Al-Hikmah Journal

Page 1



วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Al-Hikmah Journal of Yala Islamic University


บทบรรณาธิการ วารสาร อั ล -ฮิก มะฮฺ มหาวิ ทยาลัย อิ สลามยะลา เป็น วารสารที่ ตี พิม พ์ เพื่ อ เผยแพร่ บ ทความวิ ชาการ (Article) บทความวิจัย (Research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในการเป็นสื่อส่งเสริมการสร้างองค์ ความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ เพื่อให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีความคิด สร้ า งสรรค์ ด้ า นผลงานวิ ชาการและงานวิ จั ย สู่สั ง คม และเพื่อ เป็น สื่ อ กลางการนํา เสนอสาระน่า รู้ ด้ านวิ ชาการต่ า งๆ แก่ นักวิชาการและบุคคลทั่วไป บทความที่ได้ปรากฏในวารสารฉบับนี้ทุกบทความได้ผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิตรงตาม สาขาวิชา (Peer Review) วารสารฉบับนี้เป็นฉบับที่ 2 ปีที่ 1 ประจําปี 2554 ประกอบด้วยบทความ จํานวน 8 บทความ กับ 1 บทวิพากษ์หนังสือ (Book Review) ซึ่งมีแขนงวิชาด้านต่างๆ ได้แก่ ภาษาศาสตร์ สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง การวัดและประเมินผลการศึกษา มีเป้าหมายมุ่งพัฒนาเป็นวารสารที่มีมาตรฐานและคุณภาพการตีพิมพ์ บทความ ตามเกณฑ์และข้อกําหนด ในนามของกองบรรณาธิการวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ขอขอบคุณผู้เขียนบทความทุกท่านที่ให้ ความสนใจลงตีพิมพ์ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความประจําฉบับที่ไ ด้สละและให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการตลอดจนคณะ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ที่ให้การสนับสนุนการจัดทําวารสารฉบับนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคณาจารย์ นักวิชาการ และผู้อ่านจะได้รับประโยชน์และข้อมูลทางวิชาการอันเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําประการใดที่จะนําไปสู่การพัฒนาปรับปรุงวารสารให้มีคุณภาพ ดียิ่ง ขึ้น กองบรรณาธิ การวารสาร อัล -ฮิก มะฮฺ มหาวิท ยาลั ยอิส ลามยะลา ยิ นดี รับคํ าแนะนํา ด้วยความขอบคุณ ยิ่ง และ ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนให้วารสารฉบับนี้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

บรรณาธิการ วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


เจ้าของ

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 135/8 ม.3 ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปัตตานี 94160 โทร 0-7341-8611-4 โทรสาร 0-7341-8615-6

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย 2. เพื่อเป็นสื่อส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ 3. เพื่อให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีความคิดสร้างสรรค์ด้านผลงานวิชาการและงานวิจัยสู่สังคม

ขอบเขตงาน

เป็นวารสารวิชาการที่ครอบคลุมในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ครุศาสตร์ วิทยาศาสตร์และอื่นๆ โดยนําเสนอในรูปแบบ 1. บทความวิชาการ 2. บทความวิจัย 3. เวทีนําเสนอผลงานวิชาการ

คณะที่ปรึกษาวารสาร นายกสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ฯ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย คณบดีคณะอิสลามศึกษา คณบดีคณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ผู้อํานวยการสถาบันอัสสลาม ผู้อํานวยการสํานักวิทยบริการ ผู้อํานวยการสํานักงานอธิการบดี ผู้อํานวยการสํานักบริการการศึกษา ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ผู้อํานวยการสํานักงานจัดหาทุนและพัฒนาบุคลากร บรรณาธิการ

ผศ.ดร.มุฮําหมัดซากี เจ๊ะหะ

รองบรรณาธิการ ดร.อิบรอเฮม สือแม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุสลัน อุทยั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาเดร์ สะอะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกษตรชัย และหีม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกสรี ลัดเลีย ดร.อะห์มัด ยีส่ ุนทรง ดร.มูหามัดรูยานี บากา ดร.กัลยานี เจริญช่างนุชมี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุกรี หลังปูเต๊ะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จีระพันธ์ เดมะ ดร.อิดรีส ดาราไก่ ดร.อับดุลเลาะ ยูโซ๊ะ ดร.ปนัสย์ นนทวานิช Prof. Dr. Mohd Nasran Mohamad Dato’ Assoc. Prof. Dr. Mohd. Rodi Usman


ผู้ประเมินบทความประจําฉบับ (Peer Review) รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยรัตน์ ศิรพิ ัธนะ รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จีระพันธ์ เดมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุเชษฐ ม่าเหร็ม ดร.อิบรอเหม เต๊ะแห ภ.ก.ยูโซ๊ะ นิมะ อาจารย์ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ อาจารย์ซอและห์ ตาเละ อาจารย์สุวรรณี หลังปูเต๊ะ อาจารย์ประภาภรณ์ หลังปูเต๊ะ พิสูจน์อกั ษร

ดร.อิบรอเหม เต๊ะแห อาจารย์อับดุลรามันห์ โตะหลง อาจารย์วิไลวรรณ กาเจร์ อาจารย์คอลีเย๊าะ ลอกาซอ

ฝ่ายจัดการ

นายฟาริด อับดุลลอฮ์หะซัน นายมาหะมะ ดาแม็ง นายอาสมิง เจ๊ะอาแซ

รูปแบบ

นางสาวรอฮานิง หะนะกาแม นายมูฮมั หมัด สนิ นางสาวกามีละ สะอะ

กําหนดออก

ปีละ 2 ฉบับ

การเผยแพร่

แจกจ่ายฟรีแก่ห้องสมุดของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษาทั้งในและนอกประเทศ

ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม

การบอกรับและติดต่อ สํานักงานกองบรรณาธิการวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ตู้ ปณ.142 อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทรศัพท์ (073) 418611-4 ต่อ 124 โทรสาร (073) 418615-6 Email: gs@yiu.ac.th รูปเล่ม

โครงการจัดตั้งสํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์มิตรภาพ เลขที่ 5/49 ถนนเจริญประดิษฐ์ ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000 โทร (073) 331429

ข้อกําหนดวารสาร 1.ทัศนะและข้อคิดเห็นในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบแต่ อย่างใดของคณะบรรณาธิการ 2.ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา


สารบัญ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการแผนจัดการเรียนรู้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คอเหล็ด หะยีสาอิ .............................................................................................................................................. 1-13 การประยุกต์ใช้อักษรโดดในอัล-กุรอาน ในการจัดการเรียนการสอน มูฮามัสสกรี มันยูนุ........................................................................................................................................ 15-22 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองนักเรียนในการจัดการศึกษาปฐมวัย ในโรงเรียนอนุบาลอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สุวรรณี หลังปูเต๊ะ ........................................................................................................................................... 23-35 สุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็ง ระยะสุดท้ายในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไหมมูนะ๊ คลังข้อง, สกล สิงหะ, และพรทิพา บรรทมสินธ์ ............................................................................... 37-47 ทบทวนกระบวนการฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิงมุสลิมในสังคมไทย อัมพร หมัดเด็ม ................................................................................................................................................ 49-67 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับเยาวชนภายใต้บริบทสังคมมุสลิม สุวิทย์ หมาดอะดํา, มะแอน ราโอบ ................................................................................................................ 69-78 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ต่อคิดของชาวมุสลิมในอาณาจักรอิสลาม : บทเรียนสําหรับสังคมมุสลิมปัจจุบัน ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา ......................................................................................................................... 79-90 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชนกลุม่ น้อย: ศึกษากรณีชาวมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สุริยะ สะนิวา ................................................................................................................................................... 91-98 บทวิพาทย์ / Book Review Hukum Islam Tentang Fasakh Perkahwinan Kerana Ketidak-mampuan Suami Menunaikan Kewajipannya Maya Yusoh, Zakariya Hama.......................................................................................................... 99-106



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

1

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

Article Information Technology Development for Management of Basic Education Lesson Plans Koled Hayeesa-i* * Lecturer, Department of Teaching Profession, Faculty of Liberal Arts and Social Science, Yala Islamic University Abstract This paper was aimed at (1) analyzing lesson plans based on the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008), (2) designing a lesson plan database, and (3) putting forward a new approach to storing lesson plans. In the analysis of lesson plans, literature review covered the Basic Education Core Curriculum, a manual of Technology and Occupation lesson plan management, Technology and Occupation lesson plans for the 2nd benchmark (grade 5) of the 1st semester, and educational information technology documents. The curriculum’s harmony with and relevance to the lesson plans were also taken into account. To design a lesson plan database, the system development life cycle was analyzed, mainly focusing data development. The information and technology development was carried out through three stages: database design, logical database design, implementation and loading. The sample for the third stage was the second lesson plan on Fertilizer of the second unit on Advanced Agriculture in the Technology and Occupation course. Finally, it resulted in Entity data covering a course assigning form, responsible teachers, lesson plans, and disciplines. They were then applied to designing E-R diagrams: conceptual, logical, physical. It is recommended for further development that results of designing conceptual and logical E-R diagrams should be applied to design of a physical E-R diagram on other database programs, in addition to Microsoft Access and MySQL Posgress.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

2

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

บทความวิชาการ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการแผนจัดการเรียนรู้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คอเหล็ด หะยีสาอิ* *อาจารย์ประจําสาขาวิชาชีพครู คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ ของการเขียนบทความ ได้แก่ 1) เพื่อวิเคราะห์แผนจัดการเรียนรู้ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตาม หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 2) เพื่อออกแบบฐานข้อมูล ในการบริหารจัดการแผนจัดการเรียนรู้ การ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 3) เพื่อเสนอแนวคิดการจัดเก็บแผนจัดการ เรียนรู้ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 จากกระบวนการในการดําเนิน กิจกรรมวิเคราะห์แผนจัดการเรียนรู้จะต้องศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องการจัดการศึกษา คือ หลักสูตรแกนกลางฯ คู่มือการ จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนการงานอาชีพ และเทคโนโลยี แผนจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 2 (ป.5) ภาคเรียน ที่ 1 อีกทั้งเอกสารที่เกียวข้องด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา พร้อม กับพิจารณาความสอดคล้อง และเชื่อมโยงของหลักสูตรไปจนถึงแผนจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ฯ จากนั้นนํา แนวคิด ความรู้ทางด้านการวิเคราะห์ระบบของคอมพิวเตอร์ โดยยึดหลักการวิเคราะห์วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ สารสนเทศ (System Development Life Cycle) แต่เนื่องจากเนื้อหาของบทความนี้เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ดังนั้น ในการอธิ บาย จึ งต้ องเน้ นเนื้ อหาของการพั ฒนาระบบงานสารสนเทศในส่ วนของข้ อมู ลเป็ นส่ วนใหญ่ จึ งส่ งผลให้ รายละเอียดในการดําเนินงานบางขั้นตอน จึงต้องข้ามไป สําหรับเนื้อหาของการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นใช้งานใน บทความนี้ จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนที่มีเนื้อหาต่อเนื่องเป็นลําดับดังนี้ ส่วนที่ 1 แนวทางในการดําเนินงาน ในขั้นตอนการ ออกแบบฐานข้อมูล ส่วนที่ 2 เป็นการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Logical ส่วนที่ 3 เป็นเนื้อหาของการ Implementation and Loading โดยนําแผนจัดกาเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 2 (ป. 5) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เกษตรก้าวหน้า หน่วยย่อยที่ 2 ปุ๋ย ดิน ถิ่นบ้านฉัน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปุ๋ย เป็น แบบ ผลลั พท์ ที่ได้ จากกระบวนการดั งกล่าวปรากฎเป็นข้อมู ลที่ ปรากฏอยู่ ในระบบ(Entity) คือ ใบมอบรายวิชาที่ สอน ครูผู้สอนแผนจัดการเรียนรู้ และหมวดสาระการเรียนรู้ และนําไปออกแบบข้อมูลในรูปแบบของ E-R Diagram ในระดับ Conceptual ในระดับ Logical และในระดับ Physical ข้อเสนอแนะในการนําผลลัพท์ที่ได้ไปพัฒนาต่อไป คือ นําผลการออกแบบข้อมูบในรูปแบบของ E-R Diagram ใน ระดับ Conceptual และระดับ Logical ไปประยุกต์ในการออกแบบระดับ Physical ของโปรแกรมฐานข้อมูลอื่น ๆ นอกเหนือจาก Microsoft Access เช่น MySQL Posgress


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

บทนํา ปั จ จุ บั น เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ แ ล้ ว ว่ า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology หรือ IT) ได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว และมีบทบาทสําคัญ ในด้ า นต่ า งๆ อย่ า งกว้ า งขวาง ทั้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม การบริการสังคม สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการศึกษา ซึ่งการมีบทบาทสําคัญนี้อาจกล่าว ได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอทีนั้นเปรียบเหมือน เครื่ อ งจั ก รที่ ส ามารถรองรั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารมาทํ า การ ประมวลผล และการแสดงผลตามที่ต้องการได้รวดเร็ว โดยอาศั ยองค์ป ระกอบอื่ น ๆ ช่ วยในการจั ด การ ได้ แ ก่ โปรแกรมปฏิ บั ติ ก าร โปรแกรมชุ ด คํ า สั่ ง ต่ า งๆ และที่ สําคัญคือ ผู้ที่จะตัดสินใจหรือสั่งการให้ทํางานได้ถูกต้อง ตามเป้ า หมาย ซึ่ ง ได้ แ ก่ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น ผู้ ใ ช้ ผู้บริหาร และผู้ชํานาญการ หรือนักเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยตรง จากการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันทุกด้าน โดยเฉพาะทางด้ า นการศึ ก ษาที่ ต้ อ งก้ า วให้ ทั น กั บ การ เปลี่ ย นแปลงของข้ อ มู ล ข่ า วสาร ในพระราชบั ญ ญั ติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้บัญญัติในเรื่องการนํา เทคโนโลยี ม าใช้ ท างการศึ ก ษา ในหมวดที่ 9 เรื่ อ ง เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การบริหารงานที่ประสบผลสําเร็จได้ผลงานที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลผู้บริหารจําเป็นต้องเอาการ บริหารเชิงระบบมาใช้ การจัดระบบสารสนเทศถือเป็น กุญแจนําไปสู่ความสําเร็จอย่างหนึ่ง นิพนธ์ เทศวงศ์ (2541) ทําการวิจัยสภาพและ ปั ญ หาการใช้ ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ ห ารของ ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น พบว่ า ผู้ บ ริ ห ารและผู้ ป ฏิ บั ติ ง านมี ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศด้วยตนเอง ฝ่ายวิชาการ เป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารมากที่สุด ส่วน ใหญ่ไ ม่มี การเชื่อมโยงระบบเครือข่า ยคอมพิว เตอร์ กั บ ภายนอก รู ป แบบการจํ า แนก การเก็ บ รวบรวม และ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลของ การนํ า เสนอข้ อ มู ล และสารสนเทศยั ง มี ก ารใช้ ร ะบบ คอมพิวเตอร์เป็นส่วนน้อย ปัญหาก็คือขาดแคลนบุคลา การที่มีความรู้ อุปกรณ์เครื่องมือ ล้าสมัยและไม่เพียงพอ

3

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

โรงเรี ยนแต่ ละแห่ งมี แนวทางปฏิบั ติแ ตกตางกั นระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน การจัดระบบสารสนเทศมีความสําคัญต่อการ บริหารและการดําเนินงานของสถานศึกษาโดยเฉพาะงาน ด้ า นวิ ช าการซึ่ ง จั ด เป็ น หั ว ใจของงานด้ า นการศึ ก ษา ผู้ ป กครองและหน่ ว ยงานต่ า งๆ ให้ ค วามสนใจและ ต้องการทราบข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็ว เชื่อถือได้ ดังนั้น การจัดระบบงานสารสนเทศภายในสถานศึกษาจึงเป็น สิ่งจํา เป็น อย่า งยิ่ง เพราะจะต้ องใช้ข้อมูลที่ เป็น ระบบ ทันสมัย ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ผู้วิจัยจึงทําการศึกษาการ จัดระบบสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลที่จะ ใช้ใ นการพัฒ นาระบบสารสนเทศของสถานศึกษาให้ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีมาตรฐาน ระบบฐานข้อมูล (Database System) ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ( Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอี ย ดของข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ที่ จ ะนํ า มาใช้ ใ น ระบบต่าง ๆ ร่วมกันระบบฐานข้อมูล จึงนับว่าเป็นการ จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถจัดการกับ ข้อมูลได้ในลักษณะต่าง ๆ ทั้งการเพิ่ม การแก้ไข การลบ ตลอดจนการเรี ย กดู ข้ อ มู ล ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น การ ประยุ ก ต์ นํ า เอาระบบคอมพิ ว เตอร์ เ ข้ า มาช่ ว ยในการ จัดการฐานข้อมูลเกษม, /it04/page01.html) ระบบสารสนเทศ (Information System) กรมสามัญศึกษา (2533,13) สารสนเทศหรื อ ข้อสนเทศ (Information) คือข้อมูลซึ่งได้ถูกกระทําให้มี ความสัมพันธ์ หรือมีความหมายนําไปใช้ประโยชน์ได้เป็น ข้อมูลที่สามารถใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บิหารได้ สํ า นั ก งานการประถมแห่ ง ชา ติ (2537) สารสนเทศหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป ที่มีความเกี่ยวข้องกันมาจัดกระทําหรือ ประมวลผล เพื่อให้ มี ความหมาย หรือมี คุณ ค่า เพิ่ม ขึ้ น ตาม ในทางด้านเทคนิค หมายถึง กลุ่มของระบบงาน ที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์หรือตัวอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ หรื อ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ที ท ทํ า หน้ า ที่ ร วบรวม ประมวลผล จั ด เก็ บ และแจกจ่ า ยข้ อ มู ล ข่ า วสารเพื่ อ


р╕зр╕▓р╕гр╕кр╕▓р╕гр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕г р╕нр╕▒р╕е-р╕ор╕┤р╕Бр╕бр╕░р╕ор╕║ р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕бр╕вр╕░р╕ер╕▓ р╕Др╕нр╣Ар╕лр╕ер╣Зр╕Ф р╕лр╕░р╕вр╕╡р╕кр╕▓р╕нр╕┤

р╕кр╕Щр╕▒ р╕Ъ р╕кр╕Щр╕╕ р╕Щ р╕Бр╕▓р╕гр╕Хр╕▒ р╕Ф р╕кр╕┤ р╕Щ р╣Гр╕Ир╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕Ър╕Др╕╕ р╕б р╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Щр╕нр╕Зр╕Др╣М р╕Б р╕г р╕Щ р╕н р╕Б р╕И р╕▓ р╕Б р╕Щр╕╡р╣Й р╕вр╕▒ р╕З р╕Кр╣И р╕з р╕в р╕Ър╕╕ р╕Д р╕е р╕▓ р╕Б р╕г р╣Г р╕Щ р╕н р╕З р╕Др╣М р╕Б р╕г р╕Щр╕▒р╣Й р╕Щ р╣Г р╕Щ р╕Б р╕▓ р╕Ыр╕гр╕░р╕кр╕▓р╕Щр╕Зр╕▓р╕Щ р╕Бр╕▓р╕гр╕зр╕┤р╣Ар╕Др╕гр╕▓р╕░р╕лр╣Мр╕Ыр╕▒р╕Нр╕лр╕▓ р╕Бр╕▓р╕гр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╣Бр╕Ър╕Ър╕Ир╣Нр╕▓р╕ер╕нр╕З р╕зр╕▒р╕Хр╕Цр╕╕р╕Чр╕╡р╣Ир╕бр╕╡р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕Лр╕▒р╕Ър╕Лр╣Йр╕нр╕Щ р╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕гр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕Ьр╕ер╕┤р╕Хр╕ар╕▒р╕Ур╕Ср╣Мр╣Гр╕лр╕бр╣Ир╣Ж р╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕ир╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ър╕Фр╣Йр╕зр╕вр╕Ър╕╕р╕Др╕Др╕е р╕кр╕Цр╕▓р╕Щр╕Чр╕╡р╣И р╣Бр╕ер╕░р╕кр╕┤р╣Ир╕Зр╕Вр╕нр╕Зр╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Щр╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Бр╕гр╕Щр╕▒р╣Йр╕Щ р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕кр╕┤р╣Ир╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Йр╕нр╕бр╕Вр╕нр╕Зр╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Бр╕г р╕Др╣Нр╕▓р╕зр╣Ир╕▓ тАЬр╕Вр╣Ир╕▓р╕зр╕кр╕▓р╕г (Information) р╕лр╕бр╕▓р╕вр╕Цр╕╢р╕З р╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕ер╕Чр╕╡р╣Ир╣Др╕Фр╣Йр╕гр╕▒р╕Ъ р╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕бр╕зр╕ер╕Ьр╕ер╕лр╕гр╕╖р╕нр╕Ыр╕гр╕╕р╕Зр╣Бр╕Хр╣Ир╕Зр╣Ар╕Юр╕╖р╣Ир╕нр╣Гр╕лр╣Йр╕бр╕╡р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕лр╕бр╕▓р╕вр╣Бр╕ер╕░р╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щ р╕Ыр╕гр╕░р╣Вр╕вр╕Кр╕Щр╣Мр╕Хр╣Ир╕нр╕Ьр╕╣р╣Йр╣Гр╕Кр╣Йр╕кр╣Ир╕зр╕Щр╕Др╣Нр╕▓р╕зр╣Ир╕▓ тАЬр╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕е (Data)тАЭ р╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕Юр╕╡р╕вр╕З

р╕Б р╕Б

р╕Ыр╕╡ р╕Чр╕╡р╣И 1 р╕Йр╕Ър╕▒ р╕Ъ р╕Чр╕╡р╣И 2 р╕Бр╕гр╕Бр╕Пр╕▓р╕Др╕б-р╕Шр╕▒ р╕Щ р╕зр╕▓р╕Др╕б 2554 р╕Бр╕▓р╕гр╕Юр╕▒ р╕Т р╕Щр╕▓р╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕и...

4

р╕Вр╣Йр╕нр╣Ар╕Чр╣Зр╕Ир╕Ир╕гр╕┤р╕Зр╕Чр╕╡р╣Др╕Фр╣Йр╕гр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕гр╕зр╕Ър╕гр╕зр╕бр╕лр╕гр╕╖р╕нр╕Ыр╣Йр╕нр╕Щр╣Ар╕Вр╣Йр╕▓р╕кр╕╣р╣Ир╕гр╕░р╕Ър╕Ъ р╕Лр╕╢р╣Ир╕З р╕нр╕▓р╕Ир╣Гр╕Кр╣Й р╣Б р╕Чр╕Щр╣Ар╕лр╕Хр╕╕ р╕Б р╕▓р╕гр╕Ур╣М р╕Чр╕╡р╣И р╣А р╕Бр╕┤ р╕Ф р╕Вр╕╢р╣Й р╕Щ р╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Щр╕нр╕Зр╕Др╣М р╕Б р╕гр╕лр╕гр╕╖ р╕н р╕кр╕┤р╣Ир╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Йр╕нр╕б р╕Бр╣Ир╕нр╕Щр╕Чр╕╡р╣Ир╕Ир╕░р╕Цр╕╣р╕Бр╕Щр╣Нр╕▓р╣Др╕Ыр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╣Гр╕лр╣Йр╣Ар╕лр╕бр╕▓р╕░р╕кр╕бр╕Хр╣Ир╕нр╕Бр╕▓р╕г р╕Щр╣Нр╕▓р╣Др╕Ыр╣Гр╕Кр╣Йр╕Зр╕▓р╕Щр╣Гр╕Щр╣Вр╕нр╕Бр╕▓р╕кр╕Хр╣Ир╕нр╣Др╕Ы (р╕кр╕▒р╕ер╕вр╕Чр╕╕р╕Шр╣М р╕кр╕зр╣Ир╕▓р╕Зр╕зр╕гр╕гр╕У р╣Бр╕Ыр╕е р╕Ир╕▓р╕Б Kenneth C.Laudon Jane P.Laudon, 6) р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ър╕Вр╕нр╕Зр╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕и р╕Бр╕гр╕бр╕зр╕┤ р╕К р╕▓р╕Бр╕▓р╕г (2544,20) р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒ р╕Ф р╕гр╕░р╕Ъ р╕Ъ р╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕ир╕бр╕╡р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ър╕кр╣Нр╕▓р╕Др╕▒р╕Н 4 р╕кр╣Ир╕зр╕Щ р╕Фр╕▒р╕Зр╕ар╕▓р╕Ю

р╕Б (р╕Б )

р╕Бр╕гр╕бр╕кр╕▓р╕бр╕▒р╕Нр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓ (2538,21) р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕и р╕кр╕▓р╕бр╕▓р╕гр╕Цр╕вр╣Ир╕нр╕вр╕нр╕нр╕Бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щ 6 р╕кр╣Ир╕зр╕Щр╕Фр╣Йр╕зр╕вр╕Бр╕▒р╕Щ

р╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕е

р╕гр╕╣р╕Ыр╣Бр╕Ър╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕бр╕зр╕ер╕Ьр╕е р╣Ар╕Чр╕Др╣Вр╕Щр╣Вр╕ер╕вр╕╡ р╕Рр╕▓р╕Щр╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕е

р╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕и

р╕кр╣Нр╕▓р╕Щр╕▒р╕Бр╕Зр╕▓р╕Щр╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕Цр╕бр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓р╣Бр╕лр╣Ир╕Зр╕Кр╕▓р╕Хр╕┤ (2537) р╣Гр╕лр╣Йр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕лр╕бр╕▓р╕вр╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕ир╕зр╣Ир╕▓ р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕кр╕▓р╕Щ р╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕ир╕бр╕╡р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ъ 3 р╕кр╣Ир╕зр╕Щ

р╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕е

р╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕бр╕зр╕ер╕Ьр╕е (Processing)

р╕Ьр╕ер╕Ьр╕ер╕┤р╕Хр╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕и (Information)

р╣Ар╕нр╣Ар╕бр╕нр╕гр╕╡р╣И (Emery,1969,36) р╣Ар╕кр╕Щр╕нр╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ъ р╣Гр╕Щр╕Бр╕гр╕░р╕Ър╕зр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕гр╕░р╕Чр╣Нр╕▓р╕кр╕▓р╕гр╕кр╕Щр╣Ар╕Чр╕и 8 р╕Вр╕▒р╣Йр╕Щр╕Хр╕нр╕Щр╣Др╕Фр╣Йр╣Бр╕Бр╣И 1.р╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕Бр╣Зр╕Ър╕гр╕зр╕Ър╕гр╕зр╕бр╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕е 2.р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╣Нр╕▓р╣Бр╕Щр╕Бр╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕ер╣Бр╕ер╕░р╕Бр╣Нр╕▓р╕лр╕Щр╕Фр╕Фр╕▒р╕Кр╕Щр╕╡р╕Вр╣Йр╕нр╕бр╕╣р╕е


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

3.การสรุปข้อมูลให้กะทัดรัด 4.การเก็บรักษาข้อมูล 5.การบริหารข้อมูล 6.การประมวลผลข้อมูล 7.การส่งผ่านข้อมูล 8.การแสดงผลข้อมูล

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

5

ข้อมู ล สารสนเทศที่ ไ ด้ มานั้ น สามารถนํา มาใช้ วางแผนประกอบการตัดสินใจในการปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ขั้นตอนการบริหารการจัดการระบบสารสนเทศ ทางการศึกษา

การใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานใน สถานศึกษา วางแผนรายงานหน่วย เหนือหรือหน่วยงาน เกี่ยวข้องปฏิบัติงาน บริการชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูล Collecting data การใช้ Using data

ตรวจสอบข้อมูล Checking data

เก็บรวบรวมข้อมูล Collecting data

ประมวลผลข้อมูล Processing data

จัดหน่วยหรือคลังข้อมูล Organizing or storage การบริหารระบบสารสนเทศของสถานศึกษา 1. การบริหารงานด้านวิชาการ 2. การบริหารงานด้านกิจการนักเรียน 3. การบริหารงานธุรการ 4. การบริหารงานบริการ

ระบบข้อมูลของสถานศึกษา

ในการจั ด ข้ อ มู ล หรื อ การมี ร ะบบข้ อ มู บ ที่ มี ประสิทธิภาพของสถานศึกษานั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะความ ต้องการ และการเลือกสรรใช้ข้ อมูลที่ จําเป็ น และเป็ น ประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการศึกาของสถานศึกษา และควรจะครอบคลุมองค์ประกอบพื้นฐานของการจัด การศึกษา 1.โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ได้ แ ก่ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของ โรงเรียนและชุมชน อาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่ง อํา นวยความสะดวกที่ มีอยู่ ใ นโรงเรี ยน เช่ น ห้ องเรี ย น


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

ห้องปฏิบัติการ วัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน ห้องสมุด ตลอดถึงแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา เป็นต้น 2.ผู้ เ รี ย นหรื อ นั ก เรี ย น เป็ น องค์ ป ระกอบที่ สําคั ญของโรงเรี ยนการเก็บ รวบรวมข้อมู ลนอกจากตั ว ผู้เรียนแล้ว ยังต้องเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภูมิหลังทาง ครอบครัวและชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่ 3.ครู – อาจารย์ การเก็บข้อมูลครูอาจารย์ใน สถานศึกา ได้แก่ จํานวนครู คุณวุฒิการศึกษา ตําแหน่ง หน้ า ที่ วิ ช าที่ ส อน ผลงานทางวิ ช าการ และผลการ ปฎิบัติงานของครู และรวมถึงบุคคลภายนอกที่มีความรู้ ความสามารถพิเศษในด้านต่าง ๆ สามารถเป็นวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือครูภูมิปัญญาไทย เป็นต้น 4.หลักสูตร ได้แก่ ตัวหลักสูตร แผนการจัดการ เรี ย นรู้ แผนการสอน คู่ มื อ การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร การ สํารวจความต้องการของชุมชน และการใช้ตําราเรีย น ของครูและนักเรียนเป็นต้น 5.กระบวนการเรี ย นการสอน ได้ แ ก่ ลั ก ษณะ ของวิธีการสอน ตารางสอน การมีส่วนร่วมของนักเรีน การใช้ตําราเรียน สื่อการสอน การประเมิน ผลการเรียนการ สอน การรายงานผลการเรียน การสอนซ่อมเสริม เป็นต้น (เกรียงศักดิ์ พราวศรี ภาสกร เกิดอ่อนและคณะ, 6-7) ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ในบทความฉบับนี้จะเน้น เฉพาะการนํ าแผนการจัด การเรี ยนรู้ม าวิเคราะห์ และ ออกแบบให้สามารถจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศ สําหรับการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นใช้งานใน บทความฉบั บ นี้ จะแสดงให้ เห็ น ถึ ง การดํ า เนิ น งานใน ขั้ น ตอนต่ า ง ๆ ของวงจรชี วิ ต ของการพั ฒ นาระบบ สารสนเทศ (System Development Life Cycle) แต่ เนื่ อ งจากเนื้ อ หาของบทความนี้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบ ฐานข้อมูล ดังนั้นในการอธิบาย จึงต้องเน้นเนื้อหาของ การพัฒนาระบบงานสารสนเทศในส่วนของข้อมูลเป็ น ส่วนใหญ่ จึงส่งผลให้รายละเอียดในการดําเนินงานบาง ขั้ น ตอน จึ ง ต้ องข้ า มไป สํ า หรั บ เนื้ อหาของการพั ฒ นา ระบบสารสนเทศขึ้นใช้งานในบทความนี้ จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนที่มีเนื้อหาต่อเนื่องเป็นลําดับดังนี้

6

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

ส่วนที่ 1 ในขั้นตอนนี้ มีจุดมุ่งหมายที่ต้องการแสดงให้ เห็ น ถึ ง แนวทางในการดํ า เนิ น งาน ในขั้ น ตอนการ ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual กล่าวคือ จะ เป็ น การนํ า เอาความรู้ เรื่ อ ง วงจรชี วิ ต ของการพั ฒ นา ระบบฐานข้อมูล (Database Life Cycle) แบบจําลอง ของข้อมูล (Entity-Relationship Model) และการทํา เพื่ อขจั ด ความซ้ํ า ซ้ อนของข้ อมู ล (Normalization) ซึ่ ง เป็นภาคการออกแบบฐานข้อมูล เป็นการกําหนดโครง ร่ า งเริ่ ม ต้ น ให้ กั บ ฐานข้ อ มู ล ตามความต้ อ งการที่ ผู้ ใ ช้ กํา หนดแต่เนื่ องจากก่ อนที่ จ ะถึ ง ขั้น ตอนการออกแบบ ฐานข้อมูลในระดับ Conceptual ในการดําเนินงาน พั ฒ นาระบบงานสารสนเทศ จะต้ อ งดํ า เนิ น งานใน ขั้น ตอน Feasibility Study และ Requirement Collection and Analysis ของ SDLC รวมทั้งขั้นตอน Database Initial Study ของ DBLC ก่อน ดังนั้น ใน ส่วนนี้ จึงปรากฏตัวอย่างของการดําเนินงานในขั้นตอน เหล่านี้ไว ส่วนที่ 2 เป็นการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Logical มีจุดมุ่งหมายที่ต้องการอยู่ 2 ประการ 1.ต้องการให้เห็นถึงแนวทางในการดําเนินงาน ในขั้นตอนของการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Logical กล่ า วคื อ จะเป็ น การปรั บ ปรุ ง โครงร่ า งที่ ไ ด้ จ ากการ ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual ในส่วนที่ 1 ให้มีโครงร่างให้เป็นไปตามโครงสร้างข้อมูลของฐานข้อมูล แบบ Relational 2.ต้ อ งการแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง แนวทางในการ ดําเนินงาน ในขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Physical กล่าวคือ จะเป็นการนําโครงร่างที่ได้จากการ ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Logical มาปรับปรุงโครง ร่าง และนําความรู้การกู้ข้อมูลกลับมาใช้งาน (Recovery Control) และการรั ก ษาความถุ ก ต้ อ งให้ กั บ ข้ อ มู ล (Concurrency Control) การควบคุมความปลอดภัยใน กับข้อมูล (Security Control) และการควบคุมความ ถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล โ ดยใช้ ก ฏข้ อ บั ง คั บ (Integrity Control) เป็ น การป้ อ งกั น ข้ อ มู ล ในฐานข้ อ มู ล มา ประยุกต์ใช้เพื่อกําหนดวิธีในการป้องกันความผิดพลาด ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับข้อมูลในฐานข้อมูลที่ออกแบบขึ้น


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

7

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

2.เลือกคู่มือแผนจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ นั้ น ตามโครงสร้ า งข้ อ มู ล ของโปรแกรม Microsoft Access เรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 2 (ป.5) ภาคเรียนที่ 1ของสําลี รักสุทธี ส่วนที่ 3 เป็นเนื้อหาของการ Implementation and 3.ครูผู้สอนจัดทําเอกสารแผนจัดการเรียนรู้ใน Loading มีจุดมุ่งหมายอยู่ 2 ประการดังนี้ รู ป แบบของเอกสาร Word processing นํ า ส่ ง ให้ 1.ต้องการแสดงให้เห็นถึงแนวทางในการนําเอา หั ว หน้ า รฝ่ า ยวิ ช าการตรวจสอบ และรั บ รองโดย ความรู้ทางด้านภาษา SQL ไปใช้จัดสร้าง Table ใน ผู้อํานวยการ ขั้นตอน Implementation and Loading ซึ่ง Table ที่ 4.ในหลั กสู ต รแกนกลางการศึก ษาขั้ นพื้ นฐาน ถู ก สร้ า งขึ้ น เหล่ น นี้ จ ะถู ก นํ า ไปใช้ ร่ ว มกั บ ต้ น แบบของ กําหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โปรแกรมต่ า ง ๆเพื่ อ นํ า ไปสรุ ป กั บ ผู้ ใ ช้ และกํ า หนด จํานวน 67 มาตรฐาน ได้แก่ ขอบเขตให้กับต้นแบบโปรแกรมที่จะพัฒนาขึ้นในขั้นตอน 1.สาระการเรียนภาษาไทย Prototyping ของ SDLC ก่อนที่จะไปพัฒนาเป็น 2.สาระการเรียนคณิตศาสตร์ โ ป ร แ ก ร ม จ ริ ง แ ล ะ นํ า ไ ป ใ ช้ ง า น ใ น ขั้ น ต อ น 3.สาระการเรียนวิทยาศาสตร์ Implementation ของ SDLC 4.สาระการเรี ย นสั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และ 2.ต้องให้ เห็ นถึ ง แนวทางในการนํ าเอาความรู้ วัฒนธรรม ทางด้ า นภาษา SQL ไปใช้ ต รวจสอบความถู กต้ องของ 5.สาระการเรียนสุขศึกษา และพลศึกษา ฐานข้ อ มู ล ที่ พั ฒ นาเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ในขั้ น ตอน 6.สาระการเรียนศิลปะ Testing and Evaluation ของ DBLC ซึ่งจะกระทํา 7.สาระการเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี ร่ ว มกั บ การตรวจสอบในส่ ว นของโปแกรมในขั้ น ตอน 8.สาระการเรียนภาษาต่างประเทศ Validation and Testing ของ SDLC ในส่ ว นของมาตรฐานการเรี ยนรู้ ผู้ เขีย นไม่ ข อ กล่าวในที่ นี้เนื่องจากมีร ายละเอีย ดที่เป็นข้อความเป็ น ขั้นตอน Feasibility Study เนื่องจากเนื้อหาในบทความนี้ จะเกี่ยวข้องกับ จํานวนมาก เมื่อนํามาวิเคราะห์เพื่อจัดทําแผนการจัดการ ระบบฐานข้ อ มู ล ดั ง นั้ น ในที่ นี้ จึ ง สมมมติ ว่ า ได้ เรียนรู้นั้น จะเกิดแผนการจัดการเรียนรู้จํานวนมาก ทํา ทํ า การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ เพื่ อ ประเมิ น ต้ น ทุ น ของ ให้การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับมาตรฐานกลางทําได้วิธี ทางเลือกต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบงานสารสนเทศเสร็จ เดียวคืออ่านข้อความและเปิดคู่มือดูความสอดคล้องของ เรียบร้อยแล้วซึ่งคณะกรรมการได้สรุป และเลือกแนวทาง เนื้อหา อีกทั้งในแผนการจัดการเรียนรู้นั้นจะมีส่วนท้ายที่ เป็นบันทึกการตรวจสอบของผู้บริหาร และบันทึกหลัง ในการพัฒนาระบบงานขึ้นใหม่ การเรียนรู้/สอน ทําให้เมื่อต้องการรายงานสรุปการสอน ขั้นตอน Requirement Collection and Analysis ผู้สอนจะต้องจัดพิมพ์และรวบรวมจัดหมวดสาระ ทําให้ จากการจัดเก็บรวบรวมความต้องการด้านต่าง ล่าช้าต่อการเขียนรายงาน ซึ่งมีความสําคัญมากต่อการ นําไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ๆ จากผู้ใช้ สามารถสรุปความต้องการของผู้ใช้ดังนี้ 1.ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิชาการของ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ การดํ า เนิ น งานของ สถานศึ ก ษา ได้ แ ก่ หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น ระบบงานเดิม ประกอบด้วย พื้นฐานพุทธศักราช 2551 และคู่มือการจัดการเรียนรู้ 1.การจัด เก็บ เอกสารแผนจั ดการเรีย นรู้อยู่ใ น กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การงานอาชี พ และเทคโนโลยี รู ป แบบของกระดาษ หรื อ เอกสารอิ เ ลคทรอนิ ก ส์ ใ น สารสนเทศ รูปแบบของไฟล์เวอร์ดโปรเซสซิง


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

8

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

2.การจัด เก็ บกระจัด กระจาย และต้ องสํา เนา ผู้บริหาร+บันทึกหลังการเรียนรู้/สอน {[ผลการเรียนรู้/สอน จัดเก็บเพิ่มเติม ทําให้สิ้นเปลืองงบประมาณ + ปัญหา/อุปสรรค+ ข้อเสนอแนะ]} 3.ผู้บริหาร ผู้สอนใช้เวลาการค้นหา และสืบค้น หมวดสาระการเรียนรู้ นาน ทํ า ให้ ไ ม่ ส ะดวกต่ อ การนํ า มาวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล กลุ่มสาระการเรียน {[ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, สารสนเทศ วิทยาศาสตร์,...]} + สาระที่ = {สร.1,2,…} + มาตรฐาน {[ท. 1.1,ท1.2, …]+[ค.1.1, ค.1.2, …] ความต้อการของระบบที่จะพัฒนาขึ้นใหม่ 1.ระบบสามารถจั ด เก็ บ อยู่ ใ นรู ป แบบระบบ ขั้นตอนการออกแบบ (Design) ฐานข้อมูล และสรุปเป็นข้อมูลสารสนเทศได้รวดเร็ว เป็น จากรายละเอียดของความต้องการที่ระบุข้างต้น ปัจจุบัน จะถูกนํามาออกแบบระบบงานใน 2 ส่วนคือ ส่วนประมวล 2.ระบบสามารถกําหนดระดับความปลอดภั ย ผลต่ างๆ และส่ วนของข้ อมู ล แต่ เนื่ องจากในบทความนี้ ของผู้ใช้แต่ละระดับ เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ดังนั้น จึงจะกล่าวถึงเฉพาะ การออกแบบในส่วนของข้อมูล หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ ข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในระบบ ประกอบด้วย การออกแบบฐานข้อมูล ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ การ ใบมอบรายวิชาที่สอน จะประกอบด้วยข้อมูล ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual, Logical และ ต่าง ๆ คือ Physical ภาคเรียนที่ + ปีการศึกษา + งานในหน้าที่ การออกแบบในระดับ Conceptual ปัจจุบัน + วิชาที่สอน = {วิชาที่ 1, 2, …,} + {[รหัสวิชา ในขั้นตอนนี้ ผู้ออกแบบฐานข้อมูล จะนําเอาความ + ชั้น + คาบ/สัปดาห์]} + รวมจํานวนคาบ/สัปดาห์ ต้องการต่าง ๆ ของผู้ใช้ มากําหนดโครงร่างเริ้มต้นในระดับ ครูผู้สอน จะประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ คือ แนวคิด ซึ่งเมื่อใช้วิธีของ Data Perspective จะสามารถ ประวัติส่วนตัว กําหนด Entity หลัก ๆ ของระบบได้ดังนี้ สังกัดฝ่าย ชื่อ + นามสกุล เพศ สัญชาติ เชื้อ -Entity “TEACHING” กําหนดขึ้นสําหรับแทน ชาติ ศาสนา วันเดือนปีเกิด ชื่อบิดา + ชื่อมารดา ใบสั่งซื้อ เนื่องจากใบสั่งซื้อเป็นทั้งขั้นตอน และเอกสารที่ หน้าที่และความรับผิดชอบ สําคัญต่อระบบงาน โดยกําหนดให้ Entity นี้มี identity ทํา ฝ่าย [บริหาร | ฝ่ายปฏิบัติการ สอนหมวด/ กําหนดขึ้นจาก Property เลขที่ใบสั่งงาน (TeachingID) สาระ….. | ฝ่าย สนับสนุนการสอน] + ชื่อ + นามสกุล + เนื่องจากใบมอบงานแต่ละใบ จะต้องมีเลขที่ใบสั่งงานไม่ซ้ํา {หน้าที่พิเศษ 1, 2, …} กัน แผนจัดการเรียนรู้ จะประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ -Entity “HEAD” กําหดขึ้นเนื่องจากการ Entity คือ “LIGITIMATE” จะต้องมี HeadID เป็นผู้กําหนดให้กับ กลุ่มสาระกาเรียนรู้ + ช่วงชั้นที่ ={ ป.1, 2, …} + Entity “TEACHER” ในส่วนของ TeacherID รับงานสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ={นก.1, 2, …} + เวลา/ชั่วโมง + หน่วย ในหมวดวิชา สาระการเรียนรู้ รายวิชา และชั้นปี ย่อยที่ ={นย.1, 2, …} + เวลา/ชัว่ โมง + แผนจัดการเรียนรู้ -Entity “TEACHER” กําหนดขึ้นแทนผู้สอนของ ที่ ={ผก.1, 2, …} + มาตรฐาน1 = {ง. 1.1, 1.2, …} + สถานศึกษา เนื่องจากผู้ใช้ต้องการให้จัดเก็บไว้ในการพัฒนา มาตรฐาน2 = {ง. 2.1, 2.2, …} + ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง + ระบบคอมพิ ว เตอร์ ท างด้ า นอื่ น ต่ อ ไปในอนาคต โดย สาระการเรียนรู้ + กระบวนการจัดการเรียนรู้ + สื่อและ กํ าหนดให้ Entity นี้ มี Identity ที่ กํ าหนดขึ้ นจาก อุปกรณ์การเรียนรู้ = {ส.1,2,…} + แหล่งการเรียนรู้ = Property รหัสพนักงาน (TeacherID) เนื่องจากผู้สอนแต่ {ล.1,2, …} + วิธีการประเมิน + บันทึกการตรวจสอบของ ละคน จะต้ องมี ร หั ส พนั ก งานที่ ไม่ ซ้ํ า กั น และจากการ กําหนด Entity นี้ จึงส่งผลให้ต้องกําหนด Relationship


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

“TEACH_BY” ขึ้น เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง Entity “TEACHER” และ “LEGITIMATE” เพื่อแสดงว่ า ใบสั่งงานนั้นออกโดยหัวหน้าหมวดคนใด -Entity “LESSONPLAN” กํ าหนดขึ้ น แทน เอกสารแผนจัดกาเรียนรู้ เนื่องจากผู้ใช้ คือ ผู้สอน หัวหน้า หมวด ผู้อํานวยการ สามารถเรียกสืบค้นแผนฯ ได้รวดเร็ว ถู กต้ อง และต้ องการให้ จั ดเก็ บรายละเอี ยดการจั ดการ เรียนรู้ เพื่อมาวิเคราะห์ แนวการสอนของผู้ สอนแต่ละคน โดยกําหนดให้ Entity นี้ มี Identity ที่กําหนดขึ้นจาก

Lesso

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

9

Property รหั สแผนจั ดการเรี ยนรู้ (LESONPLAN_ID) เนื่ องจากแผนของผู้ สอนแต่ ละแผนจะไม่ ซ้ํ าและจากการ กําหนด Entity นี้ จึงส่งผลให้ต้องกําหนด Relationship “TEACHER_ID” ขึ้น เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง Entity “TEACHER” เพื่อแสดงว่า แผนจัดการเรียนรู้ ใบสั่ง งานนั้นออกโดยหัวหน้าหมวดคนใด

Teacher ID

Teach

LESSO N

FOR

Teach

Teaching แผนภาพ E-R

TEACH ER

สําหรับแผนภาพ E-R นี้ เนื่องจากแต่ละ Entity ประกอบด้วย Property จํานวนมาก จึงแสดงเฉพาะ Property ที่ทําหน้าที่เป็น Identity เท่านัน้ -Entity “LESSONPLAN” ประกอบด้วย Property ต่าง ดังนี้ ชื่อ Field

รายละเอียด

LessonID

รหัสแผน

No

แผนจัดการเรียนรู้ที่

Objective

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

Procedure

กระบวนการจัดการเรียนรู้

Media

สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้

Resource

แหล่งเรียนรู้

Evaluate

วิธีการประเมิน

Note1

บันทึกการตรวจสอบของผู้บริหาร

Note2

บันทึกหลังการเรียนรู/้ สอน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

10

-Entity “Content” ประกอบด้วย Property ต่าง ดังนี้ ชื่อ Field

รายละเอียด

ContentID

กลุ่มสาระการเรียนรู้

Level

ช่วงชัน้ ที่

Unit

หน่วยการเรียนรู้

UHour

เวลา/ชั่วโมง

Subunit

หน่วยย่อยที่

SUHour

เวลา/ชั่วโมง

Standard1

มาตรฐาน1

Standard2

มาตรฐาน2

Content

สาระการเรียนรู้

-Entity “TEACHING” ประกอบด้วย Property ต่าง ดังนี้ ชื่อ Field

รายละเอียด

TeachID

รหัสใบมอบงานสอน

Term

ภาคเรียนที่

Year

ปีการศึกษา

SubjectCode

วิชาทีส่ อน

SubjectCode

รหัสวิชา

Class

ชั้น

Hour

คาบ

Week

สัปดาห์


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

11

-Entity “TEACHER” ประกอบด้วย Property ต่าง ดังนี้ ชื่อ Field

รายละเอียด

TeacherID

รหัสประจําตัว

FirstName

ชื่อ

LastName

นามสกุล

Gender

เพศ

Religion

ศาสนา

Birthdates

วัน เดือน ปีเกิด

Section

สังกัดฝ่าย

Job

งานในหน้าทีป่ ัจจุบัน

Overwork

หน้าที่พิเศษ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

12

จาก Entity และ Relationship ที่ได้จากการ โครงร่างเริ่มต้นที่กําหนดไว้ในเบือ้ งต้นของการออกแบบ ทํา Normalization สามาถนํามารวม (Merging) โดย ซึ่งจะทําให้ได้แผนภาพ E-R ที่สมบูรณ์ดังนี้ Media Procedure

Resource Evaluate

Objective

Level

Note1

LessonNo

ContentID

Note2

LessonID LessonPlan

M

Unit

GROUP_IN

1

SubUnit Content

Teaching

TeachID

Year

Term

Subject

TeacherID FirstName

M Teaching

M

Teach By

1

LastName Teacher

Gender Religion

SubjectCode

Hour

Class

Week

BirthDates Job Overwork

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Logical ในบทความนี้เน้นฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างข้อมูล แบบ Relational เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นจึงกําหนดให้ ฐานข้อมูลที่จะนํามาใช้งานกับระบบที่จะพัฒนาขึ้นนี้ เป็นฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างแบบ Relational จึงนําการ ออกแบบในระดับ Conceptual มาปรับปรุงโรงสร้างให้ สอดคล้องกับโครงสร้างข้อมูลของฐานข้อมูลที่มี โครงสร้างข้อมูลแบบ Relational โดยมีขั้นตอน คือ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างในรูปแบบ Generalization Hierachy นําโครงร่างมารวมกัน โดยกําจัด Composite Attribute หรือ Composite Property กําจัด Multivalued Attribute หรือ Multi-valued Property และ กําจัดโครงสร้างแบบ Weak Entity ขั้นตอนสุดท้าย กําหนด Primary Key ให้กับแต่ละ Relation หรือ Table

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Physical หลังจากปรับปรุงโครงสร่างจนมีโครงสร้างที่ สอดคล้องกับฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างข้อมูลแบบ Relational เรียบร้อยแล้ว จะต้องนําโครงร่างนัน้ มา ปรับปรุงให้มีโครงสร้างที่สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ทางด้าน ฐานข้อมูล ที่เลือกมาใช้งาน ซึ่งในบทความนี้ ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Access ซึ่งจากโครงร่างที่ได้จาก การออกแบบ สามารถนําได้กําหนดรายละเอียดต่างๆ ได้ ดังนี้ 1.กําหนดประเภท และขนาดข้อมู ล แต่ล ะ Table จะมีโครสร้างทางกายภาพ 2.กําหนดกฎ Entity Integrity ข้อมูลในแต่ละ Attribute หรือ Property จะต้องมีค่าเป็นไปตาม ขอบเขตที่กําหนด


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คอเหล็ด หะยีสาอิ

13

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฏาคม-ธั น วาคม 2554 การพั ฒ นาระบบสารสนเทศ...

3.กําหนดกฎ Referential Integrity ข้อมูลใน สามัญศึกษา, กรม. 2538. การจัดระบบสารสนเทศของ แต่ละ Table จะมีความสัมพันธ์กันตาม Key ต่าง ๆ โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา สั ง กั ด กรมสามั ญ ศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมสามัญศึกษา. เอกสารอ้างอิง สามัญศึกษา, กรม. 2544. คู่มือการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรี ย นรู้ ก ารงานอาชี พ และ เทคโนโ ลยี . กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. 2551. หลั ก สู ต รแกนกลาง กรุ ง เทพฯ. โรงพิ ม พ์ องค์ ก ารรั บ ส่ ง สิ น ค้ า และ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช. กรุงเทพฯ พัสดุภัณฑ์ (ร.ส.ภ) โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ สํ า นั ก งานการประถมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ . 2537. ระบบ ไทยจํากัด. สารสนเทศและแนวปฏิ บั ติ ใ นการจั ด ระบบ เกรี ย งศั ก ดิ์ พราวศรี ภาสกร เกิ ด อ่ อ น และคณะฯ. สารสนเทศ ระดับโรงเรียน. กรุงเทพฯ: มปพ. 2544. การจัดระบบสารสนเทศในการบริหาร โดยใช้ โรงเรี ย นเป็ น ฐาน เพื่ อ การประกั น สําลี รักสุทธิ์. 2548. แผนจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 2 คุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ. บุคพอยท์. (ป.5) ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพฯ หจก. รุ่งเรือง นิพ นธ์ เทศวงศ์. 2541. สภาพและปัญ หาการใช้ สาศน์การพิมพ์ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารของผู้บริหาร Planning โรงเรียน มัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา Emery, J.A. 1969.Organization วนกลาง. บัณฑิตวิทยาลัยการบริหารการศึกษา and Control System. New York:Macmillan. มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ พ ระราชบั ญ ญั ติ การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช 2542. (2542,สิงหาคม 14). ราชกิจจานุเบกษา.หน้า 32 – 34 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. 2542. ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 32 – 34 . วิ ช าการ,กรม. 2539. การพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล สารสนเทศของสถานศึกษา. คู่มือการพัฒนา โรงเรียนเข้าสู่ มาตรฐานการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. วิ ช าการ, กรม. 2539. การพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล สารสนเทศของสถานศึกษา. คู่มือการพัฒนา โรงเรียนเข้าสู่มาตรฐานการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. วิชาการ,กรม. 2544. การประกันคุณ ภาพการศึกษา ภายในสถานศึ ก ษา ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน. กรุ ง เทพฯ สํ า นั ก งานทดสอบทาง การศึกษา. วีระ สภากิจ. 2539. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการจากทฤษฎีสู่ภาคการปฏิบัติในโรงเรียน. กรุงเทพฯ. สุจีริยาสาส์น.



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

15

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

Article Application of Isolated Letters of the Qur’an to Teaching Muhamassakri Manyunu* * Lecturer, Department of Teaching Profession, Faculty of Liberal Arts and Social Science, Yala Islamic University Abstract The Qur’an is the main reference source of knowledge throughout Islam history. In the Book, everything essential to human beings is described. Its content covers various sciences: belief principles, religious practices, daily life activity, science, history, education, etc. Divine teachings in the Qur’an are various in types and methods appropriate to necessity and human cognitive capability. This paper aims to put forward recommendations for applying Quranic isolated letters to teaching. It is apparent that a divine technique of isolated letters in the Qur’an for teaching human beings is effective. A great number of people willingly convert to Islam through reading the Qur’an and realize the truth in it. The isolated letters in the beginning of some Surahs (chapter) is an instructional technique effectively attracting the audience to the truth according to the letters. This technique is an introduction stage successfully applied by the Prophet Muhammad (pbuh) to Islam propagation in the early period. As his followers, teachers are required to learn about and apply it to the class or anywhere. Keywords: the Qur’an, education, teaching


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

16

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

บทความวิชาการ การประยุกต์ใช้อักษรโดดในอัล-กุรอาน ในการจัดการเรียนการสอน มูฮามัสสกรี มันยูนุ* *อาจารย์ประจําสาขาวิชาชีพครู, คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ อัล-กุรอานถือเป็นแหล่งอ้างอิงของความรู้ที่สําคัญที่สุดของประวัติศาสตร์อิสลาม อัล-กุรอานได้ชี้แจงทุกสิ่ง ทุกอย่างที่จําเป็นสําหรับชีวิตมนุษย์ และมีเนื้อหาที่ครอบคลุมศาสตร์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักศรัทธา หลักปฏิบัติ ศาสนกิจ การดําเนินชีวิตประจําวัน องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ตลอดจนการศึกษาและอื่นๆ ในการ อบรมสั่งสอนมนุษย์นั้น อัล-กุรอานได้ใช้รูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับความจําเป็น ความสามารถทาง สติปัญญาของมนุษย์ บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้อักษรโดดในอัล-กุรอานในการ ดําเนินการสอน อัล-กุรอานได้ใช้อักษรโดด เช่น $Ο!9# (อะลิฟ ลาม มีม) มาใช้ในการอบรมสั่งสอนมนุษยชาติจากอดีต จนถึงปัจจุบันอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถโน้มน้าวพวกเขาให้เข้าสัจธรรมแห่งอิสลามนับไม่ถ้วน อัลลอฮฺ(ซ.บ)ได้ ประทานอัล-กุรอานแด่ท่านศาสดามูฮําหมัด(ซ.ล)เพื่อเผยแพร่สัจธรรมแก่มนุษยชาติบนโลก โดยไม่มีการแบ่งแยกชาติ พันธ์ใดชาติพันธ์หนึ่งเป็นการเฉพาะ การเริ่มบางซูเราะห์อัล-กุรอานด้วยอักษรโดดนับเป็นเทคนิคการสอนอย่างหนึ่งที่ สามารถเรียกความสนใจมนุษยชาติให้ยอมรับฟังสัจธรรมที่เอ่ยตามอักษรโดดนั้นๆ เทคนิคนี้เปรียบเสมือนขั้นนําในการ ดําเนินการเผยแพร่สัจธรรมที่นบีมูฮําหมัด(ซ.ล)ได้ใช้ในยุคเริ่มแรกของการเผยแผ่อิสลาม และประสบความสําเร็จด้วยดี ฉะนั้น ครูผู้สอนในฐานะผู้รับมรดกท่านศาสดาจําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเทคการเผยแผ่นี้มาเป็นแนวทางในการ ประยุกต์ใช้ในการดําเนินการสอนในห้องเรียนหรือสถานอื่นๆ ด้วยการเกริ่นเข้าสู่บทเรียน(ขั้นนํา)ทุกครั้งที่มีการเรียน การสอน แล้วจะประสบความสําเร็จดั่งเช่นท่านศาสดา คําสําคัญ: อัล-กุรอาน, ศึกษาศาสตร์, การจัดการเรียนการสอน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

บทนํา

Ο!9#ü(อะลิฟ

ลาม มีม), Èýϑ!9#(อะลิฟ ลาม มีม ศ็อด), !9#(อะลิฟ ลาม มีม), ýϑ!9#ü(อะลิฟ ลาม มีม รอ), Èÿè‹γ!2(ก็าฟ ฮา ยา อีน ศ็อด), µÛ(ตอฮา), Οû¡Û(ตอ ซีน มีม), §Û(ตอ ซีน), §ƒ(ยาซีน), É(ศ็ อด), Νm(ฮา มีม), X(ก็อฟ), χ(นูน) อั ก ษรดั่ ง กล่ า วมิ ใ ช่ เป็ น ศั พ ท์ ที่ ถู ก กํ า หนดให้ มี ความหมายดังเช่นคําอื่นๆ หากแต่เป็นอักษรโดดๆ ซึ่งถูก นํา มารวมกัน เพื่ อให้อ่า นออกสี ยงพยั ญชนะเหล่ า นี้ ต่อเนื่องกัน ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องอ่านออกเสียงคํานี้เป็น อักษณโดดๆว่า อะลิฟ ลาม มีม ตอฮา อื่นๆ ส่วนความ มุ่งหมายอันแท้จริงของคํานี้และคําอื่นๆที่คล้ายคลึงกัน เช่น อะลิฟ ลาม รอ เป็นต้นนั้น (อัลกรุอานแปลไทย) อัลลอฮฺ(ซ.บ)ทรงประทานซูเราะห์ต่างในอัลกุ รอานไว้ทั้งหมด 114 ซูเราะห์ ในจํานวนนี้มี 29 ซูเราะห์ ที่เริ่มต้นด้วยอักษรโดด ซึ่งประกอบไปด้วย 14 อักษร ด้ ว ยกั น จํ า นวนนี้ เ ท่ า กั บ ครึ่ ง หนึ่ ง ของจํ า นวนอั ก ษร อาหรั บ ซึ่ ง เราสามารถรวบรวมในรู ป ของประโยค (‫ ) ﻧﺺ ﺣﻜﻴﻢ ﻗﺎﻃﻊ ﻟﻪ ﺳﺮ‬อักษรโดดดั่งกล่าวถูกบันทึกไว้ หน้าซูเราะห์ต่างๆไว้ทั้งหมด 29 ซูเราะห์ด้วยกัน อักษร โดดดั่งกล่าวจะปรากฏหน้าซูเราะห์ต่างๆในลักษณะ หนึ่ง ตัวอักษร สองตัวอักษร สามตัวอักษร สี่ตัวอักษร และห้า ตัวอักษร ดั่งรายละเอียดต่อไปนี้ 1.ซูเราะห์อัล-บากอเราะห์ ‫( ﺍﱂ‬อะลีฟ ลาม มีม) ¡ ϵ‹Ïù ¡ |=÷ƒu‘ Ÿω Ü=≈tGÅ6ø9$# y7Ï9≡sŒ ∩⊇∪ $Ο!9#

∩⊄∪ zŠÉ)−Fßϑù=Ïj9 “W‰èδ

ความว่า: อะลิฟ ลาม มีม คัมภีร์นี้ ไม่มีความ สงสัยใด ๆ ในนั้น เป็นคําแนะนําสําหรับบรรดาผู้ยําเกรง เท่านั้น 2.ซูเราะห์อัล-อิมรอน ‫( ﺍﱂ‬อะลีฟ ลาม มีม)

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

17

มีม ศอด)

3.ซูเราะห์อัล-อะอฺรอฟ ‫( ا‬อะลีฟ ลาม

ä3tƒ Ÿξsù y7ø‹s9Î) tΑÌ“Ρé& ë=≈tGÏ. ∩⊇∪ üÈýϑ!9# ϵÎ/ u‘É‹ΖçFÏ9 çµ÷ΖÏiΒ Ólt ym x8Í‘ô‰|¹ ’Îû ∩⊄∪ šÏΨÏΒ÷σßϑù=Ï9 3“t ø.ÏŒuρ

ความว่า : อะลีฟ ลาม มีม ศอด มีคั มภีร์ ฉบั บ หนึ่ง ซึ่งถูกประทานลงมาแก่เจ้า ดังนั้นจงอย่าให้ความอึด อัดเนื่องจากคัมภีร์นั้นมีอยู่ในหัวอกของเจ้า ทั้งนี้เพื่อเจ้า จะได้ใช้คัมภีร์นั้นตักเตือน(ผู้คน) และเพื่อเป็นข้อเตือนใจ แก่ผู้ศรัทธาทั้งหลาย 4.ซูเราะห์ยูนุส ‫( ﺍﻟﺮ‬อะลีฟ ลาม รอ) ∩⊇∪ ÉΟ‹Å3ptø:$# É=≈tGÅ3ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? 4 !9#

4’n<Î) !$uΖø‹ym÷ρr& ÷βr& $ 6yftã Ĩ$¨Ζ=Ï9 tβ%x.r&

Î Åe³o0uρ }¨$¨Ζ9$# Í‘É‹Ρr& ÷βr& öΝåκ÷]ÏiΒ 9≅ã_u‘

A−ô‰Ï¹ tΠy‰s% óΟßγs9 ¨βr& (#þθãΖtΒ#u šÏ%©!$#

āχÎ) tβρã Ï(≈x6ø9$# tΑ$s% 3 öΝÍκÍh5u‘ y‰ΨÏã ∩⊄∪ îÎ7•Β Ö Ås≈|¡s9 #x‹≈yδ

ความว่ า : อะลิ ฟ ลาม รอ เหล่ า นี้ คื อบรรดา โองการ แห่งคัมภีร์ที่ชัดแจ้ง เป็นการประหลาดแก่มนุษย์ หรือ ที่เราได้ให้วะฮีย์แก่ชายคนหนึ่งจากพวกเขา ให้ เตือนสําทับมนุษย์ และแจ้งข่าวดีแก่บรรดาผู้ศรัทธาว่า แท้จริงสําหรับพวกเขานั้น จะได้รับตําแหน่งอันสูง ณ ที่ พระเจ้ า ของพวกเขา บรรดาผู้ ป ฏิ เสธศรั ท ธากล่ า วว่ า “แท้จริงนี่คือนักมายากลอย่างแน่นอน” 5.ซูเราะห์ฮูด ‫( ﺍﻟﺮ‬อะลีฟ ลาม รอ) ôMn=Å_Áèù §ΝèO …çµçG≈tƒ#u ôMyϑÅ3ômé& ë=≈tGÏ. 4 !9# (#ÿρ߉ç7÷ès? āωr& ∩⊇∪ A Î7yz AΟŠÅ3ym ÷βà$©! ÏΒ ∩⊄∪ × Ï±o0uρ Ö ƒÉ‹tΡ çµ÷ΖÏiΒ /ä3s9 Í_‾ΡÎ) 4 ©!$# āωÎ)

ความว่ า : อะลี ฟ ลาม รอ คั ม ภี ร์ ที่ โ องการ ทั้งหลายของมันถูกทําให้รัดกุมมีระเบียบ แล้วถูกจําแนก ∩⊄∪ ãΠθ•‹s)ø9$# ÷‘y⇔ø9$# uθèδ āωÎ) tµ≈s9Î) Iω ª!$# ∩⊇∪ $Ο!9# เรื่องต่างๆ อย่างชัดแจ้ง จากพระผู้ทรงปรีชาญาณ ผู้ทรง ความว่า: อะลิฟ ลาม มีม อัลลอฮ์นั้นคือ ไม่มีผู้ รอบรู้ เ ชี่ ย วชาญเพื่ อ พวกท่ า นต้ อ งไม่ เ คารพภั ก ดี ผู้ ใ ด ที่เป็นที่เคารพสักการะใดๆ นอกจากพระองค์เท่านั้น ผู้ นอกจากอัลลอฮ์ แท้จริงฉันได้รับการแต่งตั้งจากพระองค์ มายังพวกท่าน เพื่อเป็นผู้ตักเดือนและผู้แจ้งข่าว ทรงมีชีวิตอยู่เสมอ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

18

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

ความว่ า : อะลิ ฟ ลาม รอ คั ม ภี ร์ ที่ เ ราได้ ประทานลงมาแก่เจ้า เพื่อให้เจ้านํามนุษย์ออกจากความ 6.ซูเราะห์ยูซุฟ ‫( ا‬อะลีฟ ลาม รอ) มืดมนทั้งหลายสู่ความสว่างด้วยอนุมัติของพระเจ้าของ !$‾ΡÎ) ∩⊇∪ ÈÎ7ßϑø9$# É=≈tGÅ3ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? 4 !9# พวกเขาสู่ ท างของพระผู้ เ ดชานุ ภ าพ ผู้ ท รงได้ รั บ การ ∩⊄∪ šχθè=É)÷ès? öΝä3‾=yè©9 $wŠÎ/t tã $ºΡ≡uö è% çµ≈oΨø9t“Ρr& ความว่า: อะลีฟ ลาม รอ เหล่านี้คือโองการ สรรเสริญ คือ ทางของอัลลอฮ ซึ่งสิ่งที่อยุ่ในชั้นฟ้า ทั้งหลายแห่งคัม ภีร์ที่ ชัดแจ้ง แท้จริ งพวกเราได้ใ ห้อัล กุ ทั้งหลายและสิ่งที่อยู่ในแผ่นดิน เป็นของพระองค์และ รอานแก่เขาเป็นภาษาอาหรับ เพื่อพวกเจ้าจะใช้ปัญญา ความหายนะจากการลงโทษอย่างสาหัส จงประสบแก่ พวกปฏิเสธศรัทธา คิด 9.ซูเราะห์อัล-ฮิจรฺ ‫( ﺍﻟﺮ‬อะลิฟ ลาม รอ) 7.ซูเราะห์อัรเราะอฺดฺ ‫( ﺍﳌﺮ‬อะลีฟ ลาม มีม รอ) tΑÌ“Ρé& ü“Ï%©!$#uρ 3 É=≈tGÅ3ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? 4 ýϑ!9#

u sYò2r& £Å3≈s9uρ ‘,ysø9$# y7Îi/¢‘ ÏΒ y7ø‹s9Î)

yìsùu‘ “Ï%©!$# ª!$# ∩⊇∪ tβθãΖÏΒ÷σムŸω Ĩ$¨Ζ9$#

3“uθtGó™$# §ΝèO ( $pκtΞ÷ρt s? 7‰uΗxå Î ö tóÎ/ ÏN≡uθ≈uΚ¡¡9$#

( t yϑs)ø9$#uρ }§ôϑ¤±9$# t ¤‚y™uρ ( ĸö yèø9$# ’n?tã t øΒF{$# ã În/y‰ãƒ 4 ‘wΚ|¡•Β 9≅y_L{ “Ì øgs† @≅ä.

