กฎหมายสวัสดิการการรักษาพยาบาล 3 กองทุนสุขภาพ

Page 1

กฎหมายสวัสดิการการรักษาพยาบาล 3 กองทุนสุขภาพ ถอดความการบรรยายจากการประชุมวิชาการ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2558 หองประชุมแสงสิงแกว กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ภาคเชา กลาวรายงานโดย แพทยหญิงอรพรรณ เมธาดิลกกุล ผูอํานวยการสํานักกฎหมายการแพทย กลาวตอนรับ โดย พล.ตรีหญิง พูลศรี ปวรัตน นายกสมาคมพิทักษสิทธิ์สวัสดิการขาราชการ ถอดความโดย นางสุวรรณ สัมฤทธิ์ บรรณารักษชาํ นาญการ กลาวเปดการประชุมและปาฐกถาพิเศษ โดย นายแพทยณรงค อภิกุลวาณิช รองอธิบดีกรมการแพทย


-2สาระสําคัญ โครงการบรรยายวิชาการกฎหมายการแพทยวันนี้ วาดวยเรื่องระบบกฎหมายสวัสดิการรักษาพยาบาล ประเด็นรวม 3 กองทุนสุขภาพ มีขอดี ขอเสีย อยางไร จึงขอขอบคุณสํานักกฎหมายการแพทย กรมการแพทย ที่จัดใหเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนเสวนา นําประเด็นที่เกี่ยวกับผลกระทบโดยเฉพาะระบบ สุขภาพในแงการเงินของประเทศนั้น จะมีความเปลี่ยนแปลงอยางไร และจะไดรับความรวมมือจากผูเขารวม ประชุมทุกทาน ซึ่งไดรับ เกียรติ จากวิทยากรสําคัญที่จะชวยใหเกิดมุมมองตางๆ ที่จะเปนประโยชนใน ระดับประเทศ จึงขอใหเปนเวทีการเสนอแนะทางวิชาการที่เสนอในมุมมองในแงที่นาจะเปนประโยชนทั้งที่เปน ขอดี ขอเสีย และขอจํากัดตางๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นกับระบบสุขภาพของประเทศ ดังนั้นเนื้อหาสาระควรจะเปนเรื่องที่ผูเขารวมประชุมไดวิพากษ ในแตละประเด็น ดูขอดี ขอเสีย ของทั้ง 3 กองทุน ที่สําคัญก็คือเรื่องผลกระทบ และ ความยั่งยืน ของเรื่องการบริหารจัดการในเรื่องการเงิน การคลังใน สภาพสังคมและความเจ็บปวยของประชาชนคนไทยในประเทศ ซึ่งถือวาผูเขารวมประชุมทุกทานมีสวนรวมใน ทุกสวนของการเคลื่อนไหวและนาจะสรางความยั่งยืนใหเกิดขึ้นไดในมุมมองที่หลากหลาย และมีความ ครอบคลุมและครบถวนในทุก ๆ ดาน สําหรับวิวัฒนาการระบบสุขภาพดานระบบการเงิน การคลังของประเทศนั้น เมื่อมองยอนหลังในป 2518 ถือวาเปนยุคเริ่มมีการสงเคราะหผูมีรายไดนอย ชวงนั้นที่ใชงบประมาณไมมากนัก ซึ่งจะมี กลุมเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ พระภิกษุ อาสาสมัครชายแดนบางสวน และผูมีรายไดนอย ดําเนินการมาไดระยะ หนึ่ง ในสวนสวัสดิการของราชการเองก็ดําเนินการมาอยางตอเนื่อง แตระบบจะแตกตางกัน ในรายละเอียดก็ จะใหผูเขารวมประชุมชวยกันวิพากษตอไป สวนระบบประกันสังคมนั้น จะเริ่มจากภาคบังคับ ในป 2533 มี 3 กองทุนใหญๆ ซึ่งมีจํานวนเงินในกองทุน คอนขางสูงมาก หลังมีการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ เกิดเห็นผลชัดเจนในการใชระบบ 3 กองทุนใหญ ในราวป 2544 โดยเริ่มตนจากการดําเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ จนเกิดผลดีในชวง เมษายน ตุลาคม 2544 ทดลองอยูหลายจังหวัด แตดําเนินการแลวไดผลดีจะอยูในราวตนปงบประมาณ 2545 ใน ระหวางนี้ก็มีกองทุนยอยๆ อีกหลายกองทุน คือ กองทุนเงินทดแทน ชดเชยผูบาดเจ็บจากการทํางาน และยัง มีรายละเอียดการประกันสุขภาพของภาคเอกชนอีกจํานวนหนึ่ง ในชวงกอนการดําเนินงานหลักประกันสุขภาพ แหงชาตินั้น


