คู่มือครูฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 5

Page 1

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คูมือครูฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5

09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 5 วัสดุ เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลั กสู ต รฝ กอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการ การฝกอบรมใหเ ปน ไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบ ายวิธีการใชงาน และสามารถบํารุงรักษาเครื่องมือพื้น ฐาน ทางดานชางยนตได ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตาม มาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิ ด การเรีย นรูดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต อ งการ โดยยึ ด ความสามารถของผู รั บ การฝ ก เป น หลั ก การฝ ก อบรมในระบบดั ง กลา ว จึ ง เป น รู ป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 5 09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต หัวขอวิชาที่ 1 0921020201 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง

20

หัวขอวิชาที่ 2 0921020202 เครื่องมือวัดทางชางยนต

82

หัวขอวิชาที่ 3 0921020203 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต

131

คณะผูจัดทําโครงการ

179

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมิน พื้นฐานความรู ความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ท่ี ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข ารั บการฝ กภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝ กในโมดูล ถัด ไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

­ ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ าไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100501

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต รหัสโมดูลการฝก 09210202 3. ระยะเวลาการฝก รวม 9 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ 8 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน และการบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 3. อธิบายวิธีการใช และการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 4. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 5. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษาเครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 6. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องการปฏิบัติงานชางเบื้องตน 2. มีความรูเรื่องการชางพื้นฐาน ผูรับการฝก 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 4 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน หัวขอที่ 1 : เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง 0:45 3:30 4:15 และการบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ทั่วไปได 2. ใช แ ละบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ทั่วไปได สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. อธิบายวิธีการใช และ หัวขอที่ 2 : เครื่องมือวัดทางชางยนต การบํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางชางยนตได 4. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางชางยนตได 5. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษา หัวขอที่ 3 : เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต เครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 6. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิด พิเศษตาง ๆ ได รวมทั้งสิ้น

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

2:30

3:00

0:30

2:00

2:30

1:45

8:00

9:45


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020201 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน และการบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

2. หัวขอสําคัญ 1. เครื่ องมื อช างทั่ วไป ได แก ประแจ ไขควง ค อน คี ม ปากกาจั บงาน ตะไบ ประแจเลื่ อน สกั ด เหล็ กส ง ดอกสว าน สวาน กาน้ํามันเครื่อง ชุดอุปกรณกําเนิดลมและสงจายลม ปนลม ประแจลม หินเจียระไน เครื่องมือยกรถ แทนอัดไฮดรอลิก 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว 3. ไขควงตอก

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันหลอลื่นปมแบบลูกสูบ จํานวน 1 ลิตร 2) น้ํายาลางทําความสะอาด จํานวน 1 ขวด 3) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กรวยพลาสติก จํานวน 1 อัน 2) เครื่องมือชางพื้นฐาน จํานวน 1 ชุด 3) ถาดรอง จํานวน 1 ใบ 4) ปมลมแบบลูกสูบ จํานวน 1 ตัว 5) ปนเปาลม จํานวน 1 ตัว 6) แมแรงตะเฆ จํานวน 1 ตัว 7) ไมบรรทัด จํานวน 1 อัน 8) รถยนตนั่งสวนบุคคล จํานวน 1 คัน 9) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว 10) หมอนรองลอรถกันลื่นไถล จํานวน 4 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม วิธีใชงานประแจ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.hardwaremart.net/index.php?option=com_ content&view=article&id=66:-m-m-s&catid=49:-m---m-s&Itemid=84 ยุคล จุลอุภัย. ม.ป.ป. เทคโนโลยีเครื่องมือเบื้องตนสําหรับชางเชื่อม. ม.ป.ท. : สถาบันการเชื่อมแหงประเทศไทย. ชนิดของคีมและวิธีการใชงานคีมอยางปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thaieditorial.com/ ชนิดของคีมและวิธีการใช/ เทวัญ นราธาวา. เครื่องมือประเภทคีม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://krootewan2013.wordpress.com/ เครื่องมือประเภทคีม/ โลกหุน. 2557. สารพัดชาง วิธีใชเลื่อยมือที่ถูกตอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.lokehoon.com/ topic.php?q_id=77 2559. วิธีใช วิธีเก็บรักษา เครื่องมือชาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://realmartonline.com/ วิธีรักษาเครื่องมือ/ Purinatth. 2551. สกัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://engineerknowledge. blogspot.com/2008/11/blog-post_4459.html

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 14-72 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริ ง ได แก เครื่ องมื อ พื้นฐานทางดานงานชาง 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อทั่ ว ไปทางด า น ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช งานชาง ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง เครื่องมือทั่วไป 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ทางดานงานชาง ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 14-72

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่องมือทั่วไปทางดาน งานชาง หนาที่ 14-72 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาตามหัวขอของแผนการจัดการเรียนรู 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม โดยใช วิธี ถาม-ตอบกั บผู รับ การฝกโดยใชความรู เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ เดิ ม ของผู รั บ การฝ ก มาต อ ยอดเป น ความรู ใ หม เรียบรอย พร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 17-47 โดยมี สาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 เครื่องมือชางทั่วไป 2.2 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 ไขควงตอก 3. ให ผู รั บ การฝ ก หยิ บ เครื่ อ งมื อ ตามที่ ค รู ฝ ก 3. เลือกหยิบเครื่องมือใหถูกตอง กําหนด 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 48-50 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 48-50 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 59 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.1 การใชแมแรง 6. ศึกษาใบงานที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ ตะเฆ แ ละลิ ฟ ต ย กรถ จากคู มื อผู รั บการฝ ก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 51-63 ซักถามขอสงสัย หนาที่ 51-63 ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-23-48 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 ตรวจสอบสภาพของแมแรงตะเฆ 7.2 ทดลองใชแมแรงตะเฆยกรถ 7.3 ตรวจสอบสภาพของลิฟตยกรถ 7.4 ทดลองใชลิฟตยกรถ 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 52 หนาที่ 61 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 1.2 การ 13. ศึกษาใบงานที่ 1.2 การบํารุงรัก ษาปม ลม จาก บํารุงรักษาปมลม จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ คูมือผูรับการฝก หนาที่ 64-72 ซักถามขอสงสัย 64-72 ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 24:00-28:47 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 บํารุงรักษาปมลม 14.2 วิธีใชปมลม 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รับวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 65-66 หนาที่ 74-75 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือทั่วไป ทางดานงานชาง ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือทั่วไป ทางด า นงานช า ง เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิบั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง เครื่องมือเปนอุปกรณที่มีความสําคัญมากในการทํางาน โดยผูปฏิบัติงานนั้นจําเปนตองเลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับ งานและถูกตอง โดยเครื่องมือแตละชนิดจะถูกนํามาใชกับงานที่แตกตางกัน เครื่องมือเปนอุปกรณที่ใชงานโดยจําเปนที่ตองใช แรงจากผูปฏิบัติงาน ซึ่งอาจใชสําหรับขัน ตอก ตัด วัด และงานเฉพาะดาน ในการใชงานเครื่องมือตาง ๆ ไมเพียงแตจะใชใน การปฏิบัติงานใหเสร็จสิ้น แตจําเปนตองปฏิบัติงานใหถูกขั้นตอน และตองคํานึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงานดวยเชนกัน 1. เครื่องมือชางทั่วไป เครื่องมือชางทั่วไปเปนเครื่องมือพื้นฐานในงานชางทุกประเภท ซึ่งมีอุปกรณหลากหลายประเภท ทั้งขนาดเล็ก กลางไป จนถึงอุปกรณที่ยึดอยูกับที่ เครื่องมือชางทั่วไปมีดังนี้ 1.1 ประแจ (Spanner) เปนเครื่องมือที่ใชแรงในการทํางานเปนสําคัญ ใชสําหรับจับ ยึด ขัน หรือคลายหัวสกรู นอต สลักเกลียว และทอ ประแจจะมีรูปราง ขนาด และความยาวแตกตางกัน ดังนี้ 1) ประแจปากตาย (Open-end Spanner) เปนประแจที่มีปากสัมผัสกับหัวนอตหรือโบลตเพียงสองด าน จึงเปนเครื่องมือที่สะดวกในการขันนอตหรือโบลตที่อยูในพื้นที่แคบ ขนาดของประแจปากตายมักเรียก ตามขนาดตาง ๆ ของโบลต ซึ่งไดแก ระบบอังกฤษ เชน ขนาดเบอร 1/2 หรือ เบอร 3/4 และระบบเมตริก เชน ขนาดเบอร 10 หรือ เบอร 12 เปนตน

ภาพที่ 1.1 ประแจปากตาย การใชงานประแจปากตาย ควรเลือกประแจปากตายที่มีขนาดเหมาะสมกับนอตหรือโบลต โดยใหปาก ของประแจขบกันพอดีกับนอตหรือโบลต เมื่อตองใชประแจปากตายขันหรือคลายโบลต ควรดึงประแจเขาหาตัว แตหากจําเปนตองขันออกจากตัว ใหใชอุงมือดันประแจเพื่อลดอันตรายจากการลื่น และหามใชเครื่องมืออื่น ตอเขากับประแจเพื่อเพิ่มแรงขัน เพราะอาจทําใหนอตหรือโบลตเสียหายได

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.2 การใชงานประแจปากตาย 2) ประแจแหวน (Box-end Spanner) เปนประแจที่สามารถจับหัวสลักและขันนอตไดดีกวาประแจ ปากตาย โดยมี มุ ม จั บ ตั้ ง แต 6 มุ ม , 8 มุ ม และ 12 มุ ม การบอกขนาดของประแจแหวนใช ร ะบบเดี ย วกั บ ประแจปากตาย คือ ใชทั้งระบบอังกฤษและระบบเมตริก

ภาพที่ 1.3 ประแจแหวน

ภาพที่ 1.4 ลักษณะของประแจแหวนขนาดตาง ๆ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3) ประแจรวม (Combination Spanner) เปนประแจที่มีลักษณะผสมระหวางประแจปากตายกับประแจแหวน โดยปลายดานหนึ่งจะเปนปลายประแจปากตาย และอีกดานหนึ่งเปนปลายประแจแหวน มีลักษณะ การใชงานเหมือนประแจทั้งสองชนิด แตดานปากตายจะไมมีมุมเอียง และดานปากแหวนจะมีปากแบน กวาประแจแหวน จึงใชขันในพื้นที่แคบไดดีกวา

ภาพที่ 1.5 ประแจรวม 4) ประแจกระบอก (Socket Spanner) ปากของประแจกระบอกจะมี ลั กษณะเหมื อนกั บ ประแจแหวน มีมุมเหลี่ยมตั้งแต 6 มุม, 8 มุม และ 12 มุม อยูภายในของตัวประแจกระบอก

ภาพที่ 1.6 ประแจกระบอก

ภาพที่ 1.7 ลักษณะของประแจกระบอกและดามขัน 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เมื่อตองการใชควรใชรวมกับดามขัน โดยสามารถเปลี่ยนขนาดของประแจกระบอกไดตามสภาพและ ความเหมาะสม ซึ่งดามขันที่ใชรวมกับประแจกระบอกมีหลายชนิด ไดแก - ดามขันยาว (Flex Handle) ใชสําหรับขันนอตหรือโบลตที่แนนมาก มักจะใชคลายเฉพาะใน ขั้นตอนแรกและขั้นตอนสุดทาย

ภาพที่ 1.8 ดามขันยาว - ด า มขั น กรอกแกรก (Ratchet Handle) ใช สํ า หรั บ งานที่ มี พื้ น ที่ ขั น แคบ และต อ งการ ความสะดวกรวดเร็ว เพราะสามารถปรับทิศทางการขันเขา – ออกได

ภาพที่ 1.9 ดามขันกรอกแกรกและการปรับ - ด า มขั น ตั ว ที (Sliding T - Handle) ใช สํ า หรั บ งานที่ ต อ งออกแรงขั น สองข า งเท า ๆ กั น มีลักษณะคลายดามขันยาว สามารถเลื่อนปรับไปมาได

ภาพที่ 1.10 ดามขันตัวที

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ดามขันเรง (Speed Handle) ใชสําหรับขันนอตหรือโบลตที่ตองการความรวดเร็ว เนื่องจาก ดามขันมีลักษณะคลายสวาน แตนอตหรือโบลตที่จะใชขันตองถูกคลายออกจนหลวมกอน และ จะตองมีพื้นที่ในการขันกวางพอที่ดามจะหมุนไปมาได

ภาพที่ 1.11 ดามขันเรง - ก า นต อ (Extension Bar) ใชสําหรับ เชื่อมตอประแจกับ ดามขัน เพื่อใหมีความยาวเพีย งพอ เมื่อตองการขันนอตหรือโบลตที่อยูในพื้นที่แคบหรือลึก

ภาพที่ 1.12 กานตอ - ขอตอออน (Universal Joint) มีลักษณะการใชงานเหมือนกับขอตอ แตสามารถใชขันนอตหรือ โบลตที่อยูในแนวตางระดับซึ่งไมเปนเสนตรงได

ภาพที่ 1.13 การใชงานขอตอออน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ขอตอเพิ่มลด (Drive Size Adaptors) ใชสําหรับปรับขนาดของดามขันและประแจกระบอกที่มี ขนาดไมเทากัน เพื่อใหสามารถใชงานรวมกันได

ภาพที่ 1.14 การใชงานขอตอเพิ่มลด 5) ประแจเลื่อน (Adjustable Spanner) คือ ประแจที่สามารถปรับขนาดเพื่อใหเหมาะสมกับขนาดของ แปนเกลียวได โดยจะปรับตรงสวนที่เปนสลักเกลียว ประแจชนิดนี้จะมีปากดานหนึ่งที่สามารถปรับเขาออกได จึงไมแข็งแรง และตองใหปากประแจดานที่ไมเคลื่อนเปนดานที่รับแรงมากกวา และปรับขนาดของปาก ใหแนบสนิทกับแปนเกลียวทุกครั้ง

ภาพที่ 1.15 ประแจเลื่อน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.16 การใชงานประแจเลื่อน 6) ประแจวัดแรงบิด (Torque Spanner) คือ เครื่องมือที่ใชรวมกับประแจกระบอก เพื่อขันนอตหรือโบลต ที่ตองการแรงขันที่แนนอนตามคาที่กําหนด โดยตัวประแจวัดแรงบิดจะมีสเกลแสดงคาแรงขันไวที่ดามขัน

ภาพที่ 1.17 ประแจวัดแรงบิด 7) ประแจแอล (Set Screw Spanner) ใชสําหรับขันโบลตที่มีหัวกลมภายนอก สวนภายในจะมีลักษณะเปน หลุมรูปหกเหลี่ยม ประแจแอลมีหลายขนาดตามขนาดของหัวโบลต และบอกขนาดโดยใชทั้งระบบอังกฤษ และระบบเมตริก

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.18 ประแจแอล 8) ประแจจับทอ (Pipe Spanner) ใชสําหรับจับชิ้นงานที่มีลักษณะเปนทรงกระบอก เชน ทอเหล็ก หรือ เพลา เปนตน

ภาพที่ 1.19 ประแจจับทอ 9) ประแจถอดสตัด (Stud Spanner) ใชสําหรับถอดสลักเกลียวหรือสตัดที่ไมมีหัวสําหรับขันเขาหรือออก เชน สตัดยึดฝาสูบกับเสื้อสูบ เปนตน

ภาพที่ 1.20 ประแจถอดสตัด 10) ประแจถอดหัวเทียน (Spark Plug Spanner) ใชสําหรับถอดหัวเทียน มีลักษณะคลายกับประแจกระบอก แตมีความสูงมากกว า ประแจถอดหัวเที ยนบางแบบจะฝ งแม เหล็กติด อยูที่ตัว ของประแจ เมื่อคลาย หัวเทียนออกจะสามารถดึงหัวเทียนติดออกมากับประแจได

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.21 ประแจถอดหัวเทียน 11) ประแจลม (Air impact Spanner) คือ ประแจสําหรับ ขันนอตใหแนน โดยอาศัย พลังงานจากปมลม สามารถใชกับอุปกรณในหองเครื่องยนต และในงานอุตสาหกรรมทั่วไปได มี 3 รูปทรง ไดแก ทรงปน ซึ่งเหมาะกับการใชงานทั่วไป ทรงกระบอก เหมาะกับงานในไลนประกอบ และทรง 90 องศาเหมาะสําหรับ การขันนอตตามซอกมุมตาง ๆ

ภาพที่ 1.22 ประแจลม 1.1.1 วิธีการใชงานประแจประเภทตาง ๆ 1) เลือกใชประแจที่มีขนาดของปากและความยาวของดามที่เหมาะสมกับงานที่ใช ไมควรตอดาม ใหยาวกวาปกติ 2) ปากของประแจตองไมชํารุด เชน สึกหรอ ถางออก หรือราว 3) เมื่อสวมใสประแจเขากับหัวนอต หรือหัวสกรูแลว ปากของประแจตองแนนพอดีและคลุมเต็ม หัวนอตหรือสกรู 4) การจับ ประแจสําหรับ ผูถนัด มือขวา ใหใชมือขวาจับ ปลายประแจ สว นมือซายใหป ระคอง และกดปลายประแจอีกดานหนึ่งเบา ๆ รางกายตองอยูในสภาพมั่นคงและสมดุล 5) การใชประแจไมวาจะเปนการขันเขาใหแนน หรือคลายออกตองใชวิธีดึงเขาหาตัวเสมอ และ เตรียมพรอมสําหรับปากประแจหลุดขณะขันหรือคลายดวย 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

6) ตองเลือกใชประแจชนิดปากปรับไมไดกอน เชน ประแจแหวนหรือประแจปากตาย ถาประแจ เหลานี้ใชไมไดจึงคอยเลือกใชประแจชนิดปากปรับได เชน ประแจเลื่อน แทน 7) การใชประแจชนิดปากปรับได เชน ประแจเลื่อนหรือประแจจับทอ ตองใหปากดานที่เลื่อนได อยูใ กลตัวกับผูใชเสมอ 8) การใชประแจชนิดปากปรับได ตองปรับปากประแจใหแนนกับหัวนอตกอน จึงคอยออกแรงขัน 9) ปากและดามของประแจตองแหงปราศจากคราบน้ํามันหรือจาระบี 10) การขัน นอต หรือสกรูที่อยูในที่แคบ หรือลึก ใหใชป ระแจกระบอก เพราะปากของประแจ กระบอกจะยาว สามารถสอดเขาไปในรูที่คับแคบได 11) ขณะขันหรือคลาย ประแจตองอยูแนวระนาบเดียวกันกับหัวนอตหรือหัวสกรู 12) ไมควรใชประแจชนิดปากปรับไดกับหัวนอตหรือสกรูที่จะนํากลับมาใชอีกเพราะหัวนอต หรือ สกรูจะเสียรูป 1.1.2 การบํารุงรักษาประแจ 1) ใชประแจที่มีขนาดพอดีกับขนาดของนอตหรือสกรู 2) ไมใชประแจสําหรับตอกหรือตีแทนคอน 3) ทําความสะอาดหลังใชงานทุกครั้ง 4) สําหรับประแจลม ควรหยอดน้ํามันหลอลื่นสําหรับประแจลม 2-3 หยด ที่จุดเติมน้ํามันทายดาม จับทุกครั้งกอนใชงาน น้ํามันจะชวยใหประแจลมทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และไมสงเสียงดัง 1.2 ไขควง (Screw Driver) เปนเครื่องมือสําหรับ ขันและคลาย สกรูชนิดหัวผา และหัวแฉก ขนาดและรูปทรงของไขควง ถูกออกแบบใหเปนไปตามลักษณะการใชงาน เชน ไขควงที่ใชสําหรับงานของชางอัญมณี (Jeweler's Screw Driver) จะออกแบบมาใหเป นไขควงที่ใชสําหรั บงานละเอียดเที่ย งตรงกับ ไขควงที่ ใช ในงานหนักของชางเครื่ องกลจะ ออกแบบใหกานใบเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพื่อใหใชประแจ หรือคีมจับชวยขันเพื่อเพิ่มแรงในการบิดตัวของไขควงให มากกวาเดิมได ไขควงประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวนคือ ดามไขควง (Handle) กานไขควง (Blade or Ferule) และปากไขควง (Tip)