öΝä3În/u‘ Ï!$s)Î=Î/ Νä3‾=yès9 ÏM≈tƒFψ$# ã≅Å_Áx(ム∩⊄∪ tβθãΖÏ%θè?

&Î7•Β 5β#uö è%uρ É=≈tGÅ6ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? 4 !9# (#θçΡ%x. öθs9 (#ρã x(Ÿ2 tÏ%©!$# –Šuθtƒ $yϑt/•‘ ∩⊇∪ ∩⊄∪ tÏϑÎ=ó¡ãΒ

ความว่า: อะลิฟ ลาม รอ เหล่านี้คือโองการ ทั้งหลายแห่งคัมภีร์ และเป็นกรุอานอันชัดแจ้งบรรดาผู้ ปฏิเสธศรัทธาหวังกันว่า หากพวกเขาได้เป็นมุสลิม 10.ซูเราะห์มัรยัม ‫( ﻛﻬﻌﺺ‬กาฟ ฮา ยา อีน ซอด) …çνy‰ö7tã y7În/u‘ ÏMuΗ÷qu‘ ã ø.ÏŒ ∩⊇∪ üÈÿè‹γ!2 ∩⊄∪ !$−ƒÌ Ÿ2y—

ความว่า: อะลีฟ ลาม มีม รอ เหล่านี้คือบรรดา ความว่า: กาฟ ฮา ยา อีน ศอด นี่คือ การกล่าวถึง โองการแห่งคัมภีร์ และสิ่งที่ได้ถูกประทานลงมาแก่เจ้า เมตตาธรรมแห่งพระเจ้าของเจ้า ที่มีต่อซะกะรียาบ่าวของ จากพระเจ้าของเจ้านั้นเป็นสัจธรรม และแต่ส่วนมากของ พระองค์ มนุษย์ไม่ศรัทธา อัลลอฮฺคือผู้ทรงยกชั้นฟ้าทั้งหลายไว้โดย 11. ซูเราะห์ฏอฮา ‫( ﻃﻪ‬ฏอ ฮา) ปราศจากเสาค้ําจุน ซึ่งพวกเจ้ามองเห็นมัน แล้วทรง ∩⊄∪ #’s+ô±tFÏ9 tβ#uö à)ø9$# y7ø‹n=tã $uΖø9t“Ρr& !$tΒ ∩⊇∪ µÛ สถิตย์อยู่บนบัลลังก์ และทรงให้ดวงอาทิตย์และดวง จันทร์เป็นประโยชน์ (แก่มนุษย์) ทุกสิ่งโคจรไปตามวาระ ความว่า: ฏอ ฮา เรามิได้ให้อัลกุรอานลงมาแก่ ที่ได้กําหนดไว้ ทรงบริหารกิจการทรงจําแนกโองการ เจ้า เพื่อให้เจ้าลําบาก ทั้งหลายให้ชัดแจ้ง เพื่อพวกเจ้าจะได้เชื่อมั่นในการพบ 12.ซูเราะห์อัชชุอะรออฺ ‫( ﻃﺴﻢ‬ฏอ ซีน มีม) พระเจ้าของพวกเจ้า ∩⊄∪ ÈÎ7ßϑø9$# É=≈tGÅ3ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? ∩⊇∪ $Οû¡Û 8.ซูเราะห์อิบรอฮีม ‫( ﺍﻟﺮ‬อะลิฟ ลาม รอ) ความว่ า : ฏอ ซี น มี ม เหล่ า นี้ คื อ โองการ zÏΒ }¨$¨Ζ9$# ylÌ ÷‚çGÏ9 y7ø‹s9Î) çµ≈oΨø9t“Ρr& ë=≈tGÅ2 4 !9# ทั้งหลายอันชัดแจ้ง Í“ƒÍ“yèø9$# ÅÞ≡u ÅÀ 4’n<Î) óΟÎγÎn/u‘ ÈβøŒÎ*Î/ Í‘θ–Ψ9$# ’n<Î) ÏM≈yϑè=—à9$# 13.ซูเราะห์อันนัมลฺ ‫( ﻃﺲ‬ฏอ ซีน) ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# †Îû $tΒ …ã&s! “Ï%©!$# «!$# ∩⊇∪ ω‹Ïϑptø:$# 5>#x‹tã ôÏΒ šÌ Ï(≈s3ù=Ïj9 ×≅÷ƒuρuρ 3 ÇÚö‘F{$# ’Îû $tΒuρ

∩⊄∪ >‰ƒÏ‰x©

5>$tGÅ2uρ Èβ#uö à)ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? 4 û§Û ∩⊄∪ tÏΖÏΒ÷σßϑù=Ï9 3“u ô³ç/uρ “W‰èδ ∩⊇∪ AÎ7•Β


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

19

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

ความว่า: ฏอ ซีน เหล่านี้คือโองการทั้งหลาย 20.ซูเราะห์ศอด ‫( ﺹ‬ศอด) ของอัร กุรอาน และคั มภีร์อันชัดแจ้ง เป็นแนวทางที่ (#ρã x(x. tÏ%©!$# È≅t/ ∩⊇∪ Ì ø.Ïe%!$# “ÏŒ Éβ#uö à)ø9$#uρ 4 üÉ ถูกต้อง และข่าวดีสําหรับบรรดาผู้ศรัทธา ∩⊄∪ 5−$s)Ï©uρ ;﨓Ïã ’Îû 14.ซูเราะห์อัลเกาะศ็อศ ‫( ﻃﺴﻢ‬ฏอ ซีน มีม) ความว่า: ศอด ขอสาบานด้วยอัลกุรอานที่เป็น ∩⊄∪ ÈÎ7ßϑø9$# É=≈tGÅ3ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? ∩⊇∪ $Οû¡Û เครื่ องเตื อนสติ แต่ ว่า บรรดาผู้ป ฏิเสธศรัท ธาอยู่ ในการ ความว่า: ฏอ ซีน มีม เหล่านี้คือโองการ หยิ่งผยองและการแตกแยก ทั้งหลายอันชัดแจ้ง 21.ซูเราะห์ฆอฟิร ‫( ﺣﻢ‬ฮา มีม) 15.ซูเราะห์อัลอังกะบูต ‫( ﺍﱂ‬อะลีฟ ลาม มีม) (#þθä9θà)tƒ βr& (#þθä.u øIムβr& â¨$¨Ζ9$# |=Å¡ymr&

∩⊇∪ $Ο!9#

∩⊄∪ tβθãΖtFø(ムŸω öΝèδuρ $¨ΨtΒ#u

Í“ƒÍ“yèø9$# «!$# zÏΒ É=≈tGÅ3ø9$# ã≅ƒÍ”∴s? ∩⊇∪ üΝm

∩⊄∪ ÉΟŠÎ=yèø9$#

ความว่า:รู้ ฮา มีม คัมภีร์นี้เป็นการประทานลง ความว่า: อะลิฟ ลาม มีม มนุษย์คิดหรือว่า มาจากอัลลอฮฺ ผู้ทรงอํานาจ ผู้ทรงรอบ พวกเขาจะถูกทอดทิ้งเพียงแต่พวกเขากล่าวว่าเราศรัทธา 22.ซูเราะห์ฟุศศิลัต ‫( ﺣﻢ‬ฮา มีม) และพวกเขาจะไม่ถูกทดสอบกระนั้นหรือ? ∩⊄∪ ÉΟŠÏm§ 9$# Ç≈uΗ÷q§ 9$# zÏiΒ ×≅ƒÍ”∴s? ∩⊇∪ $Οm 16.ซูเราะห์อัรรูม ‫( ﺍﱂ‬อะลีฟ ลาม มีม) ความว่า: ฮา มีม อัลกุรอานนี้ เป็นการประทาน ∩⊄∪ ãΠρ” 9$# ÏMt7Î=äñ ∩⊇∪ $Ο!9# ลงมาจากพระผู้ทรงกรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตาเสมอ ความว่า: อะลิฟ ลาม มีม พวกโรมันถูกพิชิต 23.ซูเราะห์ อัช ชูร อ ‫( ﺣﻢ * ﻋﺴﻖ‬ฮา มี ม * อัย นฺ ซี น แล้ว ก๊อฟ) 17.ซูเราะห์ลุกมาน ‫( ﺍﱂ‬อะลีฟ ลาม มีม) ∩⊄∪ ÉΟ‹Å3ptø:$# É=≈tGÅ3ø9$# àM≈tƒ#u y7ù=Ï? ∩⊇∪ $Ο!9#

y7ø‹s9Î) ûÇrθムy7Ï9≡x‹x. ∩⊄∪ ý,û¡ÿã ∩⊇∪ $Οm ∩⊂∪ ÞΟŠÅ3ptø:$# Ⓝ͓yèø9$# ª!$# y7Î=ö7s% ÏΒ tÏ%©!$# ’n<Î)uρ

ความว่า: อะลิฟ ลาม มีม เหล่านั้นคือบรรดาอา ความว่า: ฮา มีม อัยนฺ ซีน ก๊อฟ เช่นนั้นแหละ ยาตแห่งคัมภีร์ที่ชัดแจ้ง ได้มีวะฮียฺมายังเจ้าและมายังบรรดา(ร่อซูล)ก่อนหน้าเจ้า 18.ซูเราะห์อัซญดะฮฺ ‫( ﺍﱂ‬อะลีฟ ลาม มีม) อัลลอฮฺผู้ทรงอํานาจ ผู้ทรงปรีชาญาณ Éb>§‘ ÏΒ ÏµŠÏù |=÷ƒu‘ Ÿω É=≈tGÅ6ø9$# ã≅ƒÍ”∴s? ∩⊇∪ $Ο!9# 24.ซูเราะห์อัซซุครุฟ ‫( ﺣﻢ‬ฮา มีม) ∩⊄∪ tÏϑn=≈yèø9$#

ความว่า: อะลิฟ ลาม มีม การประทานลงมา ของคัมภีร์นี้ไม่มีข้อสงสัยใดๆในนั้นจากพระเจ้าแห่งสากล โลก แจ้ง 19.ซูเราะห์ยาซีน (ยา ซีน) ∩⊄∪ ÉΟ‹Å3ptø:$# Éβ#uö à)ø9$#uρ ∩⊇∪ û§ƒ

ความว่า:ยา ซีน ขอสาบานด้วยอัลกุรอานที่มี คําสั่งอันรัดกุม แจ้ง

∩⊄∪ ÈÎ7ßϑø9$# É=≈tGÅ3ø9$#uρ ∩⊇∪ Ν ü m

ความว่า: ฮา มีม ขอสาบานด้วยคัมภีร์อันชัด 25.ซูเราะห์อัดดูคอน ‫( ﺣﻢ‬ฮา มีม) ∩⊄∪ ÈÎ7ßϑø9$# É=≈tGÅ6ø9$#uρ ∩⊇∪ üΝm

ความว่า: ฮา มีม ขอสาบานด้ วยคั มภีร์ อันชั ด


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

20

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

ความหมายของอักษรโดดเป็นที่ไม่ทราบกัน (ตัฟวีฎฺ) ทรรศนะนี้ มองว่ า การมอบหมายหน้ า ที่ นี้ Í“ƒÍ“yèø9$# «!$# zÏΒ É=≈tGÅ3ø9$# ã≅ƒÍ”∴s? ∩⊇∪ üΝm (ตีความหมาย)ต่ออัลลอฮฺ(ซ.บ)เป็นเรื่องที่ดีที่สุด และการ ∩⊄∪ ÉΟ‹Å3ptø:$# เงี ย บเสงี่ ย มตั ว ย่ อ มดี ก ว่ า การกล่ า วบางสิ่ ง บางอย่ า ง ความว่า: ฮา มีม การประทานลงมาขอคัมภีร์นี้ ต่ออัล-กุรอานโดยปราศจากหลักฐานที่ชัดแจ้ง พวกเขา กล่ า วว่ า : แท้ จ ริ ง แล้ ว อั ก ษรโดดที่ ป รากฏหน้ า ซู เราะห์ จากอัลลอฮฺ ผู้ทรงอํานาจ ผู้ทรงปรีชาญาณ ต่า งๆนั้ น เป็ น ความหมายที่ อัล ลอฮฺ ( ซ.บ)ได้ ส งวนด้ ว ย 27.ซูเราะห์อัลอะฮฺก็อฟ ‫( ﺣﻢ‬ฮา มีม) ความรู้ของพระองค์เอง มันเป็นความเร้นลับของอัลลอฮฺ ในอั ล -กุ ร อาน ด้ ว ยเหตุ ดั่ ง กล่ า ว เราจะศรั ท ธาในสิ่ ง ที่ Í“ƒÍ•yèø9$# «!$# zÏΒ É=≈tGÅ3ø9$# ã≅ƒÍ”∴s? ∩⊇∪ üΝm ปรากฏหลั ก ฐานชั ด เจนเท่ า นั้ น และจะมอบหมาย ∩⊄∪ ÉΟ‹Å3ptø:$# ความหมายที่ แ ท้ จ ริง แด่ เพี ยงองค์ อัลลอฮฺ ( ซ.บ)เท่ า นั้ น ความว่ า : ฮา มี ม การประทานลงมาขอคั ม ภี ร์ นี้ ความหมายของอั ก ษรโดดเป็ น ที่ ไ ม่ ท ราบกั น อั ล ลอฮฺ จากอัลลอฮฺ ผู้ทรงอํานาจ ผู้ทรงปรีชาญาณ เท่านั้นเป็นผู้กําหนด (ฏอนฏอวีย์: 2471) 26.ซูเราะห์อัลญาซิยะฮฺ ‫( ﺣﻢ‬ฮา มีม)

28.ซูเราะห์ก็อฟ ‫( ﻕ‬ก็อฟ) ö≅t/

∩⊇∪ ω‹Éfyϑø9$# Éβ#uö à)ø9$#uρ 4 úX

tΑ$s)sù óΟßγ÷ΨÏiΒ Ö‘É‹Ψ•Β Νèδu!%y` βr& (#þθç6Ågx”

∩⊄∪ ë=‹Ågx” íóx« #x‹≈yδ tβρã Ï(≈s3ø9$#

ความว่ า : ก็ อ ฟ ขอสาบานด้ ว ยอั ล กุ ร อานอั น ทรงเกียรติ แต่ว่าพวกเขาประหลาดใจที่มีผู้ตักเตือนคน หนึ่งจากหมู่พวกเขามายังพวกเขา ดังนั้นพวกปฏิเสธ ศรัทธาจึงกล่าวว่า นี่มันเป็นเรื่องประหลาดจริงๆ 29.ซูเราะห์อัลกอลัม ‫( ن‬นูน) Ïπyϑ÷èÏΖÎ/ |MΡr& !$tΒ ∩⊇∪ tβρã äÜó¡o„ $tΒuρ ÉΟn=s)ø9$#uρ 4 úχ

∩⊄∪ 5βθãΖôfyϑÎ/ y7În/u‘

ความว่า: นูน ขอสาบานด้วยปากกา และสิ่งที่ พวกเขาขีดเขียน ด้วยความโปรดปรานแห่งพระเจ้าของ เจ้า เจ้ามิได้เป็นผู้เสียสติ ความหมายและจุดมุงหมาย บรรดานักปราชญ์มีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ต่ อ การให้ ค วามหมายอั ก ษรโดดในอั ล -กุ ร อาน เรา สามารถแบ่ ง ออกความคิ ด เห็ น ดั่ ง กล่ า วออกเป็ น 2 ทรรศนะด้วยกัน คือ

2.2 ความหมายของอักษรโดดเป็นที่ทราบกัน (ตะวีล) ทรรศนะนี้ ม องเห็ น ว่ า ความหมายอั ก ษรโดด ในอัล-กุรอานเป็นที่ทราบกัน แต่อัลลอฮฺเท่านั้นที่ทราบ นัก ปราชน์ พยายามสรุป และตี ค วามหมายอัก ษรโดดนี้ ออกเป็น 20 ทรรศนะย่อยๆ และในแต่ละเห็นพร้อม ต้องกันว่าอักษรโดดในอัล-กุรอานจะประกอบไปด้วย 14 อั ก ษรภาษาอาหรั บ (‫ ) ﻧﺺ ﺣﻜﻴﻢ ﻗﺎﻃﻊ ﻟﻪ ﺳﺮ‬และทุ ก ตัวอักษรนั้นเป็นส่วนหนึ่งของพระนามต่างๆของอัลลอฮฺ (ซ.บ) (อัล-มุวาฟาก็อต ลิชชาฏิบีย์ 3/396 และอัล-อิ ตกอน 3/24) อักษรโดดที่ปรากฏหน้าซูเราะห์ต่างๆในอัล-กุ รอานนั้ น มี เ จตนารมณ์ เ พื่ อ เชิ ญ ชวนมนุ ษ ย์ ไ ด้ ศ รั ท ธา ต่ออั ล -กุ ร อาน และเพื่ อเสริม สร้ า งความเข้ า ใจในหมู่ ผู้ ศรั ท ธาทั้ ง หลาย มนุ ษ ย์ ทั้ ง หลายไม่ ส ามารถค้ น หา จุดมุ่งหมายที่แท้จริงเว้นแต่อัลลอฮฺ(ซ.บ)เท่านั้น เพราะไม่ มีหลักฐานที่แน่ชัดจากอัล-กุรอาน วจนะท่านศาสดา การ เห็ น พ้ องกั นของเหล่ านั ก ปราชน์ หรื อแม้ กระทั่ ง แหล่ ง อ้างอิงภาษาอาหรับ นักปราชน์บาวท่านได้กล่าวว่า สาเหตุที่อัลลอฮฺ ได้เริ่มอัล-กุรอานด้วยอักษรที่มีลักษณะเฉพาะนี้เพื่อแสดง ถึง ความมหั ศ จรรย์ แ ละความยิ่ ง ใหญ่ ข องอั ล -กุ ร อานที่ มนุษย์ไม่สามรถทําได้ และมันเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึง ความยิ่งใหญ่ของผู้สร้าง และอัล-กุรอานเป็นรัฐธรรมนูญ ชีวิตสําหรับมนุษ ย์ทั่วโลกที่ไม่มี คนใดสามารถแต่งและ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

กล่ า วได้ เ สมื อ นอั ล -กุ ร อานของอั ล ลอฮฺ (อั ล -ซอบู นี ย์ : 2473) ไม่ มีใ ครสามารถเข้ าใจได้ เพราะท่า นนบีมู ฮํ า หมัดมิได้อธิบายไว้ แต่กระนั้นก็ยังมีนักปราชญ์บางท่าน พยายามหาความเข้ า ใจ โดยนํ า พยั ญ ชนะอื่ น ๆ มา ประกอบเพื่ อ ให้ มี ค วามหมายในการนี้ ย่ อ มทํ า ให้ ความหมายของแต่ละอักษรแตกต่างกันไป ซึ่งไม่เป็นที่ ยึดถือได้ ผู้รู้บางท่านบอกว่า นี้เป็นมหัศจรรย์อย่างหนึ่ง ที่อัลลอฮฺทรงประทานมาในอัล-กุรอาน คนอาหรับก่อน หน้าที่อิสลามจะถูกประทานลงมา พวกเขานิยมเจ้าบท เจ้ากลอนมาก ชอบเล่นคําเล่นภาษา และพวกเขานับถือ และเชื่อในสรรพสิ่ง ต่ า งๆ เช่ น ต้ น ไม้ ท่ อนไม้ หิ น ดิ น ทราย และอื่นๆ มีอํานาจทั้งสิ้นแล้วแต่จะเชื่อ แม้กระทั่ง อาหารการกินที่พวกเขาปั้นๆให้เป็นรูปคนแล้วกราบไหว้ บูชากัน เมื่ ออิสลามถู กประทานลงมาผ่านศาสทู ตที่ เป็ น ชาวบ้านธรรมดาที่ชื่อมูฮําหมัด มาบอกแก่พวกเขาว่า ผู้ที่มี อํานาจจริงๆนั้นคือพระผู้เป็นเจ้าอัลลอฮฺ ไม่ใช่พวกสรรพสิ่ง ที่พวกเขาเชื่อกัน ด้วยนิสัยที่ถูกครอบงําด้วยมารร้ายไชฏอน ก็จะต่อต้านทันที พวกเขาจะยึดมั่นอย่างยิ่งยวดกับการเป็น ผู้อนุรักษ์นิยม อะไรที่คนเก่าคนแก่ ปู่ย่าตาทวด เคยยึดถือ เคยเชื่ออย่างไร ก็จะตามเขา เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เมื่อบอก ว่าอัล-กุรอานนี้เป็นคําพูดของพระผู้เป็นเจ้าผู้มีอํานาจจริงๆ เขาจะเอามือปิดหูตัวเองหรือเอาผ้าคลุมทันที แต่ด้วยการที่ พวกเขานิยมเจ้าบทเจ้ากลอน นิยมการเล่นคํา การกล่าวใน สิ่งที่เขารู้สึกแปลกไม่เคยได้ยินแบบนี้มาก่อน เขาก็จะเปิดหู รับฟังทันที (ฟีซิลาลุ อัลกรุอาน 1/1) การประยุกต์ใช้ในการดําเนินการสอน ในการเริ่มซูเราะห์ด้วยอักษรโดดเหล่านี้นั้น ก็ เพื่อเป็นการเตือนเพื่อให้มีการเตรียมตัว เช่นเดียวกับ อะ ลา( ‫ )ﺃﻻ‬หรื อ ยา(‫ ) ﻳﺎ‬เป็น ต้น ทั้งนี้ ให้ผู้ ที่ได้ ยินเกิดความ สนใจ และเตรียมพร้อมที่จะฟังข้อความซึ่งจะกล่าวต่อไป แต่สําหรับในที่นี้มีความมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้ที่ได้ยินหันมา พิจารณาสิ่งที่อัลกุรอานจะแจ้งให้ทราบ และยังชี้ให้เห็น ถึงสํานวนโวหารที่ไม่อยู่ในวิสัยของมนุษย์ที่จะประพันธ์ ขึ้นมาได้ ตลอดจนเพื่อให้เป็นหลักฐานยืนยันแก่บรรดาผู้ ที่ได้รับคัมภีร์มาก่อน คือ พวกยาฮูด และนะซอรออีกด้วย

21

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

ว่า อัล-กุรอานนั้น หาใช่นบีมูฮําหมัดเป็นผู้ประพันธ์ขึ้นเอง ก็หาไม่ หากแต่เป็นโองการที่มาจาก อัลลอฮฺ (ซ.บ)ผู้เป็ น ประเจ้าแห่งสากล (คําอธิบายอัล-กรุอานุลการีม ญ.1) อักษรโดดถูกนํามาระบุไว้ในตอนต้นของซูเราะฮฺ เพื่ อ เตื อ นผู้ ค นให้ หั น มาสนใจและสดั บ ฟั ง โองการ ของอัลลอฮฺที่จะอ่านให้ฟังต่อไปคล้ายกับคําที่ใช้เตือนให้ เตรี ย มตั ว ว่ า หนึ่ ง สอง สาม กระนั่ น นี่ ก็ เป็ น เพี ย ง ทรรศนะของนักปราชญ์ที่ต้องการจะให้ความหมาย แต่ ความหมายที่แท้จริงนั้นไม่มีใครสามารถจะรู้ได้ ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ว บทหรือซูเราะห์ในอัล-กุรอาน ที่เริ่มต้นด้วย อักษรโดดนี้ เกือบทุกซูเราะห์หลังจากอักษรโดดเหล่านี้ แล้ ว จะตามด้ ว ยการกล่ า วถึ ง ความยิ่ ง ใหญ่ แ ละชั ด แจ้ ง ของอัล-กุรอานทันที ดั่งนั้นเราในฐานะผู้สอน ผู้เผยแพร่ สัจธรรมแห่งอิสลาม จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างความ พร้ อมในตั ว ผู้ เรี ย น เป็ น กระตุ้ น หั ว ใจผู้ เรี ย นให้ มี ค วาม กระหายที่จะรับรู้บทเรียนที่สําคัญที่จะถูกถ่ายทอดในไม่กี่ ช่วงเวลาข้างหน้า ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น จ ะ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักๆ คือ ขั้นนํา ขั้นสอน และ ขั้นสรุป ในแต่ขั้นมีความสําคัญเท่าๆกันต่อการเสริมสร้าง ความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอนในสําเร็จลุล่วง ด้ ว ยดี หากขาดตกบกพร่ อ งขั้ น ใดขั้ น หนึ่ ง อาจทํ า ให้ ผู้เรียนไม่สามารถรับรู้บทเรียนอย่างประสิทธิภาพ โดย ปกติแล้ว หากผู้สอนสามารถเริ่มต้นกระบวนการเรียน การสอนด้วยดี มีการอารัมภบทก่อนเข้าสู่บทเรียน แน่แท้ ผู้เรียนจะมีความสนใจในบทเรียนเป็นอย่างดี และพร้อม ที่จะโต้ตอบและปฏิสัมพันธ์ในทุกเรื่องที่ผู้สอนนําเสนอ แม้นว่าบทเรียนนั้นยากเย็นสักเพียงใดก็ตาม ฉันใดฉันนั้น แม้นว่าอาหรับยุคเริ่มแรกเผยแพร่อิสลามปฏิเสธที่จะรับ สั จ ธรรม เพราะขั ด แย้ ง กั บ หลั ก ความเชื่ อ ที่ เ ดิ ม ที่ เ คย ปฏิบัติมา พวกเขาจะพยายามทุกวิถีทางเพื่อห่างไกลจาก การรับฟังอัล-กุรอานที่ท่านศาสนฑูตมูฮําหมัดอ่าน แต่ ด้วยการอารัมภบทที่แปลกด้วยอักษรโดดไม่เคยรับฟังมา ก่อนหน้านี้ เลยอมที่จะสดับฟังบทอัล-กุรอานที่จะกล่าว หลังจากอักษรโดดนั้น ณ ที่นี่ เราสามารถเปรียบเทียบ อักษรโดดในอัล-กุรอานดั่งขั้นนํา และบทอัล-กุรอานหลัง อักษรโดดดั่งเนื้อหาสาระในขั้นสอน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มูฮามัสสกรี มันยูนุ

สรุป

อั ล -กุ ร อานเป็ น คั ม ภี ร์ ที่ เ หมาะสมกั บ ทุ ก ช่วงเวลา และทุกสถานที่ เป็นแหล่งอ้างอิงแก่มนุยชาติ ทั้งหลายโดยไม่เลือกสีผิว เป็นแหล่งอ้างที่ครบสมบูรณ์ และสามารถบูรณการกับองค์ความรู้ต่างๆโดยไม่ขัดแย้ง กัน อักษรโดดเป็นหนึ่งองค์ความรู้ในอัล-กุรอานที่มุสลิม ทุ ก คน โดยเฉพาะนั ก การศึ ก ษาอิ ส ลามต้ องรั บ รู้ และ ถ่ายทอดสู่วงการศึก ษาทั่ วโลกอย่างกว้า งขวาง เพราะ อักษรโดด คือ กุญแจสําคัญในการจัดการเรียนการสอน ให้ประสบความสําเร็จ ดุจดั่งความสําเร็จของท่านศาศ ฑูตมูฮําหมัดในการเผยแพร่อิสลาม อักษรโดดเปรียบเสมือน การสร้างแรงกระตุ้น และปลุกเร้าให้ผู้เรียนก่อนที่จะดําเนินการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรเริ่มต้นด้วยการนําเสนอสิ่งเร้าผู้เรียน เพื่อ สร้างแรงกระตุ้นและปลุกเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่ จะเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนจะประกอบด้วยขั้น นํา ขั้ น สอน และขั้น สรุ ป และในขั้ นนํ า นั้ น ผู้ส อนควร เกริ่นนําด้วยประโยคสั้นๆหรือกิจกรรมอะไรเล็กๆน้อยๆที่ สามารถเรียกความสนใจผู้เรียนให้มีส่วนร่วมต่อเนื้อหา บทเรียนที่กําลังจะสอน เข้าสู่บทเรียนทันทีทันใดหลังจาก ขั้นนําได้สิ้นสุด และด้วยบรรยกาศการเรียนการสอนที่ เอื้ออํานวย ทําให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้อย่างมีความสุข ผู้สอนไม่จําเป็นต้องถ่ายทอดเนื้อหาแก่ผู้เรียน ทั้ ง หมด แต่ ค วรจะให้ ค วามรู้ แ ก่ ผู้ เ รี ย นเพี ย งบางส่ ว น เท่านั้น นอกเหนือนั้นจากนั้นก็สามารถให้ผู้เรียนไปศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการสืบค้น และการวิเคราะห์เนื้อหาด้วยตนเอง โดยผู้สอนคอยให้ ความช่วยเหลือหรือให้คําปรึกษา เอกสารอ้างอิง อัล-กุรอานแปลไทย. 2545. สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับ ประเทศไทย. ศู นย์ ก ษั ต ริ์ ฟะฮั ด เพื่ อการพิ ม พ์ อัล-กุรอาน. มะดีนะฮฺ. ซาอุดีอาราเบีย อบุล อะลา อัลเมาดูดี. 2545. ตัฟฮีมุลกุรอาน. ศูนย์ หนังสืออิสลาม-กรุงเทพฯ

22

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การประยุกต์ใช้อัก ษรโดดในอัล-กุรอาน...

ซั ย ยิ ด กุ ฏุ บ . ฟิ ซิ ล าล อั ล -กุ ร อาน (แปลโดย สุ น ทร มาลาตี) ตอนตอวีย์. 2011. ตัฟซีร์ อัลการีม. จากอินเตอร์เน็ต www.altafsir.com (สือค้นเมื่อ 30/11/25) อัล-ซอบูนีย์. 2011. ตัฟซีร์ อัลการีม. จากอินเตอร์เน็ต www.altafsir.com (สือค้นเมื่อ 30/11/25)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

23

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

Article Ways of Parents’ Participation in Early Childhood Education Management of Islamic Kindergartens in the Southernmost Provinces Suwannee Langputeh* * Head of Islamic Teaching Department, College of Islamic Studies, Prince of Songkla University, Pattani Campus Abstract Primary education is very crucial to child development as the establishment of developing children in accordance with Allah’s desire and to be the future nation power. The main point is that child development from birth to six years is the most vital stage of various developments: physical, emotional, mental, cognitive and personality. Management of early childhood education is thus apparently significant. Appropriate organization of educational experience is needed for children’s positive attitudes towards learning. To achieve goals, close corporation between school and parents is required. This research aims to present the Islamic concept of early childhood education management, concepts of early childhood education management in Thai society and southernmost provinces, problems and difficulties in development of parents’ participation in the education management. Keywords: parents’ participation, early childhood education management, Islamic kindergarten


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

24

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

บทความวิชาการ แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองนักเรียนในการจัดการศึกษาปฐมวัย ในโรงเรียนอนุบาลอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สุวรรณี หลังปูเต๊ะ* *หัวหน้าแผนกครุศาสตร์อิสลาม วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี บทคัดย่อ การศึกษาระดับปฐมวัยมีความสําคัญยิ่งต่อการพัฒนาเด็ก ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวางรากฐานการพัฒนาเด็กให้ เป็นไปตามแนวทางที่อัลลอฮ (ซ.บ) พึงประสงค์ และเป็นกําลังสําคัญของชาติต่อไปในอนาคตเนื่องจากการเจริญเติบโต ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี เป็นระยะที่สําคัญที่สุดของการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และ บุคลิกภาพ จากความสําคัญดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การจัดการศึกษาสําหรับวัยเด็กก่อนเรียนเป็นเรื่องสําคัญอย่างยิ่ง จะต้องมีกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสม สร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ให้เด็กได้รับการพัฒนาครบทุกด้าน อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาระดับอนุบาลนี้จะสําเร็จบรรลุตามหลักการหรือจุดมุ่งหมายได้จําเป็นจะต้องอาศัยความ ร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครองนักเรียนกับโรงเรียนอย่างใกล้ชิด บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนําเสนอเกี่ยวกับอิสลาม กับแนวคิดการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย แนวคิดของการจัดการศึกษาปฐมวัยในสังคมไทย การจัดการศึกษาปฐมวัย ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แนวคิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย แนวทางการมีส่วน ร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยศึกษา ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาการมีส่วนร่วม ของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยศึกษา คําสําคัญ: การมีส่วนร่วมของผูป้ กครองนักเรียน การจัดการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลอิสลาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

บทนํา

25

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

กระบวนการจัดการศึกษา เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตาม ในสั ง คมปั จ จุ บั น ความต้ อ งการในการจั ด ศักยภาพ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, การศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว 2545: 6) ทั้ ง นี้ เ พราะภาวะทางเศษฐกิ จ และสภาพสั ง คม ซึ่ ง อิสลามกับแนวคิดการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ผู้ปกครองส่วนใหญ่จําเป็นต้องออกไปทํางานนอกบ้าน อิสลามเป็นศาสนาที่ให้ความสําคัญมากกับการ ทําให้ผู้ปกครองต้องส่งลูกเข้าเรียนสถานรับเลี้ยงเด็กหรือ โรงเรียนอนุบาลเร็วขึ้นกว่าเดิม การจัดสถานรับเลี้ยงเด็ก แสวงหาความรู้ อิ ส ลามไม่ เพี ย งแต่ จ ะสอนให้ ม นุ ษ ย์ มี หรื อ โรงเรี ย นอนุ บ าลที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะช่ ว ยในการ ความรั ก ในความรู้ แต่ อิ ส ลามยั ง เรี ย กร้ อ งให้ ทุ ก คน แก้ ปั ญ หาของสั ง คม เป็ น การแบ่ ง เบาภาระของพ่ อแม่ แสวงหาความรู้ เพราะความรู้นั้ น เป็น พื้ น ฐานของการ และยังมีสว่นช่วยในการพัฒนาเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม พัฒนามนุษย์ เป็นกุญแจของความเจริญทางวัฒนธรรม อีกด้วย และอารยธรรม ความรู้มีความสําคัญในทุกขั้นตอนของ การศึกษาปฐมวัยหรือระดับก่อนประถมศึกษามี การมีอยู่ของมนุษย์ ความรู้เท่านั้นที่จะทําให้มนุษย์รู้จัก ความสํ า คั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ในการพั ฒ นาเด็ ก เป็ น การ ตัวเอง รู้จักจักรวาล และรู้จักผู้อภิบาลผู้ทรงสร้าง วางรากฐานการเตรียมความพร้อม เป็นช่วงเวลาทองของ อิสลามถือว่าการแสวงหาความรู้เป็นสิ่ง ที่ ชี วิ ต และเป็ น พื้ น ฐานสํ า หรั บ วั ย ต่ อ ไปเนื่ อ งจากการ ประเสริฐยิ่งสําหรับมวลมนุษย์ และถือเป็นหน้าที่ของ เจริญเติบโตของเด็กตั้งแต่ระยะแรกเกิดจนถึง 6 ปี ซึ่ง มวลมนุ ษ ย์ โ ดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู้ ที่ เ ป็ น มุ ส ลิ ม พวกเขา เป็นระยะที่สําคัญที่สุดของการพัฒนาทางด้านร่างกาย เหล่ า นั้ น จะต้ อ งศึ ก ษาหาความรู้ เ กี่ ย วกั บ ศาสนาของ จิ ต ใจ อารมณ์ สั ง คม สติ ปั ญ ญา และบุ ค ลิ ก ภาพ ตน เพราะศาสนาคือวิถีแห่งการดําเนินชีวิต (อรุ ณี , 2536: 1) การจั ด การศึ ก ษาระดั บ ชั้ น อนุ บ าล ในทัศนะอิสลาม การอบรมเลี้ยงดูเด็กเป็นภาระ โรงเรีย นเป็นหั วใจของการพัฒ นาอนาคต การบริหาร ที่จําเป็นสําหรับพ่อแม่ อัลลอฮฺ ซุบฮานะฮุ วะ ตะอาลา การศึกษาจะต้องเข้าใจและตระหนักว่า เป็นสหวิทยาการ ได้ตรัสว่า เพราะเด็ ก เป็ น สมบั ติ ข องชาติ ต้ อ งการพั ฒ นาการที่ “โอ้บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย จงปกป้องตัวของสูเจ้า สมบู ร ณ์ ใ นทุ ก ทาง ซึ่ ง ผู้ บ ริ ห าร ครู ผู้ ส อน และ และครอบครัวของสูเจ้าให้พ้นจากไฟนรก ซึ่งเชื้อเพลิง ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ยต้ อ งร่ ว มมื อ กั น อย่ า งใกล้ ชิ ด ผู้ ที่ มี ของมันนั้นคือมนุษย์และหิน” (อัตตะฮฺรีม 6) บทบาทสําคัญที่สุดที่สร้างความสําเร็จในการจัดกิจกรรม “โอ้ลูกเอ๋ย เจ้าจงดํารงไว้ซึ่งการละหมาด และ การเรียนการสอนในโรงเรียน คือ ผู้ปกครองและชุมชนที่ จงใช้กันให้กระทําความดี และจงห้ามปรามกันให้ละเว้น ต้ อ งให้ ค วามร่ ว มมื อ ระหว่ า งกั น อย่ า งมี คุ ณ ภาพ เพื่ อ การทํ า ความชั่ ว และจงอดทนต่ อ สิ่ ง ที่ ป ระสบกั บ เจ้ า ศึ ก ษาการมี ส่ ว นร่ ว มและปั ญ หาการมี ส่ ว นร่ ว มของ แท้จริง นั่นคือส่วนหนึ่งจากกิจการที่หนักแน่น มั่นคง” ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาลเอกชน (ลุกมาน: 17) มุสลิมที่มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสามจังหวัด จากอายัตดังกล่าวจะเห็นได้ว่า อัลลอฮฺ (ซ.บ) ชายแดนภาคใต้ ได้ กํ า ชั บ ให้ ผู้ ป กครองมี ห น้ า ที่ ใ นการดู แ ลและปกป้ อ ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 สมาชิกให้พ้นจากกระทําในสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลาย และอายัตด รัฐบาลได้สนับสนุนและส่งเสริมให้พ่อแม่ผู้ปกครองเข้ามา ถัด มานั้น ลุ ก มานได้ส อนให้ ลู ก ๆของเขาละหมาด และ มีบทบาทในการจั ดการศึก ษามากขึ้ น กล่าวคือ พ่อแม่ สอนให้ ลู ก ๆเป็ น คนดี ซึ่ ง ถื อว่ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการให้ ผู้ ป กครองมี สิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ให้ มี ค วามรู้ การศึกษาแก่ลูกๆ ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก และให้สถานศึกษา นอกจากนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง ได้ ก ล่ า วไว้ ว่ า “เด็ ก ทุ ก คนนั้ น เกิ ด มาตามธรรมชาติ ที่ และบุ ค คลในชุ ม ชนทุ ก ฝ่ า ย ในการจั ด โครงสร้ า งและ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

สะอาดบริสุทธิ์ ดังนั้นพ่อแม่ของเขานั่นแหละที่ทําให้เขา เป็นยิว เป็นคริสเตียนหรือเป็นพวกบูชาไฟ” (บันทึกโดย บุคอรีย์ 2/125 ภาคว่าด้วยการจัดการศพ) จากบทหะดีษข้างต้นจะเห็นได้ว่าอิสลามมอบ บทบาทที่สําคัญให้แก่พ่อแม่ในการรักษา ความบริสุทธิ์ ของลูกๆ ให้คงไว้ตลอดไป โดยเฉพาะการให้การศึกษาที่ ถูกต้องตามหลักการของอัล อิสลาม นอกจากนั้น พ่อแม่ จะต้ อ งเสนอแบบอย่ า งที่ ดี ต่ อ ลู ก ๆ ของพวกเขา ดั ง ที่ ท่านอิบนุล เญาซี ได้กล่าวไว้ว่า “การอบรมที่ดีต้องเริ่ม ตั้งแต่เด็กๆ หากปล่อยไว้จนโต แน่นอนมันเป็นสิ่งที่ยาก มาก” (อัตฏิบ อัรรูหานีย์ หน้า 60) ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า การพัฒนาเด็กที่ดีเริ่มต้นจาก ครอบครัว เด็กจะเติบโตมีคุณภาพชีวิตและบุคลิกภาพ เช่นไร จะเป็นคนดีมุ่งทําประโยชน์แก่สังคม หรือจะเป็น คนด้ อยสมรรถภาพ สร้ า งปั ญ หาแก่ ต นเองและสั ง คม ส่วนหนึ่งย่อมขึ้นอยู่กับสภาพครอบครัวและวิธีการอบรม เลี้ยงดูจากบุคคลในครอบครัวเป็นสําคัญ เพราะนอกจาก ครอบครั ว จะถ่ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรมโดย สายเลื อ ดแล้ ว ยั ง ทํ า หน้ า ที่ ดู แ ลเด็ ก ตั้ ง แต่ แ รกเกิ ด จน เติบโตพึ่งตนเองได้ เป็นแบบอย่างที่หล่อหลอมความรู้สึก นึกคิด พฤติกรรม ตลอดจนจิตสํานึกของความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ ปลูกฝังค่านิยม ความรัก และคุณค่าของการมี ชีวิต รวมตลอดถึงเป็นแหล่งสําคัญที่เด็กได้เรียนรู้ภาษา และพั ฒ นาทั ก ษะในการดํ า เนิ น ชี วิ ต จากสิ่ ง ต่ า ง ๆ ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่า สภาพแวดล้อมในครอบครัว มีความสัมพันธ์โดยตรงกับคุณภาพของเด็ก แนวคิดของการจัดการศึกษาปฐมวัยในสังคมไทย “การจั ด การศึ ก ษาปฐมวั ย ” หมายถึ ง การ จัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี ซึ่งการจัดการศึกษาปฐมวัยจะมีลักษณะพิเศษที่แตกต่าง ไปจากระดับอื่นๆ ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่สําคัญ ต่อการวางรากฐานของบุคลิ กภาพและการพัฒ นาทาง สมอง การจัดการศึกษาสําหรับเด็กในวัยนี้มีชื่อเรียกที่ ต่ า งกั น ไปหลายชื่ อ ซึ่ ง แต่ ล ะโปรแกรมก็ มี วิ ธี ก ารและ ลั ก ษณะในการจั ด กิ จ กรรมซึ่ ง มี จุ ด มุ่ ง หมายที่ จ ะช่ ว ย พั ฒ นาเด็ ก ในรู ป แบบต่ า งๆ กั น (เยาวพา เดชะคุ ป ต์ . 2542: 14)

26

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

โดยเน้นการส่งเสริมให้ได้รับการเตรียมความพร้อมทาง ร่ า งกาย จิ ต ใจ อารมณ์ สั ง คม และสติ ปั ญ ญา ให้ สอดคล้องตามหลักจิตวิทยาพัฒนาการ ก่อนเข้าเรียนใน ระดับประถมศึกษา ตามพระราชบัญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 ได้จัดให้การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาระดับหนึ่ง ในการศึ ก ษาชาติ แม้ ไ ม่ ใ ช่ ก ารศึ ก ษาภาคบั ง คั บ ตาม มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้น พื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ สถานพัฒนาเด็ก ปฐมวั ย ได้ แ ก่ ศู น ย์ เด็ ก เล็ ก ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก ก่ อ นเกณฑ์ ข องสถาบั น ศาสนาศู น ย์ บ ริ ก าร ช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็ก ซึ่งมีความ ต้องการพิเศษ หรื อสถานพั ฒนาเด็ ก ปฐมวั ยที่ เรีย กชื่ อ อย่างอื่น โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนาหรือศาสนาอื่น ซึ่ง จากพระราชบัญ ญัติ ดั งกล่ าวจะเห็น ได้ว่ า การศึก ษา ปฐมวัยจัดเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาชาติ การจั ด การศึ ก ษาปฐมวั ย จะเน้ น การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการ และการเตรี ย มความพร้ อ มของเด็ ก ทั้ ง พัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ พัฒนาการทางด้านสังคมและพัฒนาการทางด้าน สติปัญญา ลักษณะการเรียนการสอนเด็กอายุ 3 – 6 ขวบ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ได้เน้นให้มีการจัด ประสบการณ์ ที่สําคัญ คือ การเล่นและการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างต่อเนื่อง เน้นเด็กเป็นสําคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่าง บุคคล และบริบทของสังคมที่เด็กอาศัยอยู่ ให้เด็กได้รับ พัฒนา โดยให้ความสําคัญทั้งกับกระบวนการและผลผลิต จั ด การประเมิ น พั ฒ นาการให้ เ ป็ น กระบวนการอย่ า ง ต่อเนื่ อง เป็นส่ วนหนึ่งของการจัด ประสบการณ์ ทั้งให้ ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก เป้ า หมายที่ สํ า คั ญ ของการศึ ก ษาปฐมวั ย คื อ การส่ ง เสริ ม เด็ กให้ ไ ปสู่ คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ดั ง นี้ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดี กล้ามเนื้อ ใหญ่ กล้ามเนื้อเล็กแข็ งแรงใช้ไ ด้อย่างคล่องแคล่วและ ประสานสัมพันธ์กัน มีสุขภาพจิตที่ดี และมีความสุข มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และมี จิ ต ใจที่ ดี ง าม ชื่ น ชมและ แสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

ออกกํ า ลั ง กาย ช่ ว ยเหลื อตั ว เองได้ เหมาะสมกั บ วั ย รั ก ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและความเป็นไทย อยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสงบสุข และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็ น ประมุ ข ใช้ ภ าษาสื่ อสารได้ เ หมาะสมกั บ วั ย มี ความสามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย มีจินตนาการ และความคิดสร้า งสรรค์ มีเจตคติที่ดีต่ อ การเรียนรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ รูปแบบการจัด การศึกษาปฐมวัยของประเทศ ไทย มีกระบวนการจัดเป็นไปตามลักษณะของหน่วยงาน ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ก ารจํ า แนกออกเป็ น ส่ ว น ทั้ ง ภาครั ฐ และ เอกชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้บริการที่หลากหลาย ซึ่งมีลักษณะการจัดการศึกษาทั้งในระบบ และนอกระบบ แต่ละแห่งจะรับเด็กอายุแตกต่างกันตั้งแต่แรกเกิด – 6 ปี ดังนี้ 1.โรงเรี ย นในสั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัย ร่วมกับชั้นประถมศึกษา และทําหน้าที่ให้การศึกษาแก่ เด็กปฐมวัย อายุ3 – 6 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมให้กับเด็กในการที่จะเข้าเรียนที่เป็น ระบบ วิธีจัดการเรียนการสอน หลักสูตรและบุคลากร จึง มุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและความพร้อมของเด็ ก เป็นสําคัญ 2. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จั ด อยู่ ใ นรู ป แบบของโรงเรี ย นอนุ บ าล เนื่ อ งจากรั ฐ ไม่ สามารถจั ด การศึ ก ษาในระดั บ นี้ ไ ด้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง จึ ง สนั บ สนุ น ให้ เอกชนดํ า เนิ น การโรงเรี ย นที่ มี ม าตรฐาน มั ก จะเสี ย ค่ า เล่ า เรี ย นสู ง แต่ ก็ นั บ ไว้ ว่ า ได้ ช่ ว ยแบ่ ง เบา ภาระผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กเป็นอย่างมาก 3. กรมศาสนา เริ่มโครงการสอนเด็กก่อนวัย เรียน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 โดยใช้วัดเป็นสถานที่อบรมสั่ง สอนเด็ก ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะให้พระได้ทําประโยชน์ แก่ สั ง คม และเป็ น การเตรี ย มเด็ ก ให้ มี ค วามรู้ พื้ น ฐาน ก่อนที่จะเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษา ตลอดจนปลูกฝัง คุณธรรมวัฒนธรรม อันดีงามให้แก่เด็ก ต่อมาก็ขยายกับ ศาสนาอื่นๆ 4. องค์กรเอกชน ประกอบด้วย สภาองค์การ พั ฒ นาเด็ ก และเยาวชน และคณะทํ า งานด้ า นเด็ ก ซึ่ ง

27

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

ประกอบด้วยกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น มูลนิธิเด็ก มูลนิธิเพื่อ การพั ฒ นาเด็ ก พิ ริ ย านุ เ คราะห์ มู ล นิ ธิ สหทั ย มู ล นิ ธิ สมาคมสงเคราะห์เด็กกําพร้าแห่งประเทศไทย มูลนิธิเด็ก อ่ อ นในสลั ม เป็ น ต้ น โดยมี เ ป้ า หมายหลั ก การในการ ทํางานเพื่อพัฒนาเด็ก โดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ทั้งเด็กด้อยโอกาส เด็กพิการ เด็กเร่ร่อน เด็กถูกทอดทิ้ง ฯลฯ 5. โรงเรียนในสั งกัดองค์กรการบริหารส่ว น ท้องถิ่น ได้แก่ โรงเรียนเทศบาลในจัดบริการชั้นเด็กเล็ก เพื่ อช่ ว ยเหลื อเด็ ก และผู้ ป กครอง โดยจั ด เป็ น ชั้ น เรี ย น สํา หรั บ เด็ กเล็ ก แทรกอยู่ ใ นโรงเรี ย นประถมศึ ก ษาของ เทศบาล ผู้ปกครองเด็กช่วยเหลือโรงเรียนบ้างเล็กน้อย ครูผู้สอนอาจอาศัยคนท้องถิ่นนั้นมาช่วยสอน และรับครู ที่จบตรงสาขาเข้าเป็นครูของโรงเรียน (ม.ป.พ. ม.ป.ป.) การศึกษาจัดการศึกษาปฐมวัยในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ความจํา เป็น ในการแสวงหาความรู้ใ นมุม มอง ของอิสลามที่กลายเป็นแนวคิดหลักในการจัดการศึกษา ให้ แ ก่ เ ด็ ก นี่ เ องที่ เ ป็ น แรงผลั ก ดั น สํ า คั ญ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด สถาบั นการศึ กษาในรูป แบบต่า งๆ ในจัง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างไปจากการศึกษาใน ภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศ ประชาชนในพื้นที่แ ห่งนี้จ ะ นิยมให้บุตรหลานของตนศึกษาทั้งวิชาการทางโลกและ วิชาการศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาทางศาสนา เพราะการศึก ษาเกี่ ยวกับ ศาสนาเป็น สิ่ง จํา เป็ นสํ าหรั บ มุสลิมทุกคน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเกิดสถาบันการศึกษา ศ า ส น า เ ป็ น จํ า น ว น ม า ก ใ น พื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ แ ล ะ สถาบั น การศึ ก ษาใดที่ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนทั้ ง วิชาการศาสนาและวิชาการสามัญจะได้รับความนิยมจาก ผู้คนในพื้นที่ สถาบันการศึกษาที่มีสอนวิชาการศาสนาที่ มีอยู่ในพื้นที่แห่งนี้มีหลายสถาบัน เช่น โรงเรียนอนุบาล อิ ส ลาม โรงเรี ย นประถมอิ ส ลาม ตาดี ก า ปอเนาะ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สถาบันอุดมศึกษา โรงเรียนประถมและมัธยมตลอดจนมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นต้น การจัดการศึกษาในระดับนี้มีการจัดการทั้ง โดยภาครั ฐ และเอกชน ในส่ ว นของภาครั ฐ นั้ น มี ก าร


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

จัดการในรูปแบบของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ประจํา มั ส ยิ ด ซึ่ ง ดู แ ลโดยกรมศาสนา กระทรวงวั ฒ นธรรม สําหรับภาคเอกชนนั้นการศึกษาระดับนี้ อยู่ภายใต้การ ดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โดย สามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือโรงเรียนอนุบาล ที่เป็นประเภทเอกชนสามัญ และโรงเรียนอนุบาลที่เป็น โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ทั้งนี้โรงเรียนเอกชน สามั ญ เป็ น โรงเรี ย นที่ จ ดทะเบี ย นเป็ น โรงเรี ย นเอกชน สามัญโดยมีผู้รับใบอนุญาตเป็นมุสลิม ในขณะที่โรงเรียน ที่ สั ง กั ด โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลาม เป็ น สถาบันการศึกษาที่ขยายโอกาสทางการศึกษาลงถึงระดับ อนุบาลและประถม ซึ่งก่อนหน้านี้โรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิ ส ลามจะเปิ ด สอนเฉพาะระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา เท่ า นั้ น ในปั จ จุ บั น ได้ มี ค วามพยายามอย่ า งมากจาก โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่จะขยายการศึกษา ลงถึงระดับอนุบาลศึกษาและประถมศึกษา (อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต, ม.ป.ป.) แนวคิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ ป กครองในการจั ด การศึกษาระดับปฐมวัย ผู้ป กครองนอกจากจะเป็ น ผู้ที่ มี ความสัม พั น ธ์ ใกล้ชิดกับเด็ก และทําหน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กแล้ว ผู้ปกครองยังมีความสําคัญอย่างยิ่งในการจัดการศึกษา ให้ กั บ เด็ ก โดยเฉพาะพ่ อ แม่ จะมี บ ทบาทเป็ น ผู้ ใ ห้ การศึกษาแก่ลูก นับตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยเข้าเรียนใน โรงเรียนปฐมวัย ความหมายของผู้ปกครอง ผู้ป กครอง หมายถึ ง พ่ อ แม่ หรื อบุ ค คลอื่ น ที่ อาจเป็นญาติหรือไม่ใช่ญาติ แต่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ เด็ ก มี ค วามเข้ า ใจเด็ ก อย่ า งแท้ จ ริ ง ให้ ค วามรั ก ความ อบอุ่นและทําหน้าที่อบรมเลี้ยงดุตลอดจนให้การศึกษา แก่เด็ก ความหมายของการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ในการจัดการศึกษา กา รมี ส่ ว น ร่ ว มของผู้ ป กครองใน กา รจั ด การศึกษาเป็นกระบวนการที่ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม ทํางานกับโรงเรียนในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ของเด็กตั้งแต่ร่วมคิดวางแผนร่วมดําเนินงาน และแก้ไข

28

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

ปัญหา ตลอดจนร่วมชื่นชมยินดีกับผลสําเร็จที่ได้ส่งเสริม พั ฒ นาและเตรี ย มความพร้ อมให้ แ ก่ เด็ กในทุ ก ๆ ด้ า ย อย่างสมบูรณ์ ความสําคัญของการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ในการจัดการศึกษา เนื่ องจากเด็ กมี ความผู กพั นและเป็น ส่ว นหนึ่ ง ของครอบครั ว โรงเรี ย นจึ ง ควรให้ ค วามสํ า คั ญ แก่ ครอบครัวเด็กด้วย จึงจะสามารถจัดการศึกษาที่สนองต่อ ความต้องการของเด็ กได้ อย่า งเหมาะสม โรงเรีย นควร พัฒนาวิธีการทํางานร่วมกับผู้ปกครองให้มีประสิทธิภาพ การติดต่อสื่อสารระหว่างบ้านกับโรงเรียนควรตั้งอยู่บน พื้นฐานที่ว่าผู้ปกครองเป็นผู้มีความสําคัญและมีอิทธิพล ต่อเด็กเป็นอันดับแรก แนวทางการร่วมมือกันระหว่า ง โรงเรียนกับผู้ปกครองเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้า มามี บ ทบาทในการพั ฒ นา และจั ด การศึ ก ษาแก่ บุ ต ร หลานรวมทั้งให้แก่ตนเองด้วย ลักษณะการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง มีดังนี้ 1.ครอบครัวเป็นพื้นฐานการศึกษาของเด็ก 2.การที่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการศึกษาช่วยให้ สัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู้ของเด็กสูงขึ้น 3.การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองที่มีประสิทธิภาพ ต้องมีความลึกซึ้ง วางแผนอย่างดี และมีความต่อเนื่อง 4.การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในขณะที่เด็กยัง เล็กมีผลให้เด็กสนใจการเรียนโดยไม่ลดละตราบจนสําเร็จ การศึกษาเพื่อประกอบอาชีพ 5.การมี ส่วนร่ วมของผู้ป กครองทางการศึกษา เฉพาะที่ บ้ า นยั ง ไม่ เ พี ย งพอ จากงานวิ จั ย พบว่ า เด็ ก มี ความสามารถทางการเรียนระดับปานกลางจะมีผลการ เรี ย นดี ขึ้น ถ้ า หากผู้ ป กครองเข้า มามี ส่ว นร่ ว มทางการ ศึกษาในโรงเรียน 6.เด็กที่มาจากฐานะครอบครัวยากจน และชน กลุ่ ม น้ อ ยจะได้ รั บ ประโยชน์ อ ย่ า งมากจากการที่ ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมทางการศึกษาในโรงเรียน ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง มี ค วามจํ า เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ ง สร้า งความร่ วมมื อระหว่า งบ้ านกั บโรงเรี ยนหรือพ่ อแม่ ผู้ปกครองกับครูเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาของเด็กโดย ถือว่าความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายเป็นจุดมุ่งหมายหนึ่ง ของการจัดการปฐมวัยศึกษา (ม.ป.พ. ม.ป.ป.)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

แนวทางการมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ ป กครองในการจั ด การศึกษาในระดับปฐมวัยศึกษา เอปสทีน (Epstein 1995 pp 701-712) ได้ ก ล่ า วถึ ง รู ป แบบและแนวทางการมี ส่ ว นร่ ว มของ ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาแบบสามประสาน ความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งโรงเรี ย น ผู้ ป กครองและชุ ม ชน (School/Family/Community Partnership Caring for the Children We Share) วิธีการที่โรงเรียนใช้กับนักเรียน จะสะท้อนให้ เห็นถึงวิธีการที่โรงเรียนใช้กับผู้ปกครอง หากครูมองเห็น ว่ า นั ก เรี ย นก็ เ ป็ น นั ก เรี ย นเท่ า นั้ น พวกเขาก็ จ ะคิ ด ว่ า โรงเรียนกับบ้านอยู่กันคนละมุม ไม่เกี่ยวข้องกัน แต่ถ้าครู คิดว่านักเรียนคือเด็กที่ผู้ใหญ่ต้องช่วยกันฟูมฟักเลี้ยงดูให้ เติบ โต ครูก็จ ะมีค วามคิด ว่าผู้ ปกครองและชุ มชนเป็ น เพื่อนร่วมงานที่จะช่วยกันจัดการศึกษาที่ดีที่สุดสําหรับ เยาวชน ทุ ก ฝ่ า ยก็ จ ะตระหนั ก ในความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การศึกษาของนักเรียน ในขณะที่ครูพยายามปรับปรุง สภาพการเรี ย นการสอนในห้ อ งเรี ย น ครู จ ะประสบ ความสําเร็จมากขึ้น หากได้มองว่า ผู้ปกครองคือ เพื่อน ร่วมงานในการสร่งชุมชนของผู้เรียนรู้ เหตุผลสําหรับการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและ ชุมชน 1.ส่งเสริมการพัฒนาโรงเรียนในด้านต่างๆ เช่น การเรียนการสอน สภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ 2.บริการด้านต่างๆ เช่น บริการให้คําปรึกษา บริการพยาบาล 3.เพิ่มพู นความรู้ความเข้าใจในด้านต่ างๆ แก่ ผู้ปกครอง 4.ส่งเสริมความเข้าใจอันดีในหมู่ผู้ปกครอง เช่น ผู้ ป กครองกั บ ผู้ ป กครอง ผู้ ป กครองกั บ ชุ ม ชน และ ผู้ปกครองกับครู 5.ช่ ว ยนั ก เรี ย นให้ ป ระสบความสํ า เร็ จ ใน การศึกษาและอนาคต 6.เสริมสร้างชุมชนแห่งความรัก ความเข้าใจอัน ดี อย่ า งไรก็ต ามแนวทางหลั กในการสร้ า งการมี ส่วนร่วมของผู้ปกครองในการร่วมจัดการศึกษาในระดับ ปฐมวัยศึกษามี 6 รูปแบบ ดังนี้

29

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

1.การเลี้ยงดู (Parenting) ในรูปแบบนี้ ความรับผิดชอบของผู้ปกครองที่ จะเลี้ ย งดู ซึ่ ง รวมถึ ง การจั ด ให้ มี ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ ป ลอดภั ย และเลี้ยงดูให้มีสุขภาพแข็งแรง การพัฒนาทักษะและ ความรู้ในการเตรียมตัวลูกให้พร้อมที่จะเข้าโรงเรียนและ ช่ ว ยให้ ลู ก มี สุ ข ภาพพลานามั ย ที่ ส มบู ร ณ์ และจั ด สภาพแวดล้อมทางบ้านที่ดี เอื้อต่อการเรียนรู้ของลูก โรงเรี ย นสามารถช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป กครองในการ พัฒนาความสามารถ และความรู้ในการเลี้ยงดูลูกด้วย ความรั ก ความเข้ า ใจในแต่ ล ะวั ย โดยการจั ด อบรม สั ม มนาผู้ ป กครองที่ โ รงเรี ย น หรื อหน่ ว ยงานต่ า งๆ ใน ชุมชน การเยี่ยมบ้านนักเรียน การจัดตั้งกลุ่มผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อช่วยเหลือ ทําให้โรงเรียนและผู้ปกครองมี ความเข้าใจอันดีต่อกัน กิจกรรมดังกล่าวจําเป็นต้องกําหนดตายตัวว่า จะจัดได้ แต่เฉพาะในโรงเรียนอย่างเดี ยว แต่อาจทําได้ หลายแนวทาง เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อ การเลี้ยงดูบุตรหลานไปสู่ผู้ปกครองอย่างทั่วถึง สิ่งที่จะเป็นงานท้าทายความสามารถทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง ประการแรกก็คือ การให้ข้อมูลที่เป็นข่าวสารที่ เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูกไปถึงผู้ปกครองทุก ครอบครัว ไม่เฉพาะแต่บางครอบครัวที่สามารถมาร่วม กิจ กรรมการอบรมสั มมนาหรื อประชุม วิช าการเท่ านั้ น ประการที่สองก็คือ การกระตุ้นให้ครอบครัวของนักเรียน ให้ข้อมูล ตลอดจนอุปนิสัยและความสามารถพิเศษของ นักเรียนแต่ละคน ประการที่สาม ต้องให้แน่ใจว่าข้อมูล จากโรงเรียนและจากครอบครัวของนักเรียนนั้นชัดเจน เป็ น ประโยชน์ นํ า ไปปฎิ บั ติ ไ ด้ แ ละเกี่ ย วข้ อ งกั บ ความสําเร็จในการศึกษาเล่าเรียนของนักเรียน ผลที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบนี้ก็คือ ข.ผลที่เกิดกับนักเรียน 1.นักเรียนจะเกิดความตระหนักในการเลี้ยงดู ฟูมฟักของครอบครัว และมีความเคารพรักต่อผู้ปกครอง 2.นั ก เรี ย นจะมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ มี อุปนิสัยและค่านิยมที่เหมาะสม อันเกิดจากการอบรม เลี้ยงดูที่ดี


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

3.นั ก เรี ย นจะเรี ย นรู้ ก ารใช้ เวลาอย่ า งถู ก ต้ อ ง เหมาะสมกั บ งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายทั้ ง ที่ บ้ า นและที่ โรงเรียน 4.นักเรียนจะชอบไปโรงเรียน 5.นักเรียนจะเห็นคุณค่าของการไปโรงเรียน ก.ผลที่เกิดกับผูป้ กครอง 1.ผู้ ป กครองจะมี ค วามรู้ เข้ า ใจและความ เชื่ อ มั่ น ในการอบรมเลี้ ย งดู ลู ก ในวั ย ต่ า งๆ และการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสมกับ การเรียนของลูกในแต่ละวัย 2.มี ความรู้ค วามเข้า ใจถึง อุป สรรคปัญ หาของ ผู้ปกครองในการเลี้ยงลูก 3.มีความรู้สึกที่ดีและมั่นใจในการสนับสนุนจาก โรงเรียนและผู้ปกครองคนอื่นๆ ในการเลี้ยงดูลูก ข.ผลที่เกิดกับครู 1.ครู จ ะมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ภู มิ หลั ง ของครอบครั ว นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรม ประเพณี ความเชื่อ ความต้องการ เป้า หมายและทั ศนคติ ของ นักเรียนฃ 2.ครูจะยอมรับและให้เกียรติในความพยายาม ของครอบครัวนักเรียน 3.เข้าใจความหลากหลายของนักเรียน 4.ตระหนักในความสามารถของตนเองในการ กระจายความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของนักเรียน

30

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

ของนั ก เรี ย นให้ ผู้ ป กครองได้ ท ราบ และแสดงความ คิดเห็นกลับคืนให้โรงเรียน ประการที่สาม อาจจะทําได้ ในรู ป ของการประชุ ม เพื่ อ รั บ สมุ ด รายงานประจํ า ตั ว นักเรียนจากครูประจําชั้น ประการที่สี่ อาจทําได้ในรูป ของการแจ้ ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รและการเลื อ ก แผนการเรียน ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น ภายในโรงเรียน ประการสุดท้าย ก็เป็นการให้ข้อมูลที่ ชัดเจนเกี่ยวกั บนโยบายของโรงเรียน โปรแกรมต่างๆ การปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาโรงเรียน สิ่งที่เป็นงานท้าทายในรูปแบบนี้ ประการแรก ที่ สุ ด ก็ คื อ การที่ จ ะต้ อ งทบทวนดู ค วามพร้ อ ม ความ เหมาะสม และความถี่ของการให้ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ในการติ ด ต่อสื่ อสารของทางโรงเรี ย น ประการที่ ส อง จะต้ อ งทบทวนถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและคุ ณ ภาพของการ สื่อสารที่โรงเรียนใช้อยู่ ว่าจะมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพียงไร ประการสุดท้ายก็คือ การจัดให้มีการสื่อสารสอง ทางระหว่างบ้านกับรงเรียนเพื่อความเข้าใจที่ดี ชัดเจน

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบนี้ก็คือ ก.ผลที่เกิดกับนักเรียน 1.นั ก เรี ย นจะได้ รั บ ทราบและตระหนั ก ถึ ง พัฒนาการและความก้า วหน้าของตนเองและการที่จ ะ ปรับปรุงและรักษาผลการเรียนที่ดีเอาไว้ 2.มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ นโยบายของ โรงเรียนและแนวทางปฏิบัติตนของนักเรียน 3.มีความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมกิจกรรมต่างๆ ที่ โรงเรียนจัดขึ้น 2.การติดต่อสื่อสาร ( Communication) 4.ตระหนักในบทบาทของนักเรียนเอง ในการ การติดต่อสื่อสาร หมายถึงความรับผิดชอบของ โรงเรียนที่ติดต่อสื่อสารกับ ผู้ปกครองเกี่ยวกับกิจกรรม ติดต่อสื่อสารระหว่างโรงเรียนกับบ้าน ต่างๆ ของ โรงเรียน และพัฒนาการของนัก เรียน การ ข.ผลที่เกิดกับผูป้ กครอง ติ ด ต่ อ สื่ อ สารนี้ ร วมถึ ง จุ ด หมาย ประกาศต่ า งๆ สมุ ด 1.ผู้ ป กครองมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในนโยบาย รายงานประจําตัวนักเรียน การติดต่อทางโทรศัพท์ การ และโปรแกรมต่างๆ ของโรงเรียน ประชุมผู้ปกครอง ตลอดจนวิธีการต่างๆ ที่จะสื่อสารกับ 2.มีการติดตามดูแลและรับทราบถึงพัฒนาการ ผู้ปกครอง ของนักเรียน ในรูปแบบที่ 2 นี้ อาจจะทําได้หลายอย่าง อาทิ 3.สามารถตอบสนองและแก้ ไ ขปั ญ หาที่ เ กิ ด เช่ น การประชุ ม พบปะผู้ ป กครองปี ล ะหนึ่ ง ครั้ ง และ ขึ้นกับนักเรียนอย่างทันท่วงทีและเหมาะสม ติดตามผลอีกตามความจําเป็น ประการที่สอง การทําจุล 4.มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างครูและทาง สารรายสัป ดาห์หรือรายเดื อน เพื่อรายงานพัฒนาการ โรงเรียน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

