสัมพันธอยางตอเนื่องกับแกนนํา หรือพระครูที่ไดเสียชีวิตแลว 2) กะอฺบ ะฮฺที่อยู ณ มักกะห จะออกไปเยี่ยมเยียนแกนนําแนวคิดตามสถานที่ตางๆ 3) สามารถมองเห็นอัลลอฮฺบนโลกนี้ 4) ใครที่ไมมีเชค (พระอาจารยหรือพระครู) แทจริงแลวเขาไดฝาฝนอัลลอฮฺและ ทานนบี 5) สามารถรับความรูจากอัลลอฮฺโดยตรง 6) บรรดาเชคที่เสียชีวิตยังมีชีวิตอยู 7) พระครูสามารถชุบชีวิตคน ได (Mohammad Amin al-Kurdi, 2003: 113 . Ali Bin al-Hasan al-Harawi, 1999: 139. Muhammad Bin Sulaiman: 31. Abdul Rahman Muhammad Saaid: 60) สําหรับพิธีกรรมที่สําคัญของกลุมนี้มีดังนี้ 1) การใหคําสัตยาบัน (al-Baia’h) 2) อัรรอบิเฏาะฮฺ (al-Rabitoh)5 3) อัล ค็อตมฺ อัลคูจาคานีย (al- khatm al- khuwajagani)6 ( Abdul Majid al khani,1992: 33 ) ปจจุบันแนวคิดอัลนักชาบันดียที่มีอยูในประเทศมาเลเซียนั้นมี 2 กลุม คือ นักชาบันดียะหคอลีดียะหกอดีรู นยะหยา และนักชาบันดียะหอัลอาลียะห สําหรับแนวคิดนักชาบันดียะหคอลีดียะหกอดีรูนยะหยาถูกกอตั้งโดยศ.ดร. ฮัจญี สัยยีดี เชค กอดีรูน ยะหยา ตั่งแตป 1952 ในเมืองเมดาน (Medan) ประเทศอินโดนีเซีย และเริ่มแพรหลายเขาสู ประเทศมาเลเซียประมาณป 1970 และถูกเผยแพรในกรุงโกตาบารู รั ฐกลันตัน มีหลักความเชื่อและพิ ธีกรรมทาง ศาสนาดังนี้ 1) แสงของอัลลอฮฺ (Nur Allah) ไดผสานกับแสงของทานนบี มูหัมหมั ด 2) แนวคิดนี้ถูก ประทานลงมา จากอัลลอฮฺโดยตรง 3) ศรัทธามั่นพรอมกับพระครู 4) การสูบบุหรี่ทําใหไมสามารถเขาสวนสววรค 5) ประกอบพิธี ฮัจย ณ เมืองเมดาน ประเทศอินโดนีเซีย 6) การประกอบพิธีซูลูก แนวคิดนี้ถูกวินิจฉัยโดยยากิมและสํานักงานมุฟตีรัฐ มะละกาวาเปนแนวคิดบิดเบือน (Himpunan Fatwa Warta Kerajaan Negeri Melaka 1986-2005, 2005: 1-5) สําหรับแนวคิดนักชาบันดียะหอัลอาลียะหนั้น มีการอางวาเปนแนวคิดที่สืบทอดมาจากทานนบีมูหัมหมัด และบรรดาสาวกของทานนบี โดยเฉพาะทานอะลี บินอะบีฎอลิบ และทานอะบูบักร อัลศิดดีก ปจจุบันกลุมแนวคิดนี้นํา โดยเชคนาซีม ถูกเผยแผในทวีปเอเชียในป 1986 มีหลักความเชื่อและพิธีกรรมสําคัญดังนี้ 1) พลังแหงวาลี (ผูชวย เหลือ) 2) ผูนําแนวคิดมีอํานาจเบ็ดเสร็จ 3) มีการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาตางๆ อาทิ เชน ซูลูก รอบีเฏาะฮฺ และ

3

อาณาจักรบนีสัลจูก หรือเปนที่รูจักในนาม จักรวรรดิเซลจุค เปนจักรวรรดิแบบเปอรเชียของยุคกลาง ของชนเซลจุคเตอรกของเทอรโค-เปอรเชีย ที่มี อํานาจครอบครองอาณาบริเวณอันกวางใหญตั้งแตเทือกเขาฮินดูกูช ไปถึงทางตะวันออกของอนาโตเลียและจากทวีปเอเชียกลางไปจนถึงอาวเปอรเชีย 4 หรือเปนที่รูจักในนาม จักรวรรดิออตโตมัน (อังกฤษ: Ottoman Empire) ถือกําเนิดขึ้นในป พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการลมสลายของจักรวรรดิไ บ แซนไทนซึ่งมีคอนสแตนติโนเปล(อิสตันบูล) เปนเมืองหลวง มีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ไดแก เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่ง ขยายไปไกลสุดถึง ชอ งแคบยิบ รอลตารทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดําทางทิศตะวันออก และอียิปตทางทิศใต ลมสลายในป พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) 5 อัรรอบิเฏาะฮฺตามทัศนะของกลุมอัลนักชาบันดีย หมายถึงการที่ศิษยขอความชวยเหลือจากวิญญาณของอาจารยที่เสียชีวิตในอัลลอฮฺ ซึ่งสามารถจะ สนทนาติดตอกับอาจารยเหมือนกับเขาอยูขางหนาเรา 6 อัล ค็อตมฺ อัลคูจาคานีย เปนพิธีกรรมศาสนาของกลุมอัลนักชาบันดีย โดยที่พวกเขาจะจัดใหมีชุมนุมลับ ในวัน เวลา ที่กําหนดชัดเจน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

37

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

อื่นๆ 4) บูชาหลุมศพผูนําที่เสียชีวิตแลว ซึ่งแนวคิดนี้ถูกวินิจฉัยบิดเบือนโดยยากิม (เชค ตอริก บิน มูหัมหมัด อัลสะอฺ ดีย, 2005: 25-27) ทั้ง สองกลุมแนวคิ ดนั กชาบั นดี ยะห ที่ไ ดก ลาวมานั้ นมี ความเชื่ อและพิ ธีก รรมทางศาสนาที่ ขัด กับ หลั กการ อิสลามที่เที่ยงตรง ทางคณะกรรมการฟตวาแหงชาติ ประเทศมาเลเซีย จึงไดตัดสินวินิจฉัยชี้ขาดถึงความบิดเบือนของ ทั้งสองกลุม 3. การกํากับดูแลกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดียในรัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย จากการศึกษาถึงการกํากับดูแลของรัฐบาลรัฐตอกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดียในรัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย สามารถสรุปผลได ดังนี้ 3.1 การควบคุมแนวคิดอัลนัก ชาบันดียในรัฐกลั นตัน ประเทศมาเลเซีย จากการศึกษาพบวา ยากิ ม (JAKIM) ไดวินิจ ฉัยว ากลุมแนวคิดอัล นักชาบันดี ยเป นแนวคิดบิ ดเบือน และเผยแพรผลการวิ นิจฉัยเหล านั้นผ านสื่ อ ตางๆ แตคําวินิจฉัยดังกลาวนั้นไมถือวาเปนคําชี้ขาดในการตัดสินการบิดเบือนของกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดียที่มีอยูใน รัฐตางๆของประเทศมาเลเซีย หากแตละรัฐนั้นสามารถที่จะวินิจฉัยตางจากยากิม เมื่อพบเห็นวากลุมดังกลาวที่มีอยูใน รัฐไมมีลักษณะตองหามตามที่ระบุในสารดังกลาว ฉะนั้น ในการกํากั บดูแลแนวคิด ตางๆที่มีอยูในรัฐกลันตั นนั้น หน วยงานที่รั บผิด ชอบโดยตรงไมไ ดเจาะจง แนวคิดใดแนวคิดหนึ่ง สําหรับแนวคิดอัลนักชาบันดียในรัฐกลันตันนั้นกําลังอยูในการติดตามของแผนกอากีดะหและชา ริอะฮฺ ปจจุบัน ยังไมมีการพิจ รนาและวินิจฉั ยบิดเบือนตอแนวคิดนี้ เพราะหลักฐานที่มียังไมเพียงพอที่ จะเอาผิดและ ดําเนินคดีกับกลุมแนวคิดได ซึ่งกลุมแนวคิดอัลนักชาบันดียที่มีอยูในรัฐกลันตันนั้นมีอยูหลายพื้นที่ ดังนี้ 1) ปอเนาะปา เซตูโมะ 2) ตุมปะ 3) สุไงกือลาดี โกตาบารู 4) ปอเนาะสือลีกี อําเภอปาเซปูเตะ 3.2 จุดยืนแนวคิดอัลนักชาบันดียตอนโยบายและแนวทางการควบคุมแนวคิด จากการศึกษาพบวา กลุมแนวคิดอัลนักชาบันดียในรัฐกลันตันมีจุดยืนที่แตกตางกัน ซึ่งกลุมแนวนักชาบันดียะหที่นําโดยโตะครู ฮัจญี ฮาชิม บิน อาบูบักร ณ ปอเนาะปาเซตูโมะ มีจุดยืนของขางที่จะเปนมิตรกับรัฐบาล และพอใจกับนโยบายและแนวทางการ กํากับดูแลของรัฐบาลรัฐกลันตัน อาจเปนเพราะกลุมแนวคิดนี้ไมปดปด และอนุญาตใหทุกคนเขามารับอนุญาตทั่ วไป ได แถมเปนสถาบันปอเนาะที่ทางรัฐใหการชวยเหลือมาตลอด ตางกับจุดยืนของกลุมแนวคิดนักชาบันดียะหที่นําโดย มู หัมหมัด ไตบ ที่มีอยูในบานสุไงกือลาดี โกตาบารู ที่ไมเห็นดวยกับแนวทางการกํากับดูแลของกรมศาสนาอิสลาม ที่ ไมใหความเปนอิสระในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา การควบคุมแนวคิ ดบิดเบือนใหอยูใ นกรอบที่ถูกตอง หางไกลจากกรอบบิดเบือนที่วางไวโดยยากิมนั้นอาจ สงผลบางตอจุดยืนทางการเมืองของรัฐบาลรัฐ แตจากประสบการณที่เลามาโดยผูใหสัมภาษณพบวา กลุมแนวคิ ดไม สนใจเทาไรกับการควบคุมของหนวยงานรับผิดชอบในการเลือกตั้งทางการเมือง เพราะกลุมแนวคิดมักจะเลือกพรรคที่ ใหประโยชนกับกลุม โดยไมเจาะจงวาตองเปนพรรคพาสหรือไม (2552, ธันวาคม 24. 2553, กันยายน 21-22. 2553, ตุลาคม 19-22) ขอเสนอแนะ ปญหาความไมสงบในประเทศไทยเกิดจากหลายปจจัย แตละพื้นที่มีปจจัยที่ตางกัน ซึ่งปญหาความไมสงบใน สามจังหวัดชายแดนภาคใตไดเกิดขึ้นมาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะตั้งแตป 2547 หลังจากเหตุการณปลนปนคลังแสง เก็บอาวุธของกองทัพบกในคายนราธิวาสราชนคริ นทร พื้นที่อําเภอเจาะไอรอง จั งหวัดนราธิวาส ทุกๆเหตุการณ ท ี่ เกิ ด ขึ้ นในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใตห ลั ง จากเหตุ ก ารณที่ เ กิ ดขึ้ น ในครั้ ง นั้น จนกระทั้ ง ปจ จุ บั นมั ก ถู กเชื่ อมโยงกั บ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

38

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

เหตุการณความไมสงบ ถูกอางวาเปนเหตุการณที่คุกคามความมั่นคงของชาติ โดยไมไดมองถึงความรูสึกของคนในพื้น ที่วาเขามีความเห็นและความรูสึกอยางไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น การเข าจั บ กุ มชาวบ านโดยไม ไ ด รั บ ฟ ง ขอเท็ จ จริ ง จากผู ต องหาไดส ร างความเคื องใจให กั บชาวบ านและ ครอบครัวผูตองหาเปนอยางมาก เปนเหตุใหชาวบานบางคนถูกชักชวนใหกอความไมสงบในพื้นที่ ฉะนั้น งานวิจัยนี้เปนอีกหนึ่งงานวิจัยที่สามารถชี้ทางใหกับภาครัฐในการจัดการและควบคุมดูแล ซึ่งควรมี การดําเนินการดังนี้ 1. รัฐควรมีนโยบายและแนวทางการกํากับดูแลแนวคิดหรือลัทธิตางๆที่มีอยูในประเทศอยางชัดเจน จะพบวา รัฐบาลรัฐกลันตันมีนโยบายที่ชัด เจนในการควบคุมดู แลแนวคิดที่ มีอยูในรัฐ ในการนํ านโยบายดังกลาวมาใชในการ กํากับดูแลแนวคิด จะพบวา รัฐบาลไดวางแนวทางการกํากับดูแลอยางชัดเจนเปนขั้นเปนตอน ซึ่งแตละขั้นตอนมีการ ดําเนินงานอยางละเอียด เพื่อรักษาสิทธิของแนวคิดใหเปนไปตามนโยบายที่รัฐไดวางไว และเพื่อใหเกิดความสงบสุข ของรัฐอยางแทจริง 2. มีหน วยงานที่รับ ผิด ชอบเฉพาะที่มีอํานาจทางกฎหมายในการดําเนิ นงาน จะพบว า ในการกํ ากับ ดูแล แนวคิดตางๆที่มีอยูในรัฐกลันตันนั้น รัฐบาลจะมอบงานนี้ใหอยูในการดูแลของสํานักงานคณะกรรมการศาสนาอิสลาม แห ง รั ฐ ภายใต สํ านั ก งานฯจะมี ห น ว ยงานอี ก หลายหน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบร ว มกั น ซึ่ งกฎหมายรั ฐ ได ใ ห อํานาจแก หนวยงานตางๆในการดูแลงานในดานใดดานหนึ่ง 3. ไม กระทําการใดๆที่ไมผ านกระบวนการตรวจสอบและสอบสวน จะพบวา ในการเอาผิ ดกับแนวคิดใด แนวคิดหนึ่งรัฐบาลจะไมทําตามคําวินิจฉัยของยากิม แตเปนการตรวจสอบใหมอีกครั้งตามขั้นตอนที่ไดกลาวมาขั้นตน ซึ่งแตละขั้นตอนมีความละเอียดพอสมควร จากกระบวนการตรวจสอบและการสอบสวบทั้งหมดจะเห็นไดวา ไมใ ช เรื่องงายที่จะเอาผิดกับกลุมแนวคิดใดกลุมแนวคิดหนึ่งจนกวาจะมีหลักฐานที่เปนที่ประจักวาผิดจริงๆ จึงสามารถเอา ผิดได นับวาเปนการทํางานที่ยึดหลักความยุติธรรม ไมใชการใสรายปายสีที่อาจกอปญหามากมายตามมา

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

39

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม นิตยสาร Der Spiegel. 1996. ฉบับวันที่ 25 พฤศจิกายน. แนวคิดและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ. ฉบับที่ 10. พ.ศ.2550-2554. ปยนาถ บุนนาค. มปป. นโยบายการปกครองของรัฐบาลตอชาวโทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ. 2475-2516. ผจญ คํ าชู สั ง ข . 2548. บาป: ศึ ก ษาเชิ ง วิ เ คราะห ใ นมโนทั ศ น ข องพุ ท ธศาสนาฝ า ยเถรวาท. วิ ท ยาสาร เกษตรศาสตรสาขาสังคมศาสตร. ปที่ 26. ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน. พินธ ทิพยศรีนิมิต. 2554. ตัวตนทางวัฒนธรรมของคนไทยในรัฐตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย . วิทยานิพนธ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาไทศึกษา. Abdul Majid al khani. Al-Sacadah al-Abadiah Fima Ja Bihi al-Naqshabandiah. Turki: Al-Ikhlas. 1992. Abdul Rahman Haji Abdullah. 1997. Pemikiran Islam di Malaysia: sejarah dan aliran. Malaysia: Gema Insani. Abdul Rahman Muhammad Sacaid. 2011. Al-Tarikah Al-naqshabandiyah. จากอินเตอรเน็ต (สืบคนเมื่อวันที่ 5/8/2011). http:// www. Frqan.com Ali Bin al-Hasan al-Harawi. 1999. Rasyahat Ayin al-Hayah. Dar al-Sodir. Feriduddin Aydin. Al-Toriqah Al-Naqshabandiah Bian Madhiha Wa Hadhiriha. 1997. Jabtan Kemajuan Islam Malaysia. 2008. Risalah Isu semasa Penjelasan ciri-ciri utama ajaran sesat. FM Security Printer Sdn. Bhd. Jabatan Mufti Negeri Melaka. 2005. Himpunan Fatwa Warta Kerajaan Negeri Melaka 1986-2005. Muhammad Amin al-Kurdi. 1384. Al-Mawahib al-Sarmadiyyah Fi Manaqib al-Naqsyabandiyyah. AlSacadah. Muhammad Bin Sulaiman al-Baghdadi. 1234. Al-Hadiqah al-Nadiyyah Fi al-Tariqah alNaqsyabandiyyah. Maktabah al-Haqiqah. 1234. Nik Abd. Aziz Bin Haji Nik Hasan. 1977. Sejarah Perkembangan Ulama Kelantan. Kelantan: Pustaka Aman Press SDN. BHD. Siti Norbaya Binti Abd.Kadir. 2007. Ajaran Sesat: Sejarah Kemunculan Dan Ciri-cirinya. kuala Lumpur: Percetakan Putrajaya SDN. BHD. Torik Muhammad al-Sacadi. 2005. al-minnah al-ilahiyyah fi bayan al-toriqah al-naqsyabandiyyah al-aliyyah. Dar al-Junaid. 2005.

อัล-นูร



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

41

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

ตัครีจญหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาล ของ ชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา เชาวนฤทธิ์ เรืองปราชญ อับดุลเลาะ การีนา บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาแหลงที่มาและประเมินสถานภาพของหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยใน หนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะดีษ เมาลานา มูฮัมมัด ซะกะรียา วิธีดําเนินการวิจัย โดยใชวิธีวิทยาการวิจัยทางดาน การตัครีจญหะดีษ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ คัดลอกหะดีษจากหนังสือดังกลาว พรอมทั้งกํากับหมายเลขของหะดีษ และหมายเลข หนาหนังสือที่ปรากฏหะดีษ คนหาแหลงที่มาจากหนังสือคูมือคนหาหะดีษ หนังสือสารบัญหะดีษ ตรวจสอบสถานภาพจาก คําตัดสินของบรรดาปราชญหะดีษ โดยยึดทัศนะของปราชญหะดีษสายกลาง (มุอฺตะดิลีน) เปนหลัก ผลการวิจัยพบวา เมาลานา มูฮัมมัด ซะกะรียา มีชื่อเต็มวา มูฮัมมัด ซะกะรียา อัลกันดะฮฺละวีย เปนปราชญ ทานหนึ่งที่เชี่ยวชาญหะดีษ เกิดที่เมืองกานดะฮฺละฮฺ ประเทศอินเดีย ทานเกิดในตระกูลของผูทรงความรู และเครงครัด ในศาสนา เปนตระกูลที่มีบรรพบุรุษลวนแลวแตเปนผูมีชื่อเสียงในดานการทํางานเพื่ออิสลาม ทานใชชีวิต ในการสอน หะดีษเปนระยะเวลาอันยาวนานและมีความเชี่ยวชาญ จนไดรับการขนานนามจากกลุมญะมาอัตตับลีฆวาเปน “ชัยคุล หะดีษ” ซึ่งมีความหมายวา ปรมาจารยดานหะดีษ หะดีษที่ทําการตัครีจญทั้งหมดมีจํานวน 441 หะดีษ แบงออกเปนหะดีษเศาะเหียะหจํานวน 160 หะดีษ หรือ 36.28% หะดีษหะสันจํานวน 78 หะดีษ หรือ 17.68% หะดีษเฎาะอีฟ จํานวน 132 หะดีษ หรือ 29.93% หะดีษเฎาะ อีฟ ญิด ดัน จํ านวน 35 หะดีษ หรือ 7.93%หะดี ษเมาฎั๊ว ะ จํ านวน 25 หะดีษ หรือ 5.66% ไม พบสายรายงานและ สถานภาพของหะดีษ จํานวน 11 หะดีษ หรือ 2.49% ทั้งหมดอยูในขายหะดีษมักบูล จํานวน 238 หะดีษ หรือ 53.96% และอยูในขายมัรดูดจํานวน 203 หะดีษ หรือ 46.04% หนังสือคุณคาของอะมาลของเมาลานา มูฮัมมัด ซะกะรียา เปนหนังสือแนวรวบรวมเรื่องราวที่เกี่ยวกับคุณคา และความประเสริฐของการปฏิบัติศาสนกิจ (Fada’il) หนังสือในแนวนี้มักจะปรากฏหะดีษเฎาะอีฟ เฎาะอีฟญิดดัน และ หะดีษเมาฎั๊วะ สาเหตุเนื่องจากกฎเกณฑของนักปราชญในเรื่องของการนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐาน แมวาเมา ลานา มูฮัมมัด ซะกะรียา เปนผูที่เชี่ยวชาญหะดีษทานหนึ่ง แตกระนั้นหนังสือของทานก็ไมปลอดจากหะดีษประเภท เหลานี้ แมวาจะปรากฏในสัดสวนที่นอยนิดก็ตาม คําสําคัญ: ตัครีจญ, หะดีษ, ชัยคุลหะดีษ, มูฮัมมัด ซะกะรียา, คุณคาของอะมาล

นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี.



ดร.(อัลกุรอานและอัลหะดีษ), ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยประจําภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต

ปตตานี.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

42

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Prophetic traditions (Hadith) with their translation into Thai which are cited in Fada’il c Amal, a reputable religious treatise authored by Sheykh al-Hadith Mawlana Muhammad Zakariya เชาวนฤทธิ์ เรืองปราชญ อับดุลเลาะ การีนา Abstract The present research has the key objective of investigating into the sources of prophetic traditions (Hadith) with their translation into Thai which are cited in Fada’il ‘Amal, a reputable religious treatise authored by Sheykh al-Hadith Mawlana Muḥammad Zakariya, and authenticating them.The method employed in conducting the study is the authentication of prophetic traditions (Takhrij al- Hadith), which is basically composed of the following steps: (i) copying the target traditions from a particular book and numbering them along with page number in which they are cited, (ii) investigating into the sources of the traditions found by consulting one of the concordances of prophetic narrations or the Hadith indices, and (iii) authenticating and classifying the traditions based on verdicts given by Hadith scholars who are categorically regarded moderate (Mu‘tadilin). The findings are as follows: Mawlana Muhammad Zakariya, fully named Muhammad Zakariya alKandhlawi, was a prominent scholar who had notable expertise in the science of Hadith. He was born an eminent family of learned individuals who gained reputation through their activism for Islam. Mawlana Muhammad Zakariya was so strongly committed to the dedication of his life to the teaching of Hadith and had expertise in this science that he received an honorary designation from Tablighi Jamacat as “Sheykh al- Hadith,” which literally means the scholar of prophetic traditions. There were found a total of 441 prophetic traditions (Hadith) with Thai translation in the treatise to authenticate. They were categorised into six classes: (i) authentic traditions (Hadith Sahih) with a number of 160 traditions (36.28%), (ii) fine traditions (Hadith Hasan) with a number of 78 traditions (17.68%), (iii) weak traditions (Hadith Ḍacif) with a number of 132 traditions (29.93%), (iv) very weak traditions (Hadith Dacif Jiddan) with a number of 35 traditions (7.93%), (v) fabricated traditions (Hadith Mawduc) with a number of 25 traditions (5.66%), and (vi) no-source traditions with a number of 11 traditions (2.49%), all of which are placed

Ph.D. Student of Islamic Studies, College of Islamic Studies, Princes of Songkhla University, Pattani Campus.



Campus.

อัล-นูร

Asst. Prof. Ph.D. (Al-Qur’an and Al-Hadith) Lecturer, Department of Islamic Studies, College of Islamic Studies, Princes of Songkhla University, Pattani


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

43

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

in two categories, i.e. the accepted category (Maqbûl) with a number of 238 traditions (53.96%) and the rejected category (Mardud) with a number of 203 traditions (46.04%). Faḍa’il ‘Amal, authored by Mawlana Muḥammad Zakaraya, is a collection of persuasive stories in relation to the significance and merits (Fada’il) of performing good works (cAmal). Such a treatise is invariably found to be inclusive of weak, very weak, and fabricated traditions because of the authors’ lenient standards in referring to weak traditions as proof for encouragement of performing good works. Mawlana Muhammad Zakariya was celebrated as an expert in the science of Hadith. However, his work done in the purpose of enjoining good works was not absolutely free from those weak traditions, though found in a minimal proportion. Keywords: Takhrij, Hadith, Shaykh al-Islam, Muhammad Zakariya, Faḍa’il cAmal

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

44

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา หะดีษ หมายถึง สิ่งที่พาดพิงถึงทานนบี  ในทุกๆ ดาน ทั้งที่เปนคําพูด การกระทํา การยอมรับ คุณลักษณะทั้ง ในดานสรีระและจริยะ ตลอดจนชีวประวัติของทานทั้งกอนและหลังการไดรับการแตงตั้งใหเปนนบี (Mustafa al-Siba‘i, 1982: 47) หะดีษมีความสําคัญในสองสถานะดวยกัน กลาวคือ สถานะที่หนึ่งในฐานะเปนตัวขยายความอัลกุรอานใหมีความ กระจางชัดในแงการปฏิบัติและในแงอื่น ๆ สถานะที่สองในฐานะเปนแหลงที่มาแหงบทบัญญัติอิสลามอันดับสองรองจาก จากความสําคัญดังกลาวขางตน ทําใหหะดีษกลายเปนศาสตรที่ยิ่งใหญศาสตรหนึ่งในอิสลามศึกษา มีสาขาวิชาตาง ๆ แตก ออกมากกวาหนึ่งรอยสาขาวิชา อัลหาซิมีย (584 ฮ.ศ.) ปราชญหะดีษคนหนึ่งไดกลาววา “แมวาคนๆ หนึ่งจะใชชั่วอายุของ เขาเพื่อศึกษาวิชาหะดีษก็ไมสามารถศึกษาไดทั้งหมด” (al-Qasimi, 1987: 44) ดังนั้น การศึกษาวิชาการที่เกี่ยวของกับหะดีษ ถือวามีความสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในแวดวงวิชาการอิสลามศึกษาในประเทศไทยนั้ น ศาสตรนี้ถือวาเปนศาสตร ที่ ตองการการคนควาอีกมาก การตัครีจญ เปนศาสตรแขนงหนึ่งในสาขาวิชาหะดีษ หมายถึง การชี้ถึงแหลงที่มาของตัวบทหะดีษที่เปนแหลง ปฐมภูมิ (Primary Sources) และการนําเสนอแหลงที่มาดังกลาว พรอมแจกแจงสถานภาพของหะดีษเมื่อมีความจําเปน (Bakkar, 1997 : 12) ซึ่งการตัครีจญหะดีษ และวิชาที่เกี่ยวของกับการตัครีจญหะดีษ เปนสิ่งที่เกิดขึ้นใหมในแวดวงวิชาการ อิสลามศึกษา กลาวคือ มุสลิมในยุคแรก ๆ ไมมีความจําเปนตอการตัครีจญหะดีษ เนื่องจากพวกเขามีความสัมพันธที่แนบ แนนกับแหลงที่มาเดิมของสุนนะฮฺจนกระทั่งในสมัยตอมาไดมีนักวิชาการ (อุลามาอฺ) กลุมหนึ่งเรียบเรียงหนังสือวิชาการตาง ๆ และไดระบุตัวบทของหะดีษโดยมิไดบอกถึงที่มาและสถานภาพของหะดีษ อาจเปนเพราะรูดีวาหะดีษตาง ๆ นั้นเปนที่รับรู กันในหมูคนในสมัยนั้น ๆ หรืออาจเปนเพราะมีเจตนาที่ตองการกระตุนใหผูอานไดคนควาหาแหลงที่มาของหะดีษ เมื่อเปน เชนนี้จึงมีนักปราชญ หะดีษกลุมหนึ่งเห็นความจําเปนในการตัครีจญหะดีษ ตัวอยางของนักปราชญกลุมแรก ๆ ที่ใหความ สนใจในการตัครีจญ เชน อัลบัยฮะกีย (458 ฮ.ศ.) อบูนุอัยมฺ อัลอัศบิฮานีย (430 ฮ.ศ.) อัลคอฏีบ อัลบัฆดาดีย (463 ฮ.ศ.) และ อัลหาซีมีย (584 ฮ.ศ.) เปนตน (Bakkar, 1997 : 18) กลุมญะมาอัตตับลีฆ เปนกลุมที่กําลังแพรหลายและมีอิทธิพลมากที่สุดกลุมหนึ่งในหมูมุสลิมในปจจุบัน แมวา กลุมญะมาอัตตับลีฆจะถือกําเนิดในประเทศอินเดียโดยทานเมาลานา มุฮัมมัด อิลยาส กันดะฮฺละวีย (ค.ศ.1885-1994) แต ดวยวิธีการทํางานเผยแผหลาย อยางที่โดดเดนทําใหกลุมนี้ไดแพรหลายอยางรวดเร็วยังประเทศตางๆ ในเอเชีย เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต ตะวันออกกลาง ยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และอัฟริกา สวนในประเทศไทยนั้น กลุมญะมาอัตตับลีฆได เขามาดําเนินงานเผยแผตั้งแตป พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยเริ่มจากภาคเหนือกอน แลวตอมาก็ไดขยายตัวอยางรวดเร็วยัง ภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทย ปจจุบันกลุมญะมาอัตตับลีฆมีศูนยกลางอยูในทุก อําเภอ และตําบลที่มีประชากรมุสลิม อาศัยอยู (มะสาการี อาแด, 2543 : 107-108) การทํ างานเผยแผ ของกลุมญะมาอั ตตั บลี ฆนั้ นไดใช หนั งสื อเลมหนึ่ งที่ ชื่ อว า คุณคาของอะมาล หรื อ "Fada’il c A’mal" ซึ่งเขียนโดยเมาลานามุฮัมมัด ซะกะรียา (ค.ศ. 1898-1982) เปนแนวทางในการอบรมสั่งสอนและปฏิบัติ จนกลาวได วาหนังสือเลมนี้ไดกลายเปนหนังสือคูมือที่สําคัญของกลุมญะมาอัตตับลีฆ จากความสําคัญดังกลาวทําใหหนังสือเลมนี้ ไดรับความนิยมและแพรหลายในประเทศตางๆ ทั่วโลก มีผูแปลเปนภาษาตาง ๆ รวมทั้งภาษาไทยซึ่งแพรหลายและเปนที่ รูจักในหมูมุสลิมโดยทั่วไป แตเนื่องจากหนังสือเลมนี้ผูเขียนไดอางอิงตัวบทหะดีษไวเปนจํานวนมาก ตัวบทหะดีษสวนใหญ แมผูเขียนจะไดอางถึงแหลงที่มา แตก็ไมสามารถใหความเขาใจที่ชัดเจนแกผูอานโดยเฉพาะผูที่ไมมีความรูในวิชาหะดีษและ ไมสามารถอานและเขาใจภาษาอาหรับได เนื่องจากผูแปลไดแปลเฉพาะสวนที่ เปนตัวบทหะดีษ สวนที่เกี่ยวของกับการ อางอิงสวนใหญมิไดแปล ซึ่งตัวบทหะดีษพรอมความหมายขางตนไดมีผูศึกษาวิจยั และทําการตัครีจญแลว แตยังคงเหลือ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

45

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ในสวนของหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยที่ไมมีตัวบทกํากับยังมิไดทําการตัครีจญ ซึ่งผูวิจัยทั้งสองไดมีขอเสนอแนะวา ควรมีการตัครีจญหะดีษที่มีเพียงคําแปลภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาลเพิ่มเติม (อับดุลเลาะ หนุมสุข และอับดุล เลาะ การีนา, 2547 : 197) จากหลักการและเหตุผลดังกลาวข างตน ผูวิจั ยจึงเห็นว ามีความจําเปนที่ จะตองทําการตัครีจญหะดีษเฉพาะ ความหมายภาษาไทยในหนังสือเลมนี้ เพื่อใหหนังสือเลมนี้เพิ่มคุณคาทางวิชาการ เพิ่มประโยชนในการนําไปใชตอไป และ ผูวิ จั ยหวั งว างานวิจั ยชิ้นนี้ จะเปนส วนหนึ่ งงานวิ จั ยที่ มีประโยชนต อวิชาการอิ สลามศึ กษาและต อสั งคมมุ สลิ มและต อ ประเทศชาติโดยรวมตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย ในการทํ าวิ จั ยครั้ งนี้ผู วิ จั ยมี วัตถุ ประสงค เพื่ อศึ กษาแหล งที่มาและเพื่ อประเมินสถานภาพของหะดี ษเฉพาะ ความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาล ของชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ความสําคัญและประโยชนของการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยคาดวาจะไดรับประโยชนดังตอไปนี้ 1. จะไดทราบแหลงที่มาของหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะดีษ เมาลา นา มุฮัมมัด ซะกะรียา 2. จะไดทราบสถานภาพของหะดีษ และสามารถแยกแยะหะดีษที่ถูกนํามาอางอิงในหนังสือคุณคาของอะมาลของ ชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา วาหะดีษบทใดเศาะเหียะห หะดีษบทใดเฎาะอีฟ และหะดีษบทใดเมาฎั๊วะ 3. จะไดใชเปนคูมือในการเรียนการสอนวิชาหะดีษในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และเปนความรูแกผูสนใจ ทั่วไป และเปนตําราทางวิชาการดานอิสลามศึกษาในภาคภาษาไทยเพื่อใหมุสลิมและผูสนใจทั่วไปที่ไมสามารถอานภาษา อาหรับได สามารถเขาใจศาสตรดานอิสลามศึกษา อันจะนํามาซึ่งความสมานฉันทในสังคมตอไป วิธีดําเนินการวิจัย รูปแบบการวิจัย การวิจัยเรื่อง “ตัครีจญหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา” มีรูปแบบการวิจัยประกอบดวยหะดีษ 3 กลุมๆ ละ 441 หะดีษ กลุมแรกเปนการนําเสนอหะดีษเฉพาะ ความหมายภาษาไทยที่ปรากฏในหนังสือคุณคาของอะมาล กลุมที่สองเปนการนําเสนอตัวบทภาษาอาหรับที่นํามาเทียบ และกลุมที่สามเปนการนําเสนอแบบแบบตัครีจญหะดีษ(ระบุผูบันทึกหรือผูรายงาน) และยืนยันสถานภาพของหะดีษ จาก รูปแบบการวิจัยจะแสดงระดับตางๆ ของหะดีษ แหลงขอมูล 1) หนังสือหรือตํารา ไดแก หนังสือหรือตําราเกี่ยวกับการตัครีจญที่เขียนเปนภาษาอาหรับ สําหรับศึกษาเรื่อง การตัครีจญ 2) เอกสารวิจัย ไดแก หนังสือคุณคาของอะมาลเรียบเรียงโดยชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา สําหรับ ศึกษาแหลงที่มาของหะดีษและสถานภาพของหะดีษ 3) หนังสือริวายะฮฺ ไดแก หนังสือบันทึกหะดีษดวยกับสายรายงานของผูแตง สําหรับศึกษาแหลงบันทึกหะดีษและ กําหนดสถานภาพหะดีษในหนังสือคุณคาของอะมาล

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

46

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

4) หนังสืออื่นๆ ที่บันทึกหะดีษโดยการตัดสายรายงานของหะดีษ สําหรับศึกษาแหลงที่มาของหะดีษที่ไดอางไวใน เอกสารวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ก. แบบบันทึก หมายถึง แบบบันทึกขอมูลที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาเอง โดยใชรูปแบบเปนสี่เหลียมผืนผา แบงออกเปน 3 สวน ไดแก สวนที่บันทึกขอมูลหนังสือประกอบดวย ชื่อผูแตง ปที่พิมพ ชื่อหนังสือ เมืองที่พิมพ และโรงพิมพ ส วนการ บันทึกขอมูลสายรายงานและตัวบทหะดีษ และสวนที่บันทึกขอมูลหัวขอเรื่องที่เกี่ยวของประกอบดวยเนื้อหาของเรื่อง จะ ระบุเลมที่และเลขหนา ข. เอกสารวิจัย เอกสารวิจัย คือ หนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะดีษเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา สําหรับ ศึกษาสายรายงานหลักของหะดีษในหนังสือคุณคาของอะมาล ค. คอมพิวเตอรใชสําหรับรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับหะดีษที่ตองการตัครีจญ ประกอบดวยขอมูลสายรายงาน ตัวบท หะดีษ และสถานภาพของหะดีษ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ไดแก อัลมักตะบะฮฺ อัชชามิละฮฺ (Version 3) และอัลมักตะบะฮฺ อัลอิสลามิยะฮฺ ง. เว็บไซตที่แพรหลายทางอิ นเตอร เน็ต ใชสําหรั บรวบรวมขอมู ลที่เกี่ยวของกั บการตั ครีจญ ซึ่งคนหาไดจาก เว็บไซตตางๆ ไดแก เว็บไซตอัดดุรอร อัสสุนนียะฮฺ (www.dorar.net) เว็บไซตอิบนฺ บาซ (www.binbaz.org.sa) และเว็บไซต อัลอัลบานี (www.alalbany.net) เปนตน การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้ ส วนที่ 1 รวบรวมข อมู ลเรื่ องความรู เกี่ ยวกั บ การตั ครี จญ หะดี ษภายใต หั วข อเรื่ อ งรองและหั วข อเรื่ องย อย ตามลําดับความสําคัญและที่จําเปน จากหนังสือและตําราที่เกี่ยวของกับการตัครีจญหะดีษ สวนที่ 2 รวบรวมหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาล เพื่อทําการศึกษาวิเคราะห โดย คัดเลือกหะดีษเฉพาะที่มีแตคําแปลภาษาไทยเทานั้น ซึ่งเรียบเรียงหะดีษตามบทตางๆ ของหนังสือ แตเนื่องจากหะดีษที่มีแต ความหมายไมมีการกํากับหมายเลขหะดีษ ผูวิจัยจึงเรียบเรียงตัวบทหะดีษโดยใช 2 หมายเลข หมายเลขที่ 1 เปนหมายเลข ของผูวิ จัย หมายเลขที่ 2 เปนหมายเลขหนาของหนั งสือ ตั วอยาง หะดีษที่ 1 หนาที่ 25 หมายถึ งหะดีษลําดับที่ หนึ่ งใน งานวิจัย หะดีษนี้ปรากฏในหนาที่ 25 ของหนังสือคุณคาอะมาล สวนที่ 3 รวบรวมขอมูลตัครีจญหะดีษที่ตองการศึกษาวิเคราะห โดยดําเนินการตามลําดับความสําคัญของแตละ เรื่องตามแนวทางตัครีจญ ดังนี้ 1) การตัครีจญหะดีษแตละบทใชแนวทางการตัครีจญ 2 แนวทาง ไดแก การ ตัครีจญโดยยึดคําสําคัญของตัวบท หะดีษ และการตัครีจญโดยยึดคําแรกของสํานวนหะดีษ ทั้งสองแนวทางนี้ใชหนังสือคูมือคนหาหะดีษจากหนังสือมุอฺญัม อัล มุฟะฮฺรอส ลิอัลฟาซฺ อัลหะดีษ หนังสือสารบัญหะดีษตาง ๆ โปรแกรมที่ใชคอมพิวเตอร คือ อัลมักตะบะฮฺ อัชชามิละฮฺ และอัลมักตะบะฮฺ อัลอิสลามิยะฮฺ ตลอดจนเว็บไซตที่เกี่ยวของกับการตัครีจญ 2) รวบรวมตัวบทและสายรายงานของหะดีษจากแหลงริวายะฮฺ โดยพิจารณาความเหมือนของความหมายของหะ ดีษที่ปรากฏในหนังสือคุณคาของอะมาลกับตัวบทหะดีษที่ไดจากการตัครีจญที่บันทึกในแหลงริวายะฮฺ และพิจารณาสาย รายงานของหะดีษที่มาจากผูรายงานคนเดียวกันที่เปนมุตาบิอะฮฺ หรือสายรายงานอื่นที่รายงานหะดีษเดียวกันที่เปนชาฮิด หรือชะวาฮิด 3) รวบรวมเพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับทัศนะของบรรดาอุละมาอฺที่อธิบายลักษณะของตัวบทหะดีษเพื่อใชเปนขอมูล ประกอบการเปรียบเทียบระหวางตัวบทหะดีษในเอกสารวิจัยกับตัวบทที่ปรากฏในแหลงริวายะฮฺ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

47

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

การจัดกระทําขอมูล การจัดกระทําขอมูลที่ไดจากการบันทึก เอกสารวิจัย และคอมพิวเตอร ไดดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) ข อมู ล ที่ ได จ ากแบบบั นทึ ก ได มี การตรวจสอบความถู ก ต องและความเหมาะสมของเนื้ อหาตามลํ าดั บ ความสําคัญของแตละบท กลาวคือ ขอมูลเกี่ยวกับการตัครีจญหะดีษ ผลการตัครีจญหะดีษ ตลอดจนขอมูลเกี่ยวกับทัศนะ อุละมาอฺ 2) ขอมูลที่ไดการใชคอมพิวเตอรไดแยกตามลักษณะของขอมูลออกเปน 4 สวน ไดแก ขอมูลมุตาบะอะฮฺ โดย พิจารณาการคัดเลือกบนพื้นฐานของการอางอิงในหนังสือคุณคาของอะมาล ขอมูลมุตาบะอะฮฺหรือมุตาบิอาต โดยการ พิจาณาผูรวมรายงานในรุนเดียวกันเปนหลัก ขอมูลชาฮิดหรือชะวาฮิดหะดีษ โดยพิจารณาตัวบทหะดีษเปนที่ตั้ง ซึ่งจะดูวา ตัวบทหะดีษนั้นมีความเหมือนกันทั้งประโยคหรือสวนหนึ่งของตัวบทหะดีษ ขอมูลสายรายงานและสถานะของผูรายงานหะ ดีษ โดยพิจารณาสายรายงานที่เปนมุตาบะอะฮฺเปนหลัก การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลจะดําเนินการ 3 ดาน คือ ตัวบท สายรายงานและสถานภาพ 1) การวิเคราะหตัวบท ศึกษาวิเคราะหความเหมือน และความแตกตางของหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยที่ปรากฏในหนังสือคุณคา ของอะมาล กับตัวบทหะดีษจากหนังสือริวายะฮฺ ซึ่งจะยึดเอาตัวบทที่มีความหมายใกลเคียงและสอดคลองกับหะดีษเฉพาะ ความหมายภาษาไทยที่ปรากฏในเอกสารวิจัยมากที่สุด 2) การวิเคราะหสายรายงาน ก. ศึกษาวิเคราะหสายรายงานโดยยึดสายรายงานของหะดีษที่มีความใกลเคียงกับความหมายของหะดีษที่ระบุไว ในหนั งสือคุ ณคาของอะมาลเปนหลัก กลาวคือ หากหะดีษมี ระบุผู บันทึ กเพียงคนเดียวเทานั้ น จะทําการวิเคราะหสาย รายงานของหะดีษนั้น และหากระบุผูบันทึก 2 คนขึ้นไป จะยึดสายรายงานของหะดีษที่เหมือนกับตัวบทหะดีษในหนังสือริ วายะฮฺเปนที่ตงั้ ข. ศึ กษาวิ เคราะห สายรายงานของหะดี ษจะดําเนิ นการศึ กษาสถานะด านคุ ณธรรมและความบกพร องของ ผูรายงานแตละทานในสายรายงาน ยึดถือทัศนะของนักวิจารณ หะดีษที่ไดรับการยอมรับโดยยึดทัศนะของอุละมาอฺมุอฺตะดิ ลีน (ทัศนะเป นกลาง) เป นหลัก เช น ทัศนะของอัลหาฟซอิบนุ หัจญ ร อัลอัสเกาะลานี ยในหนังสือตะฮฺ ซีบ อั ตตะฮฺ ซี บ (‫ﺬﻳﺐ ﺍﻟﺘﻬﺬﻳﺐ‬ ‫ )ﻛﺘﺎﺏ‬หนังสือตักรีบ อัตตะฮฺซีบ (‫ )ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻘﺮﻳﺐ ﺍﻟﺘﻬﺬﻳﺐ‬และหนังสือลิสานอัลมิซาน (‫)ﻛﺘﺎﺏ ﻟﺴﺎﻥ ﺍﳌﻴﺰﺍﻥ‬ ทัศนะของอัลหาฟซ อัลซะฮะบิยในหนังสือมีซาน อัล อิอฺติดาล (‫ )ﻛﺘﺎﺏ ﻣﻴﺰﺍﻥ ﺍﻹﻋﺘﺪﺍﻝ‬ทัศนะของอัลหาฟซ อัลมิซซียใน หนังสือตะฮซีบอัลกะมาล (‫ﺬﻳﺐ ﺍﻟﻜﻤﺎﻝ‬ ‫ )ﻛﺘﺎﺏ‬เปนตน 3) การวิเคราะหสถานภาพของหะดีษ การศึกษาวิเคราะหสถานภาพของหะดีษ โดยมีวิธีการวิเคราะห คือ ก. หะดีษบันทึกโดยอัลบุคอรียและมุสลิมในหนังสือเศาะเหียะห และสายรายงานซะฮับ เชน หะดีษรายงานโดยอัช ชาฟอีย จากมาลิก จากนาฟอฺ จากอิบนุ อุมัร  จากทานเราะสูลลอฮฺ  จะตัดสินเปนหะดีษเศาะเหียะห ข. หะดีษบันทึกโดยอิหมามทานอื่นๆ จะทําการศึกษาสถานภาพของหะดีษ และการเลื่อนฐานะของแตละหะดีษ เชน หะดีษเศาะเหียะหลิฆอยริฮฺ และหะดีษหะสันลิฆอยริฮฺ ซึ่งจะใชเทคนิคการวิเคราะห 2 ประเภท คือ การวิเคราะหเชิง ยืนยันและการวิเคราะหเชิงสํารวจ การวิเคราะหเชิงยืนยัน เปนการตรวจสอบสายรายงานที่ถูกตองในการกําหนดสถานภาพของหะดีษตามหลักการ หะดีษหรือยืนยันสถานภาพของหะดีษที่คนพบ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

48

- การวิเคราะหเชิงสํารวจ เปนการตรวจสอบสายรายงานเพื่อระบุสถานภาพของ หะดีษแตละบท โดยการยึ ด ทัศนะของอุละมาอฺเพียงอยางเดียว ไมมีการศึกษารายละเอียดของสายรายงาน ซึ่งเทคนิคการวิเคราะหเชิงสํารวจจะใชใน กรณีที่ผูวิจัยไมพบสถานะของผูรายงาน ดังภาพประกอบ สายรายงานตน

สถานภาพของผูรายงาน

(ทัศนะของอุละมาอฺ) อัลญัรหฺและอัตตะอฺดีล

ตัดสินสถานภาพของหะดีษ สายรายงานตน - ซะฮับ - เศาะเหียะห - เมาฎั๊วะ - หะสัน - เฎาะอีฟ

สายรายงานตาม หะสัน เฎาะอีฟ

สถานภาพของหะดีษ หะดีษเศาะเหียะห หะดีษเศาะเหียะห หะดีษเมาฎั๊วะ

หะดีษเศาะเหียะหลิฆอยริฮฺ หะดีษหะสันลิฆอยริฮฺ

ภาพประกอบที่ 1 โมเดลการตัดสินหะดีษเชิงยืนยัน สายรายงานตน

แหลงบันทึก

(รวบรวมหะดีษจากแหลง)

กําหนดสถานภาพของหะดีษ ทัศนะของอุละมาอฺ - เศาะเหียะห - หะสัน - เฎาะอีฟ - เฎาะอีฟญิดดัน - เมาฎั๊วะ

สถานภาพของหะดีษ -

หะดีษเศาะเหียะห (ลิซาติฮฺหรือลิฆอยริฮ)ฺ หะดีษหะสัน (ลิซาติฮฺหรือลิฆอยริฮ)ฺ หะดีษเฎาะอีฟ หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน หะดีษเมาฎั๊วะ

ภาพประกอบที่ 2 โมเดลการตัดสินหะดีษเชิงสํารวจ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

49

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

4) การตัดสินสถานภาพของหะดีษแตละตัวบทโดยการตัรญีหฺ (ใหน้ําหนัก) พรอมกับอธิบายสาเหตุของการ ตัดสินหะดีษอยางชัดเจน อนึ่ง กรณีที่ผูวิจัยไมพบตัวบทภาษาอาหรับที่จะนํามาเทียบกับหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยที่ปรากฏใน หนั ง สื อคุ ณ ค าของอะมาล ผู วิ จั ย จะระบุ ว า “ไม พ บตั ว บทหะดี ษ ” และหากพบเพี ย งแค ตั ว บท ไม พ บทั ศ นะของ นักวิชาการ ผูวิจัยจะระบุวา “ไมพบสถานภาพของหะดีษ” การนําเสนอขอมูล การนํ าเสนอผลการตัครีจ ญห ะดี ษโดยเรี ยงตามลํ าดั บความสํ าคั ญของหัว ขอประกอบดว ย หะดีษ เฉพาะ ความหมายภาษาไทยที่ปรากฏในหนังสือคุณคาของอะมาล ตัวบทหะดีษภาษาอาหรับที่นํามาเทียบ อธิบายสถานภาพ ของผู รายงานหะดี ษ วาอยู ใ นระดั บใด เชน อบู ฮุร อยเราะฮฺ : ‫( ﺻﺤﺎﰊ ﺟﻠﻴﻞ‬al-‘Asqalani, 1991: 28) ชุอฺบ ะฮฺ เบ็ น อั ล หั จ ญาจ อั ล บั ศ รี ย : ‫( ﺛﻘﺔ ﺣﺎﻓﻆ ﻣﺘﻘﻦ‬al-‘Asqalani, 1991: 266/2790) เป น ต น และการตั ครี จ ญ หะดี ษ โดย ดําเนินการดังนี้ 1) ระบุชื่อนักปราชญผูบันทึกหะดีษและหมายเลขกํากับหะดีษ เชน อัลบุคอรีย (45) มุสลิม (105) อบูดาวุด (150) เปนตน 2) ระบุชื่อนักปราชญและชื่อหนังสือในกรณีที่ใชหนังสือมากกวาหนึ่งเลม เชน อัลอัลบานี ในเฎาะอีฟอัตติรมี ซีย (25) 3) ระบุสถานภาพหรือระดับของหะดีษ ซึ่งสถานภาพของหะดีษประกอบดวย หะดีษเศาะเหียะหลิซาติฮฺ หะ ดีษ เศาะเหียะหลิ ฆ อยริ ฮฺ หะดี ษหะสั นลิ ซ าติ ฮฺ หะดี ษ หะสั นลิ ฆ อยริ ฮฺ หะดี ษเฎาะอี ฟ หะดี ษเฎาะอี ฟ ญิด ดั น หะดี ษ เมาฎั๊วะ หะดีษที่ไมพบตัวบท และหะดีษที่ไมพบสถานภาพ สรุปผลการวิจัย การวิจัยเรื่องตัครีจญตัวบทหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ผูวิจัยขอสรุปผลการตัครีจญ หะดีษในหนังสือคุณคาของอะมาล ดังนี้ 1. จํานวนตัวบทหะดีษที่ผูวิจัยทําการตัครีจญมีจํานวนทั้งสิ้น 441 หะดีษ 2. มาตรฐานของตัวบทหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของ อะมาล สามารถแบงเปน 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 แบงตามสถานภาพของหะดีษ ดังนี้ 2.1.1 หะดีษเศาะเหียะห มีจํานวน 160 หะดีษ คิดเปน 36.28% แบงออกเปนสองชนิด ไดแก ก. หะดีษเศาะเหียะหลิซาติฮฺ มีจํานวน 82 หะดีษ ข. หะดีษเศาะเหียะหลิฆอยริฮฺ มีจํานวน 78 หะดีษ 2.1.2 หะดีษหะสัน มีจํานวน 78 หะดีษ คิดเปน 17.68% แบงออกเปนสามชนิด ไดแก ก. หะดีษหะสันลิซาติฮฺ จํานวน 43 หะดีษ ข. หะดีษหะสันลิฆอยริฮฺ จํานวน 30 หะดีษ ค. หะดีษหะสันเศาะเหียะห จํานวน 5 หะดีษ 2.1.3 หะดีษเฎาะอีฟ มีจํานวน 132 หะดีษ คิดเปน 29.93% 2.1.4 หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน มีจํานวน 35 หะดีษ คิดเปน 7.93% 2.1.5 หะดีษเมาฎั๊วะ มีจํานวน 25 หะดีษ คิดเปน 5.66%