ภาพที่ 1.23 ดามไขควง (Handle)

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.24 กานไขควง (Blade or Ferule)

ภาพที่ 1.25 ปากไขควง (Tip) 1.2.1 โครงสรางสวนประกอบของไขควง ดามไขควง ออกแบบใหมีรูปทรงที่สามารถจับไดถนัดมือ และสามารถบิดไขควงไป - มา ไดแรงมากที่สุด ไขควงจะทําจากวัสดุตาง ๆ เชน ไม พลาสติก หรือ โลหะบางชนิดตามประเภทการใชงาน ปากไขควงจะทําจาก เหล็กกลาเกรดดี ทรงกลม หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตีขึ้นรูปใหลาดแบน และชุบแข็งดวยความรอน ในสวนที่ไมไดตีขึ้นรูป จะเปนกานไขควง ถาเปนไขควงที่ใชสําหรับงานเบาจะเปนเหล็กกลาทรงกลม ถาเปนไขควงสําหรับใชงานหนักจะ เปนเหล็กกลาทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพื่อใหสามารถใชประแจหรือคีมจับเพิ่มแรงบิดงานได กานไขควงสวนที่ตอกับ ดามจะตีเปนเหลี่ยมลาด เพื่อใหสวมไดสนิทกับดาม และเพื่อใหดามจับกานไขควงไดสนิท ไมหมุนเมื่อใชงาน ในปจจุบันมีการออกแบบใหกานไขควงทะลุตลอดดามที่เปนพลาสติกหรือไฟเบอร และทําเปนแทนรับแรง สามารถใชคอนเคาะตอกเพื่อการทํางานบางประเภทได ขนาดความกวางของปากไขควงจะมีสัดสวนมาตรฐาน สัมพันธกับความยาวของขนาดทั้งหมดของไขควงซึ่ งเปน ข อสําคัญอยางยิ่งสําหรั บการเลื อกใชไขควง เพราะ แรงบิดที่กระทําตอตัวสกรูจะเปนผลสวนหนึ่งมาจากความยาวนี้ และอีกประการหนึ่ง ไขควงขนาดยาว ปากไขควง จะกวางกวาปากไขควงขนาดสั้น ความหนาของปากไขควงจะขึ้นอยูกับความกวางของปาก ปากกวางมากก็จะยิ่งมี ความหนามากขึ้น ความหนาของปากไขควงเปนผลโดยตรงกับการออกแรงบิดตัวสกรู เพราะถาขนาดของปากไขควง ไมพอดีกับรองผาของหัวสกรูจะทําใหการขันพลาด ทําใหหัวสกรูเยิน หรือตองสูญเสียแรงงานสวนหนึ่งในการประคอง 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ปากไขควง ใหอยูบนรองหัวสกรูแทนการหมุนสกรูกอน การนําไขควงไปใชงานตองตรวจสอบปากไขควงใหอยูใน สภาพพร อมที่ จ ะใช งาน คื อ ปากต องเรีย บ ไมมีร อยบิด และเมื่อพิจ ารณาดูจ ากดานลาง ตองมีรูป ทรงเป น สี่เหลี่ยมผืนผา ไขควงที่ปากชํารุดสึกหรอไมเรียบตรง หรือปากแตกราว เปนอันตรายตอการใชงานมาก เพราะ เมื่อใชงานปากไขควงจะไมสัมผัสกับรองบนหัวสกรูเต็มที่ เมื่อออกแรงบิดจะทําใหพลาดจากรอง จะทําใหหัวสกรู บิ่นหรือลื่นจากหัวสกรู

ภาพที่ 1.26 ลักษณะปากไขควงและการใชงาน 1.2.2 ชนิดของไขควง 1) ไขควงปากแบน (slotted screwdrivers) ใช ขั น หรื อ คลายสกรู หรื อ นอตที่ หั ว มี ร อ งผ า เสนผานศูนยกลางหัวสกรูหรือนอต

ภาพที่ 1.27 ไขควงปากแบน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2) ไขควงปากแฉก (phillip screwdriver) ใชสําหรับขันหรือคลายสกรู หรือนอตที่มหี ัวเปนแฉก หรือกากบาท ซึ่งมีหลายขนาดใหเลือกใช

ภาพที่ 1.28 ไขควงปากแฉก 3) ไขควงออฟเซต (offset screwdriver) หรือไขควงแบบเยื้องศูนย เปนไขควงชนิดพิเศษที่ไขควง ธรรมดาไมสามารถใชได สําหรับไขควงชนิดนี้จะใชในที่เฉพาะ มีรูปรางแตกตางกับไขควงปกติ และมีปลายไขควงอยูในตําแหนงเยื้องศูนย มีทั้งปากแบนและปากแฉกอยูในตัวเดียวกัน

ภาพที่ 1.29 ไขควงออฟเซต 1.2.3 การบํารุงรักษาไขควง 1) เลือกไขควงใหเหมาะสมกับรองผาของสกรู 2) หามนําไขควงไปใชกับงานที่หนักเกินไป เพราะอาจทําใหไขควงคดงอได 3) หามใชไขควงแทนเหล็กสกัด 4) เช็ดทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บใสกลองเครื่องมือ 1.3 คีม (Pliers) ใชสําหรับการจับชิ้นงานเพื่อทํางานใด ๆ คือใชในงานตัดวัตถุที่ไมแข็งแรงมากนัก เชน สายไฟฟา ลวด หรือสลักล็อกขนาดเล็ก คีมมีรูป รางและขนาดแตกตางกัน ตามลักษณะการใชงาน คีมบางชนิดออกแบบมา เพื่อใชงานไดหลายหนาที่ เชน ทั้งในการจับงานและตัดชิ้นงาน คีมบางแบบมีขอตอเลื่อนที่สามารถปรับขนาดความกวาง ของปากในการจับชิ้นงานได การแบงประเภทของคีม และเรียกชื่อ จะเปนไปตามลักษณะรูปราง การใชงาน ซึ่งมีหลาย รูปแบบดวยกัน ดังนี้ 1) คีมเลื่อน (Combination Plier) ใชสําหรับจับชิ้นงานทั่วไป สามารถปรับขนาดความกวางของชิ้นงานได ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ ยังสามารถตัดชิ้นงานที่ไมหนามากนักได 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.30 คีมเลื่อน 2) คี มตั ดข าง/คี มปากจิ้ งจก (Lineman Plier) หรื อ (Combination Plier) ที่ ปากคี มมี คม ไวสําหรับ ตั ด ดานขาง และสามารถใชจับชิ้นงานได เหมาะกับการใชงานตัดและจับชิ้นงาน ปกติคีมจะชุบแข็ง ไมควรจับ ชิ้นงานที่รอน ไมควรใชคีมแทนประแจ หามใชคีมตัดลวดเหล็กสปริง หามใชขันขั้วไฟฟาแรงสูง หามใชคอน ชวยตีถาตองการตัดลวด หลังใชงานเช็ดทําความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ

ภาพที่ 1.31 คีมตัดขาง 3) คีมตัด (Diagonal cutter Plier) ปากดานขางมีลักษณะเปนคมตัดและชุบแข็ง ใชสําหรับตัดปนล็อก ลวด สายไฟ และใชปอกสายไฟขนาดเล็ก ปกติคีมจะชุบแข็ง ไมควรจับชิ้นงานที่รอน นอกจากคีมงานเชื่อม ไมควรใชคีมแทนประแจ หามใชคีมตัด ลวดเหล็กสปริง หามใชขัน ขั้ว ไฟฟาแรงสูง หามใชคอนชวยตี ถาตองการตัดลวด หลังใชงานเช็ดทําความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ

ภาพที่ 1.32 คีมตัด 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4) คีมล็อก (Locking Plier) ออกแบบเปนพิเศษใชงานเฉพาะ ปลายดามมีสกรูปรับ มีแบบธรรมดา แบบปาก แหลม แบบใชกับงานเชื่อม แบบชนิดแคลมปใชสําหรับจับหรือบีบชิ้นงานใหแนนมาก บีบทอน้ํายาแอร ปกติคีมจะชุบแข็ ง ไมควรจับชิ้นงานที่รอน ไมควรใชคีมแทนประแจ หลังใชงานตองเช็ดทํ าความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ

ภาพที่ 1.33 คีมล็อก 5) คีมถอดประกอบแหวนล็อก (Snap ring Plier) มักเรียกวา คีมถาง-คีมหุบแหวนล็อก ตรงปลายคีมจะ มีปลายแหลมคลายกับปากกาลูกลื่น สามารถใชบีบหรือถางแหวนได ใชถอดแหวนล็อกลูกสูบ หรือแหวนล็อก เพลา ปกติคีมจะชุบแข็ง หลังใชงานตองเช็ดทําความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ

ภาพที่ 1.34 คีมถอดแหวนล็อก 1.3.1 การบํารุงรักษาคีม 1) เลือกใชคีมใหเหมาะสมกับงาน 2) ไมควรบีบคีมแรงเกินไป เพราะอาจทําใหหักได 3) ไมควรใชคีมแทนคอนหรืออุปกรณอื่น ๆ 4) ไมควรใชคีมจับโลหะที่มีผิวชุบแข็ง เพราะอาจทําใหฟนของคีมบิ่น หรือลื่น จนไมสามารถใชงานได 1.4 คอน (Hammer) เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับตอกชิ้นสวนตางๆของเครื่องจักรกล และคอนยังสามารถใชตีเพื่อขึ้นรูป หรื อสามารถตี ดัดชิ้น งานได ตามความตองการของผูใชงาน โดยคอนแตล ะประเภทนั้นจะนํามาใชงานตางกัน ดังตอไปนี้ 1) ค อนหั ว กลม (Ballpeen hammer) ลั กษณะของหั ว ค อนจะมีลักษณะกลมมน หนาคอนแบนเรีย บ คอนประเภทนี้จะนํามาใชงานหนักทั่วไป เชน ตอกตะปู ย้ําหมุด ตอกสกัด เปนตน 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.35 คอนหัวกลม 2) คอนทองเหลือง (Brass Hammer) มีลักษณะหัวคอนออนปานกลาง ผิวหนามีความโคงเล็กนอย ทํามา จากทองเหลือง ใชสําหรับตอกวัตถุที่ไมตองการใหผิวเสียหาย

ภาพที่ 1.36 คอนทองเหลือง 3) คอนพลาสติก (Plastic hammer) ใชสําหรับตอกหรือเคาะงานออนและบอบบาง หัวคอนทํามาจาก พลาสติกและขันติดอยูกับเกลียวของอะลูมิเนียมหลอ หนาตัดมีลักษณะกลมผิวหนานูนเล็กนอย

`ภาพที่ 1.37 คอนพลาสติก 4) คอนยาง (Rubber Mallets) มีลักษณะหัวคอนเปนยางมีหัวกลมหนาเรียบทั้งสองดาน คอนประเภทนี้นิยม ใชสําหรับงานที่ตองการความประณีตของงาน เพื่อไมตองการใหชิ้นงานยุบบุบหรือแตกราว

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.38 คอนยาง 1.4.1 การบํารุงรักษาคอน 1) เลือกใชคอนใหเหมาะสมกับงาน 2) ทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และทาน้ํามันปองกันสนิมที่หัวคอน 1.5 สกัด (Cold chlisel) ทําดวยโลหะมีรูปรางหลายแบบตามลักษณะของหัวสกัด สกัดเปนเครื่องมือซอมแซมที่ ใชงานรวมกับคอน โดยจะใชสกัดในงานตัดเศษโลหะสวนเกินบนผิวโลหะ ตัดนอตหรือสกัดเกลียวที่ถอดไมออก ตัดรอยเชื่อมสวนเกิน ตัดแผนโลหะ และเซาะรอง สกัดทํามาจากเหล็กเนื้อดี มีความแข็ง และเหนียวมากกวาเหล็กทั่วไป มีขนาดยาว 4 – 8 นิ้ว ลําตัวจะทําเปนรูปหกเหลี่ยม สวนหัวจะเปนรูปทรงกลมแบน สวนดานปลายซึ่งจะใชเปน คมสําหรับตัดโลหะ สกัดจะมีหลายแบบ เชน ปลายแบน ปลายแหลม ปลายมน และปลายตัด ปลายแตละแบบตาง ก็มีความเหมาะสมในการใชงานแตกตางกัน

ภาพที่ 1.39 สกัด

ภาพที่ 1.40 ลักษณะของสกัดแตละชนิด 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5.1 การบํารุงรักษาสกัด ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บรักษาในที่สะอาดและแหง 1.6 เหล็กนําศูนย (Center Punch) ใชสําหรับตอกกอนนําชิ้นงานไปเจาะดวยสวาน และใชทําเครื่องหมายบนชิ้นสวน ที่จะตองประกอบเขาดวยกัน เพื่อใหประกอบไดถูกตอง ปากของเหล็กนําศูนยจะลับเปนมุม 90 องศา สวนปากที่มี มุม 60 องศา จะเรียกวา เหล็กตอกหมาย ใชสําหรับตอกนําครั้งแรก กอนใชเหล็กนําศูนยตอกซ้ํา เพื่อใหไดตําแหนง ที่ถูกตอง

ภาพที่ 1.41 เหล็กนําศูนย 1.7 เหล็กสง (Punch) ใชสําหรับตอกหมุดย้ํา สลักเกลียว และสลักตาง ๆ เพื่อใหขยับออกจากที่ แบงออกเปน 3 ชนิด ไดแก 1) เหล็กสงเรียว (Starting Punch) มีลักษณะเรียว ใชสงครั้งแรกเพื่อใหสลักขยับตัว 2) เหล็กสงสกัด (Pin Punch) ใชสงเพื่อใหสลักเคลื่อนตัวออกจากชิ้นสวน 3) เหล็กสงปรับรู (Aligning Punch) ใชปรับชิ้นสวนสองชิ้นใหรูตรงกัน เพื่อใหใสสลักเขาไปได

ภาพที่ 1.42 เหล็กสงชนิดตาง ๆ 1.7.1 การบํารุงรักษาเหล็กสง ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน เก็บรักษาในที่สะอาดและแหง และชโลมน้ํามันปองกันสนิม

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.8 ตะไบ (File) ทําดวยโลหะมีรูปรางหลายแบบ เชน ตะไบกลม ตะไบสามเหลี่ยม ตะไบครึ่งวงกลม ตะไบสี่เหลี่ยม และ ตะไบแบน ตะไบเปนเครื่องมือ เครื่องตัดหรือเฉือนชนิดหนึ่ง มีฟนขนาดเล็ก ๆ จํานวนมาก ฟนจะทําจากโลหะที่แข็ง มาก จึงสามารถตัดหรือเฉือนวัสดุที่ออนกวาได เศษโลหะหรือไมที่ไดจะมีขนาดเล็กมากหรือนอยขึ้นกับฟนของตะไบ มักนําตะไบไปใชในงานตกแตงผิวโลหะใหเรียบ ลบสวนที่คมหรือทําใหเปนรูปรางตาง ๆ ตามตองการ ความยาวของ ตะไบจะมีข นาดประมาณ 3 – 18 นิ้ว หลัง การใชง าน ควรใชแ ปรงลวดทําความสะอาดรองฟน เพื่อกําจัด สิ่งสกปรกที่อุดตัน ไมควรใชวิธีการเคาะ และควรเก็บใสกลองหรือเก็บในที่สําหรับแขวนตะไบโดยเฉพาะ อยาใหคม ของตะไบเสียดสีกันโดยตรง

ภาพที่ 1.43 ตะไบ 1.8.1 การบํารุงรักษาตะไบ 1) เลือกใชตะไบใหเหมาะสมกับงาน 2) ควรทําความสะอาดตะไบดวยแปรงเหล็ก เพื่อกําจัดเศษโลหะที่ตัดตามตะไบ หลังใชงาน 3) การใสดามตะไบ ไมควรจับดามตะไบกระแทกลงพื้น เพราะตะไบอาจหลุดออกมาและบาดมือได 4) จับตะไบใหถูกวิธี คือ วางตะไบบนมือขางที่ถนัด โดยใหปลายของดามตะไบอยูกึ่งกลางของ นิ้วหัวแมมือเพื่อปองกันการเสียดสีของตะไบกับฝามือ 1.9 เลื่อยตัดเหล็ก (Hacksaw) ใชสําหรับตัดงานทั่วไป โดยตองเลือกฟนของใบเลื่อยใหเหมาะกับความหนาของโลหะ ความหยาบหรือละเอียดของใบเลื่อยจะนับจากจํานวนฟนตอความยาวหนึ่งนิ้ว สําหรับโลหะหนาใชขนาด 18 ฟนนิ้ว โลหะหนาปานกลางใชขนาด 24 ฟนนิ้ว และโลหะบางใชขนาด 32 ฟนนิ้ว

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.44 เลื่อยตัดเหล็ก 1.10 ปากกาจับชิ้นงาน (Bench Vise) หรือบางคนอาจจะเรียกกันสั้น ๆ วา ปากกาจับงาน เปนเครื่องมือชางชนิดหนึ่ง ที่ใชสําหรับประกอบหรือใชสําหรับการทํางาน โดยใชจับ ยึด บีบ อัด ชิ้นงานใหแนน เพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงานอื่น เชน ใชจับไม โลหะ พลาสติก ฯลฯ เพื่อใชในการการตัด เจาะ ตอก ขัด หรือตะไบ เปนตน ปากกาจับชิ้นงาน มีหลายชนิด เชน 1) ปากกาจับโลหะ เปนปากกาที่ยึดแนนบนโตะสําหรับใชงาน ใชสําหรับจับโลหะใหแนนเพื่อตัด ขัด เจาะ ตะไบ ลบคมหรือขัน และคลายชิ้นงานตางๆ

ภาพที่ 1.45 ปากกาจับโลหะ 2) ปากกาจับไม มีอยูหลากหลายแบบแตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับลักษณะของการใชงาน เชน - ปากกาหัวโตะ เปนปากกาที่ยึดแนน อยูกับด านขางหัวโต ะใชงาน ใชสําหรับจับไมในการตั ด การไส การเจาะรู เปนตน

ภาพที่ 1.46 ปากกาหัวโตะ 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ซีแคลมป (C-clamp) เปนเครื่องมือรูปตัว C ทําดวยเหล็กหลอ ใชสําหรับจับงานโลหะ เพื่อการเชื่อม จับงานไมสําหรับการอัดไมแผนติดกัน มีขนาดความโตเปนนิ้ว

ภาพที่ 1.47 ซีแคลมป 1.10.1 การบํารุงรักษาปากกาจับชิ้นงาน 1) เลือกใชปากกาจับชิ้นงานใหเหมาะสมกับงาน 2) ทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และทาน้ํามันปองกันสนิม 3) หามนําไปใชเพื่อวัตถุประสงคอื่น เชนทุบเหล็กหรือตะปู 1.11 ดอกสวาน เปนอุปกรณที่ใชงานคูกับสวาน ทําหนาที่ในการกัดเจาะเนื้อวัสดุตาง ๆ โดยไมทําใหพื้นผิวของวั สดุ โดยรอบนั้นมีความเสียหาย และเกิดการแตกราวของชิ้นงาน ซึ่งดอกสวานนั้นมีหลายขนาดและหลายชนิด ซึ่งจะถูก ใชงานที่แตกตางกันออกไป ดังนี้ 1) ดอกสว า นเจาะเหล็ ก ลั ก ษณะของดอกสว า นเปน เกลี ย วตัด ตลอดดอก ปลายดอกแหลมเป น พิเ ศษ ใชสําหรับจิกชิ้นงาน ดังนั้น ดอกสวานชนิดนี้ จึงสามารถนํามาใชเจาะชิ้นงานที่เปนไมหรือโลหะทั่วไป รวมถึง พลาสติกไดอีกดวย แตหากจะใชดอกสวานเจาะเหล็กที่มีความหนามาก ๆ ควรเลือกดอกสวานแบบไฮสปด (High Speed Steel) ซึ่งผานการชุบแข็งที่ปลายดอกสวาน โดยทํางานไดอยางรวดเร็ว และมีอายุการใชงาน ยาวนานยิ่งขึ้น