ค.ผลที่เกิดกับครู 1.เพิ่มพูนความหลากหลายในการติดต่อสื่อสาร กับครอบครัวของนักเรียน และตระหนักถึงความสามารถ ในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 2.มี ค วามอบอุ่ น ใจในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ผู้ปกครองนักเรียน 3.ครูจะมีประสบการณ์และความสามารถที่จะ เข้าใจทัศนคติของครอบครัว นักเรียนและพัฒนาการของ นักเรียนแต่ละคนดียิ่งขึ้น 3. อาสาสมัคร (Volunteering) รู ป แบบของการมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ ป กครอง หมายถึง การมีส่วนร่วมภายในโรงเรียน โดยผู้ปกครอง อาสาสมัครเข้ามาช่วยครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน ในห้ อ งเรี ย นหรื อ ที่ อื่ น ๆ ภายในบริ เ วณโรงเรี ย น นอกจากนี้ ยั ง หมายรวมถึ ง สมาชิ ก ในครอบครั ว ของ นักเรียนที่มาให้กําลังใจในการแสดงออกของนักเรียนที่ โรงเรียนในโอกาสต่างๆ เช่น การแสดงละคร การแข่งขัน กีฬา เป็นต้น โรงเรียนสามารถพัฒนาและจัดทําปฎิทิน กิจกรรมต่างๆ ให้มีความหลากหลายเพื่อให้ครอบครัว ของนั ก เรี ย นมี ส่ ว นร่ ว มแสดง หรื อเป็ น ผู้ ช ม โรงเรี ย น สามารถสรรหาและจั ด การอบรมผู้ ป กครองที่ เ ป็ น อาสาสมั ค รเพื่ อให้เกิ ด ประโยชน์ สู งสุ ด ต่ อครู นั ก เรี ย น และพัฒนาโรงเรียนโดยรวม ในรู ป แบบนี้ อาจทํ า ได้ ห ลายอย่ า ง เช่ น ประการแรกอาจทําในรูปของโปรแกรมอาสาสมัครเพื่อ ช่ว ยครู ผู้ บริ หารโรงเรี ย น นัก เรี ยนและผู้ ปกครองคน อื่ น ๆ ประการที่ ส อง อาจจะจั ด ให้ มี ห้ อ งสํ า หรั บ อาสาสมัครหรือศูนย์ครอบครัวเพื่องานอาสาสมัคร การ ประชุมพบปะกัน และแหล่งบริการสํ าหรับครอบครั ว นั ก เรี ย น ประการที่ ส าม อาจทํ า ในรู ป ของการสํ า รวจ ความสามารถของผู้ ป กครอง เวลาและแหล่ ง ของ อาสาสมัคร ประการที่สี่ อาจทําในรูปของผู้ปกครองร่วม ห้องเพื่อจะช่ วยให้ข้อมูลซึ่ งกันและกันในหมู่ผู้ปกครอง ร่ ว มห้ อ งเรี ย นของลู ก ๆ ประการสุ ด ท้ า ย อาจจะให้ มี กรรมการดูแลความปลอดภัยหรือกิจกรรมอื่นๆ ที่จะช่วย ให้มีความปลอดภัยในโรงเรียนมากยิ่งขึ้น

31

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

สิ่งที่เป็นงานท้าทายในรูปแบบนี้ คือ 1.จะต้ อ งเป็ น การสรรหาอย่ า งทั่ ว ถึ ง เพื่ อ ให้ ผู้ปกครองทุกท่านทราบว่าโรงเรียนยินดีให้ผู้ปกครองให้ การช่วยเหลือโรงเรียน 2.จะต้ อ งมี ป ฏิ ทิ น กิ จ กรรมที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น เพื่อสอดคล้องกับเวลาของผู้ปกครองที่อาสาสมัครเข้ามา ช่วยโรงเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด จะต้องมีการจัดการที่ดี เพื่อให้การทํางานของ อาสาสมั ค รเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด โดยการสร้ า งงาน อาสาสมั ค ร การฝึ ก อบรมอาสาสมั ค ร จั ด เวลาให้ สอดคล้อง เพื่ออาสาสมัครและครูจะทํางานร่วมกันเพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียน ผลที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบนี้ก็คือ ก.ผลที่เกิดกับนักเรียน 1.นักเรียนจะมีทักษะในการสื่อสารกับผู้ใหญ่ 2.ได้รับความรู้และทักษะที่เป็นประโยชน์จาก ผู้เชี่ยวชาญที่อาสาสมัครเข้ามาช่วย 3.นักเรียนจะตระหนักถึงทักษะและความรู้ใน สาขาวิชาชีพต่างๆ และการช่วยเหลือของผู้ปกครองและ อาสาสมัครคนอื่นๆ ข.ผลที่เกิดกับผู้ปกครอง 1.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจงานของครูดี ยิ่ ง ขึ้ น มี ค วามสบายใจที่ จ ะมาโรงเรี ย น และร่ ว ม กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2.มีความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะทํางานใน โรงเรี ย นกั บ ครู และนั ก เรี ย นเพื่ อ พั ฒ น าความรู้ ความสามารถของตนเอง 3.ตระหนั กว่าโรงเรียนยิน ดีต้อนรับ ครอบครั ว ของนักเรียน ให้มีส่วนร่วมกับทางโรงเรียน 4.ได้ รั บ ความรู้ แ ละทั ก ษะใหม่ ใ นการทํ า งาน อาสาสมัคร ค.ผลที่เกิดกับครู 1.ครูมีความพร้อมที่จะให้ผู้ปกครองเข้ามาร่วม กิจกรรมอาสาสมัคร 2.ตระหนักถึงความสามารถและความสนใจของ ผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียนและนักเรียน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

3.ครูสามรถให้ความสนใจต่อนักเรียนแต่ละคน มากยิ่งขึ้น โดยการช่วยเหลือของผู้ปกครองอาสาสมัคร 4.การเรียนที่บ้าน ( Learning at home) การมี ส่ ว นร่ ว มในการศึ ก ษารู ป แบบการเรี ย น ของเด็กที่บ้าน รวมถึงการขอร้องและคําแนะนําของครู ในการที่ จ ะให้ ผู้ ป กครองช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นในเรื่ อ งที่ เกี่ยวข้องกับการเรียนของนักเรียนในชั้นเรียน โรงเรี ย นจะช่ ว ยเหลื อผู้ ป กครอง โดยการให้ ข้ อ มู ล ความรู้ แ ก่ ผู้ ป กครองในเรื่ อ งหลั ก สู ต รและสิ่ ง ที่ นักเรียนต้องการเรียนรูเ เพื่อให้นักเรียนผ่านแต่ละช่วง ชั้น โรงเรียนต้องให้ข้อมูลแก่ผู้ปกครองในการกํากับดูแล และช่วยเหลือนักเรียน ตลอดจนตัดสินใจเลือกโปรแกรม การเรียนเพื่อนักเรียนจะได้ประสบความสําเร็จ กิจกรรมที่โรงเรียนจะทําได้ดังนี้ 1.การให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความรู้ แ ละทั ก ษะที่ นักเรียนควรจะมีตามหลักสูตรกําหนดแต่ละชั้น 2.การให้ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายการให้การบ้าน ของทางโรงเรี ย น และช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นในการทํ า การบ้าน 3.การทําปฎิทินการบ้านนักเรียนและกําหนดให้ นักเรียนทํากิจกรรมร่วมกับครอบครัว 4.การทําปฎิทินกิจกรรมทางบ้านที่นักเรียนกับ ครอบครัวมีส่วนร่วม 5.กิจกรรมทางวิชาการที่ครอบครัวของนักเรียน สามารถร่วมได้ที่โรงเรียน 6.การมีส่วนร่วมของครอบครัวนักเรียนในการ ช่วยให้นักเรียนตั้งเป้าหมายในการเรียนแต่ละปี สิ่งที่ท้าทายในรูปแบบนี้ ประการแรก คือ การ วางแผนและกํ า หนดตารางปฎิ ทิ น ของการบ้ า นที่ ผู้ ป กครองจะมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ มี โ อกาส ปรึกษาผู้ปกครองและในขณะเดียวกันการทําปฏิทินช่วย ให้ผู้ปกครองได้รับรู้ถึงเนื้อหาวิชาต่างๆ ที่นักเรียนกําลัง เรียนในชั้นเรียน ประการที่สอง คือ การจัดกิจรรมหรือ การบ้ านที่ เปิด โอกาสให้ผู้ป กครองมี ส่วนร่วม ประการ สุดท้าย การที่จะให้ผู้ปกครองและครอบครัวของนักเรียน มี ส่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งสํ า คั ญ ที่ เ กี่ ย วกั บ หลักสูตร

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

32

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบนี้ คือ ก.ผลที่เกิดกับนักเรียน 1.นักเรียนจะมีทักษะ ความรู้ ความสามารใน การเรี ย น ที่ จ ะส่ ง ผลดี ต่ อ คะแนนและการเรี ย นของ นักเรียน 2.ทําการบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว 3.มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนและการทํางาน 4.มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ปกครองและครู 5.มีความคิดว่าตนเองมีความสามรถในการเรียน ข.ผลที่เกิดกับผูป้ กครอง 1.ผู้ ป กครองรู้ วิ ธี ที่ จ ะสนั บ สนุ น ให้ กํ า ลั ง ใจ นักเรียน 2.มีโอกาสพูดกับนักเรียนในเรื่องโรงเรียน การ เรียนและการบ้าน 3.มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมการเรียนการ สอน 4.มีความพึงพอใจในทักษะการสอนนักเรียน 5.มีความตระหนักว่านักเรียนเป็นผู้เรียน ค.ผลที่เกิดกับครู 1.ครู จ ะมี ก ารพั ฒ นาการคิ ด ค้ น และวางแผน การบ้านที่มีประสิทธิภาพ 2.ครูจะเห็นคุณค่าและความสําคัญของเวลาใน ครอบครัวนักเรียน 3.ครูจะได้เห็นถึงการช่วยเหลือของผู้ปกครองที่ เป็นประโยชน์ต่อการเรียนของนักเรียน 4.ครูจ ะได้รั บการชื่ นชมและพึงพอใจในการมี ส่วนร่วมและสนับสนุนของผู้ปกครอง 5.การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making) กรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หมายถึงการมีส่วน ร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ การบริ ห าร ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ป กครองและชุ ม ชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม โรงเรี ย นสามารถช่ ว ยจั ด การฝึ ก อบรมผู้ นํ า ให้ แ ก่ ผู้ปกครอง เพื่อเพิ่มพูนทัก ษะในการตัดสินใจและการ สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่จะกระทําได้ในรูปแบบนี้ คือ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

1.การมีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการสมาคม ผู้ปกครองและครู กรรมการที่ปรึกษา กรรมการฝ่าย ต่างๆ ของโรงเรียน 2.คณะกรรมการการพัฒนาโรงเรียน 3.การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้นําหรือตัวแทนของ ผู้ปกครอง 4.การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า งคณะ กรรมการบริหาร สมาคมผู้ปกครองและครู กับครอบครัว นักเรียนทุกคน งานที่ท้าทายในรูปแบบนี้ คือ 1.การที่ จ ะรวบรวมผู้ ป กครองซึ่ ง เป็ น ตั ว แทน ของผู้ ป กครองกลุ่ ม ต่ า งๆ ที่ มี อ ยู่ ใ นโรงเรี ย นมาเป็ น คณะกรรมการ 2.การจั ดประชุม สัมมนาเชิ งวิช าการ เพื่ อเพิ่ ม ทักษะในการบริหารงาน 3.การเปิด โอกาสให้นัก เรีย นมีส่ วนร่ วมในการ แสดงความคิดเห็นในการตัดสินใจ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบนี้ คือ ก.ผลที่เกิดกับนักเรียน 1.นั ก เรี ย นตระหนั ก ถึ ง การมี ตั ว แทนของ ครอบครัว และผู้ปกครอง 2.นั ก เรี ย นเข้ า ใจถึ ง สิ ท ธิ แ ละการปกป้ องสิ ท ธิ ของนักเรียน 3.นักเรียนได้รับประโยชน์จากการดําเนินการ ของสมาคมผู้ปกครองและครู ข.ผลที่เกิดกับผูป้ กครอง 1.ได้ ร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น ในนโยบายของ โรงเรียน 2.มีความรู้สึกเป็นเจ้าของหรือเป็นส่วนหนึ่งของ โรงเรียน 3.ตระหนักในความสําคัญของความคิดเห็นของ ผู้ปกครองในการตัดสินใจโรงเรียน 4.ได้แบ่งปันประสบการณ์และมีความสัมพันธ์ กับผู้ปกครอง 5.ตระหนักถึงนโยบายต่างๆ ของโรงเรียน

33

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

ค.ผลที่เกิดกับครู 1.คณะครู ต ระหนั ก ถึ ง ความคิ ด เห็ น ของ ผู้ปกครองว่าเป็นองค์ประกอบที่สําคัญต่อนโยบายและ การตัดสินใจของโรงเรียน 2.ได้ เ ห็ น บทบาทและหน้ า ที่ ข องผู้ ป กครองที่ มาร่ว มเป็ นคณะกรรมการและเป็ น ผู้นํ าของผู้ ปกครอง นักเรียนในโรงเรียน 6.ความร่วมมือกับชุมชน ( Collaborating with Community) ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ชุ ม ช น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ประสานงานและร่วมมือระหว่างองค์การและหน่วยงาน ต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อช่วยกันรับผิดชอบใน การจัดการศึกษาเพื่อเยาวชน กิจกรรมในรูปแบบนี้ประกอบด้วย 1.การให้บริการข่าวสารข้อมูลสําหรับนักเรียน และครอบครั ว นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ บ ริ ก า รสุ ข ภา พ วั ฒ นธรรม สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ บริ ก ารสั ง คม สงเคราะห์ต่างๆ ในชุมชน 2.การให้บริ การข่ าวสารข้ อมู ลในกิ จกรรมต่ างๆ ของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรุ้ของนักเรียน 3.การประสานงานระหว่างองค์การและหน่วยงาน ต่างๆ ในชุมชน 4.การบริการสังคมโดยนักเรียน ผู้ปกครองและ โรงเรียนร่วมกันจัดขึ้น 5.การมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าเพื่อนักเรียนปัจจุบัน 6.งานที่ท้าทายความสามารถรูปแบบนี้ก็คือ 7.การแก้ ปั ญหาเรื่ องต่ างๆ ที่ เกิ ดขึ้ น ในเรื่ อง ค่าใช้จ่าย คณะทํางาน และสถานที่ สําหรับประชุมพบปะ 8.การติ ดต่ อแจ้ งข้อมู ลข่ าวสารให้ กั บครอบครั ว นักเรียน 9.การส่งเสริมให้ครอบครัวนักเรียนได้มีโอกาสร่วม กิจกรรมอย่างเต็มที่ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากรูปแบบนี้ คือ ก.ผลที่เกิดกับนักเรียน 1.นั ก เรี ย นจะได้ เ รี ย นรู้ แ ละเพิ่ ม ทั ก ษะจาก กิจกรรมต่างๆ ทั้งในและนอกสถานที่


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

34

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...

3. การบริหารจัดการเวลาที่ไม่เหมาะสมของพ่อ 2.ตระหนั ก ถึ ง อาชี พ ต่ า งๆ ที่ ห ลากหลายใน ชุมชนและทางเลือกต่างๆในการศึกษาต่อระดับสูงต่อไป แม่ ผู้ ป กครอง อัน เนื่ องมาจากภารกิจ ในการทํา งาน 3.ได้รับประโยชน์จากองค์การและหน่วยงานทั้ง ประจํา ทําให้ผู้ปกครองไม่สามารถเข้าร่วมในกิจกรรม ภาครัฐและเอกชน กั บ ทางโรงเรี ย นได้ บ่ อ ยนั ก หรื อ ไม่ อ าจเข้ า ร่ ว มได้ เ ลย สภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนอาจจัดช่องทางเชิงรุกให้ ข.ผลที่เกิดกับผู้ปกครอง ผู้ ป กครองสามารถติ ด ต่ อ กั บ โรงเรี ย นได้ ใ นเวลานอก 1.ผู้ ป กครองมี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ องค์ ก ารและ ราชการ อาจเป็นการติดต่อทางโทรศัพท์กับครูประจํา หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ สํ า หรั บ ครอบครั ว ชั้น ครูที่ปรึกษาของเด็กหรือเปิดสายการติดต่อผ่านอีเมล์ นักเรียน ของโรงเรียนได้ตลอดเวลา เพื่อจะได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน 2.มีความสัมพันธ์อันดีกับผู้ปกครองคนอื่นๆ ข้อมูล รั บ รู้ปั ญ หาและดํา เนิน การตอบข้อมู ลให้ ความ 3.ตระหนั ก ถึ ง บทบาทสํ า คั ญ ของโรงเรี ย นต่ อ ช่วยเหลือในกรณีเร่งด่วนได้ และถือเป็นช่องทางในการ ชุมชนและการช่วยเหลือของชุมชนต่อโรงเรียน ทําความเข้าใจกันเป็นเบื้องต้นได้ตลอดเวลา 4. ปัญหาด้านทัศนคติ ความคิดที่แตกต่างกัน ค.ผลที่เกิดกับครู 1.ตระหนักถึงแหล่งทรัพยากรต่างๆ ในชุมชนที่ ความแตกต่างทางความคิดอาจเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา สัมพันธภาพระหว่างครู- พ่อแม่ เพราะทั้ง 2 ฝ่าย อาจจะ ช่วยเสริมหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ 2.คณะครูจะเปิดใจกว้างและมีทักษะในการใช้ มีจุดยืน ทัศนะหรือวิธีการในการปกป้องเด็กในมุมมองที่ แตกต่ างกั น ซึ่ง ส่ งผลให้ เกิ ดความขัด แย้ง ทางความคิ ด ทรัพยากรในชุมชน เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน 3.ครูจ ะมีค วามรู้ดี เกี่ย วกั บแหล่งทรัพ ยากรใน การไม่ ย อมรั บ กั น จนในที่ สุ ด อาจหลี ก เลี่ ย งที่ จ ะ ชุมชน ซึ่งจะช่วยให้คําแนะนําแก่นักเรียนและครอบครัว เผชิญหน้ากันในระยะยาว ในการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ สรุป เอกชนอย่างเต็มที่ การจั ด การศึ ก ษาให้ เกิด ผลดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ปัญหาและอุป สรรคในการพัฒนาการมี ส่วนร่วมของ ตรงตามความต้ อ งการของประชาชน โดยเฉพาะ ผู้ปกครอง ต้องอาศัยกระบวนการนํากระบวนการมีส่วน ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยศึกษา 1.ปั ญ หาด้ า นความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งครู แ ละ ร่วมมาใช้ ซึ่ งพระราชบัญ ญัติ การศึก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. ผู้ ป ก ค ร อ ง ที่ ยึ ด ติ ด กั บ ค ว า ม เ ค ย ชิ น เ ดิ ม ซึ่ ง เ ป็ น 2542 และที่ แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม(ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 ความสั ม พั น ธ์ ที่ ไ ม่ เ ท่ า เที ย ม ความไม่ คุ้ น เคยระหว่ า ง กล่าวถึงการมีส่วนร่วมไว้ในมาตรา 8 (2) ให้สังคมมีส่วน ผู้ปกครองและครู ทําให้ผู้ปกครองเป็นฝ่ายมารับฟังสิ่งที่ ร่วมในการจัดการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่ง ครู ห รื อโ ร งเรี ยน ต้ องก า รบ อ ก โ ดยข า ดก า รจั ด ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 58 ได้บัญญัติเรื่อง สภาพแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดความรู้สึกมีส่วนร่วม ใน การมี ส่ ว นร่ ว มไว้ ว่ า บุ ค คลย่ อ มมี สิ ท ธิ มี ส่ ว นร่ ว มใน การเสนอความคิดเห็นต่างๆขณะเดียวกันครูจํานวนหนึ่ง กระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในการปฏิบัติ ก็ ลํ า บากใจในความสั ม พั น ธ์ แ ละความคาดหวั ง ของ ราชการทางปกครองอันมีผลหรืออาจมีผลกระทบต่อสิทธิ ผู้ ป กครอง และไม่ มั่ น ใจว่ า ผู้ ป กครองจะยอมรั บ ความ และเสรี ภ าพของตน พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา คิ ด เห็ น ของครู ห รื อ ไม่ โดยเฉพาะในปั ญ หาที่ เ กี่ ย วกั บ แห่ ง ชาติ สถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ จึ ง ต้ อง ปฏิบัติตามโดยการเปิดโอกาสให้ประชาชน ชุมชนเข้ามา ความประพฤติหรือการตัดสินความผิดของเด็ก 2.การขาดการสื่ อ สารเชิ ง ข้ อ มู ล ในความ มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ทั้งนี้เพราะเมื่อผู้ปกครอง เคลื่อนไหวของนโยบายโรงเรียน ทําให้ผู้ปกครองไม่รับรู้ ควรมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาย่อมจะช่วยขับเคลื่อน ให้การบริหารจัดการศึกษาดําเนินไปตามความต้องการ ไม่ได้เข้าร่วมอย่างที่ควรเป็น


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวรรณี หลังปูเต๊ะ

ของผู้ ป กครองและชุ ม ชน การจั ด การศึ ก ษาในระดั บ ปฐมวัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีประสิทธิภาพและ ได้ รั บ การยอมรั บ จากชุ ม ชน ชุ ม ชนรั ก และหวงแหน สถานศึกษามากยิ่งขึ้นต้องให้ความสําคัญต่อแนวทางการ พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองนักเรียน ซึ่ง ทํ า ให้ ผู้ ป กครองและชุ ม ชนสนั บ สนุ น ทรั พ ยากรทาง การศึ ก ษา และให้ ค วามร่ ว มมื อกั บ สถานศึ ก ษาในการ ดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ อีกทั้งยังสามารถ ทํ า ให้ ชุ ม ชนมี ค วามรู้ สึ ก ผู ก พั น โดยการจั ด การศึ ก ษาที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตอันจะส่งผลต่อความรู้สึกในการเป็น เจ้าของ(Sense of Belonging) สถานศึกษาอย่างแท้จริง และยั่งยืน เอกสารอ้างอิง ม.ป.พ. ม.ป.ป. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัด การศึกษา. ม.ป.พ. ม.ป.ป. http://learners.in.th/blog/thanattaedu3204/178643 [23 เมษายน 2553] ม.ป.พ. ม.ป.ป. ความหมายการศึ ก ษาปฐมวั ย (ออนไลน์). ม.ป.พ. ม.ป.ป. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Ch i_Ed/Haruethai_A.pdf . [23 เมษายน 2553] สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ . 2545. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค. อรุณี หรดาล. 2536. ผู้ปกครองกับการจัดการปฐมวัย ศึกษา. มหาวิทยาลัยสุขโขทัยธรรมาธิราช. อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต, ม.ป.ป. การศึกษาในภาคใต้. (ออนไลน์).สืบค้นจาก : http://albasra1.multiply.com/tag/ [23 เมษายน 2553] Epstein. Joyce L., 1995. School/Family /Community Partnerships. Phi Delta Kappa, May, pp. 701-712.

35

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง...



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

37

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

Research Spiritual Health of Caregiver in Case of End Stage Cancer of Muslim patients Maimunah Klangkong* Skonl Singha** Porntipa Bantomsin*** *M.A. (Human and Social Development) Faculty of Liberal Art, PSU ** Lecturer, Ph.D (Transplantation Sciences) Faculty of Medicine, PSU ***Lecturer, Asst. Prof. Ph.D (philosophy) Faculty of Human Science, Srinakharinwirot University Abstract This research aims to study Spiritual Health of Caregiver in Case of End Stage Cancer of Muslim patients. The research is qualitative research using ethnographic and phenomenological approach. Data were collected from Songklanagarind Hospital, Yensira Patients Building at Kok Nao Temple. Researcher followed participants to their residences which located in Pattani, Yala and Naratiwat to observe phenomenon and to conduct participative and non-participative observation and both informal interview and in-depth interview. Participants of the study were 7 specifically-selected caregivers. The study finds that all informants believe in religious teachings and apply these teachings in giving care to strengthen and encourage. Religious ritual and practices help to complete spiritual health. This research, participants reflects that pain and disease in God’s decree, and they accept that there are problem and barrier in providing care to patient. Caregiver puts hope on Allah to recovery patient from disease. In case the patients are died, caregiver s understands and accepts it. This shows that the spiritual courage of caregivers in from belief when caregivers understand phenomenon that happen to their selves or their family, it shows us that they have goal spiritual health. This research can conclude that Islamic belief has a strong relation to how caregivers provide care to their patients of Muslim end-stage cancer. Caregiver use the religious teaching along with practical method during providing care which can prove that Islamic teaching is the significant spiritual element of caregiver of end-stage Muslim cancer patients. Keyword: spiritual health, caregiver, end-stage cancer, Muslim patients


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

38

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

บทความวิจัย สุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็ง ระยะสุดท้ายในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไหมมูน๊ะ คลังข้อง* สกล สิงหะ**พรทิพา บรรทมสินธุ์*** *นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ** อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก, Ph.D (Transplantation Sciences) อาจารย์ประจําคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *** อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม, Ph.D (philosophy) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจําคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะ สุดท้าย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา และปรากฏการณ์วิทยา สถานที่เก็บข้อมูลวิจัยคือ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ที่พักผู้ป่วยอาคารเย็นศิระ วัดโคกนาว นอกจากนั้นผู้วิจัยยังได้ติดตามไปยังภูมิลําเนาของผู้ให้ ข้อมูลหลักซึ่งอยู่ในเขตจังหวัด ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส เก็บข้อมูลโดยเฝ้าดูปรากฏการณ์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยคัดเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กําหนด จํานวน 7 ราย ผลการศึกษาพบว่าว่าผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดยึดหลักศาสนาและนํามาใช้ในการดูแลผู้ป่วยเพื่อช่วยเยียวยาความหวัง และกําลังใจแก่ผู้ป่วย การปฏิบัติศาสนาจะช่วยให้จิตวิญญาณของคนสมบูรณ์ขึ้น ศาสนาช่วยให้คนเข้าใจตนเองและมี กําลังใจ ในงานวิจัยฉบับนี้เสียงสะท้อนของผู้ดูแลทั้งหมดเป็นการแสดงความยอมรับต่อความเจ็บป่วยเนื่องจากเข้าใจดีว่า เป็นการกําหนดโดยอัลลอฮฺ และในกระบวนการดูแลผู้ป่วยนั้นผู้ดูแลล้วนพบปัญหาและอุปสรรค แต่ผู้ดูแลทั้งหมดมีความ เชื่ออย่างที่สุดในความสามารถของอัลลอฮฺในการช่วยให้หายจากการเจ็บป่วย หรือในกรณีที่ผู้ป่วยต้องเสียชีวิตไป ผู้ดูแล ทั้งหมดก็ยอมรับได้ แสดงให้เห็นว่าพลังใจของผู้ดูแลมาจากความศรัทธานั่นเอง กําลังใจที่จะต่อสู้ ในการทําภารกิจนี้ให้ สําเร็จมาจากจิตวิญญาณที่พึ่งพิงอิงแอบกับหลักความเชื่อทางศาสนา เมื่อผู้ดูแลทั้งหมดมีหลักยึดเหนี่ยวในชีวิตรวมทั้งเข้าใจ ปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นกับตนองและครอบครัวนั่นแสดงว่าผู้ดูแลมีภาวะที่เป็นสุขทางจิตวิญญาณ จากงานวิจัยชิ้นนี้สามารถสรุปได้ว่าความเชื่อทางศาสนาอิสลามนั้นมีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์แนบแน่นกับวิถี ชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายโดยผู้ดูแลได้ใช้หลักศรัทธาควบคู่กับหลักปฏิบัติระหว่างการดูแล ผู้ป่วยซึ่งสามารถสรุปได้ว่าศาสนาอิสลามคือจิตวิญญาณที่สําคัญของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย คําสําคัญ : สุขภาวะทางจิตวิญญาณ, ผู้ดูแล, ผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

บทนํา โรคมะเร็ ง เป็ น ภาระอั น หนั ก หน่ ว งของระบบ สาธารณสุขของประเทศไทย และในประเทศอื่น ๆ ทั่ว โลก และภาระนี้ดูเหมือนจะสูงมากขึ้น ผลกระทบจาก โรคมะเร็งไม่เพียงแต่กระทบต่อตัวผู้ป่วยเองแต่ก็ยังมีผล ต่อคนดูแ ลใกล้ชิด ผู้ป่ว ย การรักษาพยาบาลโรคมะเร็ ง ต้องใช้ทรัพยากรต่าง ๆจํานวนมาก ทั้งทรัพยากรบุคคล อี ก ทั้ ง มี ค่ า ใช้ จ่ า ยในการรั ก ษาสู ง ที ม แพทย์ ต้ องมี ก าร ตรวจวิ นิ จ ฉั ย และมี ก ารวางแผนอย่ า งละเอี ย ด ซึ่ ง ต้ อ ง กา ร ที ม สนั บ สนุ น เ ช่ น นั ก โ ภช น า กา ร นั ก กายภาพบํา บัด และนัก สังคมสงเคราะห์ เป็น ต้น ในปี 2547 พบว่าโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่มากที่สุดใน ประเทศไทย และแนวโน้ ม อุ บั ติ ก ารณ์ ใ หม่ ๆ ของ โรคมะเร็ งชนิด ต่า ง ๆ พบว่ าจะเพิ่ม สูงขึ้ นเรื่อย ๆ เช่ น มะเร็งเต้านม มะเร็งลําไส้ใหญ่ (สกล สิงหะ, 2548: 37) และจากสถิติของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ในปี 2549 และ 2550 พบว่ามะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์เป็นโรงพยาบาล ระดับตติยภูมิ และมีศักยภาพสูงสุดในภาคใต้ซึ่งเน้นการ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยที่ ยุ่ ง ยากและซั บ ซ้ อ น ผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง ระยะ สุดท้ายที่ต้องดูแลแบบประคับประคองพบได้เสมอในทุก หอผู้ป่วย (อวยพร สมใจ, 2549: 126) ดังนั้นทีมบุคลากร ผู้ดูแลผู้ป่วยต้องค้นหาวิธีการ หรือกระบวนการเพื่อการ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด อย่ า งเป็ น องค์ ร วม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จึงได้เริ่มนํารูปแบบการดูแล ผู้ ป่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ยมาใช้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรมเมื่ อ พฤศจิกายน 2540(เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี, 2547:35) และมี การพัฒนาระบบการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยดําเนินงาน ตามหลักของการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ซึ่งให้ ความสํ า คั ญ กั บ ตั ว ผู้ ป่ ว ย และครอบครั ว เป็ น หลั ก เนื่องจากเมื่อมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับบุคคลใดบุคคล หนึ่ ง ในครอบครั ว ย่ อ มส่ ง ผลกระทบต่ อ ครอบครั ว ทั้ ง ระบบ บทบาทหน้าที่และแบบแผนการดําเนินชีวิตเดิมที่ เป็นอยู่ของสมาชิกในครอบครัวจะต้องมีการเปลี่ยนแปลง เพื่ อปรั บ ให้ เข้ า กั บ สภาวะความเจ็ บ ป่ ว ยของบุ ค คลใน ครอบครัว ครอบครัวต้องเผชิญกับวิกฤติการณ์ความไม่ แน่นอนของความเจ็บป่วย ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความตึงเครียด จากการดูแลเนื่องจากการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายเป็น

39

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

ภาระอันยากลําบากที่บุคคลในครอบครัวต้องเผชิญ เพราะ นอกจากจะต้องดูแลรั กษาโรคทางกายภาพแล้ว ยั งต้ อง เข้าใจ และสามารถดูแลลึกซึ้งถึงสภาวะทางจิตใจของผู้ป่วย รวมถึ งต้องมี หน้าที่ เกี่ ยวกั บการรั กษาพยาบาลมี ภาระที่ ต้องแบกรับความรู้สึกรับผิดชอบอีกมากมาย ต่อเรื่องราว ต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ ตั ว ผู้ ป่ ว ยที่ ผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยต้ อ งรั บ รู้ อ ยู่ ตลอดเวลา ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวมีความสําคัญมากขึ้น เนื่ องจากในภาคใต้ ตอนล่ า งของประเทศไทย ประกอบด้วยประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามเป็นจํานวน มาก โดยเฉพาะประชากรส่ ว นใหญ่ ใ นสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่บนหลักการและคํา สอนทางศาสนามายาวนาน ดั ง นั้ น ชาวมุ ส ลิ ม จึ ง มี หลั ก การของศาสนาเป็ น แนวทางปฏิ บั ติ (มานี ชู ไ ทย, 2544) ในทั ศ นะและหลั ก การตามคํ า สอนของศาสนา อิสลาม ศาสนาและจิตวิญญาณไม่มีสิ่งใดเด่นหรือสําคัญ ไปกว่าสิ่งใด ทั้งนี้เนื่องจากมุสลิมมีความสัมพันธ์กับพระ เจ้ า ตลอดเวลา และดํ า เนิ น ชี วิ ต ไปตามบทบั ญ ญั ติ ใ น คัมภีร์อัลกุรอาน ซึ่งเป็นหลักคําสอนของพระผู้เป็นเจ้า คือพระองค์อัลลอฮฺซุบฮานาฮูวาตาอาลา (พระองค์อัลลอ ฮฺ ที่ เป็ น ผู้ ท รงมหาบริ สุ ท ธิ์ ยิ่ ง ) และ จริ ย วั ต รหรื อแบบ ปฏิบัติ (สุนนะฮฺ) ของท่านศาสดามูฮัมมัด ซอลลัลลอฮูอะ ลัยฮิวัซซัลลัม (ขอพระองค์อัลลอฮฺทรงสรรเสริญและให้ ความสันติแด่ท่านศาสดามูฮัมมัด) ซึ่งเป็นธรรมนูญสูงสุด ดังนั้น เมื่อเกิดความเจ็บป่วย มุสลิมมีความเชื่อว่าความ เจ็บป่วยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และความเจ็บป่วยนั้น เกิดจากการทดสอบความอดทนในการบําบัดรักษา หาก เจ็ บ ป่ ว ยทางกายก็ ใ ช้ ย าในการบํ า บั ด รั ก ษา แต่ ห าก เจ็บป่วยทางจิตวิญญาณ สิ่งที่จะช่วยได้คือศาสนา และ ความศรัทธา หากผู้ป่วยมุสลิมมีความเข้าใจ และมีความ ศรัทธาต่อพระเจ้าก็จะทําให้มีกําลังใจที่จะต่อสู้กับความ เจ็บป่วย(ดํารง แวอาลี, 2547) ปั จ จุ บั น โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ มี ผู้ ป่ ว ย มุ ส ลิ ม อยู่ ใ นความดู แ ลจํ า นวนมาก จากสถิ ติ ข อง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์พบว่าในปี 2550 มีผู้ป่วย มุสลิมจํานวน 23,602 ราย แยกเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็ง จํานวน 1,990 ราย(เวชสถิติ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ , 2550) ดังนั้นทีมสุขภาพต้องให้ความสําคัญกับการดูแล ทั้งผู้ป่วยมุสลิมที่ป่ว ยเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย ที่เข้ารั บ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

การรักษาในโรงพยาบาล และผู้ดูแลที่ทําหน้าที่ดูแลผู้ป่วย โดยต้องส่งเสริ มให้ผู้ป่ วยและผู้ ดูแลผู้ป่ วยเกิด สุขภาวะ ทางจิตวิญญาณเพื่อให้เกิดกําลังใจ ความหวังและมีพลังที่ จะต่อสู้กับความเจ็บป่วยและในที่สุดก็จะนําไปสู่การมีสุข ภาวะที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมต่อไป จากการสัม ภาษณ์ ผู้ดู แลผู้ป่ วยในการลงพื้ น ที่ เบื้องต้น ตัวอย่างผู้ดูแลเพศหญิง สถานภาพคู่ ภูมิลําเนา อยู่ในจังหวัดนราธิวาส ทําหน้าที่ดูแลน้องชายซึ่งป่วยเป็น มะเร็ ง สมอง ผู้ ป่ ว ยพั ก รั ก ษาตั ว ในหอผู้ ป่ ว ยศั ล ยกรรม ประสาทโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ส่วนผู้ดูแลผู้ป่วย พักอาศัยที่อาคารเย็นศิระ พบว่าการที่ผู้ดูแลผู้ป่วยต้องมี ส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย ก่อให้เกิดความเครียด และ นอนหลับไม่เพียงพอ การนอนหลับเป็นกิจกรรมพื้นฐาน ของมนุษ ย์ ที่มี ความจํ าเป็น ต่อการมีสุ ขภาพที่ ดีทั้ งด้ า น ร่างกาย และจิตใจ แต่การที่ผู้ดูแลผู้ป่วยต้องให้การดูแล และคอยเอาใจใส่ผู้ป่วยเกือบตลอดเวลาทําให้เวลานอน หลับพักผ่อนไม่เพียงพอนอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่มี ผลทําให้ผู้ดูแลผู้ป่วยนอนหลับไม่เพียงพอ คือการที่ผู้ดูแล ผู้ ป่ ว ยต้ อ งอยู่ ใ นสภาพของสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ม่ คุ้ น เคย (อาคารเย็นศิระ) ทําให้การขาดความเป็นส่วนตัว ต้อง ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ ทําให้นอนหลับได้น้อยลง ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ อาจส่งผล ให้ผู้ดูแลผู้ป่วยเกิดอาการผิดปกติที่ไม่รุนแรงจนกระทั่ง เข้าสู่ภาวะเจ็บป่วยได้ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบด้านจิตใจของผู้ดูแล ผู้ป่วยอันอาจมาจากสาเหตุจากการกลัวสูญเสียบุคคลอัน เป็นที่รัก การสูญเสียเป็นสภาพการที่บุคคลต้องแยกจาก กันเป็นเหตุที่อาจเกิดขึ้นทันทีทันใดโดยไม่รู้ล่วงหน้าเป็น สิ่งที่ บุค คลไม่ส ามารถหลี กเลี่ย งได้ และอยู่เหนื อความ คาดหมาย อาจเป็นการสูญเสียที่ถาวร และความรู้สึกของ การสู ญ เสี ย ขึ้ น อยู่ กั บ สิ่ ง ที่ บุ ค คลให้ คุ ณ ค่ า และให้ ความสําคัญ การที่ผู้ดูแลผู้ป่วยรับรู้เกี่ยวกับสภาพอาการ ของผู้ป่วยมะเร็งว่าเป็นผู้ป่วยหนัก หมดหวังและไม่มีทาง รั ก ษาให้ ห าย และการที่ ไ ด้ เ ห็ น การเปลี่ ย นแปลงของ อาการอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการแย่ ลงทํ า ให้ ผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยมี ค วามวิ ต กกั ง วล เครี ย ด กลั ว สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ภาวะนี้จึงถือเป็นภาวะวิกฤต หากผู้ดูแลผู้ป่วยมีความกังวลในระดับสูง

40

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

ในขณะเดี ย วกั น การได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารไม่ ชัดเจนไม่เพียงพอก็เป็นสาเหตุหนึ่งของความเครียดได้ เช่นกัน โดยผู้ดูแลผู้ป่วยหวังว่าจะได้รับข้อมูลข่าวสารจาก พยาบาลมากที่สุด แต่มักจะพบว่าพยาบาลมีงานมากไม่มี เวลาพูดคุย และอธิบายถึงข้อมูลความเจ็บป่วย ปัญหา และความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาล นอกจากนี้ ความไม่เข้าใจด้านภาษาระหว่างพยาบาลกับผู้ดูแลผู้ป่วย อาจส่งผลให้ได้รับข้อมูลไม่เพียงพอ ไม่ชัดเจน อาจเกิด จากการที่ผู้ดูแลผู้ป่วยไม่กล้าต่อรองซักถามเมื่อไม่เข้าใจ เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ ผู้ ป่ ว ยเนื่ อ งจากเกรงใจแพทย์ และ พยาบาล หรือถ้าถามมากก็ เกรงว่าจะไม่ถูกใจ และถู ก ตําหนิ จึงทําให้ผู้ดูแลผู้ป่วยเกิดความไม่กระจ่างในเรื่องที่ สงสั ย ดั ง นั้ น การได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารไม่ เ พี ย งพอ ไม่ ชัดเจนจึงส่งผลให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้สึกว่าสถานการณ์ นั้ น มี ค วา ม ยุ่ ง ย า กเ กิ ด ค วา ม กลั ว และ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ความเครียดตามมา ในขณะเดียวกันการไม่ได้ประกอบ พิ ธี ก รรมทางศาสนาก็ เ ป็ น สาเหตุ ข องความเครี ย ดได้ เช่นกัน เนื่องจากการละหมาดเป็นหลักปฏิบัติ และเป็น รากฐานสํ า คั ญ ของศาสนาอิ ส ลาม การละหมาดเป็ น หน้าที่ของมุสลิมไม่อาจจะละเว้นได้ไม่ว่ากรณีใดๆ การทิ้ง ละหมาดเป็นการบ่งบอกถึงการปฏิเสธองค์อัลลอฮฺ ส่งผล ให้ ค วามเคร่ ง ครั ดในศาสนาหายไป(บรรจง บิ น กาซั น , 2543) และเป็ นการปฏิเสธคุ ณความดี ดั ง นั้ นการขาด ละหมาดจึ ง อาจเป็ น สถานการณ์ ห นึ่ ง ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเครียดแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยได้เช่นกัน สถานการณ์ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเครี ย ดด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก็ มี ผ ล ต่ อ ผู้ ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ก ล่ า ว คื อ สภาพแวดล้อมที่ ผู้ป่ว ยไม่ คุ้นเคย เสียงการทํ างานของ เครื่องมือทางการแพทย์ การพูดคุยกันระหว่างเจ้าหน้าที่ ด้วยกัน หรือญาติที่มาเยี่ยมผู้ป่วย อาจทําให้ผู้ดูแลผู้ป่วย เกิดความกังวล สภาพความแออัดของสถานที่ ก่อให้เกิด ความไม่เป็นส่วนตัวและรู้สึกเครียดได้ นอกจากนี้ความไม่ สะดวกของสถานที่ ใ นการทํ า ละหมาดก็ มี ผ ลต่ อ ความเครี ย ดของผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยเช่ น กั น ดั ง กล่ า วมาแล้ ว ข้างต้นว่าการละหมาดเป็นหน้าที่ที่มุสลิมไม่อาจละเว้นได้ ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม มุสลิมทุกคนต้องดํารงการละหมาด อย่างน้อยวันละ 5 ครั้ง เป็นประจําทุกวันตามเวลาที่ กําหนด ก่อนละหมาดทุกครั้งผู้ทําละหมาดต้องทําการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

ชําระร่างกายบางส่วน ที่บทบัญญัติของศาสนาได้กําหนด ไว้ และสถานที่ที่ใช้ทําละหมาดต้องสะอาด ดังนั้นหาก สถานที่ละหมาดไม่สะดวก หรือไม่สะอาด ทําให้เกิดเป็น อุปสรรคแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย และก่อให้เกิดความเครียด และ ความคับข้องใจได้เช่นกัน การที่ ผู้ วิ จั ย มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษาประเด็ น เหล่านี้เนื่องจากผู้วิจัยพบข้อจํากัดและความแตกต่างของ ผู้ดูแลผู้ป่วยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ว่าจะเป็น เรื่ อ งการสื่ อ สารที่ ใ ช้ ภ าษามลายู การเดิ น ทางมา โรงพยาบาลด้วยความยากลําบากเนื่องจากระยะทางที่ ห่างไกล ระดับการศึกษาต่ํา ทําให้มีข้อจํากัดของโอกาส ในการจัดการปัญหาต่างๆ นอกจากนี้ปัญหาเศรษฐกิจก็ เป็นปัญหาหลักที่พบเจอในกลุ่มผู้ดูแลเกือบทั้งหมด และ ที่สําคัญที่สุดคือความเป็นชาติพันธุ์ที่แตกต่างกับผู้คนส่วน ใหญ่ ทําให้มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่ต่างกัน ดัง นั้ น ผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยมะเร็ง ระยะสุ ด ท้ า ยจึ ง เป็ น กุญแจสําคัญของการดูแลผู้ป่วย ที่บุคลากรในทีมสุขภาพ ต้องให้ความสําคัญ เนื่องจากญาติผู้แลผู้ป่วยเป็นผู้ใกล้ชิด กับผู้ป่วยมากที่สุด ดังนั้นสุขภาพจิต และภาวะอื่น ๆ ของ ญาติ ย่ อมมี ผ ลกระทบต่ อ ผู้ ป่ ว ย และผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยต้ อ ง เข้าใจวิธีการรักษา และเป้าหมายในการดูแลผู้ป่วย เพื่อ ช่วยกันปรับเปลี่ยนเป้าหมายการรักษาจากการมุ่งเน้น การฟื้นหายจากโรค มาเป็นการบรรเทาอาการ และความ ทุกข์ทรมาน ซึ่งเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านที่สําคัญช่วงหนึ่งของ ชีวิตครอบครัวผู้ป่วยที่จะต้องเผชิญกับความตึงเครียดต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาของความเจ็บป่วยของบุคคลอันเป็นที่ รัก ผู้ดูแลผู้ป่วยทําหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของทีมสุขภาพที่ ต้ อ งดู แ ลอย่ า งใกล้ ชิ ด หากมี สุ ข ภาพจิ ต ดี ผ ลการดู แ ล ผู้ป่วยก็จะมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันความเข้าใจใน เรื่ อ งของความตาย และวาระสุ ด ท้ า ยของชี วิ ต หรื อ แม้กระทั่งจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแลผู้ป่วยจะ ช่วยให้การดูแลเป็นไปโดยไม่ขัดแย้งหรือลดภาวะความ ตึ ง เครี ย ดของผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยได้ จึ ง เป็ น ความจํ า เป็ น ที่ บุคลากรทางการแพทย์ ต้องทํ าความเข้ าใจอย่า งลึ กซึ้ ง เกี่ยวกับบริบทของครอบครัว และสังคมของผู้ป่วย และ จําเป็นต้องทราบข้อมูลที่มีความจําเป็นต่อการดูแลผู้ป่วย อย่า งถี่ ถ้ว นรอบด้ าน รวมทั้ งการให้ค วามรู้ที่ ถูก ต้องใน เรื่องการรักษาแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ

41

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

ในรักษา เนื่องจากเป้าหมายของการรักษาผู้ป่วยระยะ สุดท้ายมีเพียงเพื่อบรรเทาอาการและลดความเจ็บปวด ดังนั้นผู้ดูแลผู้ป่วยต้องเข้าใจในวัตถุประสงค์ เพื่อนําไปสู่ เป้าหมายเดียวกันโดยใช้หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม นั่นเอง หากสามารถลดความเครียดและความกังวลของ ผู้ดูแล รวมทั้งผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ โรคและแผนการรั ก ษาของที ม สุ ข ภาพจะช่ ว ยให้ เ กิ ด ผลสัมฤทธิ์เชิงบวกต่อการรักษาพยาบาลโรค ทําให้การ รั ก ษาประสบความสํ า เร็ จ มากขึ้ น และหากมี ค วาม จําเป็นต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ผู้ดูแลผู้ป่วยจะมีบทบาท สําคัญในการดูแลผู้ป่วยจนวาระสุดท้ายของชีวิต จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่ า งานวิ จั ย ที่ ศึกษาภาวะทางจิตอันเกิดจากความตึงเครียดของความ รับผิดชอบที่ผู้ดูแลผู้ป่วยมีต่อผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายยัง มี น้ อ ยมากในประเทศไทยโดยเฉพาะผู้ ป่ ว ยมุ ส ลิ ม ใน ภาคใต้ของประเทศ ส่วนใหญ่การศึกษาวิจัยในประเด็น ดังกล่าวจะอยู่ในต่างประเทศ ส่วนงานวิจัยที่แสดงให้เห็น ถึงความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ของผู้ดูแลผู้ป่วยระยะ สุด ท้ ายนั้ นก็ มี น้อยเช่ น กัน เมื่ อมีค วามเจ็บ ป่ วยเกิด ขึ้ น ผลกระทบไม่ไ ด้เกิ ดแก่เฉพาะตัว ผู้ป่ วยเองแต่ส่ งผลต่ อ สมาชิ กในครอบครั ว ทุ ก คน เนื่ อ งจากการเจ็ บ ป่ ว ยส่ ง ผลกระทบต่ อบทบาทหน้ า ที่ โ ดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู้ ดู แ ล ผู้ ป่ ว ยซึ่ ง มี ภ าระงานที่ ผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยต้ องทํ า ให้ กั บ ผู้ ป่ ว ย ประกอบกับงานและชีวิตส่วนตัวของผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีอยู่ เดิมมีผลทําให้เกิดความเครียดในการดูแลได้และจากการ ทบทวนงานวิจัยในประเทศที่ผ่านมาในอดีต พบว่ายังไม่มี การศึ ก ษาโดยตรงเกี่ ย วกั บ การดู แ ลสุ ข ภาวะทางจิ ต วิญ ญาณของผู้ ดู แลผู้ป่ ว ยมุ สลิ ม ที่ป่ วยเป็น มะเร็ง ระยะ สุดท้าย ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับการให้ ความสําคัญต่อสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้ดูแลผู้ป่วย มะเร็งระยะสุดท้ายที่นับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากใน การดูแลผู้ป่วยมุสลิมนั้น ทีมสุขภาพมีทั้งที่นับถือศาสนา อิ ส ลาม และนั บ ถื อ ศาสนาอื่ น ๆ ซึ่ ง ในทางปฏิ บั ติ ที ม สุขภาพไม่สามารถเลือกดูแลผู้ป่วยตามศาสนาที่ตนนับถือ เท่านั้น ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยที่มีความเชื่อทางศาสนาต่าง จากตนจึ ง จํา เป็ น ต้ องมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ องใน หลักคําสอนของศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี ของผู้ ป่ ว ยและผู้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ย อั น จะนํ า ไปสู่ ก ารบรรลุ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

เป้ า หมายของการให้ ก ารรั ก ษา การดู แ ลสุ ข ภาพ และ ความเจ็ บ ป่ ว ยของผู้ ป่ ว ยมุ ส ลิ ม ได้ ส อดคล้ องกั บ บริ บ ท ความเป็นจริง ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาทั้งหมดข้างต้น ผู้วิจัยจึง มีความสนใจที่จะศึกษาถึงความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และ สุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็น มะเร็ ง ระยะสุ ด ท้ า ยเนื่ อ งจากผู้ วิ จั ย มี ค วามเชื่ อ ว่ า ทรัพยากรมนุษย์คือสิ่งที่สําคัญที่สุดของสังคม ซึ่งจําต้องมี การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ทรัพยากรมนุษย์เปรียบเสมือน กลไกที่ ค อยเป็ น แรงขั บ เคลื่ อ นให้ ร ะบบโครงสร้ า งทุ ก โครงสร้างทางสังคมมีการปรับเปลี่ยน และพัฒนา สังคม จะพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดนั้น ล้วนแล้วแต่ ขึ้นอยู่กับศักยภาพของมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนั้นมีความจําเป็น ที่บุคคลต้องมีความพร้อมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อจะเป็นพลังในการพัฒนาสังคม และประเทศ หรื อ สัง คมใดแม้ จ ะขาดแคลนทรัพ ยากรธรรมชาติ แต่ หาก บุคคลในสังคมมีคุณภาพ สุขภาพร่างกายแข็งแรง และมี สุ ข ภาวะทางจิ ต ใจที่ ดี ส่ ง ผลให้ มี ค วามสามารถเป็ น แรงผลักดันในการพัฒนาสังคมให้รุ่งเรืองได้ แต่ในทาง กลับกันหากสังคมมีคนเจ็บป่วยจํานวนมากไม่ว่าจะเป็น การเจ็บป่วยทางกายภาพ หรือเป็นความบกพร่องทางจิต วิญญาณก็ตาม สังคมจะเกิดปัญหาและอุปสรรคในการ พั ฒ นาให้ มี ค วามก้ า วหน้ า ได้ และเป็ น ข้ อ จํ า กั ด อั น จะ นําไปสู่ความล้มเหลวต่อการพัฒนาประเทศในที่สุด วัตถุประสงค์ ค้นหาคําตอบเกี่ยวกับสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ วิธีการดําเนินการวิจัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ วิ ธี การศึก ษาใช้ก ารศึก ษาวิจัย เชิงชาติพันธ์ วรรณนา และ ปรากฏการณ์ วิ ท ยา การเลื อ กผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ได้ รั บ การ คัด เลื อกจากผู้ ดูแ ลผู้ ป่ วยมุ ส ลิ มที่ ป่ ว ยเป็ น มะเร็ ง ระยะ สุดท้ายจํานวน 7 ราย โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ตาม คุณสมบัติที่กําหนดไว้

42

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

ส่ ว นผู้ ดู แ ลคื อ ผู้ ที่ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยอย่ า งสม่ํ า เสมอ ตั้งแต่ผู้ป่วยรับ รู้ว่าเป็นมะเร็งทั้งที่อยู่ที่บ้ านและเข้ารั บ การรักษาในโรงพยาบาล เป็นผู้ดูแลหลัก ระยะเวลาที่ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยต่ อ เนื่ อ งอย่ า งน้ อ ยสามเดื อ น สามารถพู ด ภาษาไทยได้ ยินดีและเต็มใจในการร่วมวิจัยครั้งนี้ โดย พิจารณาว่าตัวอย่างที่เลือกน่าจะให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการศึกษาคือมีข้อมูลมาก ส่วนผู้ป่วยคือผู้ป่วยที่ได้รับ การวินิจฉัยจากแพทย์ว่าป่วยเป็นโรคมะเร็งระยะสุดท้าย โดยเลือกพื้นที่ศึกษา ได้แก่ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เฉพาะหน่วยงานที่มีผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะ สุดท้ายที่เข้า พักรัก ษาได้ แก่ ศู นย์ให้ ยาเคมีบําบั ด และ หน่วยรังสีรักษา รวมถึงที่พักผู้ป่วยและญาติอาคารเย็น ศิระในวัดโคกนาว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยตัวผู้วิจัย ซึ่งเป็นเครื่องมือสําคัญแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แนว คําถามเกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาอิสลามที่เชื่อมโยง กับการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแล โดยแนวคําถามได้รับการ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือจากผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนสาม ท่าน แบบบันทึกภาคสนาม และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล เช่น เครื่องบันทึกเสียงสําหรับการสัมภาษณ์ กล้อง บันทึกภาพ และสมุดจดบันทึก การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็ บ ข้ อมู ล ใช้ ก ารเฝ้ า ดู ป รากฏการณ์ โ ดย การสั ง เกตแบบมี ส่ ว นร่ ว ม การสั ม ภาษณ์ อย่ า งไม่ เป็ น ทางการและเชิงลึก ซึ่งเป็นการสัมภาษณ์ตามแนวคําถาม การสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และการบันทึกภาคสนาม ซึ่งต้องอาศัยสัมพันธภาพ และจรรยาบรรณของผู้วิจัยใน การพิทักษ์สิทธิ์ของผู้ให้ข้อมูลซึ่งได้ผ่านคณะกรรมการ จ ริ ย ธ ร ร ม ก า ร วิ จั ย ใ น ค น ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส่วนความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลผู้วิจัยได้สร้าง ความน่ า เชื่ อ ถื อ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อให้ข้ อค้ นพบที่ เกิ ดจากการวิ จัย นั้น สามารถอธิ บาย ความเชื่อมโยงของความเชื่อทางศาสนาอิสลามกับการ ดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแลได้อย่างถูกต้องโดยมีปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ ระยะเวลาที่ให้กับผู้ให้ข้อมูลนานพอสําหรับการ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

สร้างสัมพันธภาพจนเกิดความไว้วางใจโดยในการศึกษา ครั้งนี้ผู้ให้ข้อมูลแต่ละรายได้รับการสัมภาษณ์เชิงลึก 4-6 ครั้งนอกจากนี้กระบวนการสัมภาษณ์เป็นการสัมภาษณ์ แบบเชิ ง ลึ ก ด้ ว ยบรรยากาศที่ เ ป็ น กั น เองและเป็ น ธรรมชาติ ส่ ว นการยื น ยั น ว่ า การค้ น พบมี ห ลั ก ฐาน สนับสนุนและไม่มีเหตุผลอื่นที่ทําให้เกิดความสงสัยในข้อ ค้นพบนั้นผู้วิจัยนําข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาบันทึก เป็นสรุปย่อและนําไปย้อนถามผู้ให้ข้อมูลเพื่อยืนยันความ ถูกต้องข้อมูลว่าเป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ให้ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยเริ่มต้นวิเคราะห์ข้อมูลไปพร้อมๆกับการ เก็บข้อมูลในช่วงแรกเริ่มและทําต่อเนื่องไปตลอดการวิจัย โดยการจัดระเบียบข้อมูลทั้งในทางกายภาพและเนื้อหา ให้อยู่ในรูปของเอกสารที่เป็นระเบียบและระบบสามารถ เรี ย กมาใช้ ไ ด้ โ ดยสะดวกต่ อ มาจะเป็ น การแตกข้ อ มู ล ออกเป็นหน่วยย่อยๆ ตามความหมายเฉพาะของแต่ละ หน่วยนั้น และนํามาจัดประมวลผลข้อมูล สุดท้ายจึงได้ จัดทํารายงานผลวิจัย โดยพรรณนาวิเคราะห์ สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ของผู้ดูแลผู้ป่วยมุสลิมที่ป่วยเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัยได้แสดงผลการวิจัยใน ประเด็นต่างๆซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ หลักคําสอนในอิสลามที่ใช้ดูแลผู้ป่วย ผู้ดู แลได้ บอกเล่ าเกี่ยวกั บการนํ าหลั กความเชื่ อ ทางศาสนา โดยเฉพาะปรัชญาที่เป็นธรรมนูญชีวิต มาใช้ใน การดู แลผู้ ป่ ว ยโรคมะเร็ ง ระยะสุ ดท้ า ยไว้ ว่ า นอกจาก หลักการอดทนแล้ว การเชื่อในอัลลอฮฺ และอ่านคัมภีร์อัลกุ รอาน รวมทั้งการละหมาดก็เป็นสิ่งสําคัญดังคําบอกเล่าที่ว่า “…ใช้ เ ยอะ เช่ น 1 อดทน 2 มอบหมาย ให้ อั ล ลอฮฺ เรารั ก ษา อั ล ลอฮฺ ใ ห้ ห ายก็ ห าย ไม่ ห ายก็ ของอัลลอฮฺ เราพยายามอย่างสูงแล้ว …” (ก๊ะเยาะห์, 2552: สัมภาษณ์) “… คือยังไงล่ะ พอเราเครียดมากๆ ก็อ่านอัลกุรอาน ละหมาดสุนัต(เป็นการละหมาดที่นอกเหนือจาก

43

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

การละหมาดภาคบังคับ ปฏิบัติเพื่อเป็นการเสริมสร้างผล บุญให้แก่ตนเอง หรืออาจขอพรให้แก่ผู้ป่วยด้วย)…”(ก๊ะ เมาะห์, 2552: สัมภาษณ์) จากคําบอกเล่าดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การนํา หลั ก ความรู้ เ ชื่ อทางศาสนาในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วกั บ การ ศรัทธาในอัลลอฮฺมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยนั้นส่วนหนึ่งเป็น การเยียวยาและสร้างความหวังและพลังใจให้แก่ผู้ดูแลได้ เช่นกัน ที่มาของพลังใจในการดูแลผู้ป่วย ผู้ดูแลได้บอกเล่าเกี่ยวกับพลังใจของผู้ดูแลที่ทํา ให้ ไม่ รู้สึ ก ท้อกับ ภารกิจ การดูแ ลผู้ป่ วยโรคมะเร็ง ระยะ สุดท้ายไว้ว่ากําลังใจมาจากอัลลอฮฺดังคําบอกเล่าของก๊ะ ตาที่ว่า “... อัลลอฮฺให้กําลังใจแก่เรา ให้เราสู้เพื่อจะได้ ดูแลเค้า คนไข้ก็มีส่วน เห็นเค้าเราก็มีกําลังใจ...”(ก๊ะตา, 2552: สัมภาษณ์) เสียงสะท้อนของก๊ะตาแสดงให้เห็นว่า กําลังใจ สูงสุดมาจากอัล ลอฮฺ ทํ าให้ตนเองมีพลั งใจที่จ ะไปดูแ ล ผู้ป่ ว ย ส่ ว นตัว ผู้ ป่ วยเองก็ มี ผ ลต่ อการสร้ างกํ า ลัง ใจแก่ ผู้ ดู แ ลด้ ว ยเช่ น เดี ย วกั น มุ ส ลิ ม ไม่ ค วรสิ้ น หวั ง ในความ เมตตาของพระองค์อัลลอฮฺ ซุบฮานาฮูวาตาอาลา ฉะนั้น ในการเยี่ยมเยียนผู้ป่วยสิ่งที่ควรปฏิบัติคือ การเสริมสร้าง ความหวังให้แก่ผู้ป่วย เนื่องจากจะทําให้ผู้ป่วยมีกําลังใจดี ขึ้น การให้ความหวังแก่ผู้ป่วยหมายถึง การพูดที่ทําให้เขา หวั ง ว่ า เขาคงจะมี ชี วิ ต อยู่ ต่ อไปได้ อีก เพื่ อจะได้ ก ระทํ า ความดี ต่ อ ไป นอกจากการให้ ค วามหวั ง และการ เสริมสร้างกําลังใจแล้ ว ญาติมิต ร ผู้ดูแลหรื อผู้มาเยี่ย ม จะต้องชักชวนให้ผู้ป่วยประกอบความดี และเลิกปฏิบัติ สิ่งที่ไม่ดีทั้งหลาย เพราะมุสลิมมีหน้าที่ตักเตือนระหว่าง กัน เสมอ และทุก คนควรน้ อมรับ คํ าตั กเตื อนให้ ก ระทํ า ความดี ชี วิ ต ที่ เ ปลี่ ย นแปลงระหว่ า งที่ ต้ อ งดู แ ลผู้ ป่ ว ย และ ผลกระทบที่มีต่อการปฏิบัติศาสนกิจ ผู้ดูแลได้บอกเล่าเกี่ยวกับการเปลี่ ยนแปลงใน ชีวิตของตนเองระหว่างดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย ไว้ว่าชีวิตเปลี่ยนเป็นคนละคนปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา มากขึ้นกว่าก่อนดังคําบอกเล่าของแบเซ็งที่ว่า


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

“ ...แบเซ็งเปลี่ยนเป็นคนละคน ปฏิบัติศาสนา มากขึ้น…" (แบเซ็ง,2552: สัมภาษณ์) จากคํ า กล่ า วข้ า งต้ น แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู้ ดู แ ล สะท้อนผลการที่มาทําหน้าที่นี้ว่า ทําให้ได้ทบทวนตนเอง และได้ ใ กล้ ชิ ด ศาสนามากขึ้ น โดยเปรี ย บเที ย บว่ า ประสบการณ์ครั้งนี้ ทําให้ตนเองเปลี่ยนแปลงไปเป็นคน ละคน ส่ ว นผู้ ดู แ ลสามรายได้ บ อกเล่ า เกี่ ย วกั บ มุ ม มอง ผลกระทบที่มีต่อการปฏิบัติศาสนกิจระหว่างดูแลผู้ป่วย โรคมะเร็งระยะสุดท้ายไว้ว่าการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ สุดท้ายไม่กระทบต่อการปฏิบัติศาสนกิจของตนเองและ ในทางตรงกันข้ามการที่ต้องดูแลผู้ป่วยดังกล่าว ยิ่งทําให้ เพิ่มความตระหนักในการปฏิบัติศาสนกิจมากขึ้นดังคํา บอกเล่า “...ไม่ ก ระทบ ยิ่ ง เพิ่ ม อี ก เมื่ อ ก่ อ นเราไม่ ละหมาดตัฮยุ ด(ตั ฮยุด โดยรากศัพ ท์หมายถึงละทิ้ง การ นอน ในที่นี้เป็นการละหมาดที่นอกเหนือจากภาคบังคับ ทําตอนกลางคืนเพื่อเข้าใกล้ชิดพระผู้เป็นเจ้าเพื่อวิงวอน ขอพรในสิ่งที่ต้องการ) เราได้ทบทวนมากขึ้น” (แบเซ็ง 2552: สัมภาษณ์) “ไม่น๊ะ ตอนอยู่ รพ.ที่บ้านก็ปอซอ(ถือศีลอด) ได้ครบ ไม่เหนื่อย ไม่เพลีย ไม่กระทบน๊ะ ละหมาดก็ไม่มี ปัญหา” (ก๊ะตา, 2552: สัมภาษณ์) “...ครบ ทําได้ทุกอย่าง ทําอยู่ตลอด ปอซอ(ถือ ศีลอด)ครบไม่เคยขาด” (ก๊ะโซรยา,2552: สัมภาษณ์) จากคําบอกเล่าดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้ดูแล ยื น ยั น ตรงกั น ว่ า การดู แ ลผู้ ป่ ว ยไม่ มี ผ ลที่ จ ะทํ า ให้ ก าร ปฎิ บั ติ ศ าสนกิ จ ของตนเองบกพร่ อ งไป นอกจากไม่ กระทบแล้ว การปฏิบัติศาสนกิจยังเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากในช่วงเวลาวิกฤตของชีวิตนั้น เป็นธรรมดาของ มนุษย์ที่ต้องการหาความสงบและกําลังใจจากสิ่งที่ตนเอง เชื่อถือและศรัทธา

44

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

“...หนึ่งอ่านหนังสือเกี่ยวกับคําสอนศาสนา เรา รู้ว่าถ้าเราปฏิบัติดีกับบุพการี ผลนั้นจะเกิดกับเราที หลัง เรายึดหลักนี้ที่หนึ่ง ภรรยามาที่สอง ต่อมาคนข้างๆ ญาติพี่น้อง” (แบเซ็ง, 2552: สัมภาษณ์) ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้ดูแลบางส่วนเลือกที่ จะศึก ษาความรู้จ ากคํา สอนเกี่ย วกั บศาสนาเพื่ อค้ นหา ทางออกในการแก้ปัญหาเมื่อมีความคับข้องใจเนื่องจาก ศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจที่สําคัญ จากการศึ ก ษาพบว่ า ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ทั้ ง หมดมี ความสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งกับศาสนาอิสลามที่ตนเองนับถือ นับได้ว่ าศาสนาเป็น ฐานที่ แข็ งแกร่ งของผู้ ให้ ข้อมูล ซึ่ ง ผู้ ดู แ ลได้ ส ะท้ อ นพฤติ ก รรมการดู แ ลผู้ ป่ ว ยของผู้ ดู แ ล ภายใต้ อิท ธิ พ ลของความเชื่ อทางศาสนาโดยมี มุ ม มอง เกี่ ย วกั บ หลั ก คํ า สอนในอิ ส ลามที่ ใ ช้ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยว่ า ใช้ หลั ก การมอบหมายทุ ก อย่ า งให้ กั บ อั ล ลอฮฺ มุ ม มอง เกี่ยวกับที่มาของพลังใจในการดูแลผู้ป่วยว่า กําลังใจมา จากอัล ลอฮฺ ผู้ดู แลได้ สะท้อนมุม มองเกี่ย วกั บชี วิต ที่ เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างที่ต้องดูแลผู้ป่วยว่าเปลี่ยนเป็น คนละคนปฏิ บั ติ กิ จ กรรมทางศาสนามากขึ้ น เกี่ ย วกั บ ผลกระทบที่มีต่อการปฏิบัติศาสนกิจจากการที่ต้องดูแล ผู้ป่วยว่า ไม่กระทบ ยิ่งเพิ่มมากขึ้น มุมมองเกี่ยวกับที่พึ่ง ทางใจเมื่อมีความรู้สึกคับข้องใจว่า หาทางออกโดยการ อ่านหนังสือคําสอนศาสนา ทัศนะเกี่ยวกับความตายนั้น ผู้ ดู แ ลทั้ ง หมดให้ คํ า ตอบว่ า อิ ส ลามขึ้ น อยู่ กั บ พระเจ้ า ความประสงค์ของอัลลอฮฺ อย่างไรก็อย่างนั้น