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

50

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

2.1.6 หะดีษที่ไมพบสายรายงานและสถานภาพของหะดีษ มีจํานวน 11 หะดีษ คิดเปน 2.49% 2.2 แบงตามประเภทหะดีษในการนําไปใชเปนหลักฐาน สามารถแบงออกไดเปน 3 ชนิด ไดแก 2.2.1 หะดีษที่สามารถนําไปใชเปนหลักฐานไดกับทุกเรื่อง มีจํานวน 238 หะดีษ คิดเปน 53.96% 2.2.2 หะดี ษที่ส ามารถนํ าไปใช เปน หลัก ฐานไดเ ฉพาะกับ บางเรื่ อง มีจํานวน 132 หะดีษ คิด เป น 29.93% 2.2.3 หะดีษที่ไมสามารถนําไปใชเปนหลักฐานในทุกกรณี มีจํานวน 71 หะดีษ คิดเปน 16.09% 3. มาตรฐานในการอางอิงหนังสือ แบงตามที่ปรากฏในหนังสือรวบรวมหะดีษไดดังนี้ 3.1 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลญามิอฺ มีจํานวน 66 หะดีษ คิดเปน 14.96% ประกอบดวย 3.1.1 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลญามิอฺของอัลบุคอรีย และอัลญามิอฺของมุสลิม มีจํานวน 20 หะ ดีษ คิดเปน 4.53% 3.1.2 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลญามิอฺของอัลบุคอรีย เพียงทานเดียว มีจํานวน 23 หะดีษ คิด เปน 5.21% 3.1.3 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลญามิอฺของมุสลิม เพียงทานเดียว มีจํานวน 23 หะดีษ คิดเปน 5.21% 3.2 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลศิหฺหาหฺ มีจํานวน 34 คิดเปน 7.70% ประกอบดวย 3.3 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัสสุนัน มีจํานวน 125 คิดเปน 28.34% ประกอบดวย 3.4 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลมะสานีด มีจํานวน 106 หะดีษ คิดเปน 24.03% 3.5 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลมุศอนนัฟ มีจํานวน 6 หะดีษ คิดเปน 1.36% 3.6 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออะมัล อัลเยามฺ วัลลัยละฮฺ มีจํานวน 2 หะดีษ คิดเปน 0.45% 3.7 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลฟะฎออิล มีจํานวน 1 หะดีษ คิดเปน 0.22% 3.8 หะดีษที่มีบันทึกในหนังสือนอกเหนือจากประเภทตางๆ ที่กลาวมาขางตน มีจํานวน 101 หะดีษ คิด เปน 22.90% 4. มาตรฐานการนําหะดีษมาใชเปนหลักฐานในเรื่องตางๆ สามารถจําแนกตามหัวขอในหนังสือไดดังนี้ 4.1 ความสําคัญของการละหมาด มีจํานวน 96 หะดีษ คิดเปน 21.76% แบงออกไดดังนี้ ก. หะดีษเศาะเหียะห จํานวน 50 หะดีษ แบงออกเปน ข. หะดีษหะสัน จํานวน 10 หะดีษ แบงออกเปน ค. หะดีษเฎาะอีฟ จํานวน 22 หะดีษ ง. หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน จํานวน 7 หะดีษ จ. หะดีษเมาฎั๊วะ จํานวน 4 หะดีษ ฉ. ไมพบสายรายงานและสถานภาพของหะดีษ จํานวน 3 หะดีษ 4.2 คุณคาอัลกุรอาน มีจํานวน 84 หะดีษ คิดเปน 19.04% แบงออกไดดังนี้ ก. หะดีษเศาะเหียะห จํานวน 19 หะดีษ ข. หะดีษหะสัน จํานวน 12 หะดีษ ค. หะดีษเฎาะอีฟ จํานวน 32 หะดีษ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

51

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ง. หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน จํานวน 8 หะดีษ จ. หะดีษเมาฎั๊วะ จํานวน 6 หะดีษ ฉ. ไมพบสายรายงานและสถานภาพของหะดีษ จํานวน 6 หะดีษ 4.3 คุณคารอมฎอน จํานวน 65 หะดีษ คิดเปน 14.74% แบงออกไดดังนี้ ก. หะดีษเศาะเหียะห จํานวน 23 หะดีษ ข. หะดีษหะสัน จํานวน 15 หะดีษ ค. หะดีษเฎาะอีฟ จํานวน 14 หะดีษ ง. หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน จํานวน 6 หะดีษ จ. หะดีษเมาฎั๊วะ จํานวน 7 หะดีษ 4.4 คุณคาของการตับลีฆ มีจํานวน 35 หะดีษ คิดเปน 7.93% ประกอบดวย ก. หะดีษเศาะเหียะห จํานวน 15 หะดีษ ข. หะดีษหะสัน จํานวน 10 หะดีษ ค. หะดีษเฎาะอีฟ จํานวน 8 หะดีษ ง. หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน จํานวน 2 หะดีษ 4.5 คุณคาของการซิกร มีจํานวน 161 หะดีษ คิดเปน 36.50% ประกอบดวย ก. หะดีษเศาะเหียะห จํานวน 53 หะดีษ ข. หะดีษหะสัน จํานวน 31 หะดีษ ค. หะดีษเฎาะอีฟ จํานวน 56 หะดีษ ง. หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน จํานวน 12 หะดีษ จ. หะดีษเมาฎั๊วะ จํานวน 7 หะดีษ ฉ. ไมพบสายรายงานและสถานภาพของหะดีษ จํานวน 2 หะดีษ 5. มาตรฐานสายรายงานหะดีษ สามารถแบงออกได ดังนี้ 5.1 จําแนกตามจํานวนผูรายงาน แบงออกได ดังนี้ 5.1.1 ประเภทอาลีย จํานวน 137 หะดีษ คิดเปน 31.06% 5.1.2 ประเภทนาซิล จํานวน 293 หะดีษ คิดเปน 66.44% 5.1.3 ไมพบสายรายงาน จํานวน 11 หะดีษ คิดเปน 2.50% 5.2 จําแนกตามการรายงานติดตอกัน สามารถแบงออกไดเปนสองชนิด ดังนี้ 5.2.1 ประเภทมุตตะศิล มีจํานวน 395 หะดีษ คิดเปน 89.57% 5.2.2 ประเภทมุนเกาะฏิอฺ มีจํานวน 22 หะดีษ คิดเปน 4.98% 5.2.3 ประเภทมุรสัล มีจํานวน 13 หะดีษ คิดเปน 2.95% 5.2.4 ไมพบสายรายงานจํานวน 11 หะดีษ คิดเปน 2.50% 6. มาตรฐานของตัวบทและความหมายหะดีษ สามารถแบงออกไดดังนี้ 6.1 ความหมายสอดคลองกับตัวบท จํานวน 160 หะดีษ คิดเปน 36.28% 6.2 ความหมายสอดคลองกับตัวบท (สวนหนึ่งของตัวบทหะดีษ) จํานวน 85 หะดีษ คิดเปน 19.27% 6.3 ความหมายโดยสรุป จํานวน 116 หะดีษ คิดเปน 26.30% 6.4 ความหมายโดยสรุป (สวนหนึ่งของตัวบทหะดีษ) จํานวน 81 หะดีษ คิดเปน 18.36%

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

52

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

อภิปรายผล จากการวิจัยเรื่องตัครีจญตัวบทหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะ ดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ผูวิจัยขออภิปรายผลตามผลการวิจัยดังนี้ 1. ผลการวิ จั ยพบว า มาตรฐานของหะดีษ ในหนั ง สือคุ ณค าของอะมาลจําแนกตามสถานภาพของหะดี ษ ปรากฎหะดีษเศาะเหียะห จํานวน 160 หะดีษ คิดเปน 36.28% มากที่สุด รองลงมา หะดีษเฎาะอีฟ มีจํานวน 132 หะ ดีษ คิดเปน 29.93% หะดีษหะสัน มีจํานวน 78 หะดีษ คิดเปน 17.68% หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน มีจํานวน 35 หะดีษ คิด เปน 7.93% หะดีษเมาฎั๊วะ มีจํานวน 25 หะดีษ คิดเปน 5.66% หะดีษที่ไมพบสายรายงานและสถานภาพของหะดีษ มี จํานวน 11 หะดีษ คิดเปน 2.49% ตามลําดับ จากผลการวิจัยขางตน สามารถกลาวไดวา ทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ใหความสําคัญกับการนําหะ ดีษที่มีมาตรฐานอยูในระดับเศาะเหียะหมาใชเปนหลักฐาน สอดคลองกับอับดุลเลาะ หนุมสุข และอับดุลเลาะ การีนา ที่ไ ด ทําการศึ ก ษาตั ครี จญ ตั ว บทหะดีษ ในหนั ง สื อคุ ณ ค าของอะมาลของชัยคุ ล หะดี ษ เมาลานา มุฮั มมั ด ซะกะรี ยา ผลสรุปที่ไดคือ หะดีษเศาะเหียะหมีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 55.45 ซึ่งถือวาเกินกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนหะดีษ ที่ไดทําการตัครีจญทั้งหมด ชี้ใหเห็นวา ตัวบทหะดีษ และหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยที่ปรากฏในหนังสือคุ ณคา ของอะมาลฯ นั้น บรรจุหะดีษที่เปนหะดีษเศาะเหียะหมากที่สุด สิ่งดังกลาวยอมแสดงถึงความเชี่ยวชาญของทานเมาลา นา มุฮัมมัด ซะกะรียา ในดานวิชาการหะดีษในการคัดสรรหะดีษที่เศาะเหียะหมาใชเพื่อประกอบในการเปนหลักฐาน อยางไรก็ตาม ปรากฏหะดีษอีกจํานวนหนึ่ง มีจํานวนถึง 133 หะดีษ เปนผลการวิจัยลําดับรองลงมา โดยคิด เปน 29.93% ถือเปนเกือบเศษหนึ่งสวนสามของจํานวนหะดีษที่ไดทําการตัครีจญทั้งหมดที่เปนหะดีษเฎาะอีฟ ซึ่งถือ วามากพอสมควร ปรากฏในหนังสือของทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา แตกระนั้นก็ตาม จะพบวาเปนเรื่องปกติที่ หนังสือในแนวนี้จะไมปลอดจากหะดีษเฎาะอีฟและเมาฎั๊วะ ผลการวิจั ยยั งปรากฏอีก วา หะดีษ เฎาะอีฟ ญิด ดัน มี จํานวน 35 หะดีษ คิ ดเปน 7.93% หะดี ษเมาฎั๊ว ะ มี จํานวน 25 หะดีษ คิดเปน 5.66% หะดีษทั้งสองสถานภาพเมื่อนํามารวมกันก็จะได 60 หะดีษ คิดเปน 13.60% ถือวา มากพอสมควร การปรากฏหะดีษทั้ งสองระดับ นี้ใ นหนั งสื อของทานเมาลานา มุ ฮัมมั ด ซะกะรี ยา มีผลทําใหความ นาเชื่อถือทางวิชาการในหนังสือของทานลดต่ําลง อันเนื่องจากวา หะดีษทั้งสองระดับนี้มีสาเหตุมาจากความบกพรอง ในดานคุณธรรมของผูรายงาน ซึ่งหะดีษที่มีสาเหตุมาจากเหตุผลดังกลาว ยอมทําใหความนาเชื่อถือลดนอยลง และหะ ดีษทั้งสองระดับนี้ยังไมสามารถที่จะนํามาใชเปนหลักฐานไดไมวาจะในกรณีใดๆ ก็ตาม ทั้งในเรื่องศาสนา และดุนยา ซึ่งบรรดาอุละมาอฺ ตางเห็นพองกันวา หะดีษจําพวกนี้ไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานในทุกกรณี 2. ผลการวิ จัยพบว า มาตรฐานของหะดีษ ในหนัง สือคุณ ค าของอะมาลจําแนกตามประเภทหะดี ษในการ นําไปใชเปนหลักฐาน พบวา หะดีษที่สามารถนําไปใชเปนหลักฐานได มีจํานวน 238 หะดีษ คิดเปน 53.96% มากที่สุด รองลงมา คือ หะดีษที่สามารถนําไปใชเปนหลักฐานไดเฉพาะกับบางเรื่อง มีจํานวน 132 หะดีษ คิดเปน 29.93% และ หะดีษที่ไมสามารถนําไปใชเปนหลักฐานในทุกกรณี มีจํานวน 71 หะดีษ คิดเปน 16.09% ตามลําดับ จากผลการวิจัยขางตน สามารถกลาวไดวา ทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ใหความสําคัญกับการนําหะ ดีษที่ไดมาตรฐานมาใชเปนหลักฐานไดเกินกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนหะดีษที่ทําการตัครีจญ ดังที่กลาวมาแลวขางตน และปรากฏหะดีษอีกจํานวนหนึ่ง มีจํานวนถึง 132 หะดีษ เปนผลการวิจัยลําดับรองลงมา โดยคิดเปน 29.93% ถือเปน เกือบเศษหนึ่งส วนสามของจํานวนหะดี ษที่ได ทําการตั ครีจญ ทั้งหมดที่ เปนหะดีษ เฎาะอีฟ ซึ่ง ถือว ามากพอสมควร อยางไรก็ตาม บรรดาปราชญมีขอคิดเห็นที่แตกตางกันในการนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐานแบงออกไดเปนสาม กลุมคือ กลุมที่หนึ่ง อนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอีฟไปใชเปนหลักฐานไดในทุก ๆ เรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนา เชน อะกี

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

53

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ดะฮฺ อิบาดะฮฺ หุกมหะกัม เรือ่ งราวตาง ๆ คุณคาของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามทําความชั่ว อุละมาอฺกลุมนี้ไดแก อิหมามอะบูหะนีฟะฮฺ อิหมามอะหฺมัด เบ็น หันบัล อิหมามอับดุลเราะหฺมาน เบ็น มะฮฺดีย และ ทานอื่น ๆ ที่มีความเห็นเหมือนกัน ซึ่งเหตุผลของอุละมาอฺกลุมนี้ไดแก หะดีษเฎาะอีฟมีฐานะดีกวาการใชหลักการกิ ยาส (อนุมาน) และความคิดของคนใดคนหนึ่ง (al-Qasimi, 1987 : 93) กลุมที่สอง ไมอนุญาตนําหะดีษเฎาะอีฟมาใช เปนหลักฐานที่เกี่ยวกับทุก ๆ เรื่องของศาสนาโดยเด็ดขาด (al-Suyuti, 1966 : 1/196) การปฏิบัติของอุละมาอฺกลุมนี้ ตรงกันขามกับอุละมาอฺกลุมแรกโดยสิ้นเชิง ซึ่งอุละมาอฺกลุมนี้ไดแก อิหมามอัลบุคอรีย อิหมามมุสลิม ยะหฺยา เบ็น มะอีน อะบูบักรฺ อิบนุ อัลอะรอบีย (al-Suyuti, 1966 : 1/196) อิบนุหัซมฺ อะบูชาเมาะฮฺ และอัชเชาวกานีย (al-Qasimi, 1987 : 94) โดยที่เหตุผลของอุละมาอฺกลุมนี้ คือ หะดีษเศาะเหียะหและหะดีษหะซันที่กลาวถึงเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนามี มากมายเพียงพอตอการนําไปใชเปนหลักฐานได และที่สําคัญ คือ การยืนยันหุกม ของแตละเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนาก็ ตองมาจากหะดีษเศาะเหียะหและหะดีษหะสัน ไมใชมาจากหะดีษเฎาะอีฟ (al-Qasimi, 1987 : 94) และกลุมสุดทาย กลุมที่ส าม อนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอี ฟเปน หลักฐานและปฏิบัติ ตามไดเฉพาะหะดี ษเฎาะอีฟที่ เกี่ ยวของกั บคุณค า ของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามทําความชั่ว และเกีย่ วกับเรื่องที่เปนหุกมสุนัต กลุมนี้แบงออกเปน 2 ทัศนะ ทัศนะที่ 1 มีความเห็นวาอนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอีฟใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามไดเฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่อง ดังกลาวเทานั้นโดยไมมีเงื่อนไขใด ๆ ทัศนะนี้เปนทัศนะของอิบนุ อัลมุบารอก สุฟยาน อัษเษารีย ซุฟยาน เบ็น อุยัยนะฮฺ และอัลหาฟศ อัซซะคอวีย (al-Qasimi, 1987 : 94) ทัศนะที่ 2 อนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอีฟเปนหลักฐานและปฏิบัติ ตามที่เ กี่ยวกับ คุณคาของอะมาล การสนั บสนุน ใหทําความดี และหามปรามการทํ าความชั่ว และสิ่ง ที่ เปนหุ กมสุนั ต เทานั้นโดยมีเงื่อนไข 3 ประการดังนี้ ประการแรก หะดีษนั้นตองไมใชเปนหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน (ออนมาก) ประการที่ สอง เนื้อหาของหะดีษเฎาะอีฟที่กลาวถึงเรื่องที่เกี่ยวของนั้นตองสอด คลองกับหลักการทั่วไปของศาสนา (อัลกุรอาน และอัลหะดีษ) ประการที่สาม ไมยึดมั่ นวาเปนหะดีษที่มาจากทานนบี  จริ ง แตเปนการปฏิบั ติในลักษณะเผื่อไว เทานั้น) ทัศนะนี้เปนทัศนะของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย จากบรรดาทัศนะตางๆ ในการนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐานขางตน ผูวิจัยมีความเห็นวาทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ยึดทั ศนะของกลุมที่ส าม กล าวคือ อนุญาตใหนํ าหะดีษ เฎาะอีฟ มาใช เปน หลั กฐานไดใ นส วนที่ เกี่ยวของกั บการสนับ สนุนใหกระทําความดี และสั่ง หามใหละเวนความชั่ ว ดวยกับ เหตุผลที่ว า ตัวบทหะดีษที่อยูใ น ระดับเฎาะอีฟที่ปรากฏในหนังสือของทานนั้น เปนหะดีษเฎาะอีฟที่มีจํานวนมากพอสมควร โดยที่หนังสือของทานก็จัด อยูในประเภทหนังสือ “อัตตัรฆีบวัตตัรฮีบ” ซึ่งหมายถึง หนังสือในแนวการสั่งใชใหทําความดี และสั่งหามใหทําความ ชั่ว จึงไมเปนการแปลกที่หะดีษที่เฎาะอีฟจะปรากฏในหนังสือของทาน ผูวิจัยมีความเห็นอีกประการหนึ่งวา สิ่งหนึ่งที่เปนแรงผลักดันประการสําคัญสําหรับทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ในการที่จะนําเสนอตัวบทหะดีษตางๆ มาโดยทานปรารถนาในอันที่จะสนองตอบคําสั่งของทานเราะสูล  และหวังถึงความประเสริฐของผูรายงานหะดีษ ดังที่ทานไดกลาววา ‫ﻠﹶﻲ‬‫ ﻋ‬‫ ﻛﹶﺬﹶﺏ‬‫ﻦ‬‫ﻣ‬‫ ﻭ‬‫ﺝ‬‫ﺮ‬‫ﻟﹶﺎ ﺣ‬‫ﻴﻞﹶ ﻭ‬‫ﺍﺋ‬‫ﺮ‬‫ﻨﹺﻲ ﺇﹺﺳ‬‫ ﺑ‬‫ﻦ‬‫ﺛﹸﻮﺍ ﻋ‬‫ﺪ‬‫ﺣ‬‫ﺔﹰ ﻭ‬‫ ﺁﻳ‬‫ﻟﹶﻮ‬‫ﻲ ﻭ‬‫ﻨ‬‫ﻮﺍ ﻋ‬‫ﻠﱢﻐ‬‫ ﻗﹶﺎﻝﹶ "ﺑ‬‫ﻠﱠﻢ‬‫ﺳ‬‫ ﻭ‬‫ﻪ‬‫ﻠﹶﻴ‬‫ ﻋ‬‫ﻠﱠﻰ ﺍﻟﻠﱠﻪ‬‫ ﺻ‬‫ﺒﹺﻲ‬‫ﺃﹶﻥﱠ ﺍﻟﻨ‬ "‫ﺎﺭﹺ‬‫ ﺍﻟﻨ‬‫ﻦ‬‫ ﻣ‬‫ﻩ‬‫ﺪ‬‫ﻘﹾﻌ‬‫ﺃﹾ ﻣ‬‫ﻮ‬‫ﺒ‬‫ﺘ‬‫ﺍ ﻓﹶﻠﹾﻴ‬‫ﺪ‬‫ﻤ‬‫ﻌ‬‫ﺘ‬‫ﻣ‬ ความวา “ทานทั้งหลายจงเผยแผจากฉันแมเพียงหนึ่งอายะฮฺ (เพียงนอยนิด) ก็ตาม และจงรายงานจากบนีอิส รออีล โดยมิตองวิตกกังวลใดๆ และผูใดโกหกตอฉัน เขาก็จงเตรียมที่นั่งของเขาในไฟนรก” (หะดีษบันทึกโดยอัลบุคอ รีย หะดีษหมายเลข 3461)

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

54

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ทานเราะสูลไดกลาวขอพรใหกับบรรดาผูรายงานหะดีษ โดยกลาววา

‫ﻪ‬‫ﻨ‬‫ ﻣ‬‫ ﺃﹶﻓﹾﻘﹶﻪ‬‫ﻮ‬‫ ﻫ‬‫ﻦ‬‫ ﺇﹺﻟﹶﻰ ﻣ‬‫ﻘﹾﻪ‬‫ﻞﹺ ﻓ‬‫ﺎﻣ‬‫ ﺣ‬‫ﺏ‬‫ﺎ ﻓﹶﺮ‬‫ﻬ‬‫ﻠﱠﻐ‬‫ﺑ‬‫ﺎ ﻭ‬‫ﻈﹶﻬ‬‫ﻔ‬‫ﺣ‬‫ﺎ ﻭ‬‫ﺎﻫ‬‫ﻋ‬‫ﻲ ﻓﹶﻮ‬‫ﻘﹶﺎﻟﹶﺘ‬‫ ﻣ‬‫ﻊ‬‫ﻤ‬‫ﺃﹰ ﺳ‬‫ﺮ‬‫ ﺍﻣ‬‫ ﺍﻟﻠﱠﻪ‬‫ﺮ‬‫ﻀ‬‫ﻧ‬ ความวา “ขออัลลอฮฺทรงโปรดประทานความสดชื่นและความสวยงามใหแกบุคคลหนึ่งที่เขาไดยินคําพูดของ ฉัน มีความเขาใจ แลวเขาก็จดจํา และนํามันไปรายงานตอ (ยังผูอื่น) ซึ่งบางครั้งผูที่รายงานไดรายงานใหกับผูที่มีความ เขาใจมากกวาเขา” (หะดีษบันทึกโดยอัตติรมีซีย หะดีษหมายเลข 2656)1 ทานเราะสูลไดกลาวไวในหะดีษอีกบทหนึ่งวา

‫ﻠﹶﺎﺓﹰ‬‫ ﺻ‬‫ﻠﹶﻲ‬‫ ﻋ‬‫ﻢ‬‫ﻫ‬‫ ﺃﹶﻛﹾﺜﹶﺮ‬‫ﺔ‬‫ﺎﻣ‬‫ﻴ‬‫ ﺍﻟﹾﻘ‬‫ﻡ‬‫ﻮ‬‫ﺎﺱﹺ ﺑﹺﻲ ﻳ‬‫ﻟﹶﻰ ﺍﻟﻨ‬‫ ﻗﹶﺎﻝﹶ ﺃﹶﻭ‬‫ﻠﱠﻢ‬‫ﺳ‬‫ ﻭ‬‫ﻪ‬‫ﻠﹶﻴ‬‫ ﻋ‬‫ﻠﱠﻰ ﺍﻟﻠﱠﻪ‬‫ ﺻ‬‫ﻮﻝﹶ ﺍﻟﻠﱠﻪ‬‫ﺳ‬‫ﺃﹶﻥﱠ ﺭ‬ ความวา แทจริงทานเราะสูล  กลาววา “ผูที่ดีที่สุดตอขาพเจาในวันกิยามะฮฺนั้น คือผูที่กลาวเศาะลาวาตตอ ขาพเจามากที่สุด” (หะดีษบันทึกโดยอัตติรมีซีย หะดีษหมายเลข 484)2 หะดีษบทนี้ทานอบูหาติม ไดกลาวถึงหะดีษบทนี้วา “หะดีษบทนี้บอกถึงความประเสริฐของนักหะดีษเนื่องจาก ไมมีหมูชนใดในประชาชาตินี้กลาวเศาะลาวาตตอทานนบีมากกวาบรรดานักหะดีษ” (Ibn Hibban, 1993: 1/84) จากหะดีษตางๆ ที่กลาวมาขางตน จึงไมแปลกใจเลยวาเหตุผลใดที่ทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ถึงไดมี ความพยายามที่จะนําเสนอตัวบทหะดีษตางๆ มาบรรจุไวในหนังสือของทาน โดยทานมีความหวังถึงภาคผลที่จะไดรับที่ ทานเราะสูลไดสัญญาไวนั่นเอง 3. ผลการวิจัยพบวา มาตรฐานในการอางอิงหนังสือ แบงตามที่ปรากฏในหนังสือรวบรวมหะดีษ พบวา หะ ดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัสสุนัน มีจํานวน 125 คิดเปน 28.34% มากที่สุด รองลงมาคือ หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัล มะสานีด มีจํานวน 106 หะดีษ คิดเปน 24.03% หะดีษที่ มีบันทึก ในหนังสื อนอกเหนือจากประเภทตางๆ ที่ กลาวมา ขางตน มีจํานวน 101 หะดีษ คิด เป น 22.90% หะดี ษที่มีบัน ทึกในหนังสื ออั ลญามิอฺ มีจํ านวน 66 หะดีษ คิด เป น 14.96% หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลศิหฺหาหฺ มีจํานวน 34 คิดเปน 7.70% หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลมุศอนนัฟ มี จํานวน 6 หะดีษ คิ ดเปน 1.36% หะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออะมัล อัลเยามฺ วัลลัยละฮฺ มีจํานวน 2 หะดีษ คิดเป น 0.45% และหะดีษที่มีบันทึกในหนังสืออัลฟะฎออิล มีจํานวน 1 หะดีษ คิดเปน 0.22% ตามลําดับ จากผลการวิจัยข างตน สามารถกลาวไดว า หะดีษ เฉพาะความหมายภาษาไทยที่ปรากฏในหนั งสือคุณค า ของอะมาลนั้น สวนใหญถูกบันทึกในหนังสือสุนัน สิ่งดังกลาว สอดคลองกับสถานภาพของหะดีษที่สรุปผลมาขางตน ซึ่งจะเห็นวามาตรฐานของหะดีษสวนใหญเปนหะดีษเศาะเหียะห ซึ่งหะดีษที่ปรากฏในหนังสือสุนันสวนใหญก็จะเปนหะ ดีษที่มีมาตรฐานทั้งในระดับที่เศาะเหียะห และหะสัน อยางไรก็ตาม ตัวบทหะดีษที่ปรากฏในหนังสือของทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา นั้นปรากฏในการบันทึกในหนังสือที่หลากหลายมาก ตําราที่ทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา นํา หะดีษมาอางอิงนั้น บางสวนไมเปนที่รูจัก บางสวนเปนที่รูจักแตไมนิยมนํามาใชอางอิง อันเนื่องมาจากสถานภาพของ หะดีษที่ปรากฏในหนังสือเหลานั้นไมอยูในขั้นที่เศาะเหียะห ดวยกับสาเหตุนี้ จึงทําใหปรากฏหะดีษที่อยูในระดับเฎาะ 1 2

อัล-นูร

อัตติรมีซีย ระบุวาเปนหะดีษหะสันเศาะเหียะห อัตติรมีซีย ระบุวาเปนหะดีษหะสันเศาะเหียะห


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

55

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

อีฟญิดดัน และเมาฎั๊วะ อยูเปนจํานวนหลายหะดีษ ยอมสงผลทําใหหนังสือของทานไดรับการวิจารณอยางรุนแรงถึ ง การนําหะดีษที่ไมไดมาตรฐานดังกลาวมาบรรจุไวในหนังสือของทาน 4. ผลการวิ จัยพบว า มาตรฐานการนํ าหะดีษ มาใชเ ปน หลัก ฐานในเรื่ องตางๆ ที่ป รากฏในหนัง สื อ พบว า คุณ คาของการซิก ร มี จํานวน 161 หะดี ษ คิด เป น 36.50% มากที่สุ ด รองลงมา ความสํ าคั ญ ของการละหมาด มี จํานวน 96 หะดีษ คิดเปน 21.76% คุณคาอัลกุรอาน มีจํานวน 84 หะดีษ คิดเปน 19.04% คุณคารอมฎอน จํานวน 65 หะดีษ คิดเปน 14.74% และคุณคาของการตับลีฆ มีจํานวน 35 หะดีษ คิดเปน 7.93% ตามลําดับ จากผลการวิจัยขางตน สามารถกลาวไดวา ทานเมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ใหความสําคัญกับการซิก ร มากเปนพิเศษ ดังจะเห็นไดจากผลการวิจัยขางตน และไมเปนเรื่องแปลกแตประการใด เพราะหนังสือในแนวนี้ย อมที่ จะสงเสริ มและสนั บสนุนใหผู คนทั้งหลายทําการรําลึกถึง อัลลอฮฺอยูตลอดเวลา การใหความสํ าคัญกับการหะดีษ ที่ เกี่ยวของกับการซิกรยอมเปนเรื่องที่ดีมากๆ เพราะหากผูคนรําลึกถึงอัลลอฮฺอยูตลอดเวลา ยอมทําใหเขาเกรงกลัวตอ พระองค เมื่อเขาเกรงกลัวตอพระองค ก็จะทําใหเขาไมกลาที่จะกระทําในสิ่งที่เปนความผิด และเมื่ อเขาไมกลาที่จะ กระทําความผิด จะมีผลทําใหสังคมเกิดความสงบสุขดังที่หลายฝายในสังคมตองการ 5. ผลการวิ จัยพบวา มาตรฐานสายรายงานหะดี ษจําแนกตามจํ านวนผูร ายงาน ปรากฏวา สายรายงาน ประเภทนาซิล จํานวน 293 หะดีษ คิดเปน 66.44% มากที่สุด รองลงมา ประเภทอาลีย จํานวน 137 หะดีษ คิดเปน 31.06% และไมพบสายรายงาน จํานวน 11 หะดีษ คิดเปน 2.50% ตามลําดับ จากผลการวิจัยขางตน สามารถกลาวไดวาการปรากฏสะนัดนาซิล มากกวาสะนัดอาลี ยอมเปนเรื่องปกติ ธรรมดา และสอดคล องกั บผลการวิ จั ยข างต น ที่ ร ะบุ ว าหะดี ษ จะปรากฏในหนั ง สื อที่ห ลากหลาย ย อมที่ จ ะทํ าให ผูรายงานมีหลายคน อยางไรก็ตาม ปรากฏสายรายงานที่เปนประเภทอาลี ถึง 137 หะดีษ ซึ่งการปรากฏในลักษณะ เชนนี้ไมงายนักเพราะหะดีษที่ปรากฏผูรายงานในสายรายงานนอยยอมทําใหระดับสถานภาพของหะดีษอยูในระดับ ที่ มาตรฐานไปดวย 6. ผลการวิจัยพบวา สายรายงานหะดีษจําแนกตามการรายงานติดตอกัน ปรากฏวา สายรายงานประเภท มุตตะศิล มีจํานวน 395 หะดีษ คิดเปน 89.57% มากที่สุด รองลงมาคือ ประเภทมุนเกาะฏิอฺ มีจํานวน 22 หะดีษ คิด เปน 4.98% ประเภทมุรสัล มีจํานวน 13 หะดีษ คิดเปน 2.95% ไมพบสายรายงานจํานวน 11 หะดีษ คิดเปน 2.50% ตามลําดับ จากผลการวิ จั ยข างต น สามารถกล าวได ว า การปรากฏสายรายงานที่ เ ป น มุ ต ตะศิ ล เป น จํ า นวนมาก สอดคล องกับ ผลการวิจั ยที่ กล าวมาข างต นถึ ง สถานภาพของหะดีษ แตก็ มีสายรายงานที่ เ ปน ประเภทมุ น เกาะฏิ อฺ ประเภทมุรสัล และไมพบสายรายงาน แตก็เปนจํานวนเพียงนอยนิดเทานั้น 7. ผลการวิจัยพบวา มาตรฐานของตัวบทและความหมายหะดีษ ปรากฏวา หะดีษที่ความหมายสอดคลองกับ ตัวบท จํานวน 160 หะดีษ คิดเปน 36.28% มากที่สุด รองลงมาคือ ความหมายโดยสรุป จํานวน 116 หะดีษ คิดเปน 26.30% ความหมายสอดคล องกั บ ตัว บท (ส วนหนึ่ง ของตั ว บทหะดีษ ) จํ านวน 85 หะดี ษ คิ ด เป น 19.27% และ ความหมายโดยสรุป (สวนหนึ่งของตัวบทหะดีษ) จํานวน 81 หะดีษ คิดเปน 18.36% ตามลําดับ จากผลการวิจัยขางตน สามารถกลาวไดวา หะดีษและความหมายสอดคลองกันมากที่สุด นั้นเปนเรื่องที่ดี เพราะการรายงานหะดีษโดยความหมายสามารถที่จะกระทําได แตตองยึดถึงจุดมุงหมายของตัวบทหะดีษดวย เพราะ มีบางหะดีษในสวนแรกระบุถึงขอหาม แตมีขอยกเวนหลังจากนั้น ฉะนั้น การที่จะรายงานหะดีษใดควรคํานึงถึง เรื่องนี้ ดวย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

56

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

อนึ่ง สิ่งหนึ่งที่ผูวิจัยประสบในขณะทําการศึกษาวิจัย คือ เปนการยากมากที่จะหาตัวบทหะดีษ เพราะบางครั้ง การแปลหะดี ษหรื อความหมายของหะดี ษ เป น เพี ยงส วนหนึ่ ง ของตั ว บท บางส วนเปน การแปลเฉพาะความหมาย โดยรวม ทําใหเปนการยากแกผูวิจัยที่จะคนหาตัวบทของหะดีษ ดังนั้น ผูวิจัยมีความเห็นวา การจะนําเสนอหะดีษควร ใหความสําคัญกับตัวบท หรือไมก็อางอิงตามหลักการที่ถูกตองวานํามาจากแหลงใด และควรระบุใหชัดเจน ไมเชนนั้น แลวจะมีผลทําใหหนังสือตางๆ ที่เรียบเรียงออกมามีมาตรฐานที่ไมเปนที่ยอมรับในแวดวงวิชาการ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะที่ไดรับจากการวิจัย จากการวิจัยเรื่องตัครีจญตัวบทหะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณคาของอะมาลของชัยคุลหะ ดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. ควรใหความสําคัญกับหะดีษที่มีมาตรฐาน และไดรับการยอมรับจากนักปราชญเทานั้น และไมควรใชหะ ดีษที่ไมมีมาตรฐานเพื่อนํามาใชหรือเผยแพร และควรใหมีการเรียนการสอนวิชาหะดีษในทุกระดับ และควรปลุกกระแส ใหเกิดความสนใจหะดีษ ทั้งสองดานคือ ดานสถานภาพของหะดีษ และดานความหมายและการนําไปใช 2. ควรใหมีการศึกษาวิจัยตัวบทหะดีษในหนังสือตางๆ ในรูปแบบตัครีจญโดยเฉพาะหนังสือที่ใชเรียน และ หนังสือที่นักวิชาการนิยมนําไปใชอางอิง หรือใชในการบรรยาย สั่งสอนบุคคลทั่วไป ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป ควรทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาวิเคราะหเรื่องเลาที่ปรากฏในหนังสือคุณคาของอะมาล ของชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา”

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

57

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณาธิการ มะสาการี อาแด. 2543. “แนวคิ ดเชิง ซูฟของกลุมดะวะฮฺ ตับลีฆ ในจัง หวัดชายแดนภาคใตของไทย”, วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. อับดุลเลาะ หนุมสุข และอับดุลเลาะ การีนา. 2547. “ตัครีจตัวบทหะดีษในหนังสือคุณคาของอะมาลของเชคคุลหะ ดีษ มาลานา มูฮัมมัด ซะกะรียา”,รายงานการวิจัย. ปตตานี:วิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. c al- Asqalani, Shihab al-Din Ahmad Ibn cAli Ibn Hajar. 1964. Talkhis al-Habir. Bayrut: Dar al-Macrifah. al-cAsqalani, Shihab al-Din Ahmad Ibn cAli Ibn Hajar. 1991. Taqrib al-Tahdhib. Halab: Dar al-Rashid. Bakkar, Muhammad. 1997. cIlm Takrij al-Ahadith. 3th ed. al-Riyad: Dar Tibbiah. al-Bukhariy, Muhammad Ibn Ismacil. 1997. Sahih al-Bukhariy. al-Riyad: Dar al-Salam. Ibn Hibban Muhammad Ibn Hibban al-Basti. 1993. Sahih Ibn Hibban bi Tartib Ibn Balban. Bayrut: Mu’assasah al-Risalah. Mustafa al-Sibaci. 1982. al-Sunnah wa Makanatuha fi al-Tashric al-Islamiy. 2nded. Bayrut : Maktabah al-Islamiy. al-Qasimiy, Muhammad Jamaluddin. 1987. Qawacid al-Hadith Min Funun Mustalah al-Hadith. Bayrut: Dar al-Nafa’is. al-Suyutiy, Jalaluddin Abdulrahman Ibn Abi Bakr. 1966. Itmam al-Dirayah li Qira’al-Niqayah. Misr: Mustafa al-Halabiy. al-Tirmidhiy, Muhammad Ibn cIsa. 2003. Sunan al-Tirmiziy. al-Riyad: Maktabah al-Macarif.

อัล-นูร



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

59

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

วิวัฒนาการของวิจัยเชิงปฏิบัติการและประเภทของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ อิสมาแอ ราโอบ

บทคัดยอ การศึกษาครั้ งนี้ไ ดเริ่ มจากการทบทวนเกี่ยวกับ ความสํ าคัญ และประเภทของการวิจัย บทความชิ้น นี้ถู ก รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของวิจัยเชิงปฏิบัติการและประเภทของการวิจัยเชิงปฏิบัติการขั้นตอนในการทํา วิจัยเชิงปฏิบัติมีดวยกัน 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และสะทอนผลที่ได จากการศึกษา ซึ่งกระบวนการดังกลาวนี้จะตองสอดคลอดกับทฤษฎีของวิจัยเชิงปฏิบัติ เพื่อประยุกตใชตามเกณฑ คุณภาพของการตีพิมพบทความในวารสาร คําสําคัญ: วิจัยเชิงปฏิบัติการ, เกณฑคุณภาพ

นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาสถิติและการวิจยั วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยซัยน, มาเลเซีย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

60

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Action Research (AR): Preparation to Quality Criteria Ismail Raob1 Abstract This study started with educational research in terms of categories research and showed the importance of action research. The article is reviewed of the evolution in action research and types of action research. Moreover, the iterative action research procedures described in four steps: plan, collect data, analyze, and reflect, and relate their classroom practice to theory that were integrated into quality criteria for action research journal. Keywords: Action research, Quality Criteria

อัล-นูร

Ph.D. Candidate, statistics and research methodology, school educational studies, Universiti Sains Malaysia.


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

61

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Introduction Educational research is broadly conceived as the investigation of problems or questions concerned with the improvement of education (Gay, Milis, & Airassian, 2009). Besides, educational research is the formal, systematic application of the scientific method to the study of educational problems. All research studies fall into one of two categories: basic research and applied research. Basic research aims to explain, predict, and describe fundamental bases of behavior and applied research can be subdivided into evaluation research, research and development (R&D), and action research (Pathak, 2008). Action research methodology is an authentic research process that is regularly viewed as an instrument for helping teachers to understand and react to situations in their classrooms (Deemer, 2009). Moreover, Action research (AR) is a form of self-reflective enquiry undertaken by participants in educational situations in order to improve the rationality and justice of their own educational practices, their understanding of these practices and the situations in which the practices are carried out (Kemmis, 1988). AR is a useful tool. It allows educators to systematically and empirically address topics and issues that affect teaching and learning in the classroom (Weaver-Hightower, 2010: 335-356). While, AR process is natural for some teachers. The teachers are always exploring and testing new strategies by observing and collecting information related to the success of instructional and organizational strategies (Wang, Odell, Klecka, Spalding, & Lin, 2010: 395-402). Others need to be conscience of action research techniques while developing classroom strategies and planning activities. Whereas, AR provides a structured process for implementing data collection and analysis. It provides the information necessary for an educator to know whether or not their intervention had the anticipated results. Furthermore, this article has reviewed of the action research procedures and the quality criteria to publish a journal. The findings would greatly help teachers would be useful as a guideline for the planning and the management of doing research and to prepare the requirement of a good publishing journal. Evolution of action research The origins of action research lay in the work of social psychologist (Kemmis & McTaggart, 1988) who developed and applied it over a number of years in a series of community experiments. Zeichner (2001) has provided us with an overview of how AR developed as a research tradition. The work of Kurt Lewin (1946), who researched into social issues, is often described as a major landmark in the development of AR as a methodology. Lewin’s work was followed by that of Stephen Corey and others in the USA, who applied this methodology for researching into educational issues. In Britain, according to Hopkins (2002), the origins of AR can be traced back to the Schools Council’s Humanities Curriculum Project (1967–72) with its emphasis on an experimental curriculum and the reconceptualization of curriculum development. Following on this project, Elliot and Adelman (1976: 139-150) AR in their teaching project, examining classroom practice. More recent developments in England and Wales support the important role of AR as reflected in the number of small research grants which have been made available by the Teacher Training Agency and the

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

62

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Department for Education and Skills (DfES) in the past decade. Readers may also be interested to note that the Collaborative Action Research Network (CARN) provides a forum for those interested in AR as a methodology as well as the existence of an international journal, Educational Action Research (Zeichner, 2001). In Thailand, AR originated with an attempt to improve the teaching profession (Nunnoi, 1997). There was a need to change and improve both the teaching and learning processes. As teachers used research as a tool to improve their effectiveness in the classroom, AR simultaneously helped teachers become more professional. Types of Action Research The two main types of action research are critical action research (CAR) and practical action research (PAR). Critical Action Research In CAR, the foal is liberating individuals through knowledge gathering; for reason, it is also known as emancipator action research (Milner, 2009: 118-131). CAR is so named because it is based on a body of critical theory, not because this type of AR is critical, as in “faultfinding” or “important” although it may certainly be both (Lampert, 2009: 21-34). The value of CAR that all educational research not only should be socially responsive but also should exhibit the following characteristics. Although this critical theory-based has been challenged for lack of practical feasibility, it is nonetheless important to consider it provides a helpful heuristic, or problem-solving approach, for teachers who are committed to investigate through AR the taken of granted relationships and practices in their professional lives (Kersting, Givvin, Sotelo, & Stigler, 2009: 172-181) Practical Action Research As compared to CAR, PAR emphasizes more of a how to approach to the processes of AR ad has a less philosophical bent (Zhao, 2010: 422-431). An underlying assumption is that, to some degree, individual teachers or teams of teachers are autonomous and can determine the nature of the investigation to be undertaken. Other assumptions are that teacher researchers are committed to continued professional development and school improvement and that teachers want to reflect on their practices systematically (Croninger & Valli, 2009: 100108). Finally PAR perspective assumes that as decision maker, teacher researchers will choose their own areas of focus, determine their data collection techniques, analyze and interpret the data, and develop action plans based in their findings (Walshaw & Anthony, 2008). Action Research Procedures Panticand Wubbel (2010) explained AR can be described in four steps: plan, collect data, analyze, and reflect. Carefully thinking through each step of the process fosters a disposition for thoroughness, a heightened awareness of the thinking skills associated with action research, and an increased flexibility and control over your thought processes. These steps will serve as a basis for approaching each type of data collection described in this study.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

63

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

1 Plan: Like teaching, planning is the first phase of the action research process. When planning a lesson, teachers establish learning goals, create an assessment plan, and design their instructional activities. When planning an action research study, teachers should decide on the goals and purposes of the study, decide on a research question to guide the study, select the research participants, and determine the method of data collection. Lacking a plan, you are likely to find yourself sifting aimlessly through piles of data without any clear purpose (Omare & Iyamu, 2006: 505-510). Such an approach will most likely result in superficial findings. As you work through the book, you will be asked to develop plans for several different types of research. For some forms of data, it is helpful to know how the data is analyzed before trying to develop a plan. For these forms of data, the analysis will be presented before you are asked to create a plan (Hendricks, 2006) 2 Collect data: During the data collection phase, actions are taken to carry out your action research project. These actions include implementing new teaching strategies and collecting data on them. Data collection could include administering tests, observing students, and conducting surveys and interviews (Peters & Gray, 2007). 3 Analyze: During the analysis phase, teachers carefully examine and analyze their data. The analysis could include observations of student interactions, the analysis of student work, the analysis of surveys and interviews, the analysis of pre-and post-tests, or the analysis of standardized achievement tests. Analysis during action research consists of a two-step process (Connor, Greene, & Anderson, 2006). First, action researchers should construct an objective description of student performance. This description should be thorough, detailed, objective, and as free from judgments or inferences as possible. The more detached and objective the description, the better it lends itself to analysis and interpretation. Second, to multiply their observations action researchers should examine their data from different perspectives (Brien, 2001). Expanding your observations by shifting perspectives provides a wider basis for making interpretations in the next phase of your action research project. This can be accomplished by making comparisons and contrasts, by integrating different observations in different ways, and by viewing the data through different conceptual lenses (Wongwanich, 1999). 4 Reflect: The reflection phase consists of a three-step process. The first step is interpreting and explaining your observations. When interpreting your data, it is useful to generate as many plausible explanations as possible Teachers will find having a variety of explanations is helpful in the second step of the reflection process, which is developing new teaching strategies. Most new teaching strategies come from one of the following four sources: your past experience, data from your study, techniques shared by other teachers, or the educational literature. The third step of the reflection process is to justify your new teaching strategies by supporting them with data, best practice, educational research, or educational theory. Justification is critical because the thinking processes associated with developing a new strategy are often based on inspiration or intuitive thinking. Justification requires a more carefully reasoned rationale based on an analytical approach that links data, literature, and past experience. Throughout the book, you will be asked to engage in this three-step process of reflection when analyzing sample data (Jain, Spalding, Odell, Klecka, & Lin, 2009; Grudy, 1995: 3-15).

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

64

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Quality Criteria for Action Research Journal In combination, the following seven criteria, often called ‘choicepoints’ for quality, represent the elements of an action research project/ paper that in the AR (Bradbury, 2010: 93-109). 1. Articulation of objectives The extent to which the authors explicitly address the objectives they believe relevant to their work and the choices they have made in meeting those. 2. Partnership and participation The extent to and means by which the paper reflects or enacts participative values and concern for the relational component of research. By the extent of participation we are referring to a continuum from consultation with stakeholders to stakeholders as full co-researchers. 3. Contribution to action research theory/practice The extent to which the paper builds on (creates explicit links with) or contributes to a wider body of practice knowledge and or theory, that contributes to the action research literature. 4. Methods and Process The extent to which the action research process and related methods are articulated and clarified. 5. Action ability The extent to which the paper provides new ideas that guide action in response to need. 6. Reflexivity The extent to which self location as a change agent is acknowledged by the authors. 7. Significance The extent to which the insights in the manuscript are significant in content and process. By significant it means having meaning and relevance beyond their immediate context in support of the flourishing of persons, communities, and the wider ecology. Conclusion AR can be improved teaching and will help teachers discover what works best in classroom situation. It is a powerful integration on teaching that provides a s solid basis for instructional decisions. AR’s easily mastered techniques provide insights into teaching that result in continual improvement. In conclusion this paper has presented an overview of action research as a methodological approach to solving social problems. The principles and procedures of this type of research were described along with the evolution of the practice. Moreover, this article has reviewed the criteria which can help to ensure the quality, integrity, rigour and relevance of qualitative research. It has argued that qualitative researchers should selectively embrace criteria which are responsive both to their qualitative ideals and the specific research in hand. The ever-growing pool of research criteria offers competing ways of evaluating research, although there is also a strong measure of consensus and overlap between these.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

65

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Suggestion for future researchers on this paper as suggested earlier in this section. However, it is not complete to make recommendations about all literature reviews. It can be thought that much more use of the meta-analysis researches will contribute to science because, it is a literature method which can review and combine or compare related individual studies. And should be specific the areas of educational research because, it can be eased to summary the action research. Acknowledgements I would like to send my deepest thanks to USM Fellowship for financial support. And I wish to express my gratitude to all those who have helped to contribute to the completion of this article.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

66

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

References Adelman, C., Jenkins, D. and Kemmis, S. 1976. ‘Rethinking Case Study: Notes from the Second Cambridge Conference’, Cambridge Journal of Education, 6, 3. Bradbury, H. 2010. ‘What is good action research? Why the resurgent interest?’, Action Research 8(1). Croninger, R. G., & Valli, L. 2009. "Where Is the Action?" Challenges to Studying the Teaching of Reading in Elementary Classrooms. Educational Researcher, 38(2). Grudy, S. 1995. Action research as profession development. Murdoch University: Innovative Links Project. Hendricks, C. 2006. Improving schools through action research: A comprehensive guide for educators. New York: Pearson. Hopkins, D. 2002. A Teacher’s Guide to Classroom Research. Buckingham: Open University Press. Jian, W., Spalding, E., Odell, S. J., Klecka, C. L., & Lin, E. (2009). Bold Ideas for Improving Teacher Education and Teaching: What We See, Hear, and Think. Journal of Teacher Education, 61(1-2). Kemmis, S. & McTaggart, R. 1988. The action research planner. Deakin University Press. Victoria. Kersting, N. B., Givvin, K. B., Sotelo, F. L., & Stigler, J. W. 2009. Teachers' Analyses of Classroom Video Predict Student Learning of Mathematics: Further Explorations of a Novel Measure of Teacher Knowledge. Journal of Teacher Education, 61(1-2). Kurt Lewin, "Action Research and Minority Problems," Journal of Social, Issues 2 (1946). Lampert, M. 2009. Learning Teaching in, from, and for Practice: What Do We Mean? Journal of Teacher Education, 61(1-2). Milner, H. R. 2009. What Does Teacher Education Have to Do With Teaching? Implications for Diversity Studies. Journal of Teacher Education, 61(1-2). Nunnoi, P. 1997. A develoment of the factors used for classroom action research evaluation. M. Ed. Thesis, Graduate school. Chulalongkorn University. O’Connor, K., Greene, C., & Anderson, P. (2006, 7 April). Action research: A tool for improving teacher quality and classroom practice. Paper presented at the American Educational Research Association Annual Meeting, San Francisco, CA. O'Brien, R. 2001. An Overview of the Methodological Approach of Action Research. Online: http://www.web.net/~robrien/papers/arfinal.html#_Toc26184660 10 July 2011. Omare, C. Otote; Iyamu, Ede O. S. 2006. “Assessment of the Affective Evaluation Competencies of Social Studies Teachers in Secondary Schools in Western Nigeria” College Student Journal, Vol.40 No.3 . Peters, J., & Gray, A. 2007. Teaching and learning in a model-based action research course. Action Research, 5(3).

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

67

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Walshaw, M., & Anthony, G. 2008. The Teacher's Role in Classroom Discourse: A Review of Recent Research Into Mathematics Classrooms. Review of Educational Research, 78(3). Wang, J., Odell, S. J., Klecka, C. L., Spalding, E., & Lin, E. (2010). Understanding Teacher Education Reform. Journal of Teacher Education, 61(5). Weaver-Hightower, M. B. 2010. Using action research to challenge stereotypes: A case study of boys' education work in Australia. Action Research, 8(3). Wongwanich, S. 1999. Conceptual in classroom action research. Bangkok: Chulalongkorn University Press. Zeichner, K. 2001. ‘Educational Action Research’, in P. Reason and H. Bradbury (eds.), Handbook of Action Research: Participative Enquiry and Practice. London: Sage. Zhao, Y. 2010. Preparing Globally Competent Teachers: A New Imperative for Teacher Education. Journal of Teacher Education, 61(5).

