The Knowledge vol.9

Page 1


CONTENTs 08

03

14 Office of Knowledge Management and Development

03 Word Power

12 Nextpert

19 Inside okmd

06 One of a kiNd

14 DigitOnomy

20 5ive

08 Decode

16 Next

22 whaT's goiNg oN

10 The Knowledge

18 BBL

Knowledge Innovation Trend: Thailand’s Do or Die

เปิดมุมมองการขับเคลือ ่ น STEM Education: หนึ่งใน เครือ่ งมือปฏิรป ู การเรียนรูข้ องไทย STEM Education

STEM Education A-Z

สะเต็มศึ กษากับการพัฒนา ทักษะในศตวรรษที่ 21

STEM รหัส (ไม่) ลับ การเรียนรู้สู่อนาคต

Inside EEC

รวมมิตรตัวเลขทีเ่ กีย ่ วข้อง 5 แอปพลิเคชันเรียนรูเ้ รื่อง STEM กับ STEM Education

ทิศทางการเรียนรูแ ้ บบ STEM Education

BBL & STEM

STEM Events in Thailand 2018

Talk tO ZiNe

23 Special FeaTure เติมเต็ม STEM ด้วย A และ AT

่ กษา ทีปรึ ดร.อธิปัตย์ บ�ำรุง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู ้ บรรณาธิการบริหาร ดร.ปรี ยา ผาติชล รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู ้ หัวหน้ ากองบรรณาธิการ ดร.อภิชาติ ประเสริ ฐ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโครงการและจัดการความรู ้ ฝ่ ายศิลปกรรมและภาพถ่ าย บริ ษัท โคคูน แอนด์ โค จ�ำกัด 32 ซอยโชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้ าว เขตลาดพร้ าว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศัพท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324 จัดท�ำโดย ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ชัน้ 18-19 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อีเมล theknowledge@okmd.or.th เว็บไซต์ www.okmd.or.th อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้ เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย จัดท�ำขึ ้นภายใต้ โครงการเผยแพร่ กิจกรรมองค์ความรู ้ โดยส�ำนักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) เพือ่ สร้ างแรงบันดาลใจ ในการน�ำองค์ความรู ้มาผสมผสานกับความคิดสร้ างสรรค์ เพือ่ ประโยชน์ ด้ านการเรี ยนรู ้ ต่อยอดธุรกิจ เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจของประเทศ

ผู้สนใจรับนิตยสารโปรดติดต่อ 0 2105 6520 หรือดาวน์โหลดที่เว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine


WORD POWER

STEM EDUCATION หนึ่งในเครื่องมือปฏิรูป การเรียนรู้ของไทย

การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ของสัง คมโลก โดยเฉพาะ ด้ านเทคโนโลยีการสื่อสาร การค้ า และการคมนาคมขนส่ง ท�ำให้ หลายประเทศหันมาให้ ความส�ำคัญกับการเตรี ยมคนรุ่ นใหม่ให้ สามารถด� ำ รงชี วิ ต และประกอบอาชี พ ได้ ใ นสภาพสัง คมและ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งการจัดการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการ ตามแนวทางสะเต็ ม ศึ ก ษา (STEM Education) คื อ หนึ่ ง ใน เครื่ อ งมื อ ปฏิ รู ป การเรี ย นรู้ ที่ จ ะช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถใน การแข่งขันของคนในประเทศให้ สูงขึน้

Science

Technology

สะเต็มศึกษาคืออะไร? แนวทางการจัดการศึกษาทีบ่ รู ณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้ แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) โดยเน้ นการน� ำ ความรู้ ไปใช้ แก้ ปั ญ หาในชี วิ ต จริ ง รวมทัง้ การพั ฒ นากระบวนการหรื อ ผลผลิ ต ใหม่ ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่อการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงาน

Engineering

Mathematics

สะเต็มศึกษาในประเทศไทย

ปั จจุ บั น อั น ดั บ ความสามารถใน การแข่ ง ขั น ของไทยยั ง ปรั บ ตั ว ช้ าเมื่ อ เที ย บกั บ หลายประเทศ จากปั ญหา ด้ านคุณภาพคน คุณภาพของโครงสร้ าง พื ้นฐาน และขาดการลงทุนด้ านการวิจยั และพัฒนา ดังนัน้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 12 จึง เน้ น การด�ำเนินการในทุกด้ านเพื่อขับเคลื่อน การพัฒนาด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศ เช่น การพัฒนา ผู้ประกอบการให้ เป็ นผู้ประกอบการทาง เทคโนโลยี (Technopreneur) การพัฒนา และยกระดับโครงสร้ างพื ้นฐานให้ตอบสนอง

การเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง การสร้ างและพั ฒ นา บุคลากรในสาขาสะเต็ม และการสนับสนุน การด�ำเนินงานอย่างเป็ นเครื อข่ายระหว่าง สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา ภาครั ฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ชุม ชน ด้ ว ยการส่ง เสริ ม การจัด การเรี ย นรู ตาม ้ แนวทางสะเต็มศึกษา การพัฒนาก�ำลังคน ทีม่ ีทกั ษะด้ านสะเต็ม รวมถึงการส่งเสริ ม และพัฒ นาอาชี พ ส� ำ หรั บ ก� ำ ลัง คนด้ า น สะเต็ม ส� ำ หรั บ กลไกการขับ เคลื่ อ นสะเต็ ม ศึกษาในประเทศไทยตามแนวนโยบาย

สะเต็ ม ศึ ก ษาแห่ ง ชาติ อ าศัย เครื อ ข่ า ย อุ ด มศึ ก ษาในการยกระดั บ คุ ณ ภาพ การศึก ษา โดยเป็ น การปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี การเรี ยนการสอนและการวั ด ผลให้ สอดคล้ องกับแนวทางสะเต็มศึกษา การจัด เนื ้อหาให้ เชื่อมโยงกับการประกอบวิชาชีพ โดยให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีสว่ นร่วม รวมถึง การสร้ างความตระหนัก ในการพัฒ นา สังคมไทยให้ เป็ นสังคมวิทยาศาสตร์ และ การกระจายอ�ำนาจไปสู่ท้องถิ่นเพื่อสร้ าง ความยั่งยืนและการมีส่วนร่ วมของภาค ประชาสังคม สแกน QR CODE เพือรับชม Clip/GIF

W

3


4

W

WORD POWER

หน่วยงานหลักที่ด�ำเนินงานด้านสะเต็ม และตัวอย่างโครงการต้นแบบ หน่วยงาน

โครงการ

ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

บ้านนักวิทยาศาสตร์นอ ้ ย ประเทศไทย

หน่วยงาน

โครงการ

ส�ำนักงาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา (สอศ.)

โครงการ

จุดเด่น

การส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ ด้ านสะเต็ม ของเด็กปฐมวัย

การจัดการเรี ยนรู ้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาแบบเข้ มข้ น ในการศึกษาสายอาชีพ

โครงการ

หน่วยงาน

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) การพัฒนาหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้ สอดคล้องกับการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศด้านระบบขนส่งทางราง

โครงการ

การพัฒนาบุคลากรเพือ่ รองรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางราง

โครงการ

ความร่วมมือกับเชฟรอน ประเทศไทย ซึง่ เป็ นภาคเอกชน

สถาบันส่งเสริ ม การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.)

ศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ ศูนย์สะเต็มศึกษาภาค และ โรงเรียนเครือข่ายสะเต็ม ศึกษา

่ ี ยวข้ ่ องกับ ค่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเกี อุตสาหกรรมใหม่ ภายใต้โครงการศึกษาและ ่ ฒนา จัดทำ�มาตรการสำ�คัญภาครัฐเพือพั บุคลากรรองรับ EEC

จุดเด่น

การศึกษา วิจยั จัดท�ำหลักสูตร และจัดฝึ กอบรม ตามหลักสูตรที่ศกึ ษาและก�ำหนดส�ำหรับ ระดับมัธยมศึกษา

หน่วยงาน

โครงการ

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ่ เพือการวิ จย ั และพัฒนาสำ�หรับ ภาคอุตสาหกรรม (STEM Workforce)

จุดเด่น

การจัดการเรี ยนรู ้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ในศูนย์ฯ ซึง่ ตังอยู ้ ท่ วั่ ประเทศ

ส� ำ นัก งานเพื่ อ การพัฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) และส�ำนักงานบริ หารและ พัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ OKMD

Enjoy Science: ่ สนุกวิทย์ พลังคิด เพืออนาคต

จุดเด่น

จุดเด่น

จุดเด่น

หน่วยงาน

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) องค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ แห่งชาติ (อพวช.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน (สพฐ.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

วิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานวิทยาศาสตร์

จุดเด่น

หน่วยงาน

หน่วยงาน

หน่วยงาน

โครงการ

การให้ ทนุ การศึกษาแก่อาจารย์ของ มหาวิทยาลัยและสถาบันที่มีนกั ศึกษาระดับ ปริ ญญาโท/เอก อยูร่ ะหว่างศึกษา และมี โครงการวิจยั /โครงงานที่ท�ำร่วมกับ 10 กลุม่ ้ อุตสาหกรรมเปาหมายของรั ฐบาล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน (สพฐ.) ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ศูนย์สง่ เสริม และประสานงานการวิจยั เพือ่ การปกครองตนเองของท้องถิน่ (สปวท.) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย

จุดเด่น

การส่งเสริ มการเรี ยนรูด้ ้ านสะเต็มในระดับมัธยมศึกษา เช่น โครงการโอลิมปิ กวิชาการ / โครงการห้ องเรี ยนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น / โครงการโรงเรี ยนวิทยาศาสตร์ ภมู ิภาค / โครงการสนับสนุนการจัดตังห้ ้ องเรี ยนวิทยาศาสตร์ ในโรงเรียนโดยการก�ำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.)