การย อมรั บ เข้ า ใ จ แ ละ อยู่ อย่ า ง มี ค วา มหวั ง ความหวัง กําลังใจ: พลังแห่งการเยียวยา ผู้ ใ ห้ ข้ อมู ล ได้ ใ ห้ ค วามรู้ สึ ก ต่ อมุ ม มองเกี่ ย วกั บ ความหวังและกําลังใจในระหว่างการดูแ ลผู้ป่วยมะเร็ ง ระยะสุดท้ายไว้โดยให้ความรู้สึกต่ออาการของผู้ป่วยว่า ไม่ว่าผู้ป่วยจะมีอาการอย่างไรก็ต้องยอมรับ เข้าใจ กับสิ่ง ที่พึ่งทางใจเมื่อรู้สึกคับข้องใจ ที่เกิดขึ้นและยังรู้สึกว่ามีความหวังอยู่ตลอดดังคําบอกเล่า ผู้ ดู แ ลได้ บ อกเล่ า เกี่ ย วกั บ ที่ พึ่ ง ทางใจ และ “...คิดเหมือนกัน เกี่ยวกับความตาย แต่เราต้อง ทางออกของความคับข้องใจระหว่างดูแลผู้ป่วยไว้ว่า การ serah tawakkal (ยอมรับเข้าใจ: แปลจากภาษามลายู อ่า นหนั งสื อเกี่ ยวกับ คํ าสอนศาสนาก็ ช่ว ยได้ มากดัง คํ า โดยผู้วิจัย) มีความหวังว่าจะหาย กําลังใจมาจากหมอ บอกเล่า โดยเฉพาะหมอฟ่ง แบเล่าให้ฟังว่า การฉายแสง เหมือน นรก สวรรค์ มันร้อน ก๊ะปลอบว่าให้ซอบา (อดทน: แปล


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

จากภาษามลายูโดยผู้วิจัย )บอกว่าไม่ต้องกังวลหมอจะ รักษาให้ มีอะไรให้บอก คิดถึงเสมอพี่ฟ่งนี้...” (ก๊ะเยาะห์, 2552: สัมภาษณ์) จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลใช้คําพูด ที่ให้ความหมายว่ายอมรับโดยดุษฎี และเข้าใจใน พระประสงค์ ข องอั ล ลอฮฺ ซึ่ ง ผู้ ดู แ ลเลื อ กที่ จ ะใช้ คํ า ว่ า serah tawakkal เพื่อแสดงออกในความรู้สึกดังกล่าว ซึ่ ง คํ า นี้ ใ นภาษามลายู มี ค วามหมายที่ ลึ ก ซึ้ ง มาก มี ความหมายกว้างไปถึงการยอมมอบกาย ใจ ตัวตนและ จิตวิญญาณให้กับพระผู้เป็นเจ้าอย่างไม่มีเงื่อนไข แต่ใน ขณะเดี ย วกั น ผู้ ดู แ ลก็ ยั ง มี ค วามหวั ง อยู่ ว่ า จะหายโดย ได้รับกําลังใจจากบุคคลรอบข้าง โดยเฉพาะกําลังใจจาก ทีม สุ ขภาพซึ่ง สํ า คัญ มากเนื่ องจากเป็ น บุ คคลที่ ใกล้ ชิ ด ผู้ป่วยและมีโอกาสได้มองเห็นความเป็นไปของผู้ป่วยไป พร้อมๆกับญาติและผู้ให้ข้อมูลสองรายได้ให้ความรู้สึกต่อ มุมมองเกี่ยวกับความหวังและกําลังใจระหว่างการดูแล ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายไว้ว่ากําลังใจไม่หมด หวังว่าสัก วันหนึ่งผู้ป่วยจะหายจากโรค ดังคําบอกเล่า “…หวังว่าสักวันนึงจะหาย เวลาเขาดีขึ้น เรามี หวังแต่รู้แล้วว่าโรคนี้ ต้องไปกับโรคนี้ใช่มั๊ยล่ะ…” (ก๊ะ ยะห์, 2552: สัมภาษณ์) “…อัลลอฮฺให้กําลังใจแก่เรา ให้เราสู้เพื่อจะได้ ดูแลเค้า คนไข้ก็มีส่วน เห็นเค้าเราก็มีกําลังใจ…” (ก๊ะตา, 2552: สัมภาษณ์) จากการศึ ก ษาพบว่ า ผู้ ดู แ ลล้ ว นแล้ ว แต่ มี ความหวังและกําลังใจในระหว่างดูแลผู้ป่วยถึงแม้ทราบดี ว่ า ผู้ ป่ ว ยจะต้ องเสี ย ชี วิ ต ในไม่ ช้ า นี้ แ ต่ ผู้ ป่ ว ยและผู้ ดู แ ล คอยป็ นกํ าลั งใจให้ กัน และกั น เนื่ องจากทุก คนต่า งเชื่ อ ในอั ล ลอฮฺ และหวั ง ในความเมตตาของอั ล ลอฮฺ นอกจากนั้ น ยั ง มี ที่ ม าของกํ า ลั ง ใจจา กคนไ ข้ ที่ มี ประสบการณ์ ใ นการป่ ว ยเป็ น มะเร็ ง มาพู ด คุ ย รวมทั้ ง กิจกรรมที่ห้องฉายแสงของทีมสุขภาพมีผลต่อความหวัง และกําลังใจของทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแลด้วยเช่นกัน ความหวั ง เป็ น ความต้ องการด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ ที่ ตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานของกาลเวลา เป็ น จิ น ตนาการถึ ง อนาคต และเป็ น พลัง ที่ ช่ว ยให้ บุ คคลดํ าเนิ นชี วิ ตอยู่ ไ ด้ อย่างมีคุณค่า ความหวังเป็นหนทางให้บุคคลได้ประสบ หรือใกล้ชิดกับความต้องการความจําเป็นของชีวิต เป็น

45

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

ประสบการณ์ส่วนบุคคลที่ซับซ้อน อธิบายได้ยาก เพราะ เป็นเรื่องของอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ความศรัทธาของ บุค คลที่ มั่ นใจว่า ความต้องการจะได้รั บ การตอบสนอง เป็นพลังกระตุ้นให้เกิดความอดทน เมื่อมองเห็นชัยชนะ อยู่เบื้องหน้า บุคคลที่มีความหวังจะเชื่อว่า หากสิ่งที่เขา ปรารถนานั้ น บรรลุ จุ ด มุ่ ง หมาย ชี วิ ต ของเขาจะ เปลี่ยนแปลงแปลงไปในทางที่ดี หรือสามารถแก้ไขปัญหา ต่ า ง ๆ ที่ เกิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ได้ หลั ก ของศาสนาอิ ส ลามได้ กล่าวถึงความต้องการความหวังไว้ว่า มุสลิมไม่ควรสิ้น หวังในความเมตตาของพระองค์อัลลอฮฺ นอกจากกําลังใจจากบุคคลรอบข้างแล้วจากคํา บอกเล่าดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลได้สะท้อนมุมมอง เกี่ยวกับความสําคัญของกําลังใจที่จะมาจากตัวผู้ป่วยเอง ด้วยการกระตุ้นให้ผู้ป่วยพยายามอดทนซึ่งหลักการซอบา หรือการอดทนนี้เป็นหลักคุณธรรมที่สําคัญในวิถีชีวิตของ มุสลิมเมื่อมีการเจ็บป่วยศาสนาอิสลามเชื่อว่าทุกอย่าง เกิ ด ขึ้ น จากพระประสงค์ ข องพระองค์ อั ล ลอฮฺ ซุ บ ฮา นาฮูวาตาอาลา ดังนั้นผู้ป่วยที่อดทนต่อความเจ็บป่ว ย ย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศลผลบุญ เนื่องจากความ อดทนเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา การตายของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ผู้ดูแลได้ให้ความรู้สึกต่อมุมมองเกี่ยวกับความ ตายในระหว่างการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายไว้ใน สามประเด็น ย่อยแต่ประเด็นหลักเป็ นเรื่องเดีย วกันคื อ การเชื่ อ ศรั ท ธาในพระผู้ เ ป็ น เจ้ า และต้ อ งการที่ จ ะให้ ผู้ ป่ ว ยจากไปอย่ า งสงบเมื่ อถึ ง เวลาที่ พ ระผู้ เ ป็ น เจ้ า ได้ กําหนดไว้ ผู้ใ ห้ ข้ อมูล หนึ่ ง รายได้ ให้ ค วามรู้ สึ ก ต่ อมุ ม มอง เกี่ยวกับความตายในระหว่างการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ สุ ด ท้ า ยไว้ ว่ า ความตายเป็ น ความหมายว่ า สายใย ความสั ม พั น ธ์ กั บ บุ ค คลอั น เป็ น ที่ รั ก จะสิ้ น สุ ด เมื่ อ วั น สุดท้ายของผู้ป่วยมาถึงดังคําบอกเล่า “…เป็นส่วนหนึ่งของคําว่าจิตวิญญาณของคําว่า พ่อกับลูก สายใยจะสิ้นสุดส่วนลึกๆเรายังมีหวัง เพราะ อิ ส ลามขึ้ น อยู่ กั บ พระเจ้ า ไม่ ก ะเกณฑ์ ต ามที่ หมอบอก บางคนหนั ก กว่ า นี้ ก็ อ ยู่ น าน หลั ก การอิ ส ลามเราต้ อ ง ถือ…” (แบเซ็ง, 2552: สัมภาษณ์)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

จากผลการศึกษาอธิบายได้ว่าผู้ให้ข้อมูลแสดง ให้เห็น ว่าความตายมี ความเกี่ยวข้องกับ สภาวะทางจิ ต วิญญาณของสายใยในความหมายของพ่อกับลูกซึ่งเป็น ความสั ม พั น ธ์ ที่ ลึ ก ซึ้ ง ถึ ง แม้ ว่ า ผู้ ดู แ ลรู้ สึ ก กั ง วลแต่ ก็ ยอมรั บ ในพระเจ้ า ซึ่ ง ในประเด็ น ดั ง กล่ า วนี้ ส ามารถ เชื่อมโยงไปสู่ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและผู้ดูแลใน ระหว่างที่ผู้ป่วยยังมีชีวิตอยู่อีกด้วย ผู้ให้ข้อมูลสองรายได้ให้ความรู้สึกต่อมุมมอง เกี่ยวกับความตายในระหว่างการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ สุดท้ายไว้ว่าเชื่อในอัลลอฮฺ ความตายเป็นความประสงค์ ของอัลลอฮฺ อย่างไรก็อย่างนั้นดังคําบอกเล่า “ตอนแรกหมอไม่ได้บอกเราว่าระยะสุดท้าย แต่ ค นไข้ รู้ เราไม่ ไ ด้ เ ตรี ย มตั ว ว่ า สุ ด ท้ า ยจริ ง ๆแต่ เ ชื่ อ ในอัลลอฮฺ…” “…(ยิ้มกว้าง) มันอยู่ตรงนั้นเอง “กอลา อินนา ลิลลา ฮีวาอีลัยฮีรอยีอูน” (คําแปล:แท้จริงเราเป็นสิทธิ ของอัลลอฮฺและเราจะต้องกลับคืนสู่พระองค์:อัลกุรอาน ซู เราะห์ อัล บากอเราะห์ ) ความประสงค์ ของอั ล ลอฮฺ อย่างไรก็อย่างนั้น แต่ด้วยชีวิตประจําวันการรับรู้ของคน ทั่ว ไปอาจจะมองว่ าน่ า กลัว มะเร็ง เป็น โรคที่ เป็น แล้ ว เหมือนว่าหายแล้วแต่เป็นอีก ยิ่งพอรู้ว่าระยะสุดท้ายก็ไม่ มีความหวังแต่อาเยาะห์ไม่ได้คิดแบบนั้น หมอเองก็ไม่มี ความหวั ง ตอนที่ ห มอบอกว่ า เมาะอยู่ ไ ด้ 2 เดื อ น น้ํ า หนั ก เมาะ 28 กิ โ ล เดิ น ไม่ ไ ด้ อยู่ บ นรถเข็ น ตลอด ตอนนี้ 58 กิโล จากวันนั้นถึงวันนี้ 4 ปีแล้ว พูดง่ายๆ คือทางโลกนั่นเอง แรกๆหมอก็ไม่อยาก… ไม่กล้าบอก ว่าเป็นโรคนี้ หมอบอกกับอาเยาะห์ว่า หมอไม่ อยากจะ บอกคนไข้ว่าเป็นอะไร กลัวบอกแล้วคนไข้จะแย่ลง แต่ เมื่อหมอบอกอาเยาะห์ อาเยาะห์ก็บอกเมาะเลย เพราะ คนอิสลามต้องไม่กลัวตาย เพราะว่าไม่เจ็บก็ตาย เจ็บก็ ตาย…” (อาเยาะห์, 2552: สัมภาษณ์) จากผลการศึ ก ษาอธิ บ ายได้ ว่ า ผู้ ดู แ ลแสดง ความเห็นที่สอดคล้องกันในประเด็นที่ว่าความตายมีความ เกี่ยวข้ องกับปรัชญาอิสลามและความเจ็บป่วย เนื่ องจาก อิสลามมีความเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้กําหนดทุกสภาวการณ์ ของสรรพสิ่ง(มัคลูค)รวมถึงการเกิดและการตายของมนุษย์ซงึ่ สอดคล้องกับหลักศรัทธาในข้อที่หกของอิสลามที่กล่าวไว้ว่า มุสลิมต้องศรัทธาในกฎกําหนดสภาวะของอัลอฮฺ(กอฎออ์-

46

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

กอฎัร) นั่นคือการศรัทธาว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่อุบัติขึ้น มีการ เคลื่ อนไหว เปลี่ ยนแปลงและดั บสู ญไปนั้ น เกิ ดจากกฎ กําหนดหรื อการบั นดาลของอัลลอฮฺทั้ งสิ้ น ไม่ว่ าเกี่ยวกั บ ธรรมชาติหรือมนุษย์ ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในทัศนะของ ศาสนาอิ สลามนั้ นการตายของมนุ ษย์ ได้ ถู กกํ าหนดจาก พระองค์อัลออฮฺ ซุบฮานาฮูวาตาอาลา ศาสนาอิสลามห้าม ไม่ให้มนุษย์รู้สึกอยากตาย แต่ให้รําลึกถึงความตายอยู่เสมอ เพื่อจะได้เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะกลับสู่พระองค์และ ทําให้มีความพร้อมที่จะเผชิญความตายด้วยความยินดีผู้ดูแล สองรายได้ ให้ ความรู้ สึ กต่ อมุ มมองเกี่ ยวกั บความตายใน ระหว่ างการดู แลผู้ ป่ วยมะเร็ งระยะสุ ดท้ ายไว้ ว่ าเมื่ อวั น สุดท้ายของผู้ป่วยมาถึงผู้ดูแลอยากให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ และไม่ลืมมูจั๊บ เพราะสักวันก็ต้องไปไม่ว่าเขาหรือเราดังคํา บอกเล่า “เอ่อ ก็เหมือนกันแหละ อยากให้เค้าไปอย่างสงบ ให้เค้ามูจั๊บ ไม่ให้เค้าลืมกล่าว เราต้องคอยเตือนเขา ใกล้ๆ กลัวเขาจะลืม” (ก๊ะตา, 2552: สัมภาษณ์) “คิดถึงอัลลอฮฺ ทําใจ จะเอาก็ทําใจ สักวันก็ต้องไป ไม่ว่าเขาหรือเรา” (ก๊ะยะห์, 2552: สัมภาษณ์) จากผลการศึ กษาอธิ บายได้ ว่ านอกจากผู้ ดู แลมี ความศรัทธาในพระเจ้าในเรื่องของการกําหนดการเกี่ยวกับ ความตายแล้ว ผู้ดูแลยังต้องการให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ โดยไม่ลืมการมูจั๊บ ซึ่งเป็นความปรารถนาของมุสลิมทุกคนที่ จะต้องการมีสติและได้กล่าวมูจั๊บก่อนจะเสียชีวิต โดยมุสลิม มี หลั กความเชื่ อที่ ว่ าหากบุ คคลใดได้ กล่ าวมู จั๊ บก่ อนตาย บุ ค คลนั้ นจะได้ กลั บ ไปอยู่ ใ นความเมตตาของพระเจ้ า นอกจากนี้การกล่าวมูจั๊บสามารถทําได้ตลอดเนื่องจากเป็น การกระตุ้นให้ผู้ป่วยนึกถึงอัลลอฮฺโดยเฉพาะผู้ป่วยที่รู้สึกตัว สามารถกล่าวได้เองแต่ในกรณีที่ ผู้ป่ วยอยู่ในภาวะสับสน หรือสะลึมสะลือผู้ดูแลจะเป็นผู้กล่าวโดยกระซิบเบาๆทีค่ า้ งหู ของผู้ป่วยเพื่ อให้ผู้ป่ วยได้ยิ นและจะช่วยให้ ผู้ป่วยได้ รู้สึ ก รําลึกถึงอัลลอฮฺ ทําให้มีจิตใจที่สงบขึ้น ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นแสดงว่าผู้ดูแลมุสลิมล้วนมี ความเชื่อ ศรัทธาที่หนักแน่ นต่ ออั ลลอฮฺ และยึ ดหลักนี้ใน ทุกๆวันของชีวิตไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตามซึ่งสอดคล้องกับ หลักศรัทธาในข้อที่หกของอิสลามคือการศรัทธาว่าทุกสิ่งทุก อย่างที่อุบัติขึ้นในจักรวาล โลกและมนุษย์มีการเคลื่อนไหว


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไหมมูน๊ะ คลังข้อง, สกล สิงหะ และพรทิพา บรรทมสินธุ์

เปลี่ ยนแปลงหรื อดับสู ญเกิ ดจากกฎกําหนดของพระองค์ อัลลอฮฺทั้งสิ้น อภิปรายผลการวิจัย จากผลการศึ กษาสามารถสรุ ปได้ ว่ าผู้ ให้ ข้ อมู ล ทั้งหมดยึดหลักศาสนาและนํ ามาใช้ในการดูแลผู้ป่วยเพื่ อ ช่ วยเยี ยวยาความหวั งและกํ าลั งใจแก่ ผู้ ป่ วย การปฏิ บั ติ ศาสนาจะช่วยให้จิตวิญญาณของคนสมบูรณ์ขึ้น ศาสนาช่วย ให้ คนเข้ าใจตนเองและมี กําลั งใจ ในงานวิ จั ยฉบั บนี้เสี ยง สะท้ อนของผู้ ดูแลทั้ งหมดเป็นการแสดงความยอมรั บต่ อ ความเจ็ บป่ วยเนื่ องจากเข้ าใจดี ว่ าเป็ นการกํ าหนดโดย อัลลอฮฺ และในกระบวนการดู แลผู้ ป่วยนั้นผู้ดู แลล้ วนพบ ปัญหาและอุปสรรค แต่ผู้ดูแลทั้งหมดมีความเชื่ออย่างที่สุด ในความสามารถของอั ลลอฮฺ ในการช่ วยให้ หายจากการ เจ็บป่วย หรือในกรณีที่ผู้ป่วยต้องเสียชีวิตไป ผู้ดูแลทั้งหมด ก็ยอมรับได้ แสดงให้เห็นว่าพลังใจของผู้ดูแลมาจากความ ศรัทธานั่นเอง กําลังใจที่จะต่อสู้ ในการทําภารกิจนี้ให้สําเร็จ มาจากจิ ตวิ ญญาณที่ พึ่ งพิ งอิ งแอบกั บหลั กความเชื่ อทาง ศาสนา เมื่ อผู้ดู แลทั้งหมดมีหลั กยึ ดเหนี่ยวในชีวิ ตรวมทั้ ง เข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นกับตนองและครอบครัว นั่นแสดงว่าผู้ดูแลมีภาวะที่เป็นสุขทางจิตวิญญาณ จากงานวิจัยชิ้นนี้สรุปได้ว่าความเชื่อทางศาสนา อิสลามนั้นมีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์แนบแน่นกับวิถีชีวิต ของผู้ดู แลผู้ป่ วยมุสลิมที่ป่ วยเป็นมะเร็ งระยะสุดท้ ายโดย ผู้ดู แลได้ ใช้ หลั กศรั ทธาควบคู่กั บหลักปฏิบั ติระหว่างการ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยซึ่ ง สามารถสรุ ป ได้ ว่ า ศาสนาอิ ส ลามคื อจิ ต วิญญาณที่สําคั ญของผู้ ดูแลผู้ ป่วยมุสลิมที่ป่ วยเป็นมะเร็ ง ระยะสุดท้าย ข้อเสนอแนะ ต่อเนื่องจากงานวิจัยชิ้นนี้ผู้วิจัยคาดหวังที่จะเห็น งานวิ จัยที่สานต่อเกี่ยวกั บการดูแลผู้ ป่ วยที่สอดคล้ องกั บ วัฒนธรรมและความเชื่ออย่างเป็นองค์รวมและควรส่งเสริม สนับสนุ นการเรี ยนรู้ด้ านภาษาแก่ที มสุ ขภาพ โดยเฉพาะ ภาษามลายู เอกสารอ้างอิง ดํ า รง แวอาลี . 2547. ความเจ็ บ ป่ ว ยและการ บําบัดรักษาในทัศนะอิสลาม ใน ดํารง แวอาลี,

47

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ...

บรรณาธิการ. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตาม แนวทางอิสลาม. 7-13. กรุงเทพฯ : โอเอส พริ้น ติง เฮ้าส์. เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี. 2542. การดูแลเพื่อบรรเทาอาการ วิถีแห่งการคลายทุกข์. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี จํากัด. มานี ชูไทย. 2544. หลักการอิสลามที่ สัมพันธ์กับการปฏิบัติตนทางด้านสุขภาพและ การสาธารณสุ ข . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2. กรุ ง เทพฯ: ภาควิชาสุขศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. สกล สิงหะ. 2548. คืนสู่เหย้า กลับเข้าสู่สังคม reach to recovery. สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์. อวยพร สมใจ. 2549. การดูแลแบบประคับประคองใน ผู้ ป่ ว ยไทยพุ ท ธ ใน ลั ก ษมี ชาญเวชช์ , บรรณาธิการ. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายการ ดูแลแบบองค์รวมเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิต. 126-129. สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์. ก๊ะโซรยา. 2552 , 2553. ผู้ให้สัมภาษณ์, 14 พฤษภาคม, 16, 20 มิถุนายน 2552 , 7 ตุลาคม และ 16 มกราคม 2553. ก๊ะตา. 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 5 มีนาคม, 2 และ 9 เมษายน, 13 พฤษภาคม, 2 มิถุนายน และ 14 กรกฎาคม 2552. ก๊ะเมาะห์. 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 3, 24 มิถุนายน , 26 สิงหาคม และ 7 ตุลาคม 2552. ก๊ะยะห์. 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 1,17,28 ธันวาคม 2552. และ 4 มกราคม 2553. ก๊ะเยาะห์. 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 14 พฤษภาคม, 24 มิถุนายน,22 กรกฎาคม, 16 กันยายน และ 8 ตุลาคม 2552. แบเซ็ง. 2551, 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 11 พฤศจิกายน, 10 ธันวาคม 2551 และ 6 มีนาคม, 3 เมษายน, 9 เมษายน และ 4 ตุลาคม 2552. แบเลาะห์. 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 6 และ 7 มีนาคม, 14 พฤษภาคม และ 5 ตุลาคม 2552. อาเยาะห์. 2552. ผู้ให้สัมภาษณ์, 1, 22 กรกฎาคม, 5 และ 28 ตุลาคม 2552.



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

49

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

Article Review of Thai Muslim Women’s Islam Rehabilitation Process Amporn Maddem* * Lecturer of Culture Studies Department, Faculty of Arts, Walailak University, Nakhorn Sri Thammarat Abstract This article presents the Islam rehabilitation process carried by middle class and lowermiddle class Thai Muslim women, and issues of and thoughts on woman activity. There are many movements mainly focusing Islam rehabilitation with main thoughts covering reviving fundamentalism camping, modern Islam, Islamic reformation. Traditional Islamic thought is the mainstream of Thai Muslim society. There are discussions on thought influence and its application to urban middle-class Muslim new generations’ daily life to call for self-discipline and rehabilitate society based on “Islam”. This is in the trace of returning to friendly Muslim life as in the part by attempting to reduce, be independent from and avoid different living, specifically following modern living. However, Islamic movement in Thai society reflects a composite picture of co-existence of praising “Islamic” thoughts and modern-thought based living under facing, negotiating and selecting for the purpose of application and thought response. Keywords: Muslim women, Thai society, Islam rehabilitation process


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

50

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

บทความวิชาการ ทบทวนกระบวนการฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิงมุสลิมในสังคมไทย อัมพร หมัดเด็ม* *อาจารย์ประจําสาขาวัฒนธรรมศึกษา สํานักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช บทคัดย่อ บทความนี้นําเสนอเรื่องราวของกระบวนการฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิงมุสลิมในสังคมไทยที่เกิดขึ้นในหมู่ชนชั้น กลางและชนชั้นกลางระดับล่าง รวมทั้งประเด็นและแนวคิดในการทํางานเรื่องผู้หญิง กลุ่มที่ประกาศการทํางานอิสลาม มีมากมายซึ่งอยู่ภายใต้กระแสการฟื้นฟูอิสลามหลักๆ ได้แก่ แนวคิดค่ายหวนคืนสู่มูลฐาน แนวคิดอิสลามสมัยใหม่ และ แนวคิดปฏิรูปอิสลาม โดยอิสลามจารีตหรือสายประเพณีนิยมเป็นรากฐานเดิมของมุสลิมในสังคมไทย ในบทอภิปรายกล่าวถึงอิทธิพลทางความคิดและแนะนําวิธีการใช้ชีวิตต่อมุสลิมรุ่นใหม่ในสังคมเมืองและชน ชั้นกลาง การเรียกร้องเพื่อขัดเกลาตนเองและฟื้นฟูสังคมตามรูปแบบ “อิสลาม” จึงอยู่ในร่องรอยของการหวนกลับคืน สู่วิถีแห่งกัลยาณชนมุสลิมในอดีต โดยพยายามลดทอน เป็นอิสระ และหลีกเลี่ยงการใช้ชีวิตที่ต่างไปจากยุคแห่ ง กัลยาณชน โดยเฉพาะความคิดตามแบบอย่างของสังคมสมัยใหม่ แต่กระนั้น กระบวนการฟื้นฟูอิสลามในสังคมไทย เสนอให้เห็นภาพซ้อนของการดํารงอยู่ระหว่างการเชิดชูแนวคิด “อิสลาม” กับชีวิตที่อิงแอบอย่างสนิทแนบแน่นกับ ความเป็นสมัยใหม่ ภายใต้การเผชิญหน้า การต่อรอง การเลือกเฟ้นเพื่อนํามาปรับใช้ และตอบโต้ทางความคิด คําสําคัญ: ผู้หญิงมุสลิม สังคมไทย กระบวนการฟื้นฟูอิสลาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

บทนํา บทความนี้ ฉั น พยายามทํ า ความเข้ า ใจเพื่ อ ปะติดปะต่อที่มา และมุมมองที่เกี่ยวข้องกับผู้หญิงมุสลิม ที่มีการแต่งกายคล้ายคลึงกับผู้หญิงในทุกภาพข้างต้น ฉัน เห็นว่าพลวัตสังคมมุสลิมในเมืองไทยมีมาอย่างต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การเข้ามาของมุสลิมในฐานะพ่อค้าวาณิชย์ สู่ การทํางานในฐานะข้าราชบริพาร จนกระทั่งเรื่องเล่าของ มุสลิมที่ห่างไกลจากศูนย์กลางอํานาจรัฐราชการที่มิได้ถูก บันทึกเรื่องราวไว้มากมายนัก มาจนกระทั่งเกิดการจัดตั้ง สถาบั น ศาสนาอิ ส ลามซึ่ ง ทํ างานใกล้ ชิ ด และได้ รั บ การ สนับสนุนจากรัฐไทย มีการรวมกลุ่มของปัญญาชน นิสิต นัก ศึ ก ษาทั้ง ในสถาบั น การศึก ษา และการจั ดตั้ ง ในรู ป องค์กรเอกชนทั้งที่จดทะเบียนกับรัฐและเป็นกลุ่มอิสระที่ ไม่ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบี ย นอย่ า งเป็ น ทางการ ในบรรดากลุ่ ม องค์กร และสถาบันเหล่านี้มีการทํางานหลายประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับอิสลามและมุสลิม เช่น สิทธิและกฎหมาย การแพทย์และสาธารณสุข เศรษฐกิจและการธนาคาร สื่อสารมวลชน การศึกษา เยาวชนและผู้หญิง แทบทุก กลุ่ม/องค์กรมีนักวิชาการและนักการศาสนาที่มีความรู้ และได้รับการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศรวมถึง โลกมุ ส ลิ ม มี ก ารประสานงานร่ ว มกั น ในการทํ า งาน อิ ส ลามและขั ด แย้ ง กั น ทั้ ง ด้ า นแนวคิ ด การทํ า งานและ รายละเอี ย ดของการตี ค วามหลั ก การศาสนาจนแตก ออกเป็นสํานักและกลุ่มย่อย ด้วยความที่งานชิ้นนี้ ฉันมุ่งสนใจชีวิตของผู้หญิง ในฐานะกลุ่ม ที่ เคลื่ อนไหว มี ตั ว ตน และความรู้ สึ ก ใน ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงตามข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ได้ม ากกว่ าย้อนรอยมองอดี ต ภาพที่เสนอในงานจึ งไม่ ปรากฏรายละเอียดเชิงประวัติศาสตร์การเมือง ฉันสนใจ ศึกษาเฉพาะมุสลิมที่นับถืออิสลามตามแนวทางซุนนีซึ่ง เป็นประชากรมุสลิมส่วนใหญ่ของประเทศไทย สําหรับผู้ ที่นับถือแนวทางชีอะห์มีจํานวนน้อยกว่ามาก แต่กระนั้น ก็ไม่มีกลุ่มใดเคยสํารวจจํานวนประชากรของพวกเขา ทั้ง เกิดความบาดหมางระหว่างสองแนวทางในการทํางาน อิสลาม จนกระทั่งมุสลิมซุนนีบางกลุ่มเห็นว่าผู้ที่นับถือ ตามแนวทางชีอะห์ไม่ใช่มุสลิม เกิดการโต้แย้งทั้งในรูป ของการเผชิญหน้าซึ่งกันและกันและผ่านสื่อสาธารณะ เช่น จัด โต้ วาที ระหว่ างผู้ นํา ศาสนาของทั้ งสองแนวทาง

51

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

และการโจมตี แ นวคิ ด ของแต่ ล ะฝ่ า ยผ่ า นเวปบอร์ ด สนทนาในอินเตอร์เน็ท นอกจากศึกษาเฉพาะกลุ่มซุนนีแล้ว ฉันเห็นว่า มุสลิมสายปฏิรูปที่เรียกร้องการกลับคืนสู่อิสลามที่บริสทุ ธิ์ (Puritanical Reformism) มีบทบาทเด่นชัดในการ เรี ย กร้ อ งอิ ส ลามมากกว่ า มุ ส ลิ ม สายประเพณี นิ ย ม (Traditional Syncretism) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ เชื่ อ มโยงการเคลื่ อ นไหวอิ ส ลามในมิ ติ ท างการเมื อ ง เศรษฐกิ จ และการศึก ษา เข้ า กับ มโนทัศ น์ป ระชาชาติ อิส ลาม (Islamic Ummah) นั ก การศาสนาและนั ก เคลื่อนไหวมีบทบาทอย่างมากในการปฎิรูปสังคมมุสลิม โดยเฉพาะอย่า งยิ่ งในยุ ค ล่า อาณานิ ค มและหลัง อาณา นิคม อุดมการณ์รวมอิสลาม (Pan-Islamism) ที่ถูกเสนอ โดยญามาลุดดีน อัล อัฟฆอนี (Jamaluddinal-Afghani, 1838-1897) (Landau 1994, 13-21) ซึ่งมุสลิมสาย ปฏิรูปในเมืองไทยเองยอมรับเอาอุดมการณ์เหล่านี้เข้ามา ใช้ ใ นการปลุ ก กระแสการเรี ย กร้ องอิ สลามด้ วยเช่ น กั น แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่ามุสลิมสายปฏิรูปในเมืองไทย หรื อเป็ น ที่รู้ จั ก กัน และถู กเรี ย กอย่ างไม่เป็ น ทางการว่ า คณะใหม่ทั้งหมดมีแนวคิดทางการเมือง แม้ประเด็นสําคัญของงานคือการอภิปรายถึง ขบวนการเรียกร้องสู่อิสลามของผู้หญิงมุสลิมในเมืองไทย แต่การก่อเกิดขบวนการผู้หญิงสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับ กระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลามในเมื อ งไทยซึ่ ง เชื่ อ มโยงกั บ เหตุการณ์ในระดับสากล ฉะนั้น ฉันจึงพยายามมองการ ปะทะสังสรรค์ที่เกิดขึ้นในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง ของสังคมมุสลิมจากองค์ประกอบต่อไปนี้ หนึ่ง การเปลี่ยนเข้าสู่สังคมและรัฐประชาชาติ สมัยใหม่ของไทยอันเป็นผลกระทบจากภายนอกซึ่งมีผล อย่างมากต่อท่าทีในการดํารงสถานะมุสลิมในรัฐที่มุสลิม เป็นชนกลุ่ มน้อย เกิ ดระบบทางโลก (Secular) และ เหตุผลทางโลก รวมถึงวัฒนธรรมทางโลก เช่น ความเป็น ปั จ เจกชน ซึ่ ง ถู ก มองโดยกลุ่ ม นิ ย มแนวทางอิ ส ลาม (Islamist) ว่าเป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับอิสลามที่ผนวก เอารัฐหรือการเมือง/การปกครอง วัฒนธรรม และความ เป็นประชาคมกับศาสนาเข้าด้วยกัน สอง การแผ่ขยายของแนวคิดปฏิรูปอิสลาม ซึ่ง เป็นพัฒนาการทางความคิดของแนวทางการเมืองแบบ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

อิสลาม (Political Islam) ที่เกิดขึ้นในช่วงหลังอาณา นิคมของหลายประเทศรวมถึงการต่อต้านวัฒนธรรมของ จักรวรรดินิยม ประกอบกับอิทธิพลทางความคิดในเรื่อง การกลับคืนสู่รากเหง้าอิสลามหรืออิสลามที่บริสุทธิ์ ความ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้มีผลต่อมุมมองในการเผชิญกับ โลกสมั ย ใหม่ ข องมุ ส ลิ ม ในส่ ว นต่ า งๆ ของโลก รวมถึ ง เมืองไทย สาม การดํ า รงความเป็ น ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม ใน สังคมไทยที่ดําเนินไปพร้อมกับกระบวนการปลดปล่อย สิทธิสตรีในระดับสากลที่มีพัฒนาการทางการเคลื่อนไหว ในโลกตะวันตก ส่วนมิติของผู้หญิงในอิสลามถูกตีความ โดยกลุ่ม ปฏิรู ปอิ ส ลามสายต่ างๆ ท่ ามกลางความหวั่ น เกรงต่อการครอบงําและดําเนินตามแบบอย่างของสตรี นิยมในโลกตะวันตก บทความไม่ได้ค้นหาเหตุแห่งการแตกตัวของนัก คิ ด มุ ส ลิ ม ในเมื อ งไทยกลุ่ ม ต่ า งๆ แต่ ต้ อ งการเข้ า ใจ ความหมายของกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลามของผู้ ห ญิ ง มุสลิมรุ่นใหม่ในสังคมไทย โดยเฉพาะการทํางานประเด็น ผู้หญิงและการก่อเกิดกลุ่มทํางานเคลื่อนไหวอิสลามของ ผู้หญิง ในช่ว งระหว่ างก่อนและหลัง เหตุ การณ์ ประท้ ว ง ฮิญาบที่วิทยาลัยครูยะลา เมื่อ พ.ศ. 2530 – 2531 (ค.ศ. 1987-1988) เพื่อสะท้ อนภาพการก่ อรู ปจากเรื่องราว และปฏิบัติการทางวาทกรรมต่างๆ ทั้งระบบความเชื่อ วิ ถี ชี วิ ต หรื อ สํ า นึ ก ทางศาสนา โดยใช้ วิ ธี วิ ท ยาจาก การศึกษาเอกสาร (Text) การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การ สั ม ภาษณ์ แ ละสนทนากั บ บุ ค คลเกี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง นั ก วิ ช าการและสมาชิ ก กลุ่ ม เคลื่ อ นไหวเพื่ อ เรี ย กร้ อ ง อิสลามอื่นๆ ในเมืองไทย การตื่นฟื้นตัวของอิสลามในสมัยใหม่ ช่วงการเข้าครอบครองดินแดนในกลุ่มประเทศ มุสลิมเกิดการเคลื่อนไหวต่อต้านและขับไล่อาณานิคมใน ทุกรูปแบบ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้นําและปัญญาชนพื้นเมือง ที่ได้รับการศึกษาและรับเอาวัฒนธรรมของจักรวรรดินิยม ในช่ ว งก่ อ นยุ ค หลั ง อาณานิ ค มต่ า งวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ถึ ง ภาวะการถูกครอบงําอํานาจที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เชิ ง โครงสร้ า งทางสั ง คม เศรษฐกิ จ การเมื อ ง และ วั ฒ นธรรม ในด้ า นหนึ่ ง เห็ น ถึ ง การตอบโต้ ข องผู้ นํ า

52

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

กระบวนการเคลื่อนไหวที่อยู่ในมิติของการต่อต้านอาณา นิ ค ม การสร้ า งความเป็ น หนึ่ ง เดี ย วของคนในรั ฐ และ ชาติ นิ ย ม การต่ อต้ า นโลกตะวั น ตกและสิ่ ง ที่ เกี่ ย วข้ อ ง รวมถึงกระบวนการที่ก่อให้เกิดความทันสมัย แต่ในอีก มุ ม มองเห็ น ถึ ง การแลกปรั บ เปลี่ ย นผสมผสานข้ า ม วั ฒ นธรรม การไม่ ไ ด้ ขี ด เส้ น พรมแดนตายตั ว ระหว่ า ง วัฒนธรรมและความคิดของโลกตะวันตกกับอิสลาม การผูกโยงความเป็นสมัยใหม่กับอํานาจในการ ครอบงํ า โดยโลกตะวั น ตกในหลายมิ ติ ทั้ง เหมารวมว่ า ตะวั น ตกและสมั ย ใหม่ นิ ย มเป็ น ระบบกร่ อ นทํ า ลาย อิสลามและทําให้สังคมมุสลิมตกต่ํา โดยเสนอหนทางใน การเผชิญปัญหาอย่างไม่แยกแยะระหว่างการเมืองของรัฐ อิสลามหลังอาณานิคมกับการเรียกร้องสู่อิสลามที่บริสุทธิ์ ย่อมก่อให้เกิดปัญหาในการมองการดํารงอยู่ของระบบ โลกสมัยใหม่กับทางเดินของอิสลามในโลกสมัยใหม่ ซึ่ง แน่นอนว่าสังคมมุสลิมกําลังดํารงอยู่ในยุคสมัยใหม่และ การขยายตัวของอิทธิพลของสมัยใหม่นิยม ดังเห็นได้ว่า การปลุ ก กระแสฟื้ น ฟู อิ ส ลามให้ เ ป็ น วาระสากลของ ประชาชาติมุสลิมผ่านการโหยหาบรรยากาศอิสลามในยุค อดีตที่เคยรุ่งเรือง (Golden Age) และให้เข้ามาแทนที่ โลกสมั ยใหม่ที่ นําโดยตะวั นตก ขณะเดีย วกั นก็เกรงว่ า อุดมการณ์ชาตินิยมเป็นตัวบ่อนทําลายอุดมการณ์ข้าม พรมแดน (Transnational Identity) ในเรื่องประชาชาติ อิสลาม ความเป็นหญิ งมุสลิ มถูกให้คุณค่ าและกําหนด ฐานคติบางประการผ่านคําอธิบายเชิงเทววิทยาในกลุ่ม นักการศาสนารุ่นใหม่ที่ได้รับการยอมรับจากมุสลิม โดย กําหนดพื้นที่ทางสังคมและสังกัดค่ายแนวคิดภายใต้สังคม ที่คําอธิบายของผู้ชายเป็นศูนย์กลาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ยุคกระแสเรียกร้องและ ฟื้ น ฟู อิ ส ลามโดยปั ญ ญาชนมุ ส ลิ ม รุ่ น ใหม่ รวมถึ ง การ ปฏิเสธกระบวนทัศน์แบบโลกย์ซึ่งอาจเป็นเพราะความไม่ รู้และเกรงกลัวภัย สําหรับกลุ่มเรียกร้องเพื่อฟื้นฟูอิสลาม ในเมืองไทยส่วนหนึ่งอยู่ในภาวะของการต่อต้านรัฐที่สยบ ยอมและเป็น พัน ธมิต รกั บวิ ถี ตะวัน ตก โดยเห็ นว่ าหาก มุสลิมยอมรับสภาพเช่น นี้เท่ากั บละเมิ ดและขั ดแย้งวิ ถี อิสลามที่บริสุทธิ์ มีการเสนอให้ปฏิเสธภาวะสมัยใหม่ที่ ตะวันตกใช้เป็นเครื่องมือในการทําลายอิสลาม ตรรกะ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

ในการมองโลกเช่นนี้มีผลที่ทําให้เกิดความหวาดเกรงว่า สังคมมุสลิมจะถูกดูดกลืนและซึมซับเอาภาวะที่ แม็กซ์ เว เบอร์ (Weber, 1976) อธิบายว่าเป็นการปลดปล่อย สังคมจากยุคเวทมนต์หรือการถอดปีกเทพนิยายออกจาก โลก (Disenchantment of the World/ Life) ทั้งที่ ส่ ว นนี้ เป็ น การอธิ บ ายลั ก ษณะของเทววิ ท ยาแบบคริ ส เตียนในศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นปัญหาระหว่างคริสตจักร กับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และไม่ได้เกี่ยวข้องกับภาวะ ทั น สมั ย แต่ ป ระการใด ในขณะที่ ตั ว บทของโลกทั ศ น์ อิสลามกล่าวถึงจักรวาลวิทยาและประวัติศาสตร์ของการ กําเนิดจักรวาลในหลายโองการ (Woodward 2002, 112-113) ฉะนั้ น ภาวะทัน สมั ย สํ า หรั บ มุ ส ลิ ม จึ ง เป็ น ปัญหาในเชิงสังคมมิใช่เทววิทยา (Theology) แต่ใน ขณะเดียวกัน หากติดตามการวิพากษ์และทําความเข้าใจ ปัญหาเรื่องเหตุผลของภาวะสมัยใหม่ และพิจารณาภาวะ นี้โดยใช้พื้นฐานภายในของมันเอง ภาวะสมัยใหม่ถูกเชื่อ ว่ า ยั ง ไม่ เ ป็ น ที่ สิ้ น สุ ด โดยเฉพาะในส่ ว นที่ ว่ า ด้ ว ยการ ปลดปล่ อยมนุ ษ ย์ (Notion of Emancipation) (Habermas, 1981, 3-14) ในขณะที่นักคิดอีกหลายคน มองว่าภาวะหลังสมัยใหม่กําลังไล่ตามมาติดๆ กลุ่ ม ความคิ ด ในการฟื้ น ฟู อิส ลามที่ ป รากฏใน สั ง คมไทยสั ม พั น ธ์ กั บ แนวทางการเรี ย กร้ องอิ ส ลามใน ระดั บ สากล ทั้ ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมากในการจั ด กระบวนการทํางานเพื่อเชิญชวนสู่อิสลามที่บริสุทธิ์ ใน ค่ า ย ห ว น คื น สู่ มู ล ฐ า น ( Fundamentalism/ Orthodoxy) ปรากฎข้อถกเถียงที่เกิดขึ้นในกลุ่มนักคิด และนั ก เคลื่ อ นไหวมุ ส ลิ ม เกี่ ย วกั บ ภาวะทั น สมั ย และ แนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ผ ลต่ อ การยอมรั บ เอาความคิ ด ดังกล่าวไปใช้กับสังคมมุสลิมในอีกหลายพื้นที่ โดยเฉพาะ กระบวนการเรียกร้องอิสลามของเยาวชนและปัญญาชน ในกลุ่มนักคิดค่ายหวนคืนสู่มูลฐาน (Fundamentalist) เป็นกลุ่มที่เรียกร้องสู่ความบริสุทธิ์ของหลักการอิสลาม ตามแบบบรรพชนมุส ลิมรุ่น แรก ปฏิเสธอุตริกรรมทาง ศาสนา และไม่เห็นด้วยกับแนวทางของนักนิติศาสตร์และ นั ก เทววิ ท ยายุ ค กลางของอิ ส ลามซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม ที่ ใ ห้ ความสํ า คั ญ กั บ การอิ จ ติ ฮ าด เช่ น มุ ฮั ม มั ด อิ บ นุ อั บ ดุ ลวะฮับ (Muhammdah Ibn ‘Abd al-Wahhab) ผู้ที่ถูก เรียกและตั้งฉายาว่าเป็นผู้ก่อตั้งแนวทางอิสลามสายวะฮา

53

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

บี ย์ แต่ บ รรดาศิ ษ ย์ ข องท่ า นไม่ ไ ด้ เ รี ย กขานเช่ น นั้ น เพราะเชื่ อ ว่ า เป็ น การตั้ ง ชื่ อ โดยฝ่ า ยต่ อต้ า นการฟื้ น ฟู อิสลามของท่านที่ แผ่ขยายในแคว้น อันนัจด์ ซาอุดิอาร เบีย ขณะเดียวกัน สานุศิษย์เหล่านั้นเรียกกลุ่มตนเองว่า สะลาฟียะห์ หรือ สะละฟียูน ซึ่งหมายถึงกลุ่มผู้ยึดมั่นใน แนวทางดั้งเดิมของอิสลาม (Levtzion and Voll 1987, Commins 2006, Delong-Bas 2004) แนวคิดของกลุ่มนี้กระจายอยู่ในสังคมไทยด้วย เช่ น กั น เริ่ ม ในกรุ ง เทพมหานครเมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) โดย อะห์มัด วะฮาบ นักเผยแผ่ชาว อินโดนีเซียแล้วแผ่ขยายไปยังภาคใต้ของไทย รู้จักกันใน นามของแนวทางสะลัฟ หมายถึงแนวทางของกัลยาณชน รุ่ น แรกในช่ ว งสามศตวรรษแรกตามศั ก ราชอิ ส ลาม (ฮิจเราะห์) บ้างเรียกขานกันว่าเป็นแนวทางของสะละฟีย์ ปัจจุบันกลุ่มเรียกร้องอิสลามที่เรียกตนเองว่าปฏิบัติตาม แนวทางสะลัฟในสังคมไทยมีมากมาย มีการเรียกกลุ่มคน ในแนวทางนี้ร่วมกับคําว่า อะห์ลุซซุนนะห์ วัลญะมาอะห์ ซึ่งหมายถึงกลุ่มผู้ปฏิบัติตามแนวทางของท่านศาสดามุฮมั มัดและมุสลิมส่วนใหญ่ หรือเรียกสั้นๆ ว่าชาวซุนนะห์ นอกจาก มุฮัมมัด อิบนุ อับดุลวะฮับแล้ว ซัยยิด อบุล อะลา อัล เมาดูดี (Sayyid Abul A’la Mawdudi) ซึ่ ง รู้ จั ก และเรี ย กขานกั น ในนามเมาดู ดี ย์ ผู้ ก่ อ ตั้ ง ญะ มาอะห์อิสลามียะห์ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มนักคิดมุสลิมค่าย หวนคื น สู่ มู ล ฐาน แต่ ห ากพิ จ ารณาข้ อ สํ า คั ญ ในเรื่ อ ง แนวคิ ด การตอบโต้ แ ละวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ โ ลกตะวั น ตก รวมทั้ ง การนํ า เสนออิส ลามเป็ นทางออกเพื่ อการฟื้ น ฟู สังคม ท่านได้ให้ความสําคัญกับการใช้อิจติฮาด โดยมอง ว่า เป็น การปฏิ รูป ความคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบและใช้ หลั ก เหตุผลในการอธิบายศาสนาซึ่งเป็นเครื่องมือสําคัญในการ ต่อสู้กับโลกตะวันตก เมาดูดีเห็นว่าภาวะทันสมัยสะท้อน ถึ ง การเป็ น ศั ต รู คู่ แ ข่ ง ที่ โ หดร้ า ยสํ า หรั บ อิ ส ลามและ จําเป็น ต้องได้ รับการปฏิเสธหรือการยอมตกอยู่ ภายใต้ ภาวะนี้ ซึ่งถือเป็นแนวคิดเบื้องหลังของขบวนการฟื้นฟู อิสลามในวงกว้าง(เพิ่งอ้าง, 89) แนวคิ ด ของเมาดู ดี ถู ก นํ า มาใช้ ตั้ ง แต่ ใ นกลุ่ ม นักศึกษาที่ทํากิจกรรมเพื่อฟื้นฟูอิสลามในชมรมนักศึกษา มุส ลิ ม ตามมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ ไปจนถึ ง นั ก เคลื่ อนไหว มุสลิมในกลุ่มสําคัญของเมืองไทยเช่น สมาคมยุวมุสลิม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

แห่งประเทศไทย (ยมท.) โดยเฉพาะแนวคิดเรื่อง อิสลาม คื อ แนวทางหรื อ แบบแผนในการดํ า เนิ น ชี วิ ต (The Islamic Way of Life Notion/ Islam is the way of life.) กลายเป็นคําพูดติดปากของมุสลิมในประเทศไทย งานเขียนของเมาดูดีได้รับการแปลหลายภาษา หนังสือ “มาเข้าใจอิสลามกันเถิด” เป็นหนึ่งในงานเขียนที่ได้รับ ความนิ ย มอย่ า งแพร่ หลายในหมู่ ปั ญ ญาชนมุ ส ลิ ม ของ เมืองไทย ล่าสุดแปลโดยอาจารย์บรรจง บินกาซัน อดีต นักกิจกรรมสมาคมนิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศไทย (สนท.) และปัจจุบันท่านเป็นผู้มีบทบาทสําคัญในการให้ ความรู้แก่ผู้สนใจอิสลามในฐานะประธานโครงการอบรม ผู้สนใจอิสลาม มูลนิธิสันติชน กรุงเทพฯ อาจารย์บรรจง แปล “มาเข้าใจอิสลามกันเถิด” จากฉบับภาษาอังกฤษที่ ลูกศิษย์คนสําคัญของเมาดูดี และรองประธานญะมาอะห์ อิสลามียะห์ คือ ศาสตราจารย์คุรชีด อะห์มัด (Khurshid Ahmad) ตั้งชื่อไว้ว่า Toward Understanding Islam ฉันเองเคยได้รับ “มาเข้าใจอิสลามกันเถิด” ฉบับแปลโดย เจ้าของนามปากกาจินตนาเมื่อครั้งไปฟังบรรยายและร่วม กิ จ กรรมทางศาสนาระหว่ า งปี พ.ศ. 2542-2544 ที่ สมาคมญัมอียะตุลอิสลาม สํานักงานเชิงสะพานอรุณอัมริ นทร์ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นกลุ่มที่ยึดตามแนวทางสะลัฟที่สําคัญ ในกรุ ง เทพฯ และดํ า เนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งทั้ ง ในการ บริการวิชาการในรูปของการบรรยายศาสนาผสานเข้ากับ แนวคิ ด สมั ย ใหม่ รวมทั้ ง ผลิ ต เอกสารและงานเขี ย น รวมทั้ ง ตี พิ ม พ์ อ รรถาธิ บ ายอั ล กุ ร อานในช่ ว งสองพุ ท ธ ทศวรรษที่ ผ่ า นมา (ระหว่ า งพ.ศ. 2531-2550) ซึ่ ง ใน ขณะนั้ น แนวทางสะลั ฟ หรื อ ซุ น นะห์ แ ผ่ ข ยายใน สั ง คมไทยอย่ า งรวดเร็ ว โดยมี ฐ านสํ า คั ญ ในกรุ ง เทพฯ และภาคใต้ ต อนล่ า ง เกิ ด การก่ อตั้ ง สมาคม กลุ่ ม และ ชมรมต่างๆ ที่เรียกร้อง เชิญชวน และบางครั้งโจมตีกัน ระหว่างค่ายความคิดในเชิงวิชาการและแนวทางการเผย แผ่ อิ ส ลามด้ ว ยหลั ก ฐานทางศาสนบั ญ ญั ติ ที่ ตี ค วาม แตกต่างกันออกไป แนวทางในการฟื้ น ฟู อิ ส ลามอี ก รู ป แบบที่ น่าสนใจคือแนวคิดสมัยใหม่ (Modernism) สําหรับกลุ่ม นั ก คิ ด แล ะ นั กเ ค ลื่ อน ไ ห ว อิ ส ล า มค่ า ย สมั ย ใ ห ม่ (Modernism) มีส่วนอย่างมากต่อการยอมรับและนําไป ปรั บ ใช้ ข องผู้ นํ า ในสั ง คมมุ ส ลิ ม ที่ ต่ า งๆ ทั่ ว โลก บุ ค คล

54

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

สําคัญที่ได้รับการยกย่องจากนักเคลื่อนไหวในปัจจุบันคือ ซัยยิด กุฏุบ (Sayyed Qutb) แกนนําและนักคิดของ ขบวนการภราดรภาพมุสลิม หรือกลุ่มอิควาน อัลมุสลิมูน (Muslim Brotherhood/ Al-Ikhwan al-Muslimin) ระหว่างทศวรรษ 1950s-1960s ของอียิปต์ แนวคิดของ ท่านมีอิทธิพลต่อคนหนุ่มสาวมุสลิมอาหรับในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 60 ที่ ต้ อ งการปลดปล่ อ ยจากการครอบงํ า อํ า นาจทางความคิ ด ในเชิ ง การเมื อ งการปกครองของ จักรวรรดินิยมด้วยระบบคิดอิสลาม ซัยยิด กุฏุบเห็นต่าง ไปจากนั ก คิ ด ค่ า ยสมั ย ใหม่ ท่ า นอื่ น ตรงประเด็ น ความ สมบูรณ์ของอิสลาม ท่านเสนอว่าอิสลามสมบูรณ์ภายใต้ องค์ประกอบของระบบศีลธรรม ระบบยุติธรรม และธรร มาภิบาล โดยมีกฎหมายอิสลามเป็นฐานในการสร้างรัฐ อิสลามตามอุดมการณ์สูงสุดที่เคยเสนอโดยอิหม่ามฮะซัน อัลบัน นา ผู้ ก่อตั้ง ขบวนการภารดรภาพมุสลิ ม (1928) ท่ า นวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ แ นวคิ ด ปั จ เจกชน ระบบดอกเบี้ ย และระบบการปกครองภายใต้ ผู้ ป กครองที่ อ ยุ ติ ธ รรม ผลงานทางความคิดและงานเขียนของท่านเป็นที่ยอมรับ ของนักเคลื่อนไหวอิสลามสายปฏิรูปของเมืองไทยและ เยาวชน งานเขียนโดดเด่นที่สําคัญสําหรับการขัดเกลา และปลุกวิญญาณในการอุทิศตนเพื่อเรียกร้องอิสลามที่ บริสุทธิ์ได้แก่ Milestone ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยว่า “หลักชัยอิสลาม” โดยผู้ใช้นามปากกาว่าภราดร ในนาม สมาคมนิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2524 ตีพิ มพ์โ ดย The International Islamic Federation of Student Organizations (IIFSO) เป็น สํานักพิมพ์ของสมาคมนักศึกษามุสลิมนานาชาติที่ตีพิมพ์ งานของนักคิดสําคัญ เช่น เมาดูดี ซัยยิด กุฎุบ และ อบุล ฮะซัน อันนัดวีย์ (Abul Hasan al-Nadwi) ล่าสุด Milestone ถูกแปลอีกครั้งโดยอาจารย์บรรจง บินกาซัน โดยตั้งชื่อหนังสือว่า “หนทางสู่หลักชัย” ซึ่งเป็นหนังสือ อีกเล่มที่รุ่นพี่นักกิจกรรมแนะนําให้ฉันและเพื่อนๆ ที่ทํา กิจกรรมชมรมนักศึกษามุสลิมได้อ่านก่อนการรับตําแหน่ง เป็นคณะทํางาน ทั้งมีหลักสูตรอบรมคนทํางานกิจกรรม ทั้ ง ในรู ป แบบค่ า ยและประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร โดยนํ า แนวคิดการฟื้นฟูอิสลามของผู้อาวุโสภายนอกและรุ่นพี่ นักกิจกรรมมาถ่ายทอด และบางครั้งเชิญนักวิชาการหรือ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

นักเคลื่อนไหวในเมืองไทยมาเป็นผู้ให้ความรู้และแนะนํา แนวทางการทํางานเพื่อฟื้นฟูอิสลาม แม้ ง านเขี ย นและแนวคิ ด ของนั ก เคลื่ อ นไหว อิสลามรุ่นใหม่ในระดับสากลได้รับความนิยมและมีการ เผยแผ่ผลงานน้อยกว่านักคิดอาวุโส แต่ความคิดในการ มองโลกสมัยใหม่ของบางท่านได้รับการยอมรับในกลุ่ม ของนักฟื้นฟูอิสลามสายปฏิรูปของเมืองไทยที่นิยมการ นําเสนออิสลามในรูปแบบที่เหมาะสมกับปัจ จุบัน เช่ น กลุ่ ม ฟิ ต ยะฮ์ (นั ด วาตุ ล ฟิ ต ยะฮ์ ) ให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ กระบวนการถ่ายทอดวิชาการอิสลามผ่านการนําเสนอ แบบสมั ย ใหม่ โดยเฉพาะวิ สั ย ทั ศ น์ ข องเชคยู ซุ ฟ ก็ อรฏอวี (Yusuf al-Qaradawi) มุฟตีหรือผู้ชี้ขาดปัญหา ทางศาสนา ดํารงตําแหน่งประธานสภาวิจัยและตัดสิน ปัญหาศาสนาแห่งยุโรป (President of European Council on Fatwa and Research) ท่านให้ ความสํ า คั ญ ในการวิ เ คราะห์ ป ระเด็ น ท้ า ทายของยุ ค สมัยใหม่ที่มีต่อขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม ในขณะที่ นักคิดสายปฏิรูปเสรีนิยม (Liberal Reformist) อย่าง มุฮัมมัด อับดุห์ (Muhammad ‘Abduh) ลูกศิษย์ของญา มาลุดดีน อัลอัฟฆอนี (Jamal al-Din al-Afghani) ที่ชู แนวคิด Islamic Modernism ได้รับการกล่าวถึงในกลุ่ม นักเคลื่อนไหวมุส ลิมรุ่ นใหม่ใ นเมื องไทยน้ อยกว่า ทั้ง นี้ เนื่องด้วยการตื่นฟื้นตัวของกระแสเคลื่อนไหวอิสลามใน ระดับโลกเริ่มต้นในกลุ่มนักคิดและนักเคลื่อนไหวที่ปะทะ กับโลกสมัยใหม่และสังคมตะวันตกอย่างตรงไปตรงมา ผูกโยงการทํางานกับแนวคิดฟื้นฟูอิสลามทางการเมือง และคนในสังคมเห็นการต่อสู้ในเชิงสังคมการเมืองอย่าง เป็นรูปธรรม ในขณะที่กระบวนการเคลื่อนไหวของนัก คิดสมัยใหม่อยู่ในรูปของของการต่อสู้เพื่อเปลี่ยนแปลง และพัฒนาทางความคิด เพื่อรื้อถอนมายาคติและกรอบ ในการอธิบายกระบวนการฟื้นฟูอิสลามโดยมุ่งไปดูตัวบท ที่ว่าด้วยรากฐานอิสลามอันบริสุทธิ์ควบคู่กับบริบทการ เรียกร้องสู่อิสลามจากกระแสวาทกรรมหลักในช่วงอาณา นิคม กลุ่มนักคิดมุสลิมสายปฏิรูปสมัยใหม่หลายท่าน มีพื้นเพมาจากสังคมที่เคยอยู่ภายใต้อํานาจจักรวรรดินิยม เช่นเดียวกั บนักคิดและนักเคลื่อนไหวในยุ คก่อนหน้า นี้ แต่แทบทุกคนต้องไปใช้ชีวิตในสังคมใหม่ในโลกตะวันตก

55

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

โดยเฉพาะอเมริกาเหนือและยุโรปตะวันตก ซึ่งมีชีวิตทาง การเมือง การศึกษา เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมแบบโลกย์ พร้อมกับยึดมั่นในรากฐานอิสลาม เช่น ฟัซลุรเราะห์มาน (Fazlur Rahman) ปราชญ์เชื้อสายปากีสถาน/อินเดีย ศึกษาวาทกรรมเทววิทยาและปรัชญาเพื่ออธิบายอิสลาม กับโลกสมัยใหม่ ศาสตราจารย์ฏอริก รอมฏอน (Tariq Ramadan) หลานชายของท่านฮะซัน อัลบันนา ผู้เสนอ แนวคิด European Islam และแบบแผนของการเป็น มุสลิมยุโรปโดยเชื่อว่ามุสลิมสามารถดํารงชีวิตในยุโรปไป พร้อมกับการยืนหยัดอิสลามได้ และ ดร.อิสมาอีล อัลฟา รุกี (Isma'il al-Faruqi) นักปรัชญาอเมริกัน/ปาเลสไตน์ ผู้เสนอแนวคิด “Islamization of Knowledge” (อิสลา มานุวัตรองค์ความรู้) ซึ่งกลายเป็นแนวคิดสําคัญของนัก คิดสมัยใหม่ในยุคปัจจุบันที่พยายามทําให้ทุกมิติของชีวิต และสั ง คมเชื่ อมโยงกับ หลั ก การอิส ลาม เนื่องจากเห็ น ช่องว่ างระหว่า งการอธิบ ายศาสนาแบบประเพณีนิ ย ม (Traditionalism) กั บ กลุ่ ม ความคิ ด สั ม ฤทธิ์ ผ ลนิ ย ม (Pragmatism) ที่ใช้อํานาจในฐานะผู้นําทางการเมืองที่ นิยมความคิดแบบโลกวิสัยโดยใช้อิสลามเป็นเครื่องมือใน การสร้ า งความชอบธรรมต่ อ อํ า นาจในเชิ ง การเมื อ ง Islamization of Knowledge เป็นมโนทัศน์และวิธี วิ ท ยาที่ เ น้ น ย้ํ า เรื่ อ งของความรู้ ทั้ ง จากอั ล กุ ร อานและ ฮะดิษ (คําพูด การกระทํา และการยอมรับของศาสดา มุฮัมมัด) ประกอบกับการอธิบายเรื่องของความรู้ในมิติ วาทกรรม (Episteme) ที่ดํารงอยู่ในสังคมและเป็นที่ ยอมรับในวงกว้างจนกลายเป็นวาทกรรมหลัก นั ก คิ ด ใ น ก ลุ่ ม ป ฏิ รู ป ส มั ย ใ ห ม่ เ ห็ น ว่ า กระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลามในยุ ค นี้ ต้ องดํ า เนิ น งานผ่ า น กรอบความรู้ที่ทันโลก โดยมีสถาบันวิชาการที่ศึกษาวิจัย อิสลามกับมิติต่างๆ ในสังคมสมัยใหม่ช่วยผลิตองค์ความรู้ และนักคิ ดรวมถึ งนักเคลื่อนไหวออกสู่ สังคม ขณะที่ใ น บางประเทศรัฐสนับสนุนการขับเคลื่อนงานตามแนวคิด Islamization of Knowledge เพื่อช่วยในการทํางาน ด้านข้อมูลและการเสนอยุทธศาสตร์ทางการเมืองผ่านมิติ ศาสนาให้กับรัฐ มโนทั ศ น์ อิสลามานุ วั ต รองค์ ค วามรู้ ไ ด้ รั บ การ ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในกลุ่มนักเคลื่อนไหวมุสลิม เมื อ งไทย โดยเฉพาะกลุ่ ม ที่ ทํ า งานวิ ช าการอิ ส ลามใน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

สถาบันการศึกษาทั้งในมหาวิทยาลัยและก่อนอุดมศึกษา เส้นทางการรับแนวคิดส่วนใหญ่มาจากการศึกษาต้นแบบ Islamization ในมาเลเซียที่มาพร้อมกับนโยบายการ พัฒนาประเทศในยุคมหาเธร์ (Islamization Policy) ซึ่ง ได้รับการยอมรับและเข้าใจว่าเป็นต้นแบบสังคมมุสลิมที่ ทันสมัย มีการนําไปประยุกต์ใช้กับหลากสาขาวิชา ด้วย เห็ น ว่ า เป็ น แน วคิ ด ต้ น แบ บของวิ ช า การอิ ส ลา ม (Indigenous Muslim Science) ที่สามารถช่วยฟื้นฟู วิกฤติต่างๆ ของสังคมโลกสมัยใหม่และอิสลามานุวัตรมี ความเป็นสมัยใหม่ จากฐานคิดที่ว่าทุกศาสตร์ต้องทําให้อนุวัตกับ อิสลามแล้วแผ่ขยายความรู้ไปสู่สากลนั้นทําให้ผลผลิ ต ทางวิ ช าการกระจายไปสู่ สั ง คมในรู ป ที่ เ หมาะสมและ สะดวกใช้กับยุคสมัยใหม่ เช่น หนังสือเล่มเล็ก วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ แผ่นวีดีทัศน์ และการจัด วางข้อมูลในเวปไซต์ซึ่งสะดวกต่อการดึงข้อมูลและขยาย ข้อมูล ในวงกว้ างไปยั งคนที่อยู่ ในเครื อข่ า ยและผู้ สนใจ ทั่วไป วิธีการเผยแผ่และกระจายข้อมูลเช่นนี้ไม่จํากัดอยู่ เพียงเฉพาะกลุ่มที่ให้ความสนใจใช้มโนทัศน์อิสลามานุ วัตรเท่านั้น กลุ่มนักเคลื่อนไหวที่ชูแนวทางสลัฟและค่าย หวนคืนสู่มูลฐานได้พัฒนาและปรับเปลี่ยนการใช้สื่อเพื่อ เผยแผ่อิสลามตามยุคสมัยเช่นกัน ข้ อ สั ง เ ก ต น่ า ส น ใ จ ที่ มี ต่ อ ก ร ะ บ ว น ก า ร เคลื่อนไหวอิสลามของนักคิดสมัยสมัยใหม่คือเป้าหมาย ในการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม ซึ่ ง ไม่ เ พี ย งแต่ พั ฒ นาแนวคิ ด เชิ ง วิ ช าการที่ เ น้ น วิ ธี วิ ท ยาในการแสวงหาความรู้ แ บบ วิทยาศาสตร์ (Scientific Knowledge) แต่ยังคงยึดมโน ทัศน์การเผยแผ่อิสลามไปสู่สากล อันเป็นจารีตสําคัญของ การแผ่ขยายอิสลามในยุคอดีตอันรุ่งเรือง (Golden Age) ฉันเห็นว่าสิ่งนี้แสดงถึงการอธิบายอย่างมีนัยของการแยก โลกโดยมองว่าตะวันตกยังคงเป็นอื่น นอกจากนี้ อํานาจ ในการอธิ บ ายศาสนามิ ไ ด้ จํ า กั ด อยู่ เพี ย งกลุ่ ม ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ การศึกษาในวิชาการด้านอิสลามเพียงอย่างเดียวเท่านั้น และพรมแดนในการฟื้ น ฟู อิส ลามยิ่ ง แคบลง การรั บ รู้ ข้อมูล ข่า วสารระหว่า งท้ องถิ่น และโลกดํ าเนิน ไปอย่ า ง รวดเร็วและมีการถ่ายเทความคิดซึ่งกันและกัน