อัล-นูร



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

69

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลาม ของนักเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปตตานี มูหัมมัดรุสลี ดามาเลาะ จิดาภา สุวรรณฤกษ บทคัดยอ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาระดับพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคํา สอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัด ปตตานี 2) เปรียบเทียบระดับคุณ ธรรมจริยธรรมในการดําเนิ นชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิ สลามของนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี 3) ศึกษาวิธีการปลูกฝง คุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิต ตามหลัก คําสอนศาสนาอิสลามใหแกนั กเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามระดับมัธ ยมศึ กษาตอนปลายในจังหวั ดปต ตานี 4)ศึก ษาแนวทางการปลูกฝ งการประพฤติคุณ ธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามใหแกนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี กลุมตัวอยาง คือนักเรียนจํานวน 284 คน ผูบริหารโรงเรียน ครู และ ผูปกครองของนักเรียนจํานวน 15 คน ผลการวิจัยพบวา (1) พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษาใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยรวมอยูในระดับปานกลาง (2) พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม ในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษาใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ระหวางนักเรียนชายและนักเรียน หญิงมีความแตกตางกัน เมื่อเปรียบระหวางโรงเรียนพบวาไมแตกตางกัน และเมื่อเปรียบเทียบระหวางชั้นเรียนพบวามี ความแตกตางกัน (3) วิธีการปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามใหแกนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี พบวา ผูบริหาร ใชนโยบาย ในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยอาศัยทั้งหลักสูตรในหองเรียน กิจกรรมกลุมศึกษา(ฮัลกอฮฺ) กิจกรรมเอี้ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลลัยย กิจกรรมเยี่ยมบาน กิจกรรมคายอบรม กิจกรรมอภิปรายกลุม ครู ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนโดยอาศัย ทั้งหลักสูตรในหองเรียน กิจกรรมกลุมศึกษา(ฮัลกอฮฺ) กิจกรรมเอี้ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลลัยย การอภิปรายกลุม และการแสดงบทบาทสมมุติ และ ผูปกครองนักเรียน ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยอาศัยความรัก ความเขาใจในครอบครัว การศึกษาอิสลามรวมกัน และการปฏิบัติเปนตัวอยาง

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการศึกษาเพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยทักษิณ ดร.(การศึกษานอกระบบโรงเรียน) อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยทักษิณ



อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

70

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

(4) แนวทางการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามใหแกนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี จากการสัมภาษณผูบริห าร โรงเรียน ครู และผูป กครองนัก เรี ยน ทราบว า 4.1 ผูบ ริ หารโรงเรี ยน มี นโยบายสอนให นัก เรี ยนตระหนัก และเห็ น ความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางอิสลาม โดยอาศัยหลักการทั้งจากอัลกุรอาน ฮาดิษ และหลักอิฮฺซาน ความพึงพอใจตอปจจัยตางๆที่อัลลอฮฺ  ทรงประทานให ขอดุอาอฺใหพระองคประทานแตในสิ่งที่ดี และหลีกเรนตอ สิ่งไมดี ขอใหประทานแตสิ่งที่เปนบารอกะฮฺ (มีสิริมงคล) 4.2 ครู สอนใหนักเรียนใหความสําคัญกับในดานคุณธรรม จริยธรรม โดยใหความรูกับนักเรียน หลักการอิสลามที่ถูกตอง ทั้ งในอัลกุรอานและฮาดิษ ใชหลักสูตรวิชาอักลาก (จริยธรรม) อรรถาธิบายอัลกุรอาน ประวัติศาสตรอิสลาม และวิชาอื่นๆ ใหดําเนินชีวิตตามแบบฉบับของทานนบี  เปนแบบอย าง การอดทนต อการทําความดี การปฏิบัติ อามัล (ศาสนกิจ )ตางๆ ให ครบถ วนเพื่อแสวงหาความโปรด ปราณจากอัลลอฮฺ  ใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งตางๆรอบตัวนั้นมีทั้งที่เปนประโยชนและโทษ ใหนักเรียนมีความอดทน ตอการแยกแยะระหวางสิ่งที่ดีและไมดีและใหนักเรียนสามารถเลือกในการปฏิบัติได ใหนักเรียนไดอานและศึกษาอัลกุ รอาน รวมทั้งการเสริมในดานกิจกรรม 4.3 ผูปกครอง การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตองเริ่มจากครอบครัว โดย เริ่มสอนตั้งแตเด็กใหไดรับรู ซึมซับ และครอบครัวตองใหความสําคัญ ดูแลอยางใกลชิด แนะนําและตักเตือน จนเกิด เปนนิสัย ใหรูจั กมารยาท รูจั กการประหยัดไมฟุมเฟ อย การอดทนตอการปฏิบัติศาสนากิจ มีความรักตอบุคคลใน ครอบครัวและพี่นองในอิสลาม ขอเสนอแนะ คือ ควรศึกษาเพื่อกําหนดกรอบหรือหลักสูตรที่ชัดเจนในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในแต ละกิจกรรม คําสําคัญ: คุณธรรมจริยธรรม, หลักคําสอนศาสนาอิสลาม, โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม, จังหวัดปตตานี

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

71

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Moral Life in accordance with Islamic Teachings of Islamic Religious School’s Students in Pattani Province Muhamadruslee Damalo Jidapa Suwannarurk Abstract This research were aimed 1) to study the level of moral and ethical behavior, 2) to compare the level of morality, 3) to learn how to inculcate morality into students and 4) to learn about the principles on the inculcation of moral and ethical behavior in everyday life which accordance with Islamic teaching of upper secondary school students studying in Islamic private schools in Pattani province. The samples were 299; 284 were students and 15 were from school administrators, teachers and parents. The results of the study indicated as following. (1)The overall level of moral and ethical behavior in everyday life in accordance with Islamic teaching of upper secondary school students studying in Islamic private schools in Pattani province was average level. (2 )The comparison about the level of morality in everyday life in accordance with Islamic teaching of upper secondary school students between boys and girls were different. Also it showed that it was not significantly different when comparing students between schools, however, it was different when comparing through the classes. (3)The ways to inculcate morality in everyday life in accordance with Islamic teaching for upper secondary school students were found that the administrators as well as teachers used the policy of instill morality for students through the curriculum and the activities in the classroom. The activities were such as having study group (Halaqah), contemplating at mosque during the last10 days of Ramadan month (cItikaf), praying at night (Qiyamullai), having home visit, doing training camps, and having group discussion activities. As parents, they inculcated morality to their children based on love and understanding in the family, teaching and learning about Islam together and be as a good example for their children. (4)The principles on the inculcation of moral and ethical behavior in everyday life which is in accordance with Islamic teaching were based on the interview of school administrators, teachers, and parents, divided the findings as following: 4.1 The school administrators: The school administrators must apply the policy by teaching and giving the awareness about the importance of morality and ethics in accordance with Islamic

Graduate Student, Department of Education to develop human resources, Graduate School, Thaksin University. Ph.D. (Education outside the school system) Lecturer of Graduate School, Thaksin University.



อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

72

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

teaching which is based on the holy book- Al-Quran, Hadith and Ihsan principle, and the principles about the satisfaction of the things that Allah has given to people, and always ask the good things and the blessing from Him as well as avoid the bad things. 4.2 Teachers: Teachers must educate students to focus on morality and ethics by providing the correct Islamic knowledge that are required in both al-Quran and Al-Hadith. Moreover, they must instruct students through the ethical principles, Al-Quran interpretation, Islamic history and other subjects that are in relative with the lifestyle of the Prophet Muhammad who is the model of the tolerance in doing good deeds and practicing other ritual actions completely in order to seek respiration from Allah. Furthermore, teachers must teach students that everything around us is both helpful and harmful, instruct them to be patient to distinguish between good and bad, give them to choose in doing things, read and learn about Al-Quran including the promotion of activities. 4.3 Parents: The inculcation of morality and ethics in family is important. It must start from the child to let him or her knows, and absorbs about it. Besides, parents must give full attention to their children by closely monitor, and gradually introduce warnings. In addition, they must give the recognition of some good manners such as knowing of how to be a thrifty person, be patient on performing various religious deeds and love for their parents and brothers in Islam. Keyword: ethics, Islamic, Islamic religious schools, Pattani province

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

73

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา “และแทจริงเจา (มูฮําหมัด) ตั้งอยูบนคุณธรรมอันยิ่งใหญ” (ซูเราะฮฺ อัลกอลัม. 68: 1540) อิสลามใหความสําคัญ กับคุณธรรม จริยธรรม และจรรยามารยาท อับดุลฮากีม วันแอเลาะ (ม.ป.ป.: 1 - 2) ไดกลาววา โดยธรรมชาติมนุษย นั้นอาจะแสดงออกไดทั้งในรูปที่ดีหรือที่ชั่ว แตหากจะใหเกิดเปนปกติวิสัยที่ดีอยูเสมอ ความจําเปนประการหนึ่งที่จะ ละเลยเสียมิได ก็คื อ ต องพยายามปลู กฝง ให อยูใ นกรอบแหง จริ ยธรรมโดยแทจ ริง และด วยวิ ธีดัง วานี้ เขาเหล านั้ น จะต องจะมี ความผูก พั น อยู กั บ การคิ ด คํานึ ง อยากทํ าแต ความดี จากอั ล กุ ร อาน โองการข างตน แสดงให เ ห็ น ว า จริยธรรมที่ดีงามโดยแทจริงนั้นคือจริยธรรมที่ดีงามตามแบบทานนบีมูฮําหมัด  อัลกุรอานไดกลาววา “และเรามิได สงเจามาเพื่ออื่นใดนอกจากเพื่อเปนความเมตตาแกประชาชาติทั้งหลาย” (ซูเราะฮฺอัลอัมบิยาอฺ. 21: 791) นอกจากนี้ เพื่อใหการปฏิบัติตามคุณธรรม จริยธรรมที่ถูกตองอิสลามยังไดใหความสําคัญกับการศึกษาหาความรู ดังปฐมอายะฮฺ ของอัลกุรอานที่วา “จงอาน ดวยพระนามของพระเจาของเจา ผูทรงบังเกิด” (ซูเราะฮฺอัลอะลัก. 96: 1727) คําวา “จง อาน” ในที่นี้ หมายถึ งการศึกษาหาความรู อิ บรอเฮ็ ม ณรงครัก ษาเขต (2521: 2) กลาวว า อิส ลามเป นศาสนาที่ใ ห ความสํ าคั ญ มากกั บ การศึ ก ษาหาความรู อิ ส ลามไม เ พี ยงแต จ ะสอนให มนุ ษ ย มีความรั ก ในความรู แต อิส ลามยั ง เรียกรองให ทุกคนแสวงหาความรู เพราะความรู เปน พื้นฐานของการพั ฒนามนุ ษย เปน กุญแจของความเจริญ ทาง วัฒนธรรมและอารยธรรม ความรูมีความตอทุกขั้นตอนของการมีอยูของมนุษย ความรูนั้นจะทําใหมนุษยรูจักตนเอง รูจักจักรวาล และรูจักผูอภิบาลผูทรงสราง การศึ กษาหาความรู ข องมุ ส ลิ มหรื อผูที่ นั บ ถือศาสนาอิ สลาม จึ ง เปน การศึ ก ษาเพื่ อการพั ฒนาคุ ณธรรม จริยธรรมอิสลาม ซึ่งมีความจําเปนตอการนําไปใชประพฤติปฏิบัติในทุกสวนของการดํารงชีวิต เพราะการดําเนินชีวิต ตามแนวทางของอัลกุรอานและจริยวัตรของทานนบีมูฮําหมัด  นั้นเปนเปาหมายสูงสุดของมุสลิมเพื่อแสวงหาความ โปรดปรานจากอัลลอฮฺ  และนับเปนผูที่มีเกียรติยิ่ง ดังอัลกุรอานโองการที่วา “หาใชคุณธรรมไม การที่พวกเจาผิน หนาของพวกเจาไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกแตทวา คุณธรรมนั้นคือผูที่ศรัทธาตออัลลอฮฺ และ วันกียามะฮฺ (ปรโลก) และศรัทธาตอมลาอิกะฮฺ ตอบรรดาคัมภีรและนบีทั้งหลาย และบริจาคทรัพยทั้ง ๆ ที่มีความรักในทรัพยนั้น แกบรรดาญาติที่สนิทและบรรดาเด็กกําพรา และแกบรรดาผูยากจนและผูที่อยูในการเดินทาง และบรรดาผูที่มาขอ และบริจาคในการไถทาส และเขาไดดํารงไวซึ่งการละหมาด และชําระทานซากาต และ(คุณธรรมนั้น) คือบรรดาผูที่ รักษาสัญญาของพวกเขาโดยครบถวน เมื่อพวกเขาไดสัญญาไว และบรรดาผูที่อดทนในความทุกขยาก และในความ เดื อดร อน และขณะต อสู ในสมรภู มิ ชนเหล านี้ แหละคื อผู ที่พู ด จริง และชนเหลานี้ แหละคือผู ที่ มีความยํ าเกรง” (ซูเราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺ. 2: 53) ดังนั้นมุสลิมจึงยึดหลักสําคัญ 2 ประการเปนแนวทางในการดํารงชีวิต คือ อัลกุ รอานและ จริยวัตรหรือซุนนะฮฺของ นบีมูฮําหมัด  เพราะฉะนั้นทั้งอัลกุรอานและจริยวัตรของ นบีมูฮําหมัด  นั้น จึงเปนองคความรูที่มุสลิมทุกคนตองเรียนรูและยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัด การศึก ษาคุณ ธรรม จริ ยธรรมอิ สลามของเยาวชนในสามจัง หวั ดชายแดนภาคใต ส วนใหญนั้ น อาศั ยทั้ ง ครอบครัวซึ่งเปนการสั่งสอนโดยพอแมหรือญาติผูใหญ และการศึกษาจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่ ซึ่งเปนแหลงการเรียนรูที่พัฒนากันมาอยางยาวนานตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม คือการบูรณาการความรูตางๆตามหลักการศาสนาอิสลามทั้งจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺทานนบีมูฮําหมัด  ไปสูวิชาความรูในหองเรียน จนไปถึงลงสูการปฏิบัติในชีวิตจริง ทั้งในหองเรียน ในโรงเรียนและการดําเนินชีวิตในสังคม จึงกลาวไดวาเปนการศึกษาเพื่อนําไปสูการปฏิบัติทั้งบริบทของชีวิต ที่ผานมา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศใชหลักสูตรอิสลาม ศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งสถานศึกษาตองจัดการเรียนรูดานอัคลาก (จริยธรรม)ไวใน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

74

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

สวนของหลักสูตรอิสลามศึกษา อีกทั้งยังไดกําหนดใหมีตัวชี้วัดชั้นป และตัวชี้วัดชวงชั้นในแตละระดับเพื่อการประเมิน อีกดวย มีขอสั งเกตอยูป ระการหนึ่ งวา สัง คมโลกปจ จุบันมี ความรุดหนาขององคความรู และวิ ทยาการต างๆอยาง มากมาย ความเจริ ญ ทางเทคโนโลยี ที่ มีอยู กอใหเ กิ ดความสะดวกสบายในการใช ชีวิ ต เพิ่ มขึ้น จนหลายครั้ ง ความ สะดวกสบายเหลานี้ กลายเปน เปาหมายหลักของการพัฒนาสัง คม สมาชิก ในสังคมเกิ ดความหลงลืม ละเลยที่จ ะ พัฒนาคุณธรรม หรือคุณงามความดีที่มีอยูในตนเอง(สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2551: 3 ; อางอิงจาก รัตนะ บัวสนธ. 2550) ประกอบกับกระแสโลกาภิวัฒน ที่ทําใหสังคมไทยประสบกับการไหลบาเขามาของกระแสคานิยม ตะวั น ตก กระแสของการบริ โ ภคนิ ยม และกระแสทุ น นิ ยม กระแสเหล านี้ ก อให เ กิ ด ป ญ หาความเสื่ อมถอย ด า น คุณธรรม จริยธรรม จนกลายเปนปญ หาสังคมตามที่เราไดพบเห็นตามหนาหนังสือพิมพและโทรทัศนอยูทุกวัน จน กลายเปนความเคยชิ นในสังคมปจจุ บัน เชนข าวการลว งละเมิดทางเพศ ฆ าชิงทรัพย การทุจริ ตในวงราชการ การ ทะเลาะและฆากันตายของนักเรียนนักศึกษาบางกลุม ปญหายาเสพติดเปนตน ในสังคมเยาวชนมุสลิมก็เช นเดียวกัน สื่อตางๆทั้งทางอินเตอรเนต โทรทัศนและหนังสือพิมพลวนแลวแต มี อิทธิพลตอพฤติกรรมและความรูสึกนึกคิดของเยาวชนมุสลิม อีกทั้งยังไมมีมาตรการในด านการในดานการรับมือที่ รัดกุม การคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ และความสํานึกของผูผลิตสื่อตอสังคม รวมทั้งปญหาสังคมที่รุมเราในปจจุบัน เชนปญหายาเสพติดในพื้นที่ ปญหาชูสาว แฟชั่นการแตงตัวที่ไมเหมาะสม พฤติกรรมเลียนแบบดารานักแสดง นัก รอง การใชจายอยางฟุมเฟอยโดยไมคํานึงถึงฐานะทางครอบครัว การทะเลาะเบาะแวงในระหวางวัยรุนดวยกัน หรือปญหา ดานมารยาท เปนตน ปญหาเหลานี้ลวนแลวแตเปนผลจากการที่เยาวชนมุสลิมไดรับการถายทอดจากสื่อขางตน แลว นํามาประพฤติปฏิบัติอยางไรกฎเกณฑ ขาดความพอดี จนเบี่ยงเบนไปจากคุณธรรม จริยธรรมอิสลามที่สืบทอดมา จากทานนบีมูฮําหมัด  ที่เปนคุณธรรม จริยธรรมอิสลามที่ดีงาม ดวยเหตุนี้ ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัย เรื่อง “คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนิน ชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลามในจังหวัดปตตานี” เพื่อศึกษาระดับคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของ เยาวชนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามในจัง หวั ดป ต ตานี และสรางแนวทางการปลู กฝ ง คุ ณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของเยาวชนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดปตตานีตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึก ษาระดับพฤติ กรรม คุณธรรม จริ ยธรรม ในการดําเนิน ชีวิ ตตามหลัก คําสอนศาสนาอิ สลามของ นักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี เพื่อเปรียบเทียบระดับคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามใหแกนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี เพื่อศึกษาวิธีการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ศึก ษาแนวทางการปลู ก ฝ งการประพฤติ คุ ณ ธรรม จริ ยธรรมในการดํ าเนิ น ชีวิ ต ตามหลั ก คําสอนศาสนา อิสลามใหนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

75

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง คุณธรรมจริยธรรมในการดํ าเนินชีวิตตามหลักคํ าสอนศาสนาอิสลามของเยาวชนในจังหวั ด ปตตานี ผูวิจัยไดกําหนดขั้นตอนการวิจัยดังนี้ 1.ประชากรและกลุมตัวอยาง 2.เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.วิธีการสรางและตรวจสอบเครื่องมือ 4.การเก็บรวบรวมขอมูล 5.การวิเคราะหขอมูล 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ในการศึกวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนด ประชากรและกลุมตัวอยาง ดังนี้ 1.1 ประชากร ประชากร ไดแก นักเรียน ผูปกครอง และผูบริหารโรงเรียน ครูฝายปกครอง ของนักเรียน ที่ ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปตตานี 3 โรงเรียน ใชวิธีการจับ ฉลากโดยแยกโรงเรียนเปน 3 ประเภท คือ โรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลางและโรงเรียนขนาดใหญ ผลจากการจั บ ฉลากไดโรงเรียน 3 โรงเรียน ประกอบดวย โรงเรียนบํารุงอิสลาม โรงเรียนมุสลิมพัฒนศาสตร และโรงเรียนบานดอน วิทยา 1.2 กลุมตัวอยางแบงไดเปน 3 ประเภท คือ (1) กลุมนักเรียนซึ่งเปนนักเรียนที่ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามใน จังหวัดปตตานี โดยสุมมาจากประชากร และเปรียบเทียบจากตารางสุมกลุมตัวอยางตารางของเครซี่จและมอรแกนโดย สุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) โดยแบงตามจังหวัดที่ตั้งอยูในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตแลว ทําการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ตามสัดสวนไดจํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมด 284 คน (2) กลุ มผู ปกครองนัก เรี ยน ผูบ ริหารโรงเรียน และอาจารย ที่ป ฏิบัติ หนาที่ใ นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลามในจังหวัดปตตานี ใชวิธีสัมภาษณโดยทําการสุมแบบเจาะจง จากผูปกครองจํานวน 9 คน ผูบริหารโรงเรียน และครูจํานวน 6 คน รวม 15 คน 2.เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 2.1 แบบสอบถาม ใชแบบสอบถาม เปนเครื่องมื อที่ผูวิจัยสรางขึ้นจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฏี และแบบสอบถามงานวิจัยที่ เกี่ยวของกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรม แบงออกเปน 2 ตอนคือ ตอนที่ 1 เป น แบบสอบถามข อมูล เกี่ ยวกั บ สถานภาพของผู ต อบแบบสอบถามมีลั ก ษณะเป น แบบสํ ารวจ รายการ (Check-List) เกี่ยวกับโรงเรียน เพศและชั้นเรียน ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนา อิสลามของเยาวชนในจังหวัดปตตานี 2.2 แบบสัมภาษณ ใชวิธีการสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Formal Interview) และเตรียมแนวคําถามกวางๆ มาลวงหนา โดย สัมภาษณแบบมี จุด สนใจ หรื อสั มภาษณ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) โดยสัมภาษณเ ปน รายบุคคลสําหรั บ ผูบริหารโรงเรียนและครูที่ปฏิบัติหนาที่ในโรงเรียน สวนการสัมภาษณผูปกครองใชวิธีสัมภาษณเปนกลุม โรงเรียนละ 3

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

76

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

คน โดยการสัมภาษณ ทีละข อ แล วนํามติของกลุมมาเป นผลสรุปของแนวทางและวิธีการปลูก ฝงนั กเรียน และเก็ บ ขอมูลดวยการจดบันทึก 3. วิธีการสรางและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ในการสรางเครื่องมือผูวิจัยดําเนินการตามขั้นตอน ดังตอไปนี้ 3.1 การสรางแบบสอบถาม (1) ศึ กษาทฤษฏี และแนวคิ ดที่ เกี่ ยวข องกับ คุณธรรม จริ ยธรรมของนัก เรี ยนมัธ ยมศึ กษารวมทั้ งหลัก สูต ร อิสลาม เอกสาร ตําราตางๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ (2) ศึก ษาวิธี การสรางเครื่ องมือจากตํ าราการวัด และประเมิ นผล รวมทั้ งตั วอยางแบบสอบถามเกี่ ยวกั บ จริยธรรมของนักเรียน จากรายงานการวิจัยที่เกี่ยวของ (3) กําหนดขอบเขตของจริยธรรมตามองคประกอบทั้ง 5 ดานคือ ความสุภาพออนโยนและการออนนอมถอม ตน การรูจักการใหอภัย ความพอเพียง มารยาทตอบุคคลทั่วไป และความอดทน จากนั้นผูวิจัยสรางเครื่องมือตาม ขอบเขตที่กําหนด (4) นําแบบสอบถามที่สรางเสนอตอผูท รงคุณวุฒิต รวจทานและแกไขตามขอเสนอ3.1.5 นําแบบสอบถาม เสนอตอผูทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) กับนิยามศัพทที่ผูวิจัยไดใหความหมายไวหรือไม ไดคาดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.77 (5) นําแบบสอบถามที่ไดไปทดลอง (Try Out) กับกลุมนักเรียนที่มิใชเปาหมาย และแกไขตามขอแนะนําไดคา ความเชื่อมั่นเทากับ 0.86 คาความเชื่อมั่นระดับสูง (เกียรติสุดา ศรีสุข. 2552: 144) (6) นําแบบสอบถามที่ผานการแกไขแลวไปใชในการเก็บขอมูล 3.2 การสรางแบบสัมภาษณ (1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับคุณธรรม จริยธรรมของเยาวชน คุณธรรมจริยธรรมอิสลาม แนวคิดการอบรมเลี้ยงดูบุตรตามหลักคําสอนของศาสนาอิสลาม แนวคิดวิถีชีวิตของศาสนาอิส ลาม และงานวิจัยที่ เกี่ยวของเพื่อนํามาเปนขอมูลในการสรางแบบสัมภาษณ (2) นําขอมูลที่ไดมาพิจารณากําหนดนิยามปฏิบัติการและสรางเปนคําถาม (3) นํ าแบบสั มภาษณ ที่ส รางเสนอคณะกรรมการควบคุมวิทยานิ พนธเพื่ อตรวจสอบความถูก ตองและให ขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไข (4) นํ าแบบสั มภาษณ ที่ ผ านการแก ไ ขแลว เสนอคณะกรรมการควบคุ มวิ ท ยานิ พ นธเ ป น ครั้ ง สุ ด ท ายเพื่ อ ตรวจสอบและใหคําแนะนําเกี่ยวกับการจัดทําฉบับสมบูรณสําหรับใชในการเก็บรวบรวมขอมูลตอไป 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 4.1 การเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม โดยนําไปใชกับกลุมตัวอยางที่เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายในโรงเรียนเปาหมาย 4.2 การเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสัมภาษณวิจัยดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้ (1) ผูวิจัยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Formal Interview) สัมภาษณกลุมตัวอยางดวยตนเอง จากการ จดบันทึกและบันทึกเทป (2) ดําเนินการสัมภาษณเพื่อสัมภาษณตามประเด็นที่กําหนดไว

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

77

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

5. การวิเคราะหขอมูล 5.1 การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ขอมูลจากแบบสอบถาม ผูวิจัยวิเคราะหโดยใชคอมพิวเตอร โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows โดยใชคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใชเกณฑในการตัดสินดังนี้ คะแนนระหวาง 1.00 - 1.99 ความหมาย นอยที่สุด คะแนนระหวาง 2.00 - 2.99 ความหมาย นอย คะแนนระหวาง 3.00 - 3.99 ความหมาย ปานกลาง คะแนนระหวาง 4.00 - 4.99 ความหมาย มาก คะแนนระหวาง 5.00 ความหมาย มากที่สุด 5.2 การวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณ นํารายละเอียดที่ไดจากการจดบันทึกของผูถูกสัมภาษณแตละคนนํามาเรียบเรียงเพื่อวิเคราะหขอมูล โดยใช การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และสรุปภาพรวมความคิดเห็นของผูบริหารโรงเรียน ครู และผูปกครอง ในแต ละดานเพื่ อสรุป เป น แนวทางและวิธี ก ารปลู กฝ ง คุณ ธรรม จริ ยธรรมตามหลั กคํ าสอนศาสนาอิ สลามของนัก เรี ยน มัธยมศึกษาตอนปลายที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปตตานี ผลการวิจัย ผลการวิจัยพบวา ตอนที่ 1 ผลการศึกษาพฤติกรรม คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของ นักเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยจําแนกตามขนาดของ โรงเรียน วิเคราะหพฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยรวมและรายดา น โดย การหาคาเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับและอันดับไดดังนี้ 1.1) พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิ ตตามหลักคํ าสอนศาสนาอิสลามของนัก เรียนที่ศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง(คาเฉลี่ย=3.64) โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจาก มากไปหานอย คือ 1) ดานความอดทน 2) ดานการรูจักการใหอภัย 3) ดานความพอเพียง 4) ดานมารยาทตอบุคคล ทั่วไป และ 5) ดานความสุภาพออนโยนและการออนนอมถอมตน 1.2) พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิ ตตามหลักคํ าสอนศาสนาอิสลามของนัก เรียนที่ศึกษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลามระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ดานความสุภาพออนโยนและการออนนอมถอมตน รวม อยูในระดับปาน กลาง (คาเฉลี่ย=3.29) โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับแรกคือ 1)ขาพเจาพูดจาออนหวานตอบิดา มารดาและครูอย างสม่ําเสมอ 2) เมื่อขาพเจาถูก รองขอใหชวยเหลือในสิ่งไมสามารถทําได ขาพเจ าจะปฏิเสธอยาง สุภาพและขออภัย 3) เมื่ อผู อื่นทํ าความดี ขาพเจ ากล าวยกย อง ดว ยความบริ สุท ธิ์ใจ และคะแนนน อยที่สุด คือ 1) ขาพเจากลาวใหสลามแกมุสลิม และกลาวสวัสดีแกตางศาสนิกเสมอ และ 2) ขาพเจาไมพูดจาโออวดในสิ่งที่ขาพเจา เหนือกวาผูอื่น 1.3) พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลาม ของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ดานการรูจัก การให อภั ย อยู ในระดับปานกลาง(ค าเฉลี่ ย=3.77) โดยเรียงลํ าดั บค าเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อั นดั บแรกคือ 1) ขาพเจาปฏิบัติตามหลักคําสอนของศาสนาอิสลามในเรื่องการใหอภัย 2) ขาพเจากลาวชื่นชมเมื่อเห็นผูอื่นกลาวขอโทษ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

78

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

และขออภัยอภัยซึ่งกัน 3) เมื่อมีเพื่อนมาขโมยสิ่งของ ของขาพเจา ภายหลังเขาสํานึกผิด ขาพเจาสามารถใหอภัยตอ เขาได และไดคะแนนนอยที่สุด คือ 1) เมื่อมีคนมาทํารายขาพเจา ขาพเจาจะไมแกแคนหรือตอบโต แตจะตักเตือนเขา เพื่อใหเลิกพฤติกรรมนั้น 1.4) พฤติก รรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดํ าเนินชีวิตตามหลักคําสอน ศาสนาอิ สลามของนัก เรี ยนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามระดั บ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในจัง หวั ด ปต ตานี ดานความพอเพี ยง อยู ในระดับ ปานกลาง (ค าเฉลี่ ย=3.65) โดยเรียงลํ าดั บค าเฉลี่ยจากมากไปหาน อย 3 อันดับแรกคือ 1) ขาพเจาปฏิบัติตามจริยวัตรของทาน นบี  ในเรื่องการใชชีวิตอยางพอเพียง 2) เมื่อเห็นผูอื่นใชชีวิต อยางพอเพียงสมควรแกฐานะของตน ขาพเจายินดีจะปฏิบัติตาม 3) ขาพเจาจะใหความสําคัญตอคุณภาพของสินคา มากกวายี่หอของสินคา และ เมื่อผูปกครองไมสามารถซื้อคอมพิวเตอรใหขาพเจาใชสวนตัวได ขาพเจายินดีที่จะใช บริการของหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรของโรงเรียน และที่ไดคะแนนนอยที่สุดคือ 1) ขาพเจามีการออมเงินเพื่อใชใน ยามจําเปน 1.5) พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของ นักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ดานมารยาทตอ บุคคลทั่วไป อยูในระดับ ปานกลาง(คาเฉลี่ย=3.65) โดยเรี ยงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อัน ดับแรกคือ 1) ขาพเจาจะใหความสําคัญของการมีมารยาทที่ดี 2) ขาพเจาใหความจริงใจตอบุคคลอื่นอยางสม่ําเสมอ 3) ขาพเจาจะ ศึกษามารยาทของทานนบี  และปฏิบัติตาม และไดคะแนนนอยที่สุดคือ 1) ขาพเจาจะแสดงมารยาทที่ดีเสมอแมกับ คนที่ ไม เคยรู จัก มาก อน 1.6) พฤติ กรรมคุณ ธรรม จริ ยธรรมในการจริยธรรม ในการดํ าเนิน ชีวิต ตามหลัก คําสอน ศาสนาอิ สลามของนัก เรี ยนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามระดั บ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในจัง หวั ด ปตตานี ดานความอดทน อยูในระดับ ปานกลาง(คาเฉลี่ย=3.80) โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ แรกคือ 1) ขาพเจาจะถือวาความอดทนนั้นเปนสวนหนึ่งของการศรัทธา 2) ขาพเจากลาวคําขอโทษเสมอเมื่อกระทํา ความผิดตอผูอื่น3) ขาพเจาจะถือวาความทุกขยากนั้นเปนการทดสอบจากพระเจา และที่ไดคะแนนนอยที่สุดคือ 1) ขาพเจาสามารถควบคุมอารมณไดแมอยูในภาวะโกรธเคือง 1.7) พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ใน การดํ าเนิ น ชี วิ ตตามหลั กคํ าสอนศาสนาอิส ลามของนั ก เรียนที่ ศึ กษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน ปรากฏผลดังนี้ โรงเรียนขนาดเล็ก พบวา พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษา ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยรวมอยูในระดับ ปานกลาง (คาเฉลี่ย=3.59) เมื่อพิ จารณาเปน รายด าน เรียงตามลําดับจากมากไปหานอย พบวาเปนดั งนี้ 1) ดานความอดทน (คาเฉลี่ย=3.78) 2) ดานมารยาทตอบุคคลทั่วไป(คาเฉลี่ย=3.76) 3) ดานการรูจักการใหอภัย(คาเฉลี่ย=3.68) 4) ดาน ความสุภาพออนโยนและการออนนอมถอมตน(คาเฉลี่ย=3.46) และ5)ดานความพอเพียง (คาเฉลี่ย=3.29)โรงเรียน ขนาดกลาง พบวา พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลาม ของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยรวมอยูใน ระดับ ปานกลาง (คาเฉลี่ย=3.57)เมื่อพิจารณาเปนรายดาน เรียงตามลําดับจากมากไปหานอย พบวาเปนดังนี้ 1) ดาน ความอดทน (ค า เฉลี่ ย =3.84) 2) ด า นมารยาทต อ บุ ค คลทั่ ว ไป (ค า เฉลี่ ย =3.59) 3) ด า นการรู จั ก การให อ ภั ย (คาเฉลี่ย=3.55) 4) ดานความสุภาพออนโยนและการออนนอมถอมตน (คาเฉลี่ย=3.46) และ 5)ดานความ พอเพียง (คาเฉลี่ย=3.43)โรงเรียนขนาดใหญ พบวา พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมในการจริยธรรม ในการดําเนินชีวิต ตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดปตตานี โดยรวมอยูในระดับ ปานกลาง (คาเฉลี่ย=3.66) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน เรียงตามลําดับจากมาก ไปหานอย พบวาเปนดังนี้ 1) ดานการรูจักการใหอภัย (คาเฉลี่ย=3.89) 2) ดานความอดทน (คาเฉลี่ย=3.80) 3) ดาน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

79

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ความพอเพียง (คาเฉลี่ย=3.75) 4) ดานมารยาทตอบุคคลทั่วไป (คาเฉลี่ย=3.66) ) 5) ดานความสุภาพออนโยนและ การออนนอมถอมตน (คาเฉลี่ย=3.22) ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบพฤติ กรรม คุณ ธรรม จริ ยธรรม ในการดําเนินชี วิตตามหลั กคําสอนศาสนา อิสลามของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดย จําแนกตามขนาดของโรงเรียน พบวา 2.1) นักเรียนเพศชายมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.56 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.62 นักเรียนเพศหญิง มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.74 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.13 คา t เทากับ -0.24 และคา Sig เทากับ 0.01 ดังนั้นผลการทดสอบแสดงวา เพศชายและเพศหญิง มีความแตกตางที่นับสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.14 2.2) นักเรียนชั้นม. 4 มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.49 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.62 ชั้นม. 5 มีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.61 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.68 ชั้น ม. 6 มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.64 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.56 แตเมื่อทดสอบดวย คา F เทากับ 7.17 คา Sig เทากับ 0.001 แสดงว าชั้นเรียนตางกัน มีความแตกตางกัน ที่ นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 และเมื่อทดสอบรายคู ดวยวิธีของ Scheffe พบวานักเรียนชั้น ม.4 กับนักเรียนชั้น ม.6 มี ความแตกตางกัน 2.3) โรงเรียนขนาดใหญ มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.66 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.70 โรงเรียน ขนาดกลางมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.57 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.46 โรงเรียนขนาดเล็กมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.59 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.38 และเมื่อทดสอบดวยคา F เทากับ 0.552 คา Sig เทากับ 0.576 แสดงวา โรงเรียนขนาดใหญ กลางเล็ก ไมมีความแตกตางที่นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ตอนที่ 3 ผลการศึกษาวิธีการปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม ในการดํารงชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลาม ใหแกนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ซึ่งเปนผล จากการสัมภาษณกลุม ผูบริหารโรงเรี ยน ครู และผูปกครองนักเรียน ผูวิจัยไดแบงขอคนพบจากการวิจัยดัง นี้ 3.1) ผูบริหาร โรงเรียนมีนโยบายในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม โดยอาศัยทั้งหลักสูตรในหองเรียน กิจกรรมกลุมศึกษา (ฮาลากอฮฺ) กิจกรรมเอี๊ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลัยย กิจกรรมเยี่ยมบาน กิจกรรมคายอบรม กิจกรรมอภิปรายกลุม 3.2) ครู ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนโดยอาศัย ทั้งหลักสูตรในหองเรียน กิจกรรมกลุมศึกษา (ฮาลากอฮฺ) กิจ กรรมเอี๊ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลัยย การอภิปรายกลุม และการแสดงบทบาทสมมุติ 3.3 ผูปกครองนักเรียน ปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรมโดยอาศัยความรักความเขาใจในครอบครัว การศึกษาอิสลามรวมกัน และการปฏิบัติเปนตัวอยาง ตอนที่ 4 ผลการศึกษาแนวทางการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนา อิสลาม ใหแกนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ซึ่ ง เปนผลจากการสัมภาษณกลุม ผูบริหารโรงเรียน ครู และผูปกครองนักเรียน ผูวิจัยไดแบงขอคนพบจากการวิ จัยดังนี้ 4.1) ผูบริหารโรงเรียน มีนโยบายสอนใหนักเรียนตระหนักและเห็นความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทาง อิสลาม โดยอาศัยหลั กการทั้งจากอัล กุร อาน ฮาดิษ และอิ ฮฺซ าน ความพึ งพอใจต อปจ จัยตางๆที่อัลลอฮฺ  ทรง ประทานให ขอดุอาอฺใหพระองคประทานแตในสิ่งที่ดี และหลีกเรนตอสิ่งที่ไมดี ขอใหประทานแตสิ่งที่เปนยารอกะฮฺ (สิริ มงคล) 4.2) ครู สอนใหนักเรียนใหความสําคัญกับคุณธรรม จริยธรรม โดยใหความรูกับนักเรียน หลักการอิสลามที่ ถูกตอง ทั้งในอัลกุรอานและฮาดิษ ใชหลักสูตรวิชาอักลาก(จริยธรรม) อรรถาธิบายอัลกุรอาน ประวัติศาสตรอิสลาม และวิชาอื่นๆใหดําเนินตามแบบฉบับของทานนบีมูฮําหมัด  เปนแบบอยาง การอดทนตอการทําความดี การปฏิบัติอ มัล (ศาสนกิจ)ตางๆใหครบถวนเพื่อแสวงหาความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ  ตองใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งตางๆรอบตัว นั้น มีทั้งที่ เปนประโยชนและเปนโทษ ใหนัก เรียนมีความอดทนตอการแยกแยะสิ่ งที่ดีและไมดี และใหนักเรียนเลือก ปฏิบัติในสิ่งที่ดีได ใหนักเรียนไดอานและศึกษาอัลกุรอาน รวมทั้งเสริมในดานกิจกรรม 4.3) ผูปกครอง การปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม ตองเริ่มจากครอบครัวเปนสําคัญ โดยเริ่มสอนตั้งแตเด็กใหเขาไดรับรู ซึมซับ และครอบครัวตอง

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

80

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ใหความสํ าคัญ ดูแลอยางใกลชิด แนะนําและตักเตือนอยางคอยเปนคอยไป จนเกิดเปน นิสัย ให รูจักมารยาทตางๆ รูจักการประหยัด ไมฟุมเฟอย การอดทนตอการปฏิบัติศาสนกิจตางๆ มีความรักตอบุคคลในครอบครัวและพี่ นองใน อิสลาม อภิปรายผล ผลการจากการศึกษา คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี มีประเด็นสําคัญที่จะนํามาอภิปราย ไดดังนี้ การศึ ก ษาระดั บพฤติก รรม คุ ณ ธรรม จริ ยธรรม ในการดํ าเนิ นชี วิต ตามหลัก คําสอนศาสนาอิ สลามของ นักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยศึกษาระดับ พฤติก รรมในการดํ าเนิ นชี วิ ตตามหลัก คํ าสอนศาสนาอิ ส ลามของนัก เรี ยน ที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา อิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี ผลจากการวิจัยพบวา ระดับพฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมใน การดํ าเนิ นชี วิ ตตามหลัก คํ าสอนศาสนาอิ ส ลามของนั ก เรี ยนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลาม ระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี โดยศึกษาระดับพฤติกรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลาม ของนักเรียน ที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานีอยูในระดับ ปานกลางสอดคลองกับงานวิจัยของ ซูฟร ดําสําราญ (2543: 96) ที่ศึกษา คุณธรรม จริยธรรม ของนึกเรียนในระดับ มัธยมศึ กษา ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลาม ในสามจั งหวัด ชายแดนภาคใต ป ตตานี ยะลา นราธิ วาส และ สอดคลองกับ บุญฤทธิ์ ปนทับทิม (2550: บทคัดยอ) ที่ศึกษา คุณธรรม จริยธรรมและแนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรมอิ ส ลามนั ก เรี ยนระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลามในภาคกลาง พบว า คุ ณ ธรรม จริยธรรมโดยรวมอยูในระดับ ปานกลาง สอดคลองกับ กัลยา ศรีปาน (2542: บทคัดยอ) ซึ่งไดศึกษาระดับคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนบุญเลิศอนุสรณ จังหวัดสงขลา พบวาโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ซึ่งตามทฤษฎีจิต วิเคราะหของบุคคล (Psycho-analytic Theory) กลาวถึงจริยธรรมกับมโนธรรมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มนุ ษยกลุมใน กลุมสังคมใดก็จ ะเรียนรูความรั บผิดชอบชั่วดีจากสิ่งแวดลอมในสังคมนั้น จนมีลั กษณะพิเศษของของแตละสังคมที่ เรียกวา เอกลักษณ เปนกฎเกณฑใหประพฤติปฏิบัติตามขอกําหนดโดยอัตโนมัติ (คณะกรรมการขาราชการพลเรือน. 2542: 14) การที่เด็กนักเรียนไดรับการศึกษาและอาศัยอยูในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนในวิชาดานศาสนาซึ่งเปน การขัดเกลาคุณธรรม จริยธรรมอยางสม่ําเสมอยอมจะเปนปจจัยที่มีผลทําใหมีพฤติกรรมที่พึงประสงค รวมทั้ง การ เปนแบบอยางที่ดีของครูในโรงเรียนก็เปนปจจัยที่สําคัญที่สงผลตอพฤติกรรมของนักเรียนสอดคลองกับมัยมุน (2548: 59) กลาววา การใชแบบอยางในการอบรมกลายเปนเรื่องสําคัญยิ่ง หากเราไมมีแบบอยางให ธรรมชาติของมนุษยจะ ลอกเลียนจากจากสิ่งที่ไมดีทดแทน แมโรงเรียนจะมีการวางระบบในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแกนักเรียนอยาง เปนระบบแตยังมีอุปสรรคหลายประการที่ทําใหการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียนดังที่ มุมีนะห บูงอตาหยง (2552: บทคัด ยอ) ได ศึก ษาป ญหาและอุป สรรคในการพัฒ นาผูเ รียนเพื่อปลู กฝ งคุ ณ ธรรม จริยธรรมอิส ลามของ โรงเรี ยนสอนศาสนาอิสลามเขตพื้ นที่ การศึ กษายะลาเขต 1 พบวา ครู ผู บริ หารและฝายกิจ กรรมหรื อเจาหน าที่ ที่ รับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีความเห็นที่สอดคลองกันคือ ปญหาดานเวลาไมเพียงพอ และงบประมาณที่มีจํากัด บุคลากรบางสวนขาดความรับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมายและไมใหความรวมมือ นักเรียนขาดจิตสํานึก และไม เห็นคุณคาของคุณธรรม จริยธรรม ความแตกตางดานฐานะของครอบครัว ขาดความรวมมือจากผูปกครอง พอแมไม

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

81

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

เอาใจใสเรื่องการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมแกบุตรหลานและไมมีกิจกรรมที่เนนเฉพาะดาน ปญหาเหลานี้สงผลให การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนในโรงเรียนเปนไปอยางเชื่องชาและไมประสบผลสําเร็จตามที่วางไว 2. เปรียบเทียบคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษาใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานีพบวา 2.1 ผลการเปรียบเทียบคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามระดั บ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในจั งหวั ดป ต ตานี โดยการเปรียบเที ยบ ระหวางนักเรียนชายและนักเรียนหญิง พบวา นักเรียนชายและนักเรียนหญิง มีความแตกตางกัน สอดคลองกับ ดนัย จารุประสิทธิ์ (2533: บทคัดยอ) ไดศึกษาระดับทัศนคติเชิงจริยธรรมของนักเรียนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคใตพบวา นักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงมีทัศนคติเชิงจริยธรรมอยูในระดับที่แตกตางกัน และสอดคลองกับไลลา หริ่มเพ็ง (2551: 137) ศึกษาองคประกอบทางจริยธรรมของนักศึกษามุสลิมในสถาบันอุดมศึกษาที่มีเพศตางกัน พบวา ผลตางกันและนักเรียนหญิงมีระดับจริยธรรมมากกวาเพศชาย เนื่องจากอิสลามไดปกปองสตรีมุสลิมดวยอาภรณที่ ปกป ดร างกายมิ ดชิ ด และกํ าหนดให สตรีมุสลิ มอยูใ นกรอบอิส ลามที่ เครง ครั ด รวมทั้ งการหล อหลอมของสัง คมที่ กําหนดใหสตรีมุสลิมตองเปนผูที่มีมารยามงดงามเปนผลใหนักศึกษาหญิงมุสลิมเปนบุคคลที่มีระดับจริยธรรมมากกวา นักศึกษาชาย นอกจากนี้ยังสอดคลองกับทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของนักจิตวิทยาหลายทาน ที่วาเด็กหญิงใช เกณฑตั ดสิ นเหตุ ผลทางจริ ยธรรมแตกต างกับ เด็ กชาย เพราะเด็กหญิง มีก ารตัด สินใจทางจริ ยธรรมเป นแบบแผน มากกวาเด็กชาย(สุรางค โควตระกูล. 2550: 74 ; อางอิงจาก ไลลา หริ่มเพ็ง.2551: 156) 2.2 ผลการเปรียบเทียบคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามระดั บ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในจั งหวั ดป ต ตานี โดยการเปรียบเที ยบ ระหวางชั้นเรียน พบวา มีความแตกตางกัน ซึ่งอธิบายไดวาคุณธรรม จริยธรรมเปนสิ่งที่ตองอาศัยระยะเวลาในการ ปลูกฝง นักเรียนที่ศึกษาในชั้นสูงกวายอมผานการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมมากกวานักเรียนที่ศึกษาอยูในชั้นที่ต่ํา กวา ดังที่ ไลลา หริ่มเพ็ง (2551: 156) ไดกวาวาการพัฒนาจริยธรรมของบุคคลตองคอยเปนคอยไป ไมสามารถเกิดขึ้น ไดอยางทันที สอดคลองกับ พลแสงสวาง กลาววา การปลูกฝงจริยธรรมเปนกระบวนการ สั่งสม ซึมซับ (พล แสง สวาง. 2544: 27; อางอิงจากไลลา หริ่มเพ็ง. 2551: 156) ทฤษฎีทางสติปญญา(Cognitive Theory) อธิบายวาจริยธรรม เกิดจากแรงจูงใจในการปฏิบัติตนสัมพันธกับสังคม การพัฒนาจริยธรรมจึงมีการพิจารณาเชิงเหตุผลจริยธรรมตาม ระดับสติปญญาของแตละบุคคลซึ่งมีวุฒิภาวะสูงขึ้น การรับรูจริยธรรมก็พัฒนาขึ้นตามลําดับ 2.3 ผลการเปรียบเทียบคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ ศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามระดั บ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในจั งหวั ดป ต ตานี โดยการเปรียบเที ยบ ระหวางขนาดของโรงเรียนพบวาไมมีความแตกตางกัน ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Leaning Theory) อธิบาย การเกิดของจริยธรรมวาเปนกระบวนการทางสังคมประกิต (Socialization) โดยการซึมซับกฎเกณฑตางๆ จากสังคมที่ เติบโต มารับเอาหลักการเรียนรูเชื่อมโยงกัน เมื่อพิจารณาจากกลุมตัวอยางที่นํามาใชในการศึกษา ซึ่งเปนนักเรียนใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเหมือนกัน มีวิธีและแนวทางในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมที่คลายกันนักเรียนจึง ไดรับการหลอหลอมในลักษณะเดียวกัน จึงมีพฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรมที่ไมแตกตางกัน 3. ศึกษาวิธีการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี จากการวิจัยพบวา วิธีการ ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิ ส ลามระดั บ มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในจั งหวั ด ป ต ตานี เป นดั ง นี้ ผู บริ ห ารมี ความเห็ นว า โรงเรี ยนมี

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

82

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

นโยบายในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม โดยอาศัยทั้งหลักสูตรในหองเรียน กิจกรรมกลุมศึกษา (ฮาลากอฮฺ) กิจ กรรมเอี๊ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลลัยย กิจกรรมเยี่ยมบาน กิจกรรมคายอบรม กิจกรรมอภิปรายกลุม ครูมีความเห็น วา ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนโดยอาศัย ทั้งหลักสูตรในหองเรียน กิจกรรมกลุมศึกษา(ฮาลากอฮฺ) กิจกรรม เอี๊ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลลัยย การอภิปรายกลุม การแสดงบทบาทสมมุติ สวนผูปกครอง มีความเห็นวา ปลู กฝง คุณธรรม จริยธรรมโดยอาศัยความรัก ความเขาใจในครอบครัว การศึกษาอิสลามรวมกัน และการปฏิบัติเปนตัวอยาง สอดคลองกับงานวิจัยของมุมีนะห บูงอตาหยง (2552: บทคัดยอ) ไดศึกษาปญหาและอุปสรรคในการพัฒนาผูเรียน เพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมอิสลามของโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม เขตพื้นที่การศึกษายะลาเขต1 กิจกรรมที่ไดใช ในการพั ฒนาคุณ ธรรม จริ ยธรรมในทุก โรงเรี ยนมี 6 รู ปแบบคือ กิ จ กรรมฮัล กอฮฺ (กลุ มศึ ก ษาอิส ลาม) กิจ กรรม ละหมาดกียามุลัยยญ ามาอะฮฺ กิจกรรมถือศีลอดรวมกันเดื อนละ1- 2ครั้ง กิจ กรรมพี่เตือนนอง / เพื่อนเตือนเพื่อน กิจกรรมบรรยายใหความรูเกี่ยวกับความประเสริฐของคุณธรรม จริ ยธรรมในแตล ะดาน และคายอบรมจริยธรรม ศึกษาวิธีการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามใหแกนักเรียนที่ศึกษาใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี จากการวิจัยพบวา วิธีการปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลามใหแกนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดปตตานี เปนดังนี้ ผูบริหารมีความเห็นวา นโยบายสอนใหนักเรียน ตระหนักและเห็นความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางของอิสลาม โดยอาศัยหลักการทั้ งจากอัลกุรอาน ฮาดิษ และหลักอิฮฺซาน ความพึงพอใจตอปจจัยตางๆที่อัลลอฮฺ  ทรงประทานให ขอดุอาอฺใหพระองคประทานแตใน สิ่งที่ดี และหลีกเรนตอสิ่งไมดี ขอใหประทานแตสิ่งที่เปนบารอกะฮฺ (มีสิริมงคล) ครู มีความเห็นวา สอนใหนักเรียนให ความสําคัญกับในดานคุณธรรม จริยธรรม โดยใหความรูกับนักเรียน หลักการของศาสนาที่ถูกตอง ทั้งในอัลกุรอาน และฮาดิ ษ ใชหลักสู ตรวิชาอักลาก(จริยธรรม) อรรถาธิ บาย อัลกุรอาน ประวัติศาสตรอิสลาม และวิชาอื่ น ๆ ให ดําเนินชีวิตตามแบบฉบับของทานนบี  เปนแบบอยาง การอดทนตอการทําความดี การปฏิบัติอามัลศาสนกิจตางๆ ใหครบถวนเพื่อหาความโปรดปราณจากอัลลอฮฺ  ตองใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งตางๆรอบตัวนั้นมีทั้งที่เปนประโยชน และโทษ ใหนักเรียนมีความอดทนตอการแยกแยะระหวางสิ่งที่ดีและไมดีและใหนักเรียนสามารถเลือกในการปฏิบัติได ใหนักเรียนได อานและศึกษาอัลกุร อาน รวมทั้ง การเสริมในด านกิจกรรรม โดยอาศัยทั้ง หลักสู ตรในห องเรียน และ กิจกรรมกลุม และผูปกครองมีความเห็นวา การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตองเริ่มจากครอบครัวเปนสําคัญ โดยเริ่ม สอนตั้งแตเด็กใหเขาไดรับรู ซึมซับ และครอบครัวตองใหความสําคัญ ดูแลอยางใกลชิด แนะนําและตักเตือนอยางคอย เปนคอยไป จนเกิดเปนนิสัย ใหรูจักมารยาทตางๆ รูจักการประหยัดไมฟุมเฟอย การอดทนตอการปฏิบัติศาสนากิจ ตางๆมีความรักตอบุคคลในครอบครัวและพี่นองในอิสลาม จากผลการวิจัยจะเห็นวา ทั้งผูบริหารโรงเรียนและครู ได ใหความสําคัญตอแบบอยางที่ดี คือการดําเนินชีวิตตามแนวทางของทานนบี มูฮําหมัด  เปนแบบอยางใหนักเรียน นําเปน แบบอยางการปฏิบั ติ ซึ่ง สอดคลองกับ ที่ อัล กุรอานไดกล าววา “โดยแนนอน ในผู นําสาสนของอัลลอฮฺ(มูฮํ า หมัด)มีแบบอยางอันดีงามสําหรับพวกเจาแลว” (ซูเราะฮฺ อัลอะหฺซาบ.21: 1046) “เพื่อผูนําสาสนจะไดเปนพยาน(เปน แบบ)ตอพวกเจา” (ซูเ ราะฮฺ อั นนัมลฺ.78: 939) อัล กุรอานไดกล าวว า “และพวกเขามิ ไดถู กบัญ ชาใหกระทําอื่นใด นอกจากเพื่อเคารพภักดีตออัลลอฮฺ เปนผูมีเจตนาบริสุทธิ์ในการภักดีตอพระองค เปนผูอยูในแนวทางที่เที่ยงตรงและ ดํารงการละหมาด และจายซะกาต และนั่นแหละคือศาสนาอันเที่ยงธรรม” (ซูเราะฮฺ อัลบัยยินะฮฺ. 5: 1734) อัลกุ รอานไดกลาวอีกวา “ผูใดปรารถนาการมีชีวิตอยูในโลกนี้และความเพริศแพรวของมัน เราก็จะตอบแทนใหพวกเขา อยางครบถวน ซึ่งการงานของพวกเขาในโลกนี้เทานั้น และพวกเขาจะไมถูกลิดรอนในการงานนั้นแตอยางใด” (ซูเราะฮฺ ฮูด. 15: 517) มัส ลัน มาหะมะ (2551 : 87)ได กล าวใน อิส ลามกับ ระบบการศึก ษาวา การศึ กษาในอิส ลามไมไ ด

