คู่มือผู้รับการฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 7

Page 34

คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. การตรวจสอบและการเปลี่ยนแบตเตอรี่ 3.1 หนาที่และโครงสรางของแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ ทําหนาที่สะสมและจายพลังงานใหกับอุปกรณไฟฟาตาง ๆ ของรถยนต แบตเตอรี่ที่ใชในรถยนต คือ แบตเตอรี่แบบเปยก ประเภทตะกั่ว-กรด (Lead-Acid) มีหลักการทํางาน คือ เมื่อแบตเตอรี่ถูกใชงานจนหมดไฟ จะ สามารถชารจไฟเขาไปใหมไดจนกวาแผนธาตุจะหมดอายุการใชงาน โครงสรางของแบตเตอรี่มีดังนี้

ภาพที่ 1.12 โครงสรางของแบตเตอรี่ 1) แผนธาตุ (Plates) ใชสําหรับแบตเตอรี่ประเภทตะกั่ว-กรด มี 2 ชนิดคือ แผนธาตุบวกและแผนธาตุลบ โดยแผนธาตุบวกทําจากตะกั่วเปอรออกไซด (PbO2) แผนธาตุลบทําจากตะกั่วธรรมดา (Pb) โดยวางเรียง สลับซอนกันระหวางแผนธาตุบวกและแผนธาตุลบจนเต็มพอดี ในแตละเซลล แผนธาตุบวกและแผนธาตุลบ จะถูกกั้นดวยแผนกั้น 2) แผนกั้น (Separaters) ทําหนาที่ปองกันแผนธาตุบวกและแผนธาตุลบสัมผัสกัน หากแผนทั้งสองสัมผัสกัน จะเกิดการลัดวงจรขึ้น โดยแผนกั้นทําจากไฟเบอรกลาสเจาะรูพรุน เพื่อใหน้ํายาอิเล็กโทรไลตสามารถ ไหลผานไดระหวางแผนทั้งสอง ซึ่งจะมีขนาดเทากับแผนธาตุบวกและแผนธาตุลบ 3) เปลือกแบตเตอรี่ เปนวัสดุที่ทําจากพลาสติกหรือยางแข็งที่ทนตอแรงกระแทก กันไฟฟารั่วและน้ําเขา โดยเปลือกแบตเตอรี่จะถูกแบงออกเปน 6 สวน หรือ 6 ชอง มีเครื่องหมายระดับสูงหรือระดับต่ําของ น้ํายาทางไฟฟาแสดงอยูบนเปลือกชนิดโปรงแสงและกึ่งโปรงแสง แผนที่กันเปลือกแบตเตอรี่จะเปนโลหะ ถูกยกใหสูงขึ้นจากกนเปลือกหมอดวยซี่ดานลาง เพื่อปองกันการลัดวงจรจากสารที่ทําปฏิกิริยาซึ่งหลุด รวงจากโลหะ 4) สะพานไฟ ทําจากตะกั่วหลอเปนแทง ใชเชื่อมตอระหวางชองของเซลลแบตเตอรี่แตละเซลล เพื่อทําให ขนาดแรงเคลื่อนไฟฟามากขึ้น เชน ถาตอ 3 ชองรวมกันจะได 6 โวลต แตถาตอรวมกัน 12 โวลต 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.