สถานการณ์ระบบสวัสดิการการักษาพยาบาลในประเทศไทย

Page 1

กฎหมายสวัสดิการการรักษาพยาบาล 3 กองทุนสุขภาพ ถอดความการบรรยายจากการประชุมวิชาการ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม หองประชุมแสงสิงแกว กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ภาคเชา อภิปรายเรื่อง สถานการณระบบสวัสดิการการรักษาพยาบาลในประเทศไทย ดําเนินรายการโดย พลตรีหญิงพูนศรี เปาวรัตน นายกสมาคทักษสิทธขาราชการ ถอดความโดย นางสุวรรณ สัมฤทธิ์ บรรณารักษชาํ นาญการ สาระสําคัญ

ผูดําเนินรายการไดกลาวเกริ่นนําการอภิปรายถึงปญหาสาธารณสุขของประเทศในปจจุบันอาจกลาวได วายังไมเปนที่พึงพอใจของประชาชน อาจะปนเพราะความสับสนในการมีสิทธิตางๆ และแตละสิทธิเปนอยางไร ดังนั้น วันนี้จึงไดเชิญวิทยากรมาใหความเห็นในเรื่อง ระบบสวัสดิการการรักษาพยาบาล ไดแก 1. แพทยหญิงเชิดชู อริยศรีวัฒนา กรรมการแพทยสภา 2. ดร.อานนท ศักดิ์วรวิชญ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 3. ศ.นพ.อภิวัฒน มุทิรางกูร คณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. นายรชตะ อุนสุข สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ กรมบัญชีกลาง

วิทยากรทั้งหมดจะอภิปรายเกี่ยวกันพันทั้งดานงบประมาณการเงิน การคลัง ผลของการรักษาที่ผาน และผลกระทบที่ประชาชนไดรับ ทั้งใหความเห็นในเชิงสถิติ ผูอภิปรายคนที่ 1 แพทยหญิงเชิดชู อริยศรีวัฒนา นําเสนอดวยไฟลพาวเวอรพอยท

(powerpoint file)


-2-

ระบบประกันสุ ขภาพภาครัฐ พญ.เชิดชู อริยศรีวัฒนา ที�ปรึกษาสํานักกฎหมาย กรมการแพทย์ 24 ก.ค. 58