ภาพที่ 1.48 ดอกสวานเจาะคอนกรีต 2) ดอกสวานเจาะปูนหรือคอนกรีต ลักษณะของดอกสวานเปนเกลียวบิด สวนปลายดอกเปนเหล็กชุบแข็งพิเศษ เพื่อชวยรองรับแรงกระแทกจากการใชงาน เหมาะสําหรับการเจาะปูน ซีเมนตบล็อก หรืออิฐมอญ ฯลฯ 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.49 ดอกสวานเจาะเหล็ก 1.11.1 การบํารุงรักษาดอกสวาน 1) เลือกใชดอกสวานใหเหมาะสมกับชิ้นงาน 2) ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน 3) เก็บรักษาในที่แหง และชโลมน้ํามันปองกันสนิม 1.12 สว า น เป น เครื่ อ งมื อ ในการใช เ จาะ โดยทั่ ว ไปจะใช ง านคู กั บ ดอกสว า น ซึ่ ง มี ส ามารถเลื อ กใช ไ ด ห ลายแบบ ตามลักษณะงาน สวนประกอบของสวานจะประกอบดวย หัวจับดอกสวาน จําปา และตัวสวาน โดยลักษณะการเจาะ ดวยสวานเปนการใชดอกสวานหมุนพรอมกับการออกแรง เพื่อเจาะลงบนวัสดุตาง ๆ โดยทั่วไปสวานสามารถแบ ง ประเภทได ดังนี้ 1) สวานมือ เปนสวานที่ใชแรงมือ เหมาะกับงานที่ไมใหญมาก ซึ่งมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ เชน สวานคันธนู สวานแบบกด สวานขอเสือ สวานมือ สวานมือแบบแนบอก เปนตน

ภาพที่ 1.50 สว า นแบบกด 2) สวานไฟฟา เปนสวานที่ใชพลังงานจากไฟฟาในการหมุน ซึ่งมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ เชน สวานแบบมือถือ สวา นกระแทก สวา นโรตารี่ สวา นไรส าย สวา นแทน เปน ตน โดยสวา นแตล ะประเภทนั้น จะถูกใช งานที่แตกตางกันออกไป

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.51 สวานไฟฟา 1.12.1 การบํารุงรักษาสวานไฟฟา 1) หลังใชงาน ควรใชผาเช็ดทําความสะอาดในสวนที่เปนซอก ซึ่งอาจมีเศษผงจากการทํางาน เขามาติดในกลไก และอาจทําใหมอเตอรเสียหาย 2) ตรวจสอบสายไฟวาอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) กอนใชงานตรวจสอบดอกสวานวาติดแนนอยูกับสวานหรือไม และควรถอดดอกสวานออกหลังใชงาน 4) ทาน้ํามันปองกันสนิมบนสวนประกอบที่เปนเหล็ก และเก็บรักษาในที่แหง 5) ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บรักษาในที่สะอาดและแหง 1.13 กาน้ํ า มั น เครื่ อ ง (Oil can) มี ลั ก ษณะรู ป ทรงกระบอกทํ า จากโลหะหรื อ พลาสติ ก มี น้ํ า หนั ก เบา ใช บ รรจุ น้ํ ามั น หล อลื่ น เพื่ อช ว ยให การใช งานน้ํ า มัน หลอลื่นในบริเวณที่แคบ สว นของปลายจะเปน ทอยื่น ออกมาจาก กระบอกเพื่อใชในบริเวณที่แคบ โดยกาหยอดน้ํามันนั้นมีลักษณะดังภาพ

ภาพที่ 1.52 กาหยอดน้ํามัน 1.13.1 การบํารุงรักษากาน้ํามันเครื่อง เก็บรักษากาน้ํามันเครื่องในที่ปลอดภัย ไมควรวางใกลวัตถุที่อาจกอใหเกิดประกายไฟ 1.14 ปมลม มีหนาที่ในการกําเนิดลมเพื่อใชงานในสวนตางๆ เชน การใชงานปนลม หรือประแจลม หรืออุปกรณตางๆ ที่ตองการใชลมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชอุปกรณตาง ๆ ปมลมนั้นมีสวนประกอบหลัก ๆ 3 สวนดวยกัน คือ 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัว ปมลม มอเตอรไฟฟา และถังเก็บ ลม โดยวิธีการทํางานคือ หัว ปมลมทําการอัดลมเก็บ ไวภ ายในถังเก็บลม โดยมี ม อเตอร เ ป น ตั ว ต น กํ า ลั ง ซึ่ ง ขนาดของส ว นประกอบต า ง ๆ จะต อ งเหมาะสมกั น เพื่ อ การทํ า งานที่ มี ประสิทธิภาพสูงสุดของระบบ

ภาพที่ 1.53 ปมลมหรือเครื่องอัดอากาศ การใชงานลมอัด ทอลมจะตองเปนทอเหล็ก จึงจะแข็งแรงทนทานตอความดันสูง การเดินทอลมตองมีการตอ ลาดเอียงเล็กนอย เพื่อใหน้ําที่เกิดภายในทอไหลลงต่ําและออกทางกอกระบายน้ําทอลม การเปาชิ้นงานทําความสะอาด การใชลมอัดเปาชิ้นงานนั้นไมควรใชลมเปาเสื้อผาของตนเอง หรือบุคคลอื่น เนื่องจาก แรงของลมอาจสามารถทําใหผิวหนั งอักเสบได หรืออาจสามารถนําพาสิ่งสกปรกเขาสูรางกายได 1.14.1 การบํารุงรักษาปมลม สามารถแบงตามความถี่ในการตรวจสอบไดดังนี้ 1) การตรวจสอบประจําวัน - ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่น - ตรวจสอบความดันน้ํามันหลอลื่น - ตรวจสอบการควบคุมระบบการทํางาน - ตรวจสอบการทํางานของเครื่องดักไอกลั่นตัวแบบอัตโนมัติ (Automatic Condensate trap) ของอินเตอรคูลเลอร (Intercooler) และอาฟเตอรคูลเลอร (Aftercooler) - ตรวจสอบความดันภายในอินเตอรคูลเลอร (Intercooler) 2) การตรวจสอบทุก 1 เดือน หรือ 360 ชั่วโมง - ตรวจสอบการรั่วที่แพคกิ้ง (Packing) ของกานสูบ - ตรวจสอบการรั่วของน้ํามันหลอลื่นของแหวนกวาดน้ํามัน (Oil scraper ring) - ตรวจสอบกรองอากาศทางดานขาเขา 49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ระบายสิ่งสกปรกที่กรองน้ํามันหลอลื่น - ตรวจสอบการหลอลื่นของวาลวที่ไมมีภาระ - ตรวจสอบระบบความปลอดภัย 3) การตรวจสอบทุก 6 เดือน หรือ 3000 ชั่วโมง - การตรวจสอบสภาพวาลว - ตรวจสอบปลอก (liner) ของลูกสูบ - เปลี่ยนน้ํามันหลอลื่นของหองขอเหวี่ยง - ตรวจสอบสภาพหองขอเหวี่ยง หลังจากถายน้ํามันหลอลื่นออก - เปลี่ยนกรองน้ํามันหลอลื่น - เปลี่ยนกรองอากาศสําหรับระบบควบคุมและที่กรองของระบบควบคุม 4) การตรวจสอบทุก 1 ป หรือ 6,000 ชั่วโมง - ตรวจสอบแหวนลูกสูบ - เปลี่ยนที่กรองน้ํามันของหองขอเหวี่ยง - ขันโบลตยึดฐานใหแนน - ตรวจสอบนัทยึดกานสูบ - ตรวจสอบระบบน้ําหลอเย็น 1.15 หินเจียระไน หรือ เครื่องเจียระไนลับคมตัด เปนเครื่องมือกลพื้นฐานชนิดหนึ่งที่มีประโยชนมาก สามารถทํางาน ไดอยางกวางขวาง เชน ใชสําหรับ ลับ คมตัด ตาง ๆ ของเครื่องมือตัด ซึ่งไดแก มีด กลึง มีดไส ดอกสวาน และ ยังสามารถเจียระไนตกแตงชิ้นงานตาง ๆ ไดโดยคํานึงถึงเรื่องความปลอดภัย หินเจียระไนโดยทั่วไปมี 2 ชนิด ดังนี้

ภาพที่ 1.54 หินเจียระไน 1) เครื่องเจียระไนแบบตั้งโตะ (Bench Grinding) เครื่องเจียระไนชนิดนี้จะยึดติดอยูกับโตะ เพื่อเพิ่มความสูง และความสะดวกในการใชงาน 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2) เครื่องเจียระไนแบบตั้งพื้น (Floor Grinding) เปนเครื่องเจียระไนลับคมตัดที่มีขนาดใหญกวาแบบตั้งโตะ มี สวนที่เปนฐานเครื่องเพื่อใชยึดติดกับพื้นทําใหเครื่องเจียระไนมีความมั่นคงแข็งแรงกวาเครื่องเจียระไนแบบ ตั้งโตะ 1.15.1 วิธีการใชงานหินเจียระไน 1) ศึกษาหลักการใช วิธีการ และเตรียมเครื่องมือใหพรอมกอนปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบความพรอมและความเรียบรอยของเครื่องเจียระไนลับคมตัด 3) เปดสวิตชการทํางานของเครื่อง 4) ลับมีดตัดหรือชิ้นงานอยางถูกวิธี 5) เมื่อใชงานเสร็จปดสวิตชและทําความสะอาดใหเรียบรอย 1.15.2 การบํารุงรักษาหินเจียระไน เพื่อใหอายุการใชงานไดยาวนาน มีวิธีการดูแลและบํารุงรักษา ดังนี้ 1) ตรวจสอบความเรียบรอยของเครื่องใหพรอมใชงานเสมอ 2) กรณีลอหินเจียระไนมีรอยราว หรือไมมีคมใหปรับแตงหนาหินใหม 3) ตรวจสอบระยะหางของแทนรองรับงานเปนประจํา 4) หลังเลิกใชงาน ควรปดสวิตชและทําความสะอาดทุกครั้ง 1.16 แมแรง เครื่องมือยกรถ (Carlift หรือ Hoist) แมแรง คือ เครื่องมือแบบหนึ่งที่มีหนาที่ในการเพิ่มเเรงในการยกรถยนต เพื่อทําการซอมแซมบํารุงสวนตาง ๆ ของรถยนต ไมวาจะเปนลอรถยนต ชวงลางของรถยนต หรือใชในการตรวจตัวถังของรถยนต เปนวัสดุอุปกรณที่ชวยทุนแรงในการทํางาน เกี่ยวกับชวงลางของรถยนต เพื่อใหการทํางานรวดเร็วขึ้น ตามปกติตัวถังและโครงรถยนต จะตองทําการซอมแซมเนื่องดวย อุบัติเหตุ ทําใหโครงตัวถังรถเกิดการโคงงอ บิดตัว แตกหัก หรือฉีกขาด ซึ่งจะตองทําการซอมบริเวณสวนที่โคงงอ บิดตัว ใหตรงเหมือนเดิม โดยใชวัสดุอุปกรณที่ใหกําลัง (Power Tool) สําหรับดึงและดัน ซึ่งแลวแตลักษณะของงานที่จะซอมนั้น ๆ แมแรงแบงออกเปน 2 ชนิดหลัก ๆ ดวยกัน 1) แมแ รงชนิด ไฮดรอลิก มีขอ ดี คือ ชว ยใหเ บาแรง และสามารถยกน้ํา หนัก ไดม าก แมจ ะมีข นาดตัว ไมใหญ แตมีขอบกพรอง คือ บริเวณโอริงของระบบไฮดรอลิกอาจจะรั่วได หากใชยกน้ําหนักที่มากเกิน กวาความสามารถของแมแรง หรือเมื่อถูกนําไปเก็บไวในลักษณะที่น้ํามันไฮดรอลิกไหลรั่วออกมาไดงาย และมีขอจํากัดหากอยากยกระดับใหสูงมากขึ้น จะตองใชแมแรงไฮดรอลิกที่มีขนาดใหญกวาแมแรงชนิดอื่น

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.55 แมแรงชนิดไฮดรอลิก 2) แมแรงกลไก แมแรงชนิดนี้มีขอดี คือ ความแข็งแรงสามารถพกพาไดงาย พรอมทั้งดูแลรักษางาย แคเพียงหลอลื่น กลไกเท านั้ นก็ ใช งานได สะดวก สามารถยกระดั บของตั วรถได สู งตามที่ ความยาวของแกนถู กสร างเอาไว แตมีจุด บกพรอง คือ เมื่อใชงานตองออกแรงมากสําหรับการยกน้ําหนัก และสว นมากแมแรงแบบกลไก จะมีขาเดียวทําใหไมคอยแข็งแรงเกิดอันตรายงายเมื่อใชงานยกน้ําหนัก

ภาพที่ 1.56 แมแรงกลไก 1.16.1 วิธีการใชงานแมแรง วิธีการขึ้นแมแรงที่ปลอดภัย คือ หากคุณตองขึ้นแมแรงที่ลอรถหนาดานซาย ใหเขาเกียรเดินหนาหรือ เกียรหนึ่งเอาไวพรอมทั้งดึงเบรกมือดวย และใหเอาไมหนาสาม หรือหนากวางกวานั้นไปหนุนรองที่หลังของลอหลัง ดานขวา เปน การปองกัน รถไหลเมื่อแมแรงยกหนารถลอยขึ้น เชน เดีย วกันเมื่อตองการขึ้น แมแรงที่ลอหลัง ดานขวา ใหเขาเกียรถอยหลังและดึงเบรกมือเอาไว พรอมทั้งเอาหมอนไมไปหนุนที่ขางหนาของลอหนาดานซาย 1.16.2 ขอควรระวังขณะใชแมแรง สิ่งควรระวังก็คือ อุปกรณที่นํามาหนุนที่ลอปองกันรถไหล หรือนํามารองดานใตพื้นของแมแรง เพื่อปองกัน การทรุดตัวของแมแรงนั้น ไมควรเปนอุปกรณที่แข็งแตออน แตกหักงาย เชน อิฐบล็อก อิฐแดง หรือหินปูน เปนตน การใชแมแรงยกรถนั้นจะวางายก็งาย แตหากจะใชใหไดผล และมีความปลอดภัยสูง ก็ตองศึกษาเพิ่มเติมหรื อ หาวิธีการใชใหเหมาะสมปลอดภัยที่สุด

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.17 ลิฟตยกรถ ลิฟตยกรถ คืออุปกรณที่คิดคนมาเพื่อทุนแรงในการซอมชวงลางรถยนต ซึ่งอํานวยความสะดวกใหกับชางซอมบํารุง ไดมากกวาแมแรง จึงเปนที่นิยมมากในปจจุบัน ลิฟตยกรถมีอยูดวยกันหลายชนิด เชน ลิฟตยกรถแบบ 2 เสา ที่มีทั้ง แบบคานบนและแบบคานลาง ลิฟตยกรถแบบกรรไกรลิฟตสําหรับซอมชวงลาง มีขอดีที่โครงสรางแข็งแรง แตมีราคาสูง กวาลิฟตแบบ 2 เสา นอกจากนี้ ยังมีลิฟตกรรไกรตั้งศูนย ซึ่งใชสําหรับงานตั้งศูนยลอโดยเฉพาะ

ภาพที่ 1.57 ลิฟตยกรถแบบ 2 เสา 1.17.1 ขอควรระวังในการใชลิฟตยกรถ ควรระวังไมใหมีคนหรือสิ่งกีดขวาง อยูใกลกับใตทองรถหรือบริเวณใกลเคียง เมื่อตองการจะนํารถลง จากลิฟต นอกจากนี้ ขณะที่รถถูกยกขึ้นดานบน พึงระวังรถตกจากลิฟตยกรถ ซึ่งสามารถปองกันไดดวยการจอดรถ เขากับลิฟตยกรถใหถูกตําแหนง 1.18 แทนอัดไฮดรอลิก แทนอัดไฮดรอลิก เปนเครื่องมืออัดไฮดรอลิกชนิดหนึ่ง หรือจะเรียกวา เครื่องจักรกลไฮดรอลิก เปนเครื่องทุนแรงชนิดหนึ่ง ลักษณะการใชงานจะใชแรงกด แรงอัด เพื่ออัดเขาหรือดันออก ชิ้นสวนตาง ๆ เชน ลูกปน บุช สลัก ปลอก หรือจะใชบีบใหแบน ดันใหโคง ขึ้นอยูกับการนําไปประยุกตใชงาน

ภาพที่ 1.58 แทนอัดไฮดรอลิก 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แทนอัดไฮดรอลิก ถือเปนการนําอุปกรณไฮดรอลิกมาใชแบบพื้นฐานงาย ๆ ไมมีอะไรซับซอน แคการกด การอัด อาศัยการออกแบบกระบอกอัดไฮดรอลิก มีชุดซีล มีน้ํามันไฮดรอลิก ปมอัดน้ํามันไฮดรอลิก เปนหลักการใชแรงดันน้ํามัน ดันกระบอกไฮดรอลิก ไมไดใชหลักการออกแบบ หรือการควบคุมจังหวะการทํางานอะไรที่ซับซอนมาควบคุม อาจจะมี ระบบไฟฟาเขามาเกี่ยวของดวยสําหรับแทนอัดไฮดรอลิกขนาดกําลังอัดมาก ๆ เปน 100 ตันขึ้นไป การใชแทนอัดไฮดรอลิกเปนเครื่องทุนแรงในการใชแรงคน ตี ทุบ กระแทก นอกจากทุนแรงแลวยัง สะดวก รวดเร็ว ลดการเสียหายของชิ้นงานจากการตีหรือการกระแทก ซึ่งในปจจุบันใชกันแพรหลายมากขึ้น งานที่เกี่ยวกับเครื่องยนต เครื่องกล เครื่องจักร หรืองานอุตสาหกรรม มีใชกันทุกที ใชขนาดเล็กใหญแตกตางกันไปตามการใชงาน 1.17.1 การบํารุงรักษาแทนอัดไฮดรอลิก 1) ไมควรใชแรงเกินกวาที่กําหนด โดยขณะใชงาน ควรสังเกตดูที่เกจวัดความดันเสมอ 2) ควรตรวจสอบสภาพแทนอัดไฮดรอลิก และตรวจสอบรอยรั่วของน้ํามัน 3) หมั่นลางทําความสะอาดระบบดวยน้ํามันไฮดรอลิก เพราะหลังจากมีการถอดซอมบํารุง อาจมีสี เศษโลหะ หรือเศษฝุนติดคางอยูในระบบ 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว (Screw Extractor) เครื่องมือถอดสลักเกลีย ว คือ เครื่องมือที่ใชในการถอนสกรูที่มีการติดแนน ภายในรู (Socket) ที่หัว สกรูชํารุดหรือ เกิดความเสียหายออก เชน เกิดสนิม หรือ หัวสกรูหัก เปนตน

