คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 8

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คูมือการประเมิน 0920164170202 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT) โมดูลการฝกที่ 8 09217310 วิธีการจัดเก็บสารทําความเย็น เพื่อการเคลื่อนยาย หรือการซอมบํารุงโดยการปมดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นอยางถูกตอง และการจัดเก็บอุปกรณระบบสารทําความเย็น เพื่อปองกันความชื้น กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูลที่ 8วิธีการจัดเก็บสาร ทําเย็น เพื่อการเคลื่อนยายหรือการซอมบํารุงโดยการปมดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นอยางถูกตอง และการ จัดเก็บอุปกรณระบบสารทําความเย็นเพื่อปองกันความชื้นฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดย มีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิ ชย ขนาดเล็ก ระดับ 2 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อ รองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสง มอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่ง ขึ้น ทั้ง ในแงของขอบเขตของการ ใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผู รั บ การฝ ก อบรม และต อ งการใหผู รั บการฝ ก อบรมเกิด การเรียนรูด วยตนเอง การฝ ก ปฏิ บั ติ จ ะดํ า เนิน การในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดัง กลาว จึง เปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคา ใช จา ยในการพัฒ นาฝมือ แรงงานใหแกกํ า ลัง แรงงานในระยะยาว จึง ถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา สารบัญ

ก ข

ขอแนะนํา ผลลัพธการเรียนรู

1 3

แบบทดสอบกอนฝก แบบทดสอบหลังฝก

4 7

กระดาษคําตอบ เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

10 11

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

12 17

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกทีจ่ ะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 8 09217310 วิธีการจัดเก็บสารทําความเย็น เพื่อการเคลื่อนยายหรือการซอมบํารุง โดยการปมดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นอยางถูกตอง และการจัดเก็บอุปกรณ ระบบสารทําความเย็นเพื่อปองกันความชื้น 1. อธิบายวิธีการจัดเก็บสารทําความเย็น เพื่อการเคลื่อนยายหรือการซอมบํารุงโดยการปมดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นได 2. อธิบายวิธีการจัดเก็บอุปกรณระบบสารทําความเย็นเพื่อปองกันความชื้นได

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 8 09217310 วิธีการจัดเก็บสารทําความเย็น เพื่อการเคลื่อนยายหรือการซอมบํารุงโดยการ ปมดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นอยางถูกตอง และการจัดเก็บอุปกรณระบบสารทําความเย็นเพื่อ ปองกันความชื้น 1. การดูดเก็บสารทําความเย็นมีประโยชนในเรื่องใด ก. สามารถเก็บสารทําความเย็นไดในปริมาณมาก ข. สามารถนําสารทําความเย็นกลับมาใชใหมได ค. ชวยควบคุมอุณหภูมิสารทําความเย็นได ง. ชวยบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 2. อุปกรณใดที่ควรจัดเก็บหรือติดตั้งในที่ที่มีอากาศถายเทสะดวก ก. คอมเพรสเซอร ค. ถังบรรจุสารทําความเย็น ข. แมนิโฟลดเกจ

ง. อุปกรณแยกน้ํามัน

3. ในการดูดสารทําความเย็นอาจทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นควรใชสิ่งใดเขาชวยในระบบ ก. อุปกรณชวยระบายความรอน ค. คอมเพรสเซอร ข. สารทําความเย็นในปริมาณมาก

ง. แมนิโฟลดเกจ

4. ระบบดูดสารทําความเย็นที่เปนลักษณะไอเขาถังนั้น ไมไดติดตั้งอุปกรณใด ก. คอมเพรสเซอร ค. อุปกรณระบายความรอน ข. แมนิโฟลดเกจ

ง. ถังบรรจุสารทําความเย็น

5. การดูดสารทําความเย็นแบบปมดาวนใชหลักการใดเขาชวย ก. ความดัน ข. อุณหภูมิ

ค. ไฟฟา ง. ปริมาณสาร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

6. คอมเพรสเซอรมีการจัดเก็บอยางไร ก. จัดเก็บที่หองรักษาอุณหภูมิ ข. จัดเก็บที่ที่อากาศถายเทสะดวก