วิทยาการไดเสนอรากเหงาของปญหาสาธารณสุขเพื่อนําไปสูการแกไข กลาวคือตั้งแตสมัย โบราณประเทศไทยมีการรักษาแบบแพทยแผนไทย ยอกตัวอยางผูหญิงเมื่อตั้งครรภจะคลอดบุตร ตองพัก ฟนหลังคลอดที่เรียกวา การอยูไฟ ตองทนทุกขทรมานจากความรอนจากการอยู เมื่อมีระบบการแพทย แผนปจจุบันจากตะวันตกเขามาในประเทศโดยหมอสอนศาสนา (Missionary) เชน หมอบลัดเลย เมื่อเขา มาครั้งแรกเปนการรักษาดวยการใหเปลา เนื่องจากประชาชนยังไมศรัทธาในการแพทยแผนปจจุบัน ตอมารัชการที่ 5 เสด็จประพาสตางประเทศไดเห็นแบบแผนการแพทยแผนปจจุบันที่มีความกาวหนาและ ทําให ประชาชนมีสุขภาพดี จึงมีความคิดที่จะสรางระบบการแพทยแผนปจจุบันใหกับประชาชน ประกอบกับ ขณะที่เตรียมการนั้น พระราชโอรถพระองคหนึ่งสิ้นพระชนมดวยโรคบิด พระองคจึงเรงใหกอสราง สถานพยาบาลเร็วขึ้น ก็คือโรงพยาบาลศิริราช ขณะนั้นเรียกวาโรงศิริราชพยาบาล และจัดใหมีการเรียน การสอนแพทยศาสตร ในป พ.ศ. 2431 นับเปนเวลา 100 กวาปที่ประเทศไทยไดรับเอาการแพทยแผน ปจจุบันเขามาใช แตในชวงแรกๆ ประชาชนยังไมยอมไปใชบริการ ถึงแมจะไปคลอดที่โรงพยาบาลแตก็ยัง รองขอการอยูไฟ จนสมเด็จพระนางเจาศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถไดใชกุศโลบายวา หากผูหญิงคนใดไป คลอดที่โรงพยาบาลและไมอยูไฟจะใหรางวัลเปนเงินคาทําขวัญแกลูกเปนเงิน 4 ตําลึง จึงเห็นไดวาการแพทยของประเทศไทยมาจากการใหเปลา ตอมากระทรวงสาธารณสุขจะ พัฒนางานบริการโดยสรางสุขศาลา สรางเปนโรงพยาบาลจนครบทุกอําเภอ ในระยะแรกๆ เปนในรูปแบบ สวัสดิการที่รัฐจัดใหแกประชาชน คือ เมื่อประชาชนมารับบริการ โรงพยาบาลจะคิดคอบริการจากตนทุน ไมคิดกําไรเพื่อใหโรงพยาบาลมีเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน เมื่อไปคนประวัติศาสตรจะพบวาใน สมัยที่หมอสอนศาสนาเขามาใหการรักษาระยะแรกที่รักษาแบบใหเปลานั้น พบวาในระยะหลังก็คิดคา รักษาเชนเดียวกัน โดยใหเหตุผลวา 1. เพื่อใหประชาชนเห็นคุณคาของการรักษา 2. เพื่อนําเงินไปเปนทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน ทั้ง 2 ประการ การสาธารณสุขไทยจึงไดถือเปนหลักการที่ดําเนินการเรื่อยมา คือ ผูที่ยากจนก็จะไดรับการ ชวยเหลือ เชน มีเงินงบประมาณ สปร. งบประมาณสําหรับเด็ก ผูสูงอายุก็ไดรับการรักษาโดยไมคิดมูลคา ดําเนินงานเรื่อยมาจนมีการจัดตั้งระบบประกันสังคม โดยเริ่มมาจาก กองทุนทดแทน โดยมี