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

83

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

หมายถึง เพียงแค การถายทอดความรู ประสบการณหรื อทั กษะจากรุนหนึ่งไปยัง อีกรุ นหนึ่ง ในมุ มมองของอิส ลาม การศึกษาจะมีความหมายที่กวางและครอบคลุมหลายๆดาน กลาวคือการศึกษาในอิสลามเปนกระบวนการอบรมและ บมเพาะสติปญญา รางกายและจิตวิญญาณเพื่อผลิตมนุษยที่สมบูรณ นอกจากนี้ มัสลัน มาหะมะ (2551: 90) ยังได กลาวถึงการศึกษาในทัศนะอิสลามอีกวา ความการศึกษาในทัศนะอิสลามนั้น เปนการศึกษาแบบบูรณาการ ทั้งวิชา ศาสนาและวิชาการทางโลกเขาดวยกัน การกลับสูระบบการศึกษาในอิสลามที่แทจริง จําเปนตองสรางระบบการศึก ษา ใหมขึ้นมา ระบบการศึกษาใหมนี้ตองเปนแบบบูรณาการที่บูรณาการทั้งสองระบบการศึกษาเขาดวยกันอยางมีระบบ กฎเกณฑ และทั้งสองระบบจะแยกออกจากั นไม ได ไมควรมี การแยกวิช าศาสนาออกจากวิชาสามัญ หรือแยกวิช า สามัญออกจากวิชาศาสนาหรือวิชาศาสนบัญญัติเพียงอยางเดียว แตหมายถึงการศึกษาทุกสาขาวิชาที่สอนตามทัศนะ ของอิสลาม สวน ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2534 : 31) ไดกลาวในบทความเรื่องแนวทางใหมในการพัฒนาจิตใจและ พฤติกรรมแก นักเรียนระดั บมัธยมศึกษาตีพิมพใ นเอกสารวิช าการเพื่อพัฒ นาวิช าชีพครู สังคมศึกษาของสมาคมครู สังคมศึกษาแหงประเทศไทย วา การพัฒนานักเรียนในชั้นมัธยมตอนปลายควรปลูกฝงลักษณะ 2 ประการดังตอไปคือ 1) พัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมจากขั้น 3 ไปยังขั้น 4 คือ มองเห็นความสําคัญของกฎหมาย และขอปฏิบัติทางศาสนา หรือกฎระเบียบของสัง คม วาทําไปแลวจะช วยใหเ ราอยูร วมกันอยางสงบสุข รู จักที่จะทําตามระเบียบของโรงเรียน เพราะเห็นดวยกับกฎระเบียบเหลานี้ และเห็นวามีประโยชนแกตนเองและหมูคณะการออกกฎระเบียบจึงควรมีการ ชี้แจง และชัดจู งใหนักเรียนเห็นประโยชนข องการทําตามกฎนั้น ๆ โดยอางประโยชน ตอตนเอง ตอหมูคณะ และแก ประเทศชาติ แก โลกและจั กรวาล ขั้น ตอไปคื อขั้ นที่ 5 มี ความเป นตั ว ของตั วเอง โดยพิจ ารณารอบดานอยางสุ ขุ ม รอบคอบแลวจึงตัดสินใจกระทําการตาง ๆ 2) พัฒนาความสามารถควบคุมตน ใหมากยิ่งขึ้น โดยผูใหญลดการควบคุม บังคับนักเรียนมัธยมปลายลงอีก ถานักเรียนควบคุมตนเองไดก็ควรกลาวชมสนับสนุน แสดงความเห็นดวยและพอใจ ถานักเรียนยังควบคุมตนเองไมไดในคราวใดก็ไมดุวาใหเสียน้ําใจ แตไตถามถึงปญหาและเหตุผลแลวแนะนําวิธีการที่จะ ควบคุมตนเองใหไดมากขึ้น เพื่อนักเรียนจะไดนําไปลองใชเองตอไป นอกจากนี้ ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2534 : 33) ยัง ไดกลาววา ผลการวิจัยในป พ.ศ.2527 พบวาครูอาจารยที่ประสบผลสําเร็จในการสรางเสริมคุณธรรมจริยธรรมแก นักเรียน จะตองมีลักษณะทั้ง 3 ประการพรอมกันคือ 1) เปนครูที่รักและพอใจนักเรียน ในขณะที่นักเรียนก็รักและ พอใจครู การอบรมสั่งสอนจะทําไดงายมาก เพราะเด็กพรอมที่จะรับจากครูประเภทนี้ 2) ครูเปนคนที่มีลักษณะ 8 ประการในตนไมจริยธรรมสูง 3) ครูตองรูหลักวิชาการในการอบรมสั่งสอนเด็ก และใชวิธีการที่เหมาะสมกับอายุ จิตใจ และพัฒนาการของเด็ก จึงจะทําไดงายและไดผลดี สวนการเลี้ยงดูและแนวทางการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมจาก ครอบครัวนั้น อัลลอฮฺ.  ไดกลาวใน อัลกุรอานความวา “โอบรรดาผูศรัทธา จงปกปองคุมครองตัวของสูเจาใหพน จากไฟนรกที่เชื้อเพลิงของมันคือมนุษยและหิน ซึ่งขางบนนั้นจะมีมลาอีกะฮฺที่เขมงวดดุดันเฝาอยู มลาอีกะฮฺนี้ไมเคยฝา ฝนคําบัญชาของอัลลอฮฺและจะทําตามที่ถูกบัญชา” (ซูเราะฮฺอัตตะหฺรีม. 6 : 1525)และอัลกุรอานกลาววา “และจง กําชับครอบครัวของเจาในเรื่องละหมาดและเจาเองจงปฏิบัติมันอยางเครงครัดดวย” มัยมุน (2548: 23) ไดกลาววา การอบรมลูกๆเปนสิ่งที่อยูระหวางการกําชับใหกระทําความดีและสําทับใหออกหางความชั่ว นอกจากนี้มัยมุน (2548: 57) ยังกลาวอีกวา การมีเปาหมายของการอบรมนั้นสั่งสอนนั้นยังไมเพียงพอ พอแมตองจัดหาวิธีการที่ไดผลในการทํา ใหบรรลุเปาหมายดังกลาว ที่ตองปฏิบัติมี 5 วิธีคือ 1) การสรางแบบอยาง 2) การสรางอุปนิสัยและความเคยชิน 3) การใหขอคิดเตือนใจ 4) การเปาดูแลและประเมินผล 5) การลงโทษ การเปนแบบอยางที่ดีงามไดกลายเปนตัวจักร สําคั ญในการขับ เคลื่อนการเผยแผ ในประวั ติศาสตรอิสลาม สอดคล องกั บ ผลการวิ จัยของ นาซี เราะห เจะมามะ (2554: 148) วาครอบครัวที่อยูพรอมหนากัน มีการสอนใหเยาวชนปฏิบัติตามหลักคําสอน 5 ประการ หลักศรัทธา 6 ประการ และหลักคุณธรรม ไมวาจะเปนเรื่องสัมพันธภาพในครอบครัว โดยบิดามารดาจะทํากิจกรรมรวมกัน พูดคุย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

84

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ถามไถทุกขสุขของปญหาลูก และหาแนวทางแกไข ใหคําปรึกษาที่ดี ใหความอบอุนแกลูก สงผลใหบุตรมีประพฤติดี สอดคลองกับ อามีนะ ดํารงผล (2546 : 15 - 35) ไดอธิบายวา วิธีในการเลี้ยงดูบุตรนั้นเปนภาระหนาที่รวมกันของพอ แม พอเปนครูใหญและแมเปนครูผูสอน การเลี้ยงลูกไมไดหมายความเฉพาะการใหอาหาร เพื่อใหรางกายแข็งแรงและ เจริญเติบโต หรือดูแลรักษาเมื่อเจ็บปวยเทานั้น แตหมายความรวมถึงวิธีการตางๆ ที่พอแมทําทุกอยางมีแบบแผนและ ขั้นตอน เพื่อใหลูกเจริญเติบโตและพัฒนาทั้งรางกาย สติปญญา จิตใจ และสามารถดําเนินชีวิตอยูในสังคมได อยางมี ความสุข โดยพอแมที่อยูใ นแนวทางอิสลามมีหนาที่สงเสริมใหเจริญเติบโต และพัฒนาดานตางๆ สิ่งที่จะตองอบรมสั่ง สอนมี ดั ง นี้ 1) สอนให เ ขารู จั ก อั ล ลอฮฺ  พระผู เ ป น เจ า ผู ท รงสร า งทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย าง 2) สอนให เ ขารู จั ก ศาสดา มูฮําหมัด  3) สอนใหเขากลัวบาป ละเวนความชั่ว กระทําความดี 4) สอนใหเขาพูดในสิ่งที่ดี ๆ 5) เมื่อเขาอายุได 7 ป ใชใหเขาทําการละหมาด 6) และเมื่อเขาอายุไ ด 10 ป ถาเขาไมละหมาดก็อนุญาตใหเฆี่ยนตีได และใหแยกที่นอน ระหวางผูหญิงกับผูชาย ดังที่กลาวมา และใหลูกรูจักพระเจาและศรัทธาในพระองคอยางมั่นคง ใหลูกรูวาตนเกิดมาได อยางไร ใครเปนผูสราง เกิดมาทําไม ตายแลวจะไปไหน รูจุดมุงหมายในการกระทําสิ่งตางๆ มีความภาคภูมิใจในความ เปนมุสลิม กลาแสดงเอกลักษณของความเปนมุสลิม โดยปฏิบัติตนใหเปนมุสลิมที่ดี และสอดคลองกับผลการศึกษาของสุ ชิรา บุญทัน (2541: บทคัดยอ) ที่พบวาปจจัยทางครอบครัวที่สัมพันธกับจริยธรรมดานความกตัญูกตเวที ลักษณะ ครอบครัว ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู อาชีพของผูปกครอง และประเภทของครอบครัว สามารถพยากรณจริยธรรม ดานความกตัญูกตเวทีไดทั้งหมดโดยปจจัยดานลักษณะการเลี้ยงดูสามารถพยากรณจริยธรรมดานความกตัญ ู กตเวทีไ ดดี ที่สุ ด จึง สรุ ป ได วา แนวคิด ดานการอบรมเลี้ยงดู บุต รตามหลัก คําสอนของศาสนาอิส ลาม วิถี ชีวิ ตแบบ อิสลาม สอดคลองกับเสาวนีย จิตตหมวด (2544: 89) ไดกลาววาผูที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีวิถีในการดําเนินชีวิต หรือวัฒนธรรมอยูในครรลองของวัฒนธรรมอิสลามเปนหลัก แตนั่นมิไดหมายความวา มุสลิมจะปฏิเสธในการปฏิบัติ ตามวัฒนธรรมอื่น ๆ โดยสิ้นเชิง ในทางตรงกันขามศาสนาอิสลามกลับแสดงใหเห็น และยอมรับในความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม และความหลากหลายทางชาติพันธุ ขอเสนอแนะ การวิจัยเรื่อง คุณธรรมจริยธรรมในการดํ าเนินชีวิตตามหลักคํ า สอนศาสนาอิสลามของเยาวชนในจังหวั ด ปตตานี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะแบง 2 ตอน ดังนี้ คือ 1. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย จากผลการวิจัยที่ไดกลาวมาขางตน การนําผลการวิจัยไปใชในแนวทาง ไดแก 1.1 ครอบครัวมีสวนสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกนักเรียน การปลูกฝง คุณธรรมจริยธรรมที่ดีจากครอบครัวสงผลใหเด็กมีพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมที่ดีดวย 1.2 การวางระบบและสรางแบบอยางที่ดีในโรงเรียนมีผลตอการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของเด็กนักเรียน เพราะเด็กนักเรียนจะเลียนแบบบุคคลที่ใกลชิด 1.3 ชุ ม ชนเป น แหล ง สํ า คั ญ ในการหล อ หลอมพฤติ ก รรมคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมให แ ก เ ด็ ก หากชุ ม ชนดี ประกอบดวยชาวชุมชนที่มีคุณธรรมจริยธรรมสูงเด็ดในชุมชนก็จะเปนคนที่มีคุณธรรมจริยธรรมสูงไปดวย 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป ควรศึกษาเพื่อกําหนดกรอบหรือหลักสูตรที่ชัดเจนในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในแตละกิจกรรม คือ กิจกรรมกลุมศึกษา(ฮาลากอฮฺ) กิจกรรมเอี้ยะติกาฟ กิจกรรมกียามุลลัยย เปนตน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

85

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม กระมล ทองธรรมชาติ. 2550. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.1 ชวงชั้นที่3. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน. กัลยา ศรีปาน. 2542. คุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนบุญเลิศอนุสรณ. ปริญญา นิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ. กีรติ บุญเจือ. 2534. ชุดพื้นฐานปรัชญาจริยศาสตรสําหรับผูเริ่มเรียน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. เกียรติสุดา ศรีสุข. 2552. ระเบียบวิธีวิจัย. เชียงใหม: โรงพิมพครองชาง. คณะกรรมการขาราชการพลเรือน. 2542. รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษารูปแบบและวิธีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักงานขาราชการพลเรือน. คีรี บูน สุ วรรณคีรี . 2532. การวิจัยและประเมิ นผลโครงการพั ฒนาวิ ชาชี พในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิอาเซีย. ซูฟร ดําสําราญ. 2549. คุณธรรมและจริยธรรมอิสลามของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนเอกชน สินศาสนาอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ปตตานี ยะลา นราธิวาส. วิทยานิ พนธ การศึกษา มหาบัณฑิต. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. ดนัย จารุประสิทธิ์. 2533. ศึกษาทัศนคติเชิงจริยธรรมของนักศึกษาวิชาพลศึกษาในกลุมวิทยาลัยพลศึกษา ในภาคใต. วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต. สงขลา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. ดวงเดือน พันธุมนาวิน. 2534. ชุดฝกอบรมการเสริมสรางคุณลักษณะของขาราชการพลเรือนสํานักงาน กพ. กรุงเทพฯ: สํานักงานขาราชการพลเรือน. นงลั ก ษณ วิ รั ช ชั ย ศจี มาศ ณ วิ เ ชียร และพิ ศ สมั ย อรทั ย . 2551. การสํ า รวจและสัง เคราะห ตั วบ ง ชี้คุ ณ ธรรม จริยธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักบริหารและพัฒนาองคความรู. นาซี เราะห เจะมามะ. 2554. กระบวนการถ ายทอดการปฏิ บัติ ตามหลัก คํา สอนของศาสนาอิ สลามสํา หรั บ เยาวชนในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิ สลาม 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต . วิ ท ยานิ พนธ การศึ ก ษา มหาบัณฑิต. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ. นิเลาะ แวอุเซ็ง. 2540. แนวโนมการบริหารของวิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในทศวรรษ หนา (พ.ศ.2540-2549. วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต.ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. บุญ ฤทธิ์ ป น ทับ ทิม . 2550. คุ ณ ธรรมจริยธรรมและแนวทางการพั ฒนาคุ ณ ธรรมจริยธรรมอิ ส ลามศึก ษา นัก เรี ยนระดับมัธยมศึก ษาในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามในพื้น ที่ภ าคกลาง. วิท ยานิพ นธ การศึกษามหาบัณฑิต. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. ประไพ มุ ง จํ า กั ด . 2548. การศึ ก ษาพฤติ ก รรมเชิ ง จริ ย ธรรมของนั ก เรี ย นวั ด โพธิ์ ผั ก ไห .กรุ ง เทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ประภาศรี สีหอําไพ. 2535. พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. ประเวศน มหารัตนสกุล. 2543. การบริหารทรัพยากรมนุษยแนวทางใหม. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพส.ส.ท. ประวี ณ ณ นคร. 2526. บทเรียนสํ า เร็ จรู ปเรื่ องคุ ณ ธรรมจริยธรรมสํ า รั บข า ราชการเอกสารการอบรม สํานักงาน กพ. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. 2552. มารยาท .สืบคนเมื่อ 11 ตุลาคม 2553, จาก http://rirs3.royin.go.th /dictionary.asp พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. 2552. อภัย .สืบคนเมื่อ 11 ตุลาคม 2553, จาก http://rirs3.royin.go.th /dictionary.asp

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

86

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

พัช นี กล่ํ าเสื อ . 2537. เอกสารประกอบการอบรมนั กเรี ยนเพื่ อการสอดแทรกคุ ณธรรม จริ ยธรรม. ชลบุ รี : โรงเรียนชลบุรี “สุขบท”. มัยมุน. 2548. เลี้ยงลูกอยางไรใหไดผล. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. มัสลัน มาหะมะ. 2551. อิสลามวิถีแหงชีวิต. ปตตานี: สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต. มุมีนะห บูงอตาหยง. 2552. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพื่อปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมอิสลามแกนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิส ลาม เขตพื้นที่ การศึกษายะลา เขต 1. วิ ทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. มูลนิธิโตโยตา. 2544. คําพอสอน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรุงเทพฯ. ไลลา หริ่มเพ็ง . 2551. องคประกอบทางจริยธรรมของนัก ศึกษามุส ลิมในสถาบั นอุด มศึก ษา. วิท ยานิ พนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. วศิน อินทสระ. 2529. จริยศาสตร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพบรรณาคาร. สมาคมครูสังคมศึกษาแหงประเทศไทย. 2533. แนวทางการพัฒนาคานิยมและคุณธรรมของเยาชนในปจจุบัน . กรุงเทพฯ: บริษัทพี.เอ.ลีฟวิ่ง จํากัด. สมาคมนักเรียนเกาอาหรับ. 2542. พระมหาคัมภีรอัลกุรอาน (ฉบับแปลภาษาไทย). มาดีนะฮฺ: ศูนยกษัตริยฟะฮัต เพื่อการพิมพอัลกุรอาน. สุชิรา บุญทัน. 2541. ปจจัยบางประการของครอบครัวที่สัมพันธกับจริยธรรมดานความ กตัญู กตเวทีของ นั ก เรี ย นมั ธยมศึ ก ษาป ที่ 1 ในจั ง หวั ด ขอนแก น วิ ท ยาลั ย . วิ ท ยานิ พ นธ การศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต . มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เสาวนีย จิตตหมวด. 2544. ชาติพันธุ. สืบคนเมื่อ 11 มกราคม 2551, จาก http//www.fedmmin awardspace com/modnigt2545/document 95127.html สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2552. หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2553. แผนพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต (2552-2555). พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: พริกหวานการพิมพ. สํานักงานยุทธศาสตรและบูรณาการศึกษาที่ 12. 2551. หลักสูตรการศึกษาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม. ยะลา : สํานักงานยุทธศาสตรและบูรณาการศึกษาที่ 12. สํานักงานยุทธศาสตรและบูรณาการศึกษาที่ 12. 2547. การพัฒนาองคกรและบุคลากร แนวคิดใหมในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท21เซนจูรี่ จํากัด. อามีนะห ดํารงผล. 2546. เลี้ยงลูกใหเปนคนดีแบบอิสลาม. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือนันท-นาถ. อามีนะห ดํารงผล. 2549. สาระนารูเกี่ยวกับชีวิตมุสลิม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอดิสัน เพรส โพรดักส. อับดุลฮากีม วันแอเลาะ. ม.ป.ป. จริยธรรมของอิสลาม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ส. วงศเสงี่ยม. อัล-อิสลาหฺสมาคม. 2544. วิธีละหมาดตามบัญญัติอิสลาม. จัดพิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอัลอิศลาหสมาคม. อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา. 2550. อิสลามศาสนาแหงสันติภาพ. กรุงเทพฯ: บริษัทเฟรส ออบเซ็ต 1993 จํากัด. อิบรอเฮ็ม ณรงครักษาเขต. 2551. “การศึกษาในดินแดนมลายูกับรัฐไทยในมิติประวัติศาสตรและอารยธรรมกับการ สรางความเปนธรรม,” ใน การศึกษาในดินแดนมลายู. หนา 5. 2-3 กุมภาพันธ 2551. โรงแรมเซาทเทิน วิว. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. อุสมาน อิดริส. 2548. คุณธรรม. สืบคนเมื่อ 25 เมษายน 2554, จาก www.islamhouse.com

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

87

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิชาการ

ความเคลื่อนไหวการดะหวะฮฺของรอซูลุลลอฮฺ นูรดินอัลดุเลาะฮ ดากอฮา บทคัดยอ ทานรอซูลได ถูกประทานลงเพื่อเปนตัว แทนให กับประชาติ ทั้งมวลบนพื้น แผนดิน นี้ ในการที่จ ะนําสารแห ง อิสลามอยางสมบูรณ เพื่อใหเขาใจถึงดานการศรัทธา อีบาดัต ชะรีอะฮฺ และจริยธรรม การดานดะหวะฮฺของทานรอซูล โดยยึดหลักจากอัลกุรอานที่พระองคอัลลอฮฺไดทรงประทานลงมาเพื่อเปนแบบอยางในการดํารงชีวิต ทุกๆ ชาติพั นธ ภาษา และทุ กๆ เวลา สถานที่ การดะหวะฮฺข องท านรอซู ลตลอด 23 ป ซึ่งไดแบ งเป น 2 ช วง คือช วงมักกะฮฺ และ ชวงอัลมะดีนะห เพื่อผลิตประชาชาติที่เคารพภักดีตอเอกอัลลอฮฺและไดผลตอบแทนทั้งดุนยาและโลกอาคีเราะห ทาน รอซูลไดวางวิธีการ หลักเกณฑตางๆในการดะหวะฮฺ ไมวาจะเปนดานการนาวโนม คําพูด กิริยา บุคลิกสวนตัวของทาน รอซู ลต อการดะหว ะฮฺ ทุก ๆ สถานที่และเวลา ความพยายามของท านรอซูล ในการดะห ว ะฮฺนั้ น เป นความประสงค ของอัลลอฮที่ทําใหกอเกิดผลในรูปธรรมตางๆ ที่สําคัญที่สุดทําใหชาวอาหรับไดหันมาสนใจในอิสลาม แมกระทั้งวาจะ มีการตอตานการดะหวะฮฺของทานรอซูลก็ตาม

ดร. (อิสลามศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาอุศูลดุ ดีน (หลักการอิสลาม) คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

88

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ARTICEL

Da’wah of Rasulullah 

Noorodin Abdulloh Dagorha

Abstract Rasulullah was sent by Allah to calling people on the face of this earth become to Islam completely and including akidah, ibadat, shari’at and akhlak. Da’wah of Rasulullah used the Holy Quran that the message given by Allah to any kind of people, anywhere and anytime for complete way of their life. The da’wah of Rasulullah that was 23 year and divided to Makkah period and Madinah period. To give people faithful in Allah and got the happiness life here and hereafter, Rasulullah put in many subject of da’wah with gave the aim of da’wah and also used the way medium of da’wah toward the suitable case, period and place. Seriously Rasulullah da’wah but with assistant of Allah give him succeed and got a lot of positive trail, but the topmost that was all of Arabian change their religion to Islam however at first step of calling they were strongly resist calling of Rasulullah.

อัล-นูร

Ph.D. (Islamic Studies) Lecturer, Department of Usuluddin, Faculty of Islamic Studies, Yala Islamic University.


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

89

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Pergrakan Dakwah Rasulullah Noorodin Abdulloh Dagorha Abstrak Rasulullah diutuskan Allah untuk menyeru semua manusia yang berada di permukaan bumi ini kepada Islam secara sempurna dan menyeluruh termasuk akidah, ibadat, syariat dan akhlak. Dakwah Rasulullah bersumberkan al-Quran al-Karim yang diturunkan Allah untuk menjadi pedoman hidup bagi manusia sesuai untuk semua bangsa manusia dan sesuai juga pada setiap tempat dan masa. Dakwah Rasulullah selama 23 tahun terbahagi kepada period Mekah dan period Madinah. Demi melahirkan ummah yang tunduk patuh kepada Allah dan mendapat kebahagiaan hidup di dunia dan akhirat, Rasulullah telah menerapkan subjeksubjek dakwah serta menentukan tujuan-tujuan bagi dakwah begitu juga menggunakan uslub dan wasilah dakwah mengikut kesesuaian keadaan sasaran dan suasana tempat. Kesungguhan Rasulullah dalam menyampaikan dakwah, dengan kehendak Allah berjaya melahirkan banyak kesan posetif, yang paling kemuncak ialah semua orang Arab menukar agama kepada Islam sekalipun pada permulaan dakwah sebahagian besar mereka menentang dakwah secara keras.

Doktor falsafah dalam jurusan Pengajian Islam (Dakwah), pensyarah di Jabatan Usuluddin, Fakulti Pengajian Islam, Universiti Islam Yala.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

90

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Pendahuluan Allah T.A telah mengutus Nabi Muhammad s.a.w adalah untuk menyebarkan agama-Nya kepada seluruh manusia, memberikan peringatan kepada mereka akan azab-Nya, menyampaikan berita baik kepada mereka dan mengubah hati-hati yang tenggelam di dalam lubuk kesesatan ke arah petunjuk Allah yang benar. Di samping itu, Rasulullah juga diutuskan Allah untuk menjadi suri teladan yang baik kepada manusia dalam semua bentuk pengabdian diri kepada Allah T.A. Oleh yang demikian, Allah T.A telah membimbing Rasulullah s.a.w dengan bimbingan yang sempurna agar menjadi seorang pendakwah yang dicontohi. Al-`Adwi mengatakan bahawa: Sesungguhnya Allah telah mendidik nabi-Nya dengan didikan yang paling baik, Ia menceritakan kepadanya kisah rasul-rasul dahulu yang penuh dengan pengajaran.(Al-cAdawi:1354H:401). Pengertian Dakwah Dakwah Islam ialah merangsang manusia kepada kebaikan dan petunjuk Allah serta menyuruh mereka berbuat makruf dan melarang dari melakukan kemungkaran supaya mereka mendapat kebahagiaan di dunia dan akhirat.( cAli Mahfuz:1958:17) Dakwah Islam meliputi mengajak berbuat baik dan melarang daripada kemungkaran. Mengenai ini Ibn Taymiyyah1 ada menyatakan: (Tiap-tiap perkara yang dikasihi Allah dan rasul-Nya, baik wajib mahupun sunat, batin mahupun zahir, maka tugas dakwah kepada Allah menyuruh supaya beramal dengannya. Tiap-tiap perkara yang dimurkai Allah, baik batin mahupun zahir, maka tugas dakwah kepada Allah melarang dari melakukannya. Tidak sempurna dakwah kepada Allah kecuali dakwah itu menyeru kepada beramal dengan perkara yang dikasihi Allah dan meninggal akan perkara yang dimurkai-Nya, baik dengan ucapan kata atau amalan zahir dan batin).(Al-cAsimi: t.t:164) Sasaran Dakwah Rasulullah Sasaran dakwah Rasulullah ialah semua manusia di muka bumi, mereka terbahagi kepada dua golongan iaitu golongan muslim dan golongan kafir atau belum Islam. Adapun golongan muslim apabila dilihat mengikut kuat atau lemah dalam beriltizam dengan Islam, maka ia terbahagi kepada tiga kumpulan iaitu “kumpulan muslim yang lebih dahulu berbuat kebaikan”, “kumpulan muslim yang menganiaya diri sendiri” dan “kumpulan muslim yang pertengahan”, sebagaimana diterangkan Allah di dalam ayat berikut:             [ Z          

(Fatir:35:32)

1

อัล-นูร

Ialah Syeikh al-Islam Taqy al-Din Ahmad Ibn Abd al-Halim Ibn Taymiyyah al-Harani al- Dimasyqi (661H.-728H./1262M.-1327M. )


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

91

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Maksudnya: Kemudian kitab itu Kami wariskan kepada orang-orang yang Kami pilih antara hamba-hamba Kami, lalu antara mereka ada yang menganiaya diri mereka sendiri dan antara mereka ada yang pertengahan dan antara mereka ada (pula) yang lebih dahulu berbuat kebaikan dengan izin Allah. Yang demikian itu adalah kurnia yang amat besar. Manakala sasaran dakwah golongan kafir atau belum Islam dapat dibahagikan kepada empat kumpulan iaitu “kumpulan mengingkari Allah”, “kumpulan musyrik”, “kumpulan ahli kitab” dan “kumpulan munafik”. Sumber Dakwah Rasulullah Sumber dakwah Rasulullah s.a.w ialah al-Quran al-Karim. Allah T.A memerintahkan supaya Rasulullah s.a.w membaca dan menyampaikan semua isinya kepada manusia, memberi keterangan dan huraian kepada mereka.(Al-Nahwi:t.t:27) Firman Allah T.A:                  [ Z         

(Al-Maidah, 5:67) Maksudnya: Hai rasul, sampaikanlah apa yang diturunkan kepadamu dari Tuhanmu. Dan jika tidak kamu kerjakan (apa yang diperintahkan itu, bererti) kamu tidak menyampaikan amanahNya. Allah memelihara kamu dari (gangguan) manusia. Sesungguhnya Allah tidak memberi petunjuk kepada orang-orang kafir. Al-Sacdi menafsirkan ayat ini dengan kata: (Ini adalah satu perintah Allah yang utama bagi rasul-Nya Muhammad s.a.w iaitu menyampaikan apa yang diturunkan Allah kepadanya (al-Quran), ia mengandungi segala urusan manusia yang meliputi akidah, amalan, perkataan, hukum syarak, tuntutan Ilahi dan sebagainya, kemudian Rasulullah s.a.w melaksanakan perintah ini dengan sempurna, Baginda menyeru, memberi peringatan, menyampai berita gembira dan mengajar orang jahil yang tidak pandai membaca dan menulis hingga menjadi ulama). (Al-Sa`di:1420H:239) Tujuan Dakwah Rasulullah Penulis mengklasifikasikan tumpuan dakwah Rasululah kepada enam tujuan utama iaitu: Memperkenalkan Tuhan Pencipta, hak-Nya ke atas manusia dan hak manusia ke atas-Nya. Meluruskan pemikiran salah kepada akidah sohih Memperkenalkan kebenaran dan kebatilan Mengislah dan membersihkan diri Melahirkan kebahagiaan hidup manusia di dunia dan akhirat Menerapkan sistem pemerintahan Islam

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

92

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Subjek Dakwah Rasulullah Subjek Dakwah Rasulullah s.a.w ialah Islam yang mengatur hidup semua manusia pada setiap masa dan tempat, mengatur hidup manusia untuk memperoleh kebahagiaan di dunia serta mendorong mereka ke jalan pengabdian diri kepada Allah T.A agar mendapat kesejahteraan hidup di akhirat. Begitu juga Islam ialah agama tunggal yang mampu memenuhi tuntutan dan keperluan manusia, mampu memberikan keadilan yang setimpal dan menjamin kebahagiaan mereka di dunia dan akhirat. Islam yang merupakan subjek dakwah Rasulullah s.a.w bukan satu agama yang diturunkan hanya untuk pengislahan umat buat sementara waktu dan meninggalkan sebahagian masa yang lain berada dalam kerosakan, begitu juga Islam bukan untuk petunjuk kepada sebahagian umat manusia dan membiarkan umat yang lain berada dalam kekufuran dan kesesatan. Islam ialah agama menyeluruh untuk setiap masa dan kepada semua umat manusia. Islam juga merupakan peraturan Ilahi yang sempurna, manusia tidak mampu berusaha mencari kesempurnaan yang hakiki sama ada akal, akhlak, rohani, meterial dan sebagainya tanpa Islam. (Harras:1406H:212) Period dan Tahap Dakwah Rasulullah Rasulullah s.a.w menyampaikan dakwah kepada manusia selama 23 tahun, dapat dibahagikan kepada dua period iaitu period Mekah dan period Madinah. Period Mekah Dakwah Rasulullah s.a.w pada period Mekah selama 13 tahun bermula dari kebangkitan nabi hingga hijrah ke Madinah Munawwarah, iaitu semasa Rasulullah s.a.w berada di Mekah. Pada period Mekah ini penulis membahagikan kepada 3 tahap iaitu: 1)Tahap Tertutup Tahap dakwah dalam bentuk tertutup ini mengguna masa selama 3 tahun, bemula dari tahun pertama hingga tahun ke-3 dari kebangkitan nabi. Setelah Rasulullah s.a.w diperintah menyampaikan dakwah, Baginda terus melaksanakannya secara tertutup kepada kerabat dan kawan-kawannya yang dipercayai. (Abu Zahrah: t.t:287) Ulama bersepakat mengatakan bahawa Rasulullah s.a.w memulakan dakwah setelah turun perintah Allah dalam surah al-Muddaththir (Al-Siba`i:1406H:46) berbunyi:   ،   ،   ،   ،   ،  [ Z   ، 

(Al-Muddaththir:74:1-7) Maksudnya: Hai orang yang berselimut, bangunlah, lalu berilah peringatan, dan Tuhanmu agungkanlah, dan pakaianmu bersihkanlah, dan perbuatan dosa (menyembah berhala) tinggalkanlah, dan janganlah kamu memberi (dengan maksud) memperoleh (balasan) yang lebih banyak, dan untuk (memenuhi perintah) Tuhanmu maka bersabarlah.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

93

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Subjek dakwah Rasulullah pada tahap ini ialah mengajak manusia kepada akidah yang benar dan menjauhkan daripada kekufuran dan syirik serta menerangkan kepada mereka jalan menuju kebenaran, berita gembira bagi yang taat dan berita buruk bagi yang ingkar. Pada tahap ini terdapat isteri Baginda sendiri iaitu Siti Khadījah binti Khuaylid orang pertama memeluk Islam, kemudian sepupu Baginda `Ali Ibn Abi Talib dan diikuti maula Baginda Zaid Ibn Harithah. Selain mereka, sahabat Baginda Abu Bakr al-Siddiq juga ikut menerima dakwah. Sesudah mereka tersebut memeluk Islam, dakwah semakin tersebar dengan luas sekalipun secara tertutup sehingga bertambah ramai yang memeluk Islam. Pada peringkat ini al-Arqam Ibn Abi al-Arqam juga turut memeluk Islam dan beliau menawarkan rumahnya untuk dijadikan pusat penyebaran dakwah. (Abu Syahibah:1419H:289) Manakala bilangan keseluruhan yang memeluk Islam pada tahap tertutup ini Ibn Hisyam ada menyebut di dalam bukunya akan nama-nama mereka secara terperinci iaitu seramai 54 orang.(Ibn Hisyam: t.t:258-272) Manakala al-Ghadaban juga menyebut di dalam bukunya seramai 57 orang. (Al-Ghadaban:1409H:24-27) Dalam kajian, penulis mendapati 5 orang yang disebut oleh Ibn Hisyam tetapi tidak disebut oleh al-Ghadaban mereka ialah; Asma’ binti Abi Bakr, `Aisyah binti Abi Bakr, Ramlah binti Abi `Auf,2 Abu Hudhaifah ibn `Utbah dan `Aqil ibn al-Bakir. Manakala nama-nama yang disebut oleh al-Ghadaban tetapi tidak disebut oleh Ibn Hisyam seramai 8 orang iaitu; Um al-Fadl binti al-Harith, Fatimah isteri Abu Ahmad ibn Jahsy, Yasir ibn `Amir, Sumaiyah binti Khaiyat, Bilal ibn Rabah, Hafsah binti `Umar, `Amru ibn `Abasah dan Ramlah isteri `Abdullah ibn Maz`un. Oleh yang demikian, sekiranya dihimpun semua nama yang disebutkan oleh kedua-dua ulama tersebut maka ternyata bilangan yang memeluk Islam pada tahap tertutup ini seramai 62 orang. 2.Tahap Terbuka Bagi Ahli Mekah Dakwah secara terbuka adalah tahap kedua bagi dakwah Rasulullah. Masa bagi tahap ini selama 6 tahun iaitu bermula pada tahun ke-4 hingga tahun ke-10 dari kebangkitan nabi. (Ibn al-Athir:1405H:45) Tahap ini bermula setelah Allah T.A memerintahkan supaya berterus terang dalam dakwah melalui ayat-ayat berikut:   ،      ،   [ Z     

(Al-Syu ‘ara’:26:214-216) Maksudnya: Dan berilah peringatan kepada kerabat-kerabatmu yang terdekat, dan rendahkanlah dirimu terhadap orang-orang yang mengikutimu, iaitu orang-orang yang beriman. Jika mereka mendurhakaimu maka katakanlah: “sesungguhnya aku tidak bertanggung jawab terhadap apa-apa yang kamu kerjakan”.

2

Isteri al-Muttalib Ibn Azhar

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

94

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Z      [

(Al-Hijr:15:94) Maksudnya: Maka sampaikanlah olehmu secara terang-terangan segala apa yang diperintahkan (kepadamu) dan berpalinglah dari orang-orang musyrik. Setelah turunnya ayat pertama di atas, Rasulullah terus menghimpunkan kerabatnya seramai 30 orang termasuk Abu Lahab di samping menyediakan makanan dan minuman kepada mereka. (Rizqullah Ahmad:1412H:163) Kemudian Baginda menyatakan kebenaran Allah Tuhan yang berhak disembah, kerasullannya, kebangkitan dan perhitungan pada hari kiamat untuk mendapat balasan syurga atau neraka. Tetapi perhimpunan pada kali ini berakhir dengan penentangan hebat daripada kerabatnya terutama daripada Abu Lahab. (Al-Sulami:1414H:97) Namun demikian Rasulullah s.a.w masih meneruskan dakwahnya dengan terbuka kepada semua manusia dengan menyatakan kepalsuan khurafat dan syirik serta membongkarkan kelemahan berhala dan kesesatan yang nyata bagi orang yang beribadat kepadanya. Hal ini dilakukan setelah turunnya ayat kedua di atas.(Al-Mubarakfuri:t.t:91) Dakwah kebenaran pada tahap terbuka ini disampaikan kepada semua manusia dan setiap pihak yang berada di Mekah, sama ada pemimpin, hamba, kaya, miskin, lelaki, perempuan, tua, muda dan sebagainya. Dakwah pada tahap ini juga dilakukan pada setiap masa dan tempat.(Ahmad Syalabi:1984:207) Ketersebaran subjek dakwah Rasulullah dalam masyarakat Mekah menimbulkan kemarahan bagi orang-orang musyrik terhadap Rasulullah dan pengikutnya, kerana ia menjejaskan kedudukan ibadat penyembahan berhala-berhala yang merupakan pusaka nenek moyang mereka dan menjejaskan juga kedudukan serta kemaslahatan peribadi dan keturunan mereka. Oleh yang demikian, orang-orang musyrik merancang untuk memadamkan dakwah Rasulullah supaya tidak mempengaruhi masyarakat.(Al-Najar:t.t:8485) Tindakan mereka tersebut dibuat dengan berbagai-bagai alasan seperti mengatakan Rasulullah mencela Tuhan-Tuhan, mengejek agama, memperbodohkan harapan dan menyesatkan nenek moyang mereka. Alasanalasan ini pernah mereka menyatakan kepada Abu Talib ketika mengunjunginya supaya ia memberhentikan Rasulullah dari berdakwah.(Ibn al-Athir:1405H:43)Alasan-alasan ini diketarakan juga dalam perbincanganperbincangan mereka mengenai dakwah Rasulullah.(Sa`id Hawa:1399H:89) 3. Tahap Persiapan Menubuhkan Negara Tahap persiapan menubuhkan negara merupakan tahap terakhir bagi dakwah Rasulullah di Mekah, tahap ini mengambil masa selama 4 tahun, bermula pada penghujung tahun ke-10 dari kebangkitan nabi dan berakhir apabila Baginda berhijrah ke Madinah Munawwarah pada 27 Safar tahun ke-14 dari kebangkitan nabi bersamaan 13 Sebtember 622 Masihi.(Al-Mubarakfuri, t.t:142,182-183) Kematian Abu Talib dan Khadījah pada tahun ke-10 dari kebangkitan nabi (Al-Nadawi, 1400H :92) merupakan tahun dukacita bagi Rasulullah s.a.w. Hal ini kerana mereka berdua banyak memberi kemudahan dan perlindungan kepada Rasulullah s.a.w dalam menyebarkan dakwah. Dengan itu orang-orang musyrik dapat melakukan penentangan dengan bebas terhadap dakwah Rasulullah, mereka melakukan apa-apa sahaja

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

95

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

mengikut kehendak sehingga tidak berpeluang bagi Rasulullah untuk menyebarkan dakwah di Mekah. (Abu Zahrah, t.t:389) Berkata Ibn Ishak: (Apabila mati Abu Talib, orang-orang Quraisy dapat menyakiti Rasulullah dengan bebas tidak seperti semasa Abu Talib masih hidup, sehingga orang-orang bodoh dari kalangan mereka melontar tanah ke atas kepala Baginda).(Ibn Hisyam:t.t:442) Dengan itu, Rasulullah s.a.w merancang dengan memilih Ta-if untuk dijadikan pusat perkembangan dakwah di luar Mekah.(Al-Ghadaban:1409H:133) Harapan Rasulullah s.a.w semoga suku Thaqif yang berada di sana akan memeluk Islam dan berkerjasama dalam menyebarkan dakwah, tetapi sebaliknya berlaku iaitu tentangan hebat daripada mereka sehingga orang-orang bodoh dari kalangan mereka menghalau, mencela dan melontarkan batu ke atas Rasulullah.(`Abd al-Wahhab:1422H:83) Selama 10 hari Rasulullah s.a.w menyebar dakwah di Ta-if dan berakhir dengan kegagalan. Setelah tidak berjaya memilih Ta-if sebagai pusat penyebaran dakwah, Rasulullah s.a.w tidak berputus asa bahkan merancang semula untuk mencari negeri lain pula sebagai pusat penyebaran dakwah. Dengan itu, setelah pulang dari Ta-if Baginda terus menyebarkan dakwah dengan gigih kepada berbagai suku kaum daripada luar Mekah yang datang mengerjakan haji. Melalui dakwah pada kali ini terdapat beberapa orang bukan ahli Mekah yang memeluk Islam, antara mereka ialah Suwaid ibn Samit, Iyas ibn Mu`az dan Abu Dhar al-Ghifari daripada ahli Madinah, Tufail ibn `Amru al-Dausi dan Damad al-Azdi daripada ahli Yaman.(AlMubarakfuri:t.t:148-152) Kemudian pada musim haji tahun ke-11 dari kebangkitan nabi datang pula 6 orang suku al-Khazraj daripada Madinah Munawwarah, mereka terdiri daripada As`ad ibn Zararah ibn `Uds, `Auf ibn al-Harith ibn Rifa`ah, Rafi` ibn Malik ibn al-`Ajalan, Qutbah ibn `Amir ibn Hadidah, `Uqbah ibn `Amir ibn Nabi dan Jabir ibn `Abdullah ibn Ri-ab. Rasulullah menjumpai mereka di `Aqabah dan menyeru kepada Islam, kemudian semua mereka memeluk Islam.(Ibn Kathir:1413H:194-195) Setelah pulang ke Madinah, mereka berenam memperkenalkan Rasulullah s.a.w kepada kaum mereka di sana dan menyeru mereka kepada Islam, hingga tidak ada sebuah rumah pun di Madinah pada masa itu melainkan membicarakan tentang Islam.(AlMursifi:1402H:109) Pada musim haji berikut iaitu pada tahun ke-12 dari kebangkitan nabi datang pula 12 orang rombongan daripada Madinah menemui Rasulullah s.a.w, mereka terdiri daripada 5 orang selain daripada Jabir ibn `Abdullah ibn Ri-ab yang telah memeluk Islam pada tahun sebelumnya dan 7 orang yang lain iaitu 5 orang daripada suku al-Khazraj ialah Mu`adh ibn al-Harith, Zakwan ibn `Abd Qais, `Ubadah ibn al-Samit, Yazid ibn Tha`labah dan al-`Abbas ibn `Ubadah ibn Nadilah, dua orang daripada suku al-Aus iaitu Abu al-Haitham Malik ibn al-Taihan dan `Uwaim ibn Sa`idah. Rasulullah s.a.w mengadakan kepada mereka majlis angkat sumpah setia di Bukit `Aqabah. (Ibn Kathir, 1413H:110) Kemudian pada musim haji tahun ke-13 dari kebangkitan nabi datang pula rombongan daripada Madinah seramai 73 orang untuk menjemput Rasulullah s.a.w berhijrah ke Madinah dan menabalkan Baginda

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

96

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

sebagai nabi dan pemimpin mereka. (Shalabi, 1984:252) Rasulullah s.a.w mengadakan pertemuan dengan rombongan ini pada waktu malam secara tertutup di bukit `Aqabah dan mengadakan upacara angkat sumpah setia, angkat sumpah setia pada kali ini dikenali sebagai perjanjian `Aqabah kali kedua.(Al-Najar:t.t:123) Setelah selesai upacara angkat sumpah setia, Rasulullah s.a.w mengarahkan mereka supaya memilih dari kalangan mereka seramai 12 orang naqib3 sebagai pemimpin mereka dan bertanggungjawab melaksanakan isi perjanjian tersebut.(Abu Khalil, 1423H:73) Bagi penulis, perjanjian `Aqabah kali kedua dan perlantikan naqib tersebut membuktikan bahawa Rasulullah s.a.w sudah merancang untuk berhijrah ke Madinah Munawwarah dan memilih negeri ini sebagai pusat penyebaran dakwah atau pusat pemerintahan Islam. Upacara angkat sumpah setia `Aqabah ini sangat-sangat membimbangkan orang-orang musyrik, kerana ia boleh menjejaskan semua urusan terutama menghalang perniagaan mereka. Hal ini kerana kedudukan Madinah Munawwarah antara Mekah dan al-Syam yang merupakan laluan bagi para pedagang antara dua negara ini.(Syalabi, 1984:254) Dengan itu, mereka dengan sebulat suara memutuskan dalam persidangan di Dar al-Nadwah untuk membunuh Rasulullah. Hal ini adalah semata-mata bertujuan agar dakwah Rasulullah akan padam dan berakhir. (Abu Khalil, 2000:188) Pada hari pemimpin-pemimpin musyrik memutuskan untuk membunuh Rasulullah, Allah telah memerintah supaya Rasulullah s.a.w berhijrah ke Madinah. Kemudian pada malam itu juga Abū Jahal bersama pemuda-pemuda musyrik yang mewakili berbagai suku kaum mengepung rumah Baginda untuk membunuhnya. Manakala Baginda pula meminta supaya cAli Ibn Abi Talib tidur pada tempat tidurnya, setelah itu Baginda keluar di hadapan mereka dengan membaca: Z           [

(Ya sin, 36:9) serta menghambur debu tanah ke atas mereka, dengan kuasa Allah mereka tidak nampak Baginda dan Baginda keluar dengan selamat.(`Abd al-Wahhab:1422H:93-94) Period Madinah Period Madinah bagi dakwah Rasulullah bermula dari hijrah Rasulullah ke Madinah Munawwarah hingga wafat Baginda iaitu selama 10 tahun. Pada period ini penulis membahagikan kepada dua tahap iaitu “tahap pembinaan negara” dan “tahap perluasan kawasan dakwah”. 1.Tahap Pembinaan Negara Tahap pembinaan negara bermula dari hijrah hingga ke Sulh Hudaibiah pada tahun ke-6 Hijrah. (AlJaza-iri:1409H:337) Aktiviti pertama yang dilakukan Rasulullah s.a.w setelah sampai ke Madinah Munawwarah ialah membina masjid sebagai lambang Islam. Masjid pertama ini dibina untuk didirikan solat yang merupakan hubungan antara makhluk dengan Penciptanya. Selain itu, ia juga sebagai pusat pergerakan Islam pada 3

อัล-นูร

Naqib ialah ketua kumpulan.