WORD POWER

แม้ ใ นประเทศไทยมี ก ารจัด การเรี ย นรู้ ตามแนวทางสะเต็ ม ศึก ษา มาระยะหนึ่งแล้ ว แต่ปัญหาที่เกิดขึน้ คือบุคลากรทางการศึกษายังขาด ความรู้ ความเข้ าใจ และทักษะในการบูรณาการ 4 สหสาขาวิชาลงใน การจัดการเรี ยนการสอนภายในชัน้ เรี ยนได้ อย่างทัว่ ถึงเท่าเทียม อีกทัง้ การจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษาส่วนมากยังคงจ�ำกัดอยู่ใน สถานศึ ก ษาเท่ า นัน้ ภาคเอกชนและผู้ป ระกอบการยัง มี ส่ ว นร่ ว มใน การจัดการเรี ยนรู้คอ่ นข้ างน้ อย ดังนันเพื ้ ่อให้ การจัดการเรี ยนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นและสามารถเข้ าถึงได้ ในการจัดการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ส�ำนักงานบริ หารและพัฒนาองค์ความรู้ หรื อ OKMD จึงมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเด็นใหญ่ๆ ดังนี ้ ส่งเสริ มการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการวางแผนและด�ำเนินงานร่วมกัน เพื่อสนับสนุน การจัดการเรี ยนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีคณ ุ ภาพและทัว่ ถึง

OKMD กับการจัดการ ศึกษาตามแนวทาง

สะเต็มศึกษา

พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้ มีความรู้ ความเข้ าใจในการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษาอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึง่ OKMD มีความพร้ อมที่จะให้ ความรู้และค�ำปรึกษาแก่บคุ ลากรทางการศึกษาในเรื่ องการจัดการ เรี ยนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองของผู้เรี ยนทุกช่วงวัย (Brain-based Learning) ศึกษาและจัดท�ำฐานข้ อมูลองค์ความรู้ ด้านสะเต็มที่ส�ำคัญ ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการ จัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษาครบทุกระดับชันและสาขาวิ ้ ชา รวมถึงการพัฒนาสื่อ อุปกรณ์ และ เครื่ องมือการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาให้ มคี วามเหมาะสมและเพียงพอ โดย OKMD สามารถมีสว่ นร่วม ในการจัดท�ำหลักสูตร กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ และสือ่ ตัวอย่าง เพือ่ ให้ ครู ผู้ปกครอง และผู้เรียนน�ำไปใช้ ในการ พัฒนาทักษะและค้ นหาความรู้ด้วยตนเองผ่านระบบการเรี ยนรู้แบบเปิ ด สร้ างความตระหนักถึงความส�ำคัญของการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาให้ แก่ผ้ ปู กครองและผู้เรี ยน ในวงกว้ าง โดย OKMD มีแผนประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาธารณะตลอดทังปี ้ สร้ างแรงบันดาลใจและกระตุ้นให้ เด็กและเยาวชนรักการเรี ยนรู้ สนใจพัฒนาทักษะด้ านสะเต็มผ่านกิจกรรมที่ OKMD จัดขึ ้น เช่น ค่าย กิจกรรมสัญจร เวทีประกวดแข่งขัน รวมถึงกิจกรรมประจ�ำสัปดาห์ของห้ องสมุดและ พิพธิ ภัณฑ์ สร้ างกลไกสนับสนุนผู้มีความสนใจและมีความถนัดด้ านสะเต็มให้ สามารถต่อยอดความรู้ และทักษะในระดับ ที่สูงขึน้ ซึ่ง OKMD สามารถประสานเครื อข่ายสถานศึกษาและสถานประกอบการที่เกี่ ยวข้ องเพื่อจัดค่าย ปฏิบตั กิ ารระดับกลางและระดับเชี่ยวชาญ รวมถึงการเชื่อมโยงผู้เรี ยนกับสถานศึกษาที่สงู ขึ ้น หรื อระหว่างผู้เรี ยน กับสถานประกอบการ เพิ่มความร่วมมือกับภาคเอกชนในการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาให้ แก่เด็กและเยาวชน ซึง่ OKMD สามารถสนับสนุนต้ นแบบการจัดการองค์ความรู้ของ OKMD ผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงสือ่ และอุปกรณ์การเรี ยนรู้ตา่ งๆ เผยแพร่ องค์ความรู้ และกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษาสู่บุคลากรการศึกษาให้ ทั่วถึง เท่าเทียม โดย OKMD มีการเผยแพร่องค์ความรู้ผา่ นระบบการจัดการเรี ยนรู้แบบเปิ ด รวมทังสื ้ ่อออนไลน์ตา่ งๆ ที่สามารถให้ บริ การครูและผู้สนใจในวงกว้ าง ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษาให้ เป็ นการเรี ยนรู้ ตามอัธยาศัยผ่านระบบการเรี ยนรู้ สาธารณะ โดย OKMD สามารถด�ำเนินการผ่านการจัดมหกรรม เวทีแลกเปลีย่ น และเวทีประกวดความสามารถด้ านสะเต็ม

ประเทศไทยได้อะไรจากสะเต็มศึกษา? นับจากนี ้สะเต็มศึกษาจะเป็ นเครื่ องมือส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศ ผ่านการสร้ างเยาวชนรุ่ นใหม่ให้ เป็ นก�ำลังคน ในอนาคตที่มีทกั ษะด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มีความคิดสร้ างสรรค์และความสามารถ ในการแก้ ปัญหา ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขีดความสามารถของคนในชาติ และยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว และยัง่ ยืน สแกน QR CODE

เพือรับฟัง Audio text

W

5


6

O

One of a kiNd

Ada Lovelace

A-Z

เอดา เลิ ฟ เลซ สุ ภ าพสตรี ชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เป็ นผู้ คิ ด ค้ นภาษาส� ำ หรั บ คอมพิวเตอร์ ต้นแบบและได้ รับ ยกย่ อ งให้ เป็ นโปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก

STEM Education

Brightstorm

China

Discover

แพลตฟอร์มการศึกษาออนไลน์ บนยู ทู ป ที่ มี ค ลิ ป วิ ดี โ อสาระ ความรู รายวิ ้ ชาต่างๆ ส�ำหรับ ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาจ�ำนวน มากกว่า 1,300 คลิป

จี น คื อ ประเทศที่ มี จ� ำ นวน ผู้จบการศึกษาด้ านสะเต็มมาก ที่สดุ ในปี พ.ศ. 2559 คิดเป็ น 4.7 ล้ านคน รองลงมาคือ อินเดีย 2.6 ล้ านคน และสหรัฐอเมริ กา 568,000 คน

Engineering™

เว็ บ ไซต์ เ พื่ อ การส่ง เสริ ม และ กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนสนใจใน สาขาวิชาและอาชีพด้านวิศวกรรม โดยให้ ข้อมูลเกี่ยวกับการเรี ยน และเส้ นทางอาชีพอย่างเจาะลึก

Figure This!

GEMS

HippoCampus.org

เว็บไซต์ส�ำหรั บนักเรี ยนระดับ มัธยมศึกษาทีต่ ้องการเพิม่ ทักษะ ด้ านคณิตศาสตร์ รวมทังครู ้ และ ผู้ปกครองทีก่ ำ� ลังมองหาเครือ่ งมือ การสอนคณิตศาสตร์สำ� หรับเด็ก

ย่อมาจาก Girls in Engineering, Math, and Science ซึง่ เป็ น โครงการรณรงค์และสนับสนุน ให้ ผ้ หู ญิงท�ำงานด้ านวิศวกรรม คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์

แหล่ ง เรี ย นรูส�้ ำ หรั บ เด็ ก ของ Monterey Institute for Technology and Education ประกอบด้ วยวิดีโอสื่อการสอน ด้ านสะเต็มและสังคมศาสตร์ จ�ำนวนกว่า 6,800 เรื่ อง

องค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไรที่ให้ การสนับสนุนนักเรียน นักศึกษา และชุมชนในการจัดกิ จ กรรม ด้านสะเต็ม ทังในด้ ้ านการระดม เงินทุนและการให้ องค์ความรู ้

James Dyson

Kinetic City

Left Brain Craft

Maker Space

Foundation

เว็บไซต์สง่ เสริ มการเรี ยนรู้ ด้าน วิ ท ยาศาสตร์ โดยผู้เ ล่ น ต้ อ ง ทดลองและเล่นเกมต่างๆ เพือ่ ช่วยโลกจากไวรัส Knowledge -Eating

Brain

พื ้นที่ส�ำหรับนักสร้ างสรรค์และ นวัตกรเข้ ามาหาความรู้ แบ่งปัน ประสบการณ์ และท�ำโครงงาน ร่วมกัน เช่น KX ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี

มูลนิธิที่มีภารกิจในการส่งเสริม การเรี ยนการสอนด้ านสะเต็ม การสนับสนุนสื่อการสอน และ การมอบรางวัลให้ แก่นกั ศึกษา และคนท�ำงานด้านการออกแบบ วิศวกรรม

เว็ บ ไซต์ จ ากแนวคิ ด ของอดี ต วิศวกรทีก่ ลายมาเป็ น “คุณแม่” ซึ่ง รวบรวมเกมและกิ จ กรรม ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ด้ านสะตี ม (สะเต็ ม +ศิ ล ปะ) ส� ำ หรั บ เด็ ก เล็กไว้ หลายร้ อยรายการ

Cybermission

เว็ บ ไซต์ ข องกองทัพ บกสหรั ฐ ซึง่ ส่งเสริมให้นกั เรียนรวมกลุม่ กัน น�ำเสนอแนวคิดและท�ำภารกิจ เพือ่ แก้ ปัญหาในชุมชน ภายใต้ ค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญด้ าน สะเต็ม


One of a kiNd

Newton Fund

ทุนสนับสนุนด้ านการวิจยั และ นวัตกรรมจากสหราชอาณาจักร เพื่อส่งเสริ มความเป็ นเลิศด้ าน การวิจยั ให้ แก่ประเทศพันธมิตร ซึง่ รวมถึงประเทศไทย

OPT STEM Extension

Peter Faletra

Qatar

RepRap Project

มาตรการพิเศษของสหรัฐอเมริกา ซึง่ อนุญาตให้นกั ศึกษาต่างชาติ ที่ จ บการศึ ก ษาด้ านสะเต็ ม สามารถพ�ำนักต่อในประเทศ ได้ อีก 17 เดือนเพื่อฝึ กอบรม ภาคปฏิบตั เิ สริม

ปี เตอร์ ฟาเลตรา คือผู้เสนอให้ ใช้คำ� ว่า STEM แทนค�ำว่า METS เพื่ อ แสดงถึ ง การบู ร ณาการ องค์ความรู้ ด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์

ประเทศกาตาร์ ส นับ สนุ น การ เรียนรู้ด้านสะเต็มในโรงเรียนมัธยม อย่างจริงจัง หนึง่ ในนันคื ้ อการจัด โครงการ AL-Bairaq ซึง่ เป็ นการ แข่งขันทักษะด้ านการแก้ ปัญหา ของเด็ก

โครงการของ University of Bath แห่ ง สหราชอาณาจัก ร เพื่อพัฒนาเครื่ องพิมพ์สามมิติ ต้ น ทุน ต�่ ำ ปั จ จุบัน กลายเป็ น เครื่องมือส�ำคัญส�ำหรับการเรียนรู ้ ด้ านสะเต็ม

STEM Ambassador

TeacherPD

UNESCO’s STEM and

Vietnam

กลุม่ อาสาสมัครทีม่ คี วามรู้และ ประสบการณ์ด้านสะเต็ม ท�ำ หน้าทีถ่ า่ ยทอดความรู้และสร้ าง แรงบั น ดาลใจด้ านสะเต็ ม แก่นกั เรี ยน ก่อตังโดย ้ STEM Learning ประเทศอังกฤษ

ระบบอบรมครู อ อนไลน์ ข อง สสวท. ซึง่ เน้ นให้ ครูด้านสะเต็ม สามารถจั ด การเรี ย นรู้ ตาม แนวทางสะเต็มศึกษาในโรงเรียน ให้ สอดคล้ องกั บ บริ บ ทของ ท้ องถิ่น

Gender Advancement

ประเทศเวี ย ดนามเริ่ ม จัด การ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ในปี พ.ศ. 2555 และก�ำหนดให้ มีวนั สะเต็มแห่งชาติเป็ นครัง้ แรก ในปี พ.ศ. 2558

#weneedmore

Xiangzhong

Youth Digital

Zap Zap Math

โครงการของ Verizon ซึ่ ง สนับ สนุน เงินทุน เทคโนโลยี และสื่ อ การเรี ย นรู้ เพื่ อ มอบ โอกาสให้ เยาวชนเข้ าถึ ง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ด้ า น ส ะ เ ต็ ม และฝึ กฝนทั ก ษะการเป็ น ผู้ประกอบการ