-3พระราชบัญญัติเงินกองทุนทดแทนสําหรับชดเชยใหกับลูกจางที่ไดรับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ และพัฒนามา เปน พระราชบัญญัติประกันสังคม ในป 2533 ซึ่งเปนตนแบบที่ประชาชนตองมีสวนรวมในการดูแลรักษา สุขภาพของตนเองจากการทํางานและไมทํางาน เมื่อกลาวถึงระบบสวัสดิการขาราชการแลว ดูเหมือนวา เปนระบบที่ไดรับสวัสดิการแลว ดูเหมือนวาเปนระบบที่ไดรับสวัสดิการสูงกวาประชาชนกลุมอื่น แต แทจริงแลวขาราชการทุกคนจะถูกหักเงินเดือนสวนหนึ่งเขากรมบัญชีกลาง ถือวาเปนสิ่งหนึ่งที่ขาราชการ เสียสละ อีกประการหนึ่งที่ขาราชการตองเสียสละ คือ เสียสละความเปนสวนตัว ดวยตองทําตามคําสั่ง ของผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงชั้นสูงสุด ซึ่งดูแลวการมีอาชีพราชการถือเปนอาชีพที่มีความเสี่ยงสูง ดังนั้นรัฐบาลจึงพยายามจะจูงใจใหประชาชนเขามารับราชการ ก็คือการจัดสวัสดิการตางๆ เชน คาเลา เรียนบุตร คาเชาบาน รวมทั้งคารักษาพยาบาล ในชวงเวลาหนึ่งเมื่อขาราชการเขารับการรักษาพยาบาล จากโรงพยาบาลใดๆ ใหนําใบเสร็จรับเงินมาขอเบิกเงินคืนไดตามที่จายจริง ตอมากรมบัญชีกลางไดเสนอ รัฐบาลขอแกไขพระราชบัญญัติและตรากฎหมายใหมเปน พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาลขาราชการ พ.ศ. 2553 การเปลี่ยนแปลงในพระราชบัญญัติใหม คือ ใหยกเลิกคาใชจายที่ ผูปวยนอกจายเงินคารักษาพยาบาลตามที่จายจริง โดยกําหนดราคาคาใชจาย (Capitation fee) เรียกวา คาใชจายตามกลุมโรครวม (DRG) และควบคุมการใชยา อวัยวะเทียม เครื่องมือแพทย ตามที่ กระทรวงการคลังกําหนด อีกทั้งไดจางหนวยงานชื่อ สพตร. เปนองคกรลูกของสถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข (สวรส.) ใหมีหนาที่ตรวจสอบเวชระเบียนผูปวยในโรงพยาบาลเพื่อดูวาแพทยพิจารณาการใช ยาอยางสมเหตุสมผลจริงหรือไม ซึ่งกรมบัญชีกลางรายงานวา คาใชจายจากการใชยามีจํานวนสูงมาก ระบบสวัสดิการข้ าราชการ พ.ร.ฎ.เงินสวัสดิการเกี�ยวกับรั กษาพยาบาลข้ าราชการ พ.ศ. 2553 ผู้ป่วยนอกตามที�จ่ายจริง ผู้ป่วยในตามราคาค่ าจ่ ายโรคร่ วม พยายามควบคุมการใช้ ยา อวัยวะเทียมและเครื� องมือแพทย์ จ้ างสพตร.(องค์ กรลูกของสวรส.)ตรวจสอบเวชระเบียนผู้ป่วยเพื�อ เรี ยกเงินคืน • ทําไมค่ าใช้ จ่ายของข้ าราชการสูงมาก? เจ็บป่ วย/บาดเจ็บ/พิการ จากการปฏิบัตงิ านในหน้ าที�มากเท่ าไร? • • • • •

ยกเลิกพ.ร.ฎ.เดิมทั�งหมด และแก้ไขใหม่ดงั นี� •

- ให้ ผ้ ูมสี ิทธิมห ี น้ าที�รายงานข้ อมูลเกี�ยวกับตนเองและบุคคลในครอบครัวต่ อ ส่ วนราชการเจ้ าสังกัด พร้ อมทัง� รับรองความถูกต้ องของข้ อมูลตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที�กระทรวงการ คลังกําหนด - ผู้มสี ิทธิ(ข้ าราชการ ลูกจ้ างประจํา และผู้รับบํานาญ) และบุคคลในครอบครัวมีสิทธิเบิกค่ ารักษาฯ ได้ ตามหลักเกณฑ์ ประเภท และอัตราที�กระทรวงการคลังกําหนด ในกรณีดงั นี � 1. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลทางราชการ ทัง� ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน 2. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยใน (หลักเกณฑ์ ยงั ไม่ เสร็จ) 3. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยใน กรณีประสบอุบตั เิ หตุ อุบตั ภ ิ ยั หรื อมีความจําเป็ น รีบด่ วน ซึ�งหากมิได้ รับการรักษาพยาบาลในทันทีทน ั ใดอาจเป็ นอันตรายต่ อชีวติ 4. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยนอก เป็ นครัง� คราว เพราะเหตุสถานพยาบาลทางราชการมี ความจําเป็ นต้ องส่ งตัว (หลักเกณฑ์ ยงั ไม่ เสร็จ) 5. ค่ าตรวจสุขภาพประจําปี ทัง� มีผ้ ูมสี ิทธิและบุคคลในครอบครัว (หลักเกณฑ์ ยงั ไม่ เสร็จ) - กรณีผ้ ูมสี ิทธิ มีสิทธิจากหน่ วยงานอื�นด้ วย ให้ เลือกว่ าจะใช้ สิทธิไหน ถ้ าเลือกหน่ วยงานอื�นจะไม่ มสี ิทธิ ตาม พ.ร.ฎ. นี � - กรณีบคุ คลในครอบครัวมีสิทธิจากหน่ วยงานอื�น ไม่ มสี ิทธิตาม พ.ร.ฏ. นี � เว้ นแต่ สิทธิท� ไี ด้ รับตํ�ากว่ า ให้ ได้ รับส่ วนที�ขาดอยู่ - กรณีบคุ คลในครอบครัวเป็ นผู้อาศัยสิทธิของผู้อ� น ื มีสิทธิจากหน่ วยงานอื�นในขณะเดียวกัน ให้ มสี ิทธิ ตาม พ.ร.ฎ.นี �


-4แก้ไขจากเบิกได้ตามที�จ่ายจริ งเป็ นตามที� “กําหนด” • พ.ร.ฎ.เงินสวัสดิการเกี�ยวกับการรั กษาพยาบาลข้ าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๓ นี � ได้ แก้ ไขมาตรา ๘ วรรคท้ าย “การจ่ ายเงินเกี�ยวกับการ รั กษาพยาบาล ให้ จ่ายเป็ นค่ ารั กษาพยาบาลโดยให้ เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ ประเภท และอัตราที�กระทรวงการคลังกําหนด • ออกประกาศหลายฉบับ ห้ ามจ่ ายยานอกบัญชียาหลัก ห้ ามไปรั บ การรั กษามากกว่ า 1 โรงพยาบาล “สั�งแพทย์ ”ให้ เลือกยาที�ดท ี � ีสุด เป็ นตัวเลือกสุดท้ าย ฯลฯ • จ้ างTDRI ทําวิจัยเพื�อควบคุมการใช้ ยา

นอกจากนั้นยังไดออกคําสั่งเปนประกาศอีก 3 ฉบับ หามใชยาขอเขาเสื่อม และหามใชยาอีก 9 ชนิด นอกจากนั้นเมื่อเดือนตุลาคม 2556 ไดออกคําสั่งใหโรงพยาบาลใชเฉพาะยาสามัญซึ่งจะเปนวิธีที่ทําให โรงพยาบาลไดกําไรจากคายาประเภทนี้จํานวนสูงขึ้น โดยที่หากใชยาตนแบบจะไดกําไรเพียง 3 เปอรเซ็นต สุดทายจึงพยายามจะรวมกองทุนโดยอางงานวิจัยของ TDRI กลุมขาราชการรวมทั้ง พอ แม และบุตร ที่ไดรับสิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลที่จะตองใชกฎระเบียบตามปราศฉบับใหมนี้มี จํานวน ถึง 3 ลานคน

กรมบัญชีกลางออกคําสัง� เกี�ยวกับการใช้ยา • ประกาศ 3 ฉบับในเดือนตุลาคม 2554ห้ ามยาข้ อเข่ าเสื�อม และมี โครงการจะห้ ามใช้ ยาอีก 9 ชนิด • ตุลาคม 2556 บีบให้ ใช้ ยาสามัญโดยให้ กาํ ไรมากถึงหลายพัน เปอร์ เซ็นต์ • ยาต้ นแบบให้ กาํ ไรไม่ เกิน 3 % • ประกาศกําหนดราคาเครื� องมือแพทย์ และอวัยวะเทียม • และสุดท้ ายมีความพยายามรวมกองทุนโดยอ้ างงานวิจัยของ TDRI


-5-

ผลจากการประกาศของกรมบัญชีกลาง • • • • • • •

ละเมิดสิทธิ�ข้าราชการ ละเมิดสิทธิ�ผ้ ูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทําลายมาตรฐานการแพทย์ ทําลายมาตรฐานการค้ ายา ทําลายระบบคุณธรรม แก่ แล้ วถี-ส่ ง ข้ าราชการถูกกรมบัญชีกลางหักเงินเดือนล่ วงหน้ ามาตลอดชีวติ ข้ าราชการขาดอิสระมาตลอดชีวิต (ทําตามนายสั�ง)