ค. จัดเก็บที่ความดันต่ํา ง. จัดเก็บที่ความดันสูง

7. ในบางกรณีการดูดสารทําความเย็นออกมาจะมีการปนเปอนของน้ํามันออกมา สารที่ไดมานั้นสามารถนําไปใช ไดหรือไม เพราะเหตุใด ก. ใชได ถาสารทําความเย็นไมหมดอายุ ข. ใชได ถาอุณหภูมิของสารทําความเย็นไมต่ําเกินไป ค. ใชไมได เพราะอาจทําใหเครื่องขัดของ ง. ใชไดเปนบางกรณี 8. การติดตั้งอุปกรณแยกน้ํามันควรติดตั้งที่ใด ก. ดานซายของคอมเพรสเซอร ข. ดานหนาของถังเก็นสารทําความเย็น ค. ระหวางคอมเพรสเซอรและคอนเดนเซอร ง. ระหวางคอนเดนเซอรและถังเก็บสารทําความเย็น 9. ขอใดไมใชวิธีการเก็บถังบรรจุสารทําความเย็น ก. เก็บแยกตามประเภทของสารทําความเย็น ข. เก็บสารทําความเย็นตามถังที่กําหนด ค. เก็บที่อุณหภูมิปกติ ง. หลีกเลี่ยงประกายไฟ 10. แมนิโฟลดเกจใชงานไดหลายอยางยกเวนขอใด ก. การทําสุญญากาศ ข. การเติมสารหลอลื่น ค. การควบคุมอุณหภูมิ ง. การตรวจวัดความดัน 6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 8 09217310 วิธีการจัดเก็บสารทําความเย็น เพื่อการเคลื่อนยายหรือการซอมบํารุงโดยการ ปมดาวนหรือใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นอยางถูกตอง และการจัดเก็บอุปกรณระบบสารทําความเย็นเพื่อ ปองกันความชื้น 1. ในบางกรณีการดูดสารทําความเย็นออกมาจะมีการปนเปอนของน้ํามันออกมา สารที่ไดมานั้นสามารถนําไปใช ไดหรือไม เพราะเหตุใด ก. ใชไมได เพราะอาจทําใหเครื่องขัดของ ข. ใชไดเปนบางกรณี ค. ใชได ถาสารทําความเย็นไมหมดอายุ ง. ใชได ถาอุณหภูมิของสารทําความเย็นไมต่ําเกินไป 2. การดูดเก็บสารทําความเย็นมีประโยชนในเรื่องใด ก. สามารถเก็บสารทําความเย็นไดในปริมาณมาก ข. ชวยควบคุมอุณหภูมิสารทําความเย็นได ค. สามารถนําสารทําความเย็นกลับมาใชใหมได ง. ชวยบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 3. แมนิโฟลดเกจใชงานไดหลายอยางยกเวนขอใด ก. การทําสุญญากาศ ข. การเติมสารหลอลื่น ค. การควบคุมอุณหภูมิ ง. การตรวจวัดความดัน 4. คอมเพรสเซอรมีการจัดเก็บอยางไร ก. จัดเก็บที่ที่อากาศถายเทสะดวก ข. จัดเก็บที่หองรักษาอุณหภูมิ

ค. จัดเก็บที่ความดันต่ํา ง. จัดเก็บที่ความดันสูง

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. อุปกรณใดที่ควรจัดเก็บหรือติดตั้งในที่ที่มีอากาศถายเทสะดวก ก. ถังบรรจุสารทําความเย็น ข. อุปกรณแยกน้ํามัน

ค. คอมเพรสเซอร ง. แมนิโฟลดเกจ

6. ขอใดไมใชวิธีการเก็บถังบรรจุสารทําความเย็น ก. เก็บแยกตามประเภทของสารทําความเย็น ข. หลีกเลี่ยงประกายไฟ ค. เก็บที่อุณหภูมิปกติ ง. เก็บสารทําความเย็นตามถังที่กําหนด 7. ในการดูดสารทําความเย็นอาจทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นควรใชสิ่งใดเขาชวยในระบบ ก. สารทําความเย็นในปริมาณมาก ข. อุปกรณชวยระบายความรอน

ค. คอมเพรสเซอร ง. แมนิโฟลดเกจ

8. ระบบดูดสารทําความเย็นที่เปนลักษณะไอเขาถังนั้น ไมไดติดตั้งอุปกรณใด ก. คอมเพรสเซอร ข. แมนิโฟลดเกจ

ค. ถังบรรจุสารทําความเย็น ง. อุปกรณระบายความรอน

9. การดูดสารทําความเย็นแบบปมดาวนใชหลักการใดเขาชวย ก. ไฟฟา ข. อุณหภูมิ

ค. ความดัน ง. ปริมาณสาร

10. การติดตั้งอุปกรณแยกน้ํามันควรติดตั้งที่ใด ก. ดานซายของคอมเพรสเซอร ข. ดานหนาของถังเก็นสารทําความเย็น ค. ระหวางคอมเพรสเซอรและคอนเดนเซอร ง. ระหวางคอนเดนเซอรและถังเก็บสารทําความเย็น

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1. 2.

1. 2. 3. 4.

3. 4. 5. 6. 7.

5. 6. 7. 8. 9.

8. 9. 10.

10.

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1. 2. 3.

1. 2. 3. 4. 5.

4. 5. 6. 7. 8.

6. 7. 8. 9. 10. หมายเหตุ

9. 10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผา นเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขัว้ คอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูร ับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 80 = 0.381 210

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

162 × 0.381 = 61.72

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการจัดเก็บสารทํา ความเย็น เพื่อการเคลื่อนยาย หรือการซอมบํารุงโดยการปม ดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทํา ความเย็นได 2. อธิบายวิธีการจัดเก็บอุปกรณ ระบบสารทําความเย็นเพื่อ ปองกันความชื้นได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการจัดเก็บสารทํา ความเย็น เพื่อการเคลื่อนยาย หรือการซอมบํารุงโดยการปม ดาวน หรือใชเครื่องเก็บสารทํา ความเย็นได 2. อธิบายวิธีการจัดเก็บอุปกรณ ระบบสารทําความเย็นเพื่อ ปองกันความชื้นได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)

คะแนนที่ได

คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor

คา Factor

ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)

10

* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.