56

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ผู้หญิงเคลื่อนขบวน กระบวนการทํ า งานอิ ส ลามของผู้ ห ญิ ง ไม่ ถู ก กล่าวถึงในงานฟื้นฟูศาสนาอย่างโดดเด่นเช่นผู้นําและนัก คิ ด ชาย หากแต่ ป ระเด็ น ผู้ หญิ ง ถู ก จั ด ไว้ ใ นส่ ว นเฉพาะ สํา หรับ การจั ดการความรู้ เรื่ องผู้ หญิง ในที่ เชื่อมโยงกั บ บทบาทหน้ า ที่ ข องความเป็ น ภรรยาและมารดา ทั้ ง ที่ ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นยุ ค อาณานิ ค มและหลั ง อาณานิ ค ม กล่ า วถึ ง ผู้ ห ญิ ง ในฐานะนั ก คิ ด นั ก เผยแพร่ ศ าสนา ตลอดจนประเด็นความสัมพันธ์หญิงชายเป็นใจกลางของ วาทกรรมทางศาสนาและการเมืองในโลกมุสลิมสมัยใหม่ เมื่อพิจารณาถึงกาลก่ อนยุ คสมั ยใหม่ วาทกรรมหลัก ที่ อธิบายถึงตัวตนและกํากับบทบาทผู้หญิงมุสลิมในยุคนั้น มีอิทธิพลจากการเชื่อมโยงเอาอารยธรรมตะวันออกลาง เมดิเตอร์เรเนียนเข้าไปในอิสลามและกลายเป็นฐานของ การจัดวางตําแหน่งผู้หญิงในยุคสมัยใหม่ ลัยลา อะห์มัด (Ahmad 1992, 84-45, 103, 127-128) เห็นว่า (1) ประเพณี แ ละกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแต่ ง งาน โดยเฉพาะการอนุญาตเรื่องการแต่งงานซ้ําซ้อนของผู้ชาย (Polygamy) และการอนุญาตให้ชายสามารถกระทําการ หย่า ร้า งได้เพีย งฝ่ ายเดี ยว (2) การกั นผู้ หญิ งออกจาก สังคม (3) สิทธิในการถือครองมรดกอย่างถูกต้องตาม กฎหมายของผู้ หญิ ง และ (4) ตํ า แหน่ ง ของผู้ หญิ ง ใน ระบบสังคมชนชั้น เงื่อนไขเหล่านี้เป็นปราการสําคัญที่ ก่อให้เกิดความเข้าใจในสังคมสมัยใหม่ว่าอิสลามกดขี่เพศ หญิ ง โดยเฉพาะตั้ ง แต่ ก ารเข้ า มามี อิ ท ธิ พ ลของยุ โ รป ในช่วงล่าอาณานิคม ความพยายามในการฝ่าวงล้อมจาก การถู กครอบงํ าและสภาพของการถูกกดขี่จ ากแนวคิ ด ของตะวันตกส่งผลให้เกิดการแสวงหาทางออกทั้งที่อิงอยู่ บนแนวทางในการสร้างความรุ่งเรืองแก่อิสลามเช่นอดีต และเปลี่ยนไปสู่ความก้าวหน้าตามแบบเจ้าอาณานิคม ผู้หญิงได้รับการยอมรับให้เข้ามาทําหน้าที่ฟื้นฟู อิ ส ลามโดยอ้ อม ผู้ ช ายเป็ น ฝ่ า ยริ เ ริ่ ม ก่ อตั้ ง ขบวนการ เรียกร้องอิสลาม มองว่าได้ทําหน้าที่สอดคล้องตามสภาพ สังคมมุสลิม ประเด็นผู้หญิงเป็นส่วนหนึ่งของการต่อรอง ในระดั บ รั ฐ ระหว่ า งประเทศที่ เคยตกเป็ น เมื องขึ้ น ของ ตะวันตก มีการเขียนงานเรื่องของผู้หญิงในอิสลามโดย นักวิชาการชายในช่วงต้น โดยเฉพาะในอียิปต์และตุรกี จุดเริ่มต้นคือการรักษาสถานภาพของผู้หญิงให้สัมพันธ์


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

และสอดประสานกั บ มิ ติ อื่ น ๆ ทางสั ง คม ทั้ ง แนวคิ ด ชาติ นิ ย มและการปฏิ รู ป ทางการเมื อง เศรษฐกิ จ และ วัฒนธรรม การปรับเปลี่ยนสังคมในยุคนั้นเอายุโรปเป็น ตัวอย่างทั้งเรื่องการปลดปล่อยผู้หญิงและปฏิรูปสังคม ของผู้ หญิ ง วาทกรรมใหม่ เกี่ ย วกั บ ผู้ หญิ ง ในโลกมุ ส ลิ ม ปรากฏอย่างเด่นชัด ทั้งเข้าแทนที่จารีตและการตีความ ศาสนาแบบเก่า แม้กระทั่งในตอนปลายศตวรรษวิธีคิด เช่ นนี้ ก็ยั งไม่ส ามารถหลอมรวมเข้ ากั นได้ เพราะยุโ รป ไม่ได้มีฐานคิดในการผสานการปฏิรูปสังคมกับประเด็น ผู้หญิงซึ่งเห็นได้จากกฎหมาย ทั้งยุโรปเองอยู่ภายใต้วิถี ขอ ง แ น ว คิ ด ช า ย เ ป็ น ใ หญ่ แ ล ะ เ ก ลี ย ด ชั ง ผู้ ห ญิ ง (Androcentrism and Misogyny, Mernissi: 1985, 12) แม้ ผู้ ห ญิ ง ขาดอํ า นาจในการต่ อ รองสิ ท ธิ แ ละ ความเท่าเทียมทางเพศ แต่พบว่าผู้หญิงชนชั้นนําบางคน ได้ใช้โอกาสของการแบ่งแยกทางเพศสร้างอํานาจต่อรอง ในการเข้าถึงอิสลามผ่านการฝึกฝนเข้าใจวิชาการศาสนา ท่องจําอัลกุรอาน และ ฝึกทักษะวิชาอาชีพต่างๆ และ ขจั ด ภาพที่ ถู ก ประทั บ จากสั ง คมในสมั ย ก่ อ นหน้ า นี้ ว่ า ผู้หญิงเป็นได้เพียงวัตถุทางเพศ ผู้หญิงมุสลิมในหลายที่ โดยเฉพาะอี ยิ ป ต์ แ ละตุ ร กี มี โ อกาสทางการศึ ก ษาใน สถาบัน สมัยใหม่ในประเทศและยุโ รปทุก สาขา รวมถึ ง เทคโนโลยีและสังคมศาสตร์ ในช่วงปฏิรูปของประเทศ ต่ า งๆ ผู้ ห ญิ ง เหล่ า นี้ ถู ก เรี ย กร้ อ งให้ ก ลั บ บ้ า นเกิ ด ของ ตนเองเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้หญิง ผล ที่ตามมาคือเกิดการปฏิรูปสังคมในเชิงความคิดของกลุ่ม ชนชั้ น สู ง และชนชั้ น กลางตามลํ าดั บ จนกระทั่ ง ผู้ หญิ ง ทั่วไปต่างก็ได้รับแนวคิดใหม่เหล่านี้ด้วย เช่น สนับสนุน การศึกษาของผู้หญิง โดยตั้งโรงเรียนเฉพาะเพศหญิง ซึ่ง ขยายผลต่อสิทธิทางความรู้ อัตราผู้หญิงที่รู้หนังสือมีมาก ขึ้น ยกตั วอย่ า งเช่ นใน ค.ศ. 1897 มีผู้ หญิ งที่ รู้ หนั ง สื อ เพิ่มขึ้นในอียิปต์ถึง 31,200 คนโดยประมาณ และส่งผล ต่ อ การมี ง านทํ า ความเปลี่ ย นแปลงที่ น่ า สนใจอี ก ประการคื อการแต่ ง กาย ซึ่ ง เป็ น ยุ ค ที่ ค นในสั ง คมเห็ น ผู้หญิงจากหลากหลายมุม เช่น นักเรียนโรงเรียนแพทย์ พยาบาลในโรงพยาบาล ซึ่งมีทั้งผู้หญิงที่คลุมศรีษะและไม่ คลุมศรีษะปะปนกันไป ตั้งแต่ทศวรรษ 1890s เริ่มมีการ วิพากษ์วิจารณ์ผู้หญิงชนชั้นสูงที่ไปใช้ชีวิตในต่างประเทศ

57

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ผ่านงานเขียนเชิงวิชาการอิสลาม การเมือง ศาสนา และ วัฒ นธรรม ทั้ ง เกิ ด ความแปลกแยกระหว่า งคนที่ ค ลุ ม ศรีษะกับไม่คลุมศรีษะ หญิงชนชั้นสูงเหล่านี้เมื่อกลับไป ยังบ้านเกิด พวกเธอสวมผ้าคลุมศรีษะแต่มีรูปแบบการ แต่งกายที่แตกต่างไปจากคนท้องถิ่น อาทิ ความมีสีสัน ความเบาบางของเนื้อผ้า ที่คล้ายกับแฟชั่นในอิ สตันบลู และผู้ ห ญิ ง ในท้ อ งถิ่ น หลายคนเริ่ ม สนใจพร้ อ มกั บ เลียนแบบการแต่งกายดังกล่าว (Ahmad 1993, 137138) ก่อนงานฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิงในเมืองไทย แม้ ใ นกลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม ให้ ค วามสนใจศึ ก ษา ศาสนาและมี ส่ว นเกี่ย วข้ องกั บการจัด ระบบการศึ กษา อิสลาม และเป็นส่วนหนึ่งในการทํางานเพื่อฟื้นฟูอิสลาม มาอย่างยาวนานทั้งในภาคใต้และส่วนกลาง แต่การก่อตั้ง หรืองานขับเคลื่อนของผู้หญิงยังไม่มีทิศทางที่ชัดเจน จุด เปลี่ยนของการทํางานฟื้นฟูอิสลามในเมืองไทยในส่วน ของผู้หญิง ที่ฉั นพอจะหาทบทวนและเท้า ความได้ เริ่ ม ขบวนโดยปั ญ ญาชนรุ่ น ใหม่ซึ่ ง เป็ น ช่ว งเดี ย วกั บ ที่ นิ สิ ต นักศึกษามุสลิมมีบทบาทในการเรียกร้องอิสลามเมื่อ 40 ปีที่ผ่านมาโดยประมาณ ซึ่งเป็นการดําเนินงานในนาม ของนั ก ศึ ก ษาจากส่ ว นกลาง เมื่ อ พ.ศ. 2509 มี ก าร รวมกลุ่ ม อย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการของนั ก ศึ ก ษามุ ส ลิ ม ใน สถาบันอุดมศึกษาในนามชมรมนิสิตนักศึกษาไทยมุสลิม (ชนท.) แกนนํานักศึกษาส่วนหนึ่งมีพื้นเพอยู่ทางภาคใต้ และภูมิภาคอื่นๆ การให้ความรู้และศึกษาวิชาการอิสลาม ดํ า เนิ น การโดยเชิ ญ ผู้ รู้ บ รรยายวิ ช าการศาสนา การ ดํ า เนิ น งานในช่ ว งนี้ ไ ม่ มี ก ารแบ่ ง แยกเพศหรื อ แบ่ ง คณะทํ า งานออกเป็ น ส่ ว นงานของฝ่ า ยผู้ ช ายและฝ่ า ย ผู้ หญิ ง ไม่ มี ก ารพู ด คุ ย ประเด็ น ผู้ หญิ ง หรื อเชิ ญ ชวนให้ ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม สวมผ้ า คลุ ม ศรี ษ ะ เป้ า หมายของการ รวมกลุ่มเพื่อแสวงหาความยุติธรรมในสังคม นอกจากนี้ กระแสสังคมนิยมมีส่วนต่อการเรียกร้องความชอบธรรม และขจัดความเหลื่อมล้ําระหว่างชนชั้นสู่การปฏิรูปสังคม ในขณะที่ฐานคิดทางทางศาสนามาจากส่วนของการรับ เอารูปแบบ ข้อมูล และการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงของโลก มุสลิมทั้งต่อต้านอํานาจการครอบงําของตะวันตก


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

เรื่องราวที่ถ่ายทอดกันในกลุ่มปัญญาชนรุ่นนั้น คือการเรียนรู้หลักการศรัทธาในอิสลามและการทําความ เข้าใจถึงบทบาทของเยาวชนมุสลิมต่อสังคม เพราะเชื่อ ว่าพลังของเยาวชนและปัญญาชนสามารถเปลี่ยนแปลง สังคม แกนนําบางส่วนเริ่มการทํางานประเด็นอิสลามกับ สังคมมุสลิม นักเคลื่อนไหวสําคัญได้แก่ ปกรณ์ ปรียากร (อดีตนายกสมาคมนิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศไทย คนแรก ปัจจุบันท่านดํารงตําแหน่งเป็นเลขาธิการมูลนิธิ เพื่ อ ศู น ย์ ก ลางอิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทย และรอง ศาสตราจารย์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์) ปรีดา ประพฤติ ช อบ (อาจารย์ ป ระจํ า คณะเกษตรศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น ) ศ ร า วุ ธ ศ รี ว ร ร ณ ย ศ (ประธานสภาองค์การมุสลิมแห่งประเทศไทย) นิติ ฮาซัน (อดี ต ประธานสภาองค์ ก ารมุ ส ลิ ม แห่ ง ประเทศไทย) เสาวณีย์ จิตต์หมวด (อดีตคณะกรรมการอิสระเพื่อความ สมานฉันท์แห่งชาติ และอดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยราช ภัฏธนบุรี) และมูหะมัดนอร์ มะทา (แกนนํากลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร) เป็น ต้น เห็นได้ว่าการเรียกร้องอิสลามในกลุ่มคนรุ่นใหม่ ส่วนใหญ่ดําเนินไปในมิติทางการศึกษามากกว่าส่วนอื่นๆ เนื่องด้วยนักเคลื่อนไหวอิสลามกําเนิดในแวดวงดังกล่าว แต่ ก ระนั้ น พลวั ต ของกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลามเอง เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจอย่าง ต่ อเนื่ อง เห็ น ได้ จ ากการจั ด ตั้ ง กลุ่ ม นั ก กฎหมายมุ ส ลิ ม การต่อรองกับรัฐในการใช้แนวคิดศาสนาบริหารกิจการ ทางการเมื อ งและสั ง คมในภาคใต้ ต อนล่ า ง เป็ น ต้ น (Wattana 2006, 119-144) นอกจากนี้ มีการเริ่มสอน เรียนด้านวิชาการศาสนา และศาสนาควบคู่กับสามัญใน รูปแบบต่า งๆ เช่น โรงเรีย นราษฎร์ สอนศาสนาอิส ลาม (ต่ อ มาและปั จ จุ บั น คื อ โรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนา อิสลาม) การกําหนดหลักสูตรอิสลามศึกษาโดยสมาคม คุ รุ สั ม พั น ธ์ ตั้ ง แต่ ใ นรู ป ของการทํ า ค่ า ยอาสาพั ฒ นา ชุมชน ค่ายอบรมจริยธรรมเยาวชนมุสลิมภาคฤดูร้อน ไป จนถึ ง การทํ า กลุ่ ม ศึ ก ษาอิ ส ลามของนั ก ศึ ก ษาแกนนํ า กิจกรรมเหล่านี้มีลักษณะคล้ายคลึงกับการจัดทํากิจกรรม ของนั ก เคลื่อนไหวเพื่อเรี ย กร้ องอิ ส ลามในที่ อื่น ๆ ของ เอเชียอาคเนย์ซึ่งดําเนินไปพร้อมกับการให้การยอมรับ

58

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ของสังคมต่อศักยภาพของเยาวชนและปัญญาชนมุสลิม ในการทํ า งานศาสนาและสั ง คม เช่ น อาบิ ม มาเลเซี ย (Angkatan Belia Islam Malaysia: ABIM หรือ the Muslim Youth Movement of Malaysia) ซึ่งมี ความสัมพัน ธ์ที่ใกล้ชิด กับ ยมท. และวามีย์ สํานั กงาน ประเทศไทย (the World Assembly of Muslim Youth, Thailand: WAMY) เริ่มเคลื่อนขบวนผู้หญิง สองปีโดยประมาณก่อนเกิดกรณีการประท้วง ฮิ ญ าบที่ จั ง หวั ด ยะลา ระหว่ า ง พ.ศ. 2528 กลุ่ ม นั ก กิ จ กรรมมุ ส ลิ ม ในส่ ว นกลางเริ่ ม ให้ ค วามสนใจศึ ก ษา ประเด็ น ผู้ หญิ ง ในอิ ส ลาม เมื่ อ นั ก กิ จ กรรมหญิ ง มุ ส ลิ ม ได้รับการติติงจากเพื่อนสมาชิกและนักการศาสนาภาคใต้ ให้คิดปรับเปลี่ยนตนเองเรื่องการแต่งกาย โดยเสนอว่า การทํางานเพื่อศาสนาของผู้หญิงจะไม่สมบูรณ์หากยังไม่ สามารถปฏิบัติตามหลักการสําคัญของผู้หญิงเองได้นั่นคือ การสวมผ้าคลุมศรีษะ หลังจากนั้น นักกิจกรรมเหล่านี้ เริ่มเชิญผู้รู้ทางศาสนาจากภายนอกสถาบันบรรยายให้ ความรู้เรื่องผู้หญิง ในอิ สลามและความสํา คัญ ของฮิญ า บ ขึ้ น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ทั้ ง ใ น ส่ ว น ก ล า ง ต ล อ ด จ น สถาบันการศึกษาในภาคใต้ รูปแบบการคลุมผ้าแตกต่าง กันออกไป บ้างปิดศรีษะโดยผูกชายผ้าไว้ด้านหลังหรือผูก ที่คาง มีการศึกษาเอกสารทางศาสนาที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ผู้หญิงในยุคศาสดามุฮัมมัด พยายามค้นหาแนวทางใน การวางตัวในฐานะหญิงมุสลิมสมัยใหม่ซึ่งแรงบันดาลใจที่ ใกล้ เคี ย งกั บ ยุ ค ของคนกลุ่ ม นี้ คื อการปฏิ วั ติ อิ ส ลามใน อิหร่าน ภาพการแต่งกายของผู้หญิงในช่วงปฏิวัติอิหร่าน และรู ป แบบชี วิ ต ของปั ญ ญาชนหญิ ง มุ ส ลิ ม จากสื่ อ ต่า งประเทศส่ ง ผลให้ นั ก ศึก ษาหญิ ง ทะยอยคลุ ม ศรี ษ ะ ในช่ว งกิจ กรรมบรรยายและการออกค่ า ยอาสาพัฒ นา ช น บ ท ซึ่ ง ส่ ว นใ หญ่ เลื อก พื้ น ที่ ทํ า ง า น ใน ภา คใ ต้ ขณะเดียวกัน นักศึกษาหญิงที่ไม่คลุมศรีษะเริ่มห่างเหิน การเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มนักศึกษามุสลิม ในกรณี ข้ า งต้ น ฮิ ญ าบเป็ น สิ่ ง แบ่ ง แยกกลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง ที่ ไ ม่ ส วมผ้ า คลุ ม ศรี ษ ะออกจากผู้ ห ญิ ง ที่ ส วมผ้ า สํ า หรั บ ผู้ หญิ ง ในกลุ่ ม หลั ง ได้ รั บ การมองว่ า ปฏิ บั ติ ต าม อิสลาม เป็นผู้หญิงที่ “ดี” และอยู่ในสถานะที่เหมาะสม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

แก่การเข้าร่วมขบวนการฟื้นฟูอิสลามเพราะพวกเธอจะ ได้ เป็ น แบบอย่ า งให้ แ ก่ รุ่ น ต่ อไป การสวมฮิ ญ าบจึ ง ถู ก อธิบายในเชิงของความเป็นทางการ เป็นเครื่องแต่งกายที่ เหมาะกั บ การออกนอกเคหะสถานของผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม สมัยใหม่ โดยการสวมผ้าคุลมศรีษะที่ปกปิดเรือนผม ใบหู คอ และหน้าอก ตลอดจนการสวมชุดยาวหรือเสื้อแขน ยาว และกระโปรงยาวหรือกางเกงขายาว ในเวลานี้การ สวมกางเกงของผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม ในเมื อ งไทยยั ง ไม่ มี ก าร ถกเถียงถึงความถูกต้อง เหมาะสม หรือพิจารณาว่าเป็น เครื่องแต่งกายที่เลียนแบบเพศชายแต่ประการใด หากแต่ เกิดการแบ่งแยกความต่างระหว่างการสวมฮิญาบแบบ “ประเพณี ท้ องถิ่ น ” กั บ การสวมฮิ ญ าบแบบ “ปฏิ วั ติ ” หรือ “ฟื้นฟู” อิสลามที่ได้รับการถ่ายทอดจากหลักการ ศาสนาอย่างเป็นรูปธรรม ขณะเดียวกัน ฮิญาบช่วยทําให้ ขบวนการเคลื่อนไหวของผู้หญิงมุสลิมในสังคมไทยเริ่ม ชั ด เจนขึ้ น ไม่ ก ลื น ไปกั บ การเคลื่ อ นไหวในประเด็ น เรียกร้องความเป็นธรรมอื่นๆ สั ง คมไทยเริ่ ม เห็ น คนสวมฮิ ญ าบในที่ ต่ า งๆ รวมทั้งสถานที่ราชการ และรูปถ่ายในบัตรประชาชนกับ หนังสือเดินทาง นอกจากฮิญาบเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้อง กั บ การศาสนบั ญ ญั ติ แ ล้ ว ฮิ ญ าบเองยั ง กลายเป็ น ประเด็นอัตลักษณ์ร่วมของมุสลิมและถูกนํามาใช้เป็นข้อ ต่อรองกับรัฐไทยดังตัวอย่างเหตุการณ์ประท้วงฮิญาบที่ วิท ยาลั ย ครู ย ะลา กลุ่ ม แกนนํ า ส่ ว นใหญ่ เป็ น ชนมุ ส ลิ ม มลายู เช่ น สมาชิ ก ชมรมส่ ง เสริ ม จริ ย ธรรมอิ ส ลาม วิทยาลัยครูยะลา ประธานชมรมฯ ในขณะนั้นคืออิบรา เฮ็ม ณรงค์รักษาเขต ปัจจุบันท่านเป็นอาจารย์ที่วิทยาลัย อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี นอกจากนี้มีกลุ่มสลาตัน (ตอนใต้หรือภาคใต้) ซึ่ง เป็ น กลุ่ ม นั ก ศึ ก ษามุ ส ลิ ม ในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ บางส่ ว นเป็ น นั ก ศึ ก ษามุ ส ลิ ม มหาวิ ท ยาลั ย รามคํ า แหง และมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในภาคกลาง รวมทั้งนักศึกษาที่ จบการศึกษาด้ านศาสนาชั้นสู งและทํางานกิจกรรมใน สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เนื่ อ งจากการประท้ ว งดํ า เนิ น เป็ น เวลานาน สมาคมนิสิตนักศึกษามุสลิมแห่งประเทศไทย (สนท.) จึงเข้ามามีบทบาทในการเป็นฝ่ายประสานงาน การเรี ย กร้ องร่ ว มกั บ องค์ ก รอื่ น ๆ อาทิ นั ก การเมื อง ผู้ เสนอนโยบายภาคใต้ ข องรั ฐ เช่ น ศอบต. เหตุ ก ารณ์

59

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

คลี่คลายเมื่อคุณอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ สมาชิก สภาผู้แทน ราษฎรจังหวัดนราธิวาส แกนนํากลุ่มวาดะห์ซึ่งเป็นกลุ่ม นักการเมืองมุสลิมมลายู ซึ่งในขณะนั้นท่านดํารงตําแหน่ง รั ฐ มนตรี ช่ ว ยว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้ เ สนอให้ มุ ส ลิ ม สา มา รถแต่ ง กา ยตา มหลั ก กา รศา สน าใน สถาบันการศึกษาได้ จากเหตุการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้นักศึกษามุสลิม ที่ศึกษาในสายสามัญหรือการศึกษาแบบโลก (Secular Education System) มี บ ทบาทในสั ง คมมากขึ้ น (Preeda 2005, 109) ถึงแม้ฮิ ญาบเป็น ประเด็น ที่ เกี่ยวข้องกับการแต่งกายของผู้หญิง แต่นัยการนําเสนอ ฮิญาบในสังคมไทยสมัยใหม่สู่สาธารณะสัมพันธ์กับวิกฤติ ของอํานาจสมัยใหม่ (Modern Crisis of Authority) ที่ ขาดดุลด้านความชอบธรรม (Legitimacy Deficit) ใน กรณีนี้ อํานาจทางศาสนาถูกทําให้สัมพันธ์กับการอธิบาย ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์โดยรัฐ กรณีการประท้วง ฮิญาบเป็นได้ทั้งสัญลักษณ์ในการต่อต้านอํานาจรัฐ และ การเมื องในการแสวงหาพื้ น ที่ แ ละอํ า นาจทางสั ง คมที่ ดําเนินไปพร้อมกับกระแสการฟื้นฟูอิสลามผ่านเรือนร่าง ของผู้หญิง ในส่ ว นของผู้ ห ญิ ง กลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง ไทยมุ ส ลิ ม (ญมท.) ที่นําโดย เสาวณีย์ จิตต์หมวด ได้รับการยอมรับ จากสังคมว่าเป็นกลุ่มทํางานฟื้นฟูอิสลามประเด็นผู้หญิง ในประเทศไทยเป็ น กลุ่ ม แรก กรณี ข องฮิ ญ าบ ญมท. เคลื่อนไหวภายในเพื่อกดดันภาวะทางการเมืองระหว่าง มุสลิมกันเอง คือระหว่างกลุ่มเคลื่อนไหวสิทธิผู้หญิงกับ สํานักจุฬาราชมนตรีที่ถูกมองว่าเป็นสถาบันอิสลามที่มี อํานาจและทํางานใกล้ชิดทางการของประเทศซึ่งอยู่ใน ค่า ยจารี ต ญมท. เห็ น ว่ า สํา นั ก จุ ฬ าราชมนตรี ไ ม่ ไ ด้ ทํ า หน้าที่อย่างเหมาะสมในการช่วยปกป้อง เรียกร้อง และ แก้ไขปัญหาหลังจากที่กระทรวงมหาดไทยออกหนังสือ ห้ า มไม่ ใ ห้ ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม สวมฮิ ญ าบถ่ า ยรู ป ติ ด บั ต ร ประชาชน ซึ่งส่งผลให้ผู้หญิงกลุ่มนี้แสวงหาเครือข่ายเพื่อ ช่วยในการต่อรองอํานาจให้แก่ผู้หญิงกับรัฐ เช่น ขอให้ สมาคมญัม อีย ะตุ ลอิส ลามและสภาองค์ก ารมุส ลิม แห่ ง ประเทศไทยซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มมุสลิมสายปฏิรูปทําหนังสือ ถึงจุฬาราชมนตรีเพื่อร้องเรียนถึงการถูกลิดรอนสิทธิตาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

สิทธิที่พึงมีในกฎหมายรัฐธรรมนูญและปฏิญญาสากลว่า ด้วยสิทธิมนุษยชน จุดเริ่มต้นของกระบวนฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิง มุสลิมในเมืองไทยคล้ายคลึงกับกระบวนการเปลี่ยนแปลง ในระดับสากลกล่าวคือ เริ่มต้นด้วยประเด็นฮิญาบ ซึ่งมัก เป็นการปะทะกันระหว่างรัฐกับกลุ่มผู้ฟื้นฟูศาสนาไม่ว่า การสนับสนุนหรือใช้รูปแบบการแต่งกายของผู้หญิงเป็น เครื่องมือในการจัดการระเบียบสังคมและการเมือง หรือ คัดค้านต่อต้านเนื่องจากเห็ นว่าเป็นการขัดต่อระเบีย บ โลกสมัยใหม่และเป็นภัยต่อความรุนแรงที่อาจเกิดจาก การแบ่งแยกทางเชื้อชาติและศาสนา สมาชิกส่วนใหญ่ เป็ น ผู้ ห ญิ ง จากชนชั้ น กลางที่ มี ค วามรู้ และได้ รั บ การ ยอมรับจากสังคม จากการที่พื้นฐานของกลุ่มเคลื่อนไหวเป็นผู้หญิง ที่มีการศึกษาและเรียนจบจากระบบการศึกษาแบบโลกีย วิ สั ย ที่ ยั ง มี ค วามรู้ ท างวิ ช าการศาสนาน้ อ ย เมื่ อ ศึ ก ษา แนวคิดการฟื้นฟูอิสลามจากสื่อและบุคคลที่มีในช่วงนั้น จึ ง จํ า กั ด อยู่ ใ นวงของข้ อ มู ล ความรู้ จ ากการตี ค วามใน แนวคิดอิสลามกระแสหลักที่ค่อนข้างอนุรักษ์นิยม และ ชิงชังกับอารยธรรมตะวันตกในภาวะที่สร้างความเสื่อม เสี ย แก่ อิ ส ลามและการครอบงํ า มุ ส ลิ ม อย่ า งไรก็ ดี ปฏิสัมพันธ์ของคนกลุ่มนี้กับสังคมภายนอกยังมีอยู่ภายใต้ ระบบความสั ม พั น ธ์ แ บบยอมรั บ การมี อ ยู่ ข องความ หลากหลายของผู้คน ความคิด ความเชื่อ และวิถีปฏิบัติ เนื่องจากยังมีภาระหน้าที่ทางการงานที่ออกสู่สังคมที่มิใช่ มุสลิม กลุ่มแกนนําหญิงมักได้รับการเชื้อเชิญจากนัก กิจกรรมรุ่นเยาว์ เช่นนักศึกษามุสลิม ร่วมถ่ายทอด บอก เล่าประสบการณ์ และแนะนําแนวทางการทํากิจกรรม ภายใต้ภาวะสังคมสมัยใหม่ กลุ่มผู้หญิงเหล่านี้เริ่มผลิต งานวิชาการและสร้างเครือข่ายความเข้าใจอิสลามของ ตนเอง เช่ น เขี ย นบทความในประเด็ น ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม สมัยใหม่กับการทํากิจกรรมเพื่อสังคม แปลและถ่ายทอด บทความจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยแล้วตีพิมพ์ใน ลักษณะของหนังสือที่อ่านง่าย จัดเวทีสัมนาและอบรม มุ ส ลิ ม ะห์ ใ นระดั บ ภาคและประเทศ ทั้ ง พยายามผลิ ต วิทยากรผู้หญิงที่มีทั้งความรู้ศาสนาและวิชาการทางโลก เมื่อพิจารณาประเด็นความเป็นหญิง กลุ่มมุ่งไปที่สถานะ

60

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ของเพศหญิงที่สืบทอดและสร้างประชาชาติมุสลิมคือการ เป็นภรรยาและแม่ที่ดีที่ควรปกปิดร่างกายตามหลักการ ศาสนา ทั้งสอนให้ผู้หญิงรุ่นต่อไปตระหนักในเรื่องของ การแต่งกายแบบอิสลามตั้งแต่ยังเล็ก กลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง นั ก เคลื่ อ นไหวรุ่ น แรกได้ รั บ การ ยอมรับจากสังคมมุสลิมและสังคมไทยทั่วไป ความโดด เด่ น ของงานผู้ ห ญิ ง ในช่ ว งนี้ คื อ การร่ ว มขบวนกั บ ประชาคมมุ ส ลิ ม เพื่ อ ต่ อ รองกั บ รั ฐ ในเรื่ อ งฮิ ญ าบ จน สังคมไทยเริ่มคุ้นชินกับภาพผู้หญิงมุสลิมสวมใส่ผ้าคลุม ศรี ษ ะในที่ ส าธารณะ และไม่ จํ า กั ด การสวมใส่ ฮิ ญ าบ เฉพาะงานของมุสลิม แต่กระนั้น กลุ่มฟื้นฟูอิสลามของ ผู้หญิงในช่วงแรกยังขาดความต่อเนื่องในการสร้างคนรุ่น ใหม่ เพื่ อสานต่ อการทํ า งาน ทั้ ง ที่ ก ลุ่ ม จั ด กิ จ กรรมและ ทํางานกับเยาวชนและคนรุ่นใหม่อยู่ไม่น้อย ในช่วงกลางทศวรรษ 1990s กลุ่มเคลื่อนไหวที่ ทํางานด้านผู้หญิงมิได้ผลิตงานวิชาการ เพียงแต่เน้นการ ทํางานเชิงปฏิบัติการและกระบวนการ โดยเฉพาะค่าย อบรมมุ ส ลิ ม ะห์ (ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม ) ประจํ า ปี โดยเชิ ญ วิ ท ยากรจากนั ก เคลื่ อ นไหวผู้ ห ญิ ง รุ่ น แรกๆ และ นัก วิ ช าการชายมาให้ ค วามรู้ กลุ่ มที่ เห็ นเด่ น ชั ดในช่ ว ง กลางปี 1990s คือญะมาอะห์อุมมี กลุ่มนี้เป็นผู้หญิงที่ เคยทํากิจกรรมนักศึกษาในมหาวิทยาลัย และเมื่อเรียน จบระดับปริญญาตรีแล้วยังคงรักษาเครือข่ายการทํางาน กั บ สนท. ชมต. และนั ก ศึ ก ษารุ่ น น้ องในฐานะพี่ เลี้ ย ง กิ จ กรรมผู้ หญิ ง แกนนํ า ยุ ติ บ ทบาทการทํ า งานในกลุ่ ม เนื่องจากภารกิจด้านการงานและครอบครัว ญะมาอะห์ อุ ม มี จึ ง สลายตั ว ไปในที่ สุ ด ข้ อ สั ง เกตของควา ม เปลี่ย นแปลงในช่วงนี้จากที่ฉัน เคยเข้า ร่วมกิ จกรรมคื อ การแยกการทํา งานระหว่างหญิ งและชายอย่า งชัดเจน โดยจั ด โครงสร้ า งในการทํ า งานของชายและหญิ ง ทุ ก ตําแหน่ง จนกลายเป็นเรื่องปกติของการทํางานอิสลาม ของคนรุ่นใหม่ในยุคนี้ แม้ว่าการแบ่งแยกระหว่างเพศเกิ ดขึ้นมาแล้ ว บ้างในช่วงปลายปี 1980s และต้นปี 1990s แต่ไม่ได้มี การแบ่งการทํางานในทุกตําแหน่งระหว่างฝ่ายหญิงและ ชาย เสาวนีย์ จิตต์หมวด ให้ความเห็นว่าความแปลกแยก ในระดับที่สองของการทํางานอิสลามในกลุ่มปัญญาชน คือการแบ่งแยกระหว่างเพศ เพราะเกรงเกิดฟิตนะห์หรือ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

ความเสียหายจากการปะปนกัน ระหว่า งหญิงและชาย ในขณะเดี ย วกั น รู ป แบ บของฮิ ญ าบ เริ่ ม มี ค วา ม หลากหลาย แลดูเคร่งขรึมและเคร่งครัดมากขึ้น กล่าวคือ ขนาดของฮิญาบใหญ่ขึ้น จากที่ส่วนใหญ่เคยเห็นผู้หญิง นักกิจกรรมสวมผ้าคลุมศรีษะแบบรูปสามเหลี่ยม เริ่มมี การใส่ ผ้ า คลุ ม ศรี ษ ะที่ ปิ ด ถึ ง ระดั บ เอวและครึ่ ง ตั ว นอกจากนี้ นักกิจกรรมหญิงบางคนสวมผ้าคลุมหน้าและ เลื อกใช้ ฮิญ าบโทนสี ดํา น้ํ า ตาล และเทา เครื่ องหมาย แสดงการปรับเปลี่ยนเรื่องฮิญาบนี้มักกล่าวกันในกลุ่มนัก กิจกรรมว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่า เคร่งครัด กว่ า เหมาะสมกว่ า และถู ก ต้ อ งกั บ หลั ก การอิ ส ลาม มากกว่ า จนเริ่ ม มี ก ารแยกกลุ่ ม ที่ ย่ อ ยออกไปอี ก ใน ระหว่างผู้หญิงนักเคลื่อนไหวฮิญาบผืนเล็กกับฮิญาบผืน ใหญ่ ปรับขบวนไปสู่อิสลามบริสุทธิ์ อิทธิพลของกระแสฟื้นฟูอิสลามในระดับสากลที่ ส่ ง ผ่ า นมาสู่ ก ารเรี ย นรู้ แ ละการนํ า ไปใช้ ใ นชี วิ ต ของ นั ก ศึ ก ษามุ ส ลิ ม ที่ จ บการศึ ก ษาจากต่ า งประเทศไม่ ว่ า มาเลเซี ย และอิ น โดนี เซี ย ตะวั น ออกกลาง หรื อเอเชี ย กลาง มีผลอย่างมากต่อการปรับแนวคิดการทํางานของ นั ก ฟื้ น ฟู อิ ส ลามในเมื อ งไทย เกิ ด การขยายกลุ่ ม การ ทํางานอิสลามแยกออกไปตามสังกัดที่เคยได้รับการศึกษา และเติบโตทางความคิด เช่น กลุ่มนักเรียน/นักศึกษาที่ เคยไปศึกษาที่อินเดีย นิยมแนวคิดการฟื้นฟูอิสลามของ ท่ า นอบุ ล ฮะซั น อั น นั ด วี ย์ เป็ น ต้ น เมื่ อ กลั บ มายั ง เมืองไทยหลายคนรวมกลุ่มทํากิจกรรม และก่อตั้งสมาคม ชมรม หรือกลุ่มเฉพาะ ซึ่งเกิดขึ้นมากมายขึ้นตั้งแต่ช่วง ปลายทศวรรษ 1990s การทํางานร่วมกันระหว่างกลุ่มใน รู ป เครื อ ข่ า ยเริ่ ม ปรากฏให้ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจนเมื่ อ เกิ ด ประเด็นปัญหากับรัฐและปัญหาในระดับนานาชาติ เช่น ความรุนแรงในภาคใต้ และปัญหาปาเลสไตน์ ในขณะที่ ปัญหาภายในโดยเฉพาะเรื่องแนวคิดกับความแตกต่าง ของทัศนะกลายเป็นตัวปิดกั้นความร่วมมือในการพัฒนา สังคมมุสลิมในเมืองไทย หลายครั้งที่จัดให้มีการจัดเวที โต้ เ ถี ย ง และเกิ ด วิ ว าทะถึ ง ขั้ น การตั ด ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งกั น ซึ่ ง แสดงถึ ง วั ฒ นธรรมชายเป็ น ใหญ่ ที่ ใ ห้ ความชอบธรรมแก่การเผชิญหน้า ยอมรับความรุนแรง

61

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ยอมให้มีการชิงความเป็นใหญ่ จนกลายเป็นเรื่องปกติที่ ยอมรับกันได้ในสังคม ความอ่ อ นแอขององค์ ก รตั ว แทนมุ ส ลิ ม ใน ประเทศไทยเช่นสํานักจุฬาราชมนตรีเป็นอีกปัจจัยหลักที่ นั ก เคลื่ อ นไหวมุ ส ลิ ม รุ่ น ใหม่ ม องว่ า ไม่ ส ามารถฝาก ความหวังในการฟื้นฟูอิสลามของเมืองไทยกับกลุ่มที่คนที่ ไม่สามารถให้การดูแลและสร้างการยอมรับในสังคมได้ ส่ ง ผลให้ นั ก เคลื่ อนไหวอิ ส ลามในเมื องไทยกลุ่ ม ใหญ่ ที่ เติบโตทางความคิดในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงและ ความหลากหลายของแนวคิ ดจากกลุ่ มต่ างๆ พยายาม เลือกกลุ่มทํางานอิสลามที่เห็นว่าสามารถตอบคําถามข้อ สงสัยของนักกิจกรรมที่ไม่เคยได้เรียนรู้อิสลามในระบบ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ ใ ช้ ชี วิ ต ทางการศึ ก ษาตาม ระบบโลกวิ สั ย ในศาสตร์แ ขนงต่ า งๆ ที่ไ ม่ เกี่ย วข้องกั บ อิสลามศึกษา ทั้ง ยังเลือกกลุ่ มและคนที่ สามารถชี้ แนะ แนวทางการทํางานอิสลามควบคู่ไปกับชีวิตมุสลิมในยุค สมัยใหม่ นอกจากกระแสการหวนคืนสู่อิสลามที่บริสุทธิ์ ได้ รั บ การตอบรั บ สู ง ในกลุ่ ม นั ก ฟื้ น ฟู อิ ส ลามรุ่ น ใหม่ ใ น ปั จ จุ บั น แล้ ว ยั ง มี ก ลุ่ ม เคลื่ อ นไหวในระดั บ โลกอื่ น ๆ เช่ น ญะมาอะห์ ตั บ ลี ฆ ได้ เริ่ ม ขยายการทํ า งานกั บ กลุ่ ม นักศึกษาและปัญญาชน รวมทั้งองค์กรที่เกิดจากผลผลิต ของการเป็ น นั ก กิ จ กรรมเมื่ อ ช่ ว งปลายปี 1980s โดยเฉพาะสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยมท.) และ สภาองค์ ก ารมุ ส ลิ ม แห่ ง ประเทศไทย ต่ า งเป็ น ตั ว แปร สําคัญในการผ่องถ่ายความคิดยึดถือตัวบุคคลและกลุ่ม พวกพ้องเพื่อสร้างความชอบธรรมในการอธิบายหลักการ ศาสนา และอยู่ ใ นตํ า แหน่ ง กลางเพื่ อ ประสานความ สุ ด โต่ ง และความอ่ อ นแอของกลุ่ ม ฟื้ น ฟู อิ ส ลามที่ เ ป็ น ทางการและใกล้ชิดกับรัฐ กับกลุ่มที่คนรุ่นใหม่สนใจร่วม การฟื้นฟูอิสลามโดยมิได้มีฐานความรู้ ความเข้าใจในศา สนวิทยา เทววิทยา และต่อต้านภาวะสมัยใหม่ที่นําโดย ตะวันตก ภาพกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูอิสลาม ของคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันซึ่งรวมไปถึงกลุ่มผู้หญิงต่างให้ ความสนใจการอธิบายศาสนบัญญัติและรูปแบบการฟื้นฟู ศาสนาตามแนวทางซุนนะห์สายปฏิรูปซึ่งสามารถตอบ คํ า ถามและหาทางออกในการเผชิ ญ สั ง คมสมั ย ใหม่ ไ ด้


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

มากกว่ าสายจารี ต หรื อคณะเก่ า ทั้ ง มี การใช้ สื่อ ภาษา และท่ า ที ใ นการสื่ อ สารในระดั บ ใกล้ เ คี ย งกั น นั ก เคลื่อนไหวหลายท่านได้รับเชิญจากชมรมนักศึกษามุสลิม ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้เป็นที่ปรึกษาทางวิชาการและ กิจกรรมอย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งเชิญบรรยายเพื่อให้ ความรู้ แก่ส มาชิกชมรมฯ และสมาคมต่า งๆ เมื่ อสนใจ แนวทางอธิบายศาสนาของนักคิดเหล่านั้นก็มักชักชวน เพื่อน และญาติพี่น้องติดตามการเผยแผ่ศาสนาและวิธี คิดของนักฟื้นฟูอิสลามตามแนวทางสะลัฟ แต่กระนั้นก็ มิได้หมายถึงนักศึกษามุสลิมทั้งหมดของสถาบัน และกลุ่ม ต่างๆ เข้ามาร่วมงานและศึกษาอิสลามจากนักคิดสายซุน นะห์อย่างเดียว ยังมีการทํางานร่วมกับกลุ่มประเพณีนิยม (Traditional Syncretism) อยู่บ้าง แต่ไม่มีความสัมพันธ์ ที่ เ หนี ย วแน่ น หรื อ เห็ น ภาพความเคลื่ อ นไหวชั ด เจน เยาวชนเลื อกเข้า ร่ วมกิ จกรรมและติด ต่ อประสานงาน เฉพาะในกรณีของการดําเนินงานอย่างเป็นทางการเมื่อ เผชิ ญ ปั ญ หากั บ รั ฐ และกฎหมายไทย หรื อ เมื่ อ มี ปฏิสัมพันธ์กับสถาบันชั้นสูงของสังคมไทย เช่น ร่วมงาน ออกร้านและกิจกรรมนักศึกษาในงานเมาลิดกลางแห่ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ห รื อ เ มื่ อ ต้ อ ง ก า ร ต่ อ ร อ ง กั บ สถาบันการศึกษากรณีการแต่งกายของนักศึกษามุสลิม ตามศาสนบัญญัติ เป็นต้น ระหว่างทศวรรษ 2000s มีการก่อเกิดของกลุ่ม ทํางานผู้หญิงที่มีบทบาทสําคัญต่อแนวโน้มความคิดของ คนรุ่นใหม่โดยเฉพาะเยาวชนและนักศึกษา ในช่วงที่กลุ่ม แนวคิดการฟื้นฟูอิสลามทุกค่ายเริ่มแบ่งแยกอย่างชัดเจน เกิดการปะทะทางความคิดและการโต้แย้งจนกระทั่งตัด ความสัม พัน ธ์ใ นฐานะ “พี่น้ องมุส ลิม ” และบางกลุ่ม ที่ เป็นเครือญาติกันกลับห่างเหินและกลายเป็นคนอื่น กลุ่ม ผู้หญิ ง อย่ า งนะห์ ฎ อตุ ล มุ ส ลิ มาต (ชื่ อสมมุติ ) ที่ เกิ ด ขึ้ น ในช่วงของบรรยากาศทางสังคมเช่นนี้ ประกอบกับได้รับ การถ่ายทอดแนวคิดการทํางานอิสลามของค่ายหวนคืนสู่ มูลฐานใหม่ (Neo-Orthodox) จากนักปราชญ์และนัก ฟื้นฟูอิสลามหนุ่มท่านหนึ่งที่เติบโตจากสังคมอาหรับ แต่ สังคมมุสลิมในประเทศไทยบางส่วนไม่ยอมรับท่านในแง่ ของการครองภาวะอารมณ์ ใ นฐานะนั ก เผยแผ่ ศ าสนา ท่านได้กระตุ้นให้มีการตั้งกลุ่มนะห์ฎอตุลมุสลิมาตอย่าง เป็ น ทางการเมื่ อ พ.ศ. 2548 ส่ ง ผลให้ ก ารจั ด วาง

62

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

สถานะการทํางานเพื่ออิสลามของนะห์ฎอตุลมุสลิมาตอยู่ ในท่ามกลางบรรยากาศของความไม่เป็นมิตรกับชุมชน ของตนเองและมุ ส ลิ ม บางกลุ่ ม แต่ ก ระนั้ น กลุ่ ม เคลื่อนไหวที่ยึดแนวทางการทํางานอิสลามใกล้เคียงกัน รั บ เอาคํ า อธิ บ ายความเป็ น ผู้ ห ญิ ง และขยายมุ ม มอง ออกไปในรูปของเครือข่ายผู้หญิงมุสลิมสมัยใหม่ที่ยึดมั่น ในอิสลามอย่างเคร่งครัดตามแนวคิดของค่ายหวนคืนสู่มูล ฐานใหม่ น ะ ห์ ฎ อ ตุ ล มุ ส ลิ ม า ต เ ป็ น ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง กระบวนการฟื้นฟูอิสลามค่ายหวนคืนสู่มูลฐานที่ถูกมอง ว่าแปลกแยกตัวเองออกจากสังคมเนื่องด้วยการแต่งกาย ที่มิดชิดมากกว่าผ้าคลุมศรีษะครึ่งตัว แกนนําและสมาชิก หลายคนปกปิดใบหน้า บางคนปฏิเสธระบบการศึกษาใน มหาวิทยาลัยและลาออก จนถูกวิพากษ์วิจารณ์จากนัก เคลื่ อนไหวบางท่ า นถึ งการใช้ ชีวิ ต ที่ สุ ดโต่ ง ขัด แย้ ง กั บ ความเปลี่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่ เช่น การยึดทัศนะ หรือแนวคิดที่ตีความอิสลามค่อนข้างเข้มงวดมาวางเป็น กรอบในการขับเคลื่อนงานฟื้นฟูศาสนา ทําให้กีดดันคนที่ มีอัตลักษณ์ต่าง ถูกกันออกไปตั้งแต่ต้นโดยปริยาย เพราะ มี ค วามรู้ สึ ก ว่ า ไม่ เ หมื อ นกั น หรื อ ไม่ ส ามารถทํ า ตนที่ เคร่งครัดอย่างนั้นได้ จุดเด่นของกลุ่มในการจัดการคือ แกนนํ า กลุ่ ม ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น เครื อญาติ แ ละมี ก ารจั ด การ ทํางานเป็นทีมจนสามารถเคลื่อนงานผู้หญิงได้อย่างเป็น ระบบภายใต้การดูแลและคําปรึกษาของที่ปรึกษาผู้หญิง อีกท่านที่ใช้แนวคิดการจัดการองค์กรแบบตะวันตกมา ปรับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จนสามารถขยายเครือข่าย ในการทํางานไปยังต่างจังหวัด ทั้งที่กลุ่มผู้หญิงเหล่านี้มี ข้อจํากัดในการเดินทาง และการประสานงาน แต่ทักษะ ความรู้ทางคอมพิวเตอร์และวิทยาการสมัยใหม่ช่วยเสริม การทํางานของผู้หญิงได้เป็นอย่างดี กระบวนการหวนคื น สู่ ร ากฐานอิ ส ลามอั น บริ สุ ท ธิ์ ข องคนรุ่ น ใหม่ หลายกลุ่ ม ดํ า เนิ น ไปในทิ ศ ทาง ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ ก ร ะ บ ว น ก า ร ทํ า ใ ห้ เ ป็ น อ า ห รั บ (Arabization) เนื่องด้วยเพราะต้องการหลีกห่างจาก สภาพสังคมที่ไม่น้อมนําไปสู่อิสลามซึ่งถูกมองว่าผูกติดกับ ความทันสมัยที่มากับวัฒนธรรมตะวันตก เหตุผลหลักใน การเลือกให้ความสําคัญกับวัฒนธรรมอาหรับเพราะเป็น ถิ่นกําเนิดอิสลาม และคัมภีร์อัลกุรอานถูกประทานด้วย


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

ภาษาอาหรั บ นอกจากนี้ หลายคนต้ อ งการละทิ้ ง ประเพณีท้องถิ่นที่ใกล้ชิดอย่างมากกับระบบความเชื่ อ แบบพราหมณ์ แ ละพุ ท ธของสั ง คมไทยซึ่ ง เกรงว่ า อาจ ก่อให้เกิดการตั้งภาคีในการภักดีต่อเอกภาพของพระผู้ เป็ น เจ้ า ฉะนั้ น ปรากฏการณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น จึ ง มี ตั้ ง แต่ ก าร พยามใช้คําภาษาอาหรับในชีวิตประจําวัน เช่นการเรียก พ่อแม่ในภาษาท้องถิ่นด้วยคําว่าอาบะห์หรือาบีย์และอุม มี ย์ การเลื อกชมรายการโทรทั ศ น์ ข องช่ องอาหรั บ ทั้ ง เลือกใช้สินค้าและเครื่องแต่งกายแบบชาวอาหรับ การ ได้รับการศึกษาในกลุ่มประเทศอาหรับและยกย่องผู้ที่มี ความรู้ภาษาอาหรับ เป็นต้น ผู้หญิงมุสลิม คู่ตรงกันข้าม นักสิทธิสตรี? ก ลุ่ ม ปั ญ ญ า ช น ห ญิ ง มุ ส ลิ ม ที่ เ ข้ า ร่ ว ม กระบวนการฟื้ น ฟู อิส ลามให้ ค วามสนใจพิ จ ารณาและ ศึกษาถึงกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างความเท่าเทียม ระหว่างเพศ เครื่ องมือสําคัญคือการพัฒนาความรู้ทาง เทววิทยา การตีความและอธิบายคําสอนของผู้หญิง แม้ นั ก เคลื่ อ นไหวหลายคนมี บ ทบาทในฐานะผู้ นํ า เป็ น นักการศาสนาที่สามารถอธิบายหลักคําสอนอิสลามได้ดี เช่นเดียวกับผู้ชาย แต่กลับถูกวิจารณ์และตอบโต้อย่าง รุ น แรงว่ า เป็ น การกระทํ า ที่ ขั ด แย้ ง กั บ หลั ก การศาสนา เสมือนหนึ่งการทําลายความถูกต้องและความดีงามของ อิสลามให้เสื่อมถอยลง พร้อมกับตีตราว่าผู้หญิงเหล่านี้ถูก ล้า งสมองจากแนวคิ ด ตะวั น ตก และกลายเป็ น พวกเฟ มินิสต์ (Feminist) หรือสตรีนิยม นิย ามของผู้ เรีย กร้องสิท ธิ ของผู้หญิ ง/หรือนั ก เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรี ตรงกับคําว่า Feminist ซึ่งพบ ในหลายพื้นที่ทางวิชาการ ตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1990s มี การเรียกผู้หญิงมุสลิมที่ทํางานเคลื่อนไหวประเด็นผู้หญิง ว่า Islamic Feminist และ Muslim Feminist แต่ เนื่องจากคําที่ใช้เรียกมีความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ ของการเรียกร้องสิทธิสตรีในโลกตะวันตกและถูกมองใน ทํานองว่า “ไม่มีความจําเป็นใดๆ ในการเรียกร้องสิทธิ ของผู้หญิงมุสลิม เพราะอิสลามให้สิทธิแก่ (พวก) เธอแล้ว อย่างสมบูรณ์ เพียงแต่ผู้หญิงต้องปฏิบัติตามหลักคําสอน ทางศาสนาอย่างเคร่งครัดก็จะไม่มีปัญหาในการเรียกร้อง ทวงสิ ท ธิ อ ย่ า งไม่ ลื ม หู ลื ม ตาเหมื อ นผู้ ห ญิ ง ในโลก

63

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ตะวันตก” คําพูดในทํานองนี้มีผลต่อนักเคลื่อนไหวมุสลิม หญิงหลายกลุ่มที่ไม่ต้องการใช้คําว่า Feminist ปักป้าย เรี ย กขานตนเองเพราะถูก เข้า ใจจากสัง คมว่า เป็น กลุ่ ม แนวคิดที่สมาทานตะวันตก (Western) ซึ่งสัมพันธ์กับ กลุ่มสตรีนิยมสายขุดรากถอนโคน (Radical Feminist) ในยุ ค 1960s โดยเฉพาะกลุ่ ม ที่ เผาชุ ด ชั้ น ในประท้ ว ง ดังนั้น นักเคลื่อนไหวในกลุ่มผู้หญิงมุสลิมหลายคนจึงใช้ คํ า ว่ า “Womanist” (ผู้ ที่ เ คลื่ อ นไหวประเด็ น ผู้ ห ญิ ง ) แทน Feminist ซึ่งเปรียบเสมือนคําต้องห้ามในการ เคลื่ อนไหวทางสั ง คมและศาสนา โดยเฉพาะในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เช่ น กลุ่ ม เคลื่ อนไหวด้ า นผู้ หญิ ง ใน มาเลเซียหันไปใช้คําว่า Wanita ซึ่งเป็นคําท้องถิ่นที่มี บริบทสอดรับกับสังคม (ดู Hooker and Othman 2003, 128-130) นับตั้งแต่ทศวรรษ 1990s นักเคลื่อนไหวเพื่อ สิ ท ธิ ผู้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม หั ว ก้ า วหน้ า ต่ า งให้ ค วามสนใจถึ ง วิ ธี วิทยาทางด้านการอิจติฮาดและตัฟซีร (ตีความคัมภีร์อัลกุ รอาน) ไปพร้อมๆ กับวิธีวิทยาในการศึกษาภาษาศาสตร์ ประวั ติ ศ าสตร์ วิ พ ากษ์ ว รรณกรรม สั ง คมวิ ท ยา และ มานุษยวิทยา นักเคลื่อนไหวหลายคนเห็นว่าการตีความ คัมภีร์ในอดี ตมีปัญ หาที่ผู้ ตีความอยู่ภ ายใต้ สังคมระบบ ชายเป็ น ใหญ่ ทํ า ให้ มุ ม มองในการอธิ บ ายขึ้ น อยู่ กั บ ประสบการณ์ของผู้ชาย การใช้วิธีวิทยาเช่นนี้เพื่อต้องการ แก้ปัญ หาสั งคมในรัฐ สมัย ใหม่ ที่เข้ าใจอิ สลามผิด พลาด และมองว่าสุดโต่ง นักเคลื่อนไหวหลายคนทํางานร่วมกับ องค์กรเอกชนและสถาบันทางวิชาการ มีการผลิตผลงาน และอภิปรายตอบโต้กับผู้นําศาสนาสายจารีตและอนุรักษ์ นิ ย ม ยกตั ว อย่ า งกลุ่ ม นั ก เคลื่ อ นไหวมุ ส ลิ ม หญิ ง หั ว ก้าวหน้าในมาเลเซียได้อธิบายให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ระหว่างรัฐที่อาศัยอิสลามเป็นเครื่องมือในการควบคุมชน กลุ่ ม น้ อ ยและผู้ ห ญิ ง เช่ น งานของโนรั ย นี อุ ษ มาน (Norani Othman) นักวิชาการและนักเคลื่อนไหวที่ ทํางานร่วมกับกลุ่มซิสเตอร์อินอิสลาม Sister in Islam (SIS) มาเลเซีย ผู้เขียนงานเรื่องกฎหมายอิสลามกับรัฐ ชาติ ม าเลเซี ย สมั ย ใหม่ ตี พิ ม พ์ เมื่ อ ค.ศ. 1994 โดยมี ผู้ ก่อตั้ง SIS เป็นบรรณาธิการ ผลงานทางวิชาการใน ช่ ว งแรกขององค์ ก รมุ่ ง ทํ า งานเกี่ ย วกั บ ผู้ ห ญิ ง และ กฎหมายการลงโทษแห่งกฎหมายอาญา (Hudud Law)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

ล่าสุดในปี 2009 หนังสือ Muslim Women and the Challenges of Islamic Extremism ถูกห้ามมิให้ เผยแพร่โดยกระทรวงกิจการภายใน เนื่องจากเห็นว่าเป็น ข้อมูลที่ลําเอียงและเป็นภัยต่อระเบียบทางสังคม กลุ่ม SIS เองพยายามต่อรองกับรัฐและทําหนังสือชี้แจงว่าเป็น การกล่ า วหาที่ เกิ น ความจริ ง เพราะเนื้ อหาของข้ อมู ล ทั้งหมดอยู่บนพื้นฐานของการวิจัย เป็นที่น่าสนใจในการ พิจารณาความสามารถในการต่อรองกับรัฐของ SIS ส่วน หนึ่งเนื่องจากมีค ณะกรรมการที่ปรึ กษามาจากตระกู ล นักการเมืองระดับประเทศที่คอยช่วยเหลือเมื่อต้องเผชิญ ปัญหากับรัฐ และมีที่ปรึกษาทางวิชาการศาสนาเป็นนัก เคลื่อนไหวและนักคิดมุสลิมจากค่ายสมัยใหม่ จนหลาย ครั้ ง กลายเป็ น การปะทะระหว่ า งแนวคิ ด ของนั ก เคลื่ อ นไหวอิ ส ลามค่ า ยสมั ย ใหม่ กั บ อนุ รั ก ษ์ นิ ย ม แต่ กระนั้น กลุ่ม SIS เองมิได้เป็นที่ยอมรับจากผู้หญิง มาเลเซียและกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิผู้หญิงใน อิสลามสายอนุรักษ์นิยมและจารีต อย่างไรก็ตาม วิธีคิดของนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิ ผู้หญิงหัวก้าวหน้ายังได้รับการยอมรับในสังคมมุสลิมน้อย กว่ า สายจา รี ต ที่ ดํ า รงในสั ง คมมาอย่ า งยาวนา น กระบวนการฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิงมุสลิมในเมืองไทย เริ่มก่อตัวขึ้นในเวลาใกล้เคียงกับเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซีย และอีกหลายประเทศ กลุ่มแนวคิดอนุรักษ์นิยมและจารีต มี บ ทบาทในการทํ า งานฟื้ น ฟู อิ ส ลามในกลุ่ ม ผู้ ห ญิ ง โดยเฉพาะ นักศึกษา สําหรับนัก เคลื่อนไหวงานผู้หญิ ง มุ ส ลิ ม สายปฏิ รู ป มั ก เป็ น นั ก วิ ช าการรุ่ น ใหม่ แ ละกลุ่ ม องค์กรที่ทํางานด้านสื่อผู้หญิง ความรุนแรง และสุขภาพ ทางเพศ ตั ว อย่ างเช่ น กลุ่ม เพื่ อนหญิง ไทยมุส ลิม กลุ่ ม ผู้หญิงมุสลิมรุ่นใหม่ และกลุ่มคนทํางานสื่อนิตยสารนิสา วาไรตี้ ในส่วนของทีมงานนิตยสารนิสาวาไรตี้มีทั้งนัก ปฏิบัติการที่เป็นพนักงานและเป็นนักเคลื่อนไหวผู้หญิง มุสลิมสายปฏิรูป นิสาฯ ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจาก นักเคลื่อนไหวอิ สลามสายหวนคืนสู่ มูล ฐานใหม่ว่า เป็ น นิ ต ยสารที่ ก ร่ อ นทํ า ลายอิ ส ลาม เพราะหั ว หน้ า กอง บรรณาธิ การเป็น ผู้นับ ถือแนวทางชี อะห์ บรรณาธิการ บริหารของนิสาเชื่อว่าการวิพาษ์วิจารณ์เช่นนี้ไม่มีผลต่อ ผู้อ่าน เพราะเชื่อว่าผู้อ่านสามารถแยกแยะประเด็นได้ สิ่ง

64

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

สํ า คั ญ คื อมี ก ารตอบรั บ จากผู้ อ่า นโดยเฉพาะมุ ส ลิ ม ใน ต่างจังหวัดที่ติดตามและให้ความสนใจในการผลิตผลงาน ของนิสาจนสามารถดําเนินงานภายใต้สภาพการแข่งขัน ทางธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ ม ากว่ า ทศวรรษโดยเห็ น ว่ า เป็ น บท สะท้ อ นความต้ อ งการอิ ส ลามที่ ทั น สมั ย และสามารถ ปฏิบัติได้จริงในยุคสมัยใหม่ สําหรับภาพผู้หญิงมุสลิมที่คลุมศรีษะในชุดแต่ง กายแบบแฟชั่นที่แลดูทันสมัยนั้น คนทํางานนิสาฯ มอง ว่ า สามารถทํ า ได้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกั บ หลั ก การศาสนา นอกจากนี้ นิสาฯ สามารถอธิบายอิสลามในขั้นต้นให้กับ ผู้สนใจทั่วไปได้ ทั้งเป็นนิตยสารมุสลิมที่สามารถวางแผง หรือขึ้นชั้นเดียวกับนิตยสารอื่นๆ ของสังคมไทยได้อย่าง ไม่แปลกแยก เป้าหมายการทํานิตยสารนิสาฯ ตามความ ตั้งใจของผู้ก่อตั้งคือ ต้องการนําเสนออิสลามในรูปแบบที่ มองจากภาพลักษณ์ภายนอกได้ว่าไม่น่ากลัว ไม่สุดโต่ง สง่างาม และทันสมัย โดยเชื่อว่านี่คือแนวทางในการฟื้นฟู อิ ส ลามตามสภาพความเป็ น จริ ง ในปั จ จุ บั น และตาม ความสามารถทางวิ ช าชี พ ที่ ก ระทํ า ได้ ประกอบกั บ ไม่ ขัดแย้งกับพื้นฐานการศรัทธาในอิสลาม วิธีคิดและการดําเนินงานของนิสาฯ ซึ่งนําโดย กลุ่มผู้หญิงรุ่นน้องที่ทํางานกิจกรรมนักศึกษาต่อจากยุค เริ่มต้นแห่งการฟื้นฟูอิสลามโดยขบวนการของนักศึกษา มุสลิ มในช่วงกลางคริ สตทศวรรษ 1970s ได้รับ การ สนับสนุนจากรุ่นพี่นักเคลื่อนไหวทั้งหญิงและชาย รวมทั้ง นั ก วิ ช าการอาวุ โ สในสายปฏิ รู ป ซึ่ ง ปรากฏในรู ป ของที่ ปรึกษา เช่น อิมรอน มะลูลีม กุสุมา รักษมณี วินัย สะ มะอูน อาศิส พิทักษ์คุมพล วัลลภา นีละไพจิตร เป็นต้น ในขณะที่กลุ่มผู้หญิงนักเคลื่อนไหวอิสลามสายหวนคืนสู่ มู ล รากฐานคั ด ค้ า นแนวคิ ด การทํ า งานของนิ ส าฯ โดยเฉพาะการนําเสนอภาพผู้หญิงมุสลิมที่แต่งกายตาม แฟชั่นในที่สาธารณะ โดยเห็นว่าเป็นการทําให้ผู้หญิงใน อิส ลามตกต่ํ า พวกเธอกลายเป็ น เป้า สายตาของผู้ ช าย การแต่งกายของผู้หญิงที่ขึ้นปกหน้ามิใช่การแต่งกายที่ ถู ก ต้ อ งในอิ ส ลามเพราะยั ง เผยส่ ว นที่ ต้ อ งปกปิ ด ยั ง มองเห็นรูปร่างทรวดทรง มีการใส่เสื้อผ้าที่สีสันสะดุดตา และก่อให้เกิดฟิตนะห์ (ความวุ่นวาย) ในสังคมได้ ความเห็นข้างต้นของกลุ่มผู้หญิงนักเคลื่อนไหว อิสลามสายหวนคืนสู่มูลรากฐานเป็นวาทกรรมที่ท้าทาย


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

(Contesting Discourse) และขัดแย้งกันอย่างมากใน การอธิบายวิธีการฟื้นฟูอิสลามของผู้หญิงและในประเด็น ผู้หญิง ขณะเดียวกัน หัวหน้ากองบรรณาธิการนิสาแย้ง ว่ า การมองว่ า ผู้ ห ญิ ง เป็ น ผู้ ส ร้ า งปั ญ หาและก่ อ ความ วุ่ น วายในสั ง คมเป็ น มุ ม มองที่ มี อ คติ ต่ อ เพศหญิ ง และ ประทับตราผู้หญิงว่าเป็นเพศแห่งการสร้างความเสียหาย ให้กับสังคม เธอให้ข้อเสนอในทางกลับกันว่าหากผู้ชาย เกรงเกิด ความวุ่น วายจากการมองก็ ให้ลดสายตาลงต่ํ า เพราะศาสนบั ญ ญั ติ บ อกให้ ม องผู้ หญิ ง ได้ แ ค่ ค รั้ ง เดี ย ว หากไม่ เ ช่ น นั้ น แล้ ว แสดงว่ า ผู้ ช ายกํ า ลั ง ล่ ว งละเมิ ด หลักการศาสนา บทสรุป ความเปลี่ยนแปลงของโลกมุสลิมในศตวรรษที่ 19 เป็น จุดที่ทํา ให้เกิด การหันกลับมามองเพื่อแสวงหา วิธีการเผชิญกับโครงสร้างทางสังคมสมัยใหม่ที่แตกต่างไป จากอดีตอย่างมาก สังคมมุสลิมตอบรับกับสถานการณ์ ของภาวะทันสมัยแตกต่างกันออกไป ส่วนใหญ่ท้าทาย แนวคิด ของกระบวนการทํ าให้ทัน สมัยแล้วเสนอวิธีคิ ด ระบบคุณค่า และแนวทางการใช้ชีวิตใหม่ที่สอดรับกับ หลักการขั้นพื้นฐานของอิสลาม เช่น เอกภาพของพระเจ้า (เตาฮี ด ) และประชาชาติ มุ ส ลิ ม (อุ ม มะห์ ) เป็ น ต้ น นอกจากนี้ มี ก ารรั บ เอาความคิ ด ในการต่ อ ต้ า น กระบวนการเปลี่ยนแปลงของภาวะทันสมัย โดยเฉพาะ การแบ่ งแยกระหว่ างศาสนจัก รกับ อาณาจั ก รและการ ครอบงําทางวัฒนธรรม ประเทศที่เคยตกเป็นเมืองขึ้นโดย การพยายามปลดปล่อยให้เป็นอิสระจากการครอบงําใน ทุกมิติของจักรวรรดินิยมตะวันตก เกิดการเคลื่อนไหวใน หลายรูป แบบที่ก ระทํา การในนามอิ ส ลาม รวมทั้ ง การ เคลื่อนไหวของกลุ่มแนวคิดหวนคืนสู่มูลฐานซึ่งเป็นปกติ ของสั ง คมสมั ย ใหม่ เช่ น การปฏิ วั ติ อิ ส ลามในอิ ห ร่ า น ระหว่ า ง ค.ศ. 1977-1979 และการเคลื่ อ นไหวของ เครื อ ข่ า ยทางการค้ า ของนั ก ธุ ร กิ จ ในอิ ห ร่ า น กลุ่ ม เคลื่อนไหวทางสังคมในมิติศาสนา และการจัดตั้งพรรค การเมืองมุสลิมในหลายประเทศมุสลิม ในขณะที่ขบวนการฟื้นฟูอิสลามในเมืองไทยเริ่ม ขยายออกเป็นกลุ่มย่อย มีการทํางานเป็นเครือข่ายภายใต้ การดูแลและให้คําปรึกษาโดยองค์กรหลักที่อาศัยรูปแบบ