สวนประชากรอีกกลุมที่มีรายไดจากการเปนลูกจางแรงงานในภาคธุรกิจเอกชน หรือ ภาครัฐก็ตามจะตองถูกหักเงินรายไดสวนหนึ่งเขาระบบกองทุนประกันสังคม โดยจะไดรับสิทธิประโยชน 8 อยาง สิทธิประโยชนที่สําคัญหนึ่ง คือ รัฐบาลจะนําเงินจํานวน 1.5 เปอรเซ็นต ไปเปนคาใชจายในการ รักษาพยาบาล โดยกําหนดเปนคาใชจายจากการเจ็บปวยทั่วไป ซึ่จะเขารับการรักษาไดเฉพาะโรงพยาบาล ที่ไดลงทะเบียน (จะไปรักษาทุกโรงพยาบาลเหมือนขาราชการไมได) กรณีเจ็บปวยฉุกเฉินสามารถเขา รักษาไดในโรงพยาบาลที่ใกลที่สุด หากตองการยายโรงพยาบาลก็สามาถทําไดตามที่ระเบียบการกําหนดไว สําหรับการจายเงินจะเปนระบบจายแบบเหมาจายรายหัว จํานวน 2,575 บาท และใหรักษาไดไมต่ํากวา บัญชียาหลัก

ระบบประกันสั งคม • • • • • • •

พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ. 2533 ผู้มีสิทธิ�ประมาณ 10 ล้ านคน นายจ้ าง ลูกจ้ าง และรั ฐบาลจ่ ายร้ อยละ 1.5 ของค่ าจ้ าง กรณีเจ็บป่ วยทั�วไป เข้ ารั บการรั กษาได้ ท� โี รงพยาบาลที�เลือกไว้ กรณีเจ็บป่ วยฉุกเฉิน เข้ ารั บการรั กษาได้ ท� รี พ.ที�ใกล้ ท� สี ุด ระบบการจ่ ายเงิน เหมาจ่ ายรายหัว 2,575 บาท ใช้ ยาไม่ ต�าํ กว่ าบัญชียาหลัก (ไม่ ดีไปกว่ านี?� )

สําหรับระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ หรือเรียกวา ระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ตามความเห็นของวิทยากรแลวอาจไมตรงความเปนจริง เพราะประชาชนที่มีสิทธิรับสวัสดิการนี้มีเพียง


-648 ลานคน ในขณะที่ประชากรไทยมีถึง 65 ลานคน และเงินงบประมาณที่ใชก็เปนเงินมาจากภาษีอากร ของประชาชนทั้งหมดไดรับการเหมาจายรายหัว จํานวน 2,895 บาท กรณีเปนผูปวนอกรับการจายราย หัว กรณีผูปวยในใหใชราคากลาง นอกจากนั้นคณะกรรมการยังไดแบงการจายเปนกองทุนยอยๆ หลาย กองทุน โดยหักเงินเดือนบุคลากร หากโรงพยาบาลจังหวัดใดที่มีบุคลากรจํานวนมากเพราะเปน โรงพยาบาลใหญบุคลากรก็จะถูกหักเงินจายรายหัวสูง คาเหมาจายรายหัวจะไดเพียง 300 บาท/ป/คน ดังนั้นโรงพยาบาลอาจไดรับเงินไมเทากับรายจาย เทากับวามีรายไดไมเพียงพอที่จะบริการประชาชน นอกจากนั้นยังกําหนดวิธีการรักษาและสูตรสําเร็จในการรักษา หากแพทยไมรักษาตามที่ สปสช. กําหนด หรือผูปวยรายใดขอเลือกการรักษาดวยวิธีอื่นๆ ก็จะไมไดรับสิทธิ์นั้น นอกจากนั้นยังคงมีการเคลือบแคลง สงสัยถึงกรณีที่ผูปวยมีอัตราการตายสูงและตายเร็วกวาการรักษาปกติ