"Jerry" Yang

หนึง่ ในเว็บไซต์ทไี่ ด้ ชื่อว่ามีคอร์ ส ด้ านเทคโนโลยีที่ดีที่สดุ ส�ำหรับ เด็ ก อายุ 8-14 ปี มี จุ ด เด่ น ด้ า นการเขี ย นโค้ ด การสร้ าง แอนิ เ มชัน และการออกแบบ ที่สนุกและเข้ าใจง่าย

แอปพลิเคชัน ส่งเสริมการเรียนรู้ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ส� ำ หรั บ เด็ ก ประถมศึกษา ซึง่ เน้ นการฝึ กฝน ทั ก ษะการค� ำ นวณ การคิ ด วิเคราะห์ และการคิดสร้ างสรรค์ ผ่านเกมแสนสนุก

หยางเซีย่ งจง คือนักเทคโนโลยี ชีวภาพชาวจีนสัญชาติอเมริกนั ที่ มี ชื่ อ เสี ย งจากการโคลนวัว “เอมี่ ” ได้ ส� ำ เร็ จ เป็ น ครั ง้ แรก ในสหรัฐอเมริกา

นโยบายของยูเนสโกเพือ่ แก้ปัญหา ความไม่ เ ท่ า เที ย มทางเพศใน การศึกษาและการท�ำงานด้ าน สะเต็ม โดยไทยคือประเทศแรก ในเอเชียแปซิฟิกทีด่ ำ� เนินการตาม นโยบายดังกล่าว

O

7


8

d

DECODE

สะเต็มศึ กษา

กับการพัฒนา

ทักษะในศตวรรษที่

21

อย่ า งไรก็ ดี โอกาสมัก มาพร้ อมกับ ความท้ าทายเสมอ ในด้ านหนึง่ เทคโนโลยี ถู ก น� ำ ม า ใ ช้ แ ท น ที่ แ ร ง ง า น ม นุ ษ ย์ โดยเฉพาะในงานที่ใช้ ทกั ษะต�่ำหรื องาน ที่ท�ำซ� ้ำๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิ ภาพและลด ค่าใช้ จ่าย ในอีกด้ านหนึ่งมนุษย์ จ�ำเป็ น ต้ องพัฒนาตนเองและปรับบทบาทไปสู่

ท่ า มกลางกระแสความเปลี่ ย นแปลงของโลก พลวั ต ของเทคโนโลยี สมัยใหม่ มีผลกระทบโดยตรงต่ อการด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์ ทุกด้ าน โดยเฉพาะ ในด้ า นเศรษฐกิ จ ที่เ ทคโนโลยี มี ผ ลต่ อ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และ ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิจ และในด้ า นสั ง คมที่เทคโนโลยีช่ว ย ยกระดับคุณภาพชีวติ และอ�ำนวยความสะดวกในแทบทุกด้ าน การเป็ นผู้คิดค้ นและสร้ างสรรค์นวัตกรรม และทั ก ษะในระดั บ ที่ สู ง ขึ น้ สามารถ ผู้ก�ำกับดูแล และผู้บริ หารจัดการในระดับ สร ้างสรรค์ คุณค่าจากองค์ ความรู้ ต่างๆ ที่สงู ขึ ้น เพื่อไม่ให้ ถกู จักรกลเข้ ามาแทนที่ ให้ กั บ องค์ ก ร สามารถปรั บ ตั ว และ ด้ วยเหตุนี ้ การเตรี ยมความพร้ อมให้ แก่ พั ฒ นาตนเองตลอดเวลา และอยู่ ใ น บุ ค ลากรรุ่ นใหม่ ตั ง้ แต่ ก่ อ นวั ย เรี ยน สั ง คมได้ อย่ า งเป็ นสุ ข จึ ง เป็ นปั จจั ย จนถึ ง วั ย ท� ำ งานให้ มี ค วามพร้ อมรั บ ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ การเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนาความรู ้ สังคมที่ยั่งยืน

สะเต็มศึ กษา (STEM Education) ช่วยได้อย่างไร? “สะเต็มศึกษา” เป็ นนวัตกรรมและความพยายามปฏิรูป การศึกษาและการเรี ยนรู ้ โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่ อให้ เด็กและ เยาวชนสามารถบูรณาการความคิดอย่างรอบด้ าน รูเท่ ้ าทัน สถานการณ์ และสิ่งแวดล้ อม สามารถตัดสินใจแก้ ไขปั ญหา รวมถึงสรา้ งสรรค์นวัตกรรมทังในด้ ้ านความคิด กระบวนการ และ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ต่ า งๆ ซึ่ง เชื่ อ ว่ า เป็ น หนึ่ ง ในแนวทางการเรี ย นรู ้ ที่เหมาะกับการสร า้ งก�ำลังคนแห่งอนาคตมากที่สดุ ในขณะนี ้ อย่างไรก็ดี การเรี ยนรูแบบสะเต็ ้ มในปั จจุบนั ไม่ได้ เป็ นเพียง การบูรณาการการเรียนรู ด้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อย่างทีห่ ลายคนเข้ าใจ เนื่องจากยังมีทกั ษะอืน่ ๆ ที่ จ� ำ เป็ น ในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทัก ษะ 4Cs ที่ ถื อ เป็ น

Soft Skills หรื อทักษะด้ านอารมณ์ ได้ แก่ • Communication ทักษะในการติดต่อสือ่ สารสร้ างความเข้ าใจ • Collaboration ทักษะในการสร้ างความร่วมมือและท�ำงานเป็นทีม • Critical Thinking ทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล • Creativity ทักษะในการคิดสร้ างสรรค์ นอกจากนีเ้ ด็กและเยาวชนยังจ�ำเป็ นต้ องมีทักษะพืน้ ฐาน ที่ จ ะช่ ว ยในการเรี ย นรู้ และแก้ ไ ขปั ญ หา ไม่ ว่ า จะเป็ น ทัก ษะ ด้ า นการอ่ า นเขี ย น รวมถึ ง ทัก ษะด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละ คิดสร า้ งสรรค์ ซึ่งทักษะเหล่านีเ้ รี ยกว่า “ศิลปะ” (A-Art) และ เรี ยกการเรี ยนรู ตามแนวทางสะเต็ ้ มศึกษาที่น�ำทักษะพืน้ ฐาน มาประกอบเข้ าด้ วยกันว่า STEAM Education


DECODE

STEM

+ A

S

=

STEAM Education

T

E

d

การจัดการเรียนรู้ซ่ ึงบูรณาการ ความรู้ใน 4 สหวิทยาการเข้ากับ ศิ ลปะ เพื่ อเพิ่ มพู นทักษะในการคิด และแก้ปัญหาด้วยความคิดสร้างสรรค์

A

M

เรียนรู้แบบสะเต็มศึ กษา (STEM Education) เป็นอย่างไร?

ประเมินผลโดย ค�ำนึงถึงความ

เน้นเทคโนโลยี สมัยใหม่

แตกต่างของผู้เรียน

เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ พฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ของเด็กยุคดิจิทัล

เรียนรู้จาก ให้เด็กเป็น ประสบการณ์จริง ศู นย์กลาง เน้ น การท� ำ งานกลุ่ ม เพื่ อ ให้ การเรียนรู้ เด็กรู้จักรับผิดชอบ แบ่งปั น และท� ำ งานเป็ น ที ม อย่ า งมี ประสิ ทธิภาพ

เมื่ อ โลกเคลื่ อ นเข้ า สู่ยุค แห่ ง การเรี ย น รู ้ ซึ่ ง ความส� ำ เร็ จ และความล้ มเหลวของมนุษ ย์ ขึน้ อยู่กับ ความสามารถในการ น�ำทักษะความรู้ ไปสร้ างสรรค์ให้ เกิดคุณค่าและความแตกต่าง ในขณะเดี ย วกัน ต้ องสามารถแก้ ไขปั ญหาอย่างมีประสิทธิภาพ การปฏิรูปการเรียนรู้โดยน�ำเอาแนวทางสะเต็มศึกษามาปรับใช้ จึ ง เป็ นสิ่ ง ที่ น่ า สนใจและท้ าทายยิ่ ง เพราะเป็ นแนวทาง ที่ ท� ำ ให้ เด็ ก ได้ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ของต น เ อ ง ต ล อ ด เ ว ล า ทั ง้ ในด้ านศาสตร์ แ ละศิ ล ป์ รวมถึ ง มี เสรี ภาพในการคิดและ ทดลอง ซึ่ ง เป็ นตั ว แปรส� ำ คั ญ ที่ จ ะน� ำ ไปสู่ ก ารสร้ างสรรค์ นวัต กรรมต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ที่ ต้ อ งการทัง้ ในปั จ จุบัน และอนาคต อย่ า งไรก็ ต าม ความท้ า ทายของการจัด การเรี ย นรู้ ตาม

เน้ น การประเมิ น ผลแบบ ต่อเนื่องและเป็นระยะ เพื่อให้ สามารถส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด ขึ้ นกั บ เ ด็ ก ไ ด้ อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด แ ล ะ มีประสิ ทธิภาพ

ค้นคว้า ทดลอง และพัฒนา แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ในมุมมองของเด็ก

แนวทางสะเต็มศึกษายังคงมีอยู่ ไม่วา่ จะเป็ นการปรับปรุงเนื ้อหา หลั ก สู ต รและแนวทางการจั ด การเรี ยนรู้ การพั ฒ นาครู และผู้ บริ ห ารให้ มี ทัก ษะความรู้ และเห็ น ความส� ำ คัญ ของ การเปลี่ ย นแปลง การพัฒ นาเทคโนโลยี แ ละสื่ อ การเรี ย นรูที้ ่ เหมาะสม รวมถึงการสร้ างความเข้ าใจที่ถกู ต้ องกับเด็ก ผู้ปกครอง และสั ง คม ซึ่ ง ความท้ าทายเหล่ า นี เ้ ป็ นเรื่ อ งที่ ผ้ ู ก� ำ หนด นโยบาย นักการศึกษา โรงเรี ยน ผู้ดแู ลงบประมาณ ผู้เกีย่ วข้ อง กับเทคโนโลยีการเรียนรู้ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนที่เป็ น ผู้ใช้ ประโยชน์ จากทรั พยากรมนุษย์ จะต้ องร่ วมมือกัน เพื่อให้ การปฏิรูปการเรี ยนรู้ ครัง้ นี ้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ราบรื่ น และยัง่ ยืน

9


10

t

The Knowledge

STEM

รหัส (ไม่) ลับ การเรียนรู้สู่อนาคต

สะเต็ม หรือ STEM มาจากอักษรตัวแรกในชือ่ ภาษาอังกฤษ ของศาสตร์ส�ำคัญ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เพื่อสะท้อนความเชือ่ มโยง ขององค์ความรูท ้ างวิชาการของศาสตร์ท้งั 4 ซึ่งจ�ำเป็นต้อง บูรณาการเข้าด้วยกันเพื่ อใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินชีวต ิ และ การท�ำงาน