65

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

การทํ างานและวิ ธีคิ ดที่ เกิ ด จากความสั มพั นธ์ และตาม อย่างการฟื้นฟูอิสลามในระดับสากล การอธิบายบทบาท ของผู้หญิงมุสลิมในนามกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูอิสลาม จึงเลี่ยงไม่ได้ที่จะไม่กล่าวถึงสภาวะการยึดตามแบบผู้นํา เครื อ ข่ า ย ทั้ ง สมาทานวาทกรรมและการตี ค วามวาท กรรมทางศาสนาของผู้ นํ า ตลอดจนการให้ ค วาม หมายความเป็นหญิงที่ประเสริฐกับภารกิจหลักของความ เป็นหญิงในฐานะ “เมียและแม่” โดยเชื่อมโยงกับแนวคิด การสร้างประชาชาติอิสลามที่เชื่อว่าจะสามารถเผชิญกับ โลกสมัยใหม่ที่ถูกครอบงําโดยโลกตะวันตกได้อย่างเท่า ทัน ภาวะเช่นนี้ทําให้การทํางานในส่วนของส่วนผู้หญิง ยังคงตามกระแสธารแนวคิดของนักเคลื่อนไหวเหล่านั้น ไม่ ว่ า ได้ รั บ การประเมิ น ว่ า ประสบความสํ า เร็ จ ในการ ทํางานเพื่ออิสลามมากน้อยเพียงใด หากแต่ภาพดังกล่าว ตรึ ง ให้ก ารฟื้ นฟู อิส ลามผู กโยงไปกั บ การยอมรับ ว่ า คน เหล่ า นั้ น ได้ เ รี ย กร้ อ งหรื อ กํ า ลั ง เชิ ด ชู “สั จ ธรรม” ใน ท่ามกลางสภาพที่สังคมขาดความชอบธรรม สารบบความเป็น “พี่สาว/น้องสาว” ในอิสลาม ที่กลุ่มผู้หญิงรุ่นเยาว์ช่วยเปิดพื้นที่การยอมรับสถานภาพ ผู้หญิ งที่ สามารถอธิบ ายได้ มากกว่ าการเป็น “เมีย และ แม่” ซึ่งเป็นเหตุกระตุ้นให้ผู้หญิงมุสลิมออกมาเคลื่อนไหว และจัดตั้งกลุ่ม หรือหันมาร่วมสร้างสรรค์กิจกรรมในนาม ของผู้หญิงมุสลิมเพิ่มมากขึ้น ความแตกต่างของการก่อ เกิดและการเคลื่อนขบวนอาศัยความเปลี่ยนแปลงของ สังคมและชีวิตในแต่ละช่วง เช่นผู้หญิงในส่วนกลางกับ ผู้หญิงมุสลิมมลายูในภาคใต้มีทิศทางและการขับเคลื่อน งานต่างกันไปตามบริบทของสังคมและวิถีชีวิต เป็นต้น รวมไปถึงการเลือกเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มใดและเมื่อไร บ้าง ผู้หญิงหลายคนสนใจรื้อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นแหล่ง กํ า หนดกฎเกณฑ์ ข องสั ง คม กล่ า วคื อ อํ า นาจที่ ม ากั บ ความรู้ ทั้ ง ความรู้ ใ นวิ ท ยาการสมั ย ใหม่ และความรู้ ในทางเทววิทยาศาสนาและการตีความ ในเมื่อการมีหรือ แสวงหาความรู้ของผู้หญิงคืออํานาจที่สามารถใช้ต่อรอง กับกลุ่มเคลื่อนไหวกระแสหลักและการเข้าไปมีส่วนใน การอธิ บายศาสนาได้ ดั งเช่นการเข้า ร่ว มกระบวนการ สร้างความชอบธรรมเรื่องฮิญาบในสังคมไทยของกลุ่มผู้ หญิงไทยมุสลิมซึ่งเป็นกลุ่มฟื้นฟูอิสลามที่มีบทบาทในการ ทํางานประเด็นผู้หญิงยุคแรกในสังคมไทย และการศึกษา


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

ตั ว บทพร้ อ มคํ า อธิ บ ายสถานภาพของผู้ ห ญิ ง ในมิ ติ ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละเทววิ ท ยาของเยาวชนหญิ ง ที่ เ ข้ า ร่วมงานฟื้นฟูกับกลุ่มนะห์ฎอตุลมุสลิมาตโดยไม่อธิบาย ตนเองว่าเป็นสมาชิกถาวรของกลุ่มเคลื่อนไหวนี้แต่อย่าง ใด เป็นต้น เป็นที่น่าสนใจว่าทิศทางของกระบวนการฟื้นฟู อิสลามในส่วนผู้หญิง (Women wing) รุ่นใหม่ที่เข้มงวด กับการปฏิบัติศาสนกิจมีแนวโน้มในการแปลกแยกตนเอง ออกจากสั ง คมสมั ย ใหม่ ที่ ส ลั บ ซั บ ซ้ อนในเชิ ง ของการ ปะทะสังสรรค์ (Interaction) เช่นการแต่งกายที่มิดชิด โดยไม่เผยทั้งใบหน้าและฝ่ามือเมื่อออกจากพื้นที่ส่วนตัว มีส่วนทําให้ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในชีวิตประจําวันของคน ที่อยู่นอกสังกัดเครือข่ายและชุมชนถ่างออกไปมากขึ้ น แต่ ใ นเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ข องการทํ า งาน ผู้ หญิ ง เหล่ า นี้ ใ ห้ ความสนใจใช้ ส อยสิ่ ง ที่ ม า กั บ ควา มทั น สมั ย เพื่ อ อํ า นวยการทํ า งานฟื้ น ฟู อิ ส ลาม ทั้ ง เสริ ม กระชั บ ความสัมพันธ์ในฐานะพี่สาว/น้องสาวในอิสลามในกลุ่ม สมาชิกและเครือข่ายได้อย่างเหนียวแน่น โดยรับเอาวิธี คิด แบบสมั ย ใหม่ มาใช้ร่ ว มกั น เช่น การจัด การองค์ ก ร การเสริมสร้างศักยภาพคนทํางานผ่านการจัดอบรมเชิง ปฏิ บั ติ ก ารโดยมี หลั ก สู ต รในการดํ า เนิ น งานอย่ า งเป็ น ระบบ การติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเอื้อ ต่ อ วิ ถี ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ของเหล่ า สมาชิ ก กลุ่ ม มี ก ารใช้ อิ น เตอร์ เ น็ ท และโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เพื่ อ การติ ด ต่ อ ประสานงาน สร้างฐานข้อมูล เชื่อมโยงเครือข่าย และ ขยายแนวคิดการทํางานฟื้นฟูอิสลามผ่านเวปไซต์ และจัด สนทนาผ่านเวปบอร์ดหรือกระดานสนทนา เป็นต้น เมื่อทิศทางการฟื้นฟูอิสลามถูกฉายภาพสู่สังคม โดยคนรุ่ น ใหม่ ใ นรู ป แบบที่ อ ธิ บ ายว่ า ผู้ ห ญิ ง สามารถ ดําเนินชีวิตอย่างเคร่งครัดผ่านรูปแบบปฏิบัติข้างต้น กลุ่ม คนที่ไม่มีคุณสมบัติใกล้เคียงในการดําเนินชีวิตในลักษณะ ดังกล่าวจึงถูกแบ่งแยกไปโดยอัตโนมัติ จนดูคล้ายกับว่า บุคคลที่สามารถเข้ามาทํางานศาสนาได้ควรมีคุณลักษณะ จําเพาะหรือใกล้เคียง ในขณะที่ผู้หญิงมุสลิมส่วนใหญ่ใน สั ง คมไทยอยู่ ใ นช่ ว งรอยต่ อของการเปลี่ ย นแปลงและ ยอมรับอิสลามตามแบบกลุ่มมุสลิมสายปฏิรูป เฉกเช่น การนําเสนอความเป็นหญิงมุสลิมของนิตยสารนิสาวาไรตี้ ประกอบกับการที่มุสลิมในสังคมไทยส่วนใหญ่เป็นมุสลิม

66

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

จารี ต นั บ ถื อ อิ ส ลามแบบพื้ น บ้ า น (Traditionalism Muslim / Folk Islam) หรือที่เรียกกันติดปากว่าสายเก่า บ้างเศรษฐานะทางสัง คมต่ํากว่ากลุ่ม มุสลิ มปฏิรูป และ สายหวนคื น สู่ มู ล ฐาน ผู้ ห ญิ ง ในกลุ่ ม นี้ ยั ง คงมี ภ าระ รับผิดชอบการดูแลครอบครัว ออกไปทํางานนอกบ้า น และเลี่ย งได้ ยากที่ จะไม่ ใ ช้ชี วิ ต ปะปนกั บคนหลากเพศ ความเชื่อ และวิถีชีวิตในสังคม ภาพความเป็นหญิงที่ดีใน เชิงอุดมคติที่ถูกเรียกร้องให้ตามแบบอย่างกัลยาณชนจึง แลดูห่างไกลจากผู้หญิงส่วนใหญ่ในสังคมมุสลิม ฉะนั้น การเข้ามาเป็นสมาชิกหรือมีส่วนร่วมกับกลุ่มฟื้นฟูอิสลาม สมัยใหม่ (Modernism) และกลุ่มสังกัดค่ายหวนคืนสู่มูล ฐานใหม่ (Neo-Orthodox Islam) จึงยังไม่สามารถ บรรลุ ผ ล ทั้ ง กระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลามสายนี้ เ องก็ ไ ม่ สามารถโอบอุ้มสมาชิกที่มีลักษณะของคนปากกัดตีนถีบ ได้เนิ่นนาน อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี แ ม้ อ า จ ยั ง ไ ม่ เ ห็ น ผ ล ข อ ง กระบวนการเคลื่ อนไหวของผู้ หญิ ง มุ ส ลิ ม ในเมื อ งไทย ชัดเจนเหมือนต่างประเทศ แต่ฉันเห็นว่าอย่างน้อยการ เสนอความคิดเรื่องการเข้าไปปรับเปลี่ยนสังคมที่หาได้ น้อยเต็มที น่าจะช่วยให้มุมมองในการเรียนรู้อิสลามกับ ภาวะแห่ ง ความทั น สมั ย ช่ ว ยตอบคํ า ถามการทํ า ความ เข้าใจและวิเคราะห์สังคมมุสลิมได้บ้าง โดยเฉพาะความ ขัดแย้ง การถกเถียง และเผชิญหน้ากันของนักวิชาการ มุสลิมรุ่นใหม่ที่กลายเป็นเรื่องปกติระหว่างค่ายต่างๆ จน ก่ อ ให้ เ กิ ด ความจริ ง เชิ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง ของความสั ม พั น ธ์ ระหว่างค่ายความคิดของปราชญ์มุสลิมที่ไม่ลงตัว แต่ละ กลุ่มพยายามผลิตชุดความจริงของตนผ่านสถาบันที่ผลิต แตกต่างกันออกไป เช่น ผ่านการทํางานของการมีกลุ่ม เครือข่าย สถาบัน มูลนิธิ สื่อเวปไซต์ ที่สามารถนําเสนอ ให้กับบางกลุ่มชน แต่ไม่สามารถนําพาให้อีกกลุ่มชนมา เป็นพลพรรคและลูกศิษย์ได้ น อ ก จ า ก นี้ วิ ธี ที่ สั ง ค ม มุ ส ลิ ม จั ด ก า ร ความสัมพันธ์กับกลุ่มคนรุ่นใหม่เหล่านี้ เป็นบททดสอบที่ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า สั ง คมมุ ส ลิ ม และชุ ม ชนจั ด การความรู้ ระบบความเชื่อ รวมถึงความขัดแย้งภายในอย่างไรเมื่อ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ เ ช่ น การเผชิ ญ หน้ า อย่ า งรุ น แรงและ ตรงไปตรงมาของนักปราชญ์มุสลิมและกลุ่มที่เรียกตนเอง ว่ า ผู้ ฟื้ น ฟู อิส ลาม สั ง คมจะยั ง เชื้ อเชิ ญ ให้ มี ก ารจั ด เวที


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา อัมพร หมัดเค็ม

โต้ตอบความขัดแย้งอีกหรือไม่ ถ้าใช่ นั่นอาจหมายความ ว่า มุ ส ลิ ม ในสั ง คมไทยยอมรับ ต่ อกฎเกณฑ์ นั้ น การไม่ ประสานความเข้าใจหรือปล่อยให้ความขัดแย้งคาราคาซัง และสนับสนุนให้เกิดการเผชิญหน้ากัน เปรียบเหมือนกับ การผลั ก ให้ ค นในสั ง คมต้ อ งยอมรั บ กั บ อนาคตของ กระบวนการฟื้นฟูอิสลามที่อยู่ในรูปของการปะทะแบบ เวที ไ ก่ ช นหรื อ สนามมวย ที่ มี เ รื่ อ งของศั ก ดิ์ ศ รี เ ข้ า มา เกี่ยวข้อง การยกย่องปราชญ์ให้เป็นผู้นําในฐานะบุคคลที่ ถูกมองว่ามีความชัดเจน มั่นคง ยึดมั่น มีวินัย และแน่ว แน่ในหลักการ แต่ก้าวร้าวในการนําเสนอ อาจก่อให้เกิด การยอมรั บ การแยกขั้ ว อย่ า งชั ด เจนมากขึ้ น ของสั ง คม มุสลิมในเมืองไทย เหนือสิ่งอื่นใด กลุ่มผู้หญิ งเองย่อม ตระหนักและทบทวนผลกระทบของกระบวนการฟื้นฟู อิสลาม หากยังติดแปะขบวนงานกับองค์กรหลัก ฉันเห็น ว่าผู้หญิงเหล่านี้กําลังพยายามกําหนดท่าทีในการทํางาน ให้มีความชัดเจนผ่านการศึกษาประวัติศาสตร์ ยอมรับ ความเห็นต่าง เสนอและเผยประสบการณ์ตรงกันในวง สนทนาที่ห้อมล้อมไปด้วยเด็กๆ อย่างเคารพซึ่งกันและ กัน เอกสารอ้างอิง กุสุมา รัก ษมณี . 2550. 100 ปี ราชการุ ญ. กรุงเทพฯ: สมาคมราชการุญ. จรั ญ มะลู ลี ม . 2534. “ขบวนการอิ ส ลามระหว่ า ง ประเทศ” ใน บทนํ า แห่ ง ตะวั น ออกกลาง. กรุ ง เทพฯ: สถาบั น เอเชี ย ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. 2539. “ไทยศึกษากับอิตถีศาสตร์ พินิจ” ใน จินตนาการสู่ปี 2000: นวกรรมเชิง กระบวนทัศน์ด้านไทยศึกษา, ชัยวัฒน์ สถา อานันท์ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย. ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. 2545. “ไทยศึกษากับอิตถีศาสตร์ พิ นิ จ ” ใน ของฝากว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งมิ ติ ห ญิ ง ชาย ฉ บั บ ที่ 5 ม ก ร า ค ม 2 5 4 5 . ก รุ ง เ ท พ ฯ : คณะทํางานส่งเสริมมิติหญิงชายในการพัฒนา.

67

ปีที่ 1 ฉบั บที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 ทบทวนกระบวนการฟื้ น ฟู อิ ส ลาม...

ซุฟอัม อุษมาน และ อุษมาน อิดริส. 2547. ขบวนการวะ ฮาบีย์ นิยามและความหมาย. กรุงเทพฯ: อิสลา มิค อะเคเดมี. แพทริค โจรี. 2549. “จาก “มลายูปาตานี” สู่ “มุสลิม” ภาพหลอนแห่งอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ในภาคใต้ ของไท.” ใน ฟ้าเดียวกัน, นิพนธ์ โซะเฮง และ ปริ ญ ญา นวลเปี ย น (แปล). ปี ที่ 4 ฉบั บ ที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2549), 154 – 165. รอมฎอน ปั น จอร์ . 2552. “ฮิ ญ าบและกรื อ เซะ: ประวัติศาสตร์ปาตานีระยะใกล้และการต่อรอง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ที่ ห า ย ไ ป . ” ใ น เ อ ก ส า ร ประกอบการประชุมนานาชาติเรื่อง ภาพหลอก หลอน ณ ชายแดนใต้ ข องไทย การเขี ย น ประวัติศาสตร์ปาตานีและโลกอิสลาม, จุฬาลง การณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย วั น ที่ 11-12 ธั น วาคม 2552, กรุงเทพฯ: 212-253. ศรีศักร วิลลิโภดม. 2538. “คําบรรยายเรื่อง บทบาทของ เ ช ค อ ะ ฮฺ มั ด ใ น ร า ช สํ า นั ก อ ยุ ธ ย า ” ใ น เจ้ า พระยาบวรราชนายกกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ สยาม. กรุงเทพฯ: ศูนย์วัฒนธรรม สาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน สมาน อรุณ โอษฐ์ และคณะ. 2545. สายสกุลสัมพันธ์ . กรุงเทพฯ: มปพ. เสาวนีย์ จิตต์หมวด. 2537. สลามุน. กรุงเทพฯ: พิศิษฐ์ การพิมพ์. อิบราฮิม ชุกรี. 2541. ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรมลายู ปะตานี (Sejarah Kerajaan Melayu Patani), หะสัน หมัดหมาน และ มะหามะซากี เจ๊ะหะ (แปล). ปัตตานี: โครงการจัดตั้งสถาบัน สมุทรรัฐเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.



วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

69

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

Research Study and Development of a Youth-Friendly Health Service Based on Muslim Society Context Suwit Maad-adam*, Ma-an Raob** *Master Student (Political Sciences) **PhD Student (Statistic and Research Methodology) School of Educational Studies, Universiti Sains Malaysia Abstract This article aims to examine the youth’s basic information, study and develop the form of establishing a service center, and study the method of approaching the service of the target group and transfer service system of a youth-friendly health service center based on Muslim society context. Data collected from focus group of 48 youth from Meung District of Yala province. This inductive study was conducted by using specified representative sample. The result found that the type of establishment of the center covers five aspects as follows. Firstly, human resources for the center should be clinical psychologists, academicians who integrating Islamic values and youth representatives. Secondly, the youth require informal and friendly service center located in Yala city. Thirdly, the public relations should be done through sign boards, journals and radio. Fourthly, service activity should cover advice various problems: education, health, peers, and academic activities. Fifthly, the service time is required official in-service time during 9 a.m. – 4 p.m. on working days and during 8.30 a.m. – 9 p.m. on weekends. The result of analyzing the transferring system indicates that the center needs to use strategy in creating network and system in transferring with three steps as follow; (1) developing youth network YPFS, (2) developing network from schools and colleges, (3) developing community network. Keyword: Develop, Health Service, Muslim Society


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

70

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

บทความวิจัย โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับเยาวชนภายใต้บริบท สังคมมุสลิม สุวิทย์ หมาดอะดํา*, มะแอน ราโอบ** * Master Student (Political Science) Faculty of Humanities and Social Sciences, Yala Islamic University **PhD Student (Statistics and Research Methodology) School of Educational Studies, Universiti Sains Malaysia บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเยาวชน ศึกษาและพัฒนารูปแบบการการจัดตั้งหน่วย และให้บริการ และศึกษารูปแบบการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมายและระบบส่งต่อบริการกับหน่วยงานอื่น ๆ ของ ศูนย์บริการที่เป็นมิตรกับเยาวชนในภายใต้บริบทสังคมมุสลิม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการจัดสนทนากลุ่มจากกลุ่ม เยาวชนในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดยะลาทั้งหมด 48 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลแบบ อุปนัย ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดตั้งหน่วยและให้บริการของศูนย์บริการที่เป็นมิตรกับเยาวชน มีทั้งหมด 4 ด้าน คือ 1) ด้านบุคลากร มีบุคคลดังต่อไปนี้ นักจิตวิทยาคลินิก ผู้มีความรู้วิชาการและบูรณาการศาสนา และตัวแทนจาก เยาวชน 2) ด้านลักษะและสถานที่ตั้ง พบว่า เยาวชนต้องการให้ศูนย์บริการอยู่ในใจกลางเมืองจังหวัดยะลา และ บรรยากาศที่สบาย ๆ ไม่ดูเป็นทางการมากเกินไป หรือมีลักษณะชวนให้เยาวชนเข้าไปปรึกษา 3) ด้านประชาสัมพันธ์ โดยผ่านช่องทางต่อไปนี้ ป้ายไวนิล วารสาร และวิทยุ 4) ด้านกิจกรรมการให้บริการภายในศูนย์ มีลักษณะกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมเพื่อให้คําปรึกษาปัญหาความเครียดในการเรียน ปัญหาสุขภาพ ปัญหาการเลือกคบเพื่อน และกิจกรรม ทางวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อเยาวชน และ5) ด้านเวลาทําการ เยาวชนต้องการให้อยู่ในเวลาราชการระหว่างเวลา 09:00-16:00 น. และวันหยุดระหว่างเวลา 08:30-21:00 น. ผลการวิคราะห์ระบบส่งต่อบริการให้หน่วยงานอื่น ๆ พบว่า ควรใช้กลยุทธ์สร้างเครือข่ายของศูนย์และระบบส่งต่อบริการโดยมีระบบขั้นตอนในการพัฒนา ขั้นที่ 1 การ พัฒนาเครือข่ายเยาวชน YPFS ขั้นที่ 2 การพัฒนาเครือข่ายจากสถานศึกษา และขั้นที่สุดท้าย การพัฒนาเครือข่าย ชุมชน คําสําคัญ: พัฒนารูปแบบ, บริการสุขภาพ, สังคมมุสลิม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

บทนํา เยาวชนถือเป็นกลุ่มที่เปราะบางและกําลังถูกภัย คุกคามต่างๆมากมาย โดยเฉพาะความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจาก วัยของเยาวชนที่มีลักษณะอยากรู้ อยากลอง และเป็นตัว ของตัวเองสูง อัตราความเสี่ยงต่อภัยคุกคามทางสุขภาวะ ของวัยรุ่นมากขึ้นตามกระแสของสังคม ในขณะเดียวกัน ก็พบว่า บริการที่จัดขึ้นเพื่อรองรับการ รวมถึงระบบส่ง ต่อในระดับพื้นที่และท้องถิ่น ทั้งในเชิงของการป้องกัน และการดู แ ลรั ก ษาสํ า หรั บ เยาวชนยั ง มี น้ อ ย ข้ อ มู ล บางส่ ว นใหญ่ พ บว่ า เยาวชนถู ก เลื อ กปฎิ บั ติ ทํ า ให้ เยาวชนกลุ่มนี้ไม่กล้าเปิดเผยตัวเองต่อสาธารณะ และที่ สําคัญที่สุดความเข้าใจของครอบครัวและคนรอบข้าง ที่ ยังไม่เข้าใจและสามารถดูแลให้คําปรึกษากับเยาวชนได้ เป็นสาเหตุให้เยาวชนขาดการมีส่วนร่วมกับสังคมใหญ่ใน ที่ สุ ด และกลายเป็ น ปั ญ หาที่ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ผลต่ อ เนื่ อ ง ตามมา ปั จ จุ บั น สถานการณ์ ก ารติ ด เชื้ อ จากการมี เพศสัมพันธ์และการติด เชื้อ HIV/AIDS รายใหม่ในกลุ่ม เยาวชนที่มีอายุตั้งแต่ 15-24 ปี มีแนวโน้มที่สูงขึ้นในทุก พื้นที่ของประเทศ แม้ว่าหน่วยงานทั้งรัฐและเอกชนมี ความพยายามที่จะจัดกิจกรรมรณรงค์ในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อนําข้อมูลความรู้ทั้งกระบวนการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ในแบบโครงการและการขั บ เคลื่ อนเชิ ง นโยบายทั้ ง ใน ระดับ ประเทศและระดับพื้นที่จังหวัดจนถึงตําบลแก่กลุ่ม เยาวชนดังกล่าว แต่มีเพียง 10 % เท่านั้นที่สามารถ เข้ า ถึง และได้รั บ ข้อมู ลความรู้ ด้า นสุข ภาพและอนามั ย เจริญ พันธุ์ที่มีผลต่อการปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่าง ปลอดภั ยและมี สุข ภาพที่ ดี ระบบและกลไกที่จ ะทํา ให้ กลุ่มเยาวชนอายุ 12-24 ปี หันมาสนใจหรือเข้าถึงข้อมูล ความรู้ หรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านสุขภาพของเขานั้น ยังมีไม่เพียงพอ แม้ว่าระบบการกระจ่ายข่าวสารที่มีใน ปัจจุบันสามารถเข้าถึงได้ง่ายอย่างเช่น Internet สื่อภาพ และเสียงที่ผ่านสื่อโทรทัศน์ วิทยุ ก็ยังไม่เพียงพอที่จะ สร้างแรงจูงใจหรือความสนใจให้กับเยาวชนเหล่านั้นได้ การเปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ กั บ กลุ่ ม เยาวชนในช่ ว งอายุ ดังกล่าว โดยเฉพาะเวทีที่เยาวชนเหล่านั้นได้มาพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ปัญหาต่างๆ ซึ่งกันและกัน การ รับคําแนะนําจากเพื่อนสู่เพื่อน รวมถึงการสมัครใจเพื่อ

71

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

เข้ า รั บ คํ า ปรึ ก ษาด้ า นสุ ข ภาพที่ ไ ม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยอย่ า ง ครอบคลุม และทั่ วถึ งยั งมีจํ ากั ด และสถานที่ ที่จ ะให้ ความรู้ ด้ า นสุ ข ภาพ คนทั่ ว ไปจะนึ ก ถึ ง สถานี อ นามั ย โรงพยาบาล และคลินิก ซึ่งส่วนใหญ่จะไปใช้บริการ ในช่วงที่มีอาการป่วยเท่านั้น แต่ถ้ามีสถานที่ที่เยาวชน หรือผู้ป่วยเดินเข้าไปแล้วรู้สึกว่าเป็นพื้นที่ๆ เขา หรือ เพื่อนๆ ในวัยเดียวกันเข้ามาด้วยความสบายใจ พร้อมที่ จะมาพูดคุยกันอย่างสบายใจและได้รับข้อมูลข่าวสารที่ เป็นประโยชน์ ทั้งจากสื่อและผู้ให้คําปรึกษาที่เป็นมิตร และเป็นความลับได้ อีกทั้งยังมีกระบวนการส่งต่อหรือ การตรวจสุขภาพโดยไม่มีค่าใช้จ่าย และเป็นที่ยอมรับ ของคนทั่วไป ว่าเป็นที่ๆ ทุกเพศทุกวัยสามารถเข้ามา พูดคุยกันได้อย่างสบายใจ มีเครื่องมือสื่อสารที่สามารถ เรียนรู้ พัฒนาทักษะและมีผู้ให้คําแนะนําที่ดีเป็นมิตรได้ก็ ถือว่าเป็นอีกก้าวหนึ่งของ การร่วมพัฒนาสังคมอีกด้วย ปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่ได้ริเริ่มและคิดค้น บริ ก ารทางสุ ข ภาพที่ เป็ น มิ ต รกั บ เยาวชน เพื่ อช่ ว ยให้ เยาวชนเข้าถึงการบริการได้มากขึ้น แต่สําหรับการคิดค้น รูปแบบบริการทางสุขภาพที่เป็นมิตรกับเยาวชนสําหรับ เยาวชนมุ ส ลิ ม นั้ น ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ก ารจั ด บริ ก ารที่ มี ค วาม ครอบคลุม ถึง คนกลุ่ม นี้ ความจํา เป็น บางอย่ างที่ ต้องมี บริ ก ารที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะสํ า หรั บ เยาวชนมุ ส ลิ ม อั น เนื่องจาก สังคมมุสลิมนั้นมีระเบียบประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่ อ และการปฏิ บั ติ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ เ ด่ น ชั ด แตกต่ า งจากคนไทยส่ ว นใหญ่ อย่ า งสิ้ น เชิ ง เป็ น ชุ ม ชน เฉพาะตัว (Unique society) วิถีชีวิตของสังคมมุสลิม ยึดหลักทางศาสนาอิสลามเป็นสําคัญ จึงทําให้บริการที่ จัดขึ้นบางครั้งไม่สอดรับกับความแตกต่างเหล่านี้ ศูนย์ประสานงานเอดส์ สมาคมยุวมุสลิมแห่ง ประเทศไทย เป็ น องค์ ก รพั ฒ นาเอกชน ที่ ไ ด้ รั บ งบประมาณจากกองทุนโลก เพื่อการจัดตั้งศูนย์บริการที่ เป็นมิตร (Youth and PHA Friendly service: YPFS) จึงต้องการที่จะศึกษารูปแบบการศูนย์บริการที่เป็นมิตร (Youth and PHA Friendly service: YPFS) ที่ สอดคล้องกับบริบทของเยาวชนและชุมชนมุสลิม เพื่อจะ นํารูปแบบที่ได้สู่การพัฒนาและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

72

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

วัตถุประสงค์ 4. นับถือศาสนาอิสลาม 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเยาวชนในเขต 5. เต็มใจเข้าร่วมการสนทนากลุ่ม รู้จักคนง่าย พื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดยะลา และเข้ากับคนอื่นได้ง่าย 2. เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการการจัดตั้ง 6. โดยให้ครูเป็นผู้คัดเลือกวัยรุ่นแบบเจาะจง หน่ ว ยและให้ บ ริ ก ารของศู น ย์ บ ริ ก ารที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ (Purposive Sampling) เยาวชน (Youth and PHA Friendly service: YPFS) ในภายใต้บริบทสังคมมุสลิม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 48 คน 3. เพื่อศึกษารูป แบบการเข้า ถึงบริการของ การเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มเป้าหมายและระบบส่งต่อบริการกับหน่วยงานอื่นๆ ใช้ เ ทคนิ ค การเก็ บ ข้ อ มู ล เป็ น การจั ด สนทนา ที่เป็นเยาวชนมุสลิม กลุ่ม (Focus Group Discussion) ทั้งหมด 3 กลุ่ม จัดสนทนากลุ่มช่วงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม 2552 วิธีการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ใช้ ที่ จังหวัดยะลา วิธีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Approach) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยมีขั้นตอนในการศึกษาดังต่อไปนี้ เป็ น แนวคํ า ถามที่ ใ ห้ ผู้ ดํ า เนิ น การสนทนา (Moderator) เปิดประเด็นในการสนทนาในหัวข้อ ความ กลุ่มตัวอย่าง คิดเห็น เกี่ยวกับสถานที่ชุมนุมของวัยรุ่นมุสลิมและไม่ใช่ เกณฑ์การคัดเลือกโรงเรียน มุสลิม ปัญหาสุขภาพของวัยรุ่น แหล่งให้คําปรึกษาของ 1. โรงเรียนที่สอนศาสนาควบคู่สามัญ ที่อยู่ใน วัยรุ่น รูปแบบ และภาพลักษณ์ของบริการสุขภาพ ที่ เขต ตลาดเก่ า ย่ านชุ ม ชนมุ สลิ ม โดยคั ด เลื อกโรงเรี ย น วั ย รุ่ น ต้ อ งการ ในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วกั บ สถานที่ ธรรมวิทยามูลนิธิ ผู้ให้บริการ เวลาในการให้บริการตลอดจนบริการที่วัยรุ่น 2. โรงเรียนที่สอนศาสนาควบคู่สามัญ ที่อยู่ใน ต้องการ รวมทั้งเทคนิคการประชาสัมพันธ์และการเข้าถึง เขตย่ า นการศึ ก ษา โดยได้ เลื อกโรงเรี ย นพั ฒ นาวิ ท ยา กลุ่มวัยรุ่นด้วย ยะลา 4. โรงเรียนสอนสามัญโดยตรง โดยได้เลือก การวิเคราะห์ข้อมูล โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง ยะลา ทํ า ได้ โ ดยการตี ค วามและสร้ า งข้ อ สรุ ป จาก 5. เยาวชนนอกระบบการศึกษา เขตตลาดเก่า ข้อมูลต่าง ๆ ที่รวบรวมมาได้ในสนามวิจัย เมื่อผู้วิจัยได้ ยะลา ข้ อ มู ล มาก็ นํ า มาวิ เ คราะห์ มองหาความหมาย ความ คล้ายคลึง ความแตกต่าง อาจจะเป็นรูปแบบซึ่งเป็นข้อ เกณฑ์การคัดเลือกนักเรียนวัยรุ่น ใช้คุณสมบัติ สมมติ ฐ านชั่ วคราวย่ อย ๆ หลายสมมุติ ฐ าน ซึ่ง วิ ธีก าร ดังนี้ หลักที่ใช้ในการวิเคราะห์ผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ 1. เป็ น ผู้ ที่ ก ล้ า แสดงความคิ ด เห็ น กล้ า ข้อมูลเชิงคุณภาพของสุภางค์ จันทวานิช และจากนั้นจะ แสดงออก เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐานจนสามารถหา 2. อายุไม่เกิน16- 20 ปี เป็นนักเรียนหญิง 5 หลั กฐานยื น ยั น ได้ ชั ด เจนจากข้ อสรุ ป ย่ อย ๆ ไปสู่ ส รุ ป คน ชาย 5 คน รวม 10 คน จากโรงเรียน อย่างน้อย 3 ใหญ่ไปเรื่อย ๆ โดยจําแนกข้อมูลตามความเหมาะสมของ แห่ง ข้อมูล 3. มี ภู มิ ลํ า เนาในจั ง หวั ด ยะลาที่ จั ด ให้ มี ผลการวิจัย ศูนย์บริการที่เป็นมิตรกับเยาวชน (YPFS)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเยาวชน ศึกษา และพั ฒ นารู ป แบบการการจั ด ตั้ ง หน่ ว ยและให้ บ ริ ก าร และศึกษารูปแบบการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย และระบบส่ ง ต่ อ บริ ก ารกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ๆ ของ ศูนย์บริการที่เป็นมิตรกับเยาวชนในภายใต้บริบทสังคม มุสลิม ผลการวิจัยดังต่อไปนี้ ข้อมูลพื้นฐานของเยาวชนด้านสถานที่รวมตัวและนัด พบกันของเยาวชน 1. สวนสาธารณะสนามช้างเผือก (สนามโรง พิธีช้างเผือก) อยู่ถนนพิพิธภักดี อําเภอเมืองยะลา มีพื้นที่ 80 ไร่ เคยใช้เป็น สถานที่ ประกอบพิธีน้อมเกล้า ฯ ถวาย ช้างเผือก “พระเศวตสุรคชาธาร” แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2511 ภายในสวนสาธารณะมีศาลากลางน้ํา รูปปั้นสัตว์ต่าง ๆ และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมของจังหวัด และด้านหลังเป็น สวนสาธาณะซึ่ ง เป็ น สถานที่ เหมาะแก่ ก ารรวมตั ว เพื่ อ พบปะ ออกกําลังกาย พักผ่อนหย่อนใจ เยาวชนส่วนใหญ่ จะพบปะกันหลังเลิกเรียน หรือวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ และ วันหยุดราชการ บางกลุ่มก็มาออกกําลังกาย บางกลุ่มก็ มาสังสรรค์ และบางกลุ่มก็มาพักผ่อน 2. ห้างทรัพสินค้า โคลีเซี่ยม เป็นห้างทรัพสินค้าที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดยะลา หลังเลิกเรียนหรือวันหยุดเยาวชนมักจะมาซื้อของชอปปิ้ง ดูหนัง ร้องคาราโอเกะ เพื่อบันเทิงใจ และคลายเครียด หลังจากเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจากการเรียน และยังเป็นที่ นัดพบของเยาวชนชายและหญิงที่เป็นแฟนกัน 3. สวนขวัญเมือง สวนขวัญเมือง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล 1 ในเขต เทศบางเมืองยะลา ห่างจากศาลหลักเมืองยะลาประมาณ 300 เมตร เป็นสวนสาธารณะของเทศบาลเมืองยะลา พื้นที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 207 ไร่ ปรับปรุงขึ้นจากพรุบา โกยโดยจัดให้มีสวนกีฬา สนามแข่งขันนกเขาชวาเสียง ซึ่งเป็นสนามมาตรฐานที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และชายหาด จําลองสวนแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยพลเอกเปรม ติณสูลา นนท์ ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งได้เดินทางมาทําพิธี เปิดป้ายชื่อ "สวนขวัญเมือง" เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม

73

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

พ.ศ. 2529 เป็นสวนสาธารณะอีกแห่งหนึ่งที่เยาวชนชอบ มาหาอะไรรับประทานกันในวันหยุดหรือหลังเลิกเรียน รวมทั้งประชาชนมาจากหลากหลายอําเภอมาลูกหลาน มาเที่ยวชมบรรยากาศในสวน และเยาวชนจะใช้สถานที่ แห่งนี้เป็นแหล่งรวมตัวกันทํากิจกรรมต่าง ๆ 4. สวนมิ่งเมือง ปี 2545 เทศบาลนครยะลา ได้ ดํา เนิ นการ ก่อสร้างถนนเลี่ยงเมือง (แบเมาะพัฒนา) โดยเริ่มจาก ทางเข้าเมือง (ก่อนถึงป้อมตํารวจบ้านจารู) มาออกถนนสี่ เลนใกล้สะพานเฉลิมพระเกียรติ ฯ เพื่อเชื่อมกับถนน ผัง เมือง 4 ซึ่งสวนสาธารณะมิ่งเมือง มีความยาวประมาณ 2.5 กิ โ ลเมตร ฯพณฯ วั น มู ห ะมั ด นอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้มาเป็นประธาน เปิดถนนสวนสาธารณะมิ่งเมือง เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2546 สวนสาธารณะแห่งนี้มี 4 แห่ง คือ สวนมิ่งเมือง 1 – 4 หรือ บาโร๊ะบารู 1 – 4 นับเป็นสวนแห่งใหม่สําหรับ ชาวตลาดเก่าและชาวยะลาอีกแห่งหนึ่ง และเยาวชนก็ ยังคงใช้สถานที่แห่งนี้เป็นที่พบปะและทํากิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ และยังมีหลาย ๆ แห่งที่เป็ นศูนย์กลางในการ รวมตัวของเยาวชนในอําเภอเมือง จังหวัดยะลา เช่น TK park Yala อุทยานการเรียนรู้ยะลา เป็นห้องสมุดเพื่อ เยาวชน มี ห นั ง สื อ หลากหลายประเภทและกิ จ กรรม มากมาย และร้ า นเกมส์ / ร้ า นอิ น เตอร์ เน็ ต ในตั ว เมื อ ง จั ง หวั ด ยะลา เช่ น ตลาดเก่ า หรื อ บริ เ วณห้ า แยก ทั้ ง นักเรียนและเยาวชนทั่วไปชอบปลีกตัวเมื่อว่างจะมาเล่น เกมส์ออนไลน์ ปัญหาของเยาวชน จากการศึกษาจากกลุ่มเยาวชนเกี่ยวกับปัญหา ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับเยาวชนตนเองและเพื่อน ๆ พบปัญหา ที่ได้รับการสะท้อนสําคัญๆ ดังต่อไปนี้ 1. ยาเสพติด เยาวชนส่วนใหญ่ ได้เล่าให้ฟังว่า สาเหตุใหญ่ของการเริ่มเข้าไปใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นยัง เป็นเรื่องของความ ”อยากลอง” ความเป็นวัยรุ่นของเขา ทําให้เขาอยากลองในสิ่งแปลกใหม่ ร่วมกับอีกปัญหาหนึ่ง คือการ “ตามเพื่อน” ความจริงแล้วเป็นเรื่องปกติของ วัยรุ่น ไม่ว่าจะในยุคใดสมัยใด ที่จะสนใจเพื่อน อยากจะ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

ลอง อยากจะเป็นอย่างคนนั้นคนนี้ หรืออยากจะทําอย่าง ที่เพื่อนทํา จนกระทั่งกลายมาเป็นแฟชั่น ปัจจุบันมีเด็ก บางคนหันเข้าไปหายาเสพติด เพียงเพราะรู้สึกว่า ใครๆ เขาก็ทํากัน เป็นเรื่องธรรมดา ไม่เห็นจะแปลกอะไร ถ้า ถามว่ารู้โทษของยาเสพติดไหม เด็กๆ ก็รู้ แต่เพียงเพราะ อยากที่จะตามเพื่อนๆ ไป ทําให้ตัดสินใจผิดพลาด กลาย ไปเป็นเหยื่อของสารเสพติด และปัญหาอีกประการหนึ่งที่ ทําให้เด็กบางคนเข้าไปสู่การใช้ยาเสพติด ก็คือปัญหา เรื่องของการต่อต้านผู้ใหญ่ อันนี้เป็นเรื่องตามวัยของเขา ด้วย ด้วยความที่เขาอยากเป็นตัวของเขาเองทําให้เด็ก บางทีรู้สึกไม่อยากเชื่อฟังสิ่งที่ผู้ใหญ่พูด บางทีก็แสดง ความก้ า วร้ า วออกมา ถ้ า คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ห รื อ คุ ณ ครู ไ ม่ เข้ า ใจ ก็ จ ะมี ป ฏิ กิ ริ ยาโต้ ต อบที่ รุ น แรงกั บ เด็ ก หรื อ พยายามเข้าไปควบคุมหรือจัดการกับเขา เด็กก็จะยิ่ง ต่อต้านมากขึ้น อะไรที่เรารู้สึกว่าไม่ดี อะไรที่เราห้ามเขา อะไรที่เราบอกว่าอย่าทํา เด็กก็จะยิ่งอยากทํา เหมือนจะ ประชดผู้ใหญ่ไปทางหนึ่งด้วย แต่ด้วยประสบการณ์ที่ยัง อ่อนอยู่ ทําให้ไม่ทราบว่าการประชดด้วยการใช้ยาเสพติด นั้นเป็นสิ่งที่มีอันตรายต่อตัวเองเป็นอย่างยิ่ง เมื่อมีการพูดคุยกับเยาวชนในประเด็นนี้ เสียง สะท้ อ นพบว่ า ผู้ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ไม่ ว่ า จะเป็ น ครอบครั ว โรงเรียน มักจะใช้วิธีการที่รุนแรงในการแก้ปัญหากับเด็ก ที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติด โดยที่พวกเขารู้สึกว่า ชีวิตที่อยู่ ระหว่างวัยรุ่นเป็นช่วงที่มีความสับสนมาก แต่โรงเรียน และครอบครัวไม่สามารถให้คําปรึกษาหรือพัฒนาทักษะ ชีวิตที่ดีในช่วงเวลาดังกล่าวได้ ทําให้บางทีปัญหาเล็กกลับ ขยายวงกว้ างจนไม่สามรถแก้ไขปัญหาได้ง่า ย โดยเด็ ก สะท้อนว่า หากมีหน่วยงานที่ทํางานเชิงรุกในการพัฒนา ระบบการให้คําปรึกษาหรือกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะชีวิต ก็อาจจะช่วยแก้ปัญหาที่ต้นตอได้เลย 2. การคบเพื่อน น้อง ๆ เยาวชน ส่วนใหญ่ได้ สะท้อนให้ฟังว่าว่า วัยรุ่นเป็นวัยที่เบิกบาน สนุกสนาน มี ความคิดความเห็นของตนเองมากขึ้น มีการพบปะเพื่อน ฝูงต่างๆ ในโรงเรียนมากมาย ทั้งเพศเดียวกันและเพศ ตรงข้าม ซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลกหรือเสียหายอย่างไรที่จะมี เพื่อนเพศตรงข้าม ถ้าอยู่ในกรอบแห่งการคบหาสมาคม เช่ น เพื่ อ นสนิ ท ที่ มี ค วามหวั ง ดี ต่ อ กั น และกั น แต่ บ าง โรงเรียนการคบเพื่อนต่างเพศ ถือเป็นเรื่องผิดหลักการ

74

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

ศาสนาอิ ส ลาม เพราะชายและหญิ ง ห้ า มไปด้ ว ยกั น นอกจากจะมีผู้ปกครองไปด้วย แต่เนื่องจากความเป็ น วั ย รุ่ น และมาอยู่ โ รงเรี ย นประจํ า ทํ า ให้ ห่ า งเหิ น จาก ผู้ปกครอง ทําให้มีการคบเพื่อนต่างเพศมากขึ้น และการ คบเพื่ อ นระหว่ า งเพศเดี ย วกั น ส่ ว นใหญ่ เพศชายจะมี ปัญหามากกว่าเพศหญิง เพราะถ้าเลือกคบเพื่อนติดยา เสพติด บางครั้งเราเกรงใจเพื่อนก็เลยต้องกระทําสิ่งที่ไม่ดี เหมือนเพื่อน แต่ถ้าเราเลือกคบเพื่อนที่ดีก็จะทําให้เรามี ผลการเรียนที่ดีตามมาด้วย ดังสุภาษิตที่ว่า “คบคนพาล พาลพาไปหาผิด พบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล” อะไร ทํานองนี้ จากการพูดคุยประเด็นนี้ ทําให้เห็นว่า เยาวชน มุ ส ลิ ม ส่ ว นใหญ่ ที่ เ ข้ า มาเรี ย นในเมื อง ขาดทั ก ษะชี วิ ต เกี่ยวกับการเลือกคบเพื่อน หรือการนําหลักการศาสนา มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิต และ การมีความเข้าใจที่ผิดพลาดต่อประเด็นปัญหายาเสพติด เช่ น การใช้ ย าเสพติ ด จะทํ า ให้ เ กิ ด การยอมรั บ ในกลุ่ ม เพื่อน หรือ สามารถทําให้เกิดความกล้าหาญได้ เป็นต้น 3. ปัญหาชู้สาว และการปะปนระหว่างชาย และหญิง น้อง ๆ เยาวชนได้สะท้อนให้ฟังว่า ส่วนใหญ่ แล้วปัญหาชู้สาวไม่ค่อยปรากฏในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม แต่ก็มีบ้างเพื่อนบางคนที่เผลอและลืมตัว ไป สําหรับการปะปนระหว่างชายและหญิงในโรงเรียน ถื อ เป็ น ที่ ห้ า มจึ ง ไม่ เ กิ ด ภาพการปะปน แต่ สํ า หรั บ ใน โรงเรี ย นสามั ญ การชู้ ส าวถื อ ว่ า ไม่ ค่ อ ยเกิ ด มาในรั้ ว โรงเรียน แต่หลังเลิกเรียนก็มีพอประมาณ เพื่อน ๆ หลาย คนไปเที่ยวกันหลังเลิกเรียน สําหรับการปะปนระหว่าง ชายและหญิ ง ถื อ ว่ า เป็ น เรื่ อ งปกติ เพราะเรี ย นห้ อ ง เดียวกัน ทํากิจกรรมร่วมกัน แต่โดยภาพรวมแล้วก็ถือว่า ยังมีเพื่อน ๆ ต่างโรงเรียนประสบการณ์ปัญหานี้ 4. ปั ญ หาอื่ น ๆ มี อีก หลายปั ญ หาที่ น้ องๆ เยาวชนได้สะท้อนเล่าให้ฟัง เช่นปัญหาบทบาทของสื่อทาง Internet ปัญหา แฟชั่นที่ได้รับวัฒนธรรมต่างชาติ ปัญหาเยาวชนชายซิ่ง รถมอเตอร์ไซด์ การพนันฟุตบอล และด้วยสภาพสังคม ปัจจุบัน ครอบครัวไม่มีเวลาให้กับเยาวชน


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

รูปแบบการการจัดตั้งหน่วยและให้บริการของ ศูนย์บริการที่เป็นมิตรกับเยาวชน สําหรับรูปแบบทั้ง 4 ด้าน เยาวชนได้เสนอแนะ ให้มีรูปแบบของศูนย์ ฯ ดังต่อไปนี้ 1. ด้านบุคลากร เยาวชนได้ร่วมกันแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับบุคลากรในศูนย์ฯ ดังต่อไปนี้ 1.1 นักจิตวิทยาคลินิก เพราะสามารถที่จะรับรู้ สภาพปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชนและสร้างบรรยากาศเป็น กั น เอง ทํ า ให้ เยาวชนมี ค วามมั่ น ใจที่ จ ะเข้ า ไปปรึ ก ษา ปัญหาต่าง ๆ และควรเป็นนักจิตวิทยาที่มีประสบการณ์ เพราะสามารถมองปัญหาและแก้ปัญหาของเยาวชนได้ 1.2 ผู้มีความรู้วิชาการและบูรณาการศาสนาได้ เพราะส่วนใหญ่ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จะ มีครูสอนศาสนาอยู่ แต่นักเรียนไม่กล้าที่จะเข้าไปปรึกษา เพราะว่ า ปั ญ หาบางปั ญ หาเป็ น เรื่ องที่ ขั ด กั บ หลั ก การ ศาสนาอิสลาม เพราะถ้าครูสอนศาสนาจะดุว่านักเรียน ทําให้นักเรียนไม่กล้าพอที่จะเข้าไปปรึกษา ดังนั้นถ้าหาก มีผู้ที่รู้ด้านศาสนาที่มีทักษะและความรู้ทางด้านจิตวิทยา และบูรณาการกับหลักวิชาการ ก็น่าจะเป็นที่ยอมรับจาก เยาวชน 1.3 ตัวแทนจากเยาวชน เพราะว่าตัวแทนที่มา จากเยาวชน เป็นบุคคลที่มีอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ซึ่ง ทําให้พูดคุยกันง่ายขึ้น และยินดีที่จะเล่าปัญหาต่าง ๆ ให้ ฟังได้ แต่ให้คัดสรรผู้ที่เหมาะสมจริง เนื่องจากเกี่ยวข้อง กับข้อมูลส่วนบุคคลค่อนข้างมาก 2. ด้านลักษะและสถานที่ตั้ง เยาวชนได้ร่วมกัน แสดงความคิดเห็นให้มีลักษณะและสถานที่ตั้งดังต่อไปนี้ 2.1 มีสีสันสดใส สะดุดตา และสบายใจ เช่น สี ส้ม สีเขียว สีฟ้า เป็นต้น เพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจ จากเยาวชน และทํ า ให้ เ ยาวชนกล้ า ที่ จ ะเข้ า ไปขอ คําปรึกษา แต่ถ้าอาคารหรือลักษณะที่ตั้งที่มีรูปทรงหรือสี ที่ เป็ น ทางการ เยาวชนก็ ไ ม่ ก ล้ า ที่ เข้ า ไปขอคํ า ปรึ ก ษา (หลายคนจินตนาการการจัดสถานที่ว่าอยากได้คล้ายกับ ร้านกาแฟสด ที่จัดร้านน่าเข้าไป อะไรทํานองนี้) 2.2 ควรอยู่แถว ๆ ตลาดเก่า เพราะว่าแถว ๆ ตลาดเก่ามีเยาวชนอยู่เยอะพอสมควร เหมาะสําหรับการ รวมตัวของเยาวชนและอยู่ใกล้กับโรงเรียนหลาย ๆ โรง ด้วยกัน

75

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

2.3 อยากได้บรรยากาศที่สบาย ๆ ไม่ดูเป็น ทางการมากเกินไป หรือมีลักษณะชวนให้เยาวชนเข้าไป ปรึกษา จัดควรบรรยากาศภายในให้ความอบอุ่น และ บรรยากาศภายนอก มีความร่มรื่น 2.4 ชื่ อของสถานที่ ค วรเรี ย กง่ า ย ไม่ ดู เป็ น ทางการมากเกินไป เพื่อให้เยาวชนจะได้เรียกชื่อกันอย่าง ติดปาก และเป็นสัญลักษณ์ที่เยาวชนนึกถึงเมื่อมีปัญหา 3. ด้านประชาสัมพันธ์ เยาวชนได้ร่วมกัน สะท้ อ นกลยุ ท ธ์ ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง กลุ่มเป้าหมายที่เป็นเยาวชน ไว้ดังต่อไปนี้ 3.1 เข้าไปประชาสัมพันธ์แต่ละโรงเรียนหรือใน ชุมชน โดยมีตัวแทนจากศูนย์ฯ เข้าไปในโรงเรียน และมี กิจกรรมเน้นความสนุกสนานให้กับนักเรียน เช่น การเล่น เกมส์ต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นการเปิดตัว และการสร้างบรรยากาศความเป็นกันเองของศูนย์ฯ กับ เยาวชน 3.2 ป้ายไวนิล เพื่อประชาสัมพันธ์ไว้บริเวณต่าง ๆ ที่เยาวชนอยู่พลุกพล่าน เช่น ศูนย์เยาวชนจังหวัดยะลา ชุมชนใหญ่ ๆ และตลาดเก่ามัสยิดกลางยะลา 3.3 วารสาร เช่นวารสารของชมรมต่าง ๆ หรือ เทศบาลนครยะลา เพื่ อ ให้ เ ยาวชนที่ เ ปิ ด อ่ า นได้ รู้ แหล่งข้อมูลเกียวกับศูนย์ ฯ 3.4 วิ ทยุ ผ่ า นคลื่ นความถี่ 107.5 ฟ้า ใส เพราะว่ า เยาวชนจะฟั ง รายการนี้ กั น มาก หากมี ก าร ประชาสั ม พั น ธ์ ถื อว่ า เป็ น โอกาสดี ที่ เ ยาวชนจะได้ รั บ ทราบข้อมูลกันอย่างทั่วถึง และมี อีกหลายช่องการในการประชาสั มพัน ธ์ ดังต่อไปนี้ -Website ผ่านช่องทางโทรศัพท์ Call center Sponsor ในการจัดกีฬาชนิดต่าง ๆ สินค้าเพื่อจําหน่าย เช่น เข็มกลัด เสื้อ กระเป๋าลดภาวะโลกร้อน เป็นต้น และ ผ่านครูแนะนําแนวประจําโรงเรียน 4. ด้านกิจกรรมการให้บริการภายในศูนย์ มี กิจกรรมที่เยาวชนต้องการ ดังต่อไปนี้ 4.1 กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาความเครียดของ เยาวชน หรือการให้บริการเพื่อให้เยาวชนรู้สึกผ่อนคลาย และเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ได้


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

76

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

ยุ ท ธ์ ส ร้ า งเครื อ ข่ า ยของศู น ย์ แ ละระบบส่ ง ต่ อ บริ ก าร ดังต่อไปนี้ 1.การพัฒนาเครือข่ายเยาวชน YPFS ศูนย์บริการที่เป็นมิตร (Youth and PHA Friendly service: YPFS) สามารถพัฒนาเครือข่าย เยาวชน อายุระหว่าง 16-24 ปี ที่มีความสนใจ และมี ความกระตือรื อร้นเพื่อที่เข้ ามามีส่วนร่ว มการตัดสินใจ แสดงความเห็ น และให้ ข้ อ เสนอแนะในกลยุ ท ธ์ แ ละ กิจกรรมต่างๆของศูนย์ฯ ที่เกี่ยวข้องกับอนามัยการเจริญ พั น ธุ์ ข องวั ย รุ่ น โดย คั ด เลื อ กจากตั ว แทนของกลุ่ ม เยาวชนต่างๆ เข้ามาเป็นเครือข่าย ทั้งนี้จะเป็นการพัฒนา ระบ บส่ ง ต่ อ และการป ระช าสั ม พั น ธ์ ถึ ง เยา วช น กลุ่ ม เป้ า หมายต่ า งๆได้ เ ป็ น อย่ า งดี โดย กิ จ กรรมที่ สามารถใช้ เ ครื อ ข่ า ยเยาวชนได้ เ ช่ น กิ จ กรรมการ ให้ บ ริ ก ารนอกสถานที่ (ในสถานศึ ก ษา ชุ ม ชน แหล่ ง ระบบส่งต่อบริการ รวมกลุ่ ม วั ย รุ่ น ) สามารถให้ ก ลุ่ ม เยาวชนนี้ เ ป็ น ผู้ ทํ า จากการวิเคราะห์ข้ อมูล พบว่า ศูนย์บ ริการที่ กิจกรรมหลักและศูนย์ทําหน้าที่ในการสนับสนุนปัจจัย เป็นมิตร (Youth and PHA Friendly service: YPFS) ต่างๆ เป็นต้น โดยสามารถแสดงเป็นแผนภูมิได้ดังนี้ จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเยาวชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็นการทํางานเชิงรุกคือ การใช้กล

4.2 ให้ บริ การการให้ คํา ปรึก ษาในประเด็ น เกี่ยวกับการเลือกคบเพื่อนต่างเพศ และเพศเดียวกัน โดย ให้ข้อมูลด้านศาสนาด้วย เช่นข้อมูลต่าง ๆ อาจจัดทําเป็น เอกสาร หนังสือ การให้คําแนะนํา หรือรูปแบบอื่น 4.3 บริการปรึกษาปัญหาสุขภาพและความสวย ความงาม เพราะว่ า เยาวชนเป็ น ช่ ว งวั ย ที่ มี ค วาม เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และต้องการความสวยงาม 4.4 บริ ก ารตรวจสมรรถภาพทางร่ า งกาย เพราะว่าจะได้รู้ว่าตัวเองมีสุขภาพเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อ ป้องกันโรคภัยต่าง ๆ ที่อาจตามมาได้ 5. ด้านเวลาทําการ เยาวชนมีความประสงค์ที่ จะเข้ามาใช้บริการในวันและเวลา ดังต่อไปนี้ อยู่ ใ นเวลาราชการ 09:00-16:00 น. และ วันหยุดเสาร์ อาทิตย์ 08:30-21:00 น.

รูปที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาเครือข่ายเยาวชน YPFS


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

2.การพัฒนาเครือข่ายจากสถานศึกษา การพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยจากสถาบั น การศึ ก ษา ศูนย์บริการที่เป็นมิตร (Youth and PHA Friendly service: YPFS) สามารถนําใช้ระบบที่สถานศึกษามีอยู่ แล้วคือ ระบบครูแนะแนว ของโรงเรียน ซึ่งภารกิจต่างๆ ของแต่ละโรงเรียน ก็มีความต้องการแก้ปัญหานักเรียน

77

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...

เยาวชนในโรงเรียนอยู่แล้ว และลักษณะปัญหาก็มีความ คล้ายคลึงกับภารกิจของศูนย์ จึงมีความเป็นไปได้ที่ศูนย์ฯ สามารถพัฒนาระบบเครือข่ายสถานศึกษา ให้เป็นหน่วย ส่งต่ อเยาวชนให้ศู นย์ ฯ โดยเครื อข่ ายสถานศึก ษานี้จ ะ สนั บ สนุ น การส่ ง ต่ อ ของ เยาวชน/นั ก เรี ย น ในระบบ การศึกษา

รูปที่ 2 ขั้นตอนการพัฒนาระบบส่งต่อกับสถานศึกษา ปรับปรุงบริการที่มีอยู่แล้วให้เป็นมิตรกับเยาวชนมากขึ้น ควรพัฒนาขึ้นโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องฝ่าย 3.การพัฒนาเครือข่ายชุมชน การพัฒนาเครือข่ายชุมชนนี้ ศูนย์บริการที่เป็น ต่างๆ โดยเริ่มจากการทบทวน แผนการให้บริการสุขภาพ มิตร (Youth and PHA Friendly service: YPFS) ที่มีอยู่ แผนงานการพัฒนา และการดําเนินการ “บริการ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ เยาวชน” ที่ คํ า นึ ง ถึ ง ความต้ อ งการของ สามารถนําแกนนําชุมชนที่เป็นเครือข่ายของสมาคมยุว เยาวชน บริ ก ารทั้ ง หลายควรเป็ น บริ ก ารที่ ใ ห้ เ ปล่ า มี มุสลิมด้านเอดส์ มาพัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมให้สามารถ บุคคลากรที่มีความเต็มใจในการช่วยเหลือ สนับสนุน ไม่ พั ฒ นาเป็ น เครื อ ข่ า ยของศู น ย์ ฯ ด้ ว ยศั ก ยภาพของ ตัดสิน ผู้มารับบริการ รวมถึงการมีความรู้/ทักษะการให้ เครื อ ข่ า ยเดิ ม ที่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ต่ า งๆ และมี ศั ก ยภาพ คํ า ปรึ ก ษาและความรู้ เ กี่ ย วกั บ หลั ก การศาสนาที่ เบื้องต้นอยู่แล้ว จะทําให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเยาวชนนอก สอดคล้ องกั บ ปั ญ หาที่ เกี่ ย วข้ องกั บ สุ ข ภาวะของวั ย รุ่ น เยาวชน ควรเป็ น ไปด้ ว ยความสมั ค รใจและการรั ก ษา ระบบการศึกษาในชุมชนได้เป็นอย่างดี ความลับของผู้มารับบริการเป็นสําคัญ บริการก็ควรจะจัด อภิปรายผลการวิจัย ให้ครอบคลุมถึงเยาวชนทุกกลุ่มที่มีอยู่ในสังคมนั้นๆด้วย การพั ฒ นาระบบการให้ บ ริ ก ารที่ เป็ น มิ ต รกั บ เยาวชน โดยการจั ด หาบริ ก ารใหม่ หรื อ การพั ฒ นา


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุวิทย์ หมาดอะดํา และ มะแอน ราโอบ

เอกสารอ้างอิง จรรยา เศรษฐบุ ต ร และคณะ. 2541. รายงานการ สํ า รวจสภาวะ เยาวชนไทย พ.ศ. 2541. นครปฐม. สถาบั น วิ จั ย ประชากรและสั ง คม. มหาวิทยาลัยมหิดล จิราภรณ์ เทพหนู. 2546. การศึกษาพฤติกรรมการใช้ สารเสพติดและการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นใน สถานศึกษาเขตเทศบาลเมืองพัทลุง. พัทลุง. มปท. อั ล มุ นั จ ญิ ด , มุ ฮั ม หมั ด ศอลิ ศ . ม.ป.ป. อี ห ม่ า มอ่ อ น อาการ สาเหตุและวิ ธีบํ า บัด . แปลโดย อบุ ล ลั ย ษ. ค้ น เมื่ อวั น ที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ 2549. ใน http://www.majlis-ilmi.org/slam/modul. ประเสริ ฐ วั น แอเลาะ. 2544. บนเส้ น ทางที่ เ ธอ (เยาวชน) แสวงหา. นิตยสารมุสลิมออนไลน์. ค้ น เ มื่ อ วั น ที่ 2 3 กั น ย า ย น 2 5 4 9 . ใ น http://www.thaiislamic.com/articlessho w.asp?kind=6&ID=61012 มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. 2533. พั ฒ นาการ วัยรุ่นและการอบรม. กรุงเทพมหานคร. อรุณ การพิมพ์ มุคต๊าร ชัยค์อุมัร. 2544. บทบาทการเป็นหนุ่มสาวแบบ อิสลาม. นิตยสารมุสลิมออนไลน์. ค้นเมื่อวันที่ 2 3 กั น ย า ย น 2 5 4 4 . ใ น http://www.thaiislamic.com/articlessho w.asp?kind=6&ID=61012

78

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 โครงการศึกษาและพัฒนารูปแบบ...