ระบบหลักประกันสุ ขภาพแห่ งชาติ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่ งชาติพ.ศ. 2545 ประชาชน 48 ล้ านคน งบประมาณแผ่ นดินทัง� หมด เหมาจ่ ายรายหัว 2,895 บาท เหมาจ่ ายรายหัวกรณีผ้ ูป่วยนอก ผู้ป่วยในใช้ ราคากลาง แบ่ งเป็ นกองทุนย่ อยๆหลายกองทุน หักเงินเดือนบุคลากรไม่ เท่ ากัน ทําให้ รพ.ได้ รับเงินไม่ ค้ ุมกับรายจ่ าย • อ้ างว่ ารั กษาทุกโรค(บอกประชาชน)แต่ ความจริงคือ? • กําหนดวิธีการรั กษาและ”สูตรสําเร็จ” ถ้ าไม่ ทาํ ตามไม่ ได้ รับสิทธิ� • อัตราตายสูงกว่ า และตายเร็วกว่ าจริงหรื อไม่ ? • • • •

ผลกระทบต่อมาตรฐานการแพทย์ไทย • • • • • • •

ผู้บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติทาํ ให้ เกิดปั ญหา คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติวนเวียนกันไปมา มีความสัมพันธ์ กับสสส. สวรส. สช. สกว. สวทช. TDRI ใช้ “เม็ดเงิน” กําหนดราคา “ชีวติ และสุขภาพ” ประสานงานกับกรมบัญชีกลางและรัฐบาลในการ “บีบ” ราคาชีวิต ละเลยการสร้ างสุขภาพและป้องกันโรค กําหนดยาเฉพาะเก่ าๆเดิมๆทําให้ แพทย์ ขาดการพัฒนา


-7ผูบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพทําใหเกิดปญหา

ทางเลือกและทางรอด มาตรฐานการแพทย์ ท� ีก้าวทันโลก/โรค โรคใหม่ ๆ ยาใหม่ ๆ ประสิทธิภาพดีๆ คนไทยมีสิทธิใช้ ไหม? พลเมือง งอมืองอเท้ ารอรั บจากงปม.แผ่ นดินและรัฐบาล ธรรมาภิบาลของผู้บริหารกองทุน พลเมืองควรมีส่วนร่ วมรับผิดชอบในการ “หา”ปั จจัยสี�สาํ หรับตน และครอบครัว หรือไม่ ? • ต้ องรับรักษาคนที�ไม่ ใช่ “พลเมือง” หรือไม่ ?

• • • • •

ต่างประเทศทํากันอย่างไร? • • • • • •

Obama Care อังกฤษ ต้ นแบบ 30 บาท Scandinevia ญี�ปุ่น สิงคโปร์ ไต้ หวัน


-8-

การรวม 3 กองทุน • • • • • • •

แก้ ปัญหาจริ งหรื อ? ร่ างพ.ร.บ.เลียนแบบพ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่ งชาติ ที�มาของกรรมการ เป็ นกันจนรากงอก เงินบริ หารมากมายกําหนดอํานาจลงโทษโรงพยาบาล/ผู้ทาํ งาน จะพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการแพทย์ ให้ ดีขน ึ � หรื อไม่ ? รพ.รั ฐทรุ ดโทรม คับแคบ เครื� องมืออุปกรณ์ ล้าสมัย เอกชนกําลังจะถูกบีบเช่ นกัน?