จากค�ำกล่าวของ ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อ� ำนวยการ สถาบัน ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ ว่ า “การตอบโจทย์ทกุ อย่างในโลกใบนี ้ไม่ได้ ตอบได้ ด้วยศาสตร์ เดียว เราต้ องเริ่ มจากสิ่งที่สามารถน�ำไปใช้ ได้ จริ งในชีวิต จากนันค่ ้ อย เชื่อมโยงกับเนือ้ หาบทเรี ยน ผู้เรี ยนจึงจะรู้ สึกว่าน่าสนใจและ เกิดการประยุกต์ใช้ กับชีวิตประจ�ำวัน หรื อเรี ยนรู้ ที่จะปรับเข้ า กับการประกอบอาชีพในอนาคต สิง่ เหล่านี ้ คือ 'สะเต็มศึกษา' " ชีใ้ ห้ เห็นว่าการเรี ยนรู้ สู่อนาคตจ�ำเป็ นต้ องถอดรหัส “STEM” มาเป็ นเครื่ องมือส�ำคัญในการเรี ยนรู้

ทังนี ้ ้ค�ำว่า STEM ถูกน�ำมาใช้ ครัง้ แรกในสมัยที่สหรัฐอเมริ กา ประสบปั ญหาเรื่องผลการทดสอบในโครงการประเมินผลนักเรียน ร่ วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment หรื อ PISA) ต�่ำกว่าหลายประเทศ รัฐบาลจึงมี นโยบายส่ง เสริ ม การศึก ษาตามแนวทางสะเต็ ม ศึก ษา หรื อ STEM Education โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาความสามารถ ด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมของเยาวชน รวมถึง ยกระดับผลการทดสอบ PISA ให้ สงู ขึ ้น

เรียนแบบสะเต็ม สะเต็มศึกษาไม่เน้ นการท่องจ�ำทฤษฎี กฎ หรอื สูตร แต่ให้ ความส�ำคัญกับการท�ำความเข้ าใจเนื ้อหาวิชาผ่านการปฏิบตั จิ ริง ควบคูก่ บั การพัฒนาทักษะการคิด การตัง้ ค�ำถาม การแก้ ปัญหา การหาข้ อมูล และการวิเคราะห์ ข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถ น�ำความรู ทุ้ กแขนงมาใช้ ในการแก้ ปัญหาในชีวิตจริ ง รวมทังพั ้ ฒนากระบวนการและสร ้างสรรค์นวัตกรรมที่จะเป็ นประโยชน์ต่อ การด�ำเนินชีวติ และการท�ำงาน โดยครูอาจารย์จากหลายสาขาวิชาร่วมมือกันจัดแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 5 ประการ ได้ แก่ 4 ท้ าทายความคิดของนักเรี ยน 1 เน้ นการบูรณาการ 5 เปิ ดโอกาสให้ นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็นและความเข้ าใจ 2 ช่วยให้ นกั เรี ยนสร้ างความเชื่อมโยงระหว่างเนื ้อหาวิชา ที่สอดคล้ องกับเนื ้อหาวิชา ทัง้ 4 กับชีวิตประจ�ำวันและการประกอบอาชีพ 3 เน้ นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 สะเต็มศึกษาจึงเป็ นการฉี กกฎเกณฑ์ ของระบบการศึกษาในอดีต จากเดิมที่เน้ นให้ เด็กเรี ยนรู ทฤษฎี ้ ก่อนไปสู่การปฏิ บัติ ซึง่ เป็ นเรื่องยากและใช้ เวลานานเกินไป เป็ นการเรียนรูจ้ ากตัวอย่างหรือสถานการณ์จริงก่อนจะย้ อนกลับไปหาทฤษฎี ซึง่ เป็ นกระบวนการ เรี ยนรู ที้ ่สนุกสนาน น่าสนใจ และเข้ าใจง่ายกว่า และยอมรับกันว่าเป็ นการเรี ยนเพื่อต่อยอดไปสู่การประยุกต์ ใช้ ในการท�ำงาน ซึง่ เป็ นแนวทางของการสรา้ งแรงงานที่มีศกั ยภาพในอนาคต


The Knowledge

11

GOOD TO SHARE

ทักษะในศตวรรษที่ 21 คืออะไร? World Economic Forum (WEF) ให้ นิยามไว้ ครอบคลุมใน 3 ด้ าน ได้ แก่

1

1

2

3

ทักษะในการด�ำรงชีวิต เช่น การอ่าน-เขียน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

ความสามารถในการแก้ ปัญหา ที่ซบั ซ้ อน เช่น การคิดเชิงวิพากษ์ ความคิดสร้ างสรรค์ การสื่อสาร และ การท�ำงานเป็ นทีม

บุคลิกภาพแบบใหม่ เช่น ความมีจิตอาสา ความเป็ นผู้น�ำ ความเป็ นผู้ริเริ่ ม

QR CODE 2

3

สะเต็มเป็นเรือ ่ งใกล้ตัว หลายคนยังเข้ าใจว่าทักษะด้ านสะเต็มจ�ำเป็ นต่อเฉพาะอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม หรือเทคโนโลยี เท่านัน้ แต่ความจริ งสะเต็มเป็ นเรื่ องใกล้ ตัวที่ สามารถน� ำมาใช้ ในชี วิตประจ� ำวัน และยังเป็ นทักษะพื น้ ฐาน ในเกือบทุกสาขาอาชีพ ในทุกอุตสาหกรรมในปั จจุบนั

S

t

T

E

M

Science

Technology

Engineering

Mathematics

เป็ นเครื่ องมือช่วยให้ มนุษย์ เข้ าใจธรรมชาติมากยิ่งขึ ้น

เป็ นวิชาที่ชว่ ยให้ เข้ าใจ กระบวนการท�ำงานเพื่อ แก้ ปัญหา ปรับปรุงแก้ ไข หรื อ พัฒนาสิง่ ต่างๆ

เป็ นวิชาที่เกี่ยวกับ การสร้ างสรรค์นวัตกรรมหรื อ สร้ างสิง่ ต่างๆ เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกให้ แก่มนุษย์

เป็ นพื ้นฐานส�ำคัญต่อการพัฒนา ความคิด ทังการคิ ้ ดสร้ างสรรค์ การคิดอย่างมีแบบแผน การคิดวิเคราะห์ และการตัดสินใจ

สะเต็มศึกษาจึงไม่เพียงเป็ นแนวทางส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนรักและเห็นคุณค่าของกลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ หากยังเป็ น เครื่ องมือปลูกฝั งการคิดอย่างมีระบบ ท�ำให้ เด็กรู้ จกั เชื่อมโยงองค์ความรู้ เข้ ากับสิ่งรอบตัวและประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ ปัญหาด้ วยเหตุและผล ซึง่ เป็ นแนวทางส�ำคัญในการสร้ าง “คนเก่ง คนดี คนที่มีคณ ุ ภาพ” ซึง่ จะเป็ นก�ำลัง ขับเคลื่อนประเทศในอนาคต


12

N

Nextpert

เปิดมุมมองการขับเคลื่อน

STEM Education “การสนับ สนุน กระบวนการเรี ย นรู้ ด้ว ยสะเต็ ม ศึ ก ษาเป็ น สิ่ งส� ำคัญ จึ งควรเน้นกิ จกรรมที ่บูรณาการด้านวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ ศวกรรมศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ เพื อ่ เชื ่อมโยง ความรู้ สู่การท� ำงานในชี วิตจริ ง ผู้เรี ยนจะเรี ยนวิ ทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ ด้วยความสนุก พร้ อมทัง้ ตระหนักถึ งคุณค่า ของการเรี ยนรู้ ยิ่ งไปกว่านัน้ นักเรี ยนต้องมี ความรู้ ด้านศิ ลปะ ภาษา สังคมศาสตร์ และอืน่ ๆ ร่ วมด้วย กระบวนการเรี ยนรู้นีย้ งั กระตุ้นให้เกิ ดความคิ ดสร้ างสรรค์ และการท� ำงานร่ วมกัน เป็ น กระบวนการเรี ยนรู้ โดยใช้การวิ จัยเป็ นฐาน เพื ่อแก้ไขปัญหา สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ๆ” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชด�ำรัสเปิดการประชุมโต๊ะกลมไทย-สหรัฐฯ ครั้งที่ 7 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

“เรื ่ อ งก� ำ ลัง คนทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม เป็ นเรื ่องทีท่ า้ ทายและส�ำคัญมาก เพราะเป็ นพืน้ ฐาน ของการพัฒนาในทุกรู ปแบบ ซึ่ งตอนนี ้ถึงเวลาแล้วที ่จะต้อง ปรับเปลีย่ นการสอน ครูตอ้ งใช้วิธีการต่างๆ ระดับมัธยมจะต้องน�ำ เรื ่องสะเต็มศึกษาเข้ามาใช้มากกว่าเดิม นอกจากเรื ่องหลักการแล้ว สิ่ ง ส� ำ คัญ คื อ เรื ่ อ งของการน� ำ ไปสู่ ก ารปฏิ บัติ และสิ่ ง ส� ำ คัญ ที ่ข าดไม่ ไ ด้คื อ ภาคเอกชนต้อ งเข้ามามี ส่ วนร่ วม เพราะหาก ไม่ค�ำนึงถึงปลายทางก็ไม่รู้จะผลิ ตและพัฒนาเพือ่ อะไร” ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบรรยายพิเศษในงานสั มมนาระดมความคิด เรื่อง STEM Education : นโยบายเชิงรุกในการพัฒนาก�ำลังคน ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

“การจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ น อกห้ อ งเรี ย นตามหลัก การ สะเต็มศึกษาที ่ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา เน้นย�้ ำและให้ความส�ำคัญตลอดมา เป็ นการบูรณาการความรู้ ที เ่ กี ่ยวกับสาขาวิ ชาวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ ศวกรรมศาสตร์ และคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง เน้น ให้ผู้เ รี ย นสามารถน� ำ ไปแก้ ปั ญ หา ที ่เกิ ดขึ้ นจริ งในชี วิตประจ� ำวัน ควบคู่ ไปกับการเรี ยนรู้ ทกั ษะ ที ่จ�ำเป็ นในศตวรรษที ่ 21 ซึ่ งจะช่วยเสริ มสร้ างความเข้าใจใน ทฤษฎี หรื อบทเรี ยนในห้องเรี ยนผ่านการปฏิ บตั ิ จริ ง รวมทัง้ ช่วย พัฒนาทักษะการคิด การตัง้ ค�ำถาม การค้นหาข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อค้นพบใหม่ๆ และการน�ำข้อค้นพบนัน้ ไปบูรณาการใช้ในชี วิต ประจ� ำ วัน ซึ่ ง สอดคล้ อ งกับ แนวทางการพัฒ นาการศึ ก ษา ในอนาคตของกระทรวงศึกษาธิ การ” พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ค�ำกล่าวเปิด “โครงการจัดท�ำกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน : ติดปีกความรู้ สู่ นอกห้องเรียน” วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

“การศึ กษาด้านสะเต็ม คื อ การเชื ่อมโยงกับสิ่ งที ่เป็ นจริ ง สามารถน�ำความรู้ทางวิ ทยาศาสตร์ ไปสร้างสรรค์สิ่งดีๆ โดยการ ปลูกฝังให้เด็กมีทกั ษะด้านวิ ทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ รวมทัง้ สามารถประยุกต์ ใช้ให้เกิ ดของจริ งขึ้ นมาด้วยการใช้เทคโนโลยี และกระบวนการทางวิ ศวกรรมศาสตร์ อย่างไรก็ตาม เราต้อง สอนให้เด็ กมี คุณธรรมควบคู่กบั ความรู้ เพื ่อน� ำวิ ทยาศาสตร์ ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง” นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การบรรยายพิเศษในการประชุมโต๊ะกลมไทย-สหรัฐฯ ครั้งที่ 7 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