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

97

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

keseluruhannya, antaranya ialah pusat penyebaran dakwah Islam, pusat pengurusan dan penyusunan negara Islam, pusat kursus dan pembinaan, dewan mesyuarat, pusat perhimpunan mingguan bagi umat Islam, pusat pembelajaran dan pendidikan, pusat perhimpunan dan latihan ketenteraan dan lain-lain.(Rizqullah Ahmad:1412H:297) Demi melahirkan negara Islam yang kuat, Rasulullah s.a.w membina ikatan persaudaraan atau ukhuwwah sesama umat Islam, terutama antara orang muhajirin dan orang ansar. Hal ini berlaku setelah 5 bulan Rasulullah berada di Madinah Munawwarah.(Shawqi Daif, t.t:164) Menerusi aktiviti ini maka terbinalah persaudaraan yang terjalin kukuh antara peribadi yang dibina Rasulullah s.a.w.(Al-Mursifi, 1402H:207-229) Demi kekuatan dan keteguhan negara Islam Madinah, Rasulullah s.a.w menjalinkan kasih sayang dan persahabatan dengan orang-orang Yahudi yang berada di Madinah. Rasulullah dan orang-orang Yahudi mengadakan persetujuan bersama atas kerjasama supaya menjadi satu barisan dan satu benteng kekuatan di Madinah.(Al-Najar, t.t:149-150) Selain itu, Rasulullah s.a.w juga mengadakan perjanjian secara bertulis dengan menyatakan hak dan kewajipan kedua belah pihak. Perjanjian ini berasaskan persaudaraan dalam kedamaian, mempertahankan Madinah Munawwarah semasa perang dan tolong menolong ketika ditimpa kecemasan ke atas satu pihak atau kedua belah pihak.(Al-Samhudi, 1418H:616) Dapat difahami menerusi isi perjanjian di atas, Rasulullah s.a.w selaku pemimpin negara Islam yang mempunyai rakyat berlainan agama memberi kebebasan kepada orang bukan Islam dalam beragama, berakidah dan berpendapat, malahan memberi hak yang sama dengan orang Islam. Pada tahap ini juga Rasulullah s.a.w membentuk sistem ekonomi bagi meningkatkan taraf ekonomi yang bersih serta menyelesaikan beberapa masalah ekonomi yang berlaku dalam masyarakat. Pembentukan sistem ekonomi ini adalah berasaskan bimbingan dan pertunjukan Allah melalui al-Quran al-Karim. Oleh yang demikian, ia dapat menjaminkan keadilan bagi setiap lapisan masyarakat, mereka memiliki hak masing-masing dengan bersih dan tidak mencabuli hak orang lain, mengeluarkan harta yang bukan haknya kepada yang berhak, membelanjakan harta demi kepentingan Islam, orang fakir dan miskin mempunyai hak daripada harta orang kaya melalui zakat, kifarat dan sebagainya. Sistem ekonomi yang diterapkan Rasulullah s.a.w ini bukan sekadar dapat membina ekonomi yang bersih dan menyelesaikan penyakit-penyakit ekonomi dalam masyarakat, malahan melahirkan kasih sayang dan perasaan bertanggungjawab antara satu sama lain terutama antara orang kaya dan fakir begitu juga miskin.(Al-Najar, t.t:161-162,164) 2.Tahap Perluasan Kawasan Dakwah Setelah bertapaknya pusat dakwah atau negara Islam di Madinah, Rasulullah s.a.w melangkah pula ke tahap yang lain iaitu meluaskan kawasan dakwah kepada kawasan-kawasan luar Madinah. Tahap ini bermula setelah Sulh Hudaibiah pada tahun ke-6 Hijrah hingga wafat Rasulullah s.a.w pada tahun 11 Hijrah iaitu selama 4 tahun. Sasaran dakwah Rasulullah bukan terbatas kepada kawasan tertentu dan bukan juga untuk golongan tertentu, malahan ia meliputi seluruh dunia dan setiap lapisan masyarakat. Justeru, pada hari Sabtu bulan Rabi`

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

98

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

al-Awwal tahun ke-7 Hijrah(Al-cIsa, 1998:9) Rasulullah mengutuskan para sahabatnya membawa surat dakwah kepada beberapa orang raja dan pemimpin.(Al-`Umari:1418H:454) Melalui pendakwah dan surat yang diutuskan Rasulullah s.a.w ini terdapat sebahagian raja dan pemimpin tersebut menerima dakwah Rasulullah dengan memeluk Islam seperti Ashamah ibn al-Abjar raja al-Habasyah, al-Munzir ibn Sawi hakim al-Bahrain, Jaifar ibn al-Jalandi raja `Uman dan saudaranya cAbda ibn al-Jalandi. Adapun raja dan pemimpin yang lain semua menolak dan tidak menerima Islam.(Al-Mubarakfuri, t.t:392-405) Demi meluaskan kawasan dakwah supaya manusia dapat memeluk Islam, Rasulullah s.a.w mengutuskan para sahabat yang telah terdidik dan terbina dengan manhaj dakwahnya kepada beberapa kawasan mengikut strategi tertentu. Seperti mengutus Khalid ibn al-Walid kepada Bani al-Harith ibn Ka`ab di Najran.(Al-Tobari:t.t:126) Setelah Bani al-Harith ibn Ka`ab memeluk Islam, Rasulullah s.a.w mengutus pula `Amru ibn Hizam kepada mereka untuk mengajar syariat Islam.(Al-Jaza-iri, 1409H:456) Begitu juga Rasulullah s.a.w mengutuskan `Ali ibn Abi Talib kepada Yaman untuk berdakwah kepada manusia di sana. (Al-cIsa, 1998:10) Uslub Dakwah Rasulullah Uslub bererti kaedah atau cara.(Teuku Iskandar, 1993:1448) Mengenai uslub yang digunakan Rasulullah s.a.w dalam penyampaian dakwah penulis membahagikannya kepada dua bahagian iaitu uslub dakwah pada period Mekah dan uslub dakwah pada period Madinah adalah seperti berikut: 1.Uslub Dakwah pada Period Mekah Penentuan tempat bagi dakwah merupakan uslub yang penting, kerana pada period ini dakwah Rasulullah masih lemah pada segala-galanya, manakala kedudukan umum kota Mekah pada masa itu dikuasa penuh oleh orang-orang musyrik. Dengan itu Rasulullah memilih rumah al-Arqam Ibn Abī al-Arqam sebagai tempat atau markaz dakwah dan memilih bukit `Aqabah sebagai tempat pertemuan dengan orang luar Mekah yang datang dari Madinah dan digunakan juga sebagai tempat untuk mengadakan upacara angkat sumpah setia dengan mereka. Kemudian beberapa tempat yang lain disebarkan dakwah secara terbuka seperti bukit Sofa, pasar Zi al-Majaz dan sebagainya. Menghimpun manusia untuk menyampaikan dakwah salah satu uslub dakwah Rasulullah. Dengan keistimewaan keperibadian Rasulullah s.a.w seperti beramanah dan berakhlak mulia, Baginda mampu menyeru manusia untuk berhimpun di satu tempat tertentu kemudian menyampaikan subjek dakwah kepada mereka. Ibn Abbas berkata: (Apabila Allah menurunkan ayat ‫ ﻭﺃﻧﺬﺭ ﻋﺸﲑﺗﻚ ﺍﻷﻗﺮﺑﲔ‬Rasulullah datang ke Sofā dan menyeru manusia untuk berhimpun, maka berhimpunlah manusia, ada yang datang sendiri dan ada yang mengutus wakil). (Sacid Hawa, 1399H:107-108)

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

99

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Antara uslub dakwah Rasulullah juga ialah pergi ke tempat-tempat perhimpunan manusia untuk menyampaikan dakwah, seperti di Mina pada musim haji, di pasar Zi al-Majaz, di rumah-rumah Bani Kindah, Bani Kalb, Bani Hanifah, Bani cAmir dan lain-lain. (Sacid Hawa, 1399H:108-110) Rasulullah juga mengguna uslub memerintahkan dari kalangan sahabatnya supaya menyeru orang yang masih kufur kepada Islam dan mengajar orang-orang yang telah Islam tetapi masih mentah fahaman tentang Islam. Hal ini dapat dilihat menerusi Abu Bakr al-Siddiq apabila terdapat beberapa orang sahabat terkemuka memeluk Islam melalui dakwahnya.(`Abd al-Wahhab, 1422H:57) Begitu juga `Amru ibn Um Maktum dan Mus`ab ibn `Umair diutuskan oleh Rasulullah s.a.w ke Madinah untuk mengajar al-Quran dan menyeru manusia kepada Islam. (Ibn Kathir, 1413H:110) Rehlah (berkunjung) merupakan satu uslub dakwah yang banyak diguna oleh para rasul, begitu juga Nabi Muhammad s.a.w ikut memilih uslub rehlah dalam menyampaikan dakwah, sebagaimana Baginda berehlah ke Tā-if untuk menyeru penduduk di sana kepada Islam. Hijrah ke Madinah merupakan uslub dakwah Rasulullah. Ia menggambarkan kesungguhan Baginda dalam melaksanakan tugas dakwah, Baginda sanggup mengharungi kesusahan yang terpaksa meninggalkan kampung halaman tempat tumpah darah. Hal ini adalah semata-mata untuk meningkatkan perkembangan dakwah daripada satu kawasan yang sempit kepada kawasan yang lebih luas, begitu juga dari satu kedudukan di bawah penentangan dan penindasan jahiliah kepada satu kedudukan yang lebih besar dalam mangatur dan menyusun pergerakan dakwah. 2. Uslub Dakwah pada Period Madinah Pada period Madinah Rasulullah menggunakan uslub dakwah yang berlainan daripada uslub dakwah yang digunakan pada period Mekah, antaranya ialah: perdamaian, menghantar surat kepada raja dan pemimpin, mengutuskan pendakwah dan pengajar dan sebagainya. Selain itu, pada period Madinah juga disyarakkan berjihad dalam bentuk perang bersenjata. Uslub ini bukanlah menunjukkan dakwah Rasulullah menyeru manusia dengan kekerasan dan paksaan, malahan jihad yang dibentuk Rasulullah s.a.w adalah semata-mata untuk mempertahankan diri dan dakwah daripada mana-mana pencerobohan musuh yang berusaha menghancurkan dan memadamkan dakwah Islam. Berkenaan hal ini al-Najar ada berkata: (Siapa yang mempelajari ayat-ayat al-Quran mengenai perang, ia akan dapati bahawa perang dalam Islam mengandungi dua tujuan iaitu: Pertama untuk mempertahankan diri dan menyekat kezaliman dan permusuhan. Kedua untuk mempertahankan dakwah, iaitu menjaga orang yang telah beriman apabila difitnahkan, atau terdapat sekatan ke atas orang yang mahu memeluk Islam, atau terdapat larangan ke atas pendakwah dari menyampaikan dakwah).(AlNajar:t.t:165)

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

100

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Wasilah Dakwah Rasulullah Antara wasilah utama yang diguna Rasulullah  dalam melancarkan dakwah adalah seperti berikut: 1. Perkataan; terdiri daripada membaca al-Quran, mengajar, berkhutbah, memberi nasihat dan memberi penerangan. 2. Perbuatan; perbuatan-perbuatan Rasulullah merupakan kudwah. 3.Tempat iaitu masjid, rumah dan bukit. 4.Alat iaitu surat kiriman. Kesan Dakwah Rasulullah Dakwah Rasulullah banyak menghasilkan kesan positif. Adapun kesan yang paling agung ialah semua orang Arab menukar agama kepada Islam. Hal ini berlaku sesudah pembukaan Mekah, ia dapat dilihat kepada firman Allah berbunyi: Z       ،     [

(Al-Nasr, 110:1-2) Maksudnya: Apabila telah datang pertolongan Allah dan pembukaan. Dan kamu lihat manusia masuk agama Allah dengan berpuak-puak. Berkata Ibn Kathir: (Dikehendaki pembukaan di dalam surah ini ialah pembukaan Mekah. Setelah Allah membuka Mekah manusia berpuak-puak memeluk Islam. Sesudah berlalu dua tahun, Semenanjung Tanah Arab disinari dengan iman dan setiap suku kaum Arab memeluk Islam). (Ibn Kathir, 1413H:563) Dakwah Rasulullah yang menyebar akidah benar kepada manusia. Kesan daripada akidah benar ini manusia berubah sikap hidup harian mereka dari hidup tidak ada batasan dalam pegangan dan kepercayaan kepada hidup yang mentauhidkan Allah dan mengabdikan diri hanya kepada Allah. (Sacid Hawa, 1399H:175176) Penerapan ibadat dapat melahirkan manusia yang beribadat kepada Allah dengan cara yang benar dan diterima Allah. Adapun sebelum kedatangan dakwah Rasulullah manusia beribadat kepada sesama makhluk, melakukan syirik dalam ibadat kepada Allah atau beribadat kepada Allah mengikut cara yang salah daripada nenek moyang mereka. Ibadat sohih melahirkan banyak kesan positif dalam hidup manusia terutama hubungan erat antara mereka dan Allah, mereka selalu mengingati Allah, manusia yang selalu mengingati Allah amat sukar untuk melakukan maksiat terhadap Allah. (Ibrahim Hassan, 1964:175-176) Penerapan syariat dan akhlak dapat melahirkan sebuah masyarakat yang ada batasan dalam pergaulan. Sifat kasih sayang, tolong menolong dan mengutamakan kepentingan orang lain lebih dari diri sendiri

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

101

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

masing-masing ditonjolkan. Hal ini dapat dilihat sesudah Rasulullah mengikat persaudaraan antara orang muhajirin dan orang ansar.(Al-Mursifi, 1402H:256-257) Masyarakat yang dibina Rasulullah adalah sama sahaja; semua daripada seorang manusia iaitu Adam, menjadi hamba dan akan kembali kepada satu Tuhan iaitu Allah. Adapun perbezaan jantina, warna kulit, keluarga, pangkat dan kedudukan bukanlah sesuatu yang boleh membezakan antara mereka, malahan ia adalah pembahagian tugas sebagai khalifah Allah di atas permukaan bumi sahaja.(Sacid Hawa, 1399H:172-173) Dengan itu, kedudukan manusia di sisi Allah adalah sama, sama ada hubungan dengan Allah, hubungan dengan syariat, hubungan sesama manusia dan sebagainya, tidak ada perbezaan antara kaya dan miskin, berkulit putih dan hitam, lelaki dan perempuan, begitu juga orang Yahudi dan Nasrani dengan orang Islam selama berada dalam perdamaian.(Ibrahim Hassan, 1964:186) Sebelum kedatangan dakwah Rasulullah, kedudukan wanita pada masa itu terutama dalam masyarakat Yunan dan Roman adalah seumpama barangan atau binatang, wanita tidak diberi hak milik harta dengan apa cara jua, tidak ada hak menerima harta pusaka dan tidak berpuluang untuk menuntut ilmu.(Ibrahim Hassan:1964:179) Hasil kajian tentang ini juga terdapat kedudukan wanita Arab semasa jahiliah terutama dalam masyarakat Mekah tidak ada nilai hidup di sisi mereka, dengan itu ada antara mereka yang sanggup membunuh anak perempuan sendiri kerana menjaga maruah keluarga dan sebagainya. Sistem perkahwinan jahiliah dilakukan sesudah wanita dijadikan alat pemuasan nafsu syahwat. (Al-Najar, t.t:46-49) Kedudukan wanita yang tidak bernilai ini berubah sesudah dakwah Rasulullah disebarkan, wanita kembali menjadi manusia yang bernilai dan setaraf lelaki, mempunyai hak yang sama dengan lelaki dalam pemilikan harta dan menuntut ilmu pengetahuan, persetubuhan antara lelaki dan wanita adalah mengikut sistem perkahwinan yang ditentukan Allah dan sebagainya.(Al-Mursifi, 1402H:176-177) Dakwah Rasulullah mengharamkan pertumpahan darah sesama manusia atas yang bukan hak serta menetapkan hukum bunuh balas ke atas pembunuh. Kesan daripada penerapan ini lahirlah masyarakat yang berkasih sayang dan aman dari pertumpahan darah. (Ibrahim Hassan, 1964:176-177) Sebelum kedatangan dakwah Rasulullah, manusia berusaha meraih harta dengan macam-macam sistem penindasan dan penipuan, riba berleluasa dan jual beli tidak ada batasan, orang kaya bertambah kaya manakala orang miskin bertambah miskin. Keadaan sedemikian telah ditangani oleh dakwah Rasulullah melalui syariat Islam dengan menerapkan sistem jual beli, mengharamkan riba, penipuan dan penindasan dalam berekonomi serta menyeru manusia supaya bersifat qana`ah.4 Kesan daripada penerapan ini lahirlah masyarakat yang berwaspada dalam meraih harta, jual beli berasaskan syariat Islam, menghindari dari sistem ekonomi yang bercanggah dengan syariat Islam, tidak tamak malahan berqana`ah. Ringkasnya, masyarakat memiliki harta secara halal dan membelanjakannya mengikut peraturan syariat Islam. (Ibrahim Hassan, 1964:177) Dakwah Rasulullah berusaha membasmikan segala bentuk kemungkaran seperti arak, judi, zina, sihir dan sebagainya serta melaksanakan hukuman ke atas yang melanggar. Hal ini melahirkan masyarakat yang 4

Qana`ah ialah rasa cukup dengan pemberian Allah.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

102

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

menjauhi kemungkaran kerana takwa kepada Allah hingga terbentuk masyarakat yang berlumba-lumba untuk melakukan kebaikan dan aman dari kemungkaran. (Al-Mubarakfuri, t.t:514) Masyarakat Arab terkenal sebagai salah satu masyarakat yang suka dan mengagungkan sastera, ramai dalam kalangan mereka yang terkenal sebagai sasterawan, mereka menciptakan sya`ir-sya`ir dalam bentuk tulisan, persembahan di hadapan khalayak ramai dalam majlis-majlis tertentu dan sebagainya. Apabila dakwah Rasulullah disebarkan dengan memperdengarkan bacaan ayat-ayat al-Quran menimbulkan kekaguman dalam kalangan mereka, kerana uslub al-Quran lebih bermutu kesusasteraannya daripada sya`ir-sya`ir mereka. Dengan itu, lafaz-lafaz dan istilah-istilah al-Quran dipergunakan dalam percakapan, ucapan, tulisan dan sya`ir mereka, begitu juga para sasterawan meniru uslub al-Quran di dalam sya`ir-sya`ir mereka. Hal ini dibuktikan dengan Labid Ibn Rabi`ah seorang sahabat yang terkenal sebagai penya`ir pada masa jahiliah, setelah memeluk Islam, apabila ditanya tentang sya`irnya beliau membaca al-Quran seraya berkata: Allah telah mengganti kepadaku dengan kebaikan daripada-Nya (Quran). (Ibrahim Hassan, 1964:192) Sebelum dakwah Rasulullah disebarkan, masyarakat Arab diperintahkan oleh pemimpin-pemimpin suku kaum mengikut sistem politik masing-masing, ia tidak berasaskan keadilan dan peri kemanusiaan. Pemerintahan mereka adalah semata-mata bagi kemaslahatan tertentu sama ada kemaslahatan pemimpin atau kemaslahatan suku kaum itu sendiri. Bagi menghasilkan tujuan tersebut mereka sanggup berperang dan bertumpah darah hingga berlaku perseteruan antara suku kaum. (Al-Mubarakfuri, t.t:38) Dakwah Rasulullah berjaya mendirikan negara Islam dengan menghimpunkan suku-suku kaum Arab di bawah satu panji Islam, semua mereka tunduk kepada hukum bawaan Rasulullah s.a.w dan arahan al-Quran. Permusuhan antara suku kaum terhapus malahan lahir sifat kasih sayang antara mereka, mereka sanggup mengorbankan harta dan jiwa raga adalah semata-mata demi kepentingan Islam.(Ibrahim Hassan, 1964:194)Sistem politik berasaskan al-Quran bagi negara Islam yang dipimpin Rasulullah melahirkan keadilan, kemakmuran, keamanan dan kebahagiaan di dalam masyarakat Islam pada masa itu. (Al-Mubarakfuri, t.t:514) Penutup Alhamdulillah syukur kepada Allah T.A. yang dengan kehendak-Nya tulisan ini dapat diselesaikan dengan baik. Semoga melalui tulisan ini, asas-asas dakwah Rasulullah s.a.w. akan menjadi pedoman asas kepada para pendakwah dalam usaha menyeru manusia kepada Islam dan menyebar ajaran Islam kepada umat Islam agar menghayatinya dalam hidup harian mereka. Melalui tulisan ini juga, penulis mengharapkan semoga ia dikira Allah sebagai amalan solih yang dibalas dengan ganjaran pahala.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

103

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RUJUKAN Al-Quran al-Karim. c Abd al-Wahhab, Muhammad. 1422H. Mukhtasar Sirah al-Rasul. cet 15. al-Jamciyyah al-Islamiyyah. alMadinah al-Munawwarah. Abu Khalil, Syawqi. 2000. Atlas al-Quran. cet 1. Dar al-Fikr al-Macasir. Bayrut. Abu Khalil, Syawqi. 1423H. Atlas al-Sirah al-Nabawiyyah. cet 1. Dar al-Fikr. Dimasyq. Abu Shahibah, Muhammad Ibn Muhammad.1419H Al-Sirah al-Nabawiyyah Fi Dau-i al-Quran Wa alSunnah. cet 5. Dar al-Qalam. Dimasyq. Abu Zahrah, Muhammad Ahmad. t.t.. Khatam al-Nabiyyin. Dar al-Fikr al-cArabiy. al-Qahirah. Al-cAdawi, Muhammad Ahmad. 1354H. Dacwah al-Rasul Ila Allah Tacala. Matbacah Mustafa al-Babi alHalabi Wa Auladuhu. Misr. Ahmad, Mahdi Rizqullah. 1412H. Al-Sirah al-Nabawiyyah. cet 1. Markaz al-Malik Faisal Li al-Buhuth Wa alDirasat al-Islamiyyah. al-Riyad. c Al- Asimi, Abd. al-Rahman Ibn Muhammad Ibn Qasim. t.t.. Majmuc Fatawa Syeikh al-Islam Ahmad Ibn Taimiyyah. Maktabah Ibn Taimiyyah. Daif, Syawqi. t.t.. Muhammad Khatam al-Mursalin. Dar al-Macarif. al-Qahirah. Al-Ghadaban, Munir Muhammad. 1409H. Al-Manhaj al-Haraki Li al-Sirah al-Nabawiyyah. cet 4. Maktabah al-Mannar. al-Zarqa’. Harras, Muhammad Khalil. 1406H. Dacwah al-Tauhid. cet 1. Dar al- Kutub al- cIlmiyyah Bayrut- Lubnan. Hassan, Hassan Ibrahim. 1964. Tarikh al- Islam. cet 7. t.p. Hawa, Sacid. 1399H. Al-Rasul. cet 4. Dar al-Kutub al-cIlmiyyah. Bayrut. Ibn al-Athir, Abu al-Hassan cAli Ibn Abi al-Kiram Muhammad Ibn Muhammad Ibn cAbd al-Karim Ibn cAbd alWahid al-Shaibani. 1405H. Al-Kamil fi al-Tarikh. cet 5. Dar al-Kitab al-cArabiy. Bayrut. Ibn Hisham, Abu Muhammad. t.t.. Al-Sirah al-Nabawiyyah. Dar al-Fikr. al-Qahirah. Ibn Kathir, al-Hafiz cImad al-din Abu al-Fida’ Ismacil al-Qurashi al-Dimashqi. 1388H. Tafsir al-Quran alc Azim. Dar Ihya’ al-Turath al-cArabiy. Bayrut. Ibn Kathir, al-Hafiz cImad al-din Abu al-Fida’ Ismacil al-Qurashi al-Dimashqi. 1413H. Al-Fusul Fi Sirah alRasul . cet 6. Dar Ibn Kathir. Bayrut. c Al- Isa, Salim Sulaiman. 1998. Al-Mucjam al-Mukhtasar li al-Waqa-ic. cet 1. Dar al-Namir. Dimashq. Al-Jaza-iriy, Abu Bakr Jabir. 1409H. Hadha al-Habib Muhammad Sallallah cAlaih Wa Sallam Ya Muhib. cet 2. Dar al-Shuruq. Mekah. Al-Juyushiy, Muhammad Ibrahim. 1420H. Tarikh al-Dacwah. cet 1. Dar al-cIlmi Wa al-Thaqafah. al-Qahirah. Mahfuz, cAli. 1958. Hidayah al- Murshidin Ila Turuq al-Wacz Wa al-Khitabah. al-Matbacah alc Uthmaniyyah al-Misriyyah. al-Qahirah.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

104

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Al-Mubarakfuri, Sofy al-Rahman. t.t.. Al-Rohiq al-Makhtum. Dar al-Wafa’ Li al-Tibacah Wa al-Nasyr. alMansurah. Al-Mursifi, Sacad. 1402H. Al-Hijrah al-Nabawiyyah Wa Dauruhu Fi Bina’ al-Mujtamac al-Islamiy. cet 1. Maktabah al-Falah. al-Kuwayt. Al-Nadawi, Abu al-Hassan cAli al-Husna. 1400H. Sirah Khatam al-Nabiyyah. cet 3. Muassasah al-Risalah. Bayrut. Al-Nahwi, Adnan. t.t.. Daur al-Minhaj al-Robbani Fi al-Dacwah al-Islamiyyah. Dar al-Islah. al-Dammam. Al-Najar, Muhammad al-Tayyib. t.t.. Al-Qaul al-Mubin Fi Sirah Sayyid al-Mursalin. Dar al-Ictisam. alQahirah. c Al-Sa di , cAbd al-Rahman Ibn Nasir. 1420H. Taysir al-Karim al-Rahman fi Tafsir Kalam al-Mannan. cet 1. Muassasah al-Risalah. Bayrut. Al-Samhudi, cAli Ibn cAbdullah Ibn Ahmad al-Husayni. 1418H. Khulasah al-Wafa Bi Akhbar Dar al-Mustafa. cet 1. t.p. Al-SibacI, Mustafa. 1406H. Al-Sirah al-Nabawiyyah. cet 9. al-Maktab al-Islamiy. Bayrut. Al-Sulami, Muhammad Ibn Rizq Ibn Tarhuni. 1414H. Sohih al-Sirah al-Nabawiyyah. cet 1. Maktabah Ibn Taymiyyah. al-Qahirah. Shalabiy, Ahmad. 1984. Mausucah al-Tarikh al-Islam Wa al-Hadarah al-Islamiyyah. cet 11. Maktabah al-Nahdah al-Misriyyah. al-Qahirah. Teuku Iskandar. 1993. Kamus Dewan. Ed. Ke-4. Dewan Bahasa dan Pustaka. Kuala Lumpur. Al-Tobariy, Abu Jacfar Muhammad Ibn Jarir (224-310H). t.t.. Tarikh al-Tobariy. cet 2. Dar al-Macarif bi Misr. al-Qahirah. Al-Umariy, Akram Diya’. 1418H. Al-Sirah al-Nabawiyyah al-Sohihah. cet 3. Maktabah al-cAbaykan. alRiyad.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

105

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

บริการสงตอผูปว ยของหนวยบริการปฐมภูมิบนเกาะแหงหนึ่งในจังหวัดกระบี่ ทิพวรรณ หนูทอง เพชรนอย สิงหชางชัย สาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง บทคัดยอ วิจัยเชิงคุณภาพนี้ วัตถุประสงคเพื่ออธิบายความหมายการสงตอผูปวย ขั้นตอน ปญหา แนวทางแกปญหา ของผูใชและผูใหบริการ ทั้งขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ผูใหขอมูล 12 คน เก็บขอมูล กรกฎาคม 2552 –มีนาคม 2553 โดย การสั มภาษณ ตรวจสอบขอมูล แบบสามเสา วิ เคราะห ข อมู ลด วยเทคนิ คการวิ เคราะห เนื้ อหา ผลการวิ จัยพบว า ผูใ ช บ ริ การให ความหมายการส งต อผู ป ว ย คื อ การไปหาหมอที่ โรงพยาบาลเพื่ อรักษาอาการ ด วยการตรวจเลื อด เอ็กซเรย ตรวจรางกาย รับยาและสงตอไปที่อื่น ผูใหบริการใหความหมาย คือ ใหผูมีความสามารถมากกวาดูแลตาม ระบบสงตอ เพื่อรักษาอาการรุนแรง อาการที่ไมดีขึ้น อาการที่เกินขีดความสามารถ โดยหมอที่ชํานาญหรือมีเครื่องมือ พรอม ขั้นตอนของผูใชบริการ คือ รับรูและเขาใจอาการเจ็บปวย ดูแลสุขภาพตนเอง เลือกแหลงรักษาและตัดสินใจ ขั้น ตอนของผู ให บ ริก าร คื อ การประเมิน วินิ จ ฉัย รัก ษาพยาบาลเบื้ องต น ตั ดสิ น ใจส งต อ ประสานงาน เตรี ย ม เอกสารและนํา ส ง ผู ป ว ย และเยี ่ ย มบ า น ปญหาของผู ใชบ ริก าร คือ การเดินทางออกจากเกาะ ความตองการ รักษาพยาบาล ปญหาของผูใหบริการ คือ การเคลื่อนยายและขนสงผูปวย ขาดเครื่องมือ บุคลากรไมพอ โดยแนวทางที่ ผูใชบริการเสนอ คือ จัดหาพาหนะนําสงผูปวยตลอดเวลา มีผูที่มีความรูความสามารถในการรักษาเพิ่มขึ้น แนวทางที่ผู ใหบริการเสนอ คือ จัดหาหนวยงานที่สนับสนุนเครื่องมือ มีเรือนําสงผูปวย พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ สนับสนุนความรู แกประชาชนเรื่องสุขภาพและการสงตอผูปวย ขอเสนอแนะเชิง นโยบาย คือ สนับ สนุน เครื่องมือ อบรมเจาหนาที่ที่ ไมใชพยาบาล และการแพทยทางไกล. คําสําคัญ: บริการสงตอผูปวย, หนวยบริการปฐมภูมิบนเกาะ

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร



ดร. (ประชากรศาสตร) รองศาสตราจารย, อาจารยสาขาการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร



ดร. (พัฒนาศึกษาศาสตร) ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยสาขาการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

106

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Referral Services of Primary Care Unit on Island, Krabi Province Tipawon Nootong Phechnoy Singchungchai Sawitri Limchai Arunreang ABSTRACT This qualitative research explored the meaning , processes, problems of referral services on clients and providers and suggestions. Informat 12,data were collected interview during July 2009-March 2010 triangulation and analyzed by content analysis.The results showed that the clients’meaning was seeing a doctor for investigation for blood test, x-ray, body check ,medicine and referral. The providers’ meaning was more capable providers in the referral network system, especially in cases of severe illness, uncured symptoms, or overwhelming situations that needed specialist medical technology . The clients’process of recognizing and understanding the health problem, self care, and making choices regarding treatment. The providers’ process of symptom assessment, tentative diagnosis, basic medical treatment, referral decision, coordination, document preparation & referral management, and home visitation. Problems of clients were difficulties in transportation and demand for treatment .The providers concerned referral transportation, medical supplies for emergency care, and shortage of care providers. Recommendations of the clients were to provide a supplementary referral boat and more competent care providers and providers’ recommendations were to have a referral supporting network for medical supplies, improved transportation, staff development, and self-care education for the people.Policy recommendations for the Ministry of Public Health were to support medical supplies for the referral services to all primary care units on the island, to provide a training course on emergency care for non-nurse providers, and tele-medical . Keyword: referral service, Primary Care Unit on Island

Graduate Student, Department of Health systems research and development, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University.



Assoc. Prof. Ph.D. (Demography) Lecturer, Department of Health systems research and development, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University.



Asst. Prof. Ph.D. (Development of Education) Lecturer, Department of Health systems research and development, Faculty of Nursing, Prince of

Songkla University.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

107

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา การสงตอผูปวย เปนการเคลื่อนยายผูปวยจากสถานที่หนึ่งไปรักษาตออีกที่หนึ่งเพื่อประโยชนในการคุมครอง ผูปวยใหพนอันตรายและมีความปลอดภัย ผูปวยไดรับการดูแลรักษา ถูกตองเหมาะสมและทันตอเหตุการณ การสงตอ ผูปวยเนนบริการเปนขั้นตอนและบริการที่เชื่อมโยง รวมถึงการประสานเกื้อกูลของหนวยงานแตละระดับ (วิยะดา, 2543) เกิดบริการตอเนื่องและความรู สึกเปนอันหนึ่งอันเดี ยวกั น การสงตอที่มีประสิทธิภาพก อใหเกิดประโยชน ฝายแรกคื อ ประชาชน ไดรับการรักษาที่ถูกตอง เหมาะสม คาใชจายนอย รักษาใกลบาน อบอุนและเปนที่พอใจ ฝายหลังคือเจาหนาที่ที่ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ไมตองเสียเวลาใหการรักษาผูปวยที่มีอาการเล็กนอย สามารถใชเวลา ความสามารถและ ทรัพยากร เพื่อใหบริการรักษาพยาบาลแกผูปวยที่มีความจําเปนมากกวา สงผลถึงคุณภาพบริการที่จําเปนตองพิจารณาใน แง ของผูใช และผูให บริ การ จากสถิ ติ การส งต อผูป วยนอกที่ เพิ่ มขึ้นของสํ านั กพั ฒนาระบบบริ การสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข ป 2549-2551 เทากับ 0.230, 0.233, 0.239 และสถิติการสงตอผูปวยนอกของจังหวัดกระบี่ ระหวางเดือน มกราคม–มีนาคม 2552 เทากับ 0.046, 0.021, 0.027 ซึ่งปญหาการสงตอ คือ ระยะทาง ความปลอดภัยขณะเดินทาง ความ ไมพรอมของบุคลากร เครื่องมือ การสื่อสารและการใหบริการ ทั้งการศึกษาของ ชัยชน (2550) ถึงสาเหตุการตายของผูปวย ลมชักอาการหนักรายหนึ่ง พบวาเสียชีวิตจากระบบการสงตอผูปวยที่เขมงวดมากเกินไป โดยไมพิจารณาอาการของผูปวยที่ หนักและเรงดวน จังหวัดกระบี่ เปนจังหวัดหนึ่งมีสภาพภูมิศาสตรติดทะเลอันดามัน มีสถานบริการสาธารณสุขที่ใหบริการบนเกาะ การใหบริการดานสุขภาพแกประชาชนบนพื้นที่เกาะจําเปนตองเรียนรูวิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน (โกมาตรและ คณะ, 2547) การศึกษาสภาพทั่วไปพบมีปญหาในการเดินทางเพื่อใชบริการ เชน การเดินทางโดยเรือจากเกาะฮั่ง อําเภอเหนือคลอง เพื่อ รับบริการ ณ ศูนยสุขภาพชุมชนบานเกาะศรีบอยา เชนเดียวกับ ประชาชนบานคลองหมาก บานเกาะปู เดินทางโดยเรือเพื่อ รับบริการ ณ ศูนยแพทยชุมชนบานศาลาดาน และโรงพยาบาลเกาะลันตา อําเภอเกาะลันตา การศึกษานํารองดานการรับรู และการใชบริการสงตอผูปวยของประชาชนบนพื้นที่เกาะแหงหนึ่ง อําเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ พบวาผูใชบริการสงตอ ผูปวยประสบปญหาดานการเดินทางในเวลากลางคื นและชวงหนาฝนที่ทะเลมีคลื่ นลม ซึ่งการคมนาคมของพื้ นที่เกาะเป น ปญหาในการสงตอผูปวย (จิตติมา, 2550) ที่ผูปวยสวนใหญมีความคาดหวังตอบริการในภาวะฉุกเฉิน และจากการศึกษานํา รองยังพบวาหน วยบริการปฐมภู มิดังกล าวไมมีพยาบาลวิชาชีพปฏิบั ติงาน ทํ าใหเกิ ดปญหาด านศักยภาพของเจ าหน าที่ ผู ใหบริการ โดยหลังจากที่มีพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานในสถานีอนามัย สตรีชาวเลสามารถเขาถึงบริการดานอนามัยแมและ เด็ ก(จิ ตติ มา, 2550) ซึ่ งการจั ดบริ การสาธารณสุ ข เป นองคประกอบ 1 ใน 5 องค ประกอบที่สํ าคั ญของระบบสุ ขภาพ การศึ กษาการให บริการและการใช บริ การการส งต อผู ป วยบนพื้ นที่ เกาะ ยั งขาดข อมู ลการให ความหมายของการส งต อ ขั้นตอน ปญหาและแนวทางการแกปญหา เพื่อใหเกิดความเขาใจในลักษณะดังกลาว ผูวิจัยจึงศึกษาทําความเขาใจบริการสง ตอผูปวยของหนวยบริการปฐมภู มิบนพื้นที่เกาะ เพื่ อเปนพื้ นฐานในการวางแนวทางการใหบริการและรูปแบบการปฏิบัติ ที่ เหมาะสมสอดคลองกับบริบทของพื้นที่ตามวัฒนธรรมของผูใชและผูใหบริการบนพื้นที่เกาะ วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่ออธิบายความหมายและขั้นตอนบริการสงตอผูปวยของผูใชบริการและผูใหบริการในหนวยบริการปฐม ภูมิบนพื้นที่เกาะแหงหนึ่งในจังหวัดกระบี่ 2. เพื่ ออธิบายป ญหา และแนวทางการแกไ ขปญ หาบริก ารสงต อผู ปว ยของผู ใชบ ริก ารและผูใ หบริ การใน หนวยบริการปฐมภูมิบนพืน้ ที่เกาะแหงหนึ่งในจังหวัดกระบี่ 3. เพื่อเสนอแนะเชิงนโยบายดานบริการสงตอผูปวยของหนวยบริการปฐมภูมิบนพื้นที่เกาะ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

108

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ขอบเขตการวิจัย การศึกษาวิจัยนี้ศึกษาบนพื้นที่เกาะแหงหนึ่งในจังหวัดกระบี่ โดยศึ ก ษาเจ า หน า ที่ ส าธารณสุ ข ผู ป ว ย และญาติ ที่ ใ ห แ ละใช บ ริ ก ารส ง ตอของหนวยบริการปฐมภูมิบนพื้นที่เกาะ ศึกษาการใหความหมาย ขั้น ตอนการ ปฎิบัติ ปญหา แนวทางการแกปญหา ของผูใชและผูใหบริการสงตอผูปวย ของหนวยบริการปฐมภูมิบนพื้นที่เกาะแหง นี้ เก็บขอมูลระหวางเดือนกรกฏาคม พ.ศ.2552 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.2553 รูปแบบวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เลือกพื้นที่เกาะที่ไมไกลจากผืนแผนดินใหญ มีหนวยบริการ ปฐมภูมิอยู 1 แหง จากสถิติการใชบริการการสงตอผูปวยของหนวยบริการปฐมภูมิแหงนี้ป พ.ศ.2551 ประกอบดวย ผูปวยเด็ก จํานวน 11 ราย ผูปวยตั้งครรภและคลอด จํานวน 5 ราย ผูปวยโรคเรื้อรัง จํานวน 20 ราย ผู ป ว ยอุ บั ติ เ หตุ จํา นวน 4 ราย และผู ป ว ยที่ มี อ าการโดยไม ท ราบสาเหตุ จํานวน 11 ราย รวม 51 ราย ผูใหขอมูล ประกอบดว ย ผู ใ ห บ ริ ก ารส ง ต อ ผู  ป ว ย ได แ ก เจ า หน า ที่ ส าธารณสุ ข ประจํา หน ว ยบริ ก ารปฐมภู มิ บ น พื้นที่เกาะที่ศึกษา คัดเลือกแบบเจาะจง 3 ราย และผูใชบริการสงตอผูปวย ไดแก ผูปวย/ญาติ ที่ไดรับการสงตอจาก หนวยบริการปฐมภูมิบนพื้นที่เกาะ คัดเลือกโดยการสุมแบบเจาะจง ทั้งหวงเวลาที่เก็บขอมูลผูปวยยังคงอาศัยอยูบน เกาะแหงนี้ และสามารถใหขอมูลได รวม 9 ราย ประกอบดวย ผูปวยเด็ก 2 ราย ผูปวยตั้งครรภและคลอด 1 ราย ผูปวยโรคเรื้อรัง 2 ราย ผูปวยอุบัติเหตุ 2 ราย และผูปวยที่มีอาการโดยไมทราบสาเหตุ 2 ราย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบด ว ย แนวคํ าถามที่ ใ ช ใ นการสั มภาษณ เ ป น แบบปลายเป ด มี โ ครงสร าง จํ านวน 9 ข อ เครื่ อ ง บันทึกเสียง สมุดบันทึกและดินสอ กลองถายรูป แบบสังเกตดานกายภาพของบริบท ดานบริการสงตอผูปวยและด าน ความสัมพันธของการใชบริการ สําหรับผูใชและผูใหบริการ โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของแลวสรางแนว คําถาม นํ าแนวคํ าถามที่ ได ไ ปศึ กษานํารองกับ กลุ มผูใ หข อมูล ที่ มีลั กษณะใกล เ คียงกั น และผู ทรงคุ ณ วุฒิ 5 ท าน ตรวจสอบความตรง ความสอดคลองและความครอบคลุมของเนื้อหา ทั้งใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ แลวปรับปรุง ตามขอเสนอแนะ เก็บรวบรวมขอมูลและปรับเปลี่ยนแนวคําถามตามสถานการณ เพื่อใหเหมาะสมไดขอมูลเชิงลึกและ ครอบคลุม การเก็บรวบรวมขอมูล แบงเปน 2 ขั้นตอน 1.ขั้นเตรียมการ 1.1 ผูวิจัยเตรียมความรู ความเขาใจเรื่องบริการสงตอผูปวย บริบทของพื้นที่ การเขาพื้นที่ ความรูระเบียบวิ ธี วิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ การพิทักษสิทธิ์ผูใ หขอมูล กาจดบัน ทึก การวิเ คราะห ขอมูล เตรียมหนัง สือ ขอความรวมมือ พบผูเกี่ยวของ ผูนําในพื้นที่เพื่อแนะนําตัว ชี้แจงวัตถุประสงคการวิจัย และขออนุญาตเก็บรวบรวม ขอมูล

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

109

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

2. ขั้นดําเนินการรวบรวมขอมูล 2.1 เลื อ กผู  ใ ห ข  อ มู ล ตามคุ ณ สมบั ต ิ ศึ ก ษาข อมูล ทั่ ว ไปของผู ใ ชบ ริ การจากแฟมครอบครัว ของหน ว ย บริการปฐมภูมิ 2.2 เขาพบผูใหขอมูล แนะนําตัว สรางสัมพันธภาพ บอกวัตถุประสงค วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การพิทักษ สิทธิผูใหขอมูล ทั้งขอความรวมมือในการเขารวมการวิจัย และนัดหมายวัน เวลา เพื่อสัมภาษณเชิงลึกดวยแนวคําถาม ที่สรางไว การสัมภาษณผูใหขอมูล 1 ราย ใชเวลา 45 นาที ถึง 1 ชั่วโมง เขาพบเพื่อสัมภาษณ 2-3 ครั้ง หรือจนกวา ขอมูลมีความอิ่มตัว ทั้งสังเกตพฤติกรรมของผูใหขอมูล 2.3 เก็บรวบรวมขอมูลในทุกๆ ดานใหไดขอมูลที่ตรงกับความจริงมากที่สุด และบันทึกโดยจดบันทึกประเด็น สําคัญ และบั นทึกเสียง ตรวจสอบความตรงของข อมูล โดยขอมูล ในแต ละวั นที่ได จะนํามาถอดเทป และอานขอมู ล ทั้งหมด หากตรวจสอบแลวยังไมชัดเจนหรือไมครบถวน จะสัมภาษณเพิ่มเติมในครั้งตอไป หากการสัมภาษณแตละ ครั้งไดคําตอบเหมือนเดิมหรือไมพบประเด็นใหมเพิ่มขึ้น ทั้งไดตรวจสอบความถูกตองจนไมส ามารถคนหาขอมูลได เพิ่มขึ้นกวาที่มีอยู ถือวาขอมูลมีความอิ่มตัว และนักวิจัยกับผูใหขอมูลมีความเขาใจตรงกัน การตรวจสอบขอมูล ผูวิจัยไดตรวจสอบขอมูลและวิเคราะหขอมูลทุกครั้งหลังเก็บรวบรวมขอมูล โดยถอดเทปคําตอคําเพื่อนํามา ตรวจสอบสามเสา (triangulation) โดยการตรวจสอบดานขอมูล ดานระเบียบวิธีการวิจัย ตรวจสอบความตรงของ ข อมู ล (data validity) เมื่ อไดรับขอมูลครบถวนแลว นัก วิจัยนําขอมูล ทั้ง หมดมาจัด เปน หัว ขอ (theme) และสรุป อา นทบทวนใหผู ใ หขอ มูล ตรวจสอบความถูก ตอ งอีก ครั ้ง หนึ่ง และตรวจสอบความนา เชื่อ ถื อ ของขอ มูล โดย พิจารณาถึงคุณภาพของขอมูลที่ไดและการตีความที่ถูกตอง การวิเคราะหขอมูล เมื่อรวบรวมขอมูลไดในแตละวัน นักวิจัยใชการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา (content analysis) ตามขั้นตอนของ เพชรนอย (2550) ดวยการอานทบทวนขอมูล ที่ไ ดจ ากการสัมภาษณ นํา ประโยคหรื อ วลี ที่ เ กี่ ย วข อ งแยกออกมา แลวนํามาเรียงใหมเ ป น ภาษาเขี ยนที่ สื่ อให เ กิ ด ความเขาใจที่ตรงกันให ความหมายกั บ ประโยคหรื อ วลี ที่ ไ ด จัดเปน ขอความสําคัญ ของการสง ต อผู ปว ยบนพื้ น ที่เ กาะที่ ควรจะได รับ (theme)กลุ มเนื้อหา( theme clusters)และหัว ข อ หลัก(categories) ตามความหมายและสาระสําคัญที่สะทอนถึงบริการสงตอผูปวยของหนวยบริการปฐมภูมิบนพื้นที่ เกาะแหงนี้ รวบรวมผสมผสาน (integrate) หั ว ข อ หลั ก ที่ อ ธิ บ ายถึ ง บริ ก ารส ง ต อ เขียนโครงสรางและบรรยาย ความหมายแลวนําคําอธิบายยอนกลับใหผูใหขอมูลรับทราบ ทั้งใหความเห็นเพื่อยืนยันคําอธิบายเกี่ยวกับบริการสงตอ ผูปวยของหนวยบริการปฐมภูมิบนพื้นที่เกาะแหงนี้ (เพชรนอย, 2550) การพิทักษสิทธิผูใหขอมูล นักวิจัยไดรับมอบหมายภายใต คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ใหดําเนินการเก็บขอมูล โดยคํานึงถึงจรรยาบรรณของนักวิจัยและการพิทักษสิทธิ์ของผูใหขอมูล ดวยการแนะนําตัวเองใหผูใหขอมูลทราบ และ ชี้แจงวัตถุประสงคของการศึกษารวมถึงขอความรวมมือในการใหขอมูล ขออนุญาตใชเครื่องบันทึกเสียง และการจด บันทึกขอมูล รวมทั้งการถายภาพ เมื่อผูใหขอมูลยินยอมใหขอมูล นักวิจัยไดอธิบายเกี่ยวกับระยะเวลาในการเก็บขอมูล ความพรอมในการใหขอมูล ทั้งการไดรับความคุมครองจากการใหขอมูล และสามารถปฏิเสธหรือออกจากการวิจัยได

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

110

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ทุกขณะโดยจะไม มีผ ลกระทบใดๆ สํ าหรั บข อมู ลที่ ไดจ ากการสัมภาษณ นัก วิจัยจะเก็ บไวเป นความลั บและนํ าไปใช ประโยชนในการศึกษาเทานั้น รวมถึงหากจําเปนตองอางถึงผูใหขอมูลจะใชวิธีการอางชื่อเปนนามสมมุติ ผลการศึกษา บริบท ชุมชนที่ศึกษามีพื้นที่ 17.58 ตารางกิโลเมตร แวดลอมด ว ยทะเลอันดามันทั้ง 4 ดาน มี 3 หมูบาน จํานวน 307 หลังคาเรือน ประชากร 1,819 คน รอยละ 98 นับถือศาสนาอิสลาม มีมัสยิด 3 แหง โรงเรียนระดับประถมศึกษา จํานวน 2 แหง อาชีพหลักของชุมชนคือ ทําสวนยางพารา อาชีพเสริมคือทําประมง สินคาแปรรูปจากอาหารทะเลที่ขึ้น ชื่อและจําหนายในพื้นที่ใกลเคียงคือ ปลาหลังเขียว เสียบไมแลวเผาไฟจนเนื้อปลาแหง กรอบ สําหรับน้ําในการอุปโภค และบริโภค ใชน้ําประปาหมูบานและน้ําจากบอน้ําตื้น ลักษณะบานเรือน เปนบานไมยก ใตถุนสูง หลังคาลาดเอียง เชนเดียวกับชุมชนทางภาคใตทั่วไป ลักษณะภูมิอากาศมี 2 ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน การคมนาคม พาหนะสวนใหญใช รถจั ก ยานยนต ถนนเป น ถนนลู ก รั ง มี ถ นนลาดซี เ มนต เ พี ยง 2.5 กิ โ ลเมตร มี ท าเรื อ 2 แหง คื อ ท าเรื อด านทิ ศ ตะวันออก เปน ทาเรือหลักที่มีความคงทน มี เรือโดยสารรับ จางประจําทางใหบริ การทุก ชั่วโมง ตั้งแต เวลา 07.0017.00 น. เวลาในการเดินทางขามฝงไปแผนดินใหญ 25 นาที และทาเรือดานทิศตะวันตก เปนทาเรือขนาดเล็กอยูคน ละดานของเกาะแหงนี้ มีความคงทนนอยกวาทาเรือแรก มีเรือโดยสารรับจางประจําทางใหบริการทุกครึ่งชั่วโมง ใช เวลาขามฝงไปแผนดินใหญ 10 นาที มีกระแสไฟฟา ใชเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552 ซึ่งเดิมใชแสงสวางจากแผงโซลา เซลล มีหนวยบริการปฐมภูมิใหบริการ ตั้งแตป 2540 ดวยลักษณะของพื้นที่ที่เงียบสงบ ประชาชนอาศัยอยูไมมากนัก ผนวกกับหาดทรายขาวสะอาด จึงมีนักทองเที่ยวตางชาติมาพักอาศัยอยูเปนเวลานาน วิถีความเปนอยูและการดูแลสุขภาพของชุมชนที่ศึกษา มีความเปนอยูแบบเครือญาติ มีการพึ่งพากันแมไมใชญาติพี่นองมีน้ําใจเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ดังคําพูดที่วา “ผักบุงลากไป ผักไหลากมา” บานเรือนสามารถเปดทิ้งไวไดโดยไมมีขโมย พิธีกรรมของชุมชน ประกอบดวย พิธีถือ ศีลอด พิธีออกบวช และการประกอบศาสนพิธีประจําวัน ดังนั้นในเวลาเที่ยงวันจนถึงเวลาบายโมงครึ่งของวันศุกรทุก วัน มัสยิดจึงเปนสถานที่ที่ผูชายในหมูบานมารวมปฏิบัติพิธีทางศาสนา สวนผูหญิงปฏิบัติพิธีทางศาสนาที่บาน ศูนย รวมใจของชุมชนนอกจากมัส ยิด ยังมีลานกีฬาชุมชน และรานคาในชุมชน วิถีการดูแลสุขภาพของชุมชนนี้ เปนแบบ ผสมผสานระหวางการดูแลสุขภาพดวยตนเอง การดูแลสุขภาพโดยแพทยพื้นบาน และการดูแลสุขภาพโดยแพทยแผน ปจจุบัน โดยพิจารณาวาอาการ หรือโรคที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงมากนอยเพียงใด หรือมีประสบการณในการดูแลผูปวย ที่มีอาการเชนนั้นหรือไม หรือไดรับคําแนะนําจากเพื่อนบาน จากญาติ ก็จะดําเนินการตามความเหมาะสมของแตละ บุคคล แตละครอบครัว ซึ่งความรูที่ไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษและความเชื่อในการใชสมุนไพรของแตละ ครอบครัว โดยสมุนไพรสวนใหญมาจากตนไมที่ปลูกในชุมชนนี้ เชน เมื่อมีไข ตัวรอน จะใชรากของตนหมากและ/ราก ของต น มะพร าว นํ ามาต ม กรอง ดื่ มน้ํ า 2-3 วั น หรื อเป น หวั ด เจ็ บ คอ ใช น้ํ าผึ้ ง (รวง) 1 ช อ นชาผสมน้ํ ามะนาว รับประทานวันละ 2-3 ครั้ง หรือใช “ยาเขียว” เปนสมุนไพรผงบรรจุซองมีขายที่รานคาในหมูบาน ใชแกอาการรอนใน มีไข อาการปวดเมื่อยใชน้ํามันแลน(ไขมันจากตัวตะกวด นําไปเคี่ยวจนไดเปนน้ํามัน) หากตองการดับกลิ่นเหม็นหืนจะ นําหัวไพลมาผสม หรือในรายที่มีบาดแผลเปนแผลเปดจะใชน้ํามันแลนใสแผล อาจมีสวนผสมของยาเสน (ยาฉุน) หรือ ผสมดวยน้ํามันมะพราว วิถีการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนบนเกาะนี้จะดูแลสุขภาพดวยตนเองเปนอันดับแรก และ เมื่อเห็นวาอาการไมดีขึ้น ไมหาย จะพึ่งพา แพทยพื้นบาน “หมอบาน” ซึ่งเปนผูใหการรักษาดวยสมุนไพร “หมอบีบ” หรือหมอนวด และการดูแลสุขภาพแมและเด็กจะมี“หมอแมทาน” หรือหมอตําแย และจะเปลี่ยนไปรักษากับแพทย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

111

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

พื้นบานคนอื่นเมื่ออาการไมดีขึ้นหรือไมหาย โดยเปลี่ยนผูใหการรักษาไปเรื่อยๆจนกวาจะหายหรือไมหาย และดว ย ความเจริญ ดานวัตถุ การไดรั บขาวสารในดานการรักษาสุข ภาพเพิ่มมากขึ้น พบวาประชาชนบนเกาะหั นมารักษา สุขภาพดวยการรับบริการ ณ หนวยบริการปฐมภูมิ เพราะมีความเชื่อในการรักษาทางวิทยาศาสตร ทั้งความรูของผู ใหบริการ การประชาสัมพันธ และเห็นวาเจาหนาที่สาธารณสุข หรือแพทยผูปฏิบัติงาน ณ โรงพยาบาลสามารถชวย รักษาใหโรคหรืออาการต างๆที่เปน หายหรือมีอาการทุเลา ด านการสงตัว ผูปวยในอดีต พบวาการดูแลสุขภาพดว ย ตนเองและการดูแลสุขภาพดวยการแพทยพื้นบาน ผูปวยหรือญาติจะพิจารณาเปลี่ยนผูใหการรักษา เมื่อเห็นวาอาการ ที่เ ป น อยูไ ม ดี ขึ้ น ส ว นการดู แลด ว ยการแพทยป จ จุ บั นพบว ามีก ารส งตั ว ผู ป วยไปรั บการรั กษายั ง โรงพยาบาล แต เนื่องจากหนวยบริการปฐมภูมินี้ไมมีเรือสําหรับใหบริการสงตอผูปวย จึงจําเปนตองเหมาเรือและจัดหารถในการนําสง ผูปวยไปโรงพยาบาล ตอมามีการจัดบริการการแพทยฉุกเฉิน จึงมีบริการของ 1669 ในการนําสงผูปวยดวยรถของ โรงพยาบาลเครือขายที่มาจอดรอรับผูปวยที่ทาเรือ ขอมูลทั่วไปของผูใชบริการและผูใหบริการสงตอผูปวย พบวาสวนใหญผูใชบริการสงตอเปนเพศหญิง (6 ราย) สถานภาพคู (8 ราย) นับถือศาสนาอิสลาม (9 ราย) อายุ ระหวาง 41- 60 ปขึ้ นไป(5 ราย) จบการศึ กษาระดั บประถมศึกษา(8 ราย) รายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอป 20,001 – 60,000 บาท(5 ราย) อาชีพทําสวนยางพารา(7 ราย) สถานะภาพทางเศรษฐกิจอยูในระดับพอกินพอใช ประสบการณการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว ผูใหขอมูลทั้ง 9 ราย เริ่มตนการดูแลสุขภาพตนเอง ก อน เช น การใช ส มุ น ไพรใกล บ าน เมื่ อมี อ าการปวดเมื่ อยจะงดการยกของหนั ก ผู ป ว ยโรคกระเพาะอาหารจะ รับประทานอาหารรสจืด เชน ขาวตม มีการผสมผสานการใชการบีบนวดเพื่อรักษาอาการปวดเมื่อย จากหมอบานบน พื้นที่เกาะ ซึ่งเมื่ออาการไมทุเลาก็จะรับการรักษาจากหนวยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลเครือขาย หรือคลินิกแพทย สวนอาการที่ไดรับการสงตอพบวามีอาการ มึนศีรษะและมีความดันโลหิตสูงรวมดวย จํานวน 2 ราย เบาหวาน 1 ราย ปวดทองรุนแรง มีไข อยางละ 1 ราย และอุบัติเหตุ จํานวน 3 ราย จากถูกแมวกัด ลมรถจักรยานยนต และถูกใบเลื่อย ไมบาดบริเวณขา ตั้งครรภโดยมีอาการไขรวมดวย 1 ราย ซึ่งอาการที่ไดรับการสงตอในผูปวยที่มีอาการอยูแลว จํานวน 1 ราย คือ ผูปวยที่เปนเบาหวานแลวขาดยา ดานผู ให บ ริก าร ประกอบดว ยผูใ หบ ริ การที่ มีตํ าแหนง นัก วิ ชาการสาธารณสุ ขชํ า นาญการ (1 ราย) เจ า พนักงานสาธารณสุขชํานาญงาน (1 ราย) และเจาพนักงานสาธารณสุขชุมขน (1 ราย) การศึกษาพบวาจบการศึกษาใน ระดับผดุงครรภ การพยาบาลและผดุงครรภระดับตน และ ระดับเจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน มีประสบการณการ ทํางานมีตั้งแต 5 ป ถึง 33 ป ผูใหบริการสวนใหญไมเคยมีประสบการณการทํางานบนพื้นที่เกาะมากอน ทุกคนไดรับ การอบรมฟนฟูความรูในการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน การใหความหมายการสงตอผูปวยของผูใชบริการและผูใหบริการสงตอผูปวย ผูใหขอมูลบางคนเรียกการสงตอผูปวยวา “สงโรงบาล” และใหความหมายการสงตอผูปวยวา หมายถึง ไป หาหมอ เจาะเลือด การตรวจ เชน การเอ็กเรย การไปเช็ค ดังคําพูดของผูปวยหญิงมีอาการใจสั่น คลายจะเปนลม ที่วา “บอกวาใหไปเช็คแล วาเปนไหรๆมั่งไม” (ผูใหขอมูลคนที่ 2) การไปตรวจขณะมีอาการอื่นรวมดวย เชน ขณะ ตั้งครรภมีไขรวมดวย การไปรับยาในผูปวยเบาหวาน การไดรับการดูแลจากผูอื่นหรือใหหมอคนอื่นๆไดทําการรักษา และการจัดการใหไดรับการรักษาจากหนวยงานที่สามารถติดตอหรือประสานได เปนการไปรักษาใหอาการดีขึ้น ดานผู ใหบริการใหความหมายวา หมายถึง การดูแลผูปวยที่มีอาการรุนแรงเกินความสามารถ ผูปวยที่ไมสามารถใหการ รักษาพยาบาลไดหรือผูปวยที่ใหการรักษาแลวอาการไมดีขึ้น ตามระบบการสงตอผูปวยฉุกเฉินไปยังโรงพยาบาลแม