ภาพที่ 1.59 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 2.1 วิธีการใชงาน การใชงานเครื่องมือถอดสลักเกลียว ใหตอกเครื่องมือถอดสลักเกลียวที่ขนาดเทากับรู จากนั้นใชประแจคลายออก ซึ่งระหวางการทํางานควรหยอดน้ํามันหลอลื่นเพื่อลดการเสียดสี ในกรณีที่สกรูหักคารูนั้น ใหใชสวานเจาะนํา จากนั้น ตอกเครื่องมือถอดสลักเกลียวเขาไปในรู แลวจึงใชประแจคลายออกเหมือนดังกรณีแรก 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.2 การบํารุงรักษาเครื่องมือถอดสลักเกลียว 1) หมั่นตรวจสอบสภาพของเครื่องมือถอดสลักเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น 2) หลอลื่นดวยน้ํามันเครื่องหรือน้ํามันอเนกประสงคเสมอเมื่อถอดสลักเกลียว เพื่อรักษาสภาพของเครื่องมือ 3) หลังใชงาน ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิม 4) เก็บเครื่องมือถอดสลักเกลียวใหถูกตอง 3. ไขควงตอก (Shock Screwdriver) ไขควงตอก เปนไขควงที่นําไปใชงาน โดยนําสวนของดอกไขควงประกอบกับดามจับและใชคอนตอกลงบนดามจับ ซึ่งจะ ทําใหสวนของไขควงหมุน เพื่อใชคลายสกรูที่มีการยึดแนนออกไดงาย 3.1 วิธีการใชงานไขควงตอก 1) ใชปลายของไขควงตอกแตะไปยังหัวของสกรูที่ตองการจะนําออก 2) จากนั้นใหหมุนดามของไขควงตอกไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 3) เมื่อหมุนไปจนสุดแลว ใหจับดามของไขควงตอกใหมั่นคง ใชคอนตีเหล็กตีไปบริเวณสวนหัวของไขควงตอก 3.2 การบํารุงรักษาไขควงตอก - เช็ดทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และทาน้ํามันปองกันสนิม กอนเก็บใสกลองใหเรียบรอย

ภาพที่ 1.60 ไขควงตอก

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.61 วิธีใชงานไขควงตอก

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

ขอ

คําตอบ

ประแจปากตาย

ประแจเลื่อน

ประแจแหวน

ประแจจับทอ

ประแจถอดสตัด

ประแจแอล

ประแจกระบอก

ประแจรวม

4

ประแจลม

ประแจวัดแรงบิด

5

ประแจถอดหัวเทียน

1 2

3

6 7

8

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 9. คีมเลื่อนถูกออกแบบมาพิเศษใหใชงานเฉพาะ ปลายดามมีสกูลปรับ 10. ไมควรใชอุปกรณที่แตกหักงาย เชน อิฐบล็อก อิฐแดง หรือหินปูน มาใชหนุนที่ลอ ปองกันรถไหล หรือนํามารองดานใตพื้นของแมแรง เพื่อปองกันการทรุดตัว 11. ประแจที่มีปากสัมผัสกับหัวนอตหรือโบลตสองดาน เหมาะสําหรับขันนอตหรือ โบลตที่อยูในพื้นที่แคบ คือ ประแจกระบอก 12. ประโยชนของขอตอออน คือ สามารถใชขันนอตหรือโบลตที่อยูในแนวต าง ระดับซึ่งไมเปนเสนตรงได 13. คีมตัดขาง/คีมปากจิ้งจก เหมาะกับการใชงานตัดและจับชิ้นงาน เชน ใชตัดลวด เหล็กสปริง 14. การตรวจสอบปมลมประจําวัน ควรตรวจสอบความดันภายในอินเตอรคูลเลอร (Intercooler) ดวย 15. การใชประแจไมวาจะเปนการขันเขาใหแนน หรือคลายออกตองใชวิธีดึงออก จากตัวเสมอ 16. สกัด คือ เครื ่อ งมือ ซอ มแซมที่ใชงานรว มกับ คอน ใชสําหรับ ตัดเศษโลหะ สวนเกินบนผิวโลหะ ตัดนอต หรือตัดสกัดเกลียวที่ไมสามารถถอดได 17. คี มตั ด คื อ มี ลั กษณะโคงมนและสามารถขยายออกหรื อปรั บลดให แคบลงได เหมาะกับการใชงานที่เกี่ยวกับเครื่องกลและงานเครื่องยนต 18. การบํารุงรักษาประแจลม ควรหยอดน้ํามันหลอลื่น 2-3 หยด ที่จุดเติมน้ํามัน ทายดามจับทุกครั้งกอนใชงาน เพราะน้ํามันจะชวยใหประแจลมทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ และไมสงเสียงดัง

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ปฏิบัติงานใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 45 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกยกรถดวยแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตนั่งสวนบุคคล

จํานวน 1 คัน

2. แมแรงตะเฆ

จํานวน 1 ตัว

3. หมอนรองลอรถกันลื่นไถล

จํานวน 4 อัน

4. ลิฟตยกรถ 2 เสา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การใชแมแรงตะเฆ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสภาพของแมแรงตะเฆ

คําอธิบาย โดยจะตอ งไมมีค ราบน้ํา มัน ไฮดรอลิก รั่ว ไหล และล อ ของแมแ รงต อ งไม มี รอยฉีกขาด

2. ปดวาลวระบบไฮดรอลิก

โดยหมุนตามนาฬิกา

3. ทดลองเหยียบแทงโยกของแมแรง

เหยีย บแทง โยก แลว ดูว า จานของแม แรงลดระดั บลงหรื อไม หากจานไม ลด ระดับลง ใหเปดวาลวระบบไฮดรอลิก โดยหมุนทวนนาฬิกา

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ปดวาลวระบบไฮดรอลิกอีกครั้ง

คําอธิบาย โดยหมุนตามนาฬิกา

ขอควรระวัง ตองปดวาลวระบบ ไฮดรอลิกใหสนิท เพื่อปองกันแมแรง ลดระดับลงกะทันหัน ขณะปฏิบัติงาน

5. ทดลองโยกคันโยกของแมแรง

โยกคันโยกแลวดูวาจานของแมแรงลด ระดับ ลงหรือ ไม หากจานไมล ดระดับ ลง ใหเปดวาลวระบบไฮดรอลิก โดยหมุนทวนนาฬิกา

6. ฝกใชแมแรงยกรถ

โดยทดลองยกลอหนา ลอใดลอหนึ่งของรถ

7. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

8. ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

9. รองลอรถ

นําหมอนรองลอรถไปรองลอหลัง

10. สอดแมแรงตะเฆเขาที่บริเวณชายขอบของรถ

โดยใหจานของแมแรง รองรับที่ตําแหนง ถ า วางจานของแม ขึ้นแมแรงยกรถ ซึ่งอยูบริเวณชายขอบ แรงไม ถู ก ตํ า แหน ง ด า น ห น า แ ล ะ ด า น ห ลั ง ข อ ง ร ถ มี อาจทํ า ให ตั ว ถั ง รถ สัญลักษณรอยบากเปนจุดสังเกต

ไดรับความเสียหายได ตําแหนงสําหรับขึ้น แมแรงของรถยนต แตละรุนอาจแตกตาง กั น ควรตรวจสอบ จากคูมือซอมประจํา รถยนต

11. ปดวาลวระบบไฮดรอลิก

โดยหมุนตามนาฬิกา

ตองปดวาลวระบบ ไฮดรอลิกใหสนิท เพื่อปองกันแมแรง ลดระดับลงกะทันหัน ขณะปฏิบัติงาน

12. เหยียบแทงโยกของแมแรง

จนกระทั ่ ง จานของแม แ รงแตะถึ ง หามมุดเขาใตทองรถ ชายขอบรถ

เพื่อปองกันอันตราย ในกรณีที่แมแรงไม สามารถรองรับ น้ําหนักของรถได และ หามติด เครื่ องยนต

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

13. ใชมือโยกที่คันโยกของแมแรง

เพื่อชวยเพิ่มแรงในการยกรถ

ขอควรระวัง ขณะที่รถถูกยกอยู บนแมแรง

14. เปดวาลวระบบไฮดรอลิก

เพื่ อลดระดั บของแม แรงลง และนํ าแม กรณีใชงานจริง หาม แรงออกจากตัวรถ

ปฏิบัติงานขณะที่รถ ถูกยกอยูบนแมแรง ตองรองรถดวยใชขาตั้ง รองรับรถ

15. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.2 การใชลิฟตยกรถ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตรวจสอบสภาพของลิฟตยกรถ

ลิฟตยกรถตองอยูในสภาพพรอมใชงาน

2. เตรียมลิฟตยกรถ

ปรั บ ระดับ คานของลิ ฟต ให ใ นระดั บ ต่ํ า

ขอควรระวัง

ที่ สุ ด และเลื่ อ นแขนของลิ ฟ ต อ อกให ขนานกับเสา

3. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

4. เลื่อนแขนของจานรองรับรถ

โดยระยะหางระหวางเสาทั้งสองขางตอง เทากัน จากนั้น ผูขับออกจากรถ เลื่ อ นแขนของจานรองรั บ รถให อ ยู ใ น หามนําจานไปรองรับ ตําแหนงเดียวกับแมแรง โดยจานรองรับ บริเวณพื้นรถ หรือ จะอยูที่ตําแหนงขึ้นแมแรง ซึ่งอยูบริเวณ บริเวณที่ไมใชจุด ชายขอบดานหนาและดานหลังของรถ มี รองรับ เพราะจะทํา สัญลักษณรอยบากเปนจุดสังเกต

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ใหตัวถังชํารุด


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ยกรถขึ้น

กดสวิตชยกรถขึ้นในตําแหนงที่ตองการ

6. นํารถลง

กดสวิตชนํารถลงสูระดับพื้นราบปกติ

7. เลื่อนแขนของจานรองรับรถ

ขอควรระวัง

ระวังอยาใหมีคนหรือ สิ่งกีดขวางใตทองรถ หรือบริเวณใกลเคียง ขณะนํารถลง

เลื่อนแขนของจานรองรับรถออก โดยให แขนของคานอยูในตําแหนงขนานกับเสา

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. นํารถออก

ผู ขั บ ขึ้ น รถ และขั บ รถออกจากลิ ฟ ต

9. เก็บแขนของลิฟตยกรถ

ยกรถ พับแขนของลิฟตยกรถเก็บใหเรียบรอย

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ อ ย า ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ถูกตองและครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติงานได ถู กต อ ง เปน ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การเปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกของ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

แมแรงตะเฆยกรถ 5

การขึ้นแมแรงตะเฆ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การใชลิฟตยกรถ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ไ ม ค รบถ ว นและไม ถู ก ต อ ง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกของแมแรงตะเฆยกรถ

เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิถูกตองครบทุกขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การขึ้นแมแรงตะเฆ

ขึ้ น แม แ รงตะเฆ ไ ด ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน และขึ้ น แม แ รงที่ ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ขึ้นแมแรงตะเฆไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตขึ้นแม แรงที่ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ขึ้นแมแรงตะเฆไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน และขึ้นแมแรงที่ตําแหนงรองรับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การใชลิฟตยกรถ

ใชลิฟตยกรถไดถูกตองตามขั้นตอน และวางจานรองรับใน ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ใชลิฟตยกรถไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตวางจาน รองรับในตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ใช ลิ ฟ ต ย กรถไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 1 ขั้ น ตอน และวางจานรองรับในตําแหนงรองรับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การบํารุงรักษาปมลม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ปฏิบัติงานบํารุงรักษาปมลมได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง 45 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการบํารุงรักษาปมลม ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน ผลการตรวจสอบ รายการตรวจสอบ

สามารถใชงานไดปกติ

1. ระดับน้ํามันหลอลื่นของปมลม 2. ความตึงของสายพาน และความแนนของ นอตยึดตาง ๆ 3. ตรวจสอบการระบายลมเซฟตี้วาลว (Safety Valve) 4. การรั่วซึมตามจุดตาง ๆ

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

สภาพตองปรับปรุง (พรอมระบุสาเหตุ)


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัตงิ านที่ 1.2 การบํารุงรักษาปมลม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ปมลมแบบลูกสูบ

จํานวน 1 ตัว

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. กรวยพลาสติก

จํานวน 1 อัน

4. ถาดรอง

จํานวน 1 ใบ

5. ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

6. ไมบรรทัด

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํายาลางทําความสะอาด

จํานวน 1 ขวด

3. น้ํามันหลอลื่นปมแบบลูกสูบ

จํานวน 1 ลิตร

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การบํารุงรักษาปมลม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. จัดเตรียมปมลม

จัดเตรียมปมลมสําหรับฝก โดยตอง

พึงระวังเรื่องระบบ

2. ตัดระบบไฟฟา

วางอยูบนพื้นที่ราบ

ไฟฟากอนเริ่ม ปฏิบัติงาน และ ไมควรนําวัตถุไวไฟ เขามาในบริเวณ สถานที่ปฏิบัติงาน

ตัดระบบไฟฟาที่ตอเขากับปมลม เพื่อ ความปลอดภัย 3. ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นของปมลม

ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นของ ปมลม หากอยูในระดับต่ํากวากําหนด (อยู ร ะหว าง1/2 ของช องใส) ใหเติม ดวยน้ํามันหลอลื่นปมลม

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ตรวจสอบสายพานและนอตยึด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจปรั บ ตั้ ง ความตึ ง ของสายพาน ตามระยะอางอิงที่คูมือประจํารถยนต กํานหนด และความแนนของนอตยึด ตาง ๆ เชน ฐานมอเตอร ฐานตัวเรือน เครื่องปมลม เปนตน

5. ทําความสะอาดไสกรองอากาศ

ทํ า ความสะอาดไส ก รองอากาศด ว ย ระวังฝุนปลิวเขาตา การใชลมเปาจากภายในออก สูภายนอก

6. ปลอยน้ําจากถังลม

ปล อ ยน้ํ า จากถั ง ลมและระบบท อ กอนระบายน้ํ า ออก ทางออกทิ้ง

จากถังเก็บ ลม ตอ ง ระบายลมออกจาก ถังเก็บลมกอน ทุกครั้ง

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. ตรวจสอบการระบายลมที่เซฟตี้วาลว (Safety Valve)

คําอธิบาย ฟ ง เสี ย งการระบายลมที่ เ ซฟตี้ ว าล ว (Safety Valve) หากไมมีการระบาย ลมออกมา ตองตรวจสอบที่ลิ้นระบาย ลม

8. ตรวจสอบการรั่วซึม

ตรวจสอบการรั่วซึมตามจุดตางๆ เชน ฟงเสียงลมรั่ว น้ํามันหลอลื่นซึม

9. ทําความสะอาดภายนอกของปมลม

ทําความสะอาดคราบน้ํามัน และ สิ่งสกปรกภายนอกดวยน้ํายาทําความ สะอาด

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ขอควรระวัง

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจสอบสายพานและนอตยึด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ หลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง

หนากากชนิดแผนกรองอากาศ แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย

ครบทั้ง 5 ชนิด

และชุดปฏิบัตกิ ารชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง

3

ครบ 4 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลม

ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมไดถูกตอง และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมไมถกู ตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจสอบสายพานและนอตยึด

ตรวจสอบสายพานและนอตยึดไดครบถวน และถูกตองตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบสายพานและนอตยึ ด ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสายพานและนอตยึดไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลม

ตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลมไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกจุด

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมของปมไมครบ 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมของปมไมครบมากกวา 1 จุด ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020202 เครื่องมือวัดทางชางยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการใช และการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได

2. หัวขอสําคัญ 1. การใชและบํารุงรักษาฟุตเหล็ก ฟลเลอรเกจ ฉากเหล็ก บรรทัดวัดมุม 2. การใชและบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร (วัดนอก วัดใน และวัดลึก) 3. ประแจวัดแรงบิด

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) บรรทัดเหล็ก ขนาด 1 ฟุต 2) เวอรเนียรคาลิปเปอร ความละเอียด 1 ตอ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยบรรทัดเหล็ก 2) ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 3) น้ํามันกันสนิม 4) ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 5 ชิ้น จํานวน 1 ชิ้น จํานวน 1 ขวด จํานวน 2 ผืน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฟสิกสราชมงคล. ฟลเลอรเกจ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ instrument/ ฟสิกสราชมงคล. เวอรเนียร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ instrument/ ประแจวัดแรงบิด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/ht8.htm

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 73-117 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก เครื่องมือวัด ชนิดตาง ๆ 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับเครื่องมือวัดทางชางยนต

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง เครื่องมือวั ด 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ทางชางยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 73-117

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่องมือวัดทางชางยนต หนาที่ 73-117 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 76-94 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 การใช และบํ ารุ งรั กษาฟุ ตเหล็ ก ฟลเลอร เกจ ฉากเหล็ก บรรทัดวัดมุม 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 การใชและบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร (วัดนอก วัดใน และวัดลึก) 2.3 ประแจวัดแรงบิด 3. กํ า หนดชื่ อเครื่ องมื อวั ด ให ผู รั บ การฝก เลื อ ก 3. เลือกหยิบเครื่องมือวัดตามที่ครูฝกกําหนด พรอม หยิบและศึกษาสเกล ศึกษาดูสเกล 4. มอบหมายให ทําใบทดสอบจากคู มือผูรั บการ 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 95-97 โดยครู คอยสั ง เกต ฝก หนาที่ 95-97 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 110 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.1 การวัดขนาด 6. ศึกษาใบงานที่ 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัด ชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก จากคูมือผูรับการฝก เหล็ก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 98-110 ซักถาม หนาที่ 98-110 ขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-02:36. พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 ตรวจสอบสภาพเครื่องมือ อุปกรณ และ ชิ้นงาน 7.2 การใชฟุตเหล็กวัดชิ้นงานรูปแบบตาง ๆ 7.3 การบํารุงรักษาฟุตเหล็ก 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 103 หนาที่ 116 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.2 การวัดขนาด 13. ศึ ก ษาใบงานที่ 2.2 การวั ด ขนาดชิ้ น งานด ว ย ชิ้ น งานด ว ยเวอร เ นี ย ร คาลิ ป เปอร จากคูมือ เวอรเนียรคาลิปเปอร จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ ผูรับการฝก หนาที่ 111-117 111-117 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 02:43-06:55 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 ตรวจสอบสภาพเครื่องมือและชิ้นงาน 14.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดชิ้นงาน รูปแบบตาง ๆ 14.3 อานคาเวอรเนียรคาลิปเปอร 14.4 บํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 112 หนาที่ 125 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือวัดทาง ชางยนต

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือวัดทาง รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย ช า งยนต เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 เครื่องมือวัดทางชางยนต เครื่องมือวัดทางดานชางยนตมีความจําเปนตอการปฏิบัติงานอยางมาก เพราะฉะนั้นเครื่อ งมือวัด ที่ดีจ ะตองเที่ย งตรง และเปนมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิดความแมนยําในการวิเคราะหคาความสึกหรอของชิ้นสวนหรืออุปกรณ วาอยูในพิกัดที่ ควรจะซอม หรือควรจะเปลี่ยนชิ้นสวนใหม และเครื่องมือที่ใชวัดตองมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หนวยการวัด คือ การบอกปริมาตรที่ไดจากการวัดตองมีหนวยการวัด ซึ่งจะใชตามระบบหนวยสากล (System International of Unit) เรียกโดยยอวา หนวย SI Unit เชน กรัม กิโลกรัม มิลลิกรัม เมตร กิโลเมตร วินาที ฯลฯ การเลือกหนวยในการวัดควรใหเหมาะสมกับสิ่งที่ใชวัด เครื่องมือที่ใชในการวัด และการอานคาจากการวัด อาจทําใหคา การวัดคลาดเคลื่อนได คาที่ไดจากการวัดจึงถือเปนคาประมาณที่ใกลเคียงกับความเปนจริง การบอกคาประมาณของปริมาณของสิ่งตาง ๆ โดยไมไดวัดจริง เรียกวา การคาดคะเน หนวยรากฐานของระบบ SI Unit มี 7 หนวยที่ใชวัดปริมาณมูลฐาน (basic quantity) ไดแก เมตร

(Meter : m)

เปนหนวยใชวัดความยาว

กิโลกรัม

(Kilogram : kg)

เปนหนวยใชวัดมวล

วินาที

(Second : s)

เปนหนวยใชวัดเวลา

แอมแปร

(Ampere : A)

เปนหนวยใชวัดกระแสไฟฟา

เซลเซียส

(Celcius : C)

เปนหนวยใชวัดอุณหภูมิ

ฟาเรนไฮต (Farenheit : F)

เปนหนวยใชวัดอุณหภูมิ

เคลวิน

(Kelvin : K)

เปนหนวยใชวัดอุณหภูมิ

แคนเดลา

(Candela : cd)

เปนหนวยใชวัดความเขมของการสองสวาง

โมล

(Mole : mol)