Nextpert

“สะเต็ ม ศึ ก ษาช่ ว ยส่ ง เสริ มให้ก ารปฏิ รู ป การศึ ก ษาทัง้ ใน ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน อาชี วศึกษา และอุดมศึกษาเป็ นไป อย่ า งเป็ นระบบ สะเต็ ม ศึ ก ษานี ้จ ะช่ ว ยพัฒ นาก� ำ ลัง คนที ่มี ความคิ ดริ เริ่ มสร้างสรรค์นวัตกรรมและองค์ความรู้รูปแบบใหม่ๆ เพื ่อ รองรั บ การเข้ า สู่ ต ลาดแรงงานและการประกอบอาชี พ ในอนาคต และช่ วยเพิ่ มขี ดความสามารถในการแข่ งขันของ ประเทศในเวทีโลกต่อไป”

“การกระตุ้นให้สงั คมตระหนักถึ งความส� ำคัญของสะเต็ ม ศึกษาจะก่อเกิ ดกลไกในการพัฒนาก� ำลังคนด้านวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้แก่ประชาสังคม และการรับฟังความ คิ ดเห็นขององค์ กร หน่วยงาน และภาคี ต่างๆ โดยเฉพาะผู้ที่ ใช้ผลผลิตจากสะเต็มศึกษามีสว่ นเกีย่ วข้องในการพัฒนาก�ำลังคน และจะช่ วยผลักดันให้เกิ ดนโยบายแห่ งชาติ เพื ่อรองรับระบบ นวัตกรรมของประเทศได้”

นายตวง อันทะไชย

พลอากาศเอก ชาลี จันทร์เรือง

ประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา สภานิตบ ิ ญ ั ญัตแ ิ ห่งชาติ “รายงานข้อเสนอเชิงนโยบายสะเต็มศึกษา (STEM Education) นโยบายเชิงรุกเพื่อพัฒนาเยาวชนและก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์” วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558

ประธานคณะกรรมาธิการการสื่ อสารมวลชน การวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ “รายงานข้อเสนอเชิงนโยบายสะเต็มศึกษา (STEM Education) นโยบายเชิงรุกเพื่อพัฒนาเยาวชนและก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์” วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558

“ดังทีท่ ราบกันว่าเรามีความต้องการด้านก�ำลังคน แต่การจัดท�ำ สะเต็มศึกษานัน้ มิ ได้เป็ นเพี ยงเพื อ่ ให้บุคลากรมี งานท� ำเท่านัน้ เราก� ำลังกล่าวถึ งประชากรไทยทัง้ ประเทศว่าจะท� ำงานต่อไป ในอนาคตอย่างไร คนไทยต้องมีทกั ษะในศตวรรษที ่ 21 ด้วยเหตุนี้ จึงต้องมี ทกั ษะเช่นนีใ้ นอนาคตอันไม่แน่นอนนีด้ ว้ ย” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ มนตรี จุฬาวัฒนฑล ประธานกรรมการสถาบันส่ งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบรรยายพิเศษในงานสั มมนาระดมความคิด เรื่อง STEM Education : นโยบายเชิงรุกในการพัฒนาก�ำลังคน ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

“การจะน� ำสะเต็มเข้ามาใช้กบั สถานศึ กษาวิ ชาชี พนัน้ ยาก เพราะครู ในสถานศึกษาไม่เคยท�ำงานจริ งในสถานประกอบการ แต่อย่างไรก็ตาม ความเหมาะสมคือควรใช้ครูทงั้ สองฝัง่ ทัง้ ครูพเี ่ ลีย้ ง ฝั่งโรงงานและครู ในมหาวิ ทยาลัยร่ วมกันเรี ยนรู้ กับนักศึ กษา ไปพร้อมกัน” ดร.นิวัตร มูลปา ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การน�ำเสนอตัวอย่างในงานสั มมนาระดมความคิด เรื่อง STEM Education : นโยบายเชิงรุกในการพัฒนาก�ำลังคน ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558

“การน�ำแนวคิ ดต่างๆ มาปรับเปลี ย่ นแนวทางในการจัดการ ศึกษาเดิ มนัน้ จ� ำเป็ นอย่างยิ่ งที น่ กั การศึกษา ผูท้ ี เ่ กี ่ยวข้อง ครู อาจารย์ และผูบ้ ริ หาร จะต้องวิ เคราะห์และท�ำความเข้าใจอย่าง ถ่องแท้เพือ่ ทีจ่ ะน�ำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง การน�ำสะเต็มศึกษามา ้ นมิ ให้เกิ ดความเข้าใจ ใช้ในประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน เพือ่ ปองกั คลาดเคลื อ่ น ซึ่ งจะก่อให้เกิ ดผลกระทบในการจัดการศึกษาใน อนาคต หรื อส่งผลให้การใช้สะเต็มศึกษาไม่บรรลุเป้าหมาย” พรทิพย์ ศิริภัทราชัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บทความเรื่อง “STEM Education กับการพัฒนาทักษะ ในศตวรรษที่ 21” วารสารนักบริหารปีที่ 33 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2556

N

13


14

D

DigitOnomy

รวมมิตรตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับ

STEM EducaTioN ผลทดสอบในโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ ปี 2558 (PISA 2015) ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่าน อันดับ 1

ด้านวิทยาศาสตร์

556

สิงคโปร์

ด้านคณิตศาสตร์

535

คะแนน

อันดับ 54

409

คะแนน

อันดับ 1

คะแนน

อันดับ 54

421

ไทย

อันดับ 1

ด้านการอ่าน

564

คะแนน

415

คะแนน

อันดับ 57

คะแนน

ทีมา : PISA 2015 Results in Focus, OECD 2018

ผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปการศึ กษา 2559 เปรียบเทียบกับปี 2558 ี

ประถมศึกษา ปที ี ่6

มัธยมศึกษา ี ่3 ปที

มัธยมศึกษา ปที ี ่6

คณิตศาสตร์

ความถนัดทาง คณิตศาสตร์

42.82 คะแนน ลดลง 18.6%

วิทยาศาสตร์

40.47 คะแนน ลดลง 6.9%

41.22 คะแนน ลดลง 3.21%

29.31 คะแนน ลดลง 9.53%

34.99 คะแนน ลดลง 7.01%

24.88 คะแนน ลดลง 6.43%

31.62 คะแนน ลดลง 5.32%

หมายเหตุ : คะแนนเต็ม 100 คะแนน

ผลการทดสอบทางการศึกษา Professional Aptitude Test ความถนัดทางด้านวิชาชีพและวิชาการ ปการศึ กษา 2560 ี

จากปี 2559

ความถนัดทาง วิทยาศาสตร์

79.59 คะแนน

เพิ่มขึ้น 4.28% จากปี 2559

ความถนัดทาง วิศวกรรม

95.91 คะแนน เพิ่มขึ้น 15.9% จากปี 2559

หมายเหตุ : คะแนนเต็ม 300 คะแนน ทีมา : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน)


DigitOnomy

D

15

เครือข่ายศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ (NaTioNal STEM EducaTioN Center : NSEC)

ประกอบด้วยศูนย์สะเต็มศึกษาภาค (Regional STEM Education Center : RSEC) 13 ศูนย์ โรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาภาค ศูนย์ละ 6 แห่ง ได้แก่ รร.ประถมศึกษา 2 แห่ง รร.มัธยมศึกษา 2 แห่ง รร.ขยายโอกาส 2 แห่ง รวมทั้งสิ้น 78 แห่ง ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 1

RSEC

1

ร.ร.ยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ RSEC

ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 2

3

RSEC

2

RSEC

4

RSEC RSEC

6

RSEC

9

RSEC

5

RSEC

7

10

RSEC RSEC

8

RSEC

11

1

RSEC

13

ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 13

ร.ร.หาดใหญ่วท ิ ยาลัย สงขลา ศูนย์สะเต็มศึกษา ่ RSEC ภาคที 12 12 ร.ร.เบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช

ร.ร.พิษณุโลกพิทยาคม RSEC 2 พิษณุโลก ศูนย์สะเต็มศึกษา ภาคที่ 3 RSEC ร.ร.อุดรพิทยาคม 3 อุดรธานี

NSEC

ศูนย์สะเต็มศึกษา ภาคที่ 4 RSEC

ร.ร.แก่นนครวิทยาลัย ขอนแก่น

ศูนย์สะเต็มศึกษา ่ RSEC ภาคที 11 11 ร.ร.ชลราษฎรอำรุง ชลบุรี

4

RSEC

10

ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 5 RSEC 5 ร.ร.เบ็ญจะมะมหาราช อุบลราชธานี

RSEC

12

RSEC ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 9

9

ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 6 RSEC 6 ร.ร.สุรนารีวท ิ ยา นครราชสีมา

RSEC

13

ศูนย์สะเต็มศึกษา ภาคที่ 10 ร.ร.สามเสนวิทยาลัย กรุงเทพฯ

RSEC

ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 7

ร.ร.พระปฐมวิทยาลัย นครปฐม

7

RSEC

8

ร.ร.บดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กรุงเทพฯ

ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคที่ 8

ร.ร.ศรีบณ ุ ยานนท์ นนทบุรี

ทีมา : ศูนยสะเต็มศึกษาแหงชาติภายใตการกำกับดูแลของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)

โรงเรียนขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ สะเต็มศึกษา ปี 2559

44%

จำนวน

2,250

โรงเรียน

ที่มา : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คิดเป็น

คิดเป็น

คิดเป็น

19%

โรงเรียนขยายโอกาส 998 แห่ง

โรงเรียนประถม 832 แห่ง

โรงเรียนมัธยม 420 แห่ง

37%


16

N

Next

ทิศทางการ เรียนรูแ ้ บบ

STEM Education

วิทยาศาสตร์เป็นมากกว่าวิชาเรียนแต่เป็นวิถีทางของโลก เป็นวิธีคิดเพื่ อให้เข้าใจ ค้นหา และมีปฏิสัมพั นธ์กับโลก และมีศักยภาพทีจ ่ ะเปลีย ่ นแปลงโลกได้ ค�ำกล่าวข้ างต้ นของนายบารัก โอบามา ท�ำให้ เราตระหนักว่าการที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะขึ ้นมา เป็ นผู้น�ำโลก ต้ องอาศัยอัจฉริ ยภาพและการทุม่ เทท�ำงานหนักของนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และนักประดิษฐ์ ความส�ำเร็ จจึงไม่ได้ ขึ ้นอยูก่ บั ว่าเรารู้อะไร แต่ขึ ้นอยูก่ บั สิ่งที่เราสร้ างสรรค์ขึ ้นจากองค์ความรู้ที่มี คนรุ่นใหม่ จึงต้ องมีทงความรู ั้ ้ และทักษะในการคิดและแก้ ไขปัญหายากๆ รวมถึงรู้จกั รวบรวม ใช้ ประโยชน์ และประเมินผล ข้ อมูลความรู้และหลักฐานต่างๆ ซึง่ ทักษะในการบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ คือการเรี ยนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