รางพระราชบัญญัติรวม 3 กองทุนที่จะรางขึ้นเปนเพียงการเลียนแบบพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพ คือ กําหนดคณะกรรมการไวแลวและจะเปนรายชื่อบุคคล ซ้ําๆ กับบุคคลใน คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ นอกจากนั้นเงินที่นํามาบริหารไดกําหนดไวแลวเปน จํานวน สูงถึง 2,000 ลานบาท และกําหนดบทลงโทษบุคลากรทางการแพทยและโรงพยาบาล ทัง้ ความผิด ทางคดีแพงและความผิดทางคดีอาญา ที่สําคัญคือ พระราชบัญญัติดังกลาวไมไดกลาวถึงวาจะพัฒนา คุณภาพมาตรฐานทางการแพทยอยางไร ในขณะที่โรงพยาบาลของรัฐปจจุบันมีความทรุดโทรม คับแคบ เครื่องมืออุปกรณที่ลาสมัย นอกจากนั้นยังไดตั้งคณะกรรมการเพื่อควบคุมยาแพงในโรงพยาบาลเอกชน จากกลุม NGO อีกดวย

คาถาอ้างความเหลื�อมลํ�า


-9โดยการกลาวอางถึงเรื่องความเหลื่อมล้ํา ซึ่งตามหลักสากลทั่วไปในเรื่องของการ รักษาพยาบาลรัฐบาลจะตองชวยเหลือประชากรที่ดอยโอกาส

การปฏิรูประบบสาธารณสุ ข

บทสรุปทุดทายในเรื่องของการปฏิรูประบบสาธารณสุข รัฐบาลจะตองพิจารณาใหมีในเรื่อง ตอไปนี้ 1. นโยบายเปนผูนําที่ถูกตอง 2. นโยบายการเงิน การคลัง 3. นโยบายการดูแลบุคลากรผูปฏิบัติงาน 4. นโยบายการควบคุม

Medical Product เพื่อกาวใหทันกับโลกภายนอก

5. นโยบายการควบคุมงานวิจัย ไมควรควบคุมเฉพาะกลุมเดียว แตตองใหผูอื่นนําผลการวิจัยไป วิเคราะหผลในแนวอื่นๆ ไดดวย 6. นโยบายใหประชาชนเขาถึงบริการไดอยางไร ผลที่จะเกิดจากการปฏิรูประบบสาธารณสุขจากนโยบายขางตน คือ 1. ประชาชนมีสุขภาพดี เพราะปจจุบันระบบประกันสุขภาพทั้งหลายที่ดําเนินการอยูนั้นไมไดวิจัย วาผลลัพทคืออะไร เชน โรงมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีอัตราลดลงหรือไม เหลานี้ระบบ สาธารณสุขตองการผูเชี่ยวชาญดานการวิจัยที่ทําวิจัยหาขอสิ้นสุด แตระบบการรักษาของ สปสช. ปจจุบัน


-10เมื่อมีการวิจัยออกมาครั้งแรกก็กลาวถึงแตเรื่องความเหลื่อมล้ํา จากที่วิเคราะหคือ การรักษาจากกองทุน หนึ่งมีอัตราการตายมากกวาการรักษาจากอีกกองทุนหนึ่ง 2. ใหมีโรงพยาบาลที่ตอบสนองความตองการ (Need) เมื่อเกิดการเจ็บปวยและมีครบถวนทั่ว ประเทศ และใหมีการเพิ่มประสิทธิภาพ มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกระทรวงสาธารณสุขจํานวนมากที่ยัง ไมไดรับการบุรรจุเขารับราชการและไดรับเงินเดือนตอบแทนนอยมาก กระทรวงไดหาทางแกไขโดยปรับ ตําแหนงเปนพนักงานราชการ ซึ่งก็หมายถึงลูกจางประเภทหนึ่งแตสิทธิการรักษาพยาบาลตองไปใชใน ระบบประกันสังคม เรี ยกร้องให้บรรจุเป็ นข้าราชการ

การจัดสรรบุคลากร

ขอบคุณที�รับฟังค่ะ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.