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

79

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

Article The Role and Influenes of ‘Abdulloh ibnu Saba’on Muslims’mind in the Islamic State : Lessons for the Present Muslim Society Hamidah Masarakama, M.A (Islamic History and Civilization), Lecturer, Usulluddeen (Islamic Principles) Department, Faculty of Islamic Study, Yala Islamic University, Pattani Campus. Abstract This article aims at presenting the role and influences of ‘Abdulloh ibnu Saba’ on Muslims’mind in the Islamic State by studying his thought , point of views of Ahli Sunnah Wa-alJama‘ah,Tabi‘in and Shi‘ah,and also presenting lessons for the present Muslim society. This study is a documentary research. The findings showed that ‘Abdulloh ibnu Saba’was a Jewish, embraced Islam in the latter days of the reign of Kholifah ‘Uthman ibnu ‘Affan (r.d). He had a radically personality, multi-capacities in influencing on Muslims in the Islamic State.He created the disharmony among Muslims themselves that brought to assassinate Kholifah ‘Uthman ibnu ‘Affan (r.d), fired “the Camel War”, and propagated the thought by using a deviated policy: inviting to good deed and prohibiting from bad deed” to motivate Muslims’ minds who did not have strong faith. A lesson showed that Muslim can not avoid from the enemy of Islam, especially, Munafiq (hyphocrites). It suggests that a Muslim should abide by Islamic teachings as norms in the life, have a strong and firm faith, be cleaver, study deeply, and keep abreast with situations. Key Word: ‘Abdulloh ibnu Saba’, role and Influences of ‘Abdulloh ibnu Saba’, lessons for Muslim Society,


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

80

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

บทความวิชาการ บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ต่อคิดของชาวมุสลิมในอาณาจักรอิสลาม : บทเรียนสําหรับสังคมมุสลิมปัจจุบัน ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา M.A (ประวัติศาสตร์และอารยธรรมอิสลาม ) อาจารย์ประจําสาขาวิชาอุศูลดุ ดีน คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา วิทยาเขตปัตตานี

บทคัดย่อ บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอบทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ต่อชาว มุสลิมในอาณาจักรอิสลาม โดยศึกษาแนวคิด จุดยืนหรือทัศนะของอะฮฺลิสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ บรรดาตาบิอีน และชีอะฮฺที่มีต่อบุคลิกภาพของท่านและนําเสนอบทเรียนสําหรับสังคมมุสลิม การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเอกสาร จาการการศึกษา พบว่า อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ เป็นมุอัลลัฟ (คนต่างศาสนิกเข้รับอิสลาม) จากชาวยิว ท่าน เป็นบุคคลภาพที่สุดโต่งที่สุด เฉลียวฉลาด มีความสามารถในหลายๆด้านในการสร้างอิทธิพลต่อชาวมุสลิมใน อาณาจักรอิสลาม เช่น สร้างความแตกแยกในหมู่มุสลิมด้วยกัน จนเคาะลีฟะฮฺอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน (ร.ฎ) ถูก ฆาตรกรรมอย่างโหดเหี้ยม จุดไฟสงครามในสงครามอูฐเผยแพร่แนวคิดบิดอะฮฺ และหลงทาง โดยใช้ กุศโลบาย “การเชิญชวนทําความดีและห้ามทําความชั่ว” มาบังหน้าในการจูงใจความคิดของชาวมุสลิมที่มีความศรัทธา อ่อนแอ บทเรียนที่ได้รับจากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ามุสลิมไม่พ้นจากการเผชิญกับศัตรูที่เป็นมุนาฟิก (หน้าไว้หลังหลอก) ดังนั้นเพื่อมิให้ตกเป็นเหยื่อของศัตรูเหล่านั้นจําเป็นอย่างยิ่งต้องมีความศรัทธาที่มั่นคงโดย นํ า หลั กศาสนามาเป็ น บรรทั ดฐานในการดํ า รงชี วิ ต มี จุ ด ยื น ที่ เ ข้ มแข็ ง ใช้ ไหวพริ บ อย่ า งชาญฉลาด ศึ กษา ไตร่ตรองและทันสถานการณ์ คําสําคัญ: อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ บทเรียนสําหรับสังคม มุสลิม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

81

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

ความสําคัญของบุคคลในประวัติศาสตร์อิสลาม นั้ น สามารถนํ า มาศึ ก ษาเป็ น บทเรี ย นเพื่ อ ประยุ ก ต์ ปฏิบัติในการดํารงชีวิตสําหรับเยาวชนชาวมุสลิมรุนหลัง ซึ่งจะพบว่าในประวัติ ศาสตร์อิสลาม มีบุ คคลสําคั ญ จํานวนมาก มีทั้งบุคคลที่มีบทบาทในการส่งเสริมพัฒนา สังคมมุสลิมให้มีความเจริญก้าวหน้าและมีความสงบสุข และมีทั้งบุคคลที่มีบทบาทและอิทธิพลในการสร้างความ วุ่นวาย ความสับสน ซึ่งทําให้เกิดความหายนะและ ความ ไม่สงบสุขของสังคมมุสลิมในอาณาจักรอิสลาม บทความ ฉบับนี้จะนําเสนอบทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบ นุ สะบะอฺ ต่อชาวมุสลิมในอาณาจักรอิสลามในสองสมัย คือสมัยปลายการปกครองเคาะลีฟะฮฺอุษมานและสมัย การปกครองของเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ)1 ซึ่งประกอบด้วย ชีวประวัติ แนวคิด บทบาทและอิทธิพล จุดยืนหรือทัศนะ ของอะฮฺ ลิ สุ น นะฮฺ วั ล ญะมาอะฮฺ บรรดาตาบิ อี น และ ชีอะฮฺ2ที่มีต่อบุคลิกภาพของท่าน และนําเสนอบทเรียน สําหรับสังคมมุสลิม เพื่อให้ชาวมุสลิมทราบถึงบทบาท ของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ในการสร้างอิทธิพลโดยใช้ กุศโลบาย “การชักชวนทําความดี และห้ามกระทําชั่ว” ในการโน้มน้าวจิตใจชาวมุสลิมจึงทําให้มุสลิมคล้อยตาม โดยมิได้ไตร่ตรอง สามารถหลีกเลี่ยง ห่างเหินจากบุคคล ที่มีบุคลิกภาพเช่นนี้ ปลอดภัยจากความอุตริและหลง ทาง และทราบถึงภัยอันตรายของผู้ไร้การศึกษา และ ความศรัทธาอ่อนแอ

อาทิ เช่นการฆาตกรรมเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) สงคราม อูฐ สร้างความแตกแยก ภายในหมู่มุสลิมด้วยกัน เป็นต้น ซึ่ ง มี แ น ว คิ ด “ อั ล ว ะ ศ อ ย า แ ล ะ อั ร ร อ อ ะ ฮฺ ” ( ‫ ) ﺍﻟﻮﺻﺎﻳﺎ ﻭﺍﻟﺮﺟﻌﺔ‬3 เผยแพร่ ทั่ ว อาณาจั ก รอิ ส ลาม มี จิตวิทยาสูงในการชักชวนโน้มน้าวจิตใจประชาชน โดยใช้ กุศโลบาย การชักชวนกระทําความดี และห้ามกระทํ า ความชั่ว (‫ )ﺍﻷﻣﺮﺑﺎﳌﻌﺮﻭﻑ ﻭﺍﻟﻨﻬﻲ ﻋﻦ ﺍﳌﻨﻜﺮ‬4 มาบังหน้า จึงทําให้ประชาชนชาวมุสลิมที่มีความศรัทธาที่อ่อนแอ คล้อยตามอย่างหลงทาง อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอ” คือ อับดุลลอฮฺ อิบนุ วะฮฺ บ์ อิ บ นุ รอษิ บ อิ บ นุ มาลิ ก อิ บ นุ มี ด ะอาน อิ บ นุ มาลิก อิบนุ นะฏอรฺ อิบนุ อัลกูต อิบนุ มาลิก อิบนุ ซัยด์ อิ บ นุ กะฮฺ ล าน อิ บ นุ สะบะอฺ ท่ า นมี ชี วิ ต ในฮิ จ เราะฮฺ ศตวรรษที่ 1 (‘Abdal-Hafiz,‘Abdal-Mun‘im.1421/2001; 43อ้างจาก al-‘Askari,al-Sayyid al-Murtadha ,1413/ 992 : 33 ) ท่านเป็นมุอัลลัฟ5 ที่มีลักษณะเป็นมุนาฟิก6 เดิม จาก ครอบ ครัว ยิว ชาวเมืองศอนอาอฺ ประเทศเยเมน เข้ า รั บ อิ ส ลามใน ปลายสมั ย เคาะลี ฟ ะฮอุ ษ มาน (ร.ฎ) และมีบทบาทสําคัญในการตระเวน เผยแพร่ความหลง ทาง ความอุตริหรือบิดอะฮฺในหมู่ประเทศมุสลิมเริ่มตั้งแต่ แคว้นหิญาซ (มักกะฮฺ ฏออิฟและเมืองใกล้เคียง) จนถึง เมือง กูฟะฮฺ บัศเราะฮฺ อิยิปต์ และชาม และเป็นผู้สร้าง วิ ก ฤตการณ์ (ฟิ ต นะฮฺ ) ตั้ ง แต่ ส มั ย เคาะลี ฟ ะฮฺ อุษ มาน อิบนุ อัฟฟาน จนถึงสมัยเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร .ฎ ) ท่า น เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น ในนาม “อิ บ นุ สะบะอฺ ” หรื อ “อิ บ นุ

บทนํา

ชีวประวัติอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ บรรดาอะฮฺลิสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ และตาบิอีน มีทัศนะว่า อับดุลเลาะฮฺ อิบนุ สะบะอฺ มีตัวตน ท่านเป็น บุคคลที่มีความสุดโต่งที่สุดในประวัติศาสตร์อิสลาม และ มีบทบาทที่เป็นเลิศ ในการก่อการร้ายในทุกๆเหตุการณ์ 1

อ่า นว่า “รอฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮุ” เป็ นการพรภาวนาต่อ ท้า ยชื่อ บรรดาเศาะ หาบะฮฺ หมายถึงของให้เอกองค์อัลลอฮฺ ( สุบฯ)ทรงพอพระทัยต่อท่าน และ เป็ น มารยาทที่ ชาวมุ ส ลิม ควรกล่ า วถึ งทุ ก ครั้ งที่ มี ก ารกล่ า วถึง บรรดาเศาะ หาบะฮฺ 2 ชีอะฮฺหมายถึงลัทธิที่มีหลักการปฏิเสธการเป็นเคาะลีฟะฮฺของบรรดาเศาะ หาบะฮฺทั้งสาม คืออบูบักรฺ อุมัรฺและอุษมาน (ร.ฎ) และกล่าวอ้างว่าตําแหน่ง เคาะลีฟะฮฺนั้น เป็นสิทธิของอะลีและบรรดาลูกหลานที่ได้กับท่านหญิงฟาติ มะฮฺเท่านั้น

3

อ่านว่า “อัลวะศอยาวัรรอจอะฮฺ” เป็นแนวคิดของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ (อัลวะศอยา) หมายถึงรสูล ( ศ็อลฯ)ได้สั่งเสียให้เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ ) รับ ตําแหน่งเป็นเคาะลีฟะฮฺ หลังจากจากท่านรสูล ( ศ็อลฯ) เสียชีวิต ส่วน (อัรรอ จญอะฮฺ) หมายถึง ท่านรสูล ( ศ็อลฯ) จะ กลับสู่โลก เช่นท่านนบีอีซา อิบนุ มัรฺยัม (อ.ฮ.) ( Ibn Kathïr,1408/1988//7 : 184 ) ดูรายละเอียดในหน้า ถัดไป 4 อ่านว่า” อัลอัมรุ บิลมะอฺรูฟ วันนะฮฺยู อันนิลมุนกัรฺ “ แปลว่า การชักชวน กระทําความดี และห้ามกระทําความชั่ว 5 คําว่า “มุอัลลัฟ” เป็นภาษาอาหรับ หมายถึงคนต่างศาสนิกเข้ารับนับถือ ศาสนาอิสลาม 6 คําว่า “มุนาฟิก”เป็นภาษาอาหรับ หมายถึงบุคคลที่ประกาศตัวว่าเป็นมุสลิม แต่ ปกปิ ด การปฏิ เ สธอยู่ ใ นจิ ต ใจ มี ลั ก ษณะบุ ค คลหน้ า ไหว้ หลั ง หลอกเป็ น ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังจากท่าน รสูล (ศ็อลฯ )ได้อพยพไปยังมะดีนะฮฺ แล้ว


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

82

อัสเสาวดาอฺ” แปลว่าบุตรคนผิวดํา อาศัยอยู่ในเมือง มะดาอิ น การเข้ า รั บ นั บ ถื อศาสนาอิ ส ลามของท่ า น มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จะพยายามหาทางที่ จ ะทํ า ลายล้ า ง ศาสนาอิสลามและสร้างฟิตนะฮฺในบรรดาประชาชนชาว มุสลิมให้มีความแตกแยก เป็นพรรค เป็นพวก กลุ่มของ เขาชื่อว่า “อัสสะบะอิยะฮฺ” ซึ่งมีผู้สนับสนุนคือคอลิด อิบนุ มุลญัม สูดาน อิบนุ หัมรอน และกะนานะฮฺ อิบนุ บะชัรฺ เป็นต้น (al-Tabari,1407/1987/2: 647) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อับดุรราหฺมาน อัลบะดะ วีย์ได้กล่าวว่า “อิบนุ สะบะอฺ” เป็นนักปราชญ์ชาวยิวและ เป็นนักประดิษฐ์ที่เชี่ยวชาญขององค์กรการเคลื่อนไหวในการ ตีความของชาวยิว ( ‫)ﺣﺮﻛﺔ ﺍﻟﺘﺄﻭﻳﻞ ﻋﻨﺪﺍﻟﻴﻬﻮﺩ‬7 ซึ่งมีแนวคิด ว่า ท่านนบอีซา ( อ.ฮ )8 กําลังรอคอยเวลาจะลงมาตระเวน ในคาบสมุทรอาหรับ และเขามีความรู้และเชี่ยวชาญในเรื่อง นี้ จึงเป็นเหตุให้ เขาสามารถเผยแพร่แนวคิดที่สุดโต่งต่อชาว มุสลิมได้ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ได้กล่าวต่อว่า “ท่านได้ รวบรวมข้อมูลภาษาอาหรับจากแหล่งต่างๆ ซึ่งเป็นหลักฐาน ที่เข้มแข็งน่าเชื่อถือ และเป็นที่รู้จัก แพร่หลาย ซึ่งส่วนหนึ่ง เป็นของอุสตาซฟารีด ลินเดอร์ผู้ที่ได้ให้ทัศนะว่า “อับดุลลอ ฮฺ อิบนุ สะบะอฺเป็นชาวยิว และเป็นผู้ก่อตั้งแนวคิดสํานัก ชีอะฮฺ” (Tu‘aimah, 1404/1983: 82 อ้างจาก‘Abd alRahman al-Badawi, n.d. Mazahib al-islamiyah,2: 10 ) แนวคิดของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ (1) แนวคิดอัลวะศอยาวัรรอจอะฮ (‫)ﺍﻟﻮﺻﺎﻳﺎ ﻭﺍﻟﺮﺟﻌﺔ‬ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ แนวคิดอัลวะศอยา หมายถึง เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ ) เป็นผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากท่านรสูล ( ศ็อลฯ)9ให้ เป็นผู้นํา(เคาะลีฟะฮฺ )คนต่อไป ในขณะที่ท่ านยังมีชีวิ ต เขาได้เผยแพร่ แนวคิดนี้อย่างกว้างขวาง ในขณะที่เขา 7

อ่านว่า “หะรอกะฮฺ อัตตะวีล อินดัลยะฮูด” เป็นชื่อขององค์กรของชาวยิว ( อ.ฮ ) อ่านว่า อะลัยฮิสสะลัม เป็นการพรภาวนาต่อท้ายชื่อของบรรดานบี มะลาอิ ก ะฮฺ และ ภิ ริ ยาท่ า นนบี มู ฮั ม มั ด มี ค วามหมายว่ า “ขอให้ อั ล ลอฮฺ (สุบฯ) ทรงให้ความสันติแด่ท่าน” 8 ( ศ็อลฯ) อ่า นว่า .เป็ นการพรภาวนาต่อ ท้ายชื่อของศาสดามุ ฮัมมั ด มี ความหมายว่า “ขอให้อัลลอฮฺ ( สุบฯ ) ทรงสดุดีและให้ความสันติแด่ท่าน” เป็นมารยาทที่ชาวมุสลิมควรกล่าวทุกครั้ง ที่มีการกล่าวถึงท่านศาสดามุฮัมมัด 7

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

อาศัยอยู่ในเมืองอียิปต์ เขาได้กล่าวว่า “แท้จริงท่านรสูล (ศ็อลฯ) ได้สั่งเสียเคาะลีฟะฮฺอะ (ร.ฎ) รับตําแหน่งเป็น เคาะลี ฟ ะฮฺ ท่ า นรสู ล (ศ็ อ ลฯ) เป็ น นบี แ ละรสู ล คน สุดท้าย ส่วนเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) เป็นผู้ที่รับสั่งเสียคน สุดท้า ย และท่ านมีสิ ทธิ์เป็นเคาะลีฟะฮฺ มากกว่า บุคคล อื่นๆ ส่วนเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) มีความสุดโต่ง ที่ได้ ล่วงล้ําสิทธิ์ของเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ในการเป็นเคาะ ลีฟะฮฺ (Ibn Kathïr,1408/1988//7: 184) อับดุลกอฮิรฺ อัลบัฆ ดาดี ซึ่ งเป็น นักปราชญ์ใ น ฮิจเราะฮฺศตวรรษที่ 4 เสียชีวิตปี ฮ.ศ 423 ได้กล่าวว่า “หลั ง จากเคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ) เสี ย ชี วิ ต โดยถู ก ฆาตกรรม กลุ่มอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺได้กล่าวอ้างว่า ท่า นมิไ ด้ ถู กฆาตกรรม ที่ ถูก ฆาตกรรมนั้ น คือชั ยฏอนที่ แปลงกายเป็ น ตั ว เคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ) ในขณะที่ ฆาตกรรมนั้น เคาะลีฟะอฺอะลี (ร.ฎ ) ได้ขึ้นบนท้องฟ้า ซ่อนอยู่ในเมฆ เช่นเดียวกับท่านนบีอีซา (อ.ฮ) ในขณะที่ผู้ ทรยศจะสั ง หารท่ า น มี ชั ย ฏอนแปลงกายเป็ น ตั ว ท่ า น ความจริงท่านมิได้ถูกฆาตกรรม ในขณะนั้นท่านได้พํานัก อยู่บนท้องฟ้า (Tu‘aymah, 1404/1983: 82 อ้างจาก ‘Abd al-Qahir al-Baghdadi, n.d.: 233) การกล่าวอ้าง ของ อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ ที่ มี ต่ อ เคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ) เช่ นนั้ นเนื่ องจากอั บดุ ลลอฮฺ อิ บนุ สะบะอฺ ได้ รั บ อิทธิพลจากชาวยิว ซึ่งเป็นผู้ที่สุดโต่ง และมีแนวคิดที่ร้าย ที่สุดต่อเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) กล่าวอ้างว่าเขาเอง เป็นน บี ส่ ว นเคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ ) เป็ น พระเจ้ า เผยแพร่ แนวคิดนี้ในเมืองกูฟะฮฺจนชาวกูฟะฮฺได้รับอิทธิพลจากเขา จึงเป็นพรรคพวก เมื่อเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ทราบข่าว เช่นนั้น ท่านก็บัญชาให้เผาพวกของอิบนุ สะบะอฺ โดย การเผาในที่ลุ่มสองแห่ง (Tu‘aymah,1404/1983: 8182, 86) อั ล กิ ช ชี ย์ ไ ด้ ร วบรวมสายรายงานบรรดานั ก ประวัติศาสตร์อิสลามในฮิจญ์เราะฮฺศตวรรษที่ 4 และได้ พบว่าอับดุรเราะหฺมาน อิบนุ อุบัยดิลละฮฺ อิบนุ สินาน ได้ ก ล่ า วว่ า ท่ า นได้ ยิ น ญะอฺ ฟั รฺ ไ ด้ ก ล่ า วว่ า แท้ จ ริ ง อั บ ดุล ลอฮฺ อิ บนุ สะบะอฺ ได้ ก ล่ า วอ้า งว่ า เคาะลี ฟ ะฮฺ อะลี (ร.ฎ ) เป็ นพระเจ้ า และเขาเป็น นบี หลัง จากนั้ นเคาะ ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ ) ทราบเรื่องนี้อย่างดี ต่อมาท่านก็ถาม เขาเอง เขาก็ ส ารภาพและยอมรั บ หลั ง จากนั้ น เคาะ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ ) ได้กล่าวว่า “โอ้ความพินาศ! และ มารดาของท่านเป็นคนพินาศเช่นกัน” ครั้นต่อมาเคาะ ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) สั่งให้เขาเตาบะฮฺ10 ภายในเวลาสามวัน เขาก็ปฏิเสธ ไม่ยอมเตาบะฮฺ ครั้นต่อมาเคาะลีฟะฮฺอะลี ลี (ร.ฎ) ได้จําคุกเขาและสั่งให้กอนบัรฺซึ่งเป็นทาสของเคาะ ลี ฟ ะฮฺ อะ ลี (ร .ฎ ) สั งห า ร เ ขา ณ ม ะ ดา อิ น (Ibn Kathïr,1408/1988/7: 183) สอดคล้องกับหะดีษของ ท่านรสูล (ศ็อลฯ) ว่า (6922 :‫ﻝ ﺩﻳﻨﻪ ﻓﺎﻗﺘﻠﻮﻩ )ﺍﻟﺒﺨﺎﺭﻱ‬‫ﻣﻦ ﺑﺪ‬ ความว่า: ผู้ใดที่ได้เปลี่ยนศาสนาของ เอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) จงฆ่าพวกเขา เสีย (บันทึกโดยอัลบุคอรีย์หมายเลข 6922) (2) แนวคิดอัรรอจอะฮฺซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ อั ร รอจอะฮฺ หมายถึ ง ท่ า น รสู ล (ศ็ อ ลฯ) จะ กลับสู่โลก เช่นท่าน นบีอีซา อิบนุ มัรฺยัม (อ.ฮ) ยาซีด อัล ปั ก อะสี ย์ ไ ด้ ก ล่ า วว่ า “ในขณะที่ อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ อาศัยอยู่ในเมืองอียิปต์ เขาได้พบกับผู้ชายท่าน หนึ่งและ ถามเขาว่า “จริงหรือท่าน นบีอีซา อิบนุ มัรฺยัม (อ.ฮ) จะกลั บ สู่ โ ลกอี ก ครั้ ง ?” ผู้ ช ายท่ า นนั้ น ตอบว่ า “ใช่” อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺก็กล่าวต่อว่า “ท่านรสูล ( ศ็อลฯ) มีความประเสริฐและมีเกียรติยิ่งกว่าท่านนบีอีซา อิบนุ มัรฺยัม (อ.ฮ) อีก ทําไมทั้งที่ท่านปฏิเสธว่าท่านรสูล ( ศ็อลฯ) จะกลับสู่โลกอีกเช่นท่านนบีอีซา อิบนุ มัรฺยัม (อ.ฮ )” (Ibn Kathïr,1408/1988/7:184) หลังจากเคาะ ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการแล้ว ท่านได้ อ่านคุฏบะฮฺ11ต่อสาธารณชน ขณะนั้นอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺได้ลุกขึ้นยืนและกล่าวต่อท่านว่า “ท่านจง 10

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

83

เตาบะฮฺ หมายถึง การกลับตัวสูเ่ อกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) เป็นการขออภัยโทษ จากพระองค์ และเป็นศาสนกิจที่มุสลิมควรปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจําวันโดย กล่าวว่า ( ‫ ) أ ا وأﺕ ب إ‬เนือ่ งจากมนุษย์บนโลกนี้ไม่พน้ จากการ กระทําบาป นอกจากท่านรสูล( ศ็อลฯ ) การเตาบะฮฺที่เอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) ทรงรับและจะลบล้างบาปนั้นต้องครบองค์ประกอบสามอย่างด้วยกันคือ 1) การละทิ้งสิ่งที่ได้กระทํา 2) มีความสํานึกผิดต่อการกระทําจนน้ําตาไหล 3) มี ความตั้งใจอย่างสูงจะไม่กระทําอีกต่อไป 11 คุฏบะฮฺ หมายถึงการเสวนาธรรม หรือการกล่าวโอวาท

คลานบนพื้นดิน เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ได้กล่าวตอบว่า “จงเกรงกลัวต่อเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) เถิด !” แล้วเขา ได้กล่าวอีกว่า “ท่านสามารถคลานเหมือนมะละอิกะฮฺ12” เคาะลีฟะฮฺ อะลี (ร.ฏ) ได้กล่าวตอบอีกว่า “จงเกรง กลัวอัต่อเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ)เถิด !” เขาได้กล่าวอีกว่า “ท่านเป็นผู้สร้างโลกและสิ่งที่ถูกสร้างทั้งหลาย และเป็น ผู้ ใ ห้ ปั จ จั ย ยั ง ชี พ (ริ ซ กี ) ” หลั ง จากนั้ น เคาะลี ฟ ะฮฺ อะลี (ร.ฎ) ได้ มี คํ า สั่ ง ให้ ป ระหารชี วิ ต เขา (al-Ghabban, 1419/199972:725) บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ (1)ในสมัยเคาะลีฟะฮฺอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ( ร.ฎ ) เคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ)ได้ปกครองอาณาจักร อิ ส ลามเป็ น ระยะเวลา 12 ปี ในช่ ว งหกปี แ รก สถานการณ์ราบรื่น สงบและสันติ แต่เมื่อเข้าสู่ช่วงหกปี สุดท้ายก็เริ่มไม่สงบ ในต้นปี ฮ.ศ. 34 สถานการณ์ได้เริ่ม เปลี่ย นแปลงอย่า งรุน แรง ความปั่น ป่ วน ระส่ํา ระสาย และความไม่สงบได้อุบัติขึ้นในอาณาจักรอิสลามเนื่องจาก สาเหตุ ห ลายๆประการหนึ่ ง จากนั้ น คื อ เคาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษมาน (ร.ฎ) ถูกมองว่าท่านได้แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่หรือผู้มี ตําแหน่ง ส่วนใหญ่ จากบรรดาเครือญาติของท่านจึงทํา ให้ผู้ที่มีจิตใจไม่บริสุทธิ์ที่ได้รับอิทธิพลจากอับดุลลอฮฺ อิบ นุ สะบะอฺ ฉกฉวยโอกาส ยุยงให้ประชาชนชาวมุสลิมเกิด ความไม่มั่นใจและไม่พอใจต่อเคาะลีฟะฮฺอุษมาน ( ร.ฎ) (al-Tabari,1407/1987/2: 647; Mustafa, 1975:94) กลุ่ ม อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ ไ ด้ ก่ อ การร้ า ย กล่าวหา และใส่ร้ายบรรดาข้าราชการของเคาะลีฟะฮฺอุ ษมาน (ร.ฎ) เนื่ อ งจากพวกเขาอยากจะปกครอง บ้านเมืองด้วยตนเอง (al-Buwaiti,1412/1991: 369)ซึ่ง เคยร้ อ งทุ ก ข์ ต่ อ เคาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) แต่ ท่ า นไม่ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มนี้ กลุ่มนี้จึงมีความตั้งใจ อย่างสูงสุดที่จะก่อความไม่สงบและได้วางแผนจะลอบ สั ง หารเคาะลี ฟ ะฮอุ ษ มาน (ร.ฎ) ในที่ สุ ด ด้ ว ยความ ประสงค์ของเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) แผนการของเขาก็ บรรลุผล (Ibn Kathir, 1408/1988/7: 203 ) 12

มะละอิกะฮฺ หมายถึง เทวทูต ( อาลี ฮาลาบี: 257 ) ถูกสร้างด้วยรัศมี และมีความรักภักดีต่อเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) ตลอด และสามารถจะแปลง กายตามความปะสงค์ของเอก


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

84

อบูมะอฺชัรฺและผู้อื่นซึ่งเป็นสายรายงานที่ถูกต้อง รายงานว่า เมื่ อปี ฮ.ศ. 34 มีป ระชาชนชาวมุ สลิม จาก เมืองกูฟะฮฺที่ได้รับอิทธิพลจาก อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ (Ibn Kathir, 1408/1988/7: 203) ได้ประท้วงอย่างแรง ต่อผู้นําแคว้นกูฟะฮฺที่มีชื่อว่าสะอีด อิบนุ อัลอาศ และบีบ บั ง คั บ ให้ เ คาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) ปลดผู้ นํ า แคว้ น ดังกล่าวออกจากตําแหน่งแล้วแต่งตั้งคนใหม่ที่มิใช่เป็น ญาติของท่าน(Mahmud,1405/1985 : 233 ) ในปี ฮ.ศ. 35 กลุ่มของ อับดุ ลลอฮฺ อิ บนุ สะบะอฺจากเมืองกูฟะฮฺ บัศเราะฮฺและอิยิปต์ได้ยกขบวนมายังเมืองมะดีนะฮฺ มา ในรูปแบบจะทําพิธีอุมเราะฮฺ13 เมื่อเคาะลีฟะฮฺอุษมาน ทราบเรื่องดังกล่าวท่านก็บัญชาให้เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ไปเจรจากับพวกเขาณ หมู่บ้านอัลญุหฺฟะฮฺ พวกเขาได้ กล่าวหาและใส่ร้ายป้ายสีเคาะลีฟะฮฺอุษมาน(ร.ฎ)ว่า “ได้ เผาคัมภีร์อัลกุ รอาน ละหมาดไม่กอศัรฺ (ย่อ) ในขณะที่ ท่ า นอยู่ ณ มั ก กะฮฺ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง บรรดาผู้ นํ า แคว้ น และ เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่เป็นคนหนุ่ม ทิ้งหรือปลดบรรดาเศาะ หาบะฮฺ ที่อาวุโส และให้สิทธิพิเศษต่อบนีหรือตระกูลอุ มัยยะฮฺเหนือกว่าผู้อื่น เมื่อเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ทราบ เช่ นนั้ นท่ า นได้ป กป้องและแก้ต่ างข้ อกล่า วหาดัง กล่ า ว ด้วยการอธิบายให้ชัดเจนเพื่อให้เข้าใจดังต่อไปนี้ 1) การที่ เ คาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) ได้ เ ผา คัมภีร์อัลกุรอาน นั้น ท่านได้เผาเฉพาะส่วนที่คิดว่าจะ เกิดความขัดแย้ง (อิคติลาฟ) เนื่องจากกลัวว่าประชนชาว มุสลิมจะเกิดความแตกแยก ในอนาคต สําหรับส่วนอื่นๆ ของคัมภีร์ที่ถูกต้องตามมติเอกฉันท์ท่านมิได้เผา 2) การที่เคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ ) ละหมาดไม่ กอศัรฺ (ย่อ) ในขณะที่ท่าน อยู่ ณ มักกะฮฺนั้น เนื่องจาก ท่านได้ตั้งใจ (นิยัติ) จะคงที่ตลอด( มุกีม) อยู่ ณ ที่นั่น 3) การที่เคาะลี ฟ ะฮฺ อุษ มาน (ร.ฎ) ได้ แ ต่ ง ตั้ ง บรรดาผู้นํ า แคว้น และเจ้ า หน้ าที่ ส่ ว นใหญ่ เป็ นคนหนุ่ ม เนื่ อ งจากบุ ค คลเหล่ า นั้ น มี บุ ค ลิ ก เป็ น คนดี (ศอลิ หฺ ) มี คุณลักษณะยุติธรรม และไว้ใจได้ และท่านตามแบบอย่าง ของท่านรสูล (ศ็อลฯ) กล่าวคือ ท่านเคยแต่งตั้งท่านอิ 13

อุมเราะฮฺหมายถึงการทําพิธเี หมือนกับการทําพิธีฮัจย์ทกุ ประการ ยกเว้น การพํานัก ณ ทุง่ สนามอะรอฟะฮฺ ค้างคืนทีม่ ินา และมุษดะลีฟะฮฺ สามารถทํา ได้ตลอด ส่วนพิธีฮัจย์ทําเฉพาะวัน และเดือนทีก่ ําหนดเท่านั้น คือ ตั้งแต่วนั ที่ 9-13 ของเดือนซุลหิจญะฮฺเท่านั้น

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

ตาบ อิบนุ อุสัยดฺ (ร.ฎ) เป็นผู้นําแคว้นมักกะฮฺ ขณะที่เขา มีอายุเพียง 20 ปี 4) การที่ เ คาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ ) ให้ สิ ท ธิ พิ เศษต่ อ บนี อุ มั ย ยะฮฺ นั้ น ถื อ ได้ ว่ า ท่ า นได้ ป ฏิ บั ติ ต าม แบบอย่างของท่านรสูล (ร.ฎ)เช่นกัน ในการให้สิทธิพิเศษ แก่ชาวกุร็อยช์ ซึ่งในยุคต่อมาเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ได้ กล่าวพาดพิงเรื่องนี้ว่า “ข้าพเจ้าขอสาบานต่อเอกองค์ อัลลอฮฺ (สุบฯ) หากว่ากุญแจสวรรค์อยู่ในกํามือข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเปิดให้บนีอุมัยยะฮฺเข้าสวรรค์” ท่านอธิบาย อย่างชัดเจนให้พวกเขา เข้าใจต่อการกระทํา ของเคาะ ลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) ท่านยังได้ตักเตือนให้เคาะลีฟะฮฺอุ ษมาน (ร.ฎ) เคร่งครัดและเด็ดขาดตามแบบอย่างของ ท่านรสูล (ศ็อลฯ) และเคาะลีฟะฮฺผู้ทรงธรรมทั้งสองท่าน ได้แก่ เคาะลีฟะฮฺอบูบักรฺอัศศิดดิก และเคาะลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบนุ อัลค็อฏฏอบ (ศ็อลฯ) ถึงแม้ว่าสถานการณ์จะเป็น เช่ น ไรก็ ต าม หลั ง จากนั้ น พวกเขาต่ า งก็ แ ยกย้ า ยไปยั ง เมืองที่ตนอาศัย ครั้ น ต่ อ มาไม่ น านกลุ่ ม ของอั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ จากเมืองบัศเราะฮฺ กูฟะฮฺ และอิยิปต์ได้ยกขบวน มาในรูปแบบจะประกอบพิธีหัจย์ และได้แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ย่อย คือ กลุ่มอับดุลเราะหฺมาน อุดัยสฺ อัลบะละวีย์ กลุ่ม กะนานนะฮฺ อิบนุ บะชัรฺ กลุ่มสูดาน อิบนุ หัมรอน และ กลุ่มกุตัยเราะฮฺ อัสสะกูนีย์ กลุ่มเหล่านั้นได้ร่วมตัวกัน เป็ น กลุ่ ม ใหญ่ ก ลุ่ ม เดี ย วกั น ซึ่ ง นํ า โดยอั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺและอัลฆอฟิกีย์ อิบนุ หัรบ์ มีจุดประสงค์คือจะ แต่งตั้งคนใดคนหนึ่งจากเศาะหาบะฮฺสามท่านได้แก่ เคาะ ลีฟะฮฺอะลี ซุบัยรฺ อิบนุ อัลเอาวาม และฏอลหะฮฺ อิบนุ อุบัยดิลละฮฺ (ร.ฎ) เป็นผู้รับตําแหน่งเคาะลีฟะฮฺ สาน ต่ อ จากเคาะลี ฟ ะฮฺ เ คาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน(ร.ฎ) เสี ย ชี วิ ต หลังจากนั้นพวกเขาเข้าหา พบปะ เจรจา โน้มน้าวจิตใจ และปรึกษาหารือกับบรรดาเศาะหาบะฮฺเหล่านั้น เพื่อรับ หน้าที่เป็นเคาะลีฟะฮฺคนต่อไป ปรากฎว่าเศาะหาบะฮฺ เหล่ านั้ น ปฏิเสธและคัด ค้ า นอย่ างหนั ก หลัง จากนั้ น ไม่ นาน เกิดการล้อมบ้านของเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) (alTabari,1407/1987/2: 647) กลุ่มของอับดุลลอฮฺ อิบนุสะบะอฺ ได้กล่าวอ้าง และครหาว่า เคาะลีฟะฮฺอะลี ฏอลหะฮฺ และอั ซซุบัย รฺ (ร.ฎ) เป็นผู้สนับสนุน และส่งเสริมอุดมการณ์กลุ่มของ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

85

เขา และได้กล่าวว่า “อาณาจักรอิสลามตอนนี้กําลังตกอยู่ ในสภาพที่ปั่นป่วน ระส่ําระสาย วุ่นวาย และบรรดาเศาะ หาบะฮฺสามท่านนั้น ต่างก็มีความประสงค์จะเปลี่ยนเคาะ ลีฟะฮฺใหม่เช่นกัน” (al-Hamd,n.d.:146-149) สัยฟ์ อิบนุ อุมัรฺ อัตตะมิมีย์ได้รายงานว่า ในช่วง สถานการณ์เช่นนี้เป็นโอกาสดีสําหรับ อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ที่จะโน้มน้าวจิตใจประชาชนชาวมุสลิม โดยการ ตระเวนและเผยแพร่กุศโลบาย“การชักชวนการกระทํา ความดี และห้ า มการกระทํ า ความชั่ ว ” จึ ง ทํ า ให้ ประชาชนบางส่ ว นมี ค วามสนใจ โดยเฉพาะผู้ ที่ ไ ร้ การศึ ก ษาและความศรั ท ธาเสื่ อ มโทรมดั ง กล่ า วแล้ ว ข้างต้น สอดคล้องกับทัศนะของอะหมัดอามีนที่ได้กล่าว ว่า กลุ่มเคาะวาริจญ์อัสสะบะอิยะฮฺได้กระจายอย่างลับๆ ในปลายสมั ย เคาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) ซึ่ ง กลุ่ ม นี้ มี นโยบายหลั ก คื อ การปลดเคาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) จ า ก ตํ า แ ห น่ ง แ ล ะ แ ต่ ง ตั้ ง เ ค า ะ ลี ฟ ะ ฮฺ ค น ใ ห ม่ ประวัติศาสตร์อิสลามได้บันทึกว่ากลุ่มเคาะวาริจญ์เริ่ม เกิดขึ้นในสมัยปลายของการปกครองเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) แต่ขณะนั้นยังไม่กระเดื่องนัก ต่อมาอับดุลลอฮฺ อิบ นุ สะบะอฺได้เผยแพร่ แนวคิดดังกล่าว และสร้างกระแส ไปทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ทั่ ว อาณาจั ก รอิ ส ลามเริ่ ม ตั้ ง แต่ คาบสมุทรอาหรับ จนถึงเมืองบัศเราะฮฺ กูฟะฮฺ และชาม แต่ชาวชามส่วนใหญ่ปฏิเสธ และขับไล่เขาออกจากเมือง แห่งนี้ จุดยืนของชาวชามเช่นนี้ เนื่องจากแคว้นชามอยู่ใต้ การปกครองของท่านมุอาวิยะฮฺ อิบนุ อบีสุฟยาน (ร.ฎ) ซึ่งท่านสามารถควบคุมประชาชนของท่านอย่างทั่วถึง จึง ทําให้ชาวชามมีจุดยืนที่เด็ดขาด ไม่สับสน และไตร่ตรอง อย่ า งรอบคอบ มี ค วามแตกต่ า งกั บ กั บ ชาวแคว้ น อื่ น ๆ (Ibn Kathir, 1408/1988/7: 203) (2) ในสมัย เคาะลีฟะฮฺอะลี อิบนุ อบีฎอลิบ (ร.ฎ) เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ)ได้ดํารงตําแหน่งในช่ว ง สถานการณ์บ้านเมืองวุ่นวาย สับสน ระส่ําระสาย และไม่ สงบจึ ง ทํ า ให้ ท่ า นลํ า บากและยุ่ ง ยากในการควบคุ ม สถานการณ์ กล่าวคือท่านไม่สามารถระบุและดําเนินคดี กั บ ฆาตกรที่ สั ง หารเคาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) ตามกฎ

ชะรีอะฮฺ14 ได้ หลังจากท่าน ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็น ทางการประมาณสี่เดือน ท่านหญิ งอาอิ ชะฮฺ บิ นตฺ อบี บักรฺ (ร.ฎ) เรียกร้องให้เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ดําเนินคดี ต่อกลุ่มฆาตกรที่สังหารเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ)ในขณะ นั้ น สถานการณ์ ร อบด้ า นเต็ ม ไปด้ ว ยความวุ่ น วาย ระส่ํ า ระสาย ท่ า นหญิ ง อาอิ ช ะฮฺ แ ละพรรคพวกได้ ย ก ขบวนมาจะเจรจา ปรองดองและปรึกษาหารือกับเคาะ ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) เพื่อหาวิถีทางที่จะคลี่คลายสถานการณ์ ที่ ปั่ น ป่ ว น และหลี ก เลี่ ย งสงคราม (Ibn Khaldun, 14013/1992: 579ในเมื่อทั้งสองฝ่าย(ฝ่ายเคาะลีฟะฮฺอะ ลี กับฝ่ายท่านหญิงอาอิชะฮฺ (ร.ฎ) สามารถตกลงกันได้ ต่างฝ่าย ต่างมีความรู้สึกปลื้มปิติและมีความสุขเป็นอย่าง ยิ่ ง ครั้ น ต่ อ มาเคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ) ได้ ป ระกาศต่ อ สาธารณชนว่า “โอ้ ประชาชนชาวมุส ลิมทุ กท่ านพรุ่ง นี้ พวกเราจะเดินทางกลับบ้าน เนื่องจากเราได้ตกลงกันแล้ว ว่าจะปรองดองกัน ส่วนกลุ่มฆาตกรที่สังหารเคาะลีฟะฮฺอุ ษมาน (ร.ฎ) ห้า มเดิ น ทางกลับ พร้อมกับ พวกเราอย่ า ง เด็ดขาด” เมื่อกลุ่มฆาตกร ซึ่งนําโดยอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ มีประมาณ สองพันกว่าคนโดยไม่มีเศาะหาบะฮฺ แม้แต่ท่านเดียว ทราบเช่นนั้น พวกเขาได้ประชุมและมี มติ เอกฉั น ท์ว่ า “พวกเราจะพยายามจุ ดไฟสงคราม ระหว่างสองฝ่าย (เคาะลีฟะฮฺอะลีและท่าน หญิงอาอิชะฮฺ (ร.ฎ ) พวกเราอย่าปล่อยให้สองฝ่ายนี้ร่วมมือกันได้อย่าง เด็ดขาด หากว่าสองฝ่ายนี้มีเอกภาพหรือความปรองดอง กัน พวกเราจะต้องประสบความเดือดร้อนอย่างแน่นอน” (Ibn Kathïr, 1408/1988/7 : 249-251) ขณะที่ทั้งสองฝ่ายกําลังเดินทางอย่างสันติ ก่อน จะถึงเวลารุ่งอรุณ กลุ่มของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺได้ โจมตีกลุ่มของท่านหญิงอาอิชะฮฺ (ร.ฎ) ทําให้กลุ่มท่าน หญิงตกตะลึงและเข้าใจว่ากลุ่มของเคาะลีฟะฮฺอะ (ร.ฎ) เป็นกลุ่มที่ละเมิดสัญญา เมื่อเป็นเช่นนั้น กลุ่มท่านหญิง จึงได้โจมตีกลับอย่างรุนแรง ผลสุดท้ายปรากฏว่าฝ่ายของ เคาะลี ฟะฮฺ อะลี (ร.ฎ) ได้ รั บชั ย ชนะ และเกิ ดการนอง เลื อ ดระหว่ า งมุ ส ลิ ม ด้ ว ยกั น อย่ า งทารุ ณ ปรากฏมี ผู้เสียชีวิต และได้รับบาดเจ็บอย่างสาหัสมากมาย (Ibn Kathïr, 1408/1988/7: 249-251 14

กฎชะรีอะฮฺหมายบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายอิสลาม


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

86

หลังจากสงครามอูฐได้เสร็จสิ้น อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ไม่ได้หยุดยั้งจากการก่อการร้ายที่เป็นเจตนาของ เขาโดยการยุยงบรรดาผู้เข้าร่วมสงครามฝ่ายของเคาะ ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ขอร้องให้ท่านแบ่งทรัพย์สินของฏอล หะฮฺ และซุบัยรฺ (ร.ฎ) ที่ได้รับจากการชัยชนะในสงคราม อูฐ แต่เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ปฎิเสธคําเรียกร้องของพวก เขาเหล่านั้น อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺและพรรคพวก ได้ ฉวยโอกาสกล่ า วใส่ ร้ า ยป้ า ยสี แ ละสร้ า งความสงสั ย เกี่ยวกับเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) หลังจากนั้นไม่นานเคาะ ลีฟะฮฺอะ (ร.ฎ) ได้ทราบเรื่องที่เกิดขึ้น ท่านจึงได้เดิน ทางเข้าเมืองบัศเราะฮฺ และได้แบ่งทรัพย์สินจากคลังของ รัฐ (บัยติลมาล)ให้แก่ผู้เรียกร้องแต่ถึงแม้ว่าท่านได้ปฏิบัติ เช่นนั้น อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺและพรรคพวก ก็ยังไม่ ยอมหยุดนินทาและใส่ร้ายป้ายสีท่าน(Zahir,1404/1984: 158-159) อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ พยายามสร้างความ เอกภาพกลุ่มผู้ร้าย สร้างความแตกแยกภายในหมู่มุสลิม ด้ ว ยกั น สร้ า งความห่ า งเหิ น ระหว่ า งเคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ ) กับผู้ที่มีจิตใจที่บริสุทธิ์จนพวกเขาเหล่านั้นมีความ เข้าใจผิดต่อท่าน เช่นแม่ทัพทหาร และที่ปรึกษาอาวุโส เป็นต้น กล่าวได้ว่าหากพิจารณาถึงบทบาทอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ และพรรคพวกอย่างผิวเผินแล้วจะเห็นว่า ท่านเป็นผู้สนับสนุนเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) แต่ความจริง แล้ว ท่านเป็นศัตรู (Zahir,1404/1984: 158-159) การวิเคราะห์สายรายงานกี่ยวกับอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ อิบนุ กะษีรฺยอมรับสายงานของสัยฟ์ อิบนุ อุมัรฺ อั ต ตะมิ มี ย์ และถื อ ว่ า ถู ก ต้ อ งโดยเฉพาะในเรื่ อ งการ ฆาตกรรมเคาะลีฟะฮฺอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน (ร.ฎ) และ สัยฟ์ ได้ร วบรวมจากสายรายงานที่หลากหลายให้เป็ น สายรายงานเดียวกัน สายรายงานเหล่านั้นประกอบด้วย สายรายงานของเคาะลีฟะฮฺ อิบนุ ค็อยยาฏ ซึ่งเป็นครู ท่านหนึ่งของบุคอรีย์ ซึ่งเป็นสายรายงานที่เข้มแข็งและ หนักแน่น อะหฺมัด รอตีบ อัมรูชีย์ได้กล่าวว่า สัยฟ์ เป็น นักประวัติศาสตร์ที่มีความเชี่ยวชาญ และอัฏฏอบะรีย์ได้ ยืนยันและกล่าวว่า สัยฟ์ มีความเชี่ยวชาญประวัติศาสตร์

ในยุคต้น ดร. อัมมารฺ อัฏฏอลิบีย์ได้ยืนยันและกล่าวว่า สั ย ฟ์ เป็ น นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นยุ ค ต้ น เนื่ อ งจากท่ า น เสีย ชีวิ ตในสมัย การปกครองสมั ยอั รรอชี ด ปีฮ .ศ. 193 และท่านเป็นคนหนึ่ง ที่มีส่วนร่วมกับอัตติรฺมิษีย์ที่รายงาน หะดีษ นั ก หะดี ษและนั ก ประวัติ ศ าสตร์ส่ ว นใหญ่ย อม รับสายรายงานของ สัยฟ์ ในเรื่องที่มีความเกี่ยวกับอับ ดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ อิบ นุ หิ บ บาน อั ษฺ ษ ะฮะบี ย์ และอิ บ นุ หะญั รฺ บุคคลเหล่านั้นไม่ยอมรับสายรายงานของสัยฟ์โดยอ้าง เหตุ ผ ลว่ า เป็ น สายรายงานที่ ไ ม่ เ ข้ ม แข็ ง แต่ พ วกเขาก็ ยอมรับการรายงานของเขาที่เกี่ยวข้องกับ อับดุลลอฮฺ อิบ นุ สะบะอฺ เหมื อนท่ า นอื่ น เช่ น กั น (Ibn Kathir, 1408/1988/7: 203) ทัศนะของอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺและตาบิอีน ที่ มีต่อ อับดุลลอฮฺ อิบนุสะบะอฺ 1.1) อั ช ชะอฺ บี ย์ เกิ ด ใกล้ ปี ฮ .ศ. 20 และ เสี ย ชี วิ ต ปี ฮ .ศ.103 ตรงกั บ ค.ศ. 721 ได้ ร ายงานว่ า “บุ ค คลที่ ห ลอกลวงคนแรก คื อ อิ บ นุ สะบะอฺ ” (alGhabban,1419/1999/2 :725) อิบนุสิรีนได้อธิบายการรายงานของ อัชชะอฺบีย์ ว่า “อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ” เป็นบุคคลท่านแรกที่เปิด ประตูวิกฤติการณ์ที่ยืดเยื้อที่นําไปสู่การหลอกหลวง (alGhabban, 1419/1999/2: 725) 1.2) กอตาดะฮฺ อิ บ นุ ดะอามะฮฺ อั ส สะดู สี ย์ เสียชีวิตปีฮ.ศ.117 ตรงกับ ค.ศ. 735 ซึ่งเป็นตาบิอีนและ นั ก อรรถาธิ บ ายที่ จํ า อั ล กุ ร อานเป็ น เลิ ศ ได้ ร ายงานใน หนังสืออรรถาธิบายที่มีชื่อ อัตตัฟสีรฺ อัฏฏอบะรีย์ (alTafsir al-Tabari) ซึ่งสอดคล้องกับทัศนะของอัฎฎอบะ รี ย์ ที่ ก ล่ า วไว้ ใ นหนั ง สื อ อรรถาธิ บ ายของท่ า นว่ า “อัสสะบะอียะฮฺและอัลหุรูรียะฮฺ ผู้ที่บูชาเจว็ด ผู้อุตริใน ศาสนาของเอกองค์ อัล ลอฮฺ (สุ บ ฯ) ประกอบด้ ว ยชาว คริสต์ ยิว มะญูสีย์ (บูชาไฟ) และกอดะริยะฮฺ15 เป็นต้น กําเนิดของกลุ่มเหล่านั้นเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) ได้ตรัสว่า

15

กอดะริยะฮฺ หมายถึงลัทธิที่มีหลักการปฏิเสธการกําหนดสภาวะของเอก องค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) และอัลกุอานนั้นคือสิ่งที่ถูกสร้าง มิใช่คําตรัสของพรองค์ (มูนีร มูฮําหมัด และ นาอีม บุญมาเลิศ, 2530: 35)


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

87

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

2) ทัศนะของกลุ่มชีอะฮฺที่มีต่ออับดุลลอฮฺ อิบนุสะบะอฺ 2.1) อบู ญะอฺฟั รฺ อั ศ ศอดู ก อิ บ นุ บะบะวั ย ฮฺ อั ล กุ มี ย์ ซึ่ ง เป็ น นั ก หะดี ษ สํ า นั ก คิ ด ชี อ ะฮฺ ที่ อ าวุ โ ส (เสียชีวิตปีฮ.ศ.381 ตรงกับ ค.ศ. 991) ท่านได้กล่าวว่า “เคาะลีฟ ะฮฺ อะลี (ร.ฎ) ได้ คั ด ค้ านอย่ างหนั ก แน่ น ต่ อ ความว่า: ส่วนบรรดาผู้ที่ในหัวใจของพวก แนวคิดของ อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ และเป็นบุคคลแรก เขามีการเอนเอียงออกจากความจริงนั้น ที่มีความสุดโต่งที่สุด ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์อิสลาม” เขาจะติดตามโองการที่มีข้อความเป็นนัย (Ibn Amahzün, 1420/1999/1:299 อ้างจาก Ibn จากคัมภีร์ ทั้งนี้เพื่อแสวงหาความวุ่นวาย ‘Asãkir, n.d. /7: 331) (เพื่ อให้ เกิด ความวุ่น วายในหมู่ผู้ศ รัทธา 2.2) อิบนุ อัรฺมุรตะฎอ ซึ่งเป็นนักปราชญ์ชีอะฮฺ ด้ ว ยการตี ค วามโองการที่ เ ป็ น นั ย ให้ เ ฉ อัซซัยดิยะฮฺ เสียชีวิตปีฮ.ศ. 840 ตรงกับ ค.ศ. 1436 ท่าน ออกไปจากความเป็นจริงที่พวกเขาเคย ได้กล่าวว่า “อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ เป็นบุคคลแรกที่ ได้รับมาก่อน) (สูเราะฮฺอะลาอิมรอน: 7) เป็นชีอะฮฺ ที่กล่าวอ้างว่าเคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) เป็นผู้ที่รับ 1.3) หุญัยยะฮฺ อิบนุ อะดี อัลกันดีย์ อัลกูฟีย์ ซึ่ง การสั่ งเสีย ให้รับ ตําแหน่งเคาะลี ฟะฮฺ หลังจากท่า นรสู ล เป็นตาบิอีย์ที่เชื่อถือได้ ท่านได้กล่าวว่า “ท่านได้เห็นเคาะ (ร.ฎ)เสียชีวิต” (Ibn Amahzün,1420/1999/1:299 อ้าง ลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) ยืนอยู่บนมินบัรฺ16 และได้กล่าวว่า “อิบ จาก Ibn ‘Asãkir, n.d. /7: 331) นุ สะบะอฺ เป็ น ผู้ ที่ ก ล่ า วเท็ จ เกี่ ย วกั บ เอกองค์ อั ล ลอฮฺ (สุบฯ) และรสูลของพระองค์ และหันเหจากสัจธรรม” สรุปบทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ (Ibn Amahzün, 1420/1999/1: 299) อ้างจาก Ibn ในอาณาจักรอิสลามีดังนี้ 1) บทบาทยุ ย งในการสร้ า งความแตกแยก ‘Asãkir, n.d. /7: 331) 1.4) ผู้ที่ได้รับความเป็นธรรมจากบรรดาอะฮฺลิ บรรดาชาวมุสลิม ในอาณาจักรอิสลามทั้งในสมัยปลาย สุนนะฮฺได้กล่าวว่า “อิบนุ สะบะอฺ” มีแนวคิดแบบชาวยิว การปกครองของเคาะลีฟะฮฺอุษมานและสมัยของเคาะ คือ ถือว่าการตามอารมณ์หรือตามอําเภอใจตนเองนั้นไม่ ลีฟะฮอะลี (ร.ฎ) 2) บทบาทในการสร้างความเอกภาพ บรรดา เป็นสิ่งที่ผิด ถึงแม้ว่าสิ่งเหล่านั้นจะคัดค้านกับบทบัญญัติ กฎหมายอิสลามก็ตาม ท่านเป็นผู้ที่ริเริ่มแผนการก่อการ ชาวมุสลิมที่มีจิตใจไม่บริสุทธิ และความศรัทธาอ่อนแอให้ ร้ายต่อชาวมุสลิมคือสร้างความคลุมเครือ พยายามทําให้ เกลียดชั่งเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) และบรรดาเจ้าหน้าที่ มุ ส ลิ ม หั น เหจากสั จ ธรรมที่ เ ที่ ย งแท้ และผู้ ริ เ ริ่ ม วาง ข้าราชการของท่าน 3) บทบาทในการวางแผนลอบสั ง หารเคาะ แผนการในการลอบสังหารเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ) (Ibn ลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ) จนบรรลุ ผ ล จึ ง ทํ า ให้ ท่ า นถู ก Amahzün, 1420/1999/1: 399) 1.5) นักประวัติศาสตร์อิสลามและนักปราชญ์ ฆา ตรกรรมอย่ า งโหดเหี้ ย มยั ง ไ ม่ เ คยป รา กฎใน ชาวสะลัฟ และชาวคอลั ฟได้บั น ทึก ว่ าอั บดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ ประวัติศาสตร์อิสลาม 4) บทบาทในการเผยแพร่แนวคิดหลงทางและ สะบะอฺ เป็นผู้ที่มีแผนการร้ายต่อชาวมุสลิมโดยการสร้าง ความคลุม เครือและพยายามทํา ให้ มุส ลิม หัน เหจากสั จ อุตริแก่ชาวมุสลิมที่ไร้การศึกษาและความศรัทธาอ่อนแอ ธรรมที่ แ ท้ จ ริ ง และเขาผู้ ริ เ ริ่ ม วางแผนการในกาลอบ ทั่ ว อาณาจั ก รอิ ส ลามในสมั ย นั้ น ทํ า ให้ มี ผ ลต่ อ แนวคิ ด สั ง หารเคาะลี ฟ ะฮฺ อุ ษ มาน (ร.ฎ)(Ibn Amahzün, สํ า นั ก ชี อ ะฮฺ เป็ น ที่ แ พร่ ห ลายต่ อ กลุ่ ม ชนชาวมุ ส ลิ ม บางส่วนจนถึงปัจจุบัน 1420/1999/1: 399) 5) บทบาทในการจุด ไฟสงครามระหว่า งกลุ่ ม เคาะลีฟะฮฺอะลีกับกลุ่มท่านหญิงอาอิชะฮฺ (ร.ฎ) ในการ 16 ‫ﻮ ﹶﻥ ﻣﺎ‬‫ﺘﹺﺒﻌ‬‫ﻴ‬‫ﻳ ﹲﻎ ﹶﻓ‬‫ﺯ‬ ‫ﻢ‬ ‫ﻦ ﰲ ﻗﹸﻠﻮﹺﺑ ﹺﻬ‬ ‫ﻳ‬‫ﺎ ﺍﻟﺬ‬‫﴿ﻓﹶﺄﻣ‬ ‫ﻪ﴾ )ﺁﻝ‬‫ﻳﻠ‬‫ﺗ ﹾﺄ ﹺﻭ‬ ‫ﻐﺎ َﺀ‬‫ﺑﺘ‬‫ﺍ‬‫ﺔ ﻭ‬ ‫ﻨ‬‫ﺘ‬‫ﻔ‬ ‫ﻐﺎ َِﺀ ﻟ ﹾﻠ‬‫ﺑﺘ‬‫ﻪ ﺍ‬ ‫ﺸﺒ‬  ‫ﺗ‬ (7 :‫ﻋﻤﺮﺍﻥ‬

มินบัรฺหมายถึงสถานทีอ่ ่านคุฎบะฮฺข้างหน้าสุดของมัสยิด


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

88

ทํ า สงรามอู ฐ จนทํ า ให้ บ รรดเศาะหาบะฮฺ ห ลายท่ า น เสียชีวิตและบาดเจ็บอย่างสาหัสที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ในประวัติศาสตร์อิสลาม ทั้งๆทั้งสอง (เคาะลีฟะฮฺอะลี และท่านหญิงอาอิชะฮฺ (ร.ฎ) มีความผูกพันธ์อย่างใกล้ชิด จากครอบครัวเดียวกันและได้ตกลงกันแล้วว่า ต่างคนต่าง ก็จะหาวิธีการที่จะคลีคลายสถานการณ์บ้านเมืองให้อยู่ใน สภาพที่สงบสุขเช่นเดิม 6) ท่านมีจิตวิทยาสูงในการโน้มนาวจิตใจโดยใช้ ความนุ่มนวลและกุศโลบายการชักชวนกระทําความดี และห้ามกระทําความชั่ว จึงทําให้ชาวมุสลิมบางส่วนใน เมื อ งอิ ยิ ป ต์ กู ฟ ะฮฺ และบั ศ เราะฮฺ คล้ อ ยตามมิ ไ ด้ ไตร่ตรองโดยเฉพาะมุสลิมไร้การศึกษาและความศรัทธา อ่อนแอ บทเรียน บทเรี ย นที่ ไ ด้ รั บ จากการศึ ก ษาบทบาทและ อิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺโดยสรุปดังนี้: 1) อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ เป็ น ศั ต รู อิสลามในสองสมัยเคาะลีฟะฮฺดังกล่าวข้างต้นนั้นถือว่า เป็นเรื่องปกติ เดิมท่านเป็นชาวยิว การเป็นอิสลามของ ท่านนั้นเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ธรรมชาติของชาวยิวจะ มี จิ ต ใจที่ แ ข็ ง กระด้ า งแสดงพฤติ ก รรมที่ เ บี่ ย งเบนจาก อิสลามเนื่องจากพวกเขาถือว่าตนเองเป็นตระกูลบนีอิส รออีล และมีแนวคิดว่า ตนเองเป็นประชาชาติที่มีความ ประเสริฐและเกียรติที่สูงส่ง ที่ถูกเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) คั ด เลื อกครอบครองโลก โดยเฉพาะท่ า นนบี ส่ ว นใหญ่ จากตระกูลบนีอิสรออีล 2) อับดุลเลาะฮฺ อิบนุ สะบะอฺ มีตัวตน มุอัลลัฟ ที่มีลักษณะมุนาฟิก มีบทบาทกว้างขวาง ใช้จิตวิทยาสูง ในการโน้ มน้ าวจิต ใจประชาชนในสมัย นั้น โดยใช้กุ ศโล บาย “การชักชวนกระทําความดี และห้ามกระทํา ความชั่ว” จึงทําให้ประชาชนบางส่วนสับสน ชลมุนและ คลุมเครือโดยเฉพาะประชาชนที่ไร้การศึกษา และมีความ ศรัทธาอ่อนแอหรือ ไม่มั่นคง ประชาชนเหล่านั้นคล้อย ตามโดยมิได้ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ 3) ธรรมชาติของประชาชนชาวมุสลิมที่มีความ ศรัทธาที่มั่นคง ทุกยุค ทุก สมัยตั้งแต่อดี ตจนถึงวันกิย า

มะฮฺ17 ไม่สามารถหลีกพ้นจากศัตรู เพื่อเป็นการทดสอบ ศัต รู เหล่ า นั้ น ส่ว นใหญ่ เป็ น มุน าฟิ ก (มุ ส ลิม หน้ าไว้ หลั ง หลอก) หากว่าศัตรูเหล่านั้น เป็นคนต่างศาสนิก พวกเขา จะพยายามศึก ษาเรื่ องอิ สลามให้ร อบรู้ ก ว้า งขวางและ ลึกซึ้งยิ่งกว่าชาวมุสลิม เพื่อที่จะทําลายล้างอิสลาม โดย การกล่าวหา ใส่ร้ายป้ายสีท่านรสูล (ศ็อลฯ) บรรดาภริยา และบรรรดาเศาะหาบะฮฺ(ร.ฎ ) และสร้างความคลุมเครือ สับสน ที่ปรากฏอย่างชัดเจนในโลกปัจจุบัน 4) ประชาชนชาวมุสลิมมีความจําเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมี ความรู้ อย่ างลึ กซึ้ งโดยเฉพาะความรู้ ศาสนา จากอั ล กุ ร อานและสุ น นะฮฺ เนื่ อ งจากความรู้ ศ าสนา เท่านั้น ที่ส ามารถสร้ างความศรั ทธาที่มั่นคงและตักวา (ยําเกรง ) โดยการนําหลักศาสนาเป็นบรรทัดฐานในการ ดํารงชีวิต ควรมีจุดยืนที่นุ่มนวล เด็ดขาดสอดคล้องกับอัล กุรอานและสุนนะฮฺ ถึงแม้ว่ามีความจําเป็นอยู่อย่างโดด เดี ย ว อย่ า หลงในกุ ศ โลบายหรื อ โฆษณาชวนต่ า งๆ โดยเฉพาะในโลกปัจจุบัน ควรศึกษาอย่างไตร่ตรอง และ รอบคอบ มิ ฉะนั้ นจะเป็ น เยื่ อของศั ต รู ด้ วยเหตุ นี้ เคาะ ลีฟะฮฺอุมัรฺ อิบ นุ อัลค็ อฏฏอบ (ร.ฎ) เคยเตือนว่ า เห็ น ควรอย่างยิ่งในการรู้จักบุคลิกของแต่ละคน ต้องใช้เวลา ในการศึ ก ษา โดยใช้ วิ ธี ก ารที่ หลากหลาย แต่ วิ ธี ก ารที่ ได้ผลที่สุดคือการใช้ชีวิตอยู่รวมกัน บทสรุป อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ เป็นมุอัลลัฟ และมุนา ฟิ ก จาก ครอบ ครั ว ยิ ว ชาวเมื อ งศอนอาอฺ ประเทศ เยเมน หรือเป็นที่รู้จักว่า “ อิบนุ สะบะอฺ” เข้ารับอิสลาม ในช่ ว งปลายสมั ย เคาะลี ฟ ะฮอุ ษ มาน (ร.ฎ) ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จะพยายามหาทางที่ จ ะทํ า ลายล้ า ง ศาสนาอิสลามและก่อความขัดแย้งขึ้นในสังคมมุสลิมยุค แรกเพื่อให้ประชาชนชาวมุสลิมแตกแยกออกเป็นพรรค เป็นพวกในสองสมัยแรกๆกล่าวคือ ช่วงปลายสมัยการ ปกครองของเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ ) ซึ่งเป็นช่วงเริ่ม เกิดความไม่สงบ สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากผู้ที่ได้รับอิทธิพล จากอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ ฉกฉวยโอกาส พยายาม อย่างทุกวิถีทางที่ยุยงให้ประชาชนชาวมุสลิม เกิดความ 17

วันกิยามะฮฺหรือวันอาคิเราะฮฺ หมายถึงวันสิ้นโลก


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

89

เกลียดชั่งและไม่พอใจต่อการปกครองของเคาะลีฟะฮฺอุ ษมาน (ร.ฎ) โดยกล่าวอ้างว่าท่านล่วงล้ําสิทธิของเคาะ ลีฟะฮฺอะลี(ร.ฎ) และเอื้อประโยชน์ ต่อวงศ์ตระกูลอุมั ย ยะฮฺ และได้วางแผนลอบสังหารคาะลีฟะฮอุษมาน (ร.ฎ) จนบรรลุผล ช่วงต้นสมัย เคาะลีฟะฮฺอะลี (ร.ฎ) กลุ่มฆาต รกร ซึ่ ง นํ า โดยอั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ พ ยายามทุ ก วิถีทางที่จะจุดไฟสงครามระหว่างสองฝ่าย คือฝ่ายเคาะ ลีฟะฮฺอะลี กับฝ่ายท่านหญิงอาอิชะฮฺ (ร.ฎ) ผลสุดท้าย เกิดการทําสงครามที่รู้จักกันในนาม “สงครามอูฐ” อย่าง ดุ เ ดื อ ดเกิ ด การนองเลื อ ดระหว่ า งมุ ส ลิ ม ด้ ว ยกั น อย่ า ง ทารุณ อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ เ ป็ น ผู้ นํ า กลุ่ ม เคาะ วารีจญ์ที่มีชื่อว่า“อัสสะบะอิยะฮฺ” และท่านเป็นคนแรกที ก่อตั้งสํานักแนวคิดชีอะฮฺ ซึ่งมีแนวคิดอัลวะศอยาและอัร รอจอะฮฺ ท่านมีบทบาทสําคัญในการตระเวน เผยแพร่ ความหลงทาง ความอุตริหรือบิด อะฮฺ โดยใช้กุศโลบาย “การชักชวนทําความดีและ ห้ามจากการกระทําความ ชั่ว” มาบังหน้า ทําให้ประชาชนชาวมุสลิมที่ไร้การศึกษา ความศรั ท ธาอ่ อ นแอคล้ อ ยตาม แนวคิ ด เหล่ า นั้ น ได้ กระจายทั่วราชอาณาจักรอิสลาม อะฮลิสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺและบรรดาตาบิอีน มี ทั ศ นะว่ า อั บ ดุ ล ลอฮฺ อิ บ นุ สะบะอฺ เป็ น บุ ค คลแรกที่ หลอกลวง เป็นผู้ที่กล่าวเท็จเกี่ยวกับเอกองค์อัลลอฮฺ (สุบฯ) รสูลของพระองค์ และหันเหจากสัจธรรม กลุ่มชีอะฮฺมีทัศนะว่า อับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ และเป็นบุคคลแรกที่มีความคิดสุดโต่งที่สุดที่ปรากฏใน ประวั ติ ศ าสตร์ อิ ส ลาม ที่ ก ล่ า วอ้ า งว่ า เคาะลี ฟ ะฮฺ อ ะลี (ร.ฎ) เป็นผู้ที่รับสั่งเสียตําแหน่งเคาะลีฟะฮฺหลังจากท่าน รสูล (ศ็อลฯ) เสียชีวิต นักประวัติศาสตร์อิสลามได้บันทึก ว่าอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ เป็นผู้ที่มีแผนการร้ายต่อชาว มุสลิม สร้างความคลุมเครือ พยายามจะทําให้มุสลิมหัน เหจากสัจธรรมที่เที่ยงแท้ และเป็นผู้ริเริ่มวางแผนในการ ลอบสังหารเคาะลีฟะฮฺอุษมาน (ร.ฎ)

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...

บรรณานุกรม มูนีร มูฮําหมัดและนาอีม บุญมาเลิศ. 2530. al-Islam wal ittijahat al -Munharipah.อิสลามกับ แนวความคิดบิดเบือน. กรุงเทพฯ : ชมรมศิษย์ เก่ า ศาสนวิ ท ยาสมาคมนั ก เรี ย นเก่ า อาหรั บ ประเทศไทย.ฮ.ศ.1419. พ ร ะ ม ห า คั ม ภี ร์ อั ล กุ ร อ า น พ ร้ อ ม ค ว า ม ห ม า ย ภาษาไทย. ซาอุดีอาราเบีย : ศูนย์กษัตริย์ ฟะฮัดเพื่อการพิมพ์อัลกุรอาน อัลมะดีนะฮ์ อัล มุเนาวะเราะฮฺ อาลี ฮาลาบี.มปป. พจนานุกรมไทย-อาหรับ อาหรับไทย. ปัตตานี : เบน ฮาลาบี เพรส ‘Abd al-Hafiz, ‘Abd al-Mun‘im. 1421/2001. Zahirah al-Khuruj ‘Ala al-Khulafa’ alRashidin. (H.11-40 / 661-632 M.). M.A. Thesis Faculty of Letter al- Sudan: alNeelain University. al-Bukhari, Abi ‘Abd Allah Muhammad ibn Isma‘il. 1417/1997. Sahih al-Bukhari. al-Riyad : Dar al-Salam li al-Nashr wa alTauzi‘. al-Buwaiti, MuhammadSa‘id madhan.1412/1991. Fiqh al-Sirah al-Nabawiyah. Bairut Lubnan: Dar-alfikr. al-Ghabban, Muhammad Ibn ‘Abdullah. 419/1999. Fitnah Maqtal ‘Uthman Ibn ‘Affan. Vol. 2 . al-Riyad : Maktabah al‘Abikan. al-Hamd, ‘Abd al-Qadir Shaibah. n.d. al-Adyan wa al-Firaq wa al- Mazahib al– Mu‘ãsarah. al-Sa‘üdiyah: Jami‘ah alMadinah al-Munauwarah. Ibn Amahzün, Muhammad. 1415/1994. Mawãqif al-Sahãbah fi al-Fitnah. Vol. 1,2. al-Riyad: Dar al-Tayyibah li al-Nashr wa al-Tawzï‘.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฮามีดะห์ ฮะสัน มาสาระกามา

90

Ibn Kathir, Imam al-Din Isma‘il ibn ‘Umar. 1408/1988. al-Bidayah wa al-Nihayah. Vol.7-8, Cairo : Dar al-Rayyan li al-urath. Ibn Khaldun, ‘Abd al-Rahman.1413/1992.Tarikh Ibn Khaldun. Vol.2. Bairut Lubnan :Dar al-Kutub al-‘Ilmiyah. Ihsan Ilahi Zahir. 1404/1984. al-Shi‘ah wa alTashyi‘ Firq wa Tarikh. Bakistan : Idarah al-Tarjaman al-Sunnah. Mahmud Shakir.1405/1985. Tarikh al-Khulafa’ al-Rashidun. Vol.3. Bairut Lubnan :alMaktab al-Islami. Mustafa ‘Abdurrahman.1975. Ringkassan Sejarah Khulafa’al-Rashidin. Malaysia: Pulau Pinang. al-Tabari, Abi Ja‘far Muhammad ibn Jarir. 1407/1987, 1417/1997. Tarikh alUmam wa al-Muluk. Vol. 2,3, 5,. Bairut Lubnan :Dar al-Kutub al-‘Ilmiyah. Tu‘aymah Sabir. 1404/1983. Dirasat fi al-Firaq. al-Riyad: Maktabah al-Ma‘arif.

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2554 บทบาทและอิทธิพลของอับดุลลอฮฺ อิบนุ สะบะอฺ...