-3แตกอนที่จะมีระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติจริงๆ นั้นจะมีในภาคที่สมัครใจ อยู 2 สวน สวนที่ 1 ไดแก การออกบัตรสุขภาพ ดําเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข มีบัตรครอบครัว 500 บาท และ บัตร สวนตัว 1000 บาท ไดดําเนินการอยูระยะหนึ่ง ถือเปนหลักประกันใหกับประชาชนในภาคสมัครใจ สวนที่ 2 ไดแก การประกันสังคม เปนทั้งภาครัฐใหการสนับสนุน และภาคประชาชนสมัครใจ และมีภาคเอกชนเขามา เกี่ยวของดวย แตจํานวนเงินที่ภาครัฐสนับสนุนจะอยูที่กองทุนหลัก คือ กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ, กองทุนสวัสดิการขาราชการ, และ สวนของกองทุนประกันสังคม ซึ่งทั้ง 3 กองทุนดังกลาวแลว จะมีลักษณะ ที่มาของแหลงเงิน และสิทธิประโยชนแตกตางกันในหลายๆ สวน ซึ่งรัฐก็ไดพยายามในหลายมิติที่จะทําใหทั้ง 3 กองทุนเทาเทียมกัน ในประเด็นความเหลื่อมล้ํา โดยพยายามทําใหทั้ง 3 กองทุน มีความเหลื่อมล้ําในสิทธิ ประโยชนใหนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได ในรายละเอียดบางสิทธิประโยชนจะไดมากกวาในบางสิทธิประโยชน จึงไดมีความพยายามจะใชคําพูดใหผูรับบริการไดรูสึกวาการใหสิทธิประโยชนในการเขาถึงบริการและคุณภาพ บริการมีความใกลเคียงกัน คือคําวา Harmonization ซึ่งก็จะไดมาจากการศึกษาในการสัมมนาหลาย ๆ เวที สําหรับประเด็นที่จะไดมีการเสวนากันครั้งนี้ ที่จะรวม 3 กองทุนเขาดวยกัน ไดมีการเสวนากันมาหลาย เวทีแลววา ถาจะใหเกิดผลดีแลว ควรจะนํากองทุนตางๆ มารวมกันดีหรือไม จากประสบการณที่ผานมาที่เคย เขารวมประชุม สัมมนาในเวทีอื่นๆ จะไมไดกลาวถึงการรวมกองทุน แตจะกลาวถึงการทําใหสิทธิประโยชน ใกลเคียงกันที่เรียกวา Harmonization ในการประชุมครั้งนี้ที่ไดรับกระแสมาจากโซเชียลมีเดียก็ดี หรือจากขาวตาง ๆ ในเรื่องการบริหาร จัดการวาจะรวมกองทุนหรือไมอยางไร จากที่กลาวแลวถึงเรื่องวิวัฒนาการของระบบสวัสดิการตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับสุขภาพในประเทศไทยนั้นมีการบริหารจัดการที่แตกตางกัน แตอีกสวนหนึ่งตองเรียนใหทุกทาน ทราบวา นอกจากนี้ยังมีอีกสวนหนึ่งที่ประชาชนเองไดมีการนําเงินของตนเองสงเขากองทุน จึงขอใหมา พิจารณากันวาในภาพรวมแลว ที่มีเงินไมวาจะมาจากการสนับสนุนจากภาครัฐ หรือภาคเอกชนก็ดี จะนําไปสู ประชาชนไทยมีสุขภาพดีในเชิงประสิทธิภาพและประสิทธิผลจะไดมากนอยเพียงใด จึงหวังวาในวันนี้ที่ภาคสวนตางๆ ดานสาธารณสุขที่ใหเกียรติมารวมประชุมกัน และทีมงานของสํานัก กฎหมายการแพทย กรมการแพทย จะไดสงตอความกาวหนาของผลการประชุมในวันนี้ วาประเทศไทยจะกาว เดินไปขางหนาดวยระบบสุขภาพ และระบบการบริหารการเงิน การคลังที่เกี่ยวของไปขางหนาไดมากนอย เพียงใด และมิใชวาการเสวนาจะจบไดผลสรุปเพียงวันนี้เพียงวันเดียว และคาดวาผูที่จะไดรับผลกระทบที่มี


-4สวนเกี่ยวของคงตองติดตามและใหขอมูลที่เปนประโยชนและครอบคลุมในทุกดานที่จะสรางประโยชนอันยั่งยืน ใหกับระบบการเงิน การคลังของประเทศตอไป จึงขอเปดการประชุมวิชาการกฎหมายการแพทยวันนี้ วาดวยเรื่องระบบกฎหมายสวัสดิการ รักษาพยาบาล รวม 3 กองทุนสุขภาพ ขอดี และ ขอเสีย และขอใหการประชุมครั้งนี้ไดเปนจุดเริ่มตนที่จะ สรางเครือขายตาง ๆ ที่เขามามีสวนรวมในการปฏิรูปและเดินหนาประเทศไทยไปอยางมั่นคงและยั่งยืนตอไป


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.