ความต้องการบุคลากร ด้านสะเต็มในสหรัฐอเมริกา ปี 2561 ปั จจุบันหลายประเทศมอง สะเต็มศึกษาว่าเป็นโอกาสที่ จะตอบสนองความต้องการ ทรัพยากรบุคคลในปั จจุบัน และอนาคต จากตัวเลข การศึกษาวิจัยในเว็บไซต์ STEMconnector.org ประเมินว่าในปี พ.ศ. 2561 จะมีความต้องการบุคคลากร ด้านสะเต็มเพิ่ มขึ้นกว่า

8.65 ล้านคน ในสหรัฐอเมริกา

โดยเฉพาะในภาคการผลิต แบ่งเป็น

71%

อาชีพด้านการค�ำนวณ (Computing)

16%

อาชีพด้านวิศวกรรมทั่วไป (Traditional Engineering)

7%

อาชีพด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Sciences)

4%

อาชีพด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Life Sciences)

2%

อาชีพด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics)


Next

โดยมากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของงานด้ า นสะเต็ ม ต้ อ งการคนที่ จบการศึก ษาในระดับ ต�่ ำ กว่า ปริ ญ ญาตรี ซึ่ง หมายความว่า บุค ลากรในระดับ อาชี ว ศึก ษาจะเป็ น ที่ ต้ อ งการมากขึ น้ ของ ตลาดแรงงานในอนาคต นอกจากนี ้ยังพบว่าค่าตอบแทนของ บุคลากรที่จบการศึกษาด้ านสะเต็มสูงกว่าผู้ที่ไม่ได้ จบการศึกษา ด้ านสะเต็มถึงร้ อยละ 26 ในท�ำนองเดียวกัน ในประเทศอังกฤษ มี ก ารประเมิ น ว่า The Royal Academy of Engineering จะต้ องผลิตบัณฑิตใหม่อย่างน้ อยปี ละ 100,000 คน จนถึง ปี พ.ศ. 2563 จึงจะเพียงพอต่อความต้ องการบุคลากรด้ านสะเต็ม ในสาขาวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ของประเทศ เช่นเดียวกับ ประเทศเยอรมนี ที่ ข าดแคลนบุ ค ลากรด้ านคณิ ต ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ และสาขาวิชา ที่เกี่ยวข้ องกับเทคโนโลยีมากกว่า 210,000 คน ด้ วยเหตุนีป้ ระเทศในอเมริ กาและยุโรปจึงให้ ความส�ำคัญ และมีมาตรการส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ ทัง้ ในด้ า นการวางยุท ธศาสตร์ ก ารศึก ษา ของชาติและการจัดสรรงบประมาณเพื่อด�ำเนินโครงการต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ น • •

• • • •

การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการสอนแบบใหม่ ส� ำ หรั บ เด็ ก ตัง้ แต่ ก่ อ นวัย เรี ย นจนถึ ง มัธ ยมศึ ก ษา ตอนปลาย การสนับสนุนเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ ด้ านสะเต็ม การสร้ างแรงจูงใจให้ สงั คม พ่อแม่ ผู้ปกครอง และเด็ก หันมาสนใจสะเต็มศึกษามากขึ ้น การพัฒนาการเรียนรู้แบบสะเต็มในระดับมหาวิทยาลัย การแนะแนวและกระตุ้นให้ เด็กที่ไม่สนใจในสาขาวิชา และอาชีพที่เกี่ยวข้ องกับสะเต็มให้ อยากเข้ ามาศึกษา ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้ องมากขึ ้น การออกแบบหลักสูตรในระดับที่สูงกว่าปริ ญญาตรี ให้ สามารถท�ำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพในโลกอนาคต ที่ เน้ นการคิดแบบหลากหลายมิติและการสร้ างสรรค์ ผลงาน

ส่วนสถานศึกษาเองก็มีการปรับตัวและสนับสนุนการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้ วยวิธีการต่างๆ อาทิ

• การจัดกระบวนการสอนและการพัฒนาเนื ้อหาความรู้ที่ ตอบโจทย์ความต้ องการและความจ�ำเป็ นของเด็ก

• • •

การน� ำ เอาเทคโนโลยี ส มัย ใหม่ เ ข้ า มาใช้ ส นับ สนุน การเรี ยนการสอน การสนับสนุนครูผ้สู อน ทังในด้ ้ านการพัฒนาทักษะความรู้ การจัดหาสื่อและเครื่ องมือการสอนที่เหมาะสม การสนับสนุนในด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง เช่น การลงทุน เพื่อพัฒนานวัตกรรมการสอน การสร้ างแรงจูงใจแก่ ครูผ้ สู อนในการพัฒนาศักยภาพการสอน การร่วมมือกับ ภาครั ฐ และเอกชนที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ สะเต็ม ศึก ษาและ สาขาอาชี พ ด้ า นสะเต็ม การพัฒ นาครู รุ่ น ใหม่แ ละ การสร้ างแรงจูงใจให้ ผ้ ทู ี่มีความรู้ ความสามารถด้ าน สะเต็ ม เข้ า มาอยู่ใ นสายอาชี พ ครู ม ากขึ น้ รวมถึ ง การกระจายครู ผ้ มู ีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็ ม ศึก ษาเพื่ อ ให้ เ ด็ ก ได้ รั บ โอกาส ในการเรี ยนรู้รูปแบบใหม่อย่างทัว่ ถึง

ส� ำ หรั บ สถานการณ์ ข องสะเต็ม ศึก ษาประเทศไทยพบว่า แม้ มีการจัดการเรี ยนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ฟิ สิกส์ ชีววิทยา เคมี และอิเล็กทรอนิกส์ในสถานศึกษาทัว่ ไป แต่จ�ำนวนนักเรี ยน ที่ เ ข้ า ถึ ง วิ ช าเหล่า นี ก้ ลับ มี ไ ม่ ม ากนัก ไม่ นับ รวมถึ ง คุณ ภาพ การเรี ยนการสอนที่ไม่น่าสนใจและไม่เอื ้อให้ เกิดการบูรณาการ ข้ ามศาสตร์ หรื อส่งเสริ มให้ เกิดการน�ำองค์ความรู้ ไปประยุกต์ ใช้ ในการสร้ างสรรค์นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ เพื่อการพัฒนา และแก้ ไขปั ญหาต่างๆ โดยเฉพาะในสถานศึกษาขนาดเล็กและ อยู่ห่างไกล ซึ่ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ช่ อ งว่ า งทางการเรี ย นรู้ ระหว่ า ง เด็กในเมืองและเด็กต่างจังหวัด และในระยะยาวอาจน� ำไปสู่ ช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างคนทังสองกลุ ้ ม่ ก่อให้ เกิด ความเหลือ่ มล� ้ำทางสังคม โครงสร้ างเศรษฐกิจทีไ่ ม่ยงั่ ยืน รวมถึง ปั ญหาการเมืองและความมัน่ คงที่เกิดจากความแตกต่างของ คนในประเทศ ถึงเวลาแล้ วที่ทุกภาคส่วนจะต้ องตระหนักถึงความส�ำคัญ เร่ งด่วนในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ ตังแต่ ้ ระดับก่อน วัยเรียนจนถึงระดับการศึกษาเพือ่ ประกอบอาชีพ โดยตังเป ้ า้ สรา้ ง การพัฒนาในทุกมิติ เริ่ มตังแต่ ้ การปรับแนวคิดของผู้เกี่ยวข้ อง กับการศึกษาของเด็กและเยาวชน การพัฒนาหลักสูตร/เนื ้อหา และกระบวนการเรียนการสอนให้ เป็ นการเรียนรู้ทพี่ ฒ ั นาไปสูค่ วาม ช�ำนาญทีแ่ ท้ จริง การสร้ างวัฒนธรรมการเรียนรู้เพือ่ การท�ำงานจริง จากประสบการณ์จริ ง ไปจนถึงการส่งเสริ มการบูรณาการความรู้ ที่หลากหลายเพื่อสร้ างสรรค์นวัตกรรม และการสร้ างอุปนิสยั ใฝ่ หาความรู้ ตลอดชีวิตให้ คนรุ่ นใหม่ซึ่งจะเติบโตขึ ้นเป็ นก� ำลัง ส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศในอนาคต

N

17


18

B

BBL

BBL & STEM

ใครก็ร้ ูวา่ การเรี ยนรู้ต้องใช้ “สมอง” ดังนันการเรี ้ ยนรู้ที่สอดคล้ องกับการท�ำงานของสมอง หรื อ Brain–based Learning (BBL) จึงเป็ นแนวทางที่ท�ำให้ มนุษย์สามารถเรี ยนรู้และปลดปล่อยศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ BBL จึงได้ รับการยอมรับ ในวงกว้ างว่าเป็ นหนึง่ ในแนวทางการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะกับยุคสมัย

เรียน-รู้แบบ BBL

BBL กับ STEM

การเรี ยนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมองนัน้ เป็ นไปตามธรรมชาติ สมองเป็ นอวัยวะ ทีต่ ้ องการอาหาร น� ้ำ และออกซิเจนเช่นเดียวกับอวัยวะอืน่ ๆ และสมองยังต้ องการอาหารใจ มาหล่อเลี ้ยงให้เติบโตและท�ำงานได้ดี เช่น ความรัก ความสนุกสนาน ความตืน่ เต้น ความท้าทาย ความประทับใจ และความภาคภูมใิ จ เมื่อสมองพร้ อมเรี ยนรู้ การได้ รับประสบการณ์ตรง การลงมือปฏิบตั ิ และการเข้ าสูส่ ถานการณ์จริงหรือเสมือนจริง จะท�ำให้ สมองรวบรวมข้ อมูล น�ำไปเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ และประมวลผลเป็ นความเข้ าใจและความจ�ำ ยิ่งลงมือฝึ กฝน ท�ำซ�ำ้ และปรั บปรุ งแก้ ไขอยู่เสมอ สมองก็จะยิ่งคล่องแคล่วแม่นย� ำ จนเกิดเป็ นความช�ำนาญ และหากน�ำมาใช้ บอ่ ยๆ สมองก็จะยิ่งว่องไว แม่นย�ำ เฉียบคม กลายเป็ นความเชีย่ วชาญฝังลึกทีพ่ ร้ อมจะต่อยอดแตกแขนงไปสูก่ ารเรียนรู้ใหม่ๆ ไม่สิ ้นสุด

ส� ำ หรั บ ผู้ เรี ย นส่ ว นใหญ่ วิ ช าใน กลุม่ สะเต็มทังวิ ้ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ ศ วกรรมศาสตร์ และคณิ ต ศาสตร์ จัดว่าเป็ นวิชาทีย่ ากจะเข้ าใจและน�ำไป ประยุกต์ใช้ แต่ในความเป็ นจริ งสมอง ของมนุ ษ ย์ มี ศั ก ยภาพที่ จ ะเรี ยน และเชื่ อ มโยงความรู้ เหล่ า นัน้ ผ่ า น กระบวนการเรี ย นรู้ ตามธรรมชาติ ของสมอง

4 ขั้นตอนสู่ ความเป็นเลิศด้านสะเต็มด้วย BBL

1) ก่อนเรียนรู้

2) เริ่มเรียนรู้

เตรี ย มสมองให้ พ ร้ อมเปิ ด รั บ ความรู้ สร้ าง แรงจูงใจด้ วยเรื่องราวทีส่ นุกสนานและท้ าทาย หรือ กระตุ้นให้ เห็นถึงประโยชน์และความส�ำคัญของ สิ่ง ที่ จ ะเรี ย นรู้ จะเป็ น การช่ว ยให้ ส มองเปิ ด รั บ ข้ อมูลได้ ดีกว่าการป้อนความรู้เข้ าไปตรงๆ