เปนหนวยใชวัดปริมาณของสาร

ถาการวัดนั้นตองการทราบความยาวอยางคราว ๆ สามารถใชวิธีการคาดคะเนได หนวยการวัดความยาวที่นิยมใชในประเทศไทย ไดแก หนวยการวัดความยาวในระบบเมตริก ระบบอังกฤษ และมาตราไทย หนวยการวัดความยาวที่สําคัญที่ควรทราบมีดังนี้ หนวยการวัดความยาวในระบบเมตริก 10

มิลลิเมตร เทากับ

1

เซนติเมตร

100

เซนติเมตร เทากับ

1

เมตร 89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1000

เมตร

เทากับ

1

กิโลเมตร

หนวยการวัดความยาวในระบบอังกฤษ 12

นิ้ว

เทากับ

1

ฟุต

3

ฟุต

เทากับ

1

หลา

1760

หลา

เทากับ

1

ไมล

พื้นที่ใชในการบอกขนาดของเนื้อที่ จะใชหนวยการวัดพื้นที่เปน ตารางหนวยหรือ ตามหนวยการวัดความยาว หนวยการวัดพื้นที่ในระบบเมตริก 1

ตารางเซนติเมตร

เทากับ

100

ตารางมิลลิเมตร

1

ตารางเมตร

เทากับ

10000

ตารางเซนติเมตร

1

ตารางกิโลเมตร

เทากับ

1000000

ตารางเมตร

1. การใชและบํารุงรักษาฟุตเหล็ก ฟลเลอรเกจ ฉากเหล็ก บรรทัดวัดมุม 1.1 บรรทัดเหล็ก (Stainless Steel) หรือ ฟุตเหล็ก เปนเครื่องมือที่ใชในการวัดชนิดหนึ่ง มีขีดมาตราระบบอังกฤษ และระบบเมตริกในการแบงความยาว ดังภาพ

ภาพที่ 2.1 ไมบรรทัดเหล็ก การอานคาทําไดโดยการนําบรรทัดเหล็กทาบลงบนผิวของชิ้นงาน ซึ่งผิวของชิ้นงานนั้นตองเรียบ ไมขรุขระ โดยให จุดเริ่มตนของการวัดอยูที่ “0” หรือตรงขีดสเกลใดสเกลหนึ่งก็ได 1.1.1 การดูแลและบํารุงรักษา 1) ไมควรนําบรรทัดเหล็กวัดชิ้นงานที่ยังรอนอยู 2) วัดชิ้นงานในแนวระนาบเสมอ 3) ไมควรเก็บปะปนกับเครื่องมือและอุปกรณอื่นที่มีคม 4) กอนการวัดงานควรลบคมของชิ้นงานใหเรียบรอย 5) ตรวจสอบความสมบูรณของสเกลทุกครั้ง 6) ทําความสะอาดทุกครั้งกอนและหลังการใชงาน 7) เก็บบรรทัดเหล็กใสชองเก็บของใหเรียบรอย

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.2 ฟลเลอรเกจ (Feeler Gauge) หรือเกจวัดความหนา ใชวัดชองวางระหวางชิ้นสวน 2 ชิ้น มีลักษณะเปนเหล็กบาง ๆ ที่ มี ความละเอี ยดถึ ง 1/100 มิ ลลิ เมตร หรื อ 1/1000 นิ้ ว (ระบบอั งกฤษ) ซึ่ งฟ ลเลอร เกจนั้ นมี อยู ด วยกั นหลายขนาด ในการตรวจวัดจะตองทําความสะอาดแผ น วั ด และชิ้ น งานให ส ะอาดเพราะสิ่ ง สกปรกและคราบน้ํา มั น จะทํา ให ค า ที่ วั ด ได ค ลาดเคลื่ อ นไมเที่ยงตรงกับความตองการ

ภาพที่ 2.2 ฟลเลอรเกจ 1.2.1 การใชงาน สอดแผนวัดระหวางชิ้นสวนทั้ง 2 ชิ้นที่มีระยะหางเพียงเล็กนอย ถาฟลเลอรเกจสอดเขา และ ออกไดอยางงายใหทําการเปลี่ยนใชแผนฟลเลอรเกจที่หนากวาจนรูสึกวาจะแนนพอดีกับระยะหาง หรือ มีความฝดเกิดขึ้น 1.2.2 การบํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดฟลเลอรเกจทุกครั้งทั้งกอนและหลังใชงาน 2) วัดชิ้นงานที่มีผิวเรียบเสมอ 3) ทําความสะอาดและชโลมน้ํามันฟลเลอรเกจทั้งชุดทุกครั้งหลังใชงาน 4) เก็บใสกลองใหเรียบรอยหลังการใชงาน 1.2.3 ขอควรระวังขณะใชงาน หามวางสิ่งของทับ เพราะจะทําใหแผนวัดบิดงอ 1.3 ฉากเหล็ก (Soid square) เปนเครื่องมือที่ใชเพื่อวัดขนาดการสรางมุมฉาก หรือใชวัดขนาดความกวาง ยาว หรือลึกของ ชิ้นงาน ฉากนั้นมีสวนประกอบทั้งหมด 2 สวน คือ ใบฉาก และดามฉาก โดยทั้งสองสวนจะยึดติดกันเปนมุม 90 องศา

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.3.1 การใชงานฉาก 1) ใชวัดขนาด ฉากเหล็กที่มีดานทั้งสองของใบ จะมีมาตราสวนเปนนิ้วและเซนติเมตรกํากับไว ฉะนั้น ในการใชฉากเหล็กวัด ขนาดความกวางความยาวของงาน ใชวิธีวัด ขนาดความกวาง ความยาวเหมือนกับการวัดดวยไมเมตร หรือตลับเมตร แตสวนใหญจะใชในการวัดแนวตั้งฉาก มากกวา เพื่อใหชิ้นงานไดมุมฉากหรือมุม 90 องศา และมุม 45 องศาทุก ๆ ดาน 2) ใชขีดเสนฉาก เพราะฉากเหล็กมีลักษณะการประกอบเปนมุมฉากอยูแลว ดังนั้น การนําดา ม ฉากไปแนบกับขอบที่เรียบชิ้นงานใด ทิศทางของใบฉากยอมทํามุมได 90 องศาเสมอ ดังนั้น ในการตัดไมตัดเหล็กหรือชิ้นงานอื่นใหไดฉากกับแนวขางลําตัวไม เมื่อนําฉากมาแนบ การขีดเสน ตามแนวของใบฉากคือเสนที่บอกใหทราบถึงแนวตัดชิ้นงานใหไดฉากเสมอ 3) ใชฉากเหล็กตรวจสอบมุม 90 องศาของชิ้นงาน เปนการตรวจสอบโดยนําฉากเหล็กไปแนบใน จุดที่ตรวจสอบ แตการตรวจสอบไดความเที่ยงตรงมากนอยแคไหนตองตรวจสอบฉากกอน

ภาพที่ 2.3 ฉากเหล็ก 1.3.2 การบํารุงรักษาฉากเหล็ก 1) วางฉากเหล็กลงบนโตะปฏิบัติงานเบา ๆ อยางระมัดระวัง เมื่อนําฉากเหล็กไปใชงานในแตละครั้ง 2) ไมควรนําฉากเหล็กไปใชงานลักษณะอื่น ที่นอกเหนือจากการวัด ขีดเสน ตรวจสอบมุม วัดขนาด ความยาวชิ้นงาน 3) หามใชฉากเหล็กในการดัน การงัด การเคาะ จะสงผลใหจุดการยึดใบฉากกับดามฉากยึดกัน ไมแนนหลวมคลอน ยกเวนการทําเพื่อดัดฉากเหล็กใหได 90 องศาเทานั้น 4) ทําความสะอาดฉากเหล็กใหปราศจากฝุน และทราย กอนเช็ดดวยน้ํามันเครื่องเพื่อปองกันสนิม 5) เก็บฉากเหล็กไวในที่เรียบ ไมวางทับซอนกับเครื่องมือชนิดอื่น ซึ่งจะมีผลเสียทําใหฉากเหล็ก บิดงอได

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.4 บรรทัดวัดมุม เปนบรรทัดที่ออกแบบมาเพื่อใชสําหรับวัดชิ้นงานที่มีขนาดเล็ก ที่อยูระหวางศูนยกลางที่มีลักษณะ เอียงเปนมุม หรือบางชิ้นงานที่เปนรองหางเหยี่ยว รองนําเลื่อน มุมตาง ๆ ของเฟอง เปนตน โดยจะมีการอาน คาวัดมุม ซึ่งอานจากมุมองศา และมุมลิปดา ดังภาพ

ภาพที่ 2.4 บรรทัดวัดมุม 1.4.1 การใชงานบรรทัดวัดมุม 1) บรรทัดวัดมุมมีสวนประกอบสําคัญในการอานมุม 2 สวน คือ ใบบอกองศาสเกลหลัก ซึ่งมีหนวย เปนองศา และเวอรเนียรสเกล ซึ่งมีหนวยเปนลิปดา 2) ใบบอกองศาสเกลหลักจะแบงออกเปน 2 ขาง เพื่อใหสามารถอานมุมไดทั้งทิศทางตามเข็มและ ทวนเข็มนาฬิกา สเกลหลักจะแบงออกเปน 4 สวน สวนละ 90 องศา การวัดมุมที่มากกวา 90 องศา จะตองบวกเพิ่มหรือลบออกจาก 90 องศา 3) การอานมุมจากบรรทัดวัดมุม มีจุดสําคัญที่ทิศทางการวัด กลาวคือ หากตองการวัดมุมในทิศทาง ตามเข็มนาฬิกา จะตองวัดมุมเปนองศาจากใบบอกองศาสเกลหลัก โดยเริ่มอานคาที่เลข 0 และ วัดมุมเปนลิปดาจากเวอรเนียรสเกล โดยเริ่มอานคาที่เลข 0 เลื่อนไปทางขวา หากตองการวัดมุม ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา จะตองวัดมุมเปนองศาจากใบบอกองศาสเกลหลัก โดยเริ่มอานคาที่ เลข 90 เชน หากตัวเลขบนสเกลตรงกับ 40 องศา ใหหาคามุมโดยนํา 40 ไปลบออกจาก 90 องศา จะไดคามุมที่วัดไดในทิศทวนเข็มนาฬิกา และวัดมุมเปนลิปดา จากเวอรเนียรสเกล โดยเริ่มอาน คาที่เลข 0 เลื่อนไปทางซาย 1.4.2 การบํารุงรักษา 1) เช็ดทําความสะอาดกอนใชงานทุกครั้ง 2) ตรวจสอบความสมบูรณของแขนวัด และขีดบอกสเกลของใบบอกองศาและเวอรเนียรสเกล 3) ตรวจสอบการทํางานของแปนเกลียวและกลไกล็อก 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4) ระวังความรอนจากมือขณะวัด 5) อยาล็อกแปนเกลียวใหแนนจนเกินไป 6) อยาใชบรรทัดวัดมุมกับชิ้นงานที่รอน 7) หลังใชงาน ทําความสะอาดและทาน้ํามันหลอลื่นในสวนที่สัมผัสกันเสมอ 8) เก็บเขากลองทุกครั้งหลังใชงานเสร็จ 2. การใชและบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร (วัดนอก วัดใน และวัดลึก) 2.1 เวอรเนียรคาลิปเปอร (Vernier Caliper) เวอรเนียรคาลิปเปอร ทําหนาที่เปนเครื่องมือวัดความยาวทั้งภายในและภายนอก และ วัดความลึกที่ไมตองการ ความละเอียดมาก เชน ความสูงของสปริงลิ้น ขนาดความโตของสลักสูบ ความลึกของรองเฟอง เปนตน ซึ่งเวอรเนียรคาลิปเปอร มีทั้งชนิด สเกลบรรทัด ดิจิตอล และหนาปดนาฬิกา

ภาพที่ 2.5 เวอรเนียรคาลิปเปอร 2.1.1 สวนประกอบของเวอรเนียรคาลิปเปอร 1) ปากวัดนอก (Outside Caliper Jaws) ใชวัดภายนอกชิ้นสวนของชิ้นงาน 2) ปากวัดใน (Inside Caliper Jaws) ใชวัดภายในของชิ้นงาน 3) สกรูล็อก (Locking Screw) ใชสําหรับล็อกตําแหนงของปากวัดใหคงที่ 4) สเกลเลื่อน (Vernier Scale) มีลักษณะเปนรองสวมทับอยูบนสเกลหลัก สามารถเลื่อนได และที่ ขอบดานลางของสเกลเลื่อนจะมีสเกลขยายคาความละเอียดอยู 5) สเกลหลัก (Main Scale) มีลักษณะคลายบรรทัดเหล็ก และมีขีดสเกลมาตรฐานอยูบนตัว 6) แกนวัดความลึก (Depth Probe) ใชสําหรับวัดขนาดความลึกของชิ้นงาน

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.6 สวนประกอบตาง ๆ ของเวอรเนียรคาลิปเปอร 2.1.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดงาน 1) ทําความสะอาดชิ้นงาน และเวอรเนียรคาลิปเปอรกอนทําการวัด 2) ตรวจสอบสเกลและขีด “0” ของทั้งสองสเกลวาตรงตามตําแหนงหรือไม 3) จับชิ้นงานที่จะใชวัดใหชิดดานในของสเกลหลักมากที่สุด 4) วัดโดยจับปลายปากวัดใหตั้งฉากกับผิวชิ้นงานใหมากที่สุด 5) อานคาจากการวัดแนวตรงในจุดทีข่ ีดสเกลทั้งสองตรงกันมากที่สุด 6) ทําความสะอาดและชโลมน้ํามันหลอลื่นบาง ๆ ที่เวอรเนียรคาลิปเปอรหลังจากวัดแลว 2.1.3 การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอร 1) เลื่อนปากของเวอรเนียรคาลิปเปอรจนชิดกัน เพื่อตรวจสอบสเกลของเวอรเนียรคาลิปเปอรตรง กับสเกลหลักหรือไม ถาไมตรงใหพิจารณาความคลาดเคลื่อนศูนยที่ขีด “0” 2) เลื่อนปากเวอรเนียรคาลิปเปอรใหชิดกับชิ้นงานที่วัด 3) ล็อกสลักเวอรเนียรคาลิปเปอรใหอยูกับที่ 4) จากนั้นจึงอานคาบนสเกลโดยอานคาดังนี้

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การอ า นค า เวอร เ นี ย ร ค าลิ ป เปอร ค า ความละเอี ย ด 1/10 มิ ล ลิ เ มตร (0.1 มิ ล ลิ เ มตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปน ระยะทางเทาใด

ภาพที่ 2.7 คาที่สเกลหลักอานได 20.0 มิลลิเมตร - อ า นค า วั ด ละเอี ย ดที่ ส เกลเลื่ อ น โดยพิ จ ารณาขี ด ใดของสเกลเลื่ อ น ตรงกั บ ขี ด สเกลหลั ก นั่ น คื อ ระยะที่ ส เกลเลื่ อ นเยื้ อ งกั บ ขี ด สเกลหลั ก

ภาพที่ 2.8 คาที่สเกลเลื่อนอานได 0.50 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.9 ผลรวมคาที่อานได รวมคาที่อานได (1)+(2) = 20.0 + 0.50 มิลลิเมตร = 20.50

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

มิลลิเมตร


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/20 มิลลิเมตร (0.05 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขี ด 0 ของสเกลเลื่ อน เลื่อนมาเปน ระยะทางเทาใด

ภาพที่ 2.10 คาวัดที่สเกลหลักอานได 12.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกลเคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด

ภาพที่ 2.11 คาวัดที่สเกลเลื่อนอานได 0.60 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียด 0.05 มม.ที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด ใดของสเกลเลื่อน (0.05) ตรงกับสเกลหลัก

ภาพที่ 2.12 อานคาวัดละเอียด 0.05 มิลลิเมตร 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 12.0 + 0.60 + 0.05 มิลลิเมตร = 12.65

มิลลิเมตร

การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/50 มิลลิเมตร (0.02 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปน ระยะทางเทาใด

ภาพที่ 2.13 คาวัดที่สเกลหลักอานได 9.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกลเคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด

ภาพที่ 2.14 คาวัดที่สเกลเลื่อนอานได 0.6 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียด 0.02 มิลลิเมตรที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีดใดของสเกลเลื่อน (0.02 , 0.04 , 0.06 , 0.08 ) ตรงกับสเกลหลัก

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.15 คาที่อานได 0.08 มิลลิเมตร รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0.60 + 0.08

มิลลิเมตร

= 9.68

มิลลิเมตร

2.1.4 การบํารุงรักษา 1) ไมควรเก็บเวอรเนียรคาลิปเปอรใหอยูในที่อุณหภูมิสูงเกินไป หรืออุณหภูมิต่ําเกินไป 2) วางเวอรเนียรคาลิปเปอรบนผา หรือแผนไม 3) ทําความสะอาดและทาน้ํามันกันสนิมทุกครั้งหลังจากเลิกใชงาน 4) ถาปากวัดนอกหรือในของเครื่องเกิดรอยบิ่น ใหทําการขัดดวยหินน้ํามันละเอียด 5) หามวางเวอรเนียรคาลิปเปอรไวบนเครื่องมือที่มีคม

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.2 ไมโครมิเตอร (Micrometer) ไมโครมิเตอร เปนเครื่องมือวัดที่ละเอียดที่ตรวจวัดไดเที่ยงตรง และมีความละเอียดมาก โดยไมโครมิเตอร มีหลาย ขนาดและหลายชนิด เชน ไมโครมิเตอรวัดนอก ไมโครมิเตอรวัดใน ไมโครมิเตอรวัดลึก มีทั้งแบบสเกลและแบบดิจิตอล 2.2.1 ไมโครมิเตอรวัดนอก (Outside Micrometer)

ภาพที่ 2.16 ไมโครมิเตอรวัดนอก สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดนอก 1. แกนรับ 2. แกนวัด 3. ปลอกหมุนวัด 4. เกลียว 5. ปลอกหมุนกระทบเลื่อน 6. กลไกล็อกแกนวัด 7. กานสเกล 8. ขีดสเกล 0.01 มม. 9. โครงของไมโครมิเตอร 10. ขนาดที่วัด 11. แหวนเกลียว 12. ขีดสเกล 1 มม. 13. ขีดสเกล 0.5 มม.