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

112

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ขายที่มีความสามารถ มีหมอ มีผูที่มีความชํานาญ มีเครื่องมือพรอม เพื่อใหผูปวยไดรับการรักษาที่ถูกตอง มีชีวิตรอด ไมพิ การ ไม ตาย ดัง คําพูด ของนั กวิ ชาการสาธารณสุข ชํานาญการ ที่ วา “คนไข ที่รุ นแรงแล วเราดูแลไมไ ด เกิ นขี ด ความสามารถของเรา ใหโรงบานที่มีเครื่องมือพรอม มีหมอมีคนที่ชํานาญกวา เคาจะไดรอด ไมพิการ ไมตาย” (นัก วิชาการฯ) ขั้นตอนการสงตอผูปวยของผูใชบริการและผูใหบริการ ขั้นตอนการสงตอผูปวยของผูใชบริการ มี 3 ขั้นตอน ไดแก 1)ขั้นรับรูและเขาใจอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้น เชน ในผูปวยตั้งครรภและมีไขรวมดวย 2)ขั้นดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตน พบวา ผูใหขอมูลดูแลสุขภาพของตนเองกอนเปน อันดับแรกโดยการดื่มน้ําหวาน ลดอาการคลายจะเปนลม ดื่มน้ําหญาหนวดแมวเมื่อมีไข หรือบางรายไดรับความรูจาก การแพทยแผนปจจุบัน เชน ลางแผลเมื่อโดนสัตวกัด หรือการใชยาแผนปจจุบันรวมกับยาแผนโบราณ เชนใหยาน้ําลด ไข รวมกับการเช็ดตัวดายน้ํายาเขียวในผูปวยเด็กที่มีไข ทั้งการปรึกษาญาติ คนใกลชิด ผูมีความรูดานสุขภาพเชน อส ม. หรือเจาหน าที่ส าธารณสุข พบว า บุ ค คลในครอบครั ว ญาติ ผู  ใ กล ชิ ด เพื่ อนบาน เปน บุคคลที่ ผูใ ห ขอมูล ขอ คําปรึกษาในการดูแลสุขภาพของตนเองเปนอันดับแรก 3)ขั้นเลือกแหลงรักษาและตัดสินใจ ซึ่งในการตัดสินใจเพื่อใช บริการสงตอพบวา เปนการตัดสินใจโดยบุตร มีจํานวน 2 ราย การตัดสินใจดวยตัวของผูใหขอมูลเอง จํานวน 3 ราย และการจัดสินใจรวมกับผูใหบริการ จํานวน 4 ราย ด า นผู  ใ ห บ ริ ก าร มี 7 ขั้ น ตอน ได แ ก 1)ขั ้ น ประเมิ น อาการ 2)ขั้ น วิ นิจฉั ยอาการ 3)ขั้น รักษาพยาบาล เบื้องตน 4)ขั้นตัดสินใจสงตอ 5)ขั้นติดตอประสานงาน 6)ขั้นเตรียมเอกสารและนําสงผูปวย 7)ขั้นเยี่ยมบาน ซึ่งขั้นตอน การสงตัวของผูใหบริการเปนลําดับ มีแบบแผน และเปนไปตามมาตรฐานการสงตอผูปวยและการรักษาพยาบาล ผูปวย ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ ปญหาการใชบริการและการใหบริการสงตอผูปวย ผูใชบริการไดกลาวถึงปญหาในการสงตอผูปวยบนพื้นที่เกาะคือ ความลําบากในการเดินทางออกจากพื้นที่ เกาะ ดวยสภาพภูมิศาสตรที่เปนเกาะ ตองใชเวลาในการเดินทางไปกลับตั้งแตเชาถึงเย็น นั่งเรือและนั่งรถ ทั้งคิดวาการ เดินทางบนพื้นที่บกสามารถใชรถจักรยานยนตซึ่งเร็วกวาเรือ นอกจากนี้ยังมีคาใชจายในการเดินทางและปญหาใน เรื่ องไม มีเ รื อโดยสารต องรอเรื อฝ ง ตรงข ามมาก อนจึ ง จะได โ ดยสารไปและความต องการการรั ก ษาพยาบาลใน โรงพยาบาล ซึ่งมีแพทย เพราะแพทยคือบุคลากรทางสาธารณสุขที่ผูปวยตองการใหทําการรักษามากที่สุด เปนผูมี ความรูมากกวาเจาหนาที่ประจําหนวยบริการปฐมภูมิแหงนี้ อีกทั้งโรงพยาบาลมียาที่ใชในการรักษาหลากหลายกวา สามารถใชในการรักษาไดดีกวา และเห็นวาหากผูปวยมีอาการรุนแรงหนวยบริการปฐมภูมิแหงนี้ก็จําเปนตองตัดสินใจ สงผูปวยไปโรงพยาบาล ปญหาของผูใหบริก ารสงตอผู ปวย คือ ความยากลําบากในเคลื่อนยายผูปว ยออกจากพื้นที่เกาะพบวาใน ชวงเวลาน้ําลด ตองใชการหามหรืออุมผูปวยจากเรือโดยสาร เดินลุยโคลนไปยังทาเรือ หากผูปวยมีภาวะฉุก เฉินมาก อาจทําใหไดรับอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นขณะเคลื่อนยายผูปวยได ขาดเครื่องมือชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน ซึ่งเครื่องมือ อุปกรณที่ มี ไดแก เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องวัดระดับน้ําตาลในเลือด เครื่องมือ ทําแผล เครื่องมือเย็บแผล ชุดชวยหายใจ แบบบีบมือ (ambu bag) ขนาดเล็กและใหญ ยารักษาโรคหัวใจเตนผิดจั งหวะ (adrenaline) ยารักษาหัว ใจเตนช า (atropine) และ น้ําเกลือสําหรับใหผูปวยชนิด N/2 (normal saline N/2) ปญหาดานบุคลากรไมเพียงพอ หนวยบริการ ปฐมภูมิแหงนี้ ไม มีพยาบาลวิช าชี พอีก ทั้งความรูใ นการปฎิ บัติง านเปน สิ่งสํ าคั ญ ในการสรางความมั่นใจให เกิด กับ ผู ใหบริการและผูใชบริการ และปญหาดานการไมมีเรือในการนําสงผูปวย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

113

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

แนวทางการแกปญหาบริการสงตอผูปวยของผูใชบริการและผูใหบริการสงตอผูปวย แนวทางในการแกไขการใชบริการสงตอ คือ การจัดการใหมีเรือสําหรับนําสงผูปวยตลอดเวลากอใหเกิดความสะดวก ในการนําสงผูปวย โดยในการจัดหานั้นใหหนวยบริการปฐมภูมิเปนผูประสานขอสนับสนุนเรือจากองคการบริหารสวน ตําบล (อบต.) ซึ่ งประชาชนส ว นใหญมองว า อบต.เป นหน ว ยงานที่ ส ามารถให ก ารสนั บ สนุ น การดํ าเนิ น งานของ หนวยงานในระดับชุมชน “คิดวาในสวนตรงนี้อนามัยนาจะเปนคนประสานเรื่องเรือของ อบต.” (ผูใหขอมูลคนที่ 7) การ จัดใหมีความรูความสามารถในการรักษาพยาบาลเพิ่มมากขึ้น เห็นวาการไดรับการรักษาจากผูมีความรู จะทําใหไดรับ การวินิจฉัยที่ถูกตอง ทําใหอาการที่เปนอยูทุเลา หรือหายจากอาการที่เปนอยู ทําใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น และแนวทาง ของผูให บริการในการแกปญหาบริการสงตอ คือ หนวยงานที่เกี่ยวของให การสนั บสนุนเครื่องมือชวยเหลือ ผูปว ย ฉุกเฉิน การจัดการใหมีเรือในการนําสงผูปวย พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการชวยเหลือผูปวยโดยการอบรม เพื่อใหมี ความรู ความสามารถเพิ่มขึ้น ทั้งมีทักษะในการใหบริการชวยใหเกิดความมั่นใจ ใหความรูแกประชาชนในเรื่องการดูแล สุขภาพของตนเองและการสงตอผูปวย เพื่อลดอัตราการสงตอผูปวย การอภิปรายผล จากการศึ กษาการให ค วามหมายการส ง ต อ ผู ป  ว ยของผู  ใ ช แ ละผู ใ ห บริ การ นั้ นพบวาผูใ ช บริ การได ใ ห ความหมายว าไปเพื่ อรั ก ษาให ดี ขึ้ น ด ว ยการไปหาหมอไปใช บ ริ ก าร เป น ลั ก ษณะที่ ต องพึ่ ง พาผู อื่น ซึ่ ง ไคลน แมน (Kleinman, 1980) ชี้ใหเห็นความแตกตางของการดูแลสุขภาพไมไดแยกโดดเดี่ยว เปนการผสมผสานกัน ดังนั้นลักษณะ การดูแลสุขภาพที่พี่งผูอื่น ตามแนวคิดของไคลนแมน สามารถนํามาใชอธิบายในการดูแลตนเองของประชาชน ซึ่ ง ระบบดูแลสุขภาพนี้ประกอบดวยสวนตาง ๆ 3 สวน คือ ระบบการดูแลสุขภาพในสวนของสามัญชน ระบบการดูแล สุขภาพในสวนของวิชาชีพ และระบบการดูแลสุขภาพในสวนของการแพทยพื้นบาน ประชาชนจะรักษากลับไปกลั บมา ระหวาง 3 ระบบ หรือบางครั้งจะรักษาพรอม ๆ กันตั้งแต 2-3 ระบบ แตจากความหมายของผูใหบริการที่ใหความเห็น ไปในทางการปฏิบัติตามขั้นตอนการชวยเหลือผูปวยตามหลักวิชาการมองถึงระบบการใหบริการผูปวย เนื่องจากผู ใหบริการยังอยูในโครงสรางของระบบแบบราชการที่ตองมีระบบปฏิบัติเปนขั้นตอน จะชวยใหผูปวยไดรับบริการที่ดี ไดรับการตรวจรักษาตามหลักวิชาการ ตามขั้นตอนในการตรวจรักษาตามหลักวิทยาศาสตร ขั้นตอนการสงตอของผูปวยของผูใชบริการที่มารับบริการ ณ หนวยบริการปฐมภูมิบนเกาะ มี 3 ขั้นตอน คือ 1)ขั้นตอนรับรูและเขาใจอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้น 2)ขั้นดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตน 3)ขั้นเลือกแหลงรักษาและตัดสินใจ มีความใกลเคียงกับขั้นตอนการแสวงหาแหลงบริการสุขภาพ ของโกมาตรและคณะ (2550) ที่กลาววา ขั้นตอนการ แสวงหาแหลงบริการสุขภาพ ประกอบดวย การประสบกับอาการเจ็บปวย การรักษาตนเอง การสนทนาแลกเปลี่ยน ความรูความเขาใจกับญาติที่มีความสําคัญ การประเมินอาการเจ็บปวย การแสดงบทบาทผูปวย การประเมินวิธีการ รักษาและผลการรักษา การเลือกวิธีและแหลงรักษา การรักษา และขั้นตอนสุดทายเปนการประเมินผลการรักษา ซึ่ง เปนขั้นตอนที่สามารถพบไดในชุมชนเปนการสงตอที่ไมเปนแบบแผน (สุภัทรและ สุวัฒน, 2547) โดยการตัดสินใจขอรับ บริการดังกลาวขึ้นอยูกับประสบการณของผูใชบริการเอง สวนขั้นตอนผูใหบริการสงตอผูปวยของหนวยบริการปฐม ภูมิบนเกาะ มี 7 ขั้นตอน คือ ขั้ น ประเมิ น อาการ ขั้ น วินิจฉัยอาการ ขั้นรักษาพยาบาลเบื้องตน ขั้นตัดสินใจสงตอ ขั้น ติด ต อประสานงาน ขั้ นเตรียมเอกสารและนําส งผู ป วย และขั้น เยี่ยมบาน เป นไปตามหลั ก วิช าการพยาบาลที่ ดําเนินการตามกองการพยาบาล ผนวกกับระเบียบขั้นตอนในการสงตอผูปวยของกระทรวงสาธารณสุข และมาตรฐาน การส ง ต อ ผู ป ว ยตามหลั ก การแพทย ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ให ง านการส ง ต อ ผู ป ว ยตามขั้ น ตอนอย า งรวดเร็ ว ทํ า ให ก าร รักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ดวยการใชการจําแนกผูปวย (กรองได, 2552) หรือเพื่อตัดสินความเรงดวนของ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

114

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

อาการสํ าคัญที่เป นปญหาเพื่อผูปว ยที่ไดรับ การสง ตอไดรับ การดูแลอย างเรงดวนยิ่ งขึ้น ในภาวะฉุ กเฉินมาก ภาวะ รีบดวน และภาวะไมรีบดวน เทากับเปนการดูแลใหประชาชนไดรับการรักษาพยาบาลจากผูเชี่ยวชาญ ซึ่งขั้นตอนการ สงตอของผูใหบริการเปนขั้นตอนที่หนวยบริการเครือขาย (พิชัย, 2547) จะตองจัดใหตามหลักการและเหตุผลของการ สงตัวผูปวย ปญ หาในการส ง ตอของผู ใ ช บ ริ ก ารในเรื่ องความลํ าบากในการเดิ นทางออกจากพื้ น ที่เ กาะขึ้ น กั บ สภาพ ภูมิอากาศชวงฤดูมรสุม สภาพน้ําทะเลขึ้นและลง สอดคลองกับการศึกษา การเขาถึงและความตองการบริการสุขภาพ ดานอนามัยแมและเด็กในสถานีอนามัยของสตรีชาวเลบนเกาะแหงหนึ่งทางตอนใตของประเทศไทย (จิตติมา, 2550) พบวาระยะเวลาในการเดินทางจากพื้นที่เกาะที่ศึกษาไปยังโรงพยาบาลจังหวัดในสภาพภูมิอากาศปกติที่ไมใชฤดูมรสุม ใชเวลาในการเดินทาง 1- 4 ชม. และคาใชจายในการเดินทาง 2,000- 4,500 บาท ทําใหเปนอุปสรรคตอหญิงชาวเล ที่ไดรั บการสง ตอให ไปรั บบริ การในโรงพยาบาลจังหวัด และความยากงายในการเดิ นทางไปสถานบริการ ที่ คํานึ ง ลักษณะของที่ตั้ง ระยะทางและระยะเวลาจากที่พักไปยังสถานบริการ รวมถึงคาใชจายในการเดินทางไปรับบริการ เปนปจจัยสําคัญทางภูมิศาสตร (Blustein&Weitzman, 1995) ทําใหประชาชนที่อยูในภูมิศาสตรที่ตางกันสามารถเขาถึง บริการที่ตางกัน และปญหาดานความตองการเขารับการรักษาในโรงพยาบาล พบวาสาเหตุที่ผูปวยตองการไปรับการ รักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งมีแพทยประจําเพราะ แพทยคือบุคลากรทางสาธารณสุขที่ผูปวยตองการใหทําการรักษามาก ที่สุด เปนผูที่สามารถใหการรักษาเพื่อลดอาการที่เกิดขึ้น ชวยใหบรรเทาอาการฉุกเฉิน (โสภารัตน, 2548) พบวา ผูปวยที่มารับการรักษาพยาบาลดวยความเจ็บปวยฉุกเฉินของระบบหายใจ มีความตองการใหดํารงชีวิตอยู ดานผูให บริการมองว าปญหาในการสงตอผู ปวยของหน วยบริการปฐมภูมิบนพื้ นที่เกาะ คือ ความยากลํ าบากใน เคลื่อนยายผูปวยจากพื้นที่เกาะ ขาดเครื่องมือชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน บุคลากรไมเพียงพอ ไมมีเรือในการนําสงผูปวย พบวาปญหาที่เหมือนกันระหวางผูใหบริการและผูใชบริการ คือ เรื่องการเดินทาง ความยากลําบากในการเคลื่อนยาย ผูปวยนั้น การรวมกันหาวิธีในการเคลื่อนยายผูปวยใหเหมาะสมกันสภาพพื้นที่จึงเปนทางเลือกหนึ่งที่จะชวยชีวิตของ ผูปวยเอาไวได สวนความตางพบวา เปนเรื่องความขาดแคลนเครื่องมือ โดยเฉพาะอุปกรณชวยชีวิตขั้นพื้นฐานไมมีใน หนวยบริการแหงนี้ และ สถานีอนามัยในจังหวัดพังงา เครื่องมือ วัสดุอุปกรณมีใชอยางเพียงพอบางรายการ ยกเวน อุปกรณสําหรับใหออกซิเจนและพนยา ไมมีใช (ศิริพงศ, 2545) และ กฤษณ, สุพัตราและ Starfield (2550) พบวา ไมไดรับการจัดสรรทรัพยากรตามความจําเปนของสุขภาพประชาชนที่แตกตางกันในแตละพื้นที่ ความเพียงพอของ เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยยังคงเปนปญหาสําหรับผูบริการในบางภูมิภาค ซึ่งเปนสิ่งที่กระทรวงสาธารณสุข ควรใหความสําคัญและพิจารณาจัดหาใหเพียงพอโดยรวมไปถึงพาหนะในการเคลื่อนยายผูปวย ในพื้นที่เกาะคือ เรือ กระทรวงสาธารณสุข (2545) และมาตรฐานศูนยสุขภาพชุมชน (กรมสนับสนุนบริการ, 2550) ที่เกี่ยวเนื่องกับการดูแล ผูปวยในภาวะฉุกเฉิน ไดกําหนดไววาการจัดระบบการสงตอนั้นตองมีการเตรียมความพรอมที่รวมไปถึง ความพรอม ดานยานพาหนะ ซึ่งหนวยบริการปฐมภูมิแหงนี้ไ ม มี พ าหนะ(เรื อ )ในการนํา ส ง ผู ป ว ยเพื่ อ รั บ การรั ก ษาพยาบาล ยั ง โรงพยาบาลเครือขาย ก อใหเ กิด ปญ หาในการนําสง ผู ปว ย การขาดแคลนบุ คลากร พบวาหน ว ยบริก ารนี้ไ ม มี พยาบาลวิชาชีพ และเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานอยู บางคนมีประสบการณการสงตอผูปวยนอย มีความรูความสามารถไม เพียงพอกับการรักษาพยาบาลและบริการสงตอผูปวย กอใหเกิดปญหาดานศักยภาพของเจาหนาที่ผูใหบริการ(ดวง กมล, 2542) ซึ่งบทบาทความสามารถของพยาบาลวิชาชีพในการปฏิบัติงานดานการรักษาพยาบาล สามารถใหการ พยาบาลแก ผูปว ยได ครอบคลุมและครบถวน การสนั บสนุ นบุคลากรอยางเพี ยงพอเป นการบริหารจั ด การเพื่ อให สัดสวนของผูใหบริการและผูรับบริการในหนวยบริการปฐมภูมิมีความเหมาะสม เปนการสนับสนุนใหระบบสงตอผูปวย ในหนวยบริการปฐมภูมิมีคุณภาพยิ่งขึ้น

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

115

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

แนวทางการแกไขของผูใชบริการและผูใหบริการสงตอผูปวยบนพื้นที่เกาะ ผูใชบริการเห็นวา คือ การจั ดการ ใหมีเรือสําหรับนําสงผูปวยตลอดเวลาและใหมีผูที่มีความรูความสามารถในการรักษาพยาบาลเพิ่มมากขึ้นในขณะที่ แนวทางของผูใหบริการในการแกปญหาบริการสงตอ คือ หนวยงานที่เกี่ยวของใหการสนับสนุนเครื่องมือฉุกเฉิน การ จัดการใหมีเรือในการนําสงผูปวย การพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่ในการชวยเหลือผูปวยในพื้นที่เกาะ และใหความรูแก ประชาชนในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองและการสงตอปวย การจัดการสงตอผูปวยใหมีความพรอมในทุกดานจะ ชวยแกปญหาการสงตอใหมีประสิทธิภาพ (สมปอง, 2550) การจัดการโดยการขอความรวมมือจากเจาของเรือโดย เจาหนาที่ทุกคนจะมีเบอรโทรศัพทของเจาของเรือและสามารถโทรขอความชวยเหลือในการนําสงผูปวยไปรงพยาบาล ไดทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืนทั้งคาใชจายในการจางเหมาเรือเพื่อนําสงผูปวยที่มีฐานะยากจน เจาหนาที่ใน หนวยบริการปฐมภูมิเปนผูรับผิดชอบซึ่งการจัดการเรื่องนี้ยังขาดความชัดเจนในการบริการจัดการของหนวยบริการ ปฐมภูมิแหงนี.้ ขอเสนอแนะ 1.จั ดใหมีพยาบาลวิ ชาชี พลงปฏิบัติ งานในหน วยบริ การปฐมภู มิ บนพื้น ที่เ กาะเพื่ อใหบริ การส งตอผูป วยมี ประสิทธิภาพและพัฒนาระบบบริการสงตอผูปวย 2.พัฒ นาความรู ความสามารถของเจ าหน าที่ส าธารณสุ ข ประจํ าหน ว ยบริก ารปฐมภู มิบ นพื้ น ที่ เ กาะให มี ความสามารถเทียบเทาและมีสิทธิในการใหการรักษาพยาบาล 3.จัดใหมี เครื่องมืออุปกรณ เวชภั ณ ฑ ต ามเกณฑ ก ารชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินเบื้องตนสําหรับพื้นที่เกาะใหมี ความเพียงพอและเหมาะสม 4.ควรมีการบริหารจัดการใหมีพาหนะ(เรือ)ในการนํา ส ง ผู ป ว ยอย า งเหมาะสม และทันเวลา 5.พัฒนาความรูของประชาชนบนพื้นที่เกาะใหมีความรูในการดู แลสุ ข ภาพของตนเองและการปฐมพยาบาล เบื้องตนได โดยการประชาสัมพันธใหความรูทางหอกระจายขาว จัดทําแผนปายขั้นตอนการสงตอผูปวย การอบรมให ความรู ขอเสนอแนะเชิงนโยบายดานบริการสงตอผูปวย 1.กระทรวงสาธารณสุข ควรมีนโยบายในการสนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณในการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินใหกับ หนวยบริการปฐมภูมิทุกแหงที่ตั้งอยูบนพื้นที่เกาะ 2.กระทรวงสาธารณสุข ควรมีนโยบายในการอนุมัติใหเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานบนพื้นที่เกาะซึ่งไมใชพยาบาล วิชาชีพ สามารถปฏิบัติการพยาบาลไดเชนเดียวกับพยาบาลวิชาชีพ 3.ควรมีระบบการใหคําปรึกษาการแพทยทางไกล เพื่อใหสามารถดูแลผูปวยไดอยางประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

116

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ กระทรวงสาธารณสุ ข . 2545. ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบั บที่ 8 เรื่ อง มาตรฐานการสงตอผูปวย. คนเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2551, จาก http://mrd-hss.moph.go.th. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข . 2550. คูมือพัฒนาระบบงานศูนยสุขภาพชุมชนเพื่อใหไ ด มาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี: ชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. กรองได อุ ณ หสู ต . 2552. คู มื อ ปฏิ บั ติ ก ารจั ด การทางการพยาบาลระบบสั่ ง การสถานการณ ฉุ ก เฉิ น . กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก . กฤษณ พงศพิรุฬห, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, และ Barbara Starfield. 2550. “การประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศ ไทยจากมุมมองของผูใหบริการ”. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 2, 401-408 . โกมาตร จึงเสถียรทรัพย, ชาติชาย มุกสง, นงลักษณ ตรงศีลสัตย, ราตรี ปนแกว, วรัญญา เพ็ชรคง,มธุรส ศิริสถิต กุล และคณะ. 2547. พลวัตสุขภาพกับการพึ่งตนเอง ภาคชนบท. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย, ชาติชาย มุกสง, วรัญญา เพ็ชรคง, คณิศร เต็งรัง, ปารณัฐ สุขสุทธิ์, มธุรส ศิริสถิตกุล, และคณะ. 2550. วัฒนธรรมสุขภาพกับการเยียวยา แนวคิดทางสังคมและมานุษยวิทยาการแพทย . กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัด สามลดา. จิตติมา อรามศรีธรรม. 2550. การเขาถึง และความตองการบริการสุขภาพด านอนามัยแมและเด็ กในสถานี อนามั ย ของสตรี ชาวเลบนเกาะแห ง หนึ่ ง ทางตอนใต ข องประเทศไทย.วิ ท ยานิ พ นธ วิ ท ยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สงขลา. ชัยชน โลวเจริญกูล. 2550. “ระบบสงตอที่เอื้อสําหรับผูปวยโรคลมชักอาการหนัก”. จุฬาลงกรณเวชสาร, 51, 176-189. ดวงกมล ศิริลัภยานนท. 2542. การประเมินความสามารถของสถานีอนามัยในการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง จั ง หวั ด ยะลา. วิ ท ยานิ พ นธ วิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาการวิ จั ย และพั ฒ นาระบบสาธารณสุ ข มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สงขลา. พิชัย พวงแกว. 2547. ประสบการณการดูแลสุขภาพตนเองภาคประชาชนในอําเภอสะทิงพระจังหวัดสงขลา. วิ ท ย านิ พ น ธ วิ ท ย า ศ า ส ต ร ม ห าบั ณ ฑิ ต ส า ข าวิ ช าก า ร วิ จั ย แล ะ พั ฒ น าร ะ บ บ ส าธ า ร ณ สุ ข . มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สงขลา. เพชรน อย สิ ง ห ชางชั ย . 2550. หลั ก การและการใช วิ จัยเชิ ง คุ ณ ภาพสํ า หรั บทางการพยาบาลและสุ ขภาพ. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ. วิยะดา จุฑาศรี. 2543. การสรางมาตรฐานการพยาบาลการสงตอผูปวย โรงพยาบาลสหัสขันธอําเภอสหัสขันธ จังหวัดกาฬสินธุ. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการ พยาบาล มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน. สมปอง กรุ ณ า. 2550. การพั ฒ นาระบบส ง ต อ ผู ป ว ยสถานอนามั ย ในเครื อ ข า ยโรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช. คนเมื่อ 23 มีนาคม 2553, จาก http://202.28.18.232 /dcms/basic.php. สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ, และสุวัฒน วิริยพงษสุกิจ. 2547. RURAL HEALTH สาธารณสุขชนบท. นนทบุรี: มูลนิธิแพทย ชนบท.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

117

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

โสภารัตน พรมพุก. 2548. ความตองการของผูปวยขณะมารับการรักษาพยาบาลที่หองฉุกเฉินโรงพยาบาล สวรรคโลก จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย . วิ ท ยานิ พ นธ พ ยาบาลศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการพยาบาลผู ใ หญ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม. ศิริ พ งศ ทองสกุ ล . 2545. บริ ก ารสาธารณสุ ขระดั บปฐมภู มิของสถานี อนามัย จั ง หวั ดพั ง งา. วิท ยานิ พ นธ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สงขลา. Blustein, J. & Weitzman, B.C. 1995. “Access to Hospitals with High-Technology Cardiac Services: How is Race Important”. American J Public Health, 85, 345-351. Kleimen , A. 1980. Patient and healer in the context of culture. Berkley: University of California press.

อัล-นูร



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

119

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

กลยุทธการจัดการบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต Developing Management Strategy for Haji Business in Southern of Thailand จิราพร เปยสินธุ อําพร วิริยะโกศล  วิทวัส ดิษยะศริน สัตยารักษ บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษา จุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคของบริษัทฮัจย เพื่อกําหนดกล ยุทธเพื่อการจัดการบริษัทฮัจย 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใตในการ ศึกษาวิจัยครั้งนี้ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งการวิจัยเชิงคุณภาพดําเนินการโดยวิธีการสัมภาษณโดยใชแบบสอบถาม กับตัวแทนผูประกอบการฮัจย จํานวน 5 ราย และคณะผูแทนฮัจยไทยป 2552 จํานวน 2 ทาน จากความคิดเห็นของ ตัวแทนบริษัทผูประกอบการ และผูแทนฮัจยไทย พบวาปจจัย ดานจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคของการตลาดบริษัทฮัจย จําแนกเปน 4 ประเด็นไดแก 1) ดานภาพรวมของผูเดินทางไปประกอบ พิธีฮัจย 2) ดานภาพรวมการจัดการฮัจยไทย 3) ดานการบริหารกิจการฮัจยไทย และ 4) ดานการเขาถึงขอมูลขาวสาร จากการศึกษาไดนําจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค มาพัฒนาเปนยุทธศาสตรของการตลาดบริษัทฮัจย ในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต 1) สนั บ สนุ น งบศึ ก ษา วิ จั ย และประเมิ น ผลการบริ ห ารจั ด การฮั จ ย ไ ทยผ า น สถาบันการศึกษา จัดตั้งศูนยแกปญหาฮัจยไทยจังหวัดชายแดนภาคใตโดยมีการนําผลการวิจัยและขอเสนอแนะของ นักวิชาการ และสถาบันการศึกษามาปรั บใชเพื่ อประโยชนต อการบริหารจัดการฮัจย 2) รัฐบาลวางนโยบายและ ยุท ธศาสตร ฮัจ ย ไทยที่ชั ด เจนเพื่ อเป น แนวทางในการดําเนิน งานของหนว ยงานที่เ กี่ ยวของ เป นต น 3) รัฐ บาลตั้ ง คณะทํางานที่มีประสบการณเพื่อศึกษาแกไขปรับปรุง การบริหารการจัดการฮัจยอยางจริงจังและนําไปสูการแก ไข พระราบัญญัติ กฎกระทรวงและระเบียบเกี่ยวกับกิจการ 4) รัฐบาลแตงตั้งคณะทํางานที่รับผิดชอบในเรื่อง จดทะเบียน ผูนํากลุม(แซะห), เพิ่มชองทางการใหขอมูลขาวสาร, ชวยเหลือ แกไขปญหา คนไทยมุสลิม ในทุกขั้นตอนของการประกอบ พิธีฮัจย, ดูแลและสรางศูนยเตรียมความพรอมสําหรับผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยและอุมเราะห , ดําเนินกิจกรรม กระชับความสัมพันธอันดีกับรัฐบาลซาอุดิอาราเบีย

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ) รองศาสตราจารย, อาจารยพิเศษสาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยหาดใหญ  ดร. (บริหารการศึกษา) อาจารยประจําสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ 

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

120

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Developing Management Strategy for Haji Business in Southern of Thailand Jiraporn Piasintu Amporn wiriyacosol Wittwat Didyasarin Sattayarak Abstract The purposes of this qualitative research are as the following, 1) to analyze the strengths, weaknesses, opportunities and obstacles to the marketing strategies of Hajj Marketing in Three Southern Border Provinces. 2) To suggest the implementation of Hajj Marketing in Three Southern Border Provinces. The research’s data corrected by depth interviewing the representatives of five companies and representative of the Material to collect data by questionnaires divided into the representative of the five companies and two representatives Hajj Thai Association. The research found that the factors influenced strengths, weaknesses; opportunities and obstacle of the Hajj marketing were divided into four points. 1) An overview of all the Hajj pilgrims. 2) The overall Hajj management of Thailand. 3) The Hajj administration of Thailand, and 4) the access to Hajj information. The study of the strengths, weaknesses, opportunities and obstacles has come up with the development of the strategy for Hajj marketing in the three provinces 1) to support the study, research and evaluation management Hajj Thailand through education. Developing the solutions Hajj southern Thailand, with the findings and recommendations to adapt management of Hajj. 2) the Government policies and strategies that Hajj is to guide the operation of the agencies involved. 3) The government set up experiences working team to improve the Hajj management and lead to a serious change in the law and regulations on Hajj business. 4) The government should appointed a working group to responsible for the; Register all the Hajj operators, increase the channels of information, help resolving Thai-Muslims problems in all steps of Hajj pilgrimage, open a Hajj center for Hajj preparation which operate throughout the year for the the pilgrimage of Hajj and Umrah, to build a strong relationship with the government of Saudi Arabia.

Graduate Student, Department of Business administration, Hatyai University. Assoc. Prof. (Business administration), Lecturer of Departmetn public and private sectors, Hatyai University.  Ed.D. (Education), Lecturer Department Education administration, Hatyai University. 

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

121

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา การประกอบพิธีฮัจย เปนศาสนบัญญัติในศาสนาอิสลามประการที่ 5 ที่มุสลิมทุกคนตองปฏิบัติเพียงครั้งเดียวใน ชีวิ ต โดยมีเงื่ อนไขความพร อมทั้งสุ ขภาพร างกาย ทรัพย สินเงิ นทองและความปลอดภั ยในการเดินทาง ซึ่ งการเดิ นทางไป ประกอบพิธีฮัจยของชาวไทยมุสลิมมีมาชานานกอนสมัยอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี โดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนที่ อาศัยอยูบริเวณตอนใตของประเทศไทยสมัยนั้นสวนใหญเปนชาวไทยเชื้อสายมลายู ที่นับถื อศาสนาอิสลาม การเดินทางไป ประกอบพิธีฮัจยของชาวไทยมุสลิมสวนใหญจะเดินทางไปกับบุคคลใกลชิด หรือญาติที่เคยผานการประกอบพิธีฮัจย หรือเคย พํานักอยูในประเทศซาอุดีอาราเบียในฐานะผูนําทาง ซึ่งนิยมเรียกกันวา “แซะห” โดยแซะหจะทําการรวบรวมบุคคลที่มีความ ประสงคจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยนําไปจัดการทําหนังสือเดินทางและเตรียมเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวของ และนําไปมอบใหแก ผูประกอบการฮัจยซึ่ งเปนนิติบุ คคลที่ จดทะเบียนขออนุญาตเปนผูประกอบกิจการรับจัดบริ การขนสงในกิจการฮัจย เพื่ อ ดําเนินการตามขั้นตอนอื่นๆตอไป ตั้งแตการเตรียมตัวกอนไปประกอบพิธีฮัจย จนกระทั้งเดินทางไปประกอบพิธฮี ัจย จัดหาที่ พักอาศัยตลอดจนใหบริการอื่นๆ จนเสร็จสิ้นพิธีฮัจยและเดินทางกลับมายังประเทศไทย ซึ่งทั้งหมดนี้อยูในความรับผิดชอบ ของผูประกอบการจัดการบริการฮัจยทั้งสิ้น โดยความรวมมือจากแซะห และหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน สําหรับการบริหารจัดการฮัจยของประเทศไทย มักจะไดรับการแจงตําหนิถึงความลมเหลวในการจัดการปญหาดาน ตางๆของผูแสวงบุญ การขาดการเอาใจใสของรัฐบาลไทย การขาดความสามารถคุมครองผูแสวงบุญในฐานะผูบริโภคตาม รัฐธรรมนูญ ซึ่งในกิจการ ฮั จยมีเงิ นหมุนเวียนไมต่ํากวา 3,000 ลานบาทต อป ควรมีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อไม ใหเสี ย โอกาสในการสงคนไปประกอบพิธีฮัจย ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศมาเลเซียและ อินโดนีเซีย เปนประเทศที่มีการบริหาร จัดการฮัจยอยางมีประสิทธิภาพกวา (ไทยเอ็นจีโอ ออนไลน, 2552) เทศกาลฮัจยประจําป 2552 มีผูประกอบพิธีฮัจยจากทั่วโลกรวมทั้งสิ้น 2,520,000 คน และในจํานวนดังกลาวมีผู ประกอบพิธีฮจั ยจากประเทศไทยจํานวน 13,369 คน ผูประกอบการที่ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการฮัจยจํานวน 93 รายและ มี 83 รายที่ นําชาวไทยมุ สลิ มเดินทางไปประกอบพิธี ฮัจย ทั้งนี้ ทางการซาอุดี อาราเบียกําหนดจํ านวน ผูแทนฮัจยไทยเพื่ อ เดินทางไปเตรียมการ ประสานงานและอํานวยความสะดวกจํ านวน 130 คน โดยมีนายอิสมาอีลลุ ตฟ จะปะกี ยา ทํ าหนาที่ หัวหน าคณะผูแทนฮัจยทางการ ซึ่ งผู แทนฮั จย ไทยทั้ง 130 คน แยกเปนกลุมๆไดแก หัวหน าคณะและคณะจํ านวน 12 คน ผูทรงคุ ณวุ ฒิ ผู เชี่ ยวชาญด านภาษาและการปฏิ บั ติ งานจํ านวน 17 คน ผู แทนกรมศาสนา จํ านวน 3 คน ผู แทนกรมการ ปกครองจํานวน 2 คน ผูแทนศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตจํานวน 6 คน หนวยพยาบาลไทย จํานวน 40 คน ผูประกอบการฮัจยหรือผูแทนจํานวน 50 คน การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยของมุสลิมไทยเริ่มตนตั้งแตวันที่ 20 ตุลาคม 2552 ในปนี้บริษัทการบินไทยขนสงผู เดินทางไปประกอบพิธฮี ัจยจากทาอากาศยานหาดใหญและทาอากาศยานภูเก็ต ในลักษณะเหมาลํา ทําการบินจากสนามบิน หาดใหญและภูเก็ตไปประเทศซาอุดีอาราเบีย มีการจัดตั้งศูนยอํานวยความสะดวกแกผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยประจําทา อากาศยานตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยทุกดานเชน การตรวจเอกสารการเดินทาง การ ชั่งน้ําหนักสัมภาระ การขนยาย และอื่นๆที่เกี่ยวของกับการเดินทาง การบริการของสํานักงานบริการภาคสนาม ในเทศกาล ฮัจยปนี้ ทางการซาอุดีอาราเบียไดจัดสํานักงานบริการภาคสนาม บริการผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยชาวไทยจํานวน 5 ศูนย คือ ศูนยที่ 94, 95, 96, 97 และ 98 ตลอดเทศกาลฮัจยมีชาวไทยมุสลิมเสียชีวิตจํานวน 18 คน จากความเปนมาและความสําคัญขางตน กระบวนการบริหารจัดการฮัจย ของประเทศไทยจําเปนที่ตองพัฒนาเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการใหกับชาวมุสลิมที่ไปประกอบพิธีฮัจยเพื่อใหไดคุณภาพมาตรฐาน ดังนั้นผูวิจัยจึงมี ความสนใจในการที่จะศึกษา การพัฒนากลยุทธของบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งมีประชาการสวนใหญนับถือ ศาสนาอิสลามวาจะมีแนวทางการพัฒนาการจัดการบริษัทฮัจยอยางไรเพื่อสามารถสรางมาตรฐานทัดเทียมนานาประเทศ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

122

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. วิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการตลาดบริษัทฮัจยในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต 2. เพื่อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการตลาดบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต

คณะผูแทนฮัจย

การจัดการบริษัทฮัจย

ผูประกอบการฮัจย

ผูประกอบพิธีฮัจย 1) ภาพรวมของผูเดินทางไป ประกอบพิธีฮัจย 2) ภาพรวมการจัดการฮัจย ไทย 3) การบริหารกิจการฮัจยไทย 4) การเขาถึงขอมูลขาวสาร

SWOT ANALYSIS

กรอบแนวคิดการวิจัย ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มุงศึกษา ความคิดเห็นของตัวแทนผูแทนฮัจยไทยป 2552 และตัวแทนบริษัทผูประกอบการ ฮัจย เพื่อทําการวิเคราะหสภาพแวดลอม ปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก ( SWOT Analysis) ใหทราบถึง จุดแข็ง จุด อ อน โอกาส และอุป สรรค ของการตลาดบริ ษั ท ฮั จ ยใ นสามจั งหวั ด ชายแดนภาคใต และนํ าไปกํ าหนดกลยุ ท ธ การตลาดที่เหมาะสมโดยใชเทคนิค TOWS Matrix ตอไป กลุมตัวอยางผูประกอบการฮัจยในการศึกษาครั้งนี้ไดจากการสงแบบสอบถามถึงผูประกอบการฮัจย ทั้งหมดที่ จดทะเบี ยนจํ านวน 93 รายและคัดเลือก 5 สถานประกอบการที่ตอบแบบสอบถามและยิน ดีให ขอมู ล 5 อันดับเพื่อทําการสัมภาษณในเชิงลึก กลุมตัวอยางคณะผูแทนฮัจยไทยป 2552 ประกอบดวย อะมีรุลฮัจยและ ที่ปรึกษาคณะผูแทนฮัจย จํานวน 130 คน ในการศึกษาครั้งนี้เลือกสัมภาษณจํานวน 2 ทานไดแก 1. นายมูฮําหมัดนาเซร หะบาแย ผูชวยเลขานุการคณะทํางาน 2. นายสุกรี หลังปูเตะ คณะทํางาน สรุปผลการวิจัย จากการสัมภาษณตัวแทนบริษัทผูประกอบการและตัวแทนผูแทนฮัจยไทย โดยจําแนกเปนประเด็น 4 ดาน คือ 1) ดานภาพรวมของผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย 2) ดานภาพรวมการจัดการฮัจยไทย 3) ดานการบริหารกิจการฮัจย ไทยและ 4) ดานการเขาถึงขอมูลขาวสาร โดยวิเคราะห ปจจัยภายในและปจจัยภายนอก แยกเปนจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุ ปสรรค ของบริษัทฮั จย และนําจุ ดแข็ง จุด ออน โอกาส และอุปสรรค ดังกลาวมาพัฒ นาเปนกลยุท ธ สําหรับบริษัทฮัจย ซึ่งตาราง ที่ 1 – 4 เปนตารางแสดงผลการวิเคราะห SWOT ANALYSIS ทั้ง 4 ดานตามลําดับ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

123

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ตาราง 1 ผลการพัฒนากลยุทธ การตลาดบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ดานภาพรวมของผูเดินทางไป ประกอบพิธีฮัจย โดยใช TOWS Matrix S: ปจจัยแวดลอม S1 ผูเดินทางไป ภายใน ประกอบพิธีฮัจยมี (IFAS) ความมุงมั่นที่จะ เดินทางไปประกอบพิธี ฮัจย

ปจจัยแวดลอม ภายนอก (EFAS)

O: O1 สามจังหวัดชายแดน ภ า ค ใ ต เ ป น พื้ น ที่ ที่ มี ประชากรส ว นใหญ นั บ ถือศาสนาอิสลาม

กลยุทธ SO S1O1 ผูประกอบการ ฮัจยพัฒนารูปแบบการ บริ ก ารอย างมื ออาชี พ เพื่อสร างความเชื่ อมั่ น และใหลูกคาเกิดความ พึงพอใจ รวมทั้ งสราง เอกลั ก ษณ ที่ โ ดดเด น ใหกั บการบริก าร เพื่ อ ดึงดูดลูกคา

T: T1 ผูเดิ นทางไปประกอบ พิธีฮัจยสวนใหญตระหนัก ถึงหลักการศาสนา ในเรื่อง ของบททดสอบ ความ อดทน ความเสี ยสละ และ การให อภั ย จึ งไม ค อยจะ เรี ยกร องสิ ทธิ เมื่ อถู ก ผูประกอบการเอาเปรียบ

กลยุทธ ST S1T1 ผู เ ดิ น ทางไประ ก อ บ พิ ธี ฮั จ ย เ ลื อ ก ผู ป ระกอบการฮั จ ย ที่ สร า งมาตรฐานการ ใหบริ การโดยคํานึงถึ ง หลั ก การศาสนาและ ผลประโยชนของลูกคา เปนหลัก

W: W1 ผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยไมมีการเตรียมความพรอม ทางดานรางกายทําใหประสบปญหาการเจ็บปวยรวมทั้งขาด ทัก ษะในการใช ชี วิ ต ร ว มกั บ คนต างชาติ ต างภาษา ส ง ผล ทางดานจิตใจขณะประกอบพิธีฮัจย W2 ผูเดินทางไปประกอบพิ ธีฮัจยสวนใหญ ขาดทักษะและ องคความรูที่จําเปนในการประกอบพิธีฮัจย W3 ผู เ ดิ น ทางไปประกอบพิ ธี ฮั จ ย ตั ด สิน ใจใช บ ริ ก ารกั บ หั ว หน ากลุ ม (แซะห ) โดยขาดการศึ ก ษาในรายละเอี ยดว า บริษัทผูประกอบการจะดําเนินการอยางไร W4 ผู เ ดิ น ทางไปประกอบพิ ธี ฮั จ ย ไ มไ ด ติ ด ต อกั บ บริ ษั ท ผูประกอบการโดยตรงแตทําการติดตอผานผูนํากลุม(แซะห) และมอบหมายใหผูนํากลุมดําเนินการเองทั้งหมด กลยุทธ WO W1O1 จั ด ตั้ ง ศู น ย ดู แลและสร างความพร อมสํ าหรั บ ผู เดิ นทางไปประกอบพิธี ฮั จย และอุมเราะห เปด ดํ าเนิ นการ ตลอดป ใหบริการแกผูที่จะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย และ ผูที่สนใจทั่วไป W2O1 ผูประกอบการฮัจยตองจัดทําขอมูลขาวสาร รายละเอียด และกําหนดการเกี่ ยวกับการประกอบพิธี ฮัจยแก ลูกคาก อนและ หลังจากการประกอบพิธีฮัจยอยางตอเนื่อง W4O1 ดําเนินการจดทะเบียนผูนํากลุม(แซะห)รวมทั้งสังกัด ผูนํากลุม(แซะห)ใหอยูในบริษัทประกอบกิจการฮัจยเปนการ ถาวร ไมอนุญาตใหผูนํากลุมที่ไมจดทะเบียนและไมมีสังกัด รับลูกคา กลยุทธ WT W1T1 จัดตั้งศูนยดูแลและสรางความพรอมสําหรับผูเดินทางไป ประกอบพิธีฮัจยและอุมเราะห เปด ใหบริการแกผูที่จะเดินทางไป ประกอบพิธีฮัจย และผูที่สนใจทัว่ ไป W2T1 เพิ่มชองทางการใหขอมูลขาวสารรวมทั้ง รายละเอียดและ กําหนดการเกี่ยวกับการประกอบพิธีฮัจยแกผูเดินทางไปประกอบ พิธีฮัจยอยางตอเนื่อง W4T1 ขึ้ นทะเบี ยนผู นํ ากลุ ม(แซะห )และให สั งกั ดอยู ในแต ละ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12 T2 ผูเดินทางไปประกอบ พิ ธี ฮั จ ย ที่ มีภู มิลํ าเนาใน สามจั ง หวั ดช ายแด น ภาคใต ส วนใหญ มีภาษา และวัฒนธรรมที่แตกตาง กับหนวยงานที่ เกี่ ยวของ เชน หนวยงานราชการใน ส ว นกลาง สายการบิ น เป น ต น จึ ง มั ก ไม ไ ด รั บ ความสะดวกในการใช บริการ

S1T2 ผู เ ดิ น ท า ง ไ ป ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ฮั จ ย เรี ยกร องให ห น วยงาน กลางจั ด เจ าหน าที่ ที่ มี คว ามส ามาร ถ ด าน ภาษาเพื่อติดตอสื่อสาร และให บริ ก ารในช วงที่ เดินทางไปประกอบพิ ธี ฮัจย

124

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บริษัทเปนการถาวร ไมอนุญาตใหผูนํากลุมที่ไมจดทะเบียน และ ไมมีสังกัดรับลูกคา W4T2 สรางมาตรฐานการใหบริการโดยคํานึงถึงหลักการศาสนา และผลประโยชนของลูกคาเปนหลัก W4T2 มี การเข ามาดู แล หน วยงานที่ เกี่ ยวข องกั บกิ จการฮั จย เชน สายการบิ นเพื่ อใหผู เดิ นทางไปประกอบพิ ธีฮัจยไดรั บความ สะดวกในดานการติดตอสื่อสารและการบริการ

ผลการวิเคราะหSWOTโดยใช TOWS Matrix ดานภาพรวมของผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยไดกลยุทธดังตอนี้ 1. ผูประกอบการฮัจยพัฒนารูปแบบการบริการอยางมืออาชีพเพื่อสรางความเชื่อมั่นและใหลูกคาเกิดความ พึงพอใจ รวมทั้งสรางเอกลักษณที่โดดเดนใหกับการบริการเพื่อดึงดูดลูกคา 2. ผู เ ดิ น ทางไประกอบพิ ธี ฮั จ ย เ ลื อ กผู ป ระกอบการฮั จ ย ที่ ส ร างมาตรฐานการให บ ริ ก ารโดยคํ านึ ง ถึ ง หลักการศาสนาและผลประโยชนของลูกคาเปนหลัก 3. ผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจ ยเรียกรองให หนวยงานกลางจัดเจาหนาที่ที่ มีความสามารถดานภาษา เพื่ อ ติดตอสื่อสารและใหบริการในชวงที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย 4. จั ด ตั้ ง ศู น ย ดู แ ลและสร า งความพร อ มสํ า หรั บ ผู เ ดิ น ทางไปประกอบพิ ธี ฮั จ ย แ ละอุ ม เราะห เป ด ดําเนินการตลอดป ใหบริการแกผูที่จะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย และผูที่สนใจทั่วไป 5. ผูประกอบการฮัจยตองจัดทําขอมูลขาวสาร รายละเอียด และกําหนดการเกี่ยวกับการประกอบพิธีฮัจยแก ลูกคากอนและหลังจากการประกอบพิธีฮัจยอยางตอเนื่อง 6. ดําเนินการจดทะเบียนผูนํากลุม(แซะห)รวมทั้งสังกัดผูนํากลุม(แซะห)ใหอยูในบริษัทประกอบกิจการฮัจย เปนการถาวร ไมอนุญาตใหผูนํากลุมที่ไมจดทะเบียนและไมมีสังกัดรับลูกคา 7. เพิ่มชองทางการใหขอมูลขาวสารรวมทั้ง รายละเอียดและ กําหนดการเกี่ยวกับการประกอบพิธีฮัจยแกผู เดินทางไปประกอบพิธีฮัจยอยางตอเนื่อง 8. สรางมาตรฐานการใหบริการโดยคํานึงถึงหลักการศาสนาและผลประโยชนของลูกคาเปนหลัก 9. มีการเขามาดูแล หนวยงานที่เกี่ยวของกับกิจการฮัจย เชน สายการบินเพื่อใหผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย ไดรับความสะดวกในดานการติดตอสื่อสารและการบริการ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

125

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ตาราง 2 ผลการพัฒนากลยุทธการตลาดบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ดานภาพรวมของการจัดการฮัจย ไทย โดยใช TOWS Matrix ปจจัย S: W: แวดลอม S1 รัฐบาลไทยสนับสนุนการ W1 พ.ร.บ.สงเสริมกิจการฮัจยไมไดทําการปรับปรุงแกไขให ภายใน ประกอบพิ ธี ฮั จ ย ข องมุ ส ลิ ม สอดคลองกับการประกอบพิธีฮัจยและสถานการณปจจุบัน (IFAS) ไทย เปนเวลากวา 20 ป ปจจัยแวดลอม ภายนอก (EFAS)

O: O1 มี นั ก วิ ช าการ แ ล ะ ส ถ า บั น ท า ง การศึ ก ษาในสาม จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภาคใต ที่มีศักยภาพ ที่เอื้อตอการบริหาร จัดการฮัจย