ควรเริ่มต้ นด้ วยการดึงความรู้เดิมของผู้เรี ยนออกมาเชื่อมโยง กับ ความรู้ ใหม่ ในขัน้ ตอนนี ้ ยิ่ ง สมองเกิ ด ความฉงนสนเท่ห์ กับสิ่งใหม่ที่ได้ เห็นและได้ สมั ผัสมากเท่าใด สมองก็จะยิ่งสนใจ เปิ ดรับการเรี ย นรู้ มากขึน้ เท่า นัน้ และหากสิ่ง ใหม่ที่ ไ ด้ เ รี ย นรู้ มีความแปลกใหม่ น่าตืน่ ตาตืน่ ใจ และแตกต่างจากประสบการณ์ เดิมของผู้เรี ยนก็จะยิ่งส่งเสริ มให้ เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ ปัญหา และคิดสร้ างสรรค์

3) ลงมือทำ�

4) ตอกย�้ำการเรียนรู้

ขัน้ ต่อมาควรเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูเรี ยนถ่ายทอด ความคิดออกมาเป็ นรูปธรรมด้ วยการทดลองท�ำจริง หรือการลงมือปฏิบตั ติ ามภาพร่างความคิดจนเกิด เป็ น ชิ น้ งานหรื อ แก้ ปั ญ หาได้ ส� ำ เร็ จ ซึ่ง จะช่ ว ย ตอกย� ้ำการเรี ยนรู้ให้ ฝังลึกยิ่งขึ ้น

เมื่ อ เรี ย นได้ ดี สมองจะเกิ ด แรงกระตุ้น ให้ ต้ อ งการเรี ย นรู้ ในขัน้ ที่สูงขึน้ จึงเป็ นเหตุผลว่าท�ำไมเราชอบเรี ยนวิชาที่เรี ยน ได้ ดี แต่ ห ากล้ มเหลวในการคิ ด สร้ างสรรค์ ห รื อ แก้ ปั ญ หา ให้ ถือเป็ นการเรียนรู้เช่นเดียวกัน การชี ้ให้ เห็นถึงข้ อบกพร่องและ ความพยายามปรับปรุงคือสิง่ ทีช่ ว่ ยให้ สมองเกิดการปรับแต่งแก้ ไข และน�ำไปสูก่ ารเรี ยนรู้ใหม่ได้

คงเห็นแล้ วว่า BBL เป็ นแนวทางที่เหมาะจะน�ำมาใช้ ในการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เพราะนอกจากจะช่วยให้ ผู้เรี ยนรักและสนใจในวิชาด้ านสะเต็ม ยังสามารถสร้ างเสริ มเติมเต็มประสิทธิภาพการเรี ยนรู้ให้ ดียิ่งขึ ้นอย่างเป็ นรูปธรรม สแกน QR CODE เพือรับชม Clip/GIF


Inside okmd

Inside

EEC ยูนิเซฟ ประเทศไทย กล่าวไว้ ว่า “เด็กในวันนี ค้ ือผู้ทีจ่ ะ ขับเคลื่อนอนาคตของประเทศในวันข้ างหน้ า” แต่ มี เ ด็ ก มากมายที่ไม่ได้ เกิดมามีโอกาสที่เท่าเทียม หลายคนไม่สามารถ เลือกชีวติ แบบที่ใฝ่ ฝันได้ และขาดโอกาสในการเติบโตอย่างเต็ม ศักยภาพ รัฐบาลไทยเห็นความส�ำคัญของการมอบโอกาสและ พัฒนาศักยภาพเด็กให้ เท่าเทียมทัว่ ถึง จึงเป็ นทีม่ าของการท�ำงาน เพื่ อ บ่ ม เพาะและสร้ างแรงบัน ดาลใจให้ แ ก่ เ ด็ ก และเยาวชน ใน 3 จังหวัดระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor หรื อ EEC) ซึง่ ประกอบด้ วย ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ผ่ า นการจัด กิ จ กรรม "ค่า ยวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ อุต สาหกรรมใหม่ หรื อ EEC Innovation Youth Camp" ซึ่ง เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า งส� ำ นัก งานเพื่ อ การพัฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) และ ส�ำนักงานบริ หารและพัฒนา องค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรื อ OKMD

โดยใช้ แ นวทาง STEAM + BBL เน้ น การส่ ง เสริ ม ให้ นัก เรี ย นได้ ล งมื อ ปฏิ บัติ จ ริ ง หลัง จากได้ รั บ ความรู้ พื น้ ฐาน ด้ านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้ องกับอุตสาหกรรมใหม่ เช่น เทคโนโลยี และวิศวกรรมหุ่นยนต์เบื ้องต้ น องค์ประกอบและหลักการของ เกมคอมพิวเตอร์ และแอนิเมชัน ความรู้พื ้นฐานและความเข้ าใจ เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอินเทอร์ เน็ตของสรรพสิ่ง พื ้นฐาน ทางวงจรไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ แ ละวงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ระบบ ไมโครคอนโทรลเลอร์ การน�ำเครื่ องมือควบคุมอัจฉริ ยะไปใช้ งาน ไปจนถึงพื ้นฐานที่เกี่ยวข้ องกับการบิน อากาศยาน และอวกาศ พื น้ ฐานด้ านกลศาสตร์ และระบบควบคุ ม กลไกอั ต โนมั ติ นอกจากนี ้ยังได้ ฝึกฝนด้ านการออกแบบเครื่องร่อนและเครื่ องบิน การทดลองควบคุมอากาศยานด้ วยซอฟต์ แวร์ จ�ำลองการบิน และอากาศยานต้ นแบบ เป็ นต้ น ซึง่ คาดว่าจะช่วยให้ นัก เรี ย น เกิดแรงบันดาลใจอันยิ่งใหญ่และได้ ค้นพบทางเลือกที่สามารถ น�ำไปต่อยอดในสาขาอาชีพที่ตนอยากเรี ยนต่อไป

คงเคยได้ยินผู้ใหญ่ถามเด็กเล็กๆ ว่า

“โตขึ้ น หนู อ ยากเป็ น อะไร” เด็ ก บางคนตอบได้ ใ นทั น ที แต่ เ ด็ ก อี ก หลายคนยังคงค้นหาค�ำตอบไม่เจอ ซึ่ง ไม่ใช่เรือ ่ งผิดหรือน่าประหลาดใจ เพราะ กว่าที่มนุษย์คนหนึ่งจะค้นพบตัวตนและ ความต้องการทีแ ั อาจใช้เวลา ่ ท้จริงได้น้น ยาวนานจนแทบไม่เหลือเวลาที่จะท�ำตาม ความชอบหรือความถนัดของตนได้

ส� ำ หรั บ แนวทางการส่ง เสริ ม ศัก ยภาพทรั พ ยากรมนุษ ย์ ใน 3 จังหวัด EEC ประกอบด้ วย

1) การจัดทีมปฏิบัติการลงพื้นที่

เพือ่ ไปท�ำงานอย่างใกล้ชดิ กับเยาวชนระดับมัธยมศึกษา ซึง่ เป็ น กลุม่ ที่สามารถกระตุ้นให้ เกิดแรงบันดาลใจในการเลือกสาขา วิชาชีพที่จะรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย

2) การจัดท�ำกิจกรรมประกอบหลักสู ตร และการจัดท�ำฐานข้ อมูลเพื่อใช้ ในการขยายผลต่อไป

3) การจัดค่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมใหม่ จ�ำนวน 4 กิจกรรม ได้ แก่ เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ เทคโนโลยีเกม และแอนิเมชัน อินเทอร์เน็ตของสรรพสิง่ หรือ IoT และเทคโนโลยี การบิน และอวกาศ ซึ่ง ใช้ การจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทาง “สะตีมศึกษา” (STEAM Education) ซึง่ ประกอบด้ วย 5 สาขา วิชา ได้ แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิ ตศาสตร์ ร่ วมกับการจัดการเรี ยนรู้ ตามหลักการ พัฒนาสมอง (Brain-based Learning: BBL)

I

19


20

5

5ive

5

แอปพลิเคชัน เรียนรูเ้ รือ่ ง STEM ทุกวัน นี้โลกแห่งการเรียนรู้ไม่ได้อยู่เพี ยงแค่ในห้องเรียน ห้ อ งสมุ ด และต� ำ รั บ ต� ำ ราต่ า งๆ หากแต่ ข ยายไปสู่ โ ทรทั ศ น์ คอมพิ วเตอร์ อินเทอร์เน็ต และสมาร์ตโฟน ซึ่ งช่วยอ�ำนวย ความสะดวกให้คนรุ่นใหม่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ ทุ ก เรื่ อ งที่ ต้ อ งการ ดั ง เช่ น 5 แอปพลิ เ คชั น ต่ อ ไปนี้ ที่ เ ข้ า มา ช่วยให้การเรียนรูเ้ รือ ่ ง STEM เป็นเรือ ่ งง่าย สะดวก และสนุกขึ้น

คณิตศาสตร์ | GeoGebra แอปพลิ เ คชั น สอนคณิ ต ศาสตร์ ที่ ร วบรวมองค์ ค วามรู้ ด้ าน คณิตศาสตร์ อย่างครบครัน ไม่วา่ จะเป็ นเรขาคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ สถิติ แคลคูลสั รวมถึง สูตรค�ำนวณและกระบวนการประยุกต์ใช้ ใน รูปแบบต่างๆ โดยน�ำเสนออย่างละเอียด ใช้ งานง่าย สามารถใช้ งานได้ ฟรี รองรับหลายภาษา รวมทัง้ ภาษาไทย และรองรับการใช้ งานใน หลากหลายระบบปฏิบตั กิ าร จึงจัดเป็ นเครื่ องมือสนับสนุนการจัดการ เรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้ วยนวัตกรรมรู ปแบบใหม่ที่น่าจะ ถูกใจทังผู ้ ้ สอนและผู้เรี ยน www.geogebra.org

ดาราศาสตร์และอวกาศ | NASA แอปพลิ เ คชั น ขององค์ ก ารบริ ห ารการบิ น และอวกาศ แห่งชาติ หรื อ นาซา ซึง่ รวบรวมข้ อมูลและองค์ความรู้จากนาซา ที่เกี่ยวกับโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศไว้ มากมาย น�ำเสนอ อย่างน่าสนใจในหลากหลายรูปแบบ อาทิ ภาพนิ่งและบทความ วีดทิ ศั น์ รายการโทรทัศน์ ข่าวและสารคดี รายการวิทยุ ข้ อความ จากทวิตเตอร์ การถ่ายทอดสดจากบนดาวเทียม และอื่นๆ ที่จะ ช่วยให้ ผ้ เู รียนสนุกสนานและตืน่ ตาตืน่ ใจไปกับข้ อมูลองค์ความรู ้ เกี่ยวกับดาวเคราะห์และระบบสุริยจักรวาล รวมถึงภารกิจของ มนุษย์ที่เกี่ยวข้ องกับโลกและอวกาศ www.nasa.gov/nasaapp