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.17 สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดนอก 2.2.1.1 การอานคาไมโครมิเตอรวัดนอก 1) อานคาสเกลหลักแถวบน โดยแตละขีดจะมีคาเทากับ 1 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.18 คาวัดที่สเกลหลักแถวลางอานได 9.0 มิลลิเมตร (1) 2) อานคาที่สเกลหลักแถวลางที่ปลอกวัด หากไมถึงขีด จะไมนํามาคิดคาที่สเกลหลักแถวลาง ถาขอบปลอกหมุนเลยขีดไปบวกดวย 0.5 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.19 คาวัดที่สเกลหลักแถวบนอานได 0 มิลลิเมตร (2)

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3) อานคาที่ปลอกหมุนโดยดูวาขีดใดของไมโครสเกลตรงกับเสนระดับ คูณดวย 0.01 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.20 คาวัดที่ไมโครสเกลอานได 0.06 มิลลิเมตร (3) 4) นําคาที่อานไดจากสเกลหลักแถวบน สเกลหลักแถวลาง และไมโครสเกลรวมกันจะ เปนคาที่วัดได รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0 + 0.06

มิลลิเมตร

= 9.06

มิลลิเมตร

หมายเหตุ คาที่ปลอกหมุนขีดยอยแตละขีดมีคาเทากับ 0.01 มิลลิเมตร 2.2.1.2 การใชงานไมโครมิเตอรวัดนอก 1) ตรวจสอบขีด “0” กอนใชงานทุกครั้ง ถาไมตรงตองทําการปรับตั้งใหตรง 2) ทําความสะอาดผิวของแกนรับและแกนวัด 3) หมุนปลอกเลื่อนจนผิวสัมผัสของแกนวัดสัมผัสกับชิ้นงานที่วัด โดยตองจับที่ Ratchet shop ในการหมุนวัดงาน 4) ล็อกปุมใหอยูกับที่ เพื่อทําการอานคาที่วัดได 2.2.2 ไมโครมิเตอรวัดใน (Internal Micrometer)

ภาพที่ 2.21 ไมโครมิเตอรวัดใน

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดใน 1) ปากวัด 2) ขีดมาตรา 3) ปลอกหมุนวัด 4) หัวหมุนกระทบเลื่อน 5) ดามจับ 2.2.2.1

การใชไมโครมิเตอรวัดใน 1) หมุนขนาดของปากวัดใหมีขนาดเล็กกวาความกวางของดานในของชิ้นงานที่ตองการ วัดเล็กนอย เเลวนําปากวัดไมโครมิเตอรใสลงไป 2) คอย ๆ หมุนที่ปลอกหมุนวัด ใหปากวัดขยายเลื่อนออกไปสัมผัสผิวชิ้นงานพอดี 3) อานคาวัดบนสเกล โดยหากสามารถอานไดก็ควรอานทันที แตหากไมสามารถอานได ควรใชปุมล็อกไมโครมิเตอรล็อกปากวัด กอนถอดออกมาอานคาตามปกติ

2.2.3 ไมโครมิเตอรวัดลึก (Depth Micrometer)

ภาพที่ 2.22 ไมโครมิเตอรวัดลึก สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดลึก 1) หัวหมุนกระทบเลื่อน 2) หมวกเกลียว 3) ปลอกหมุนวัด 4) สเกลปลอกหมุนวัด 5) สเกลกานปลอก 6) กานปลอก 7) แผนประกบงาน 103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

8) แกนวัดลึก 2.2.3.1 การใชไมโครมิเตอรวัดลึก 1) เลือกกานวัดที่มีความยาวใกลเคียงกับขนาดที่ตองการวัด กอนนําปากวัดใสลงไปใน รองที่ตองการวัด 2) วางไมโครมิเตอรใหสะพานยันสวนของผิวสัมผัสงาน สัมผัสพอดีกับบางาน 3) คอย ๆ หมุนปลอกวัดใหสะพานยันสวนของผิวสัมผัสงาน สัมผัสกับผิวชิ้นงานพอดี 4) อานคาที่วัดได และนํามารวมกับคาความยาวของกานวัดลึกที่เลือกใช 5) อานคาวัดบนสเกล โดยหากสามารถอานไดก็ควรอานทันที แตหากไมสามารถอานได ควรใชปุม ล็อกไมโครมิเตอรล็อกปากวัด กอนถอดออกมาอานคาตามปกติ 2.2.4 การบํารุงรักษาไมโครมิเตอร 1) ไมควรใชไมโครมิเตอรวัดชิ้นงานผิวดิบหรือหยาบเกินไป 2) หากตองการใหแกนวัดเลื่อนเขาออกอยางรวดเร็วใหเลื่อนกับฝามือ ปองกันความเสียหายที่จะ เกิดขึ้นกับไมโครมิเตอร 3) ไมควรปลอยใหไมโครมิเตอรสกปรกขาดการหลอลื่น ขาดการปรับแตงอาจทําใหหมุนวัดฝดหรือ หลวมเกินไป 4) ควรตรวจสอบผิวสัมผัสของแกนรับและแกนวัดอยูเสมอ 5) ทําความสะอาดผิวแกนรับและแกนวัดทุกครั้ง กอนและหลังการวัด 3. ประแจวัดแรงบิด (Torque wrench) หรือ ประแจปอนด ประแจวัดแรงบิด เปนประแจดามกระบอกชนิดหนึ่ง ที่ออกแบบมาเพื่อวัดแรงบิดในการขันสลักเกลียว แปนเกลียว และ สกรูหัวเหลี่ยมชนิดตาง ๆ ประแจวัดแรงบิดจะชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น คือทําใหสามารถขันสลักเกลียวเพื่อ ติดตั้งชิ้นสวนของอุปกรณตาง ๆ ดวยแรงบิดตามคาที่กําหนดไว ทําใหชิ้นสวนเหลานั้นติดตั้งอยางถาวรที่สุด ในขณะที่สลัก เกลียว หรือแปนเกลียวก็สามารถรับแรงกด – แรงดึงไดเต็มที่ โดยไมเปนอันตรายตอตัวเกลียว คําวาแรงบิด (Torque) หรือ แรงดึง (Tension) คือ เปนคาทางวิทยาศาสตรที่บัญญัติขึ้น เพื่อวัดแรงที่กระทําในการบิดใหวัตถุหมุนเคลื่อนที่ไปในทิศทาง เชิงมุมคาที่ไดจากการวัดจะแสดงบนหนาปด หรือเข็มชี้ที่ติดตั้งบนตัวประแจ จึงสามารถอานคาวัดแรงบิดไดทันที ประแจวัด แรงบิดที่ใชสําหรับงานหนักจะอานคาเปน "ฟุต - ปอนด" , "กิโลกรัม - เมตร" , " กิโลกรัม - เซนติเมตร" และ “นิวตัน – เมตร” ประแจวัดแรงบิด มีทั้งแบบเข็ม แบบดิจิตอล แบบปรับตั้งขนาด และเข็มหนาปดนาฬิกา 104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.23 ประแจวัดแรงบิด ขนาด 50-100 Nm แบบตั้งขนาดแรงขันและมีเสียงเตือน 3.1 การใชงานประแจวัดแรงบิด 1) ตั้งคาแรงขันที่ตองการตามคากําหนดในคูมือซอม 2) ล็อกคาแรงขันเพื่อกันความคลาดเคลื่อน 3) ตรวจสอบขนาดของนอตที่ตองการขัน 4) นําประแจวัดแรงบิดสวมใสกับนอตที่ตองการขัน และขันนอตใหไดคาแรงบิดตามคาที่คูมือซอมประจํา รถยนตกําหนด 5) เมื่อประแจวัดแรงบิดมีเสียงดังเตือน ใหหยุดขันทันที เนื่องจากไดคาแรงขันตามกําหนดแลว 6) เมื่อใชงานเสร็จสิ้น ตองทําการปรับคาแรงขันใหกลับไปที่จุดเริ่มตน 7) หากหนวยของประแจวัดแรงบิดที่มี ไมตรงกับหนวยแรงบิดที่ตองการ ใหตั้งคาแรงบิดโดยดูตามตาราง เปรียบเทียบและเปลี่ยนหนวยการใชประแจวัดแรงบิด 3.2 การบํารุงรักษาประแจวัดแรงบิด 1) แบงการขันเปน 2 จังหวะ ครั้งแรกใหขันแนนเพียงครั้งเดียว ครั้งที่ 2 จึงใชประแจวัดแรงบิดขันในขั้นตอน สุดทาย 2) ทําความสะอาดนอตและโบลตใหสะอาดกอนขันทุกครั้ง 3) กอนเก็บประแจวัดแรงบิด ใหตั้งคาทอรคใหกลับมาที่จุดต่ําสุดเพื่อคลายสปริง (หามตั้งคาต่ํากวาคาต่ําสุด) 4) หามใชประแจวัดแรงบิดในการคลายนอตและโบลต 5) หามใชประแจวัดแรงบิดในการตอก เคาะ แทนคอน 6) หามทําประแจวัดแรงบิดตก การตกครั้งหนึ่งอาจทําใหคาทอรคคลาดเคลื่อนไดทันที 7) กอนเก็บประแจวัดแรงบิดเขากลองตองเช็ดทําความสะอาดใหเรียบรอย

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตัวอยางการเปลี่ยนหนวยการใชประแจวัดแรงบิดโดยใชตารางเปรียบเทียบ หากผูรับการฝกตองการขันแรงบิด 20 Foot Pounds (ft. lbs) แตประแจวัดแรงบิดที่ใชมีหนวยเปน Newton Meters (Nm) ใหผูรับการฝกตั้งคาแรงบิดที่ประแจเทากับ 27.12 Nm ดังที่ปรากฏในตารางเปรียบเทียบ

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตารางเปรียบเทียบและเปลีย่ นหนวยการใชประแจวัดแรงบิด

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

ขอ ก

1

คําตอบ ใชตรวจสอบมุมฉากของงานปรับมุม ใชวัดความยาวทั้งภายในและภายนอก และ วัดความลึกที่ไมตองการความละเอียดมาก

2

เชน ความสูงของสปริงลิ้น ขนาดความโต ของสลักสูบ และความลึกของรองเฟอง

3

เปนตน ค

4

ใชวัดมุม วัดขนาด หรือตรวจสอบมุม ตาง ๆ ของชิ้นงาน ทาบลงบนผิวของชิ้นงาน ซึ่งผิวของชิ้นงาน

5

ตองเรียบ ไมขรุขระ โดยใหเริ่มตนจากจุด ที่จะวัดตรงกับขอบบรรทัดเหล็ก หรือตรง ขีดสเกลหนึ่งสเกลใดก็ได ใชตรวจสอบหรื อวั ดระยะห างลิ้ น และ ระยะรุน กานสูบที่เพลาขอเหวี่ยงหรือใช

6

สําหรับวัดระยะหางระหวางปากแหวน ลู ก สู บ และแหวนลู ก สู บ กั บ ร อ งแหวน

7

ลูกสูบ ฉ

ใชวัดแรงบิดในการขันสลักเกลียว แปน เกลียว และสกรูหัวเหลี่ยมชนิดตางๆ ใชวัดความโตของชิ้นงาน ถาหาก

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ตองการวัดขนาดความโตของชิ้นงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 8. ก อนเก็ บประแจวัดแรงบิด ใหตั้งคาทอรคให กลับมาที่จุดสู งสุดเพื่ อคลายสปริ ง (หามตั้งคาต่ํากวาคาต่ําสุด) 9. หากต องการให แกนวั ดเลื่ อนเข าออกอย างรวดเร็ วให เลื่ อนกั บฝ ามื อ ป องกั น ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับไมโครมิเตอร 10. ควรใช บ รรทั ด วั ด มุ ม ขณะที่ ชิ้ น งานยั ง คงร อ นอยู เพื่ อ ป อ งกั น การวั ด ค า ที่ คลาดเคลื่อน 11. หลังใชงานบรรทัดวัดมุม ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันหลอลื่นในสวนที่ สัมผัสกันเสมอ 12. ใชประแจวัดแรงบิดในการคลายนอตและโบลต 13. ถาปากวัดนอกหรือในของเครื่องเกิดรอยบิ่น ใหทําการขัดดวยหินน้ํามันละเอียด 14. ไมควรวางเวอรเนียรคาลิปเปอรบนผา หรือแผนไม 15. หามใชฉากเหล็กในการดัน การงัด การเคาะ จะสงผลใหจุดการยึดใบฉากกับ ดามฉากยึดกันไมแนนหลวมคลอน ยกเวนการทําเพื่อดัดฉากเหล็กใหได 90 องศา เทานั้น 16. ทําความสะอาดและชโลมน้ํามันฟลเลอรเกจทั้งชุดเดือนละ 1 ครั้ง 17. การตรวจสอบบรรทัดวัดมุม ควรตรวจสอบความสมบูรณของแขนวัด และขีด บอกสเกลของใบบอกองศาและเวอรเนียรสเกลเสมอ

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 6 7 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็กได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดชิ้นงานตอไปนี้ดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นงานที่ 1

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 1 ตําแหนง

A

B

C

D

มม. 111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

E

F

G

H


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 2

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 2 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

G

มม.

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

H

I

J

K

L

M

N


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 3

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 3 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

มม.

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

G

H

I

J

K


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 4

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 4 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

G

มม.

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

H

I

J

K

L

M

N


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 5

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 5 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

G

H

มม.

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

I

J

K

L

M

N

O


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การวัดขนาดชิน้ งานดวยบรรทัดเหล็ก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - บรรทัดเหล็ก ขนาด 1 ฟุต

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยบรรทัดเหล็ก

จํานวน 5 ชิ้น

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือและ ระวังไมใหเครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. วัดขนาดของชิ้นงาน

วั ด ความยาวของชิ้ น งานชิ้ น ที่ 1 ด ว ย กอนการวัดงานควร บรรทัดเหล็กในหนวยมิลลิเมตร และอาน ลบคมของชิ้นงานให คาบนสเกล

เรียบรอย เพื่อปองกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. บันทึกผล

คําอธิบาย หลังจากวัดความยาวของชิ้นงานในแตละ ดานเรียบรอยแลว บันทึกผลลงในตาราง

4. ทําตามขั้นตอน 2-3 อีกครั้ง

เมื่อวัดขนาดของชิ้นงานชิ้นที่ 1 เรียบรอย แลว ใหวัดขนาดของชิ้น งานที่ 2-5 ตาม ขั้นตอนที่ 2-3

5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย . 118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 3

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 4

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 5

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิน้ ที่ 1

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 2

ขอกําหนดในการใหคะแนน

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง

คะแนน เต็ม 5

ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 3

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 4

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 8

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 5

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

43

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 30 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอรได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดของชิ้นงานตอไปนี้ดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตําแหนง

A

B

มม.

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

C

D


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เวอรเนียรคาลิปเปอร ความละเอียด 1 ตอ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร จํานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันกันสนิม

จํานวน 1 ขวด

3. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

จํานวน 1 ชิ้น

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและชิ้นงาน

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ

ระวังไมใหเครื่องมือ

และชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความ

วัดและชิ้นงานตก

สะอาด

เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

2. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางที่จุด A ของชิ้นงาน

ใชป ากของเวอรเนีย รคาลิป เปอรห นีบ กอนการวัดงานควร ชิ้นงานบริเวณที่จะวัด

ลบคมของชิ้นงาน ใหเรียบรอย เพื่อ ปองกันชิ้นงานบาด ขณะปฏิบัติงาน

หมุนสเกลเลื่อนใหชิดชิ้นงานมากที่สุด แลวจึงหมุนสกรูล็อก 3. อานคาและบันทึกผล

อานคาบนสเกลวัด ในหนว ยมิล ลิ เ มตร และบันทึกผลลงในตาราง

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. วัดคาที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน

วัดความยาวของจุดอื่น ๆ บนชิ้นงานให ครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ชิ้นที่ 1 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ชิ้นที่ 1

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921020203 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษาเครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได

2. หัวขอสําคัญ 1. เครื่องมือทําเกลียวนอกและเกลียวใน 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว 3. การใชและบํารุงรักษาเครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวงลาง และไฟฟารถยนต

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานสําหรับถอดสลักเกลียว จํานวน 1 ชิ้น 2) ถานไฟฉาย 9 โวลต จํานวน 1 กอน 3) ถานไฟฉาย ชนิด AA จํานวน 1 กอน 4) น้ํามันอเนกประสงค จํานวน 1 กระปอง 5) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 6) ฟวสขนาดตาง ๆ จํานวน 1 ชุด 7) รีเลย ชนิด 4 ขา จํานวน 1 ตัว 8) สายไฟฟารถยนต จํานวน 1 เสน 9) สารหลอเย็นสําหรับทําเกลียว จํานวน 1 กระปอง 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คอนเหล็ก จํานวน 1 อัน 2) ฉากตาย จํานวน 1 อัน 3) ดอกถอดสลักเกลียว จํานวน 1 ชุด 4) ดอกสวาน จํานวน 1 ชุด 5) ดามดาย พรอมดอกดาย เกลียว M12 x 1.75 จํานวน 1 ชุด 6) ดามตาป จํานวน 1 อัน 7) ตะไบแบน จํานวน 1 อัน 8) แบตเตอรี่รถยนต จํานวน 1 ลูก 9) ปลั๊กพวง จํานวน 1 ตัว 10) ปากกาจับยึดชิ้นงาน จํานวน 1 ตัว 11) แปรงขนออน จํานวน 1 อัน 12) มัลติมิเตอร จํานวน 1 ตัว 13) เวอรเนียรคาลิปเปอร จํานวน 1 ตัว 14) สวานไฟฟา จํานวน 1 ตัว 15) เหล็กแทงกลม ขนาด M12 x 1.75 จํานวน 1 แทง 16) เหล็กนําศูนย จํานวน 1 อัน

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ธีระยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : บริษัทเอช. เอ็น. กรุป จํากัด. อําพล ซื่อตรง. การแกปญหางานชางยนต. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ.

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 118-160 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริง ได แก มั ลติ มิเตอร เครื่องมือทําเกลียวใน เครื่องมือทําเกลียวนอก เครื่ องมื อถอดสลักเกลียว เครื่ องมื อถอดกรอง น้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวงลางและไฟฟา รถยนต 6. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณสําหรับปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ เครื่ องมื อพิ เ ศษทางด า น ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ชางยนต ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง เครื่ อ งมื อ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น พิเศษทางดานชางยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 118-160

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่องมือพิเศษทางดาน ชางยนต หนาที่ 118-160 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝ ก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 120-132 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.1 เครื่องมือทําเกลียวนอกและเกลียวใน 2.2 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 2.3 การใช แ ละบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ถอด กรองน้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวง ลาง และไฟฟารถยนต 3. ใหผูรับการฝกศึกษาสื่อของจริง 3. ศึกษาสื่อของจริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 133-135 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 133-135 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 154 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.1 การถอดสลัก 6. ศึกษาใบงานที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัว เกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย จากคูมือ ถอดเกลียวซาย จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 136-143 ผูรับการฝก หนาที่ 136-143 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-03:37 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 วิธีการถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอด เกลียวซาย 7.2 การลดความรอนดวยน้ําหลอเย็น 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จา ยวัส ดุ- อุป กรณแ ละเครื่อ งมือ ปฏิบัติง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้น ตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก ใบขั้ นตอนปฏิ บั ติ งานในคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ หนาที่ 156-157 137-138 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 3.2 การทํ า 13. ศึกษาใบงานที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ จาก เกลี ย วนอกด ว ยมื อ จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก คูมือผูรับการฝก หนาที่ 144-152 ซักถามขอสงสัย หนาที่ 144-152 ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 03:42:08:14 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 วิธีการทําเกลียวนอก 14.2 การลดความรอนดวยน้ําหลอเย็น 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ นตอนการปฏิ บั ติ งานในคู มื อครู ฝ ก ใบขั้ นตอนปฏิ บั ติ งานในคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ หนาที่ 164-165 145-146 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 20. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.3 การใช 20. ศึกษาใบงานที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณ มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด อุ ป กรณ ไ ฟฟ า จากคู มื อ ผู รั บ ไฟฟ า จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 153-160 การฝก หนาที่ 153-160 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 21. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 08:20-14:31 พรอม 21. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 21.1 การปรับมัลติมิเตอร 21.2 การวัดคาความตานทานของฟวส 136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 21.3 การวัดคาความตานทานของรีเลย 21.4 การวัดคาความตานทานของสายไฟฟา รถยนต 21.5 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า กระแสตรงของ แบตเตอรี่รถยนต 21.6 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า กระแสตรงของ ถานไฟฉายขนาด 2 A 21.7 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า กระแสตรงของ ถานไฟฉายขนาด 9 โวลต 21.8 วัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ 220 โวลต 21.9 การอานคาจากมัลติมิเตอร 22. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 22. แบงกลุมตามความสมัครใจ 23. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม 23. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 173 ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 154 24. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 24. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 25. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 25. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 26. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 26. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือพิเศษ ทางดานชางยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือพิเศษ ทางด า นช า งยนต เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ยในการปฏิบัติงาน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต 1. เครื่องมือทําเกลียวนอกและเกลียวใน การทําเกลียว หมายถึง การตัดเกลียวชิ้นงานรูปทรงกระบอก ทําใหเกิดรองลาดเอียงมีความลึกสม่ําเสมอพันไปตามรอบ แทงทรงกระบอก ซึ่งเรียกวา เกลียว รองที่อยูภายนอกทรงกระบอกเรีย กวา “เกลียวนอก” สวนรองเกลียวที่อยูภายใน แทงทรงกระบอกเรียกวา “เกลียวใน” เกลียวมีรูปรางและมีมาตรฐานที่แตกตางกัน ดังนี้ 1) เกลียวเมตริก เปนเกลียวที่นิยมใชทั่วโลก พื้นที่หนาตัดจะเปนรูปสามเหลี่ยม ระหวางรองเกลียวจะทํามุม 60 องศา บางครั้งเรียกวา เกลียวสามเหลี่ยม 2) เกลียววิตเวอรต (Whitworth Thread) เปนเกลียวที่ทํามุมระหว างเกลี ยว 55 องศา บริเวณยอดเกลี ย ว มีลักษณะโคงมน 3) เกลียวรูปตัววี มีลักษณะคลายกับเกลียวแบบเมตริก แตบริเวณยอดเกลียวมีลักษณะแหลม 4) เกลี ย วสี่ เ หลี่ ย มคางหมู เป น เกลี ย วขนาดใหญ นิ ย มใช ใ นการส ง กํ า ลั ง ของเครื่ อ งจั ก ร หรื อ ใช ค วบคุ ม การเคลื่อนไหวของชิ้นงาน เชน เกลียวของปากกาจับงาน เกลียวเพลานําของเครื่องกลึง เปนตน 5) เกลียวสี่เหลี่ยม เปนเกลียวขนาดใหญ รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส นิยมใชในการสงกําลังเครื่องจักรที่รับแรงมาก ๆ เชน เกลียวของแมแรง เปนตน 6) เกลียวฟนเลื่อย เปนเกลียวที่ภาพตัดจะมีลักษณะคลายฟนเลื่อย จะมีดานชันและดานที่ทํามุม 45 องศา ใชสําหรับแรงกดอัดเพียงดานเดียว เชน เกลียวของปากกาชางไม เปนตน 7) เกลี ย วกลม เป น เกลี ย วที่ ใ ช ง านเฉพาะอย า ง ซึ่ ง ต อ งการใช ง านให ห มุ น เข า หรื อ หมุ น ออกได โ ดยง า ย เชน เกลียวของขวดน้ําอัดลม เกลียวของหลอดไฟ เปนตน