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

91

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

Article De-radicalization of Minority Dissent: A Case Study of The Malay – Muslim Movement in Southern Thailand Suria Saniwa Ph.D. (Polical Science), Lecturer Department of Public Administration, Faculty of Liberal Arts Social Sciences Yala Islamic university. Abstract This paper examines why ethnic minority movements change their strategies from radical to moderate. The author explores some factors that can explain the changes in strategies of ethnic minority movements by looking at the case of the Malay-Muslims in southern border provinces of Thailand. The moderation which has arisen in ethnic movement strategies may be caused by many factors. In this study, democratization of the system, better living standards, and cultural exchanges are considered to be the chief factors that created a general environment to change its strategy towards moderation. Empirical data for testing these factors are obtained mainly from a survey of 30 leaders of the ethnic Malay movement, and supplemented by interviews. Most of the movement leaders admitted that the factors of democratization of the system, better living standards, and cultural exchanges are more or less related to the change in the movement towards moderation. These factors may be regarded as the “pull” factors which made a moderate strategy more attractive to the movement leaders. At the same time, certain “push” factors were also found to be at work. These include the coercive power of the Thai government, the greater difficulty in continuing armed struggles, and the decline in internal and external support. This study has focused on the pull factors without which moderation is unlikely to occur. Keyword: De-radicalization, Malay-Muslim Movement, Democratization of the system


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

92

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

บทความวิชาการ การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชนกลุ่มน้อย: ศึกษากรณีชาวมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สุริยะ สะนิวา วุฒิ. (ดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์), อาจารย์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บทคัดย่อ บทความฉบับนี้ได้มีการตรวจสอบคําถามเพื่อให้เห็นถึงสาเหตุความเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อยว่า เพราะเหตุ ใดจึงมีการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวจากความรุนแรงสู่สายกลาง มีการตรวจสอบปัจจัยบางอย่างที่ สามารถอธิบายให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อย โดยมองไปที่กรณีศึกษา ของชาวมุสลิมเชื้อสายมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมมาเพื่อการทดสอบ ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นในบทความนี้ ได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้นําชุมชนกลุ่มน้อยเชื้อสายมลายูจํานวน 30 ท่าน และผู้นําส่วนใหญ่จากการสัมภาษณ์ยอมรับว่าปัจจัยต่างๆ อย่างเช่น การเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง การมี สถานภาพทางด้านเศรษฐกิจที่ดีขึ้น และการยอมรับในวัฒนธรรมที่หลากหลายมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อยเชื้อสายมลายูกลับสู่รูปแบบการเคลื่อนไหวทางสายกลาง ฉะนั้น ปัจจัย ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นอาจเป็นปัจจัยด้าน “จูงใจ” ที่ทําให้ลดยุทธศาสตร์ การเคลื่อนไหวของผู้นํามวลชนที่รุนแรงลง ได้ แต่ในขณะเดียวกันก็พบว่าปัจจัยด้าน “ผลักดัน” ก็มีส่วนทําให้ความรุนแรงลดลงได้เหมือนกัน ปัจจัยผลักดัน ดังกล่าวนั้น อาจรวมถึงการใช้กฎเหล็กของอํานาจรัฐ การสกัดกั้นด้วยกําลังอาวุธ และการกําจัดผู้สนับสนุนทั้งภายใน และภายนอกประเทศ อย่างไรก็ตาม มีความเชื่อว่า ความไม่รุนแรงหรือการเดินสายกลางดูเหมือนจะไม่มีทางเกิดขึ้นได้ เลยหากปราศจากปัจจัยจูงใจ คําสําคัญ: การลดความรุนแรง, การเคลื่อนไหวทางการเมือง, ชาวมุสลิมเชื้อสายมลายู, ระบบประชาธิปไตยอย่าง แท้จริง


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

บทนํา คํ า นิ ย ามของกลุ่ ม คํ า ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ เนื้ อ เรื่ อ ง เสียก่อน บทความบทนี้มีกลุ่มคําว่า “ความเคลื่อนไหวที่ รุนแรงของชนกลุ่มน้อย” “ความเคลื่อนไหวทางสาย กลางของชนกลุ่มน้อย” และ “การลดความรุนแรงของ ชนกลุ่ ม น้ อ ย” สามกลุ่ ม คํ า ดั ง กล่ า วดู เ หมื อ นจะมี ความสํ า คั ญ มากต่ อ การอธิ บ ายถึ ง ความเคลื่ อ นไหว ทางด้านการเมืองของชนกลุ่มน้อย ผู้เขียนขอเริ่มต้นด้วยกลุ่มคําของคาว่า “ความ เคลื่อนไหวที่รุนแรงของชนกลุ่มน้อย” ในคํานิยามของ กลุ่มคําที่ ว่าดังกล่าวก็คื อ ความเคลื่อนไหวที่ มีลักษณะ เป็นผู้แทนและสามารถมองเห็นได้จากการที่มีบุคคลทํา หน้าที่ เป็นผู้แทนในการรักษาผลประโยชน์ของชนกลุ่ม น้ อ ยอย่ า งมี เ อกลั ก ษณ์ ซึ่ ง ตนเองไม่ มี ค วามพอใจกั บ กฎระเบี ย บของสั ง คมที่ เ ป็ น อยู่ จึ ง เสนอให้ มี ก าร เปลี่ยนแปลงด้วยแนวคิด และมีพฤติกรรมการเรียกร้องที่ รุ น แรงตั ว อย่ า งเช่ น การขออิ ส รภาพในการปกครอง ตนเองการแยกตัว และการเป็นประเทศอิสระ ทั้งนี้ ได้มี ความพยายามหาทางให้บรรลุผลด้วยการกระทําที่เป็น รูปแบบของการจารกรรม ก่อการร้า ย การทํ าลายล้า ง และการต่ อ ต้ า นด้ ว ยกํ า ลั ง อาวุ ธ พฤติ ก รรมความ เคลื่อนไหวดังกล่าวจะผูกพันอยู่กับลักษณะที่ตรงกับคําใน ภาษาอังกฤษที่ว่า “direct action” คือการรบพุ่งกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีเหตุการณ์ทางด้านการเมืองที่ถูก กฎหมายก่อนหน้านั้นประสบความล้มเหลวหรือสิ้นสุดลง นั้นเอง “ความเคลื่ อนไหวทางสายกลางของชนกลุ่ ม น้อย” ในบทความบทนี้คือ ความเคลื่อนไหวที่มีลักษณะ เป็นผู้แทนทางการเมืองและสามารถมองเห็นได้ถึงการ กระที่ดําเนินการเป็นผู้แทนในการรักษาผลประโยชน์ของ ชนกลุ่มน้อยอย่างมีเอกลักษณ์และมีระบบ รวมถึงการมี พฤติ ก รรมการเรี ย กร้ อ งที่ มี รู ป แบบของการปฏิ รู ป ซึ่ ง โดยทั่วไปแล้วจะมีความพอใจในกฎระเบียบของสังคมอยู่ แล้ว แต่ยังมีความรู้สึกว่าการปฏิรูปในเรื่องบางอย่างนั้นมี ความจําเป็นต้องปรับปรุงเพื่อให้เกิดความเหมาะสมต่อ บางเขตพื้นที่เป็นพิเศษ ตัวอย่างที่ต้องมีการปฏิรูปก็คือ ด้านการศึกษา เศรษฐกิจและสังคมรวมไปถึงการเมือง และมุ่งแสวงหาความสําเร็จในผลประโยชน์ดังกล่าวด้วย

93

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

ยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวที่ไม่รุนแรง ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว จะดําเนินการเคลื่อนไหวในลักษณะร่วมกันภายในระบบ คือ ผ่านทางกระบวนการขั้นตอนที่ถูกต้องตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญของประเทศนั้นๆ ส่ว นกลุ่ มคํ า สุ ด ท้ ายคื อ “การลดความรุ น แรง ของชนกลุ่มน้อย” หมายถึงกระบวนการความเคลื่อนไหว ที่รุนแรงได้เปลี่ยนพฤติกรรมตนเองจากความเคลื่อนไหว ที่ รุ น แรงเข้ า สู่ ค วามเคลื่ อ นไหวทางสายกลาง ซึ่ ง เปลี่ยนแปลงทั้งธรรมชาติของการเรียกร้องและรูปแบบ ทางยุทธศาสตร์ของชนกลุ่มน้อยเป็นต้น สิ่งที่เป็นปัญหาสําคัญที่ควรพิจารณาไว้ในที่นี้ก็ คือ “เพราะเหตุใดความเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อยได้ เปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ของตนจากพฤติกรรมที่รุนแรง สู่พ ฤติ กรรมทางสายกลาง” อย่า ลื มว่ าการยอมรั บ กฎระเบียบทางด้านการเมืองที่เป็นอยู่ การเรียกร้องให้มี การปฏิ รู ป และรู ป แบบยุ ท ธศาสตร์ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงด้วยกระบวนการทางกฎหมายนั้น เป็น พฤติ ก รรมของการเคลื่ อ นไหวทางสายกลางของชน กลุ่มน้อย ในการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความเคลื่อนไหวใน ลั ก ษณะที่ ไ ม่ รุ น แรงนั้ น มี คํ า ตอบอยู่ ห ลายแนวทางที่ แสดงให้ เห็ นถึง คํา แนะนํา ที่มีป ระโยชน์ต่อคํา ตอบจาก คําถามที่ว่า เพราะเหตุใดความเคลื่อนไหวของชนกลุ่ม น้อยได้เปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ของตนจากพฤติกรรม ที่รุ น แรงสู่ พ ฤติ ก รรมทางสายกลาง (Huntington, 1991: 5) ในบทความบทนี้ ผู้เขียนเน้นประเด็นไปที่ตัว ปั จ จั ย หลั ก ๆ อยู่ ส ามปั จ จั ย คื อ ปั จ จั ย แรก ความเป็ น ระบอบประชาธิ ป ไตยอย่ า งแท้ จ ริ ง ปั จ จั ย ที่ ส อง สถานภาพการกินดีอยู่ดีของประชาชนอย่างพอเพียง และ ปั จ จั ย ที่ ส ามคื อ การอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คมที่ หลากหลายอย่างมีความสุข ปัญหาที่ตามมาจึงอยู่ที่ว่า จะทําอย่างไรเพื่อให้เกิดปัจจัยทั้งสามอย่างนี้เกิดขึ้นใน สังคมในจังหวัดชายแดนภาคใต้? จากความเห็นของนักปราชญ์ด้านรัฐศาสตร์ทา่ น หนึ่งที่ชื่อ แอนโทนี่ ดี สมิต (Anthony D. Smith) ท่าน ได้กล่าวถึงความเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อยในตําราที่ชื่อ “ethnic revival” (ความแปรผันของชนกลุ่มน้อย) “where the general trend has been to move away


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

from the isolationist and accommodations strategies to those of communalism, autonomic, separatism and irredentism” (Smith, 1981: 16) ความหมายของท่านก็คือความเคลื่อนไหวของชนกลุ่ ม น้อยนั้น จะมาจากจุดเริ่มต้นที่เกิดจากความเป็นทาส ซึ่ง จะถือเป็นระดับที่หนึ่ง ตรงกับคําว่า “isolationist” แล้ว จะเคลื่อนยุทธศาสตร์ของตนสู่การอพยพเข้าไปในเขตที่มี เผ่าพันธุ์เดี ยวกัน หรื อในถิ่นที่เป็ นของพวกเดียวกันคื อ พ ว ก ที่ มี ภ า ษ า เ ดี ย ว กั น มี วั ฒ น ธ ร ร ม เ ดี ย ว กั น มี ขนบธรรมเนียมประเพณีเดียวกัน และมีประวัติศาสตร์ที่ เหมื อ นกั น จะถื อ เป็ น ระดั บ ที่ ส อง ซึ่ ง ตรงกั บ คํ า ว่ า “accommodations” แล้วก็จะเข้าสู่การเข้าร่วมการ พัฒนาสังคมร่วมกันกับชนกลุ่มใหญ่โดยตั้งตนเป็นกลุ่ม ผลประโยชน์ องค์ ก รปกป้ อ งสิ ท ธิ ด้ า นต่ า งๆ กลุ่ ม การเมื อง และพรรคการเมืองเพื่อให้เกิด ศักยภาพด้า น การต่อรองเพื่อที่จะต่อรองในการรักษาผลประโยชน์แก่ กลุ่ ม ของตน ซึ่ ง จะถื อ เป็ น ระดั บ ที่ ส าม ตรงกั บ คํ า ว่ า “communalism” และหลั ง จากที่ ต นเองมี ความสามารถด้านการบริหารปกครองที่เท่าเทียมกันแล้ว ก็จะมีการเรียกร้องเพื่อขออํานาจการบริหาร การจัดการ ทางการเมืองด้วยตนเองบางส่ว นเพื่ อให้ เกิด ประโยชน์ สูงสุดสู่ถิ่นของตน ซึ่งจะถือเป็นระดับที่สี่ ตรงกับคําว่า “autonomist” แล้วก็จะมีความเคลื่อนไหวเพื่อแยกเป็น อิ ส ร ะ โ ด ย ส ม บู ร ณ์ ซึ่ ง ถื อ เ ป็ น ร ะ ดั บ ที่ ห้ า ห รื อ “separatism” แล้วก็จะรวมเผ่าพันธุ์ของตนที่อยู่กระจัด กระจายเป็นชนกลุ่มน้อยของประเทศอื่นๆ ให้กลับเข้ามา สร้างเป็นประเทศที่มีอาณาเขตที่ใหญ่กว่าขึ้น และที่มี อํานาจมากขึ้น ซึ่งถือเป็นระดับที่หก “irredentism” สรุ ป แล้ ว ความเชื่ อ ของแอนโทนี่ ดี สมิ ต (Anthony D. Smith) ก็คือความเคลื่อนไหวทาง การเมืองของชนกลุ่มน้อยจะดําเนินไปจากความรุนแรงที่ น้อยกว่าสู่ความรุนแรงที่มากกว่านั้นเอง อย่ า งไรก็ ต าม ท่ า นซามู แ อล พี ฮั น ติ ง ตั น (Samuel P. Huntington) มีข้อเสนออีกทางหนึ่งที่เป็น ความเห็นตรงกันข้ามกับแอนโทนี่ ดี สมิต (Anthony D. Smith) ในตําราที่ชื่อ “Third Wave” (คลื่นลูกที่สาม) คือ changes in the policies of external actors, global economic growth, and the transformation of

94

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

culture from defenders of the status quo to opponents of authoritarianism have contributed to the occurrences of transitions to moderation (Huntington, 1991: 85) ความหมายของท่านก็คือ ความเปลี่ยนแปลงในนโยบายจากชนกลุ่มใหญ่ซึ่งเป็นผู้ กุมอํานาจ การเติบโตของเศรษฐกิจโลก และการถ่ายเท หรือความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลายในสังคมซึ่งกัน และกั นดั งกล่ าวนั้น จะเป็ นปั จจั ยหลัก ที่ อาจก่ อให้เกิ ด ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ความเคลื่อนไหวทาง การเมืองที่ไม่รุนแรงของชนกลุ่มน้อยเกิดขึ้นได้ ในการศึ ก ษากรณี ข องคนไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สาย ม ล า ยู ใ น จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต้ นั้ น “State Preference” (รัฐนิยม) ซึ่งเป็นลัทธิชาตินิยมที่รุนแรง และเป็นที่แพร่หลายในหมู่คนไทยในช่วงปี พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2522 ซึ่งตรงกับสมัยของท่านจอมพล ป. พิบูล สงคราม จอมพลสฤษดิ์ ธนรัตน์ และจอมพลถนอม กิตติ ขจรนั้น เป็นกลุ่มนักการเมืองและนักการทหารที่มีความ เป็นชาตินิยมสูง ตรงกับคําในภาษาอังกฤษเรียกว่า “the strong nationalists” หรือกลุ่มชาตินิยมที่รุนแรงนั้นเอง จากเหตุการณ์ที่มีกลุ่มชาตินิยมในอดีตที่มาจากฝ่ายรัฐนัน้ เราไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่าเป็นเหตุการณ์ที่นําสู่ระดับของ ความไม่พอใจของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูที่มีต่อการ เมืองไทยและกฎระเบียบของไทยอยู่ในขณะนั้นในระดับ ที่สูงจนก่อให้เกิดพฤติกรรมความเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่รุนแรง โดยธรรมชาตินั้นยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหว ทางการเมืองของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูจะไม่รุนแรง แต่กลับกลายเป็นความรุนแรง เมื่อโครงสร้างซึ่งเป็นฐาน ของอํานาจของพวกเขาถูกทําลายลง และกิจกรรมด้าน การศาสนาก็ ถูก รบกวน นโยบายที่ เรี ย กว่ า “รัฐ นิ ย ม” นั้ น มุ่ ง ที่ จ ะกลื น ชาติ ม ลายู ข องคนไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สาย มลายู ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู ให้กลับกลายไปเป็นคนไทยที่เหมือนกับคนไทยโดยทั่วไป ที่มีอยู่ในภูมิภาคอื่นของประเทศโดยสมบูรณ์ มีผู้นําการ เคลื่อนไหวทั้งด้ านการเมืองและด้ านการศาสนาหลาย ท่านถูกจําคุกและถูกฆ่าตายโดยไม่ทราบสาเหตุ และก็ไม่ ทราบว่าเป็นฝีมือของคนร้ายกลุ่มไหน พวกเขาถูกขู่เข็ญ จากเจ้ า หน้ า ที่ ใ นท้ อ งถิ่ น ความเป็ น อยู่ ข องชาวบ้ า น เป็นไปอย่างแร้นแค้น ความเข้าใจกันระหว่างคนไทยพุทธ


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

กับคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูเป็นไปอย่างหวาดระแวง ในช่ว งนั้น เกิด ขบวนการต่างๆ ที่ มีลักษณะที่ รุนแรงคื อ BNPP (มีฐานอยู่ที่จังหวัดปัตตานี) BRN (มีฐานอยู่ที่ จังหวัดสงขลา) และ PULO (มีฐานอยู่ที่จังหวัดนราธิวาส) มีการเคลื่ อนไหวที่จ ะปลดแอกสี่จั งหวัด ชายแดนใต้คื อ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูลรวมกับบางอําเภอของ จังหวัดสงขลา (สะบ้าย้อย จะนะ และเทพา) ไปเป็นรัฐ ปัตตานีที่เป็นเอกราชที่แยกออกจากประเทศไทย (Che Man, 1983: 150) และโต๊ะครูหะญีสุหลง ก็เป็นท่านหนึ่ง ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้นําขบวนการก่อการร้าย ซึ่งถูกอุ้ม และหายตัวไป ทราบภายหลังว่าศพของท่านนั้นถูกถ่วง น้ําในทะเลสาบสงขลา (มูลนิธิหะญีสุหลง, 2536: 8) ส่วนหะญีอามีน โต๊ะมีนา ซึ่งเป็นลูกชายของโต๊ะครูหะญีสุ หลงนั้น ถูกกล่าวหาว่าเป็นหัวหน้า BRN และถูกจําคุก ก่อนที่จะอพยพลี้ภัยทางการเมืองไปใช้ชีวิตอยู่ที่รัฐกลัน ตั น ประเทศมาเลเซี ย (ปั จ จุ บั น นี้ ท่ า นได้ เสี ย ชี วิ ต แล้ ว และศพของท่ า นถู ก นํ า กลั บ มาฝั ง ที่ สุ ส านกุ โ บร์ โ ต๊ ะ อา เยาะห์ ในอําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี) จากการอภิปรายข้างต้นนั้น เราพอจะหาสาเหตุ ที่ทําให้เกิดความรุนแรงในช่วงปี พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2522 ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ว่ า เกิ ด จากการปฏิ บั ติ ตั ว ของ เจ้าหน้าที่บ้านเมืองที่นอกแถว หรือไม่ก็เป็นนโยบาย ฟันต่อฟันที่ตรงกับคําในภาษาอังกฤษว่า “the Thai coercive tactics” (พฤติกรรมการขู่เข็ญของคนไทย) นั้นเอง คนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูจึงเริ่มการต่อสู้ด้วย อาวุธเพื่อปลดปล่อยรัฐปัตตานี พฤติกรรมเหล่านี้ เป็น พฤติกรรมที่เราเรียกว่า “ความเคลื่อนไหวที่รุนแรงของ ชนกลุ่มน้อย” เหมือนกับความเห็นของโบเวนแลนด์ หลุยส์ (Bowen and Louis, 1968) เคยกล่าวไว้ว่า “คนเราจะผูกพันอยู่กับความเคลื่อนไหวที่รุนแรงนั้นต้อง ด้วยสาเหตุที่มาจากการแบ่งปันค่านิยมที่ไม่เป็นธรรมใน สังคม…” (Bowen and Louis, 1968: 22) ซึ่งจะต่างไปจากระหว่างปี พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2531ที่ เป็ นช่ ว งสมั ย ที่ ท่า นพลเอกเปรม ติ ณ สู ลานนท์ ได้ รั บ เชิ ญ ให้ ไ ปเป็ น นายกรั ฐ มนตรี และท่ า นพลเอก เชาวลิต ยงใจยุทธได้เป็นที่ปรึกษาของท่าน ซึ่งในสมัยนั้น พฤติ กรรมความเคลื่อนไหวที่รุ นแรงได้ ลดลง นโยบาย ต่างๆ อย่างเช่น นโยบาย 66/23 นโยบายใต้ร่มเย็น

95

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

และการก่ อตั้ งศู นย์ อํา นวยการบริหารจัง หวั ดชายแดน ภาคใต้ ที่ จั ง หวั ด ยะลา ได้ มี ก ารประกาศออกมาอย่ า ง ชัดเจนคือ เพื่อแก้ปัญหาความไม่สมดุลทางการเมือง ซึ่งมี หลายพรรคการเมืองเกิดขึ้นในสมัยของท่าน มีโอกาส แสดงบทบาทของตนอย่างมีอิสระในระบบการเมืองของ ไทย และสิ่งที่น่าสังเกตก็คือ ในปี พ.ศ. 2529 มีกลุ่ม การเมื องของคนไทยมุ ส ลิ มเชื้ อสายมลายู ก่ อตั้ ง ตั ว เอง ขึ้นมาโดยมีชื่อว่า “กลุ่มเอกภาพ (Al-Wahdah)” เพื่อ เรียกร้องให้มีการปรับปรุงกฎหมายของบ้านเมืองที่มีต่อ คนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู โดยเรียกร้องให้มีการพัฒนา สั ง คมของคนไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สายมลายู ปรั บ ปรุ ง สถานภาพทางเศรษฐกิจของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู และปรั บ ปรุ ง สถานภาพทางการศึ ก ษาของคนไทย มุสลิมเชื้อสายมลายู และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา ความร่วมมือของ “กลุ่มเอกภาพ (Al-Wahdah)” กับ พรรคการเมื อ งความหวั ง ใหม่ ที่ นํ า โดยท่ า นพลเอก เชาวลิ ต ยงใจยุ ท ธ์ เ ป็ น ไปอย่ า งสร้ า งสรรค์ จึ ง ส่ ง ผลประโยชน์แก่คนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูอย่างเห็นได้ ชั ด ผู้ นํ า ที่ เ ป็ น คนไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สายมลายู ไ ด้ รั บ การ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น รั ฐ มนตรี ช่ ว ยว่ า การมหาดไทย และมี รัฐมนตรีว่าการคมนาคม รัฐมนตรีว่าการมหาดไทย และ ประธานรัฐสภาตลอดจนรัฐมนตรีช่วยว่าการศึกษาธิการ พฤติ ก รรมใจกว้ า งของรั ฐ บาลที่ ใ ห้ ตํ า แหน่ ง ต่ า งๆ ใน คณะรั ฐ มนตรี เ หล่ า นี้ จ ะเหมื อ นกั บ สภาวการณ์ ที่ ท่ า น Huntington เคยตั้งข้อสังเกตไว้ใน “Third Wave” (คลื่นลูกที่สาม) ของท่านคือ การเปลี่ยนแปลงในนโยบาย ของชนกลุ่มใหญ่ซึ่งเป็นผู้กุมอํานาจในประเทศจากความ แข็ ง กร้ า วลงมาเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเสมอภาคนั้ น จะ ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเหมือนคลื่นที่สามคือ จาก ความเคลื่อนไหวทางการเมืองที่รุนแรงสู่ความเคลื่อนไหว ทางการเมืองที่ไม่รุนแรงนั้นเอง คนไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สายมลายู มี ค วามพอใจใน ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากระบบการเมืองของไทย ในระดับหนึ่ง จากการศึกษาวิจัยในครั้ง นั้นพบว่า ผู้นํ า ของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูมากกว่าร้อยละเก้าสิบ (จากผู้นําชุมชนมุสลิมเชื้อสายมลายูจํานวน 30 ท่านคิด เป็น 100 เปอร์เซ็นต์ของอําเภอปะนาเระและอําเภอสาย บุรีจังหวัดปัตตานีในปีพ.ศ. 2538) ยอมรับว่าความเป็น


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

ระบบในระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริงของไทยนั้นมี ส่วนทําให้การเปลี่ยนแปลงรูปแบบยุทธศาสตร์ของชน กลุ่มน้อยจากความเคลื่อนไหวที่รุนแรงสู่ความเคลื่อนไหว ที่ ไ ม่ รุ น แรง ดั ง นั้ น ผู้ เ ขี ย นจึ ง คิ ด ว่ า ความเป็ น ระบอบ ประชาธิปไตยอย่างแท้จริงของไทยเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผล ทํ า ให้ ค นไ ทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สา ยมลายู เ ป ลี่ ย น แป ลง ยุทธศาสตร์ของตนสู่ความเคลื่อนไหวที่ไม่รุนแรง การปรั บ ปรุ ง สถานภาพด้ า นเศรษฐกิ จ และ โครงการพัฒนาต่างๆ ที่ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของคน ไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูก็เป็นปัจจัยอีกปัจจัยหนึ่งที่มีส่วน ทําให้ความเคลื่อนไหวด้านการเมืองที่ไม่รุนแรงเกิดขึ้น การที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเข้าไปเยี่ยม เยี ย นคนไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สายมลายู ใ นพื้ น ที่ แ ละทรงนํ า โครงการพระราชดําริลงไปในหลายพื้นที่รวมถึงโครงการ ศิลปะชีพขององค์สมเด็จพระบรมราชินีนารถนั้น นับว่า ส่งผลประโยชน์อย่างใหญ่หลวงสู่คนไทยมุสลิมเชื้อสาย มลายู นอกจากนี้ก็มีโครงการความหวังใหม่และโครงการ ทางการเกษตร ซึ่งมีคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูเข้าร่วม โครงการอยู่ด้วย และต่อมา ได้เกิดบริษัทต่างๆ ที่คนไทย มุสลิมเชื้อสายมลายูเป็นเจ้าของ นับว่าเป็นผลลัพธ์ที่เกิด จากการปรั บ ปรุ งสถานภาพด้ านเศรษฐกิจ ของคนไทย มุสลิมเชื้อสายมลายูอย่างแท้จริง และมีส่วนทําให้ความ เคลื่ อนไหวจากสภาพที่ รุน แรงกลับ สู่ส ภาพที่ไ ม่รุน แรง เพราะผู้นําที่เป็นคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูทั้งหมดจาก การสั ม ภาษณ์ ย อมรั บ ว่ า ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข องคนไทย มุสลิมเชื้อสายมลายูดีขึ้นกว่าเมื่อ 20-30 ปี ที่แล้ว ซึ่ง การศึกษาของเราพบว่า มีผู้นําร้อยละหกสิบยอมรับว่า ปัจจัยด้านเศรษฐกิจก็มีส่วนสําคัญที่ส่งผลทําให้คนไทย มุสลิมเชื้อสายมลายูมีสถานภาพทางการเมืองดีขึ้น และ ยังมีหลักฐานบางอย่างที่แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ของความ เคลื่อนไหวที่ไม่รุนแรงของผู้นําที่เป็นคนไทยมุสลิมเชื้อ สายมลายูนั้นเกิดจากการมีเศรษฐกิจดี ฉะนั้นเราจึงสรุป ได้ว่ า ปัจจั ยด้า นเศรษฐกิจ ที่ดีจึ งเป็ นตัว แปรอีกปั จจั ย หนึ่งที่มีอิทธิพลต่อผู้นําของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูมี การเคลื่ อ นไหวทางการเมื อ งที่ ไ ม่ รุ น แรง ซึ่ ง ตรงกั บ ความคิดของฮังติงตัน (Huntington) ที่โต้แย้งในคลื่นลูก ที่สามของท่านว่า ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอย่างเช่น การเติ บ โตของเศรษฐกิ จ โลกนั้ น ได้ มี ส่ ว นทํ า ให้ ก าร

96

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

เปลี่ ย นแปลงจากความเคลื่ อ นไหวที่ รุ น แรงมาสู่ ค วาม เคลื่อนไหวที่ไม่รุนแรง ความใจกว้า งของรั ฐ บาลที่ มี ต่อคนไทยมุส ลิ ม เชื้อสายมลายูที่เพิ่มขึ้นนั้น ถือเป็นปัจจัยหลักที่สําคัญอีก ปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนทําให้ความเคลื่อนไหวทางการเมืองไม่ รุนแรง อย่างเช่น นโยบายใต้ร่ม เย็น ที่ประกาศใช้ ในยุ ค ของท่ า นพลเอกหาญ ลี น านนท์ นั้ น ถู ก ออกแบบเป็ น พิเศษเพื่อแก้ปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างข้าราชการ ที่ส่วนใหญ่เป็นคนไทยพุทธกับสามัญชนซึ่งส่วนใหญ่เป็น คนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูในท้องถิ่น เพราะว่ามาตรา ข้ อ ที่ 4 ของนโยบายใต้ ร่ ม เย็ น นั้ น กล่ า วว่ า “สร้ า ง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างข้าราชการกับประชาชนทั่วไป และกํ า จั ด การเลื อ กปฏิ บั ติ ร ะหว่ า งกั น อย่ า งสิ้ น เชิ ง ” ดังนั้น ข้าราชการที่กระทําการขู่เข็ญต่อคนไทยมุสลิมเชื้อ สายมลายูในท้องถิ่นจึงถูกโยกย้ายออกจากพื้นที่ และคน ไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูก็มีโอกาสเข้ามาแก้ปัญหาความ ขัดแย้งในท้องถิ่น กฎระเบียบต่างๆ ของรัฐที่เข้มงวดก็จะ ถูกปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมของคนไทยมุสลิมเชื้อสาย มลายูในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างคนไทยพุทธกับคน ไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูก็เกิดขึ้นอย่างแน่นแฟ้มอีกครั้ง จากการสํ ารวจพบว่ าร้อยละร้อยของผู้ นําชุ มชนมุสลิ ม ยอมรับว่า พวกเขาอาศัยอยู่ด้วยกันอย่างมีความสงบสุข ในสังคมท้องถิ่นที่อยู่ด้วยความหลากหลาย และมีร้อยละ ห้ า สิ บ สามเชื่ อ ว่ า ปั จ จั ย การอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คมที่ หลากหลายอย่ า งมี ค วามสุ ข นั้ น เป็ น พลั ง สํ า คั ญ ที่ ขั บ เคลื่ อ นทํ า ให้ ค นไทยมุ ส ลิ ม เชื้ อ สายมลายู เ ปลี่ ย น ยุทธศาสตร์สู่ความเคลื่อนไหวที่ไม่รุนแรง ฉะนั้น ปัจจัยที่ สามซึ่งเป็นปัจจัยสุดท้ายของบทความนี้จะสอดคล้องกับ “Third Wave” ของ Huntington ที่ว่าการถ่ายเทหรือ ความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน จะทําให้เกิดความ เปลี่ ย นแปลงในคลื่ น ลู ก ที่ ส ามจากความเคลื่ อนไหวที่ รุนแรงสู่ความเคลื่อนไหวที่ไม่รุนแรง สรุปแล้วในบทความบทนี้ได้เสนอปัจจัยหลักๆ อยู่สามปัจจัยคือ ความเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่าง แท้จริ ง สถานภาพการกินดีอ ยู่ดีของประชาชนอย่า ง พอเพี ย ง และการอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คมที่ ห ลากหลาย อย่างมีความสุข เป็นปัจจัยที่มีความเป็นไปได้สูงที่อาจ เปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ความเคลื่อนไหวทางการเมือง


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

จากความรุนแรงสู่ทางเดินสายกลาง และตามความเห็น ของผู้เขียนบทความบทนี้เชื่อว่า หากจะมีการเรียงลําดับ ก่อนหน้าหลังแล้ว ก็ขอจัดลําดับความสําคัญมากที่สุดสู่ ความสํ า คั ญ น้ อ ยที่ สุ ด ดั ง ต่ อไปนี้ คื อ อั น ดั บ ที่ ห นึ่ ง เป็ น ปัจจัย “ความเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง” อันดับที่สอง “สถานภาพการกินดีอยู่ดีของประชาชน อย่างพอเพียง” และความสําคัญอันดับสุดท้ายซึ่งเป็น อั น ดั บ ที่ ส ามนั้ น ก็ คื อ “การอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คมที่ หลากหลายอย่างมีความสุข” อย่างไรก็ต าม บทความบทนี้ก็ยัง พบว่า ยัง มี ปั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ อ าจเปลี่ ย นแปลงยุ ท ธศาสตร์ ค วาม เคลื่อนไหวทางการเมืองของคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายูสู่ ความไม่รุนแรงได้ อย่างเช่น การขยายกําลังด้วยอาวุธ ของรั ฐ บาลไทยที่ มี ศั ก ยภาพสู ง เข้ า มาในพื้ น ที่ ความ ยากลํ า บากของการต่ อ สู้ ด้ ว ยกํ า ลั ง อาวุ ธ ของฝ่ า ย ขบวนการเอง และกําลังการสนับสนุนจากภายในและ ภายนอกประเทศที่มีต่อฝ่ายขบวนการลดลง ก็มีส่วนทํา ให้ค วามเคลื่ อนไหวทางการเมื องลดความรุนแรงลงได้ เหมือนกัน แต่ปัญหาอยู่ที่ว่า แนวทางสายกลางที่เกิด จากแรงกดดัน จากเจ้ าหน้าที่ นั้นจะอยู่ได้นานแค่ไหน เท่านั้นเอง ความสําคัญที่จะเน้นให้เห็นในบทความฉบับนี้ ก็คือให้เลือกเอาระหว่างปัจจัยชนิดที่เป็น “pushed” (ผลักดันเขาให้ออกไป อย่างเช่นการปราบปรามอย่าง รุนแรง) กับปัจจัยชนิดที่เป็น “pulled” (ดึงเขาให้เข้า มาร่ ว มแก้ ปั ญ หา อย่ า งเช่ น ความเป็ น ระ บอบ ประชาธิ ปไตยอย่ างแท้จ ริ ง สถานภาพการกิ นดี อ ยู่ ดี ของประชาชนอย่ า งพอเพี ย ง และการอยู่ ร่ วมกั น ใน สังคมที่หลากหลายอย่างมีความสุข) ว่าชนิดไหนจะ ดีกว่ากัน ซึ่งหากจะย้อนกลับไปมองดูการปราบปรามจาก ฝ่ า ยรั ฐ ในอดี ต แล้ ว ความรุ น แรงที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น เกิ ด ขึ้ น ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2523 แทบทั้งสิ้น และลดลงมาก ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2529 ถึงช่วงก่อนที่สมัยท่านนายก ทักษิณ ชินวัตรจะเข้ามาบริหารประเทศในเทอมที่สอง ถ้าหากเราตั้งสติให้ดี และใคร่ครวญนึกถึงปัญหาที่คุกกรุ่น อยู่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ อย่ า งตรงไปตรงมาแล้ ว เราจะหาทาง แก้ ปัญ หาเหล่ า นี้ไ ด้โ ดยไม่ ลํา บากเลย บทความบทนี้ มี ความหวั ง และมี ความเชื่ อว่ า ผู้ นําหั วเสรีนิย มทั้ง สอง

97

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...

ฝ่ า ยคื อ จากฝ่ า ยรั ฐ ซึ่ ง เป็ น คนไทยพุ ท ธและฝ่ า ย ประชาชน ซึ่งเป็นคนไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู มาจับมือ ร่วมกันหาสาเหตุที่แท้จริงของปัจจัยที่เป็นปัญหาอย่าง ตรงไปตรงมา แล้วจะพบว่า เราสามารถแก้ไขปัญหาทุก อย่างได้ด้วยรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันที่มีอยู่ได้ไม่ว่าจะ เป็นฉบับ 2540 หรือจะเป็นฉบับ 2550 ก็ตาม รวมทั้ง การให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดของ ประเทศไทย เพราะประเทศไทยเป็นพลเมืองชั้นหนึ่งใน ทุกจังหวัด ไม่ใช่เฉพาะกรุงเทพมหานครหรือเขตพัทยา เท่านั้น เอกสารอ้างอิง โมฮําหมัด อับดุลกอเดร์ (ดร.). 2530. การศึกษาและ การพัฒนาภาคใต้. กรุงเทพมหานคร: อักษร บัณฑิต มูลนิธิหะญีสุหลง. 2536. มูลนิธิหะญีสุหลงอับดุลกา เดร์ โตะมีนา. ปัตตานี: มูลนิหะญีสุหลง สาสน์ เ อกภาพ. 2536. สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ . กรุงเทพมหานคร: นัทชาการพิมพ์ A. Malek, Mohd Zamberi. 1993. History and Politics of Patani Muslims. Kuala Lumpur: Hizbi Reprografik. Anuraksa, Panomporn. 1984. Political Integration Policy in Thailand: The Case of the Malay Muslim Minority. Ph.D dissertation, the University of Texas. Bangkok Post. 2004. Bloodshed, Mayhem in South. 27 October: 1. Che Man, W.K. 1983. Muslim Elite. Master’s Thesis. Universiti Sains Malaysia. Che Man, W.K. 1990. Muslim Separatism: The Moros of Southern Philippines and the Malays of Southern Thailand. Singapore: Oxford University Press.


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สุริยะ สะนิวา

Dhiravegin, Likhit. 1992. Demi Democracy. Singapore: Times Academic Press. Haji Sulong, Amin Tohmeena (ed.). 1958. The Gleaming Cluster of Security. Pattani: Saudara Press. Huntington, Samuel P. 1991. The Third Wave: Democratization in the late twentieth century. Norman: University of Oklahoma Press. Nik Mahmood, Nik Anwar. 1999. History of Patani Malay Movements, 1785-1954. Bangi: Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia. Pitsuwan, Surin. 1989. Islam and Malay Nationalism: A Case Study of the Malay-Muslims of Southern Thailand. Thammasat University: Thai Khadi Research Institute. Smith, Anthony d. Smith. 1981. The Ethnic Revival. Cambridge: Cambridge University Press.

98

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 การลดความรุนแรงจากความเคลื่อนไหวทางการเมือง...


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

99

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

Book Review การวิพากษ์หนังสือ Hukum Islam Tentang Fasakh Perkahwinan Kerana Ketidak-mampuan Suami Menunaikan Kewajipannya ผู้เขียน ผู้วิพากษ์

:Dra Firdaweri :Maya Yusoh*, Zakariya Hama** *นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาชะรีอะอฺ (กฎหมายอิสลาม) คณะอสิลามศึกษา มหาวิทยาลัย

อิสลามยะลา **Ph.D. (in Law), อาจารย์ประจําสาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม) คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

Buku yang bertajuk “Hukum Islam Tentang Fasakh Perkahwinan Kerana ketidakmampuan Suami menunaikan Kewajipan” adalah satu rujrkan yang boleh dibaca supaya para-para pennutut-pennutnt umum boleh dapati ilmu tentang kehidupan rumahtangga termasuk mempelajari dan mengetahi hak dan kewajipan suami isteri yang harus dilaksankan semasa berkahwin, pendapat ulama berkenaan dengan fasakh perkahwinan kerana ketidak mampuan suami memberinafkah dan kerana suami impotent. Cara penyusunan buku ini adalah terdahagi kepada 5 bab yang akan diterangkan satu persatu: Penulisan Bab 1 mengandungi pendahuluan dan permasalahan yang membawa kepada karang buku bertajuk fasakh perkahwinan. Firdaweri mengatakan bahawa hak dan kewajipan suami isteri itu mempunyai peranan yang penting dalam rumahtangga. Apabila masing-masing pihak tidak dapat saling manjaga dan memeliharanya maka dapat di tungnu saat kehancurannya. Firdaweri hak dan kewajipan kepada 2 jenis iaitu 1) Hak dan kewajipan suami teradap isteri dan 2) Hak dan kewajipan isteri terhadap suaminya. Didalam bab ini juga Firdaweri mendatangkan dau masalah yang berkaitan dengan ketidak mampuan suami dalam menunaikan haknya. Masalah yang dikehendaki di sini ialah: 1) Suami tidak sanggup memberinafkah isterinya, seperti belanjaan sehari-hari, pakaian dan sebagainya. 2) Suami mempunyai suatu penyakit yang tidak boleh bergaul dengan isterinya dengan secara normal, atau dinamakan suami impotent. Yang mana kedua masalah ini merupakan sebahagian kewajipan suami zahir dan batin. Maka

100

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

apabila timbul masalah ini ramai isteri-isteri di Indonisia dating mengadu kepada pengadilan agama untuk menyelesaikan perkaranya melaluifasakh. Adakah harus menjalankan fasakh perkahwinan oleh hakim dengan dua sebab tadi? Lalu itu Firdaweri ingin menerangkan pasal ini kepada umat Islam dengan mulai menulis sebuah buku ini. Skop pembahasan yang dibentang oleh Firdaweri dalam buku ini ialah membahas sebahagian kewajipan suami yang tidak sanggup tunaikanya terhadap isteri kerana banyak isteriisteri yang mengatakan: a. suami tidak member nafkah b. suami impotent Penulisan Bab 2 mengandungi bahasan tentang hak dan kewajipan suami isteri. Hak adalah sesuatu yang merupakan milik atau dapat dimiliki oleh suami atua isteri yang diperolehnya dari hasik perkahwinan. Adapun kewajipan berate sesuatu yang wajib dimalkan atua dilakukan 2.1 Adapun hak dan kewajipan suami terhadap isterinya ada dua macam yang pertama kewajipan yang bersifat materil dan yang kedua kewajipan yang bersifat immateriil. Bagi kewajipan yang bersifat materiil ialah kewajipan zahir atua kewajipan yang merupakan harta benda, termasuk kedalamnya mahar dan nafkah. Mahar adalah merupakan hak isteri yang menjadi milik penuhnya dan tidak seorang pun yang boleh menghalang-halangi nilai dan berbentuk jasa. Adapun nafkah kerana perhubungan perkahwinan terbahagi kepada makanan isteri, pakain isteri dan tempat tinggal isteri. Islam menetapkan aturan-aturan perkawinan disamping menetapkan kewajipan


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

suami yang berupa benda atua materiil, juga menetapkan yang bukan berupa benda, dia bersifat immaterial seperti bersenggama dengan isterinya, mengisijiwanya dengan ilmu pengetuhuan, menanamkan rasa iman serta tagwa kepada Allah dan sebagainya. Rumahtangga tak akan dapat bahagia dengan cara memenuhi kewajipan zahir saja tanpa diiringi dengan kewajipan batin. Kewajipan batin itu diantaranya ialah: 1.Suami harus bergaul dengan isterinya demgan cara yang baik. 2.Suami wajib bersenggama dengan isterinya. 3.Suami wajib menjaga dan memelihara isterinya. 4.Suami wajib berlaku adil diantara beberapa orang isteri jika ada lebih dari pada satu. Disamping itu ada juga masalah yang harus dimiliki dan diketahui oleh suami diantaranya ialah: a.Suami harus tabah dan bijaksana dalam menghadapi tindak tanduk isteri. b.Suami berlaku sebagai pemimpin kaluarga. c.Suami harus menyimpan rahsi rumahtangga, terutama sekali rahsia kamanrnya. d.Suami harus tahu masalah haidh dan nifas isterinya. 2.2 Hak kewajipan isteri terhadap suamiya. Kewajipan-kewajipan isteri terhadap suami tidak ada yang berupa materiil. Dianataranya ialah. a.Isteri harus patuh kepada suaminya. b.Isteri harus mengetahui hasrat amanah suaminya.

101

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

c.Isteri mesti jujur memelihara amanah suaminya. d.Isteri harus memelihara hubungan baik dengan keluarga suami dan karib kerabat suaminya. e.Isteri harus sopan santun kepada suaminya. f.Isteri harus bertanggung jawab mengurus dan mengatur runahtangga dengan sebaik-baiknya. g.Isteri harus gambira. Kadangan hubung antara suami isteri tidak dapat dipelihara dengan secra harmoni, kadang-kadang suami isteri itu gagal dalam mendirikan rumahtangganya kerana menemui beberapa masalah yang tidak diatasi. Adakala isteri dan adakala suami yang tidak menunaikan kewajipannya. Oleh itu Firdaweri ingin menerang tentang kemungkinan pembubaran perkahwinan dalam Islam maupun dari suami atua melalui hakim dalam bab yang mengeringinya. Maka didalam Bab 3 pengarang kemukakan beberapa held an masalah yang berkaitan dengan fasakh perkahwinan. Apabila masalah dalam keluarga itu ada puncanya dari sisister oleh kerana ia meninggalkan kewajipankewajipannya, maka suami harus disuruh oleh Allah SWT untuk bertindak mengusahakan tugastugasnya. Kalau usaha pertama tidak berhasil, maka suami hendaklah berpisah tidur dengannya, tetapi masih berada dalam satu rumah. Kalau dalam hal kedua tadi masih belum hasil, maka sisuami diperolehkan memukul isterinya dengan cara yang baik, sekadar untuk memulihkan kesedarannya. Jikalau nusyuz itu terjadi dari pihak suami iaitu suami tidak menunaikan kewajipannya, al-


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

Qur’an member kepada isteri supaya terdapat kedamaian dan ketenangan yang dikehendaki, hendaklah isteri berusaha untuk menarik hati suaminya sekuat kuasanya, menurut cara-cara yang dapat menberikan ketenagan yang dibolehkan syari’at serta tidak menolak dan kesucian agama. Apabila telah diusahakan yang seperti diatas tetapi berbantahan, perselisihan dan perpecahan terus memuncak, dan masingmasing suami isteri itu tetap berada dalam pendirian yang berbeza, pada waktu itu kewajipan kepada orang hakam (juru pendamai), seorang dari keluarga suami dan seorang dari keluarga isteri untuk menyelesaikan perbantahan antara suami isteri itu. Dan faedah diutus juru pendamai dari keluarga mereka adalah kerana keluarganya itu lebih mengetahui keadaan suami isteri tersebut yang sebenarnya. Jika usaha kedua juru itu tidak juga berhasil, langkah yang harus ditempuh ialah tentu sahaja perkaranya diteruskan prosesnya di pengadilan. Dan hakim akan memeriksa selengkapnya. Apabila sisuami mau perkaranya diselesaikan dengan ikrar talaq, maka suami dapat menjatuhkan talaqnya. Kalau suami minta talaq tebus yang di kenalkan dengan istilah khulu’, jika isteri mau, diselesaikan dengan demikian. Tetapi sebaliknya jika isteri tidak mau tidak sanggup membayar talaq tebus itu, sedangkan dia tetap juga minta cerai, yang mana suami tetap tidak mau menjatuhkan talaqnya hakim dapat memfasakhkan perkahwinannya dengan melalui proses, apabila hakim memandang telah pantas untuk di fasakhkan. Dalam bahasan yang mengikuti ini penulis akan bahas dengan secara teranng dari

102

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

satu pihak sahaja, iaitu pihak suami yang tidak menunaikan kewajipannya, yang mengkibatkan isterinya tidak sesang, maka salah satu jalan bagi untuk memutuskan perkahwinan adalah dia berhak minta fasakh kepada hakim. Apa makna fasakh perkahwinan? Mengikut istilah syar’I fasakh perkahwinan ialah membatalkan aqad perkahwinan dan memutuskan tali perhubungan yang mengikat antara suami isteri. Kalau mengikut sebab-sebab yang mrrusakkan perkahwinan, fasakh terbahagi kepada dua macam: 1) Fasakh yang berkehendak kepada keputusan hakim, harus melalui proses pengadilan apabila dapat sebab fasakh itu tersembunyi, tidak jelas, seperti fasakh kerana suami impotent, suami miskin dan sebagainya. 2) Fasakh yang tidak berkehendak kepada keputusan hakim, ialah waktu suami isteri mengetuhui adanya sebab yang merusakkan perkahwinan, ketika itu mereka wajib memfasakhkan perkahwinannya, tanpa melalui proses pengadilan. Ini adalah apabila sebab fasakh itu jelas seperti apabila nyata suami isteri itu bahawa mereka saudara susuwan. Firdaweri lebih fokuskan bahasa bahagian pertama dalam buku ini yang berkehendak kepada keputusan hakim, adalah boleh hakim memfasakhkan atau tidak jikalau dapati suami miskin sehingga dia tidak dapat menafkahi isterinya secara wajar. Seterusnya Firdaweri menerangkan alasan-alasan yang dapat diajukan isteri dalam menuntuf fasakh kepada hakim. Dalam buku ini Firdaweri bagi contoh 5 alasan sahaja kerana sepatut dengan judul bukunya. Antara alas an-alasan yang


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

boleh diajukan oleh isteri untuk fasakh perkahwinan melalui hakim ialah apabila suami: a. mempunyai cacat atau penyakit. b. tidak mampu member nafkah. c. melakukan kekejaman. d. meninggalkan tempat kediaman bersama. e. dihukum penjara. Di dalam Bab 4 Firdaweri mambahaskan tentang perbezaan pendapat ulama Tentang fasakh perkawinan dengan kerana ketidak mampuan suami memberi nafkah dan kerana suami impotent seperti di bawah ini. a.Fasakh perkahwinan dengan kerana ketidak mampuan suami memberi nafkah. Apabila suami tak sanggup memberi nafkah isterinya, tentu siisteri tidak Menerima haknya. Selama dia merelakannya ini tidak menjadi persoalan, tetapi Sebaliknya kalau isteri itu tidak suka dengan keadaan suaminya seperti itu terdapat Berbezaan pendapat antara ulama fiqh, iaitu apakah isteri berhak menuntut fasakh Atau tidak, dan apakah hakim boleh memfasakhkan perkahwinannya atau tidak. Pendapat– pendapat tersebut sebagai berikut: 1) Mazhab Hanafi mengatakan kalau suami miskin, sehingga dia tidak sanggup menafkahi isterinya, Allah tidak mewajibkan membayar lebih dari Kesangguppannya. Oleh sebsb itu siisteri tidak berhak menuntut fasakh Perkahwinan, kalau isteri menuntut berarti dia memberati suaminya lebih Dari kesanggupannya. Mereka juga berpendapat nafkah itu tidak merupakan Imbalan senggama, dengan alasna bahawa apabila isteri menderita sakit yang lama yang mengakibatkan suaminya tidak dapat lakukan senggama

103

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

Dengannya, namun suami tetap juga wajib memberi nafkah isterinya, seperti itu pula kalau suami tidak sanggup menafkahi isterinya, siisteri tidak Boleh meminta fasakh. 2) Mazhab Maliki mengkapkan bahawa isteri dengan tidak sanggup menafkahinya, berati menyusahkan isteri menyusahkan isterinya sediri. Oleh sebab itu boleh difasakhkan perkahwinannya. Mereka juga beralasan kepada nafkah itu merupakan imbalamn bersenggama. Apabila dia tidak saggup member nafkah, gugurlah hak bersenggama baginya, oleh sebab itu siisteri ada mempunyai hak pilihan antara cerai atau tetap bersama suaminya. Dan mereka juga mengiaskan kepada orang miliki budak, yang tidak sanggup dinafkahinya, orang terebut wajib menjual budaknya itu, lebih-lebih lagi suami wajib menceraikan isterinya apabila dia tidak sanggup member nafkah. 3) Mazhab Syafi’i berpendapat bahawa siisteri mempunyai hak untuk menuntut fasakh perkahwinan kepada hakim apabila suaminya miskin atau tidak sanggup menafkahinya dan hakim boleh memfasakhkan perkahwinannya. 4) Mazhab Haambali berpendapat apabila sisuami tidak sanggup manafkahi isterinya, siisteri boleh memilih antara bersabar atau bercerai, kalau dia memilih bercerai dengan sendirinya hakim harus menyelesaikan perkaranya. Pada saat itu hakim mempunyai hak pilih pula apakah yang akan difasakhkan atau disuruh suami mentalaqi isterinya. Mereka berpendapat bahawa menahan isteri dengan tidak sanggaup menafkahinya, adalah menahannya bukan dengan secara yang baik. Mazhab ini iuga beralasan kepada kalau suami tidak sanggup bersetubuh hanya yang tidak terpenuhi hasrat seksualnya, sedangkan isteri


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

maswin suaminya maih dapat hidup tanpa demikian, tetapi isteri tidak dapat hidup tanpa ada nafkah. 5)Mazhab Zhahiri menerangkan bahawa seseorang itu wajib member nafkah menurut kemampuannya, kalau dia tidak mampa berarti dia tidak wajib membayarnya. Meninggalkan sesuatu yang tidak wajib berate tidak berdosa. Dengan ini dapat diambil pengertian bahawa tidak boleh difasakhkan perkahwinannya kerana sisuami meninggalkan sesuatu yang tidak wajib. Nampaknya apabila suami tidak sanggaup member terjadi perbezaan pendapat ulama seperti yang telah sebut diatas. Bagi pendapat yang membolehkan, tentu semenjak dia merasa tidak senang, mulai saat itu dia sudah boleh mengajukan tuntutannya. Mengikut pendapat Firdaweri, masa sebelum dan selepas perkahwinan adalah penting dalam mengajukan fasakh perkahwinan oleh isteri. Jika sebelum berkahwin siwanita telah mengetahui keadaan calon suaminya miskin, dan apabila kahwin suaminya masih seperti itu atau bertambah iatuh miskin, sehingga dia tidak sanggup menafkahi isterinya, dalam keadaan ini isteri tak boleh menuntut fasakh, sebab seolaholah isteri suka kepada suaminya walaupun miskin dan rela menerima segala risiko yang akan terjadi. Sebaliknya Kalau calon isteri tidak mengetahuinya sebelum Kahwin kerena waktu kahwin itu suami berpura-pura seorang yang mampu, tetapi ternyata setelah terlaksana aqad perkahwinan, terbukti dia seorang yang miskin yang tidak sanggup menafkahi isterinya, dalam keadaan sepetri ini berhak minta fasakh. Kalau sebelum kahwin calon isteri telah mengetahui keadaan suaminya, dan setelah menjalani masa bermahtangga, mula-mula dia sanggup

104

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

menafkahi isterinya, kemudian si suami jatuh miskin, sehingga dia menjadi orang yang tidak mampu lagi untuk menafkahi isterinya. Dalam hal ini Firdaweri berpendapat supaya siisteri sabar dan menunggu untuk mengatasi masalah hidup mereka. Apabila dia telah memikirkan dengan pertimbangan yang masak untuk bercerai, baru hakim boleh memfasakhkan perkahwinannya. b.Fasakh perkahwinan kerana suami impotent Menurut istilah syarak impotent ialah orang yang tidak sanggup bersenggama pada kemaluan isterinya menyebabkan isteri kurang menerima haknya. Selama iateri merelakannya itu tidak menjadi persoalan, tetapi bagi isteri yang tidak rela, dia akan menuntut haknya. Dalam hal ini dia harus melalui pengadilan. Masalah boleh atau tidaknya hakim memutuskan perkahwinan terdapat perbezaan pendapat ulama fiqh sebagai berikut: 1.Mazhab Hanafi menjelaskan bahawa hakim boleh mamfasakhkan perkahwinan yang suami impotent kalau isteri yang memenuhi beberapa syarat tertentu iaitu merdeka , baligh tidak mempunyai cacat tertutup kemaluan dengan daging dan dengan tulung, isteri tidak mengetahui keadaan suaminya seperti itu sebelum perkahwinan, dan isteri tidak rela setelah dia mengetahuinya. 2.Mazhab Maliki mengumpamakan perkahwinan dengan jual beli. Apabila cacat terdapat pada barang yang dibeli. Sipembeli mempunyai hak pilih apakan dia akan terus membeli barang itu atau mengembalikannya kepada si penjual. Kalau dia memilih mengembalikan berarti jual belinya dibatalkan. Begitu pula dalam masalah perkahwinan, apabila sisuami impotent berarti dia cacat,


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

dengan demikian dapat mengakibatkan hak pilih bagi isteri, dan kalau dia memilih bercerai. Hakim dapat memfasakhan perkahwinannya. 3. Mazhab Syafi’I berpendapat dalam masalah suami impotent ini supaya isteri member tanggah suaminya yang impotent itu selama satu tahun. Jika dia berhasil atau sembuh, (tidak menjadi persoalan), tapi jika tidak maka isterinya boleh memilih antara tetap bersama suaminya atau bercerai. Isteri mempunyai hak untuk menuntut fasakh kepada hakim, dan hakim boleh memfasakhkan perkahwinannya dengan melalui proses dan terbukti keimpotenan suami itu. 4.Mazhab Hambali juga berpendapat bahawasanya apabila auami impotent, iserinya berhak menuntut fasakh kepada hakim, dengan sendirinya hakim harus menyelesaikan perkaranya. Mazhab ini berdalil dengan apabila suami membeyar mahar, isterinya wajib menyerahjan dirinya kepada suaminya, tetapi apabila dia tidak sanggup membayarnya, siisteri berhak menuntut fasakh kerana isteri menyerahkan diri itu sebagai pengganti dari mahar. Begitu pula kalau suami bercacat atau berpenyakit siisteri berhak pula meminta fasakh, kerana isteri menyerahkan diri itu adalah sebagai imbalam nafkah batinnya, sedangkan suami itu sendiri tidak sanggup membayarnya. 5.Mazhab Zhahiri berpendapat baik hakim atau orang lain tidak boleh memfasakhkan perkahwinan disebabkan suami tidak kuasa bersetubuh, yang mana suami impotent termasuk dalam masalah ini. Mazhab ini tidak mengiaskan perkahwinan kepada jual beli dalam masalah cacat ini, kerana kalau cacat terdapat dalam jual beli bias mengakibatkan jual beli dapat dibatalkan, tetapi

105

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...

kalau cacat terdapat dalam perkahwinan, perkahwinan tersebut tidak boleh dibatalkan. Penulisan Bab 5 adalah sebagai penutup buku ini yang mana penulis membuat beberapa kesimpulan dari apa yang dikemukakan berlalu. Dalam penyusunan buku ini boleh dikatakan isi-isi yang berkaitan dengan tajuk “Hukum Islam Tentang Fasakh Perkahwinan” bahasa dan kalimah-kalimah yang diguna oleh penulis itu sangat mudah difaham dan dirujuki. Cara susunan menerangrang perbezaan diantara mazhab. Adapun kekurangan yang ada pada penyusunan dalam buku ini seperti berikut: 1.Pembahasa yang dikemukakan ada banyak mengulang dalam yang sama. Terkadang ulangannya itu tidak penting dan boleh membuat pembaca rasa jemu sahaja. 2.Didapat juga dalam kebanyakkan dalidali yang dikemukakan oleh Firdaweri itu tiada sumber untuk dirujukkan. Dai tidak catat bahawa dali-dali yang dikemukakan terutamanya hadith berasal dari riwayat siapa dalam buku rujukan apa, apakah murtabat hadith itu, sahih, hasan, atua dhai? Ini adalah perkara yang penting dalam membahaskan apa-apa saja pasal agama lebihlebih lagi dalam bahasa buku yang bertajuk dengan kalimah ‘Hukum Islam‘. Contohnya kehilangan rawi hadith pada hadith yang mengatakan impotent itu tidak dapat dijadikan alas an untuk minta fasakh halaman 100. Maka Firdaweri menambah soalan-sialan kepada pembacapembaca bukunya seperti: ini perkatan sipa? Dalam buku mana ada dalil ini? Adakah hadith ini Sahih? Dan sebagainya. Oleh itu, penulis memnbuat pembaca supaya merujukkan kepada buku lain yang berkenaan degn pasal


วารสารวิชาการ อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มะยา ยูโซ๊ะ

fsakh perkahwinan untuk memgetahui bahawa dalil-dalil yang dikemukakan itu adalah kuat lebih-lebih lagi dalil dari hadith. 2.Bahawasanya ayat-ayat, hadith dan dalil yang dikemukakan oleh penulis itu banyak sangat sehingga terkaang tidak sepakat dengan apa yang sedang diterangkan sebelum itu. Apa lagi kalau dalil-dalil itu tidak ada sumber yang dibawa datang oleh penulis di dalam bukunya.

106

ปี ที่ 1 ฉบั บ ที่ 2 กรกฎาคม-ธั น วาคม 2554 วิพากษ์เรื่อง Hukum Islam Tentang Fasakh...


หลักเกณฑ์และวิธีการเขียนบทความวิชาการ บทความวิจัย ในวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รูปแบบและคําแนะนําสําหรับผูเ้ ขียน วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา (Yala Islamic University Al-Hikmah Journal) เป็นวารสาร ตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สาธารณประโยชน์ ที่ไ ด้รวบรวมผลงานวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ของ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซึ่งจัดตีพิมพ์เป็นราย 6 เดือนต่อฉบับ บทความที่ส่งมาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ จะต้องเป็นวารสารที่ไม่เคยเผยแพร่และตีพิมพ์ในวารสารอื่นๆ มาก่อน หรือสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน บทความดังกล่าวต้องชี้แจงให้กับกองบรรณาธิการวารสาร เพื่อพิจารณาสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทํา การประเมินบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสาขาชํานาญการที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อบทความ การเตรียมต้นฉบับสําหรับการตีพิมพ์ รับตีพิมพ์ผลงานทั้งที่เป็นภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษามลายูญาวี และภาษามลายูรูมี ต้นฉบับต้อง พิมพ์ในกระดาษ ขนาด A4 พิมพ์ 2 คอลัมน์ ยกเว้นบทคัดย่อพิมพ์แบบหน้าเดียว ซึ่งการเขียนจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันในแต่ ละภาษาดังนี้ หน้ากระดาษ 1.หน้ากระดาษบนมีความกว้าง 2.หน้ากระดาษล่างมีความกว้าง 3.หน้ากระดาษซ้ายและขวามีความกว้าง 4.ความกว้างของคอลัมน์เท่ากัน การใช้ตัวอักษร 1.ภาษาไทย 2.ภาษาอังกฤษ กับ ภาษามลายูรูมี 3.ภาษาอาหรับ 4.ภาษามลายูญาวี

3.81 เซนติเมตร 3.05 เซนติเมตร 2.54 เซนติเมตร 7.71 เซนติเมตร มีระยะห่างระหว่างคอลัมน์ 0.51 เซนติเมตร

ใช้อักษร TH SarabunPSK ใช้อักษร TH SarabunPSK ใช้อักษร Traditional Arabic ใช้อักษร Adnan Jawi Traditional Arabic

ขนาด 15 พ. ขนาด 15 พ. ขนาด 16 พ. ขนาด 16 พ.

ประเภทของบทความ 1.บทความวิชาการ (Article) ประมาณ 8-10 หน้า ต่อบทความ 2.บทความวิจัย (Research) ประมาณ 6-8 หน้า ต่อบทความ 3.บทความปริทรรศน์ (Review Article) ประมาณ 6-8 หน้า ต่อบทความ 4.บทวิพาทย์หนังสือ (Book Review) ประมาณ 3-4 หน้า ต่อบทความ ชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในทุกๆ ภาษาที่เขียนบทความ ชื่อผู้เขียน 1.ชื่อเต็ม-นามสกุลของผู้เขียนครบทุกคนตามภาษาที่เขียนบทความ และต้องมีภาษาไทยและภาษาอังกฤษเสมอ 2.ผู้เขียนหลักต้องใส่ที่อยู่ให้ละเอียดตามแบบฟอร์มที่สํานักงานกองบรรณาธิการวารสารจัดเตรียม 3.ให้ผู้เขียนทุกคนระบุวุฒิการศึกษาที่จบ ณ ปัจจุบัน (ถ้ามีตําแหน่งทางวิชาการให้ระบุด้านชํานาญการ) พร้อม ตําแหน่งงานและสถานที่ทํางานปัจจุบัน สังกัด หน่วยงาน เป็นต้น บทคัดย่อ 1.จะปรากฏนําหน้าตัวเรื่อง ทุกๆ ภาษาที่เขียนบทความต้องมีบทคัดย่อภาษาที่เขียน และบทคัดย่อภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเสมอ มีความยาระหว่าง 200 ถึง 250 คํา จะต้องพิมพ์แบบหน้าเดียว


คําสําคัญ ให้มีระบุคําสําคัญท้ายบทคัดย่อไม่เกิน 5 คํา ทั้งที่เป็นภาษาที่เขียนบทความ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รูปภาพ ให้จัดรูปภาพ ให้พอดีกับหน้ากระดาษ โดยจะต้องให้รูปภาพจัดอยู่ในหน้าเดียวของหน้ากระดาษ ตาราง ให้จัดตาราง ให้พอดีกับหน้ากระดาษ โดยจะต้องให้ตารางจัดอยู่ในหน้าเดียวของหน้ากระดาษ และให้ระบุลําดับที่ ของตาราง พร้อมรายละเอียดต่างๆ ของตาราง เอกสารอ้างอิง 1.ให้ระบุเอกสารอ้างอิงตามที่ได้ค้นคว้าวิจัยในบทความเท่านั้น เพื่อนํามาตรวจสอบความถูกต้อง 2.ต้องจัดเรียงลําดับตามตัวอักษรนํา ของแต่ละบทความนั้นๆ 3.การอ้างอิงในเนื้อหาของบทความต้องอ้างอิงแบบนามปีเท่านั้น (ให้ระบุ ชื่อผู้แต่ง, ปี: หน้า) ยกเว้นคําอธิบายคํา สามารถทําในรูปแบบของเชิงอรรถได้ และให้อ้างอิงตามรูปแบดังนี้ (1) หนังสือ มัสลัน มาหะมะ. 2550. ลุกมานสอนลูก: บทเรียนและแนวปฏิบัติ. ยะลา. วิทยาลัยอิสลามยะลา Best, John W. 1981. Research in Education. 3 rd ed. Englewood cliffs, New Jersey: Prentice. Hall Inc. (2) บทความ วิสุทธิ์ บิลล่าเต๊ะ. 2010. “กระบวนการดํารงอัตลักษณ์มุสลิม”, อัล-นูร. ฉบับที่ 9 (กรกฎาคม-ธันวาคม) หน้า 55-66 (3) สารอิเล็กทรอนิกส์ อัล บุนยาน. 2552. มุ่งมั่นสู่การปฏิรูปตนเองและเรียกร้องเชิญชวนผู้อื่นสู่การยอมจํานงต่ออัลลอฮฺ. จากอินเตอร์เน็ต. http://www.iqraforum.com/oldforum1/ www.iqraonline.org/ (ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2552). การส่งต้นฉบับ ส่งต้นฉบับสําเนา 3 ชุด และแผ่นข้อมูลลง CD 1 แผ่น ส่งมายัง สํานักงานกองบรรณาธิการวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย เลขที่ 135/8 หมู่ 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 94160 หรือ ตู้ปณ. 142 อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 Tel. (073) 418611-4 / Fax. (073) 418615-6


แบบเสนอต้นฉบับเพื่อลงตีพิมพ์ ในวารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว.......................................................................................................................................................... ชื่อเรื่องตามภาษาที่เขียนบทความ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................... ชื่อเรื่องภาษาไทย:………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ....................................................................................................................................................................................................... ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ:………………………….………………………………………………………………………………………………………………………. ....................................................................................................................................................................................................... ชื่อ-สกุลผู้แต่งหลัก: (1) ชื่อภาษาไทย…………..….……………………………………………………………………………………………………………. (2) ชื่อภาษาอังกฤษ....................................................................................................................................... ที่อยู่:…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เบอร์โทรศัพท์:……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เบอร์โทรสาร:………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………. E-mail address:………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ชื่อ-สกุลผู้แต่งร่วม (1) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ (2) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ (3) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ (4) ชื่อภาษาไทย..……………………………………………………………………………………………………………. ชื่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................................ ระบุประเภทของต้นฉบับ บทความวิชาการ (Article) บทความวิจัย (Research) บทความปริทรรศน์ (Review Article) บทวิพาทย์หนังสือ (Book Review) ลงชื่อ…………………………………………………… ( ) วันที่...........................................................





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.