5ive

ชีววิทยา | Anatomy 4D แอปพลิเคชันที่นิยามตัวเองว่าเป็ น “พาหนะ” พาผู้ใช้ งาน เดินทางสู่ภายในร่ างกายมนุษย์ เพื่อดูและเรี ยนรู้ เกี่ยวกับ รูปร่าง ลักษณะ หน้ าที่ และการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ ผ่าน เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ที่จะช่วยให้ การเรี ยน การสอนวิชาชีววิทยาสนุกสนาน น่าสนใจ และสมจริ งยิ่งขึ ้น เพียงพิมพ์รูปอวัยวะที่ต้องการศึกษาลงบนกระดาษ จากนัน้ ใช้ สมาร์ ตโฟนสแกนรูป แอปพลิเคชันจะเปลี่ยนรูป 2 มิติให้ กลายเป็ นรูป 4 มิตแิ บบเสมือนจริ ง ซึง่ ผู้เรี ยนสามารถเลือกดู แต่ละส่วนของอวัยวะอย่างละเอียด ขยายเพือ่ ดูในเชิงลึก หรือ จะเปลี่ยนมุมมองระหว่างเพศชายและเพศหญิงก็ได้ http://anatomy4d.daqri.com

วิทยาศาสตร์และวิศวกรรม | Science360 แอปพลิเคชันของ National Science Foundation (NSF) ที่ รวบรวมความรู ด้​้ านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมทีน่ า่ สนใจจากทัว่ โลก น�ำเสนอในรูปแบบแกลเลอรี ภาพถ่ายและคลิปวิดโี อในมุมมองแบบ 360 องศาอันน่าตื่นตาตื่นใจ ผู้ใช้ งานสามารถคลิกที่แกลเลอรี เพื่อ เลือกดูเนื ้อหาของภาพถ่ายและวิดีโอที่สนใจ ดาวน์โหลดรู ปภาพ แบบความละเอียดสูง เซฟวิดีโอไว้ ดวู นั หลัง แชร์ ให้ เพื่อนดูผา่ นทาง สื่อสังคม รวมถึงติดตามข่าวสารเกี่ยวกับการวิจยั และการค้ นพบ ใหม่ๆ จากมหาวิทยาลัยและสถาบันที่ได้ รับการสนับสนุนจาก NSF www.nsf.gov/news/special_reports/apps

เรขาคณิต | isosceles : geometry sketchpad แอปพลิเคชันจากฝี มอื ของนักพัฒนาแอปฯ วัยทีนซึง่ ต้ องการสร้ างอุปกรณ์ทจี่ ะ ช่วยให้ การเรียนการสอนหรือการท�ำงานด้ านเรขาคณิตกลายเป็ นเรื่องง่ายและสนุก ส�ำหรับนักเรียน ครูผ้ สู อน ไปจนถึงคนท�ำงาน เช่น สถาปนิก วิศวกร และคณิตกร โดยผู้ใช้ งานสามารถใช้ เครื่องมือหลากหลายชนิดในแอปพลิเคชันเพือ่ วาดแผนภูมิ สร้ างรูปทรงเรขาคณิต รวมถึงหาค่าความชัน ความยาวเส้ นรอบวง และรัศมีของ รูปทรงที่ต้องการ นอกจากนี ้ยังสามารถแทรกข้ อความ สูตรการค�ำนวณ รูปภาพ หรื อแผนภูมิต่างๆ ไว้ ในภาพ รวมถึงเชื่ อมต่ออุปกรณ์ กับจอโทรทัศน์ ส�ำหรั บ การสอนหรื อการน�ำเสนองาน https://base12innovations.wordpress.com/apps

5

21


22

W

whaT's goiNg oN / Talk tO ZiNe

WHAT'S GOING ON 11-13 JUL 2018

อาคารเคเอกซ์ - Knowledge Exchange: KX มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี

The 3rd International STEM Education Conference (iSTEM-Ed 2018) การรวมตัว ของนัก การศึก ษา นัก วิจัย และผู้ทรงคุณ วุฒิ ด้ านสะเต็มศึกษาจากนานาประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้ ประสบการณ์ เทคนิคการสอน และแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู ้ ในด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศิลปะ รวมถึงบูรณาการความร่ วมมือด้ านสะเต็มศึกษา ระหว่างประเทศ โดยเปิ ดเวทีบรรยายและแลกเปลี่ยนภายใต้ หัวข้ อ STE(A)M Education: Step Forward to a Smart World เพือ่ สะท้ อนให้ เห็นความส�ำคัญของสะเต็มศึกษาและสะตีมศึกษา อันเป็ นรากฐานส�ำคัญทีจ่ ะน�ำพาประเทศก้ าวสูโ่ ลกใหม่ ผู้ทสี่ นใจ สามารถเข้ าร่วมฟั งบรรยายได้ โดยไม่มีคา่ ใช้ จา่ ย http://istem-ed.com/istem-ed2018/home.php

22-24 AUG 2018

ไบเทคบางนา

AGRITECHNICA ASIA & Horti ASIA 2018 การกลับมาอีกครั ง้ ของงานแสดงเทคโนโลยีเครื่ องจักรกล การเกษตรและนวัต กรรมเพื่ อ การเกษตรและปศุสัต ว์ หรื อ “อะกริ เทคนิก้า เอเชีย” และงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้ านพืชพรรณ ผัก ผลไม้ ดอกไม้ และกล้ วยไม้ แห่งเอเชีย หรื อ “ฮอร์ ติ เอเชีย” เพื่อกระตุ้นตลาดสินค้ าและส่งเสริ มนวัตกรรม เพื่อการเกษตรในเอเชีย โดยเป็ นการจัดแสดงและจัดจ�ำหน่าย เทคโนโลยี เครื่ องจักร และอุปกรณ์การเกษตรจากผู้ประกอบการ ชัน้ น� ำ จากทั่ว ยุโ รป พร้ อมด้ ว ยการสัม มนาทางวิ ช าการจาก นักวิชาการเกษตรและผู้ประกอบการด้ านเทคโนโลยีการเกษตร จากยุโรปในหัวข้ อทีน่ า่ สนใจและตอบโจทย์การพัฒนาการเกษตร ของไทยตังแต่ ้ ต้นน� ้ำถึงปลายน� ้ำ www.agritechnica-asia.com | www.horti-asia.com

TALK TO ZINE

Knowledge InnovaTiOn Trend: ThailaNd's Do or Die

ทำ�ความเข้าใจ “นวัตกรรม” และเรียนรู้ความสำ�คัญของนวัตกรรมในด้านการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมไทยกับ OKMD THE KNOWLEDGE TALK: “The Knowledge INNOVATION Series” ในทอล์คพิเศษ "Knowledge Innovation Trend: Thailand’s Do or Die" จาก ดร. ไพรินทร์ ชูโชติถาวร วันที่ 19 พฤศจิกายน 2559 “นวัตกรรมไม่ใช่วิทยาศาสตร์ แต่เป็ นความรู้สกึ ที่วา่ สิ่งนันสามารถขายได้ ้ ซึง่ เป็ นผล มาจากการสะสมความรู้ และสัญชาตญาณ แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมมีอยู่ 2 แนวทาง หนึง่ คือแนวคิดทางฝั่ งอเมริ กาที่มองว่านวัตกรรมสามารถเรี ยนรู้ได้ จากห้ องเรี ยน ส่วนอีก แนวคิ ด หนึ่ง มาจากทางฝั่ ง ยุโ รปที่ เ ชื่ อ ว่า นวัต กรรมเป็ น สิ่ ง ที่ ติ ด ตัว มาแต่ก� ำ เนิ ด และ ไม่สามารถเรียนรู้ได้ จากห้ องเรียน ซึง่ ยังไม่มขี ้ อยุตวิ า่ แนวคิดใดถูกต้ อง อย่างไรก็ดี นวัตกรรม ต้ องมี 2 องค์ประกอบ คือ 1) ท�ำให้ ผ้ บู ริ โภคได้ รับประสบการณ์ใหม่ และ 2) ท�ำให้ เกิด ผลกระทบในวงกว้ าง” ความแตกต่างระหว่าง “นวัตกรรม” กับ “ประดิษฐกรรม” ยุคสมัยของการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) สร้างความยัง่ ยืนให้ธรุ กิจด้วยนวัตกรรมทีต ่ อบสนองความต้องการของลูกค้า

สแกน QR CODE เพื่อดูคลิปเพิ่มเติม


Special FeaTure

เติมเต็ม STEM ด้วย A และ AT

ปั จจุบัน นอกจากค�ำว่า STEM ที่รูจั้ กกันทั่วไปแล้ ว ยังมี ค�ำใหม่เกิดขึน้ คือ STEAM ซึ่งมีแนวคิดที่เหมือนกับ STEM ทุกประการ หากแต่เพิ่มตัว “A” ซึง่ มาจาก Art ที่แปลว่า “ศิลปะ” เข้ าไปด้ วย แต่ Art ก็ไม่ได้ มาแบบเดีย่ วๆ เพราะพ่วงค�ำว่า Design หรื อการออกแบบ เข้ ามาด้ วยเป็ น Art + Design ท�ำไม STEM ต้องมี A? ปั จจุบนั เป็ นยุคความคิดสร้ างสรรค์ 4.0 (Creativity 4.0) ซึง่ ใครก็สามารถเป็ นนักสร้ างสรรค์ได้ แม้ จะไม่มสี นิ ค้ าหรือบริการ เป็ นโจทย์ก็ตาม นัน่ เป็ นเพราะทุกวันนี ้เราอยูใ่ นโลกยุค 4.0 หรื อ โลกยุคหลังเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งอะไรก็ เป็ นไปได้ แม้ แต่ การน�ำเอาโลกเสมือนมาผสานเข้ ากับโลกความเป็ นจริ ง หนึง่ ในความคิดสร้ างสรรค์ทปี่ ระสบความส�ำเร็จอย่างยิง่ ใหญ่ ในยุคความคิดสร้ างสรรค์ 4.0 คือ เกม Pokémon GO! ซึง่ เป็ น ตัวอย่างของการหลอมรวมความคิดสร้ างสรรค์เข้ ากับเทคโนโลยี ใหม่ล่าสุดในขณะนัน้ อย่าง Augmented Reality (AR) ซึ่ง น�ำพาวัตถุในโลกเสมือนเข้ ามาอยู่ในโลกจริ งจนเกิดเป็ นเกมที่ เปลี่ยนประสบการณ์การเล่นเกมของคนไปอย่างสิ ้นเชิง ท�ำให้ มี ผู้ดาวน์โหลดเกม Pokémon GO! มาเล่นมากกว่า 100 ล้ านคน ทัว่ โลก สร้ างรายได้ ให้ บริ ษัทผู้ผลิตราว 1,000 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ หรื อประมาณ 35,000 ล้ านบาท ในระยะเวลาเพียง 5 สัปดาห์ หลังการเปิ ดตัว Pokémon GO! จึงเป็ นตัวอย่างความส�ำเร็ จในระดับที่เป็ น เลิศของแนวคิด STEAM (STEM + A) กล่าวคือเป็ นการผนวก Science (วิทยาศาสตร์ ) Technology (เทคโนโลยี) Engineering (วิศวกรรมศาสตร์ ) และ Mathematics (คณิตศาสตร์ ) ซึง่ เป็ น รากฐานของการผลิตเกมทัว่ ไปเข้ ากับ Art (ศิลปะ) และ Design (การออกแบบ) จนได้ เป็ นเกมที่ มีรูปแบบการเล