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

อุปกรณในการทําเกลียว อุปกรณในการทําเกลียวมี 2 ชนิด คือ ชนิดใชทําเกลียวในและชนิดใชทําเกลียวนอก 1) ตาป (Tap) สําหรับทําเกลียวใน

ภาพที่ 3.1 ตาป 2) ดาย (Die) สําหรับทําเกลียวนอก

ภาพที่ 3.2 ดาย 1.1 ขั้นตอนการทําเกลียวใน เตรียมขนาดของรูเจาะใหเหมาะสมกับขนาดของเกลียวที่ตองการ ใสดอกตาปดอกแรก (Taper Tap) เขากับดาม (Tap Wrench) (ดอกตาป 1 ชุด จะมี 2 - 3 ดอก) แลวนําดอกตาปใสลงในรูเจาะที่เตรียมไว กดดามจับพรอมกับหมุนเข า (ตามเข็มนาฬิกา) จนกระทั่งดอกตาปกินงานจนแนน ใชฉากเหล็กจับและปรับดอกจนไดฉากกับชิ้นงาน หมุนเขาตอไปอยางชา ๆ โดยหมุนเขาครั้งละ 1/4 รอบ แลวหมุนออกสลับกันไป ในระหวางนั้นควรใชน้ํายาทําเกลียวหยอดเพื่อลดความฝด และ ปดเศษโลหะออกจากชิ้นงานดวย หมุนดอกตาปแรกเขาพอประมาณ แลวเอาออกใสดอกตาปดอกที่สอง (Intermediate Tap) 139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เขาตอ หมุนเขา - ออกทําเหมือนดอกตาปที่หนึ่ง หมุนดอกตาปตัวที่สอง เขาพอประมาณ แลวเอาออกใสดอกตาปดอกที่สาม (plug) เขาตอ หมุนเขา - ออกทําเหมือนดอกตาปที่หนึ่งและสอง หมุนดอกตาปดอกที่สามเขา - ออกจนสุดเกลียว และ หมุนซ้ํา ๆ เพื่อทําใหเกลียวคลองตัวดี จะไดเกลียวตามตองการ 1.2 ขั้นตอนการทําเกลียวนอก เตรี ย มขนาดของแท ง ชิ้ น งานให เ หมาะสมตามขนาดของเกลี ย วที ่ ต อ งการ ใส ตั ว ดาย (Die) เขา กับ ดาม (Die Holder) โดยปรับใหตัวดาย ถางออกมากที่สุด เริ่มตนทําเกลียวพรอมกับใชฉากเหล็กจับและปรับดอกดาย จนไดฉาก กับชิ้นงาน หมุนเขาตอไปอยางชา ๆ โดยหมุนเขาครั้งละ 1/4 รอบ แลวหมุนออกสลับกันไป ในระหวางนั้นควรใชน้ํายา ทาเกลียว หยอดเพื่อลดความฝด และปดเศษโลหะออกจากชิ้นงานดวย หมุนเขา – ออกจนสุดเกลียว จากนั้นนําดอกดาย ออกมาปรับใหดอกดายแคบลงเล็กนอย เพื่อที่จะตัดเกลียวรอบใหม (ดาย 1 ชุด จะมีดอกเดียว) หมุนเขา – ออกจน สุดเกลียว จากนั้นนําดอกดายออกมาปรับใหแคบลงอีกเล็กนอย เพื่อที่จะตัดเกลียวรอบตอไปอีกทําซ้ํา จนไดเกลียวขนาด ที่ตองการ 1.3 การบํารุงรักษาเครื่องมือทําเกลียว 1) หมั่นตรวจสอบสภาพของชุดทําเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น 2) ขณะทําเกลียวควรหมุนเขาครั้งละ ไมเกิน 1/4 รอบอยางชา ๆ 3) ใชน้ํายาทาเกลียวเสมอขณะทําเกลียว เพื่อรักษาคมของตาป (Tap) และดาย (Die) 4) อยาทําตาป (Tap) และดาย (Die) ตก หรือหลน เพราะจะทําใหคมหัก หรือบิ่น หรือดาย (Die) แตกได 5) ทําความสะอาดและทาน้ํามันบาง ๆ ทั้งดอกตาป (Tap) และดาย (Die) เพื่อปองกันสนิม 6) เก็บตาป (Tap) และดาย (Die) ในกลองบรรจุใหเรียบรอย 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว (Screw Extractor) เครื่องมือถอดสลักเกลียว หรือที่เรียกวา ตัวถอดเกลียวซาย เปนเครื่องมือที่ใชในการถอนสกรูที่มีการติดแนนภายในรู (Socket) ที่หัวสกรูชํารุด หรือเกิดความเสียหาย เชน เกิดสนิม หรือหัวสกรูหัก เปนตน โดยจะมีลักษณะคลายดอกสวาน และ มีเกลียวที่มีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา การเลือกตัวถอดเกลียว จะตองเลือกใหมีขนาดใกลเคียงกับขนาดของดอกสวานที่ใชเจาะรู 1

สลักเกลียว คือ มีขนาดเล็กกวาสลักเกลียวที่ขาดประมาณ ของเสนผานศูนยกลางสลักเกลียว เมื่อตองถอดสลักเกลียวที่ขาด 2

นําตัวถอดเกลียวซายตอกเขาในรู แลวหมุนทวนเข็มนาฬิกาเพื่อดึงสลักเกลียวที่ขาดออกจากรู

140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 3.3 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 2.1 การบํารุงรักษาเครื่องมือถอดสลักเกลียว 1) หมั่นตรวจสอบสภาพของเครื่องมือถอดสลักเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น 2) หลอลื่นดวยน้ํามันเครื่องหรือน้ํามันอเนกประสงคเสมอเมื่อถอดสลักเกลียว เพื่อรักษาสภาพของเครื่องมือ 3) หลังใชงาน ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิม 4) เก็บเครื่องมือถอดสลักเกลียวใหถูกตอง 3. การใชและบํารุงรักษาเครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวงลาง และไฟฟารถยนต 3.1 เครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง ในงานการบริการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง ไมเพียงแตเปลี่ยนน้ํามันเครื่องเพียงอยางเดียว แตรวมไปถึงการเปลี่ยน กรองน้ํามันเครื่องดวย กรองน้ํามันเครื่องแตละประเภทมีขนาดไมเทากัน จึงจําเปนที่จะตองใชเครื่องมือเฉพาะดาน ซึ่งมีดวยกันหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนโซถอดกรองน้ํามันเครื่ อง ถวยถอดกรองน้ํามั นเครื่อง หรือประแจถอดกรอง น้ํามันเครื่อง ซึ่งมีลักษณะที่พิเศษดังภาพที่ 3.4 ในการใชงานประแจถอดกรองน้ํามันเครื่ อง.ใหนํ าประแจถอดกรอง น้ํามันเครื่องครอบไปยังกรองน้ํามันเครื่อง และบิดทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคลายกรองน้ํามันเครื่องออก ขณะที่เปลี่ยนกรอง น้ํามันเครื่อง ไมควรถอดกรองออกขณะที่เครื่องยังมีน้ํามันเครื่องอยูในระบบ

ภาพที่ 3.4 ประแจถอดกรองน้ํามันเครื่อง 141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

โดยทั ่ว ไป เครื ่อ งมือ พิเ ศษที ่มีค วามเกี่ย วขอ ง และถูก ใชง านเฉพาะงานชา งยนตนั ้น มีห ลายชนิด ดว ยกัน ซึ่งเครื่องมือพิเศษแตละชนิดจะไมสามารถนําเครื่องมือชนิดอื่นมาใชแทนได เพราะอาจเกิดความเสียหายเมื่อนําเครื่องมือ ตางชนิดมาใชงานแทน การบํารุงรักษาเครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิมทุกครั้งหลังใชงาน กอนเก็บเครื่องมือใหเรียบรอย 3.2 เครื่องมือพิเศษ 3.2.1 ปลอกรัดแหวนลูกสูบ ปลอกรัดแหวนลูกสูบเปนแผนเหล็กสปริงลานผิวเรียบ พรอมดามหมุนเปนเหล็ก 4 เหลี่ยมงอ 90 องศา ภายนอกเปนสลักเดือย ล็อกหมุนรัดแนนเขา เดือยล็อกเองโดยอัตโนมัติ เวลาคลายตองบีบประคองไว อยาให สปริงคลายตัวแรงและเร็ว

ภาพที่ 3.5 ปลอกรัดแหวนลูกสูบ การบํารุงรักษาปลอกรัดแหวนลูกสูบ ควรเลือกใชใหเหมาะสมกับขนาดของลูกสูบ หลังใชงาน ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิม ทุกครั้ง กอนเก็บเครื่องมือใหเรียบรอย 3.2.2 ซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น

ภาพที่ 3.6 ซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น 142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1) วิธีการใชงาน - เลือกขนาดของเครื่องมือกดสปริงใหเหมาะสมกับงาน - ปรับระยะหางของฝากดแหวนรองสปริงลิ้นใหตรงกับจุดศูนยกลางของแหวนรอง สปริงลิ้นดวยสกรู ปรับแปนกดลิ้น - กดดามล็อกเครื่องกดสปริงลิ้นใหสุดตําแหนง สปริงลิ้นจะตองหยุดตัวเต็มที่ - ถอดประกับล็อกลิ้นออก (เกือกมา) และปลดดามกดล็อกออก สปริงลิ้นจะยืดกลับ และถอนสปริงลิ้นออก - เมื่อตองการประกอบสปริงลิ้นใหปฏิบัติเชนเดียวกับการถอด 2) การบํารุงรักษา ซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น - อยาใชแรงอัดตอนจับยึดชิ้นงานมากเกินไป เพราะอาจทําใหเครื่องมือหักได - หามนําไปใชเพื่อวัตถุประสงคอื่น เชน ทุบเหล็ก หรือ ตะปู - ดูแลสวนที่จะตองสัมผัสกับชิ้นงานใหเรียบอยูเสมอ - หลังใชงาน ควรทําความสะอาด และหยอดน้ํามันปองกันสนิมเสมอ 3.2.3 คีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับถอดและประกอบแหวนลูกสูบ โดยในการถอดแหวนลูกสูบแตละครั้ง อาจถอด เพื่อเปลี่ยนแหวนลูกสูบใหม หรืออาจถอดเพื่อเซาะรองแหวนลูกสูบ ซึ่งแหวนลูกสูบเปนชิ้นสวนที่เปราะบาง จึงควรใชคีมถอดประกอบแหวนลูกสูบดวยความระมัดระวัง มิฉะนั้นแหวนลูกสูบอาจหักไดงาย

ภาพที่ 3.7 คีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ การบํารุงรักษาคีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ ควรใชดวยความระมัดระวัง หลังจากเลิกใชงานควรเช็ดทําความสะอาดดวยผาแหง แลวชโลมน้ํามันไว กอนเก็บไวในหองเครื่องมือเรียบรอย 143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3.2.4 เกจวัดกําลังอัดเครื่องยนต เปนเครื่องทดสอบกําลังอัดกระบอกสูบของรถยนต เพื่อตรวจสอบวาสภาพเครื่องยนตยังสมบูร ณดี อยู หรือไม โดยการวัดคาความดัน แลวนําไปเปรียบเทียบกับคาความดันที่ระบุไวในคูมือรถยนตแตละรุน หากความ ดันที่วัดไดมีคาใกลเคียงกับคาที่กําหนดไวในคูมือ แสดงวาเครื่องยนตยังอยูในสภาพดี

ภาพที่ 3.8 เกจวัดกําลังอัดเครื่องยนต การทดสอบกําลังอัดกระบอกสูบของเครื่องยนต มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) ถอดหัวเทียนของกระบอกสูบที่ตองการตรวจสอบออก และถอดสายหัวเทียนทุกเสนออกจาก หัวเทียน 2) ขันเกลียวขอตอของเกจวัดกําลังอัดเครื่องยนตเขาไปแทน 3) ทดลองสตารทเครื่องยนต เครื่องยนตจะหมุนแตไมติด แลวอานคาความดันบนเครื่องวัด 4) เปรียบเทียบคาความดันที่วัดได กับคาความดันที่ระบุไวในคูมือรถยนต ตารางที่ 1.1 เครื่องมือพิเศษ ประแจกระบอกถอด – ประกอบหัวเทียน

เกจวัดกําลังอัดเครื่องยนต

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แคลมปกดสปริงวาลว

เครื่องมือทําความสะอาดรองแหวนลูกสูบ

คีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ

ปลอกรัดแหวนลูกสูบ

ประแจสําหรับขันปลอกรัดแหวนลูกสูบ

ประแจและปลอกรัดแหวนลูกสูบ

3.3 เครื่องมือบริการชวงลาง ในสวนงานบริการชวงลาง จะมีเครื่องมือหลัก คือ แมแรง โดยแมแรงหรือแมแรงยกรถ เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับ การยกรถ ในงานซอมบริการรถยนต ซึ่งการเลือกแมแรง ควรเลือกแมแรงที่สามารถรับ น้ําหนั กรถไดมากกวาตัว รถ เพื่อความปลอดภัยในการซอมบริการ การใชงานแมแรงทุกครั้ง ควรใชขอนหนุนลอเสมอ เพื่อปองกันการลื่นไหลของ 145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รถยนต และควรใชแมแรงยกรถในบริเ วณที่เ ปน สว นรับน้ําหนักของตัว รถที่ใกลที่สุด กอนจะขึ้น หรือลงแมแรงตอง ตรวจสอบวาไมมีคน หรือสิ่งของอยูภายใตรถ หากตองการขึ้นแมแรงคางไวเปนเวลานาน ใหใชขาตั้งเขามาชวยรองรับ น้ําหนักของตัวรถยนต

ภาพที่ 3.9 แมแรงยกรถแบบกลไก การบํารุงรักษาเครื่องมือบริการชวงลาง ควรเก็บรักษาในที่แหง ระวังไมใหเปยก เพราะอาจทําใหเครื่องมือซึ่งทําจากโลหะเปนสนิมได ทาน้ํามันหลอลื่นหรือ จาระบีตามสวนตาง ๆ หากเปนเครื่องมือที่ทํางานดวยระบบไฮดรอลิก ใหตรวจเช็กน้ํามันไฮดรอลิกให อยูในระดั บ ที่เหมาะสมอยูเสมอ 3.4 ไฟฟารถยนต 3.4.1 มัลติมิเตอรเบื้องตน มัลติมิเตอรถือวาเปนเครื่องมือวัดที่จําเปนสําหรับงานดานอิเล็กทรอนิกส เพราะวาเปนเครื่องวัดที่ใชคา พื้น ฐานทางไฟฟา คือ แรงดัน ไฟฟา กระแสไฟฟา และความตานทานไฟฟา ไมวาจะเปน การทดสอบ หรือ การตรวจซอมวงจรตาง ๆ ก็จําเปนตองวัดคาเหลานั้นทั้งสิ้น มัลติมิเตอรเปนการรวม Voltmeter Ammeter และ Ohmmeter ไว ใ นตั ว เดี ย วกั น และใช มู ฟ เมนต (Movement) ตั ว เดี ย วจึ ง เรี ย ก “VOM” (Volt-OhmMilliammeter) ปจจุบันมัลติมิเตอรมีดวยกัน 2 แบบ คือ 1) แบบเข็ม (Analog multimeter) 2) แบบตัวเลข (Digital multimeter) - มัลติมิเตอรแบบเข็ม VOM แบบแอนะล็อกสวนมากเปนแบบขดลวดเคลื่อนที่ (Moving coil) เนื่องจากแบบขดลวดเคลื่อนทีจ่ ะมีสเกลเปนเชิงเสน (Linear) ขนาดเล็ก น้ําหนักเบา ราคา ไมแพง และมีความไว (Sensitivity) 146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สวนประกอบภายนอกของมัลติมิเตอร -

สกรูปรับเข็มชี้ใหตรงศูนย

-

ยานการวัดตาง ๆ

- ขั้วตอขั้วบวก (+) ใชตอสายวัดสีแดง - ขั้วตอขั้วลบ (-) ใชตอสายวัดสีดํา - ขั้วตอเอาตพุต เพื่อวัดความดัง (db) -

ปุมปรับ 0 โอหม

-

สวิตชตัวเลือกยานการวัด

-

เข็มชี้

ภาพที่ 3.10 สวนประกอบของมัลติมิเตอร 147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3.4.1.1 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง ปรั บ มั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เ ป น โวลต มิ เ ตอร โดยหมุ น สวิ ต ช บ นตั ว มิ เ ตอร ไปที่ ตํา แหน ง ย า นการวั ด ความตางศักยไฟฟากระแสตรง (DCV) ซึ่งมี 7 ยานการวัดคือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V, 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V 3.4.1.2 วิธีการวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง 1) เลื อ กตํ า แหน ง ที่ ต อ งการวั ด ความต า งศั ก ย และตรวจสอบทิ ศ ทางการไหลของ กระแสไฟฟา 2) เสียบสายวัดมิเตอรสีดําที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เขากับมัลติมิเตอร 3) ตั้งยานการวัดใหสูงกวาความตางศักยของบริเวณนั้น โดยหมุนสวิตชบนตัวมิเตอร ไปที่ตําแหนงยานการวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง (DCV) 4) นําสายวัดมิเตอรไปตอขนาน หรือตอครอมวงจร โดยใชหัววัดแตะกับจุดที่ตองการวัด และตองใหกระแสไฟฟาไหลเขาทางขั้วบวก (+) ของมัลติมิเตอรเสมอ ถาวัดสลับขั้ว เข็มวัดจะตีกลับตองรีบเอาสายวัดมิเตอรออกจากวงจรทันที จากนั้นทําการสลับหัว สายวัดใหถูกตอง

ภาพที่ 3.11 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง 5) การอานคาความตางศักยไฟฟา ใหอานสเกลสีดําที่อยูใตแถบเงิน ซึ่งมีคาระบุอยู 3 สเกล คือ 0-10, 0-50 และ 0-250 คาที่อานไดตองสัมพันธกับยานการวัดที่ตั้งไว