T: T1 รั ฐบาลไทยขาด ความเข า ใจงานใน กิ จการฮั จย ทั้ งระบบ ทํ าให ไม มี โครงสร าง ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ บุ คลากรที่ เหมาะสม ในการบริหารจัดการ ฮั จ ย ไ ท ย ใ ห มี ประสิทธิภาพ T2 ประเทศไทยมี ความสั ม พั น ธ ที่ ไ ม แน นแฟ นกั บประเทศ ตะวันออกกลางทําให ส ง ผ ล ก ร ะท บ ต อ บริษัทฮัจย

S2 มี หน ว ยงานต างๆ ทั้ ง W2 ไมมีการบริหารจัดการกิจการฮัจยไทยอยางเปนระบบ ภาครั ฐ และเอกชนส ง เสริ ม จากรัฐบาล กิจการฮัจยในระดับปฏิบัติการ W3 ขาดการวางแผนด านกิ จ การฮั จ ย แบบองค ร วมโดย กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานที่เกี่ยวของ กลยุทธ SO กลยุทธ WO S1O1 รั ฐ บาลสนั บ สนุ น งบ W1O1 ปรับปรุงและแกไข พระราชบัญญัติสงเสริมกิจการฮัจย ศึ ก ษา วิ จั ย และประเมิ น ผล โดยอาศัยนักวิชการที่มีความรู สถาบันการศึกษาที่มีศักยภาพ การบริ ห ารจั ด การฮั จ ย ไ ทย และการทําประชาพิจารณร วมกับผูประกอบการฮัจยและ ผานสถาบันการศึกษา มุสลิมในประเทศไทยเพื่อใหฮัจยไทยไมลาหลังเมื่อเทียบกับ S2O1 จัดตั้งศูนยแกปญหา ประเทศใกลเคียงเชน กัมพูชา ฟลิปปนสและจีน ฮัจยไทยจังหวัดชายแดน W1O1 รั ฐ บาลกํ าหนดวิสั ยทั ศ น และยุ ท ธศาสตร ฮั จ ย ไ ทย ภาคใตโดยมีการนํา เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ ผลการวิจัยและขอเสนอแนะ W3O1 กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานที่เกี่ยวของ ของนักวิชาการ และ รวมวางแผนงานเพื่อกิจการฮัจยไทย สถาบันการศึกษามาปรับใช เพื่อประโยชนตอการบริหาร จัดการฮัจย กลยุทธ ST กลยุทธ WT S1T1 รัฐบาลเรงศึกษา และ W1T1 รัฐบาลตั้งคณะทํางานที่มีประสบการณเพื่อศึกษา ทําความเขาใจ ตอการจัดการ แกไขปรับปรุง การบริหารการจัดการฮัจยอยางจริงจังและ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ กระบวนการ นําไปสูการแกไขพระราบัญญัติ กฎกระทรวงและระเบียบ ฮัจยอยางจริงจัง เกี่ยวกับกิจการฮัจย S2T2 รัฐบาลใชวาระฮัจยเปน W2T1 รัฐบาลวางนโยบายและยุทธศาสตรฮัจยไทยเพื่อ โอกาสเพื่อแสดงความจริ งใจ เปนแนวทางในการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ และประสานความสัมพันธอัน W2T1 รั ฐ บาลศึ ก ษารู ป แบบการจั ด องค ก ารของ ดีกับ ประเทศตะวั นออกกลาง อารยะประเทศเช น อิ น เดี ย ปากี ส ถาน มาเลเซี ย โดยแต ง ตั้ ง เจ า หน า ที่ ร ะดั บ อินโดนีเซีย เปนตน ป ฏิ บั ติ ก า ร ติ ด ต อ W2T1 รั ฐบาลแสดงความเอาใจใส สนับสนุ นการศึ กษาวิจั ย ประสานงาน ชวยเหลือ แกไ ข เกี่ ยวกั บกิ จการฮั จย ของประเทศไทยและนํ าผลการวิ จั ยมา ป ญ หา คนไทยมุ ส ลิ ม ที่ ไ ป บริหารจัดการฮัจยไทย ประกอบพิธีฮัจย W3T2 รัฐบาลแตงตั้งเจาหนาที่หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ประสานงานกั บ กระทรวงกิ จการฮั จ ย ประเทศซาอุ ดิ อา ราเบียเกี่ยวกับการสงเสริมกิจการฮัจย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

126

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผลการ วิเคราะหSWOT โดยใช TOWS Matrix ดานภาพรวมของการจัดการฮัจยไทย ไดกลยุทธดังตอนี้ 1.รัฐบาลสนับสนุนงบศึกษา วิจัยและประเมินผลการบริหารจัดการฮัจยไทยผานสถาบันการศึกษา 2.จั ด ตั้ ง ศู น ย แ ก ป ญ หาฮั จ ย ไ ทยจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต โ ดยมี ก ารนํ า ผลการวิ จั ยและข อ เสนอแนะของ นักวิชาการ และสถาบันการศึกษามาปรับใชเพื่อประโยชนตอการบริหารจัดการฮัจย 3.รัฐบาลเรงศึกษา และทําความเขาใจ ตอการจัดการที่เกี่ยวของกับกระบวนการฮัจยอยางจริงจัง 4.รั ฐ บาลใช ว าระฮั จ ย เ ป น โอกาสเพื่ อ แสดงความจริ ง ใจและประสานความสั ม พั น ธ อั น ดี กั บ ประเทศ ตะวันออกกลางโดยแตงตั้งเจาหนาที่ระดับปฏิบัติการ ติดตอ ประสานงาน ชวยเหลือ แกไขปญหาคนไทยมุสลิม ที่ไป ประกอบพิธีฮัจย 5.ปรับปรุงและแกไข พระราชบัญญัติสงเสริมกิจการฮัจยโดยอาศัยนักวิชการที่มีความรู สถาบันการศึกษาที่ มีศักยภาพและการทําประชาพิจารณรวมกับผูประกอบการฮัจยและมุสลิมในประเทศไทยเพื่อใหฮัจยไทยไมลาหลังเมื่อ เทียบกับประเทศใกลเคียงเชน กัมพูชา ฟลิปปนสและจีน 6.รั ฐ บาลกํ าหนดวิ สั ยทั ศ น และยุ ท ธศาสตร ฮั จ ย ไ ทยเพื่ อเป น แนวทางในการดํ าเนิ น งานของหน ว ยงานที่ เกี่ยวของ 3) กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานที่เกี่ยวของรวมวางแผนงานเพื่อกิจการฮัจยไทย 7.รัฐบาลตั้งคณะทํางานที่มีประสบการณเพื่อศึกษาแกไขปรับปรุง การบริหารการจัดการฮัจยอยางจริงจัง และนําไปสูการแกไขพระราชบัญญัติ กฎกระทรวงและระเบียบเกี่ยวกับกิจการฮัจย 8.รั ฐ บาลวางนโยบายและยุ ท ธศาสตร ฮั จ ย ไ ทยเพื่ อ เป น แนวทางในการดํ า เนิ น งานของหน ว ยงานที่ เกี่ยวของ 9.รัฐ บาลศึ กษารู ปแบบการจัด องคก ารของอารยะประเทศเชน อิ นเดีย ปากี สถาน มาเซเซี ย อิน โดนีเ ซี ย เปนตน 10.รั ฐ บาลแสดงความเอาใจใส สนั บ สนุ น การศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ยวกั บ กิ จ การฮั จ ย ข องประเทศไทยและนํ า ผลการวิจัยมาบริหารจัดการฮัจยไทย 11.รัฐบาลแตงตั้งเจาหนาที่หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ประสานงานกับกระทรวงกิจการฮัจย ประเทศซาอุดิอา ราเบียเกี่ยวกับการสงเสริมกิจการฮัจย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

127

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ตาราง 3 ผลการพัฒนากลยุทธ การตลาดบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ดานการบริหารกิจการฮัจยไทย โดยใช TOWS Matrix S: ปจจัยแวดลอม S1 จํานวนผูป ระสงค จะเดิน ทางไป ภายใน ประกอบพิ ธี ฮั จ ย มี จํ า นวนมากว า (IFAS) โควตาที่ประเทศไทยไดรับการจัดสรร S2 เทศการฮัจยมีเปนประจําทุกป S3 บริษัทฮัจยมีแนวโนมเติบโตขึ้นทุก ปถึงแมเศรษฐกิจจะชะลอตัว

ปจจัยแวดลอม ภายนอก (EFAS)

O: O1 เทศกาลฮั จยเปน โอกาส ใ น ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ประเทศไทยสูนานาประเทศ O2 เทศการฮัจยเป นโอกาส ในการเป ดตลาดการค าของ ไทย

T: T1 เปนธุรกิจที่ใชเงินลงทุนสูง T2 การดําเนินบริษัทฮัจยตอง ประสานงานกั บหน ว ยงานที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ทั้ ง ใ น แ ล ะ ตางประเทศหลายหน วยงาน และมีขั้นตอนที่สลับซับซอน

กลยุทธ SO S1O1 สมควรจัดตั้งศูนยอํานวยการ กิจการฮัจยไทย ณ ประเทศซาอุดิอา ร า เ บี ย โ ด ยแ ต ง ตั้ ง เ จ าห น า ที่ ที่ เหมาะสมเพื่ อ ประสานงาน และ ปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย กั บ กิ จ การฮั จ ย เป น การสร างมาตรฐานให ทั ด เที ย มกั บ ประเทศอื่นๆ S2S3O2 รวบรวมผูประกอบการไป จัดแสดงสินคาในเทศการฮัจยเพื่อเปน การเป ด ตลาดสิ น ค า ของไทย เช น อาหารฮาลาล ผลไม ผาไทย งานฝมือ เปนตน กลยุทธ ST S1T1 จั ด ตั้ ง กองทุ น เพื่ อ สนั บ สนุ น กิจการฮัจยไทยอยางเปนระบบ S2T2 มี ก า ร ส ร า ง เ ครื อข า ย (Network) ทั้งในและตางประเทศเพื่อ ประสานงานในดานตางๆ เชนการเชา บาน การจั ดการขนสง ผูประกอบพิ ธี ฮัจย เปนตน

W: W1 จํานวนผูเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย ถู ก จํ า กั ด โ ด ย สั ด ส ว น ข อ ง มุ ส ลิ ม ภายในประเทศและการตั ด สิ น ใจของ รัฐบาลซาอุดิอาราเบีย W2 บริ ษัท ฮั จย ตองอาศั ยบุ คคลกรที่ มี ความรู ค วามสามารถเฉพาะทาง เช น ความรู ท างด า นภาษาอาหรั บ ความรู ทางด า นศาสนพิ ธี ความรู แ ละทั ก ษะ ทางด า นการให บ ริ ก าร การประกอบพิ ธี ฮัจย รวมทั้งการมีประสบการณเคยใชชีวิต อยูในสังคมอาหรับเปนตน กลยุทธ WO W1O1 ดํ า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ก ร ะ ชั บ ความสั มพั น ธ อัน ดี กั บ รั ฐ บาลซาอุ ดิ อารา เบีย W1O1 เรงสรางมาตรฐานในการประกอบ พิ ธี ฮั จ ย ข อง ไทยให เ ป น ที่ ย อมรั บ แล ะ ทัดเทียมนานาประเทศ W2O1 จัดใหมีหนวยงานรับผิดชอบ ดูแล ประสานงานกั บ ผู นํ า กลุ ม (แซะห ) และมี มาตรการขึ้นทะเบียนผูนํากลุมใหถูกตอง

กลยุทธ WT W2T1 พัฒนาและปรับ ปรุง กิจ การฮัจ ย ไทยใหมีป ระสิท ธิ ภาพและคุ ณภาพ อย าง เปนระบบ W2T2 ส ร าง บุ คล าก ร ที่ มี คว าม รู ความสามารถเพื่ อทําหน าที่ ป ระสานงาน เกี่ยวกับกิจการฮัจย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

128

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผลการ วิเคราะหSWOT โดยใช TOWS Matrix ดานการบริหารกิจการฮัจยไทย ไดกลยุทธดังตอนี้ 1.สมควรจัดตั้งศูนยอํานวยการกิจการฮัจยไทย ณ ประเทศซาอุดิอาราเบีย โดยแตงตั้งเจาหนาที่ที่เหมาะสม เพื่อประสานงาน และปฏิบัติงานเกี่ยกับกิจการฮัจย เปนการสรางมาตรฐานใหทัดเทียมกับ ประเทศอื่นๆ 2.รวบรวมผูประกอบการไปจัดแสดงสินคาในเทศการฮัจยเพื่อเปนการเปดตลาดสินคาของไทย เชน อาหาร ฮาลาล ผลไม ผาไทย งานฝมือ เปนตน 3.จัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนกิจการฮัจยไทยอยางเปนระบบ 4.มีการสรางเครือขาย (Network) ทั้งในและตางประเทศเพื่อประสานงานในดานตางๆ เชนการเชาบาน การ จัดการขนสงผูประกอบพิธีฮัจย เปนตน 5.ดําเนินกิจกรรมกระชับความสัมพันธอันดีกับรัฐบาลซาอุดิอาราเบีย 6.เรงสรางมาตรฐานในการประกอบพิธีฮัจยของไทยใหเปนที่ยอมรับและทัดเทียมนานาประเทศ 7.จัดใหมีหนวยงานรับผิดชอบ ดูแลประสานงานกับผูนํากลุม (แซะห) และมีมาตรการขึ้นทะเบียนผูนํากลุมให ถูกตอง 8.พัฒนาและปรับปรุงกิจการฮัจยไทยใหมีประสิทธิภาพและคุณภาพ อยางเปนระบบ 9.สรางบุคลากรที่มีความรูความสามารถเพื่อทําหนาที่ประสานงานเกี่ยวกับกิจการฮัจย

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

129

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ตาราง 4 ผลการพัฒนากลยุทธ การตลาดบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ดานการเขาถึงขอมูลขาวสาร โดย ใช TOWS Matrix

ปจจัยแวดลอม ภายใน (IFAS) ปจจัยแวดลอม ภายนอก (EFAS) O: O1 สามจังหวัดชายแดนภาคใต มีนั กวิ ชาการที่ มีความสามารถ ทางด านภาษาที่ หลากหลาย เช น ภาษาไทย ภาษาอาหรั บ ภาษามลายู เปนตน

T: T1 มีหนวยงานราชการ และ บุ ค ล าก รป ฏิ บั ติ งาน ด าน กิ จ ก า ร ฮั จ ย ป ร ะ จํ า อ ยู ประเทศซาอุ ดิ อ าราเบี ย ไม เพี ยงพอต อ ภาระงานทํ าให การติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า ง หนวยงานภายในประเทศกับ ภายนอก(ประเทศซาอุ ดิ อ า ราเบี ย )ไม ต อ เนื่ อ งและไม มี ประสิทธิภาพ

S: S1 เทคโนโลยีที่ทันสมัยทําใหมุสลิม สามารถเข าถึ ง ข อมู ล ข าวสารด าน การประกอบพิธีฮัจยไดมากขึ้น S2 มี ศู น ย อํา นวยการบริ ห าร จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ( ศอบต.) เป น หน ว ยงานประชาสั มพั น ธ และ ประสานงานดานกิจการฮัจยในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต กลยุทธ SO S1S2O1 มีการประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารดานกิจการฮัจยอยางตอเนื่อง แล ะห ล าก ห ล า ยช อ ง ท า ง เ ช น อิ น เตอร เ น็ ต สถานี วิ ท ยุ โทรทั ศ น หนั งสื อพิ มพ ท องถิ่ นและผู นํ าชุ มชน เปนตน S1S2O1 ศอ.บต. มอบหมาย นักวิชาการ มุ สลิ มดู แลผลิต สื่ อที่ ใ ห ความรูหลากหลายภาษาเพื่อเขาถึง ทุกกลุมเปาหมาย กลยุทธ ST S1S2T1 จัดตั้งศูนยเทคโนโลยี และ สารสนเทศมุสลิมไทยภายใตศอ.บต. ใ ห มี ห น าที่ ติ ด ต อสื่ อ ส าร แล ะ ป ร ะ ส าน ง าน ด า น กิ จ ก าร ฮั จ ย ระหว า งรั ฐ บาลประเทศซาอุ ดิ อ า ราเบียและรัฐบาลไทย S2T1 จัดตั้งศูนยอาสาสมัครภายใต ศอ.บต. ใ ห มี ห น า ที่ ช ว ย เ ห ลื อ ประชาชนที่ไปประกอบพิธีฮัจย

W: W1 สวนใหญผูประกอบการ และผูนํากลุ ม (แซะห ) เท านั้ น ที่ ส ามารถรั บ ข อมู ล ข าวสาร เกี่ยวกับการประกอบพิธีฮัจยในแตละป W2 ชองทางการสื่อสารขาวสารดานการ ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ฮั จ ย ไ ม เ ห ม า ะ ส ม กั บ กลุมเปาหมายหลัก

กลยุทธ WO W1O1 ใหคณะกรรมการสงเสริมกิจการฮัจย มอบหมายให ก รมศาสนาประชาสั ม พั น ธ ข า วสารเกี่ ย วกั บ การประกอบพิ ธี ฮั จ ย ถึ ง ประชาชนทั่วไปผานชองทางตางๆ W2O1 มอบหมายนั ก วิ ช าการควบคุ ม ดู แล วิ ท ยุ ชุ ม ชน เสี ย งตามสาย และเอกสาร ประชาสัมพันธเปนภาษาทองถิ่น เชน ภาษา มลายู เพื่ อเข าถึ ง กลุ มเป าหมายหลั ก ได แก กลุมเกษตรกร และกลุมแมบาน กลยุทธ WT W1T1 จัดตั้งสมาคมผูผานการประกอบพิธี ฮัจย เพื่อเปน ชองทางการประชาสัมพันธถึ ง ประสบการณใ นการประกอบพิธี ฮั จ ย และ ขอมูลการใหบริการของแตละผูประกอบการ เพื่ อใหผู ป ระสงค จะเดิ นทางไปประกอบพิ ธี ฮัจยสามารถนําไปเปนขอมูลในการตัดสินใจ เลือกใชบริการ W2T1 มอบหมายให ผู นํ า กลุ ม และผู ประกอบกิ จ การฮั จ ย ป ระชาสั มพั น ธ ข อมู ล ข าวสารไปยั ง กลุ มเป าหมายเนื่ องจากผู นํ า กลุมเปนผูที่พบปะกับกลุมเปาหมายโดยตรง

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

130

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผลการ วิเคราะหSWOT โดยใช TOWS Matrix ดานการเขาถึงขอมูลขาวสาร ไดกลยุทธดังตอนี้ 1.มี ก ารประชาสั ม พั น ธ ข อ มู ล ข า วสารด า นกิ จ การฮั จ ย อ ย า งต อ เนื่ อ ง และหลากหลายช อ งทาง เช น อินเตอรเน็ต สถานีวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพทองถิ่นและผูนําชุมชน เปนตน 2.ศอบต. มอบหมายนักวิชาการ มุสลิมดูแลผลิตสือ่ ที่ใหความรูหลากหลายภาษาเพื่อเขาถึงทุกกลุมเปาหมาย 3.จัดตั้งศูนยเทคโนโลยี และสารสนเทศมุสลิมไทยภายใต ศอบต. ใหมีหนาที่ติดตอสื่อสาร และประสานงาน ดานกิจการฮัจย ระหวางรัฐบาลประเทศซาอุดิอาราเบียและรัฐบาลไทย 4.จัดตั้งศูนยอาสาสมัครภายใตศอ.บต ใหมีหนาที่ชวยเหลือประชาชนที่ไปประกอบพิธีฮัจย 5.มอบหมายใหคณะกรรมการสงเสริมกิจ การฮัจย ภายใต กรมศาสนาประชาสัมพั นธขาวสารเกี่ยวกับการ ประกอบพิธีฮัจยถึงประชาชนทั่วไปผานชองทางตางๆ 6.มอบหมายนักวิชาการควบคุม ดูแลวิทยุชุมชน เสียงตามสาย และเอกสารประชาสัมพันธเปนภาษาทองถิ่น เชน ภาษามลายู เพื่อเขาถึงกลุมเปาหมายหลักไดแก กลุมเกษตรกร และกลุมแมบาน 7.จั ด ตั้ง สมาคมผู ผ านการประกอบพิ ธี ฮัจ ย เพื่ อเป นช องทางการประชาสั มพัน ธ ถึ งประสบการณใ นการ ประกอบพิ ธี ฮั จ ย และข อ มู ล การใ ห บ ริ ก ารของแต ล ะผู ป ระกอบการ เพื่ อ ให ผู ป ระสงค จะเดิ น ทางไ ป ประกอบพิธีฮัจยสามารถนําไปเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกใชบริการ 8.มอบหมายให ผู นํ ากลุ มและผู ป ระกอบกิ จ การฮั จ ย ป ระชาสั มพั น ธ ข อ มู ล ข า วสารไปยั ง กลุ มเป า หมาย เนื่องจากผูนํากลุมเปนผูที่พบปะกับกลุมเปาหมายโดยตรง จากผลการพัฒนากลยุทธ การจัดบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ทั้ง 4 ดาน โดยใช TOWS Matrix สามารถนํากลยุทธทั้ง 4 ดาน มากําหนดเปนยุทธศาสตรสําหรับบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใตเปนกรอบ กวางๆ ดังนี้

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

131

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ภาพประกอบ 2 ยุทธศาสตรสําหรับบริษัทฮัจยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต

ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป 1) การนํากลยุทธที่ไดมาเขียนเปนโครงการโดยจัดลําดับความสําคัญ โครงการใดเปนโครงการเรงดวนที่ตอง ทํ า ก อ น และลํ าดั บ ความสํ าคั ญ ของโครงการที่ ต องทํ า ต อ ไป โดยมี ร ายละเอี ย ดของกิ จ กรรมที่ ชั ด เจน รวมทั้ ง ผูรับผิดชอบ และ การประเมินผล 2) ต อ งการวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพเพื่ อ ศึ ก ษาว า ในการปฏิ บั ติ ก ลยุ ท ธ ดั ง กล า วให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลตองมีองคประกอบที่จําเปนและสําคัญใดบาง 3) ควรทําการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของผูนํากลุม (แซะห) เนื่องจากเปนผูที่มีบทบาทสําคัญตอบริษัทฮัจย 4) ควรทํ าการศึก ษาความสําคัญ ของบริ ษัท ฮัจ ยไ ทยในแต ละดาน ตอความสํ าเร็จ ของการดําเนิ นกิ จการ ฮัจยไทย วามีนัยสําคัญอยางไร

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

132

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. 2539. คูมือการประกอบพิธีฮัจย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ การศาสนา. กัน ฑิ มาลย ริ มพื ชพั น ธ . 2549. กลยุ ท ธก ารตลาดการท องเที่ ยวชายแดน: กรณีศึ ก ษาสะพานข ามแม น้ํ าโขง. ขอนแกน: วิทยานิพนธ บธ.ม. บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยขอนแกน. ถายเอกสาร. คณะผูแทนฮัจยไทยประจําป 2552. รายงานผลการดําเนินงานอมีรุลฮัจย 52. ปตตานี: มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา. คณาธิป โรจนขจร. 2549. กลยุทธทางการตลาดของบริษัทผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครตอ การเป ด เสรี ท างการค า ภาคอุ ต สาหกรรมท องเที่ ย วของประเทศไทย. บริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. (ถายเอกสาร). จารุวัตร อุดมผล. 2550. การตลาดบริการที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการของลูกคาศูนยบริก ารรถยนตฟอรด สาขาแจงวัฒนะ. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด. มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร. ฉลองศรี พิมลสมพงษ. 2548. การวางแผนและพัฒนาการตลาดทองเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ฉัตยาพร เสมอใจ. 2547. การจัดการและการตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ชัยสมพล ชาวระเสริฐ. 2546. การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. นาตยา พรหมนะ. 2550. สวนประสมทางการตลาดของแหลงทองเที่ยวเกษตรเกาะยอ จังหวัด สงขลา. สาร นิพนธ. บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ. สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ. ภัทรอนงค ณ เชียงใหม. 2544. แนวกลยุทธการตลาดการทองเที่ยวของศูนยอนุรักษชางไทยจังหวัดลําปาง. ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการอุตสาหกรรม. เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร. มัสลัน มาหะมะ. 2551. อิสลามวิถีแหงชีวิต. ม.ป.ท. : สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต. เมธา วาดีเจริญ. ม.ป.ป. ฮัจยและอุมเราะห. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล. ราณี อัมรินทรรัตน. 2546. “ปจจัยที่มีผลตอการพึงพอใจของลูกคาของโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร”, จุลสารการ ทองเที่ยว. 22(3): 30-39. โรจนา โนนศรีชัย. 2548. การตลาดเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวอุทยานแหงชาติภูกระดึง จังหวัดเลย. ขอนแกน: รายงานการศึ ก ษาอิ ส ระปริ ญ ญาบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการตลาด . บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยขอนแกน. วิเชียร เกตุสิงห. (2538, กุมภาพันธ - มีนาคม). “คาเฉลี่ยกับการแปลความหมาย: เรื่องงาย ๆ ที่บางครั้งก็พลาด ได”, ขาวสารวิจัยการศึกษา. 18(3): 8-11. ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2546. ธุรกิจทั่วไป: ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ. กรุงเทพ: ธรรมสาร. สมาคมนักเรียนเกาอาหรับ. 2543. ฟกฮุซซุนนะฮฺ. เลม 2. กรุงเทพฯ: จิรรัชการพิมพ. สํานักงานขาวแหงชาติ กรมประชาสั มพันธ. 2552. ผู แทนฮัจญทางการแหงปท.ไทย เนน ปรับปรุงกิจการฮัจย มี คุณภาพรวดเร็วและเปนทิศทางเดียวกัน. (ออนไลน).แหลงที่มา: http://thainews.prd.go.th/view.php?m_newsid=255210290210&tb=N255210&return=ok. (วั นที่ ค นข อมู ล: 17 ธันวาคม 2552).

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

133

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

สํานักงานรัฐมนตรี กระทรวงฮัจย ประเทศซาอุดิอาระเบีย. 2542. ระเบียบการจัดองคกรกิจการฮัจย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. สิทธิ์ ธีรสรณ. 2551. การตลาด : จากแนวคิดสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อรุณ บุญชม. 2542. ระเบียบการจัดองคกรกิจการฮัจย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ การศาสนา. อะหมัด สมะดี . 2552. การทําฮั จญและอุมเราะฮฺตามบั ญญัติ อิสลาม. หาดใหญ : มูลนิ ธิเพื่ อการศึ กษาและ พัฒนาสังคม. อับดุลลาเตะ ยากัด. 2544. การศึก ษาปญหาและอุปสรรคของการจัดการฮัจยในประเทศไทย. ภาคนิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. ยะลา: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. อะมีรุลหัจยไทย. 2552. “ประวัติฮัจญ”. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.amiruhajjthai.com/index.php/2009-05-21-17-10-07. (วันที่คนขอมูล: 17 ธันวาคม 2552). อําพร วิ รยโกศล และคณะ. 2543. “กลยุท ธธุรกิ จการคาและการท องเที่ ยวชายแดนภาคใต ของประเทศ”, วิทยาการจัดการ. 18 (1): 10. อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา. 2550. รายงานผลการดําเนินงานของอมีรุลฮัจยและผูแทนฮัจย ประจําป 2550. ปตตานี: โรงพิมพมิตรภาพ. เอกลักษณ คะดาษ. 2548. ศึกษาความสัมพันธปจจัยดานคุณภาพการใหบริการที่มีผลตอระดับความพึงพอใจ ของผู ใ ช บริ ก ารประกั น ภั ยรถยนต ป ระเภทที่ ห นึ่ ง ในกรุ ง เทพมหานคร. กรุ ง เทพฯ: วิ ท ยานิ พ นธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. Kotler, Philip. 2002. Marketing Management, Millenium Edition. Boston, MA: Pearson Custom Publishing. McCarthy, E. Jerome. And Perreault, William D., Jr. 1990. Applications in basic marketing. Hom-wood, IL: Irwin. Zeithaml, Valarie A. and Bitner , Mary Jo. 1996. Services marketing. McGraw-Hill College. มูฮําหมัดนาเซ หะบาแย. ผูอํานวยสถาบันอัสสลาม. 2554. จิราพร เปยสินธุ. (2554, 10 พฤษภาคม). สุกรี หลังปูเตะ. คณบดีคณะศิลปะฯ. 2544. จิราพร เปยสินธุ. (2554, 10 พฤษภาคม).

อัล-นูร



วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

135

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทความวิจัย

ประเมินผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส นุรอาซีมะห ปะเกสาและ  เรวดี กระโหมวงศ  เมธี ดิสวัสดิ์  บทคัดยอ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มีวั ต ถุป ระสงค เพื่ อประเมิ นผลการดํ าเนิ นการพั ฒนาคุ ณ ภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ มาตรฐานโรงพยาบาลและบริ ก ารสุ ข ภาพฉบั บ เฉลิ มพระเกี ยรติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ป ทั้ ง 3 ตอน คื อ 1.ภาพรวมของการบริหารองคกร 2.ระบบงานสําคัญของโรงพยาบาลและ 3.กระบวนการดูแลผูปวย แหลงขอมูลที่ใช ในการประเมินประกอบดวย ขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของกับผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ขอมูล จากเจาหนาที่ปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลจะแนะ เก็บรวบรวมขอมูลจากคณะผูประเมินซึ่งประกอบดวยบุคลากรภายใน และภายนอกโรงพยาบาลจะแนะ และจากการสํารวจรายการการดําเนินการพัฒนาคุณภาพ วิเคราะหขอมูลโดยการ หาคาเฉลี่ยเทียบกับเกณฑการใหระดับคะแนนเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ผลการวิ จั ยพบว า ผลการประเมิ น เมื่ อ เที ย บกั บ เกณฑ ก ารให ร ะดั บ คะแนนเพื่ อการรั บ รองคุ ณ ภาพ โรงพยาบาล 1.ภาพรวมของการบริหารองคกร อยูในระดับควรปรับปรุงโดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.28 2.ระบบงาน สําคัญของโรงพยาบาล อยูในระดับควรปรับปรุง โดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.39 และ 3.กระบวนการดูแลผูปวย อยูใน ระดับควรปรับปรุงโดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.18 คําสําคัญ: โรงพยาบาล, เกณฑมาตรฐาน, จะแนะ, นราธิวาส

นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจยั และประเมิน มหาวิทยาลัยทักษิณ ดร. (การทดสอบและวัดผลการศึกษา), ผูชวยศาสตราจารย อาจารย ภาควิชาการประเมินผลและวิจัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ





ดร. (วิจัยและประเมินผลการศึกษา )อาจารย, ภาควิชาการประเมินผลและวิจัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

136

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

RESEARCH

Evaluation of the Quality of Hospital and Health Care Standard: Sixtieth Anniversary Cerebrations of His Majesty’s Accession to the Throne Edition recommend Chanae Hospital Case Study Narathiwat Province Nurarsimah Pakesalah Rewadi Krahomwong  Methi Disawat Abstract The purpose of this study is to evaluate the implementation of development of hospital quality according to Hospital and Health Care Standard: Sixtieth Anniversary Cerebrations of His Majesty’s Accession to the Throne Edition, which consist of 3 parts; 1.the overview of organization, 2.hospital important tasks system and, 3.the process of patients care. The source of information includes the information related to the implementation of development of hospital quality, information from the officers in Chanae Hospital. The data were collected from Chanae hospital internal and external staffs and the information of the implementation of development of hospital quality survey. The data were analyzed by an average value compared to standard of the implementation of development of hospital quality. The result of the study compare with the standard of hospital quality development as follow. 1. The overview of organization is in the level of should be improve with an average of 2.28.,2. hospital important tasks systemis in the level of should be improve with an average of 2.39 and, 3. the process of patients careis in the level of should be improve with an average of 2.18. Keywords: Hospital, Health care standard, Chanae, Narathiwat

Graduate Student, M.Ed. Department of Research and Evaluation, Faculty of Education, Thaksin University Asst.Prof. Ph.D. (Testing and Grading) Lecturer, Department of Research and Evaluation, Faculty of Education, Thaksin University





อัล-นูร

Ph.D. (Research and evaluation) Lecturer, Department of Research and Evaluation, Faculty of Education, Thaksin University


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

137

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บทนํา ความเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกาภิวัฒน ที่เปน วิกฤตการณ ของประชาคมโลกในป จจุบัน นับวาเปนสาเหตุ สําคั ญที่ กอใหเ กิดการปรับ ตัว ขององคการต างๆ ทั่ วโลก โดยเฉพาะในภาคธุร กิจ เอกชน ความเจริ ญก าวหนาทาง วิท ยาศาสตรและเทคโนโลยีร ะบบสารสนเทศมีผ ลทําใหผู ผลิ ต สิน ค าและลู กค าสามารถติ ด ตอสื่ อสารกั นได อย าง รวดเร็วมากอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน โดยผานระบบเครือขายสื่อสารที่โยงใยไปทั่วทุกมุมโลก การติดตอสื่อสารถึง กันและกันอยางรวดเร็วดังกลาวทําใหสามารถทราบความเคลื่อนไหวและความเปนไปของสถานการณตางๆที่เกิดขึ้น ในโลกอยางรวดเร็ว มีก ารเรียนรูความเปนไปซึ่ง กันและกัน มี การถายทอดแนวความคิด และเทคโนโลยีระหวางกั น เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้น มีการพัฒนาสินคาและบริการในรูปแบบตางๆหลากหลายมากขึ้น มีการแขงขันมากขึ้น ใน ขณะเดียวกันลูกคาหรือประชาชนผูบริโภคก็มีมาตรฐานความเปนอยูสูงขึ้น และมีความคาดหวังและปรารถนาคุณภาพ ชีวิตที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งปริมาณและความหลากหลายของสินคาและบริการที่มีอยูก็เปดโอกาสใหประชาชนสามารถเลือก สิ่งที่ดีที่สุดใหแกตนเองไดมากขึ้นดวย ประชาชนจึงมีแนวโนมเลือกซื้อผลิตภัณฑและเลือกใชบริการที่ทําใหตนเองเกิด ความพึงพอใจสูงสุดเทานั้น กลาวคือ เปนตลาดของผูบริโภค องคการตางๆ จึงตองพยายามหาวิถีทางปรับกลยุทธ เพื่ อให สามารถกาวไปข างหนาเหนื อคูแขง ขั นรายอื่ น ๆ เพื่อใหบ ริ โภคหัน มาใชสิ น คาและบริก ารของตนและตอ งมี ความสามารถในการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องเพื่อรักษาลูกคาไวใหไดนานๆ ทั้งนี้เพื่อความอยูรอดและผลกําไร ขององคการ (สุวรรณี แสงมหาชัย. 2541: 3-4) และปจจุบันเราทุกคนตางใชชีวิตอยูในสังคมโลกที่ใหความสําคัญและ ตองการความมีคุณภาพ (Quality) ในดานตางๆ ซึ่งจะไมถูกจํากัดเพียงลูกคาตองการสินคา หรือบริการที่มีคุณภาพ เทานั้น แตความตองการคุณภาพจะขยายตัวครอบคลุมไปในมิติและระดับตางๆของสังคม เชน ผูบังคับบัญชาตองการ ลูกน องที่ มีคุณ ภาพ ประชาชนตองการชุมชนท องถิ่ นและรั ฐบาลที่มีคุณภาพ ผูป วยต องการการรักษาพยาบาลที่ มี คุณภาพ นักเรียน นิสิต และนักศึกษาตองการการศึกษาที่มีคุณภาพ หรือประเทศก็ตองการประชาชนที่มีคุณภาพ เปน ตน เราจะเห็นวา คุณภาพจะแทรกอยูในแทบทุ กดานของการใชชีวิต (ณัฏฐพันธ เขจรนันทน. 2546: 20) และเพื่ อ ตอบสนองความตองการของประชาชนเหลานี้องคกรตางๆที่มีหนาที่ใหบริการสังคมรวมทั้งโรงพยาบาลซึ่งเปนองคกร ที่มีหนาที่ใหบริการสาธารณสุขทุกดานแกประชาชน ทั้งทางดานสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การปองกันภาวะ เสี่ ยงต อการเกิด โรคหรื อลั ก ษณะที่ จ ะเปน อั นตรายตอสุ ขภาพ การรั ก ษาพยาบาลและการฟ นฟู ภายหลั งจากการ เจ็บปวย จึงมีความจําเป นที่องคก รตองมีก ารพัฒนาระดับองคกรใหมีคุณภาพตามมาตรฐานระดั บสากลเพื่อเปน ที่ ยอมรับ และโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส เปนโรงพยาบาลหนึ่งที่ไดดําเนินการพัฒนาอยางตอเนื่องไปเป น ลํ าดั บ และเป น โรงพยาบาลขนาด 30 เตี ยง แห ง แรกในจั ง หวั ด นราธิ ว าสที่ ส ามารถได รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพ สถานพยาบาล (Hospital Accreditation) ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริ ราชสมบัติครบรอบ 60 ป ขั้นที่ 3 โดยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลไดสําเร็จเมื่อเดือนมกราคม ป พ.ศ. 2553 และภายหลังการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (Hospital Accreditation) โรงพยาบาลจะแนะยังคงตองรับ การประเมินโดยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (สรพ.) เปนระยะเพื่อตรวจสอบดูวาโรงพยาบาลยังคง ธํารงรักษาระบบคุณภาพที่จัดตั้งขึ้น และยังมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องหรือไม เพื่อธํารงรักษาระบบคุณภาพและการพัฒนาอยางตอเนื่องจึงจําเปนที่จะตองมีการประเมิน การดําเนินการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพโรงพยาบาลและในป จ จุ บั น การประเมิ น เข ามามี บ ทบาททุ ก ภาคส ว นของสั ง คมโดยเฉพาะสั ง คม ประชาธิปไตย เนื่องจากไดรับการยอมรับการมากขึ้นวาเปนกลไกสําคัญในการที่จะพัฒนาสิ่งที่จะประเมินได จึ งอาจ กล าวว า ไม มีบุ ค คลหรื อ องค ก รใดหลี ก เลี่ ยงการประเมิ น ได ทุ ก คนทุ ก แห ง ต องอยู ใ นที่ แจ ง พร อ มให ผู เ กี่ ยวข อ ง ตรวจสอบประเมินไดเสมอ ดังที่ทราบกันทั่วไป แมแตองคกรที่ทําหนาที่ประเมินผูอื่นซึ่งเปนองคกรอิสระหรือองคกร

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

138

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

มหาชน (พิสณุ ฟองศรี. 2551: 7) นอกจากการประเมินจะสามารถธํารงรักษาระบบคุณภาพและการพัฒนาอยาง ตอเนื่องแลว เราสามารถวิเคราะหจากประสบการณถึงแบบแผนการประเมินที่ผานมา การประเมินมีปญหาอะไรรวมกัน ปญหานั้นมีลักษณะเชนใด มีปจจัยใดบางที่เปนสาเหตุ แนวคิดที่ผิดพลาดคืออะไร แนวคิดที่เหมาะสมควรเปนเชนใด และ ระบบความสัมพันธระหวางองคประกอบสวนตางๆ ของกิจกรรมการประเมินควรเปนลักษณะใด จึงจะทําใหการประเมิน ดําเนินไปอยางมีคุณภาพและสามารถวิเคราะหในเชิงจินตนาการสรางสรรควา ถาทํากิจกรรมการประเมินในลักษณะนั้น แลว อะไรจะเกิดขึ้นตามมา ทําไมตองทําการประเมิน ประเมินอะไร ประเมินอยางไร ประเมินเพื่อใคร ใครเปนเปาหมาย หลักของการใชผลการประเมิน ผลการประเมินที่ดีเปนอยางไร ในการออกแบบการประเมิน วิธีการประเมินที่ละเอียดออน แตกตางกัน ยอมไดผลการประเมินที่มีคุณคาแตกตางกัน (ศิริชัย กาญจนวาสี. 2545: 51) ดังนั้น เพื่อมุงสูการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพอยางตอเนื่อง ผูวิจัยซึ่งเปนหนึ่งบุคลากรในองคกร จึงเห็นความสําคัญในการประเมินผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและ บริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปเพื่อสามารถนําผลวิจัยไปประเมินตนเอง ปรับปรุง พัฒ นาระบบงานจนเห็น วงลอ PDCA นอกจากนี้ยัง ไดเ กิ ด เครื อข ายและกิ จกรรมการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ข องการ ดําเนิ นการพัฒ นาคุ ณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริก ารสุ ขภาพฉบั บเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป โดยตัวแทนผูเยี่ยมสํารวจภายในจากโรงพยาบาลตางๆ ซึ่งไดสํารวจโรงพยาบาลจะแนะ ในฐานะผูเยี่ยมสํารวจภายนอก วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อประเมินผลการดําเนิน การพั ฒนาคุณ ภาพโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริ การ สุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ทั้ง 3 ตอน ดังนี้ 1. ภาพรวมของการบริหารองคกร 2. ระบบงานสําคัญของโรงพยาบาล 3. กระบวนการดูแลผูปวย วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เปนการประเมินผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งผูวิจัยใชระเบียบวิธีวิจัยการศึกษาเฉพาะกรณี (Case Study) (ประกาย จิโรจนกุล. 2548 : 118) โดยดําเนินตามขั้นตอนโดยดําเนินการตามลําดับ ดังตอไปนี้ 1.แหลงขอมูลที่ใชในการวิจัย 2.แผนการประเมิน 3.เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4.การเก็บรวบรวมขอมูล 5.การวิเคราะหขอมูลและสถิตทิ ี่ใชในการวิจัย แหลงขอมูลที่ใชในการวิจัย แหลงขอมูล ผูวิจัยไดกําหนดวิธีการศึกษาตามรายละเอียด ดังนี้ 1. ข อมู ล เอกสารที่ เ กี่ยวข องกับ ผลการดํ าเนิ นการพั ฒนาคุ ณ ภาพโรงพยาบาล เช น คําสั่ ง แต งตั้ ง ต างๆ นโยบาย แผนพัฒนาตางๆ ยุทธศาสตรโรงพยาบาล ตัวชี้วัดโรงพยาบาล เปนตน 2. ขอมูลจากเจาหนาที่ปฏิบัติงานตามหนวยงานตางๆ ในโรงพยาบาลจะแนะ

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

139

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

แผนการประเมิน แบบแผนการประเมิ น การประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ มาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งมีรายละเอียดของการประเมิน 3 ตอน ดังนี้ 1.แบบแผนการประเมินภาพรวมการบริหารองคกร 2.แบบแผนการประเมินระบบงานสําคัญของโรงพยาบาล 3.แบบแผนการประเมินกระบวนการดูแลผูปวย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย ทีมประเมินภายใน และแบบสํารวจรายการ มีรายละเอียด ดังนี้ 1.คณะผูประเมิน ซึ่งประกอบดวย 1.1 คณะผูประเมินภายใน คือ กลุมบุคคลที่ไดรับการแตงตั้งโดยผูอํานวยการโรงพยาบาลจะแนะใหเปนทีมผู เยี่ยมสํารวจภายในโรงพยาบาลจะแนะ ซึ่งประกอบดวย 1.1.1 นายแพทยอหมัดมูซูลัม เปาะจิ นายแพทยเชี่ยวชาญ 1.1.2 เภสัชกรหญิงสีหยะ กาเร็ง เภสัชกรชํานาญการ 1.1.3 นางนิมลต หะยีนิมะ ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ 1.2 คณะผูประเมินภายนอก คือ กลุมบุคคลภายนอกโรงพยาบาลที่มีบทบาทหนาที่เปนผูเยี่ยมสํารวจภายใน ของโรงพยาบาลตางๆ ซึ่งประกอบดวย 1.2.1 ทันตแพทยหญิงนาริศา หีมสุหรี ทันตแพทยเชี่ยวชาญ โรงพยาบาลยะหริ่ง อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี 1.2.2 ทันตแพทยหญิงโนรีดา แวยูโซะ ทันตแพทยเชี่ยวชาญ โรงพพยาบาลบาเจาะ อําเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส 1.2.3 ทันตแพทยหญิงโรสนาณีย ซามะ ทันตแพทยชํานาญการพิเศษ โรงพยาบาลยะหริ่ง อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี 1.2.4 เภสัชกรสุฟยาน ลาเตะ เภสัชกรชํานาญการ โรงพยาบาลยะหริ่ง อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี 2.แบบสํารวจรายการ คือแบบสํารวจเพื่อตรวจสอบผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลซึ่งประยุกตจาก เกณฑการใหระดับคะแนนเพื่อการรับรองคุณภาพ วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 1. ขอหนังสือแนะนําผูวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อเสนอตอผูอํานวยการโรงพยาบาล จะแนะที่ใชเก็บขอมูล 2. ติดตอขออนุญาตผูอํานวยการโรงพยาบาลที่ใชเก็บขอมูล สําหรับกําหนดเวลาในการเก็บรวบรวม 3. ติ ด ต อ คณะผู สํ า รวจภายในโรงพยาบาลจะแนะและคณะสํ า รวจภายนอกโรงพยาบาลต างๆ ซึ่ ง ประกอบดวยโรงพยาบาลบาเจาะ และโรงพยาบาลยะหริ่งเพื่อใหเปนคณะผูประเมิน 4. วางแผนการเก็บรวบรวมขอมูลและเตรียมเอกสารที่ใชประกอบการเก็บรวบรวมขอมูลใหพรอม เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูล 5. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามที่วางแผนไว 6. รวบรวมผลการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลเพื่อนําไปวิเคราะหขอมูล

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

140

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 1. การวิเคราะหขอมูลการประเมิน เปนกาประเมินผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป กรณีศึกษาโรงพยาบาล จะแนะ จังหวัดนราธิวาส วิเคราะหตามเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 4.00 – 5.00 หมายถึง ผลการประเมินอยูในระดับ ดีเยี่ยม คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 3.50 – 3.99 หมายถึง ผลการประเมินอยูในระดับ ดีมาก คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 3.00 – 3.49 หมายถึง ผลการประเมินอยูในระดับ ดี คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 2.50 – 2.99 หมายถึง ผลการประเมินอยูในระดับ พอผาน คะแนนเฉลีย่ ตั้งแต 0.50 - 2.49 หมายถึง ผลการประเมินอยูในระดับ ปรับปรุง 2. สถิติที่ใชในการวิจัย สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 2.1.1 สถิติพรรณนา ใชบรรยายวิเคราะหขอมูลและบรรยายลักษณะขอมูลที่รวบรวมจากกลุมตัวอยาง 2.1.2 สถิติวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Measures of Central Tendency) คือ คาเฉลี่ย (Average) สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย สรุปผล จากการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ พื่ อ ประเมิ น ผลการดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ มาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส สรุปผลไดดังนี้ 1. ผลการประเมินภาพรวมของการบริหารองคกรตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับ เฉลิ มพระเกี ยรติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ป กรณีศึ ก ษาโรงพยาบาลจะแนะ จั ง หวัด นราธิ วาส พบวา ผลการ ดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลสําหรับโรงพยาบาลคะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.25 ซึ่งผลการประเมินอยูในระดับ ปรับปรุง 2. ผลการประเมินระบบงานสําคัญของโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับ เฉลิ มพระเกี ยรติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ป กรณีศึ ก ษาโรงพยาบาลจะแนะ จั ง หวัด นราธิ วาส พบวา ผลการ ดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลสําหรับโรงพยาบาล คะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.39 ซึ่งผลการประเมินอยูในระดับ ปรับปรุง 3. ผลการประเมินกระบวนการดูแลผูปวยตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระ เกียรติ ฉลองสิ ริร าชสมบัติครบ 60 ป กรณี ศึก ษาโรงพยาบาลจะแนะ จั งหวัดนราธิว าส พบวา ผลการดํ าเนิน การ พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สําหรับโรงพยาบาล คะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.18 ซึ่งผลการประเมินอยูในระดับ ปรับปรุง อภิปรายผล จากการสรุ ปผลการวิ จัยเพื่ อประเมิน ผลการดําเนินการพัฒ นาคุณ ภาพโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส สรุปผลได ดังนี้

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

141

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

1. ผลการประเมินภาพรวมของการบริหารองคกรตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับ เฉลิ มพระเกี ยรติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ป กรณีศึ ก ษาโรงพยาบาลจะแนะ จั ง หวัด นราธิ วาส พบวา ผลการ ดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลสําหรับ โรงพยาบาลคะแนนเฉลี่ ยเท ากั บ 2.25 ซึ่ง ผลการประเมิ นอยูใ นระดับ ปรั บปรุ ง ทั้ง นี้ อาจเป น เพราะวา การสงเสริมผลการดําเนินงานที่ดี (สิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนา วัฒนธรรมความปลอดภัย) การถายทอด กลยุ ทธสู การปฏิบั ติ การรั บฟง หรือเรียนรูความตองการและความคาดหวั งของผูรั บบริ การแตล ะกลุ ม การสราง ความสัมพันธ ชองทางการติดตอ การจัดการคํารองเรียน การคุมครองสิทธิผูปวยโดยทั่วไป การคุมครองสิทธิผูปวยที่ มีความตองการเฉพาะ (เด็ก ผูพิการ ผูสูงอายุ การแยกหรือผูกยึด) ระบบการวัดผลการดําเนินงาน การวิเคราะห ขอมูลและการทบทวนผลการดําเนินงาน การจัดการสารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการความรู ความผูกพันและความพึงพอใจ ระบบพัฒนาและเรียนรูสําหรับบุคลากรและผูนํา การบริหารและจัดระบบบุคลากร สุขภาพของบุคลากร การกําหนดงานที่เปนสมรรถนะหลักขององคกร และการออกแบบระบบงานโดยรวมและการ จัดการและปรับปรุงกระบวนการทํางาน ยังดําเนินการนอยอยูและความรู ความเขาใจในเปาหมายของมาตรฐานก็อาจ ไมเ ทาเทียมกั น ทัศ นคติในการนํามาตรฐานโรงพยาบาลและบริ การสุข ภาพฉบั บฉลองสิริ ราชสมบัติ 60 ป ใน เจาหนาที่ แตล ะระดับในฝายตาง ๆ ยังไมทั่ว ถึงและขอจํากั ดในเรื่องพื้น ที่ทุร กันดารและพื้น ที่เสี่ ยงในเหตุการณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการบริหารคุณภาพ TQM (สุเทพ เชาวลิต. 2548: 14) ไดกลาวถึง หลักการบริหารงานอยางมีคุณภาพ ตองทําทั่วทั้งองคกร สรางศักยภาพของเจาหนาที่เขาใจและใหความสําคัญกับ ลูกคา รวมทั้งตองมีกลยุทธและโครงสรางที่เหมาะสมดวย และประเด็นที่ตองใหความสําคัญอยางหนึ่งก็คือ การ เตรียมความพรอมในการพัฒนาคุณภาพใหกับเจาหนาที่ทุกระดับ ผูบริหาร ในดานความรู ความเขาใจ สนับสนุน อัตรากําลังสําหรับปฏิบัติงานและการกระตุนติดตามจากหัวหนางาน และปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการพัฒนา คุณ ภาพไดแก ความรู ความเขาใจในมาตรฐาน ความมุ ง มั่น ตั้ง ใจและมีภาวะผูนํ าในทุ กระดับ ของเจ าหนาที่และ เจาหนาที่ตองพัฒนาตนเองอยูเสมอ และนงคนุช จิตภิรมยศักดิ์ (2547: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาการดําเนินงาน พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการรับรองคุณภาพของศูนยมะเร็ง อุบลราชธานี วาการพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลเริ่มตนเมื่อ พ.ศ.2540 โดยนักวิชาการและผูประกอบวิชาชีพสาขาตางๆ ไดทบทวนมาตรฐานโรงพยาบาล ของประเทศตางๆ และสิ่งที่เปนอยูในประเทศไทย รวมกันยกรางมาตรฐานโรงพยาบาลฉบับกาญจนาภิเษกขึ้น ตอมา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขรวมกับกองโรงพยาบาลภูมิภาค รับสมัครโรงพยาบาลเขารวมกิจกรรมดวยความสมัคร ใจ แตในปจจุบันกระทรวงสาธารณสุขไดประกาศใหการพัฒนา และรับรองคุณภาพทั้งโรงพยาบาล เปนนโยบายที่ สถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตองเขารวมโครงการ ศูนยมะเร็ง อุบลราชธานี เปนสถานบริการในสังกัด กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุ ข กํ าลั งดํ าเนิน งานพั ฒ นาคุ ณ ภาพโรงพยาบาล เพื่ อเตรี ยมเข าสูก ารรับ รอง คุณ ภาพ จึ ง เป น จุ ด สนใจการศึ ก ษา พบว า การพัฒ นาคุ ณ ภาพโรงพยาบาลดั ง กล าวเปน อย างไร และพบป ญ หา อุปสรรคอะไรบาง ทั้งนี้เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของศูนยมะเร็งอุบลราชธานีตอไป การศึก ษาครั้ง นี้มีความมุงหมายเพื่ อศึกษาความคิ ดเห็น ของบุคลากรที่ เกี่ยวข องตอการดําเนินงานพัฒนา คุณภาพโรงพยาบาล เพื่อการรับรองคุณภาพของศูนยมะเร็งอุบลราชธานี ตามวงจรการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน โรงพยาบาลฉบับกาญจนาภิเษก 2540 โดยสอบถามเจาหนาที่ระดับปฏิบัติงานทั้งหมด 129 คน ผูบริหารทั้งหมด 20 คน และมีการตรวจสอบการมีเอกสารการดําเนินงาน กิจกรรมพัฒ นาคุณภาพบริการของหนวยงานที่เกี่ยวของกั บ กระบวนการใหบริการผลการศึกษาปรากฏดังนี้