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3.4.1.3 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสสลับ การวัดความตางศักยไฟฟากระแสสลับ ไมจําเปนตองใหกระแสไฟฟาไหลผานทางขั้วบวก เหมือนไฟฟากระแสตรง เพราะไฟฟากระแสสลับไมมีขั้วตายตัว ขั้วแรงดันจะสลับไปสลับมาตลอดเวลา กลาวคือสามารถตอโดยใหสายวัดเสนใดอยูขางใดก็ได แตวิธีวัดคายังใชหลักการเดียวกันกับโวลตมิเตอร กระแสตรงกอ นที ่จ ะนํา มั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปวั ด ค า ต อ งทํ า การปรั บ มั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เ ป น โวลต มิ เ ตอร กระแสสลับกอน จากนั้นเลือกยานการวัดใหเหมาะสม โดยหมุนสวิตชบนตัวมิเตอร ไปที่ตําแหนงชวงการวั ด ความตางศักยไฟฟากระแสตรง (ACV) ซึ่งมี 4 ยานการวัดคือ 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V

ภาพที่ 3.12 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสสลับ 3.4.1.4 วิธีการวัดกระแสไฟฟากระแสสลับ 1) เลื อ กตํ า แหน ง ที่ ต อ งการวั ด กระแสไฟฟ า และตรวจสอบทิ ศ ทางการไหลของ กระแสไฟฟา 2) เสียบสายวัดมิเตอรสีดําที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เขากับมัลติมิเตอร 3) ตั้งยานการวัดที่เหมาะสม ในกรณีที่ทราบคากระแสในวงจร ควรตั้งยานการวัดใหสูงกวา คากระแสที่ทราบ แตในกรณีที่ไมทราบคากระแสในวงจร ควรตั้งยานการวัดที่คาสูง ๆ (0-0.25A) ไวกอน แลวคอยปรับลดยานการวัดใหม กอนปรับยานการวัดใหมตองเอา สายวัดออกจากวงจรทุกครั้ง และตองแนใจวาคาที่จะวัดไดนั้นมีคาไมเกินยานการวัดที่ ปรับตั้งใหม

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 3.13 การวัดกระแสไฟฟากระแสตรง 4) นําสายวัดมิเตอรไปตอแทรกหรือตอแบบอนุกรม โดยใชหัววัดแตะบริเวณที่ตองการวัด และตองให กระแสไฟฟาไหลเขาทางขั้วบวกของมัลติมิเตอร หากเข็มวัดตีเกินสเกลตองรีบ เอาสายวัดมิเตอรออกจากวงจรทันที แลวเลือกยานการวัดที่สูงขึ้นจากนั้นทําการวัดคาใหม 5) อานคากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร ซึ่งการอานคาตองสัมพันธกับยานที่ตั้งไว 3.4.1.5 การบํารุงรักษามัลติมิเตอร 1) ศึกษาคูมือการใชมัลติมิเตอรใหเขาใจ ทั้งวิธีการใช และการอานสเกล ใหถูกตองกอนใชงาน 2) ตรวจสอบบริเวณยานวัด (Range) ใหถูกตองกอนทําการวัดเสมอ 3) หามใหมัลติมิเตอรตกหลนหรือกระแทกอยางรุนแรง 4) หากไมไดใชมัลติมิเตอรเปนระยะเวลานาน ๆ ใหถอดแบตเตอรี่ออกกอน 5) เมื่อใชงานเสร็จใหปรับสวิตชไปที่ตําแหนง OFF หรือปรับไมที่ตําแหนง ACV สูงสุด

150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ตัวอักษร

เครื่องมือวัด

ตัวอักษร

1

2

ข ค

3

ง 4 จ

5

6

7 ช

151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

การใชงานเครื่องมือวัด เปนแผนเหล็กสปริงลานผิวเรียบ พรอม ดามหมุนเปนเหล็ก 4 เหลี่ยมงอ 90 องศา ภายนอกเปนสลักเดือย เวลาคายตองบีบ ประคองไวอยาใหสปริงคายตัวแรงและเร็ว ใชกดอัดสปริงลิ้น เพื่อถอดและประกอบ ชุดสปริงลิ้นไอดีลิ้นไอเสีย ใชสําหรับหมุนยกรถ โดยการวางใน ตําแหนงที่ตองการยก แลวออกแรงหมุน ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ใช วั ด ค า พื ้น ฐ า น ท า ง ไ ฟ ฟ า ไดแ ก แรงดัน ไฟฟ า กระแสไฟฟ า และความ ตานทานไฟฟา เพื่อตรวจซอมวงจร ใช ถ อนสกรู ที่ มี ก ารติ ด แน น ภายในรู (Socket) ที่ หั ว สกรู ชํารุด โดยการตอก เครื่องมือชนิ ด นี้ ล งในรู แล ว ใช ป ระแจ คลายออก ซึ่งระหวางการทํางานนั้นควร หยอดน้ํามันหลอลื่นเพื่อลดการเสียดสี ใชสําหรับถอดและประกอบแหวนลูกสูบ โดยในการถอดแหวนลูกสู บ แตล ะครั้ ง อาจถอดเพื่ อ เปลี่ ย นแหวนลู ก สู บ ใหม หรืออาจถอดเพื่อเซาะรองแหวนลูกสูบ ใชเปลี่ยนกรองน้ํามันเครื่อง โดยนํา เครื่องมือชนิดนี้ครอบที่กรองน้ํามันเครื่อง และบิดทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคลายกรอง น้ํามันเครื่อง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 8. เมื่อใชงานมัลติมิเตอรเสร็จใหปรับสวิตชไปที่ตําแหนง OFF หรือที่ตําแหนง ACV สูงสุด 9. การใชซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น ไมควรปรับระยะหางของฝากดแหวนรองสปริงลิ้นให ตรงกับจุดศูนยกลางของแหวนรองสปริงลิ้น 10. การใชซีแคลมปกดอัดสปริ งลิ้น หามใชแรงอัดตอนจับยึดชิ้น งานมากเกิ น ไป เพราะอาจทําใหเครื่องมือหักได 11. ไมควรทาน้ํามันกันสนิมที่เครื่องมือถอดสลักเกลียว เพราะจะทําใหเครื่องมือลื่น และถอดสลักเกลียวไดไมมีประสิทธิภาพ 12. ขณะทําเกลียวดวยเครื่องมือทําเกลียว ควรหมุนเขาครั้งละ ไมเกิน 1/4 รอบอยางชา ๆ 13. หลังจากเลิกใชงานคีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ ควรเช็ดทําความสะอาดดวย ผาแหง แลวชโลมน้ํามันไว 14. ขณะใชเครื่องมือทําเกลียว ไมควรทาน้ํามันหลอลื่น เพราะจะทําใหคมของตาป (Tap) และดาย (Die) ถูกลบหายไป 15. หามนําเครื่องมือพิเศษไปใชเพื่อวัตถุประสงคอื่น เชน ทุบเหล็ก หรือ ตะปู 16. หากไมไดใชมัลติมิเตอรเปนระยะเวลานาน ๆ ไมควรถอดแบตเตอรี่ออก 17. หมั่นตรวจสอบสภาพของชุดทําเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น

152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 6 7 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซายได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 40 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย ตัวอยาง การเลือกขนาดรูเจาะ (ดอกสวาน) ใหเหมาะสมกับสลักเกลียวที่ตองการถอดออก - ขนาดรูเจาะที่จะใชตัวถอดเกลียวซาย 5/32 นิ้ว (3.96 มม.) - ขนาดสลักเกลียวที่ขาด 5/16 – 7/16 นิ้ว (7.93 – 11.11 มม.)

154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. สวานไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

2. ดอกสวาน

จํานวน 1 ชุด

3. ดอกถอดสลักเกลียว

จํานวน 1 ชุด

4. ตะไบแบน

จํานวน 1 อัน

5. เหล็กนําศูนย

จํานวน 1 อัน

6. คอนเหล็ก

จํานวน 1 อัน

7. แปรงขนออน

จํานวน 1 อัน

8. ปากกาจับยึดชิ้นงาน

จํานวน 1 ตัว

9. ดามตาป

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันอเนกประสงค

จํานวน 1 กระปอง

3. ชิ้นงานสําหรับถอดสลักเกลียว

จํานวน 1 ชิ้น

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. เตรียมชิ้นงานและอุปกรณ

เตรียมสลักเกลียวที่ขาดและตัวถอด

ระวังไมใหเครื่องมือ

2. ปรับแตงปลายสลักเกลียวใหเรียบ

เกลียวซาย

และชิ้นงานตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

กรณีสลักเกลียวที่ขาดสูงกวาผิวชิ้นงาน ให ใ ช ต ะไบแบนปรั บ แต ง ปลายสลั ก เกลียวใหเรียบ

3. ใชเหล็กนําศูนยตอกนํา

ใชเหล็กนําศูนยตอกนําตรงจุด ศูนยกลางของสลักเกลียวที่ขาด

156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. เลือกดอกสวาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เลือกดอกสวานใหมีขนาดเล็กกวา สลักเกลียวที่ขาดประมาณ 12 ของ

เสนผานศูนยกลางสลักเกลียว

5. เจาะรูสลักเกลียวที่ขาด

ใชส วานไฟฟาเจาะรูสลักเกลียวที่ขาด ควรตรวจสอบให ดวยความระมัดระวังใหลึกพอประมาณ แนใจวาสวานไฟฟา อยูในสภาพที่ใชงาน ได และขณะใช สวานไฟฟาเจาะรู สลักเกลียว ควรออก แรงใหสัมพันธกับ การหมุนของดอก สวาน เพื่อความ ปลอดภัย

6. ทําความสะอาดเศษโลหะ

ทําความสะอาดเศษโลหะที่เจาะออกให เรียบรอย

157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. เลือกขนาดตัวถอดเกลียวซาย

เลื อ กขนาดตั ว ถอดเกลี ย วซ า ย ให เหมาะสมกับสลักเกลียวที่ขาดคางอยูในรู

8. หลอลื่นบริเวณสลักเกลียวที่ขาด

หล อ ลื่ น ด ว ยน้ํ า มั น เครื่ อ งหรื อ น้ํ า มั น อเนกประสงคบริเวณสลักเกลียวที่ขาด

9. ถอดสลักเกลียว

นําตัวดูดเกลียวหรือตัวถอดเกลียวซาย ใสในรูที่เจาะและใชดามจับตัวดูดเกลียว หมุนคลายออก โดยตองหมุนทวนเข็ม นาฬิกา เมื่อสลักเกลียวคลายออกจนสุดแลวให ทําความสะอาดรูสลักเกลียวใหสะอาด

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การเลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ หลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวาน

เลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวานที่มีขนาดเหมาะสม

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลื อ กใช ตัว ถอดเกลี ย วซ า ย หรื อ ดอกสว า น ที่ มี ข นาด ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลื อ กใช ตัว ถอดเกลี ย วซ า ยและดอกสว า น ที่ มี ข นาด ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ ไมแตกหัก และสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน

160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก หรือ ไมสะอาดเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก และ ไมสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

3

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานทําเกลียวนอกดวยมือได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 40 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการทําเกลียวนอกดวยมือ

162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 เหล็กแทงกลม ขนาด M12 x 1.75

จํานวน 1 แทง

2 ปากกาจับยึดชิ้นงาน

จํานวน 1 ตัว

3 ดามดาย พรอมดอกดาย เกลียว M12 x 1.75

จํานวน 1 ชุด

4 แปรงขนออน

จํานวน 1 อัน

5 ฉากตาย

จํานวน 1 อัน

6 ตะไบแบน

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. สารหลอเย็นขณะทําเกลียว

จํานวน 1 กระปอง

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทําเกลียวนอกดวยมือ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมชิ้นงานและอุปกรณ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมชิ้นงานและเครื่องมือทําเกลียวให

ระวังไมใหเครื่องมือ

พรอม โดยเลือกขนาดแทงเหล็กใหมี

และชิ้นงานตก เพราะ

ขนาด M 12

อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. ลบมุมรอบแทงเหล็ก

จับแทงเหล็กดวยปากกาจับงาน แลวใช ตะไบแตงลบมุมประมาณ 20 องศารอบ แทงเหล็ก และใหลึกประมาณ 2 มิลลิเมตร

164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ใชฉากตายวัดชิ้นงานใหตรง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

จับ ชิ้น งานที่จ ะทําเกลีย วดวยปากกาจับ งานในแนวดิ่งให แน น ไมเอียงไปด านใด ดานหนึ่ง โดยใชฉากตายวัดทุก ๆ ดาน

4. เลือกดอกดาย (Die)

เลือกดอกดาย เกลียวตามขนาดที่ตองการ ตองใชดอกดาย (Die)

5. สวมดาย (Die) ลงในดามจับใหถูกทิศทาง

พรอมดามจับ (Strock) ใหเหมาะสม

ที่ใหมและมีความคม

โดยในที่นี้ จะใชดอกดายขนาด

อยูเสมอ

M 12 x 1.75 สวมดายลงในดามจับใหถูกทิศทาง โดย ตรวจสอบดาย (Die) ประกอบดายด า นที่ มี ฟ น เฟ อ งหลาย ๆ และดามจับยึด ฟ น เอาไว ด า นนอก เพื่ อ เริ่ ม ตั ด เกลี ย ว (Stock) เพราะหากตัว ชิ้ น งาน และต อ งให ร อ งบ า รั บ ดายอยู ทําเกลียวและดามจับ ดานบนขณะทําเกลียว จากนั้นขันยึ ดสกรู ยึดหลุดออกจากกัน ในรองของ ดายใหแนน

ระหวางทําเกลียว จะ ทําใหไดรับอันตรายได

165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

6. สวมดาย (Die) ลงบนปลายชิ้ น งานเพื่ อ เริ่ ม ทํ า สวมดายลงบนปลายชิ้ น งานเพื่ อ เริ่ มทํ า กอนเริ่มทําเกลียว เกลียว

เกลียว โดยตองใหชิ้นงานและดายตั้งฉาก ตองตั้งดามดาย (Die) กันเสมอ

สําหรับขันเกลียวให ตรง และหมุนดาย ตามขั้นตอนอยางชา ๆ

7. ทําเกลียวนอก

เริ่มหมุนดายอยางชา ๆ โดยมือทั้ง 2 ขาง

เศษเกลียวที่เกิดจาก

ตองจับใกล ๆ กับตัวดายและเมื่อหมุนทํา

การทําเกลียวจะคม

เกลียวไปไดประมาณ ¼ รอบ ใชหมุนดาย มาก จึงควรใชแปรง ทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคายเศษโลหะออก ปดออกเทานั้น ไมควร แลวจึงคอยหมุนเขาทําเกลียวใหมตอไป ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ อยางชา ๆ จนกวาจะ ไดความยาวเกลียวตามตองการ 8 ระบายความรอนขณะทําเกลียว

ขณะทํ า เกลี ย วต อ งใช ส ารหล อ เย็ น ช ว ย ระบายความรอน โดยหยอดสารหลอเย็น ลงบนปลายดานบนของชิ้นงานทีละน อย จนกวาจะทําเกลียวเสร็จตามตองการ

166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ใชมือปดเศษโลหะออก


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

9. ตรวจสอบวาดาย (Die) ตั้งฉากกับชิ้นงานหรือไม

หลังจากทําเกลียวไปไดประมาณ 2 – 3 ฟน ใหหยุดตรวจดูวาตัวดายกับชิ้นงานยังตั้ง ฉากกันหรือไมถาไมตั้งฉากกันใหรีบแกไข ทันที

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การประกอบดาย (Die) เขากับดามจับ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ หลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

168 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การประกอบดาย (Die) เขากับดามจับ

เลือกดอกดาย (Die) ตามขนาดที่เหมาะสม และประกอบ

5

เขากับดามจับอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกดอกดาย (Die) ที่มีขนาดไมเหมาะสม หรือ ประกอบ เขากับดามจับไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกดอกดาย (Die) ที่มีขนาดไมเหมาะสม และประกอบ เขากับดามจับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ ไมแตกหัก และสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน

169 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก หรือ ไมสะอาดเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก และ ไมสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

170 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟาได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 40 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟาตามที่กําหนดใหถูกตอง ลําดับการตรวจวัด

คามาตรฐาน

คาที่วัดได

วัดคาความตานทาน - ฟวสรถยนต - รีเลย ชนิด 4 ขั้ว - สายไฟฟารถยนต วัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง - แบตเตอรี่รถยนต

12 โวลต

- แบตเตอรี่ขนาด AA

1.5 โวลต

- แบตเตอรี่ขนาด 9 โวลต

9 โวลต

วัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ - กระแสไฟฟาจากปลั๊กพวง

220 โวลต

หมายเหตุ ในหัวขอนี้ใหครูฝกเปนผูกําหนดคามาตรฐานขึ้นเองตามความเหมาะสม เนื่องจากในแตละพื้นที่อาจใชวัสดุอุปกรณ แตกตางกัน

171 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

2. แบตเตอรี่รถยนต

จํานวน 1 ลูก

3. ปลั๊กพวง

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ฟวสขนาดตาง ๆ

จํานวน 1 ชุด

2. รีเลย ชนิด 4 ขา

จํานวน 1 ตัว

3. สายไฟฟารถยนต

จํานวน 1 เสน

4. ถานไฟฉาย 9 โวลต

จํานวน 1 กอน

5. ถานไฟฉาย ชนิด AA

จํานวน 1 กอน

6. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 172 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมมัลติมิเตอรและอุปกรณไฟฟาที่จะ ระวังไมใหเครื่องมือ นํามาวัด

และอุปกรณไฟฟาตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

2. ตอสายมัลติมิเตอร

ตอสายสีแดงเขากับขั้วบวก และตอสาย

3. ตรวจสอบมัลติมิเตอร

สีดําเขากับขั้วลบของมัลติมิเตอร นํ า เข็ ม ของมั ล ติ มิ เ ตอร ม าแตะกั น แล ว ตรวจสอบวาเข็มของมัลติมิเตอรชี้ที่เลข 0 หรือไม

4. วัดคาความตานทาน

ปรั บ ตั้ ง ย า นการวั ด ไปที่ ห น ว ยโอห ม การวัดปริมาณไฟฟาที่ (Ohms) โดยตั้งยานใหมีคาเหมาะสมกับ ไมทราบคา ควรตั้งคา อุปกรณไฟฟาที่จะวัด

ยานวัดไวที่สูงสุดกอน

นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ หลังจากวัดคาไดแลว อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก จึงคอย ๆ ปรับลดคา ยานวัดใหต่ําลง ถูกตอง

ผล

กับปริมาณไฟฟาที่ ตองการวัด และตอขั้ว วัด บวก (+) และ ลบ (-) ใหถูกตอง 173 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. วัดแรงดันไฟฟากระแสตรง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ DCV โดยตั้งยาน ไมควรตั้งยานไฟฟา ใหมีคาเหมาะสมกับอุปกรณไฟฟาที่จะวัด ชนิดหนึ่ง แลวนําไปใช วัดไฟฟาอีกชนิดหนึ่ง เพราะจะสงผลให มัลติมิเตอรชํารุด เสียหายได เชน ตั้งยาน สําหรับวัดกระแสไฟฟา ไว แตนําไปใชวัดความ ดันไฟฟา เปนตน นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก ผล

6. วัดแรงดันไฟฟากระแสสลับ

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ ACV โดยตั้งยาน

การวัดกระแสไฟฟา

ใหมีคาเหมาะสมกับอุปกรณไฟฟาที่จะวัด กระแส (ACV) หามให สวนหนึ่งสวนใดของ รางกายสัมผัสกับโลหะ ตัวนําไฟฟาโดย เด็ดขาด นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก ผล

174 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

175 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค า ความต านทานได ถูก ต องตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค าความต านทานไม ถู กต องตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานไมถูกตองตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน

176 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไดถูกตองตาม

คะแนน เต็ม 5

ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไมถูกตองตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไมถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไดถูกตอ งตาม

5

ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไมถูกตอ งตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไมถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน

177 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

178 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 179 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

180 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.