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

142

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผูปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลโดยรวมอยูในระดับมาก ทั้ง 9 ดาน มาตรฐานทั่วไป (GEN 1-9) และบุ ค ลากรระดั บ ปฏิ บั ติ ง านในหน ว ยงานศั ล ยกรรมและห องผ า ตั ด มี ก ารปฏิ บั ติ กิ จ กรรมพั ฒ นาคุ ณ ภาพด า น มาตรฐานทั่วไป GEN 3 GEN 4 GEN 5 และ GEN 9 มากกวาหนวยงานพยาธิวิทยาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ผูบริหารมีการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพโดยรวมอยูในระดับมาก ทั้ง 9 ดาน มาตรฐานทั่วไป (GEN 1-9) และพบวาผูบริหารมีคะแนนเฉลี่ยของระดับการปฏิบัติกิจกรรมคุณภาพสูงกวาระดับผูปฏิบัติงานทุกหนวยงาน มีเพียง 1 หนวยงาน คือ รังสีวินิจฉัยที่ผูปฏิบัติมีคะแนนเฉลี่ยของระดับการปฏิบัติกิจกรรมคุณภาพสูงกวาผูบริหาร การตรวจสอบการมี เ อกสารการดํ าเนิ น กิ จ กรรมพั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารของหน ว ยงานที่ เ กี่ ยวข อ งกั บ กระบวนการให บ ริ ก ารโดยรวมอยู ใ นระดั บ มาก ที่ พ บมากที่ สุ ด คื อ เอกสารกํ าหนดพั น ธกิ จ เป า หมายและ วัตถุประสงค เอกสารที่เกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ และเอกสารที่เกี่ ยวกับเครื่องมือ อุปกรณและสิ่ งอํานวย ความสะดวก สว นเอกสารอีก 6 ดานคือ ก ารจัดองคกรและการบริหาร การจั ดการทรัพยากรบุคคล การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล นโยบายและวิธีปฏิบัติ สิ่งแวดลอมอาคาร สถานที่ ระบบงานหรือกระบวนการใหบริการ มีระดับการ มีเอกสารอยูในระดับมาก โดยสรุปผลการศึกษาครั้งนี้ ใชเปนแนวทางการพัฒนาการดําเนินงาน พัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล เพื่อ การรับรองคุณภาพของศูนยมะเร็ง อุบลราชธานี ใหผานการรับรองมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาลตอไป 2. ผลการประเมินระบบงานสําคัญของโรงพยาบาลตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับ เฉลิ มพระเกี ยรติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ป กรณีศึ ก ษาโรงพยาบาลจะแนะ จั ง หวัด นราธิ วาส พบวา ผลการ ดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลสําหรั บโรงพยาบาล คะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.39 ซึ่ง ผลการประเมิ นอยูในระดั บ ปรับ ปรุ ง ทั้ งนี้ อาจเป น เพราะวา การทํางานเปนทีม การประเมินตนเอง ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย โครงสรางอาคารและ สิ่ง แวดลอมทางกายภาพ การกํ ากั บ ดูแลและบริ ห ารความเสี่ ยงด านสิ่ งแวดล อม การจัด การกั บวั ส ดุและของเสี ย อันตรายอยางปลอดภัย ระบบสาธารณูปโภค การวางแผนทรัพยากร และการจัดการบริการรังสีวิทยา การบริการ รังสีวิทยา และระบบคุณภาพและความปลอดภัยบริการรังสีวิทยา ยังดําเนินการนอยอยูและยังขาดบุคลากร ขาด ความตอเนื่องในการพัฒนาคุณภาพ ขาดการมีสวนรวมและประสานความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพของเจาหนาที่ หัวหนางานขาดการกํากับ ติดตามงานอยางตอเนื่อง ซึ่งสอดคลองกับ นิตยา ประพันศิริ, อรสา สุขดี, มะลิวัสย กรีติยุ ตานนท และงามสิน วานิชพงษพันธุ (2554: 424) การใหความสําคัญของงานพัฒนามาตรฐานหัวใจหลักคือ ตองทํา อย างจริง จั งและต อเนื่ อง โดยเน นการทํ างานร ว มกั น เป นที ม เพื่ อหาชองว างและนํ าข อมูล ที่ ได มาใชใ นการพัฒ นา ปรั บ ปรุ ง ระบบและวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให ไ ด ม าตรฐานที่ ส ามารถยอมรั บ ได พร อ มทั้ ง บุ คลากรในที ม ได เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนเรียนรูอยางตอเนื่อง และมีการจัดการความรูอยางเปนระบบ นํามาสูความเขาใจที่ลึกซึ้งและไดเห็นคุณคา ในการทํางานรวมกันเปนทีมในการพัฒ นาเพื่อยกระดับมาตรฐานในการทําใหปราศจากเชื้อเพื่อความปลอดภัยของ ผูป ว ยอย างยั่ งยื น กั บ นลกฤต ศรี เ มื อง (2549: บทคัด ย อ) ได ทํ าการศึ ก ษาสถานภาพการพั ฒนาคุณ ภาพตาม มาตรฐาน (HA) ฉบับฉลองสิริราชสมบัติ 60 ป: กรณีศึกษาโรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแค มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา เปรียบเทียบสถานภาพการพัฒนาคุณภาพระดับที่ปฏิบัติไดในปจจุบันกับเปาหมายของมาตรฐาน(HA) ฉบับฉลองสิริ ราชสมบัติ 60 ปของบุคลากรโรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแคและศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพของบุคลากร โรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแคที่สังกัดฝายตางกันระดับที่ปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพของมาตรฐาน (HA) ฉบับ ฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปไดแตกตางกัน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

143

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ผลการศึก ษาพบวา ระดับที่ ปฏิบัติได ในการพั ฒนาคุณภาพกับเปาหมายของมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) ฉบับฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปของบุคลากรโรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแคอยูในระดับที่ตํากวาเกณฑมาตรฐาน และ ด านผลลั พ ธ ท างด านการเงิ น อยู ใ นระดั บ ที่ ต่ํ าสุ ด ส ว นการศึ ก ษาเปรี ยบเที ยบการพั ฒ นาคุ ณ ภาพของบุ คลากร โรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแคไดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่0.05 ทั้งหมด 16 ดานคือ 1.ดานการมุงเนนผูปวย หรือผูรับผลงาน 2.ดานการวัด วิเคราะห และการจัดการความรู 3.ดานการมุงเนนทรัพยากรบุคคล 4.ดานการ กํากับดูแลดานวิชาชีพ 5.ดานการปองกันและควบคุมการติดเชื้อ 6. ดานการทํางานกับชุมชน 7.ดานการเขารับ บริการ 8.ดานการประเมินผูปวย 9.ดานการวางแผนการดูแลผูปวย 10.ดานการดูแลผูปวย 11.ดานการใหขอมูล 12.ดานผลลั พ ธด านการดูแลผูป ว ย 13.ด านผลลั พ ธ ดานการมุ งเน นผู ป ว ยและผู รั บ ผลงาน 14.ด านผลลั พธ ด าน ประสิทธิผลองคกร 15.ดานผลลัพธดานธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคม 16.ดานผลลัพธดานการสรางเสริม สุขภาพ จากผลการศึกษาอาจนําไปสูการปรับแผนพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล เพื่อใหสอดคลองเปาหมายของ มาตรฐาน (HA) ฉบับฉลองสิริราชสมบัติ 60 ป นอกจากนี้อาจสงผลใหโรงพยาบาลพิจารณาใหความสําคัญในการ เตรียมความพรอมบุคลากรของโรงพยาบาลทั้งทางดานความรูสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปน และมีแรงจูงใจในการ พัฒนาคุณภาพ รวมทั้งการกําหนดทิศทาง นโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพ 3. ผลการประเมินกระบวนการดูแลผูปวยตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระ เกียรติ ฉลองสิ ริร าชสมบัติครบ 60 ป กรณี ศึก ษาโรงพยาบาลจะแนะ จั งหวัดนราธิว าส พบวา ผลการดํ าเนิน การ พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับเกณฑการใหคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สําหรับโรงพยาบาล คะแนนเฉลี่ยเทากับ 2.18 ซึ่งผลการประเมิน อยูในระดับ ปรับปรุง ทั้ง นี้อาจเปนเพราะวา การ บําบัดอาการเจ็บปวด การฟนฟูสภาพและการใหขอมูลและเสริมพลัง ยังมีการดําเนินการไดนอยอยู ซึ่งสอดคลองกับ ธัญธร พัวพันธ (2546 : บทคัดยอ) ไดทําวิจัยเรื่อง การประเมินผลโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล สวนปรุง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ประเมินระดับประสิทธิผลของการดําเนินโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลสวนปรุง 2. ศึกษาปจจัยและกระบวนการที่มีผลตอความสําเร็จของโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลสวนปรุง และ 3. ศึกษาความพึงพอใจของผูปวยในตอการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสวน ปรุงทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยแบบสอบถามจากกลุมตัวอยาง ทีมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลสวนปรุง จํานวน 52 ชุด และผู ปวยในที่ มีอาการดีแลวและพรอมกลั บไปรักษาตัวตอที่ บาน จํานวน 82 ชุด สวนปจจั ยและกระบวนการ สําคัญที่มีผลตอความสําเร็จ ในวิธีการเก็บขอมูลทั้งจากแบบสอบถามและการประชุมกลุมเพื่อสอบถามความคิดเห็น จากนั้นนําขอมูลรวบรวมไดมาวิเคระหดวยโปรแกรม SPSS และการจัดหมวดหมูตามวิธีการเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยมีดังนี้ระดับประสิทธิผลของการดําเนินการโครงการและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสวนปรุ ง พบวาระดับประสิทธิผลในระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 3.57) หมวดสิทธิผูปวยและจริยธรรมองคกร มีประสิทธิผลใน ระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 3.86) หมวดความมุงมั่นในการพัฒนาคุณภาพ มีประสิทธิผลในระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 3.86) หมวดกระบวนการคุณภาพมีประสิทธิภาพระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 3.44) หมวดการรักษามาตรฐาน และจริยธรรมวิชาชีพ มีประสิทธิภาพระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 3.44) และหมวดการดูแลผูปวย ประสิทธิภาพ ระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 3.29) ป จ จั ยและกระบวนการที่ มีผ ลต อความสํ า เร็ จ ของการดํ าเนิ น การโครงการพั ฒ นาและรั บ รองคุ ณ ภาพ โรงพยาบาลสวนปรุง พบวา ปจจัยภายใน มีผลตอความสําเร็จ มี 10 ประการคือ 1.มีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพ ชัดเจน 2.ผูบริหารมีความมุงมั่นในการพัฒ นา 3.จัดตั้ งศูนยพั ฒนาคุณภาพและมีผูรับผิด ชอบโดยตรง 4.บุ คลากรมี ความเขาใจเรื่องการพัฒนาคุณภาพ 5.บุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนา 6.บุคลากรมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

144

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

7.มี ก ารประสานงานที่ ดี 8.มี ก ารสะสางภายในองค ก รที่ ดี 9.มี ก ารเยี่ ยมสํ า รวจภายในองค ก รสม่ํ า เสมอ 10.มี ผู รั บ บริ ก ารเป น ศู น ย ก ลาง ป จ จั ย ภายนอก มี ผ ลต อความสํ าเร็ จ มี 5 ประการ คื อ 1.นโยบายพั ฒ นาคุ ณ ภาพ โรงพยาบาลที่ชัดเจนในระดับชาติ 2.ความคาดหวังประชาชนที่จะไดรับบริการที่ดี 3.ไดรับการเยี่ยมสํารวจจากสถาบัน พัฒนาและรับ รองคุณ ภาพโรงพยาบาล 4.หนว ยงานมีภาพลั กษณที่ ดี 5.ได รับการสนั บสนุน งบประมาณเพียงพอ กระบวนการที่มีผลตอความสําเร็จมี 10 ประการ คือ 1.ผูนําประกาศความมุงมั่นอยางเปนทางการใหบุคลากรทุกคน ทราบ 2.สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลแกบุคลากร 3.จัดเตรียมองคดานคุณภาพ และผูรับผิดชอบ 4.กําหนดทิศทางใหชัดเจน 5.พัฒนาระบบเพื่อประกันคุณภาพ 6.พัฒนาระบบเพื่อจัดการความเสี่ยง 7.พัฒนาระบบเพื่อรักษามาตรฐานวิชาชีพ 8.มีการประสานงานและความเชื่อมโยงของระบบ 9.มีการตรวจสอบอยาง สม่ําเสมอ 10.พัฒนาอยางตอเนื่อง ระดับความพึงพอใจของผูปวยในตอการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสวนปรุงของผูปวยในทั้ง 6 หมวด อยูในระดับที่พอใจมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.12) ขอเสนอแนะ 1.ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1.1 โรงพยาบาลควรมีการกําหนดคณะทํางานและผูรับผิดชอบตัวบงชี้ตามเกณฑ ระดับคะแนนการพัฒนา คุณ ภาพเพื่อการรั บรองคุ ณ ภาพโรงพยาบาล แต ล ะตั ว บง ชี้ เ พื่ อพัฒ นาตั ว บ งชี้ แต ล ะตัว ให สํ าเร็ จ ตามเกณฑ และ นอกจากนี้ควรจะมีทีมงานที่มองภาพรวมเพื่อใหเห็นความเชื่อมโยงในแตละหมวด 1.2 จากผลการประเมิ นผลการดํ าเนิ น การพั ฒนาคุ ณภาพตามเกณฑ มาตรฐานโรงพยาบาลและบริ ก าร สุขภาพเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ทางโรงพยาบาลควรมีการประเมินผลอยางตอเนื่อง เพื่อการ พัฒนาตอไป 1.3 โรงพยาบาลควรเนนการปรับปรุงการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการรับรองคุณภาพโดย มีการกํากับ ติดตาม อยางสม่ําเสมอ 1.4 เนื่องจากบุคคลากรเปนปจจัยที่ทําใหเกิดผลสําเร็จขององคกรและเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาคุณภาพ เพื่อกระตุนใหเจาหนาที่มีความมุงมั่น ตั้งใจในการพัฒนาคุณภาพ เห็นควรสรางแรงจูงใจพิเศษใหกับบุคลากร ใน รูปแบบตาง ๆ เพื่อเปนขวัญกําลังใจ และสรางบรรยากาศแหงการพัฒนา 2.ขอเสนอแนะในการทําวิจัยตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบระหวางผลการดําเนินการตามเกณฑระดับคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อ การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของทีมผูเยี่ยมสํารวจจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาลและทีมผูเยี่ยมสํารวจ ภายในโรงพยาบาลเพื่อศึกษาถึงปจจัยที่มีผลตอการประเมินผลตามตามเกณฑระดับคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อ การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 2.2 ควรมีการศึกษาถึงปจจัยที่มีผลตอการประเมินผลตามตามเกณฑระดับคะแนนการพัฒนาคุณภาพเพื่อ การรับรองคุณภาพโรงพยาบาลในแตละหมวดเพื่อดูความสัมพันธของผลการประเมินในแตละหมวด

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

145

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

บรรณานุกรม ณรงค ณ ลําพูน. 2546. การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ เดอะ โนเลจ เซนเตอร. ณัฏฐพันธ เขจรนันทน. 2546. TQM กลยุทธการสรางองคการคุณภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพธรรกมลการพิมพ. ธิดา นิงสานนท. 2541. การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาล. ธัญธร พัวพันธ. 2546. การประเมินผลโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสวนปรุง. ปริญญานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ผองพรรณ ธนา, ปรมินทร วีระอนันตวัฒร และมธุรส ภาสพิพัฒนกุล . 2553. “Overall scoring กับงานประจํา”, ใน การพัฒนายืดหยุนและยั่งยืน. หนา 470. วันที่ 12 มีนาคม 2553 ณ ศูนยประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ: สถาบันรับรองสถานพยาบาล. นิตยา ประพันศิริ, อรสา สุขดี, มะลิวัลย กรีติยุตานํา และงามสิน วานิชพงษพันธุ. 2554. “Raising the standards of sterilization”, ในความงามในความหลากหลาย. หนา 424. วันที่ 18 มีนาคม 2554 ณ ศูนยประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ: สถาบันรับรองสถานพยาบาล. นงคนุช จิตภิรมยศักดิ์. 2547. การศึกษาการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการรับรองคุณภาพ ของศูนยมะเร็ง อุบลราชธานี. วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต.มหาสารคาม: มหาวิทยาลั ย มหาสารคาม. นลกฤต ศรีเมือง. 2550. การศึกษาสถานภาพการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) ฉบั บฉลองสิริ ร าชสมบัติ 60 ป : กรณศึ ก ษาโรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแค. วิ ท ยานิ พ นธ รั ฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. บรรจง จันทมาศ. 2543. ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ สํานักพิมพสสท. ประกาย จิโรจนกุล. 2548. การวิจัยทางการพยาบาล : แนวคิด หลักการ และวิธีปฏิบัติ. นนทบุรี: โรงพิมพ โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก. ประจักร บัวผัน. 2545. การพัฒนาคุณภาพบริการในหนวยบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ ศิลปศา สตรดุษฏีบัณฑิต. ขอนแกน: มหาวิทยาขอนแกน. ประพิณวัฒนกิจ. 2542. ระเบียบวิธีวิจัย: วิจัยสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ. พิษณุ ฟองศรี. 2551. การประเมินทางการศึกษา: แนวคิดสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพดานสุทธาการพิมพ. เพริศพักตร ศรีวุฒิพงษ. 2550. การปฏิบัติงานพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามการรับรูของบุคลากร โรงพยาบาลอุตรดิตถ. วิทยานิพนธ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รุงอําพร ปานภูมิ. 2547. การประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาล ในระยะ 1 ปแรก ของโรงพยาบาลนากลาง อํ าเภอนากลาง จั งหวั ด หนองบัวลํ า ภู . วิ ท ยานิ พ นธ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน. วิฑูรย สิมะโชคดี. 2541. TQM คูมือสูองคกรคุณภาพยุค 2000. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ TPA Publishing. วิฑูรย สิมะโชคดี. 2545. คุณภาพคือความยั่งยืน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักพิมพ สสท. ศิริชัย กาญจนวาสี. 2545. ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

146

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

สถาบัน พั ฒนาและรั บรองคุ ณ ภาพโรงพยาบาล. 2542. คู มือการประเมิ นและรั บรองคุ ณภาพโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. 2551. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระ เกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. การประเมินตนเอง. สืบคนเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554, จาก http://www.ha.or.th สิทธิศักดิ์ พฤกษปติกุล. 2543. คูมือการตรวจสอบคุณภาพโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักพิมพ สสท. สิทธิศักดิ์ พฤกษปติกุล. 2546. เสนทางสู Hospital accreditation. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักพิมพ สสท. สุริยันต ชอประพันธ. 2547. การดําเนินงานในการพัฒนาและการขอรับรองคุณภาพ (Hospital Accreditation) ของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุเทพ เชาวลิต. 2548. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเสมาธรรม สุวรรณี แสงมหาชัย. 2541. การจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพรวมองคการ: แนวคิดและกระบวนการนําไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการเอกสารและตําราสมาคมรัฐประศาสนศาสตร นิดา. อมรพรรณ พิมพใจพงศ. 2551. “ปจจัยที่สงผลตอการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กรณีศึกษา: โรงพยาบาลที่ผาน การรับรองคุณภาพ จังหวัดอุดรธานี”. การแพทยโรงพยาบาลอุดรธานี. 16 (4), 12. Crosby, P.B. 1986. Quality is Free. New York: McGraw Hill. Deming, W.E. 1986. Out of Crisis. Boston: The Massachusetts Institute of TechnologyCenter for Advance Engineering Study. Dixon, Diane Louise. 1997. The Relationship between Chief Executive Leadership(Transactional and Transformation) and Hospital Effectiveness (Leadership, HealthCare Administration). Master’s thesis. Washington; D.C: The George Washington University. Juran, J.M. 1992. Juran on Quality by Design: The New Steps for Planning Quality intoGoods and Service. New York: Juran Institute.

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

147

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

Book Review

บทวิพาทยหนังสือ / Book Review บทบาทของอิหมามในการพัฒนาทองถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดปตตานี ผูเขียน ผูวิพากษ

เจะมูหามัดสัน เจะอูมา อานุวา มะแซ แวยูโซะ สิเดะ

วิทยานิพนธเลมนี้ชื่อเรื่อง บทบาทของอิหมามในการพัฒนาทองถิ่น : กรณีศึกษาจังหวัดปตตานีเปนการวิจัย เชิงปริมาณ โดยอาศัยขอมูลจากการวิจัยเชิงสํารวจและใชแบบสัมภาษณชนิดมีโครงสรางเปนเครื่องมือในการเก็บ ขอมูลจากการสัมภาษณกลุมตัวอยางเพื่อมาวิเคราะหขอมูลหาขอสรุปตามวัตถุประสงคที่ไดกําหนดดังตอไปนี้ เพื่อ ศึกษาบทบาทของอิหมามในการพัฒนาทองถิ่นดานการเมืองการปกครอง ดานเศรษฐ กิจ และดานสังคม เพื่อศึกษา ความสัมพันธ ระหวางปจ จัยสวนบุคคลและปจจัยแวดลอมกับระดับบทบาทในการพัฒนาท องถิ่นของ อิหมามทั้ง 3 ดาน เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคตลอดจนการแกไขปญหาในการพัฒนาทองถิ่นของอิหมาม ความเปนมาของปญหาวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยพยายามสะทอนในระยะเวลาที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นใน สังคมชาวไทยมุสลิมอยูตลอดเวลาไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง การ เปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลสภาพความเปนอยูและการดําเนินชีวิตของชาวมุสลิมเปนอยางมาก แมแตบุคคลที่เปนผูนํา ของชุมชนเองก็มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาตัวเองไปดวย จะเห็นไดวาปจจุบันหนาที่ของอิหมามไมไดมีจํากัดขอบเขตแต เพี ยงในมัส ยิ ดเท านั้ น แต อิหม ามยั ง จะต องทํ าหน าที่เ ป นผู นํ าในกิจ ทางสั ง คมด วย และเนื่ องจากมัส ยิ ดมี ห นาที่ อีก ประการหนึ่ง คือการบริการแกสังคม ดังนั้นอิหมามจึงเปนผูมีบทบาทสําคัญยิ่งตอความรูสึกนึกคิดของประชาชนใน การขับเคลื่อนกระบวนการตางๆเพื่อใหชุมชนไดมีการพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เรื่องบทบาทหนาที่ดานการพัฒนาทองถิ่นของอิหมามถือเปนหัวใจหลักของการพัฒนาพื้ นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต เพราะอิหมามเปนบุคคลที่อิสลามิกชนจะใหความสําคัญมาก เนื่องจากตองเขามาเกี่ยวของกับชีวิตมุสลิมตั้งแต เกิดจนถึงตาย ดังนั้นหนวยงานตางๆไมวาจะสังกัดภาครัฐหรือเอกชน เชน กรมการปกครอง ศูนยประสานงานจังหวัด ชายแดนภาคใต ตลอดจนกลุมองคกรสาธารณสุขตางๆจึงไดใหความสนใจกันมากกับผูดํารงตําแหนงอิหมามนี้ การพัฒนาทองถิ่นเพื่อใหสามารถพึ่งพาตัวเองไดนั้น เปนกระบวนการที่เนนใหทรัพยากรมนุษยในทองถิ่นได รูจักคิด วางแผน และรวมมือกัน โดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูรวมทั้งภูมิปญญาทองถิ่น มาสรางประโยชนแก สมาชิ ก ดัง นั้ น กระบวนการพั ฒนาท องถิ่ นของชุ มชนมุ ส ลิ มจึ งได ใ ห ความสํ าคั ญ ต ออิ ห ม ามมาก เพราะถื อว าเป น ทรัพยากรบุคคลที่มีพลังมากที่สุดในการที่จะรวมความคิดรวมจิตใจของมุสลิมใหมารวมกันพัฒนา ทั้งนี้มัสยิดจะเปน ศูนยกลางที่ดีเยี่ยมเพื่อกอใหเกิดกิจกรรมตางๆที่จะทําใหกระบวนการพัฒนาทองถิ่นไดสําเร็จลุลวงตามเปาหมายที่ได วางแผนไว

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ดร. (ประวัตศิ าสตร) อาจารยประจําสาขาวิชาประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา



อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

148

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

ดว ยเหตุ นี้ ผูวิ จัยจึง ได มีความประสงค ที่จ ะศึ กษาบทบาทของอิห มามในการพั ฒนาท องถิ่น เป นอยางมาก โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดปตตานีที่มีมัสยิดและอิหมามมากที่สุดของประเทศไทย ในบทที่ 2 ผู วิ จั ยได แบ ง เอกสารงานวิจั ยที่ เ กี่ ยวข องในเรื่ อง บทบาทของอิห ม ามในการพั ฒ นาท องถิ่ น : กรณีศึ กษาจั งหวัด ปต ตานี เป น 7 ขอ ที่ เสริมความรู มากๆให กับ ผูอานและผู ที่เ กี่ยวของ เช น ดัง ตอไปนี้ เอกสาร เกี่ยวกับบทบาท เอกสารเกี่ยวกับผูนํา เอกสารเกี่ยวกับศาสนา เอกสารเกี่ยวกับผูนําศาสนาอิสลามเอกสารเกี่ยวกับ การพัฒนาชุมชน เอกสารเกี่ยวกับหนามัสยิดตอชุมชน และการวิจัยที่เกี่ยวของ ในเอกสารเกี่ยวกับบทบาท ผูวิจัยไดอางความหมายของบทบาทจากผูเชี่ยวชาญหลายๆคน เชน พิศวงธรรม พันนา ไดใหความหมายของบทบาทวาเปนการปฏิบัติหนาที่หรือการแสดงออกตามความคิดหรือความคาดหวัง เมื่ออยู ภาคใตสถานการณทางสังคมอยางหนึ่งโดยถือเอาฐานะหรือหนาที่ทางสังคมของผูดํารงตําแหนงเปนผูมูลฐาน อุทัย หิรัญโต ใหความหมายของบทบาทไววาบทบาทการปฏิบัติหนาที่หรือการแสดงออกของคน ซึ่งคนอื่น คาดคิดหรือคาดหวังวาเขาจะกระทําอยางนั้นก็คือการเอาฐานะและหนาที่ทางสังคมของเขาเปนมูลฐาน สรุปไดวาบทบาทคือสิ่งที่ผูดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งของสังคมไดถูกกําหนดใหแสดงพฤติกรรมอยางหนึ่ง อยางใดโดยบุคคลในตําแหนงนั้นจะมีหนาที่หรือเงื่อนไขที่ตองกระทําและไดสิทธิที่กําหนดไวสําหรับตําแหนงนั้น รวมทั้ง ความคาดหวังของชุมชนในสังคมที่มุงหวังใหผูดํารงตําแหนงนั้นไดกระทํา โดยเชนกันผูวิจัยไดอางอิงความหมายของผูนําและภาวะผูนําจากผูรอบรู เชน ทวี ทิมขํา ไดใหความหมาย ของผูนํา เปนผูที่มีความรูในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอันเปนที่ตองการในการดําเนินงานของกลุมและสามารถใชความรูนั้นชวย ใหกลุมบรรลุวัตถุประสงคไดในสถานการณใดสถานการณหนึ่ง สวนภาวะผูนําเปนองคประกอบที่สําคัญอยางยิ่งของทุกองคกร ความสําเร็จขององคกรไมวาองคกรเล็กหรือ ใหญยอมตองอาศัยภาวะผูนําที่ดี บารนารด บาส อางถึงใน วัชรี ทรงประทุม ไดมารทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับภาวะ ผูนําจากเอกสารวิจัยมากกวา 15 เรื่อง พบขอสรุปเกี่ยวกับภาวะผูนําดังนี้ บุคคลที่ดํารงตําแหนงในฐานะผูนําจะมีคุณสมบัติเหนือกวาสมาชิกทั่วไปในดานตางๆดังตอไปนี้ ความฉลาด ความรอบรู มีความรับผิดชอบ มีกิจกรรมและมีสวนรวมในสังคมสูง มีฐานะทางเศรษฐกิจดีและสังคมดี สวนภาวะผูนํา ตามหลักศาสนาอิสลาม ในอัลกุรอานและอัลฮาดีษไดมีปรากฏลักษณะภาวะผูนําซึ่ง เปนคุณสมบัติพื้นฐานของผูนํ า อิสลามมีดังนี้ มีความซื่อสัตย ความกลาหาญ ความสัจจะ ความรอบรูและปฏิภาณเฉียบคมที่ส ามารถแกปญหาได อยางเฉียบพลัน มีความฉลาดหลักแหลม มีความนอบนอมถอมตนและสุภาพออนโยน มีความเอื้อเฟอเผื่อแผตอผูอื่น มีความบริสุทธิ์ใจ มีความมั่นใจในการทํางาน มีการใหอภัยไมอาฆาตแคนกับผูใดทั้งสิ้น และมีการสื่อสารกับผูอื่นไดดี หนาที่ของผูนําศาสนาอิสลามตามพระราชบัญญัติการบริหารองคกรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 มาตรา 37 ไดระบุอํานาจหนาที่ของอิหมามดังตอไปนี้ 1.ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามบทบัญญัติศาสนาอิสลาม 2.ปกครองดูแลและแนะนําเจาหนาที่ของมัสยิดใหปฏิบัติงานในหนาที่ใหเรียบรอย 3.ใหคําแนะนําแกบุรุษประจํามัสยิดในการปฏิบัติตนใหถูกตองตามบทบัญญัติแหงศาสนาอิสลามและกฎหมาย 4.อํานวยความสะดวกแกมุสลิมในการปฏิบัติศาสนกิจ 5.สั่งสอนและอบรมหลักธรรมทางศาสนาอิสลามแกบรรดาสัปบุรุษประจํามัสยิด ในบทนี้ ผูวิ จั ยก็ ไ ดบ อกความและความสํ าคัญ ของมั สยิ ด ในประวั ติ สาสตร อิสลามสมัยท านนบีมูฮํ าหมั ด มัสยิดอัลฮะรอมถือเปนศูนยกลางแหงการภักดีและการจัดกิจกรรมในกรอบของอิสลาม นอกจากนี้มัสยิดในอิสลามนั้น

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

149

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

เปนสภาอันบริสุทธิ์ เปนสถานที่รับขอเสนอแนะจากมวลชนมุสลิมและยังเปรียบเสมือนปอมปราการอันมั่นคงสําหรับ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติไมวาจะดานการเมืองการปกครองเศรษฐกิจและสังคมอีกดวย ในบทที่ 3 ผู วิจัยไดเ ขียนวิ ธีดําเนิน การวิจัยในวิท ยานิ พนธ นี้โดยใชก ารวิ จัยเชิงปริมาณ อาศัยข อจากการ สํ ารวจและใช แบบสั มภาษณ ที่ มาของข อมู ล จากข อมู ล ทุ ติ ยภู มิเ ป น ข อมู ล ได จ ากการค น คว า เอกสารงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวของ และขอมูลจากปฐมภูมิ เปนขอมูลภาคสนามโดยใชแบบสัมภาษณชิดที่มีโครงสรางเปนเครื่องมือในการเก็บ ขอมูลตามวัต ถุประสงคที่ไ ดตั้งไว สวนประชากรก็คืออิหม ามในจังหวัด ปตตานี 600คนซึ่งรับผิดชอบมัสยิดที่ไดจ ด ทะเบียนตากกฎหมายแลว สวนกลุมตัวอยางผูวิจัยใชสูตรในการหาขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชสูตร Yamane ในการ คํานวณหาขนาดของตัวอยางที่เหมาะสม ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้ไดกลุมตัวอยาง 240 คน วิธีการสุมตัวอยางผูวิจัยจะทําการสุมตัวอยาง 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ใชวิธีการสุมแบบเชิงชั้นตามอัตราสวน โดยเปรียบเทียบกับจํานวนประชากรซึ่งไดถูกจําแนกตามอําเภอทั้ง 12 อําเภอในจังหวัดปตตานี ครั้งที่ 2 ใชวิธีการสุมอยางงาย โดยใหแตละหนวยมีโอกาสที่จะถูกเลือกเทากันหมดทุกหนวย ซึ่งจะใชวิธีการการหยิบ ฉลากแบบไมสงคืนตามจํานวนที่กําหนดไวแตละอําเภอ เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณชนิดมีโครงสรางซึ่งแบงออกเปน 3 สวนคือ สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปไดแก ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยแวดลอมของผูตอบแบบสัมภาษณ ลักษณะคําถามเปนแบบสํารวจรายการ โดยใหเลือกตอบตามความเปนจริง สวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับบทบาทในการพัฒนาทองถิ่นของผูตอบแบบสัมภาษณโดยแบงออกเปน3 ดานคือ 1.บทบาทดานการเมืองการปกครอง 2.บทบาทดานเศรษฐกิจ 3.บทบาทดานสังคม สวนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับปญหา อุปสรรคในการพัฒนาทองถิ่น โดยแบงออกเปน 3 ดานคือ 1.ปญหาดานตัวบุคคล 2.ปญหาดานประชาชน 3.ปญหาดานหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งขอเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาดังกลาว การทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือ ในการทดสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือเพื่อใหคําถามมีความสมบูรณหรือไม เมื่อตรวจสอบเรียบรอย แลวผูวิจัยก็จะมาวิเคราะหหาความเชื่อมั่นโดยวิธี The alpha coefficient ซึ่งเมื่อวิเคราะหแลวไดคาเทากับ 0.8 การเก็บรวบรวมขอมูลมีขั้นตอนตอไปนี้ 1.สํารวจรายชื่ออิหมาม จากสํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดปตตานี 2.เก็บขอมูลภาคสนาม โดยผูวิจัยออกพบกลุมตัวอยางดวยตัวเอง 3.มีการชี้แจงวัตถุประสงคในการวิจัยและอธิบายการตอบแบบสัมภาษณ การวิเคราะหขอมูล เมื่อเก็บรวบรวมขอมูลและทําการตรวจสอบความถูกตองเรียบรอยแลว ผูวิจัยก็จะเอาขอมูลนั้นมาประมวล และวิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Spss for windows กําหนดคาสถิติในการวิเคราะหดังนี้

อัล-นูร


วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย ปที่ 7 ฉบับที่ 12

150

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา January-June 2012

1.ขอมูลทั่วไป (ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยแวดลอม) วิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ 2.ขอมูลเกี่ยวกับบทบาทในการพัฒนาทองถิ่นทั้ง 3 ดาน วิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละคามัชฌิมเลข คณิต (X) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3.ขอมูล เกี่ยวกั บความสั มพันธร ะหวางป จจัยสว นบุคคลและปจจั ยแวดลอม กับระดับบทบาททั้ง 3 ดาน วิเคราะหขอมูลโดยการหาคา Chi–square ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 4.ขอมูลเกี่ยวกับปญหา อุปสรรคในการพัฒนาทองถิ่น วิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ ผลการวิจัย การศึกษาเรื่องนี้ผูวิจัยไดเก็บขอมูลโดยใชแบบสัมภาษณจากอิหมามทั้ง 12 อําเภอในจังหวัดปตตานีจํานวน 240 คน ซึ่งกลุมตัวอยางที่ไดเก็บรวบรวม ผูวิจัยจําแนกออกเปน 2 กลุมตามลักษณะของตัวแปรอิสระ ไดแก ปจจัยสวน บุคคล (อายุ ระดับความรูภ าคสามัญและภาคศาสนา ระยะเวลาในการดํารงตําแหนง) และปจจัยแวดลอม (ลักษณะของ ชุมชนเมืองและชุมชนชนบท)จากการทําวิจัยผูวิจัยไดพบวา ปจจัยสวนบุคคลดานอายุพบวาอิหมามที่มีอายุ 40-60 ป มี จํานวนมากที่สุด 149 คน คิดเปนรอยละ 62.1 รองลงมาอายุ 25-40 ป มีจํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 22.2 และอิหมาม ที่อายุ 60 ปขึ้นไปมีจํานวนนอยที่สุด 40 คน คิดเปนรอยละ 16.7 เปนที่นาสังเกตวาอิหมามสวนใหญอยูในอายุที่มีความ พรอมทั้งกาย จิตใจและพลังงานความคิดในการสรางสรรคงานพัฒนาทองถิ่นใหประสบความสําเร็จไดปจจัยสวนบุคคล ดานความรูภาคสามัญ พบวาอิหมามที่มีความรูระดับประถมศึกษามีมากที่สุด จํานวน 122 คน รองลงมามีความรูระดับ มัธยมศึกษาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีจํานวน 88 คน และอิหมามที่มีความรูระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา 30 คน ปจจัยสวนบุคคลดานความรูภาคศาสนา พบวา อิหมามที่มีความรูภาคศาสนาระดับอิสลามตอนปลายมีมาก ที่สุดจํานวน 106 คน รองลงมาคือระดับอิสลามศึกษาตอนกลางจํานวน 55 คน รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรีจํานวน 49 คน รองลงมาคือระดั บอิสลามตอนตนจํ านวน 17 คน และอิหม ามที่ มีการศึ กษาศาสนาสู งกว าปริ ญญาตรีมีนอยที่สุ ด จํานวน 13 คน ปจจั ยแวดลอมด านลั กษณะของชุ มชนพบวา อิ หม ามที่ ดํารงตําแหนงในชุ มชนเมือง มีจํานวน 84 คน และ อิหมามที่ดํารงตําแหนงในชุมชนชนบทมีจํานวน 156 คน จากการวิจัยผูวิจัยพบวาอิหมามสวนใหญดํารงตําแหนงในชนบท ซึ่งเปนชุมชนที่ความเจริญทางวัตถุมีไมมากนัก ชุมชนชนบทนั้นจะอยูกันอยางถอยที่ถอยอาศัยซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะ ชุมชนมุสลิมในชนบทนั้นสมาชิกของชุมชนจะใหเกียรติแกอิหมามของประชาชล แตอยางไรก็อิหมามที่ดํ ารงตําแหนงใน ชุมชนเมื อง ก็ ได ทําหน าที่ ไม ยิ่งหย อนไปกว าอิ หม ามที่ดํ ารงในชุ มชนชนบทแมความสั มพั นธ กับสัปบุรุ ษจะไมแนนแฟ น เหมือนในชุมชนชนบทดังนั้นการพัฒนาทองถิ่นในชนบทมุสลิมจึงตองใหอิหมามเปนผูนําเพราะจะทําใหการพัฒนาบังเกิด ผลอยางแทจริง ในบทที่ 6 ผูวิจัยไดเขียนสรุปการวิจัยคือ วัตถุประสงค 4 ขอ สมมติฐาน 3 ขอ และปญหาอุปสรรคในการพัฒนา ทองถิ่นของอิหม าม ดานตัวบุคคล ดานประชาชน ดานหนวยงานที่เกี่ยวของ สุดทายไดเขี ยนขอเสนอแนะในเรื่ องนี้เป น ขอเสนอแนะทั่วไป คือ อิหมามควรจะไดรับการฝกอบรม เพิ่มความรูและทักษะในการพัฒนาทองถิ่น ดานการเมืองการ ปกครอง ดานเศรษฐกิจและสังคม เพื่อนําไปปรับในการพัฒนาทองถิ่นของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบาทดานไกลเกลี่ย เมื่อมีขอพิพาทระหวางประชาชน บทบาทในการรณรงคให ประชาชนไดรูจักประหยั ด บทบาทในการจัดกิจกรรมที่ชวย เสริมสรางความสัมพันธระหวางประชาชนในชุมชน บทบาทในการเปนที่ปรึกษาใหกับประชาชนบทบาทในการดูแลเยาวชน ไมใหยุงเกี่ยวกับยาเสพติด และบทบาทในการจัดเรียนการสอน ในฐานะผูวิพากษคิดวาวิทยานิพนธเลมนี้เปนประโยชนอยางยิ่งใหกับผูนําศาสนาเชน อิหมามและคนอื่นๆใน การพัฒนาทองถิ่นของตัวเอง และเขาเองไดรูอุปสรรคหรือปญหาในการพัฒนาทองถิ่นพรอมดวยรูวิธีในการแกปญหาของ อิหมาม

อัล-นูร


วารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา หลักเกณฑและคําชี้แจงสําหรับการเขียนบทความวิชาการ หรือ บทความวิจัย วารสาร อัล -นู ร บั ณ ฑิต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย อิส ลามยะลา จั ดทํ า ขึ้น เพื่ อส ง เสริ ม ให คณาจารย นักวิชาการ และนักศึกษาไดเผยแพรผลงานทางวิชาการแกสาธารณชน อันจะเปนประโยชนตอการเพิ่มพูนองค ความรู และแนวปฏิ บั ติ อย า งมี ประสิ ท ธิ ภาพ ทั้ งนี้ ทางกองบรรณาธิ ก ารวารสาร อั ล -นู ร บั ณ ฑิ ตวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา จึงไดกําหนดระเบียบการตีพิมพบทความดังกลาว ดังตอไปนี้ ขอ ที่ 1 บทความที่ มี ความประสงคจ ะลงตี พิม พ ในวารสาร อัล -นู ร บั ณฑิ ต วิท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย อิสลามยะลา ตองเปนบทความใหม ไมคัดลอกจากบทความอื่นๆ และเปนบทความที่ไมเคยตีพิมพในวารสารอื่น มากอน ขอที่ 2 ประเภทบทความวิชาการและบทความวิจัย ในสวนบทความวิจัยนั้น ผูที่มีความประสงคจะลง ตีพิมพในวารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทความนั้นตองไดรับความเห็นชอบจาก อาจารยที่ปรึกษา ข อ ที่ 3 บทความดั ง กล า วต อ งชี้ แ จงให กั บ กองบรรณาธิ ก ารวารสาร อั ล -นู ร บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เพื่อพิจารณา สรรหาผูทรงคุณวุฒิในการประเมินบทความ ขอที่ 4 ผูทรงคุณวุฒิประเมินบทความ ตองมีสาขาชํานาญการที่เกี่ยวของกับหัวขอบทความที่จะลง ตีพิมพในวารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ขอที่ 5 การประเมินบทความวิชาการตองประกอบไปดวยผูทรงคุณวุฒิอยางนอยหนึ่งทาน และตองมี คุณวุฒิในระดับปริญญาเอก หรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการระดับผูชวยศาสตราจารยขึ้นไป ในสาขาชํานาญการนั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธกัน หรือเปนผูที่มีประสบการณในดานวิชาการการศึกษาหรือการ ทําวิจัย ซึ่งเปนที่ยอมรับในสังคมาการศึกษา ขอที่ 6 ทัศนะและขอคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสาร อัล -นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา ถือเปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนแตละทาน ทางกองบรรณาธิการเปดเสรีดานความคิด และไมถือวา เปนความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ

การเตรียมตนฉบับสําหรับการเขียนบทความวิชาการ หรือบทความวิจัย ในวารสาร อัลนูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 1. วารสาร อัล-นูร เปนวารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไดจัดพิมพ ปละ 2 ฉบับ 2. บทความที่จะลงตีพิมพในวารสาร อัล-นูร จะตองจัดสงในรูปแบบไฟล และสําเนา ตามที่อยูดังนี้ กองบรรณาธิการวารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 135/8 ม. 3 ต. เขาตูม อ. เมือง จ. ปตตานี 94160 / ตูปณ. 142 อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทร: 073-418610-4 ตอ 124 แฟกซ: 073-418615-16 3. บทความวิ ช าการสามารถเขี ย นได ใ นภาษา มลายู (รู มี / ยาวี ) , อาหรั บ , อั ง กฤษ, หรื อ ภาษาไทย และ บทความตองไมเกิน 12 หนา 4. แตละบทความตองมี บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทคัดยอตองมีจํานวนคํา ประมาณ 200-250 คํา


5. บทความภาษามลายู ตองยึดหลัดตามพจนานุกรมภาษามลายู ที่ไดรับรองและยอมรับจากสถาบันศูนยภาษา ประเทศมาเลเซีย 6. บทความดั งกลา วตอ งเปนบทความใหม ไมคัดลอกจากบทความอื่ นๆ และเปนบทความที่ไ มเ คยตี พิม พใ น วารสารอื่นมากอน 7. การเขียนบทความตองคํานึงถึงรูปแบบดังนี้ 7.1 บทความภาษาไทย พิมพดวยอักษร TH Niramit AS ขนาด 14 7.2 บทความภาษาอาหรับ พิมพดวยอักษร Arabic Traditional ขนาด 16 7.3 บทความภาษามลายูยาวี พิมพดวยอักษร Adnan Jawi Traditional ขนาด 16 7.4 บทความภาษามลายูรูมี พิมพดวยอักษร TH Niramit AS ขนาด 14 7.5 บทความภาษาอังกฤษ พิมพดวยอักษร TH Niramit AS ขนาด 14 8. ใชฟรอนท Arial Narrow Transliterasi สําหรับชื่อและศัพทที่เปนภาษาอาหรับ ที่เขียนดวยอัขระ รูมี ตามที่ บัณฑิตวิทยาลัยไดใช หากบทความนั้นไดเขียนดวยภาษาไทย มลายูรูมี และ ภาษาอังกฤษ

รายละเอียดอื่นๆ 1. ตาราง รูปภาพ และแผนภูมิ ควรคัดเลือกเฉพาะที่สําคัญ และตองแยกออกจากเนื้อเรื่องหนาละรายการ 2. ในสวนของเอกสารอางอิงใหใชคําวา บรรณานุกรม 3. สําหรับชื่อหนังสือใหใชเปนตัวหนา (B) 4. ในสวนของอายะฮฺอัลกุรอานใหใสวงเล็บปด-เปด ﴾.....﴿ และสําหรับอายะฮฺอัลกุรอานที่มากกวาหนึ่งบรรทัด ใหจัดอยูในแนวเดียวกัน 5. ในสวนของฮาดีษใหใสเครื่องหมายคําพูด "......" และสําหรับอัลฮาดีษที่มากกวาหนึ่งบรรทัดใหจัดอยูในแนว เดียวกัน 6. ในสวนของคําพูดบรรดาอุลามาอฺหรือนักวิชาการไมตองใสเครื่องหมายใดๆ 7. ใหจัดลําดับบรรณานุกรมเปนไปตามลําดับภาษาของบทความนั้นๆ 8. ใหใชอางอิงอายะฮฺอัลกุรอานดังนี้ อัลบะเกาะเราะห, 2: 200 9. ใชคําวาบันทึกโดย แทนคําวารายงานโดย ตัวอยาง (บันทึกโดย อัล-บุคอรีย เลขที่: 213) 10. และการเรียงลําดับในการอางอิงหนังสือดังนี้ ชื่อผูแตง. ปที่พิมพ. ชื่อหนังสือ. ชื่อผูแปล. สถานที่พิมพ. สํานักพิมพ. 11. ใหใสวุฒิการศึกษาเจาของบทความ ที่ปรึกษา ที่ปรึกษารวมสําหรับในสวนของบทความวิจัย ใน Foot Note ของหนาบทยอทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มุฮําหมัดซากี เจะหะ* (สําหรับหนาภาษาไทย) Muhaammadzakee Cheha* (สําหรับหนาภาษาอังกฤษ) *ดร. (หลักนิติศาสตร) ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

* Asst. Prof. Ph.D. (in Law) อาจารยประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


บทความทั่วไปและบทความวิจัย 1.ชื่อเรื่อง 2.ผูแตง 3.บทคัดยอ 4.คําสําคัญ 5.บทนํา 6.เนื้อหา (วิธีดําเนินการวิจัยสําหรับบทความวิจัย) 7.บทสรุป (สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัยสําหรับบทความวิจัย) 8.บรรณานุกรม

บทวิพาทษหนังสือ/Book Review 1.หัวขอที่วิพาทษ 2.ชื่อผูวิพาทษ หรือผูรวมวิพาทษ (ถามี) 3.เนื้อหาการวิพาทษหนังสือ 4.ขอมูลทางบรรณานุกรม

การอางอิงในบทความ มีดังนี้ 1.ตัวอยางการอางอัลกุรอานในบทความ: Zอายะฮฺ อัลกุรอาน…………………………….……………………………[ (อัล-บะเกาะเราะห, 73: 20). 2.ตัวอยางการอางหะดีษในบทความ: “บทหะดีษ……………………………………………………………………..” (บันทึกโดย อัล-บุคอรีย , หะดีษเลขที่: 2585) ตัวอยางการเขียนบรรณานุกรม: Ibn Qudamah, cAbdullah bin Ahmad. 1994. al-Mughni. Beirut: Dar al-Fikr. Ahmad Fathy. 2001. Ulama Besar Dari Patani. Bangi: Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia. Mohd. Lazim Lawee. 2004. Penyelewengan Jemaah Al-Arqam dan Usaha Pemurniannya. Bangi: Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia. นิเลาะ แวอุเ ซ็ง และคณะ. 2550. การจัด การศึ กษาโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิส ลามในสามจังหวั ด ชายแดนภาคใต. วิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตปตตานี


แบบเสนอตนฉบับเพื่อลงตีพิมพ ในวารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ขาพเจา (นาย/นาง/นางสาว................................................................................................. ชื่อเรื่องตามภาษาที่เขียนบทความ....................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ชื่อเรื่องภาษาไทย:……………….…………………………………………………………………………………………………. .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ:…………………………….………………………………………………………………………………. .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ชื่อ-สกุลผูแ ตงหลัก: (1) ชื่อภาษาไทย…………..….……………………………..………………………………. (2) ชื่อภาษาอังกฤษ....................................................................... ที่อยู: ………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… เบอรโทรศัพท:……………………………………….………………………………………………………………………………. เบอรโทรสาร:…………………………………………………………………………………………………………………………. E-mail address:………………………….…………………………………………………………………………………………. ชื่อ-สกุลผูแ ตงรวม(1) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………….……………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ................................................................................ (2) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………….……………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ................................................................................ (3) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………….……………. ชื่อภาษาอังกฤษ................................................................................ ระบุประเภทของตนฉบับ  บทความวิชาการ (Article)  บทความวิจัย (Research)  บทความปริทรรศน (Review Article)  บทวิพาทยหนังสือ (Book Review) ลงชื่อ…………………………………………………… ( ) วันที.่ ...................................................



http://www.tci-thaijo.org/index.php/NUR_YIU/issue/archive

ความเป็นไปได้ในการจัดตัง้ ศาลชะรีอะฮฺในประเทศไทย อับดุลฮาลิม ไซซิง, มุฮําหมัดซากี เจ๊ะหะ, ฆอซาลี เบ็ญหมัด, ดานียา เจ๊ะสนิ, อาหมัด อัลฟารีตีย์, รอซีดะห์ หะนะกาแม ................................................................................ 1-13 พัฒนาหลักสูตรตาดีกาที่คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของตาดีกาดัง้ เดิม อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต, สุกรี หลังปูเต๊ะ, กาเดร์ สะอะ ................................................................................15-28 การควบคุมแนวคิดทางศาสนาที่บดิ เบือนในรัฐกลันตันกรณีศึกษา การควบคุมดูแลกลุ่มแนวคิดอัลนักชาบันดีย์ อิบรอเฮม สือแม, อิสมาแอ สะอิ, มาหะมะสอเระ ยือโร๊ะ................................................................................ 29-39 ตัครีจญ์หะดีษเฉพาะความหมายภาษาไทยในหนังสือคุณค่าของอะมาล ของ ชัยคุลหะดีษ เมาลานา มุฮัมมัด ซะกะรียา เชาวน์ฤทธิ์ เรืองปราชญ์, อับดุลเลาะ การีนา .................................................................................................. 41-57 Action Research (AR): Preparation to Quality Criteria Ismail Raob ................................................................................................................................................... 59-67 คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตตามหลักคําสอนศาสนาอิสลาม ของนักเรียนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี มูหัมมัดรุสลี ดามาเล๊าะ ................................................................................................................................. 69-86 Pergrakan Dakwah Rasulullah Noorodin Abdulloh Dagorha .........................................................................................................................87-104 บริการส่งต่อผูป้ ่วยของหน่วยบริการปฐมภูมิบนเกาะแห่งหนึ่งในจังหวัดกระบี่ ทิพวรรณ หนูทอง, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, สาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง ............................................................. 105-117 กลยุทธ์การจัดการบริษทั ฮัจย์ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จิราพร เปี้ยสินธุ, อําพร วิริยะโกศล, วิทวัส ดิษยะศริน สัตยารักษ์ ............................................................... 119-133 ประเมินผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะแนะ จังหวัดนราธิวาส นุรอาซีมะห์ ปะกาสาแล๊ะ, เรวดี กระโหมวงศ์, เมธี ดิสวัสดิ์ ......................................................................... 135-146 Book Review / วิพากษ์หนังสือ บทบาทของอิหม่ามในการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี อานุวา มะแซ, แวยูโซะ สิเดะ ...................................................................................................................... 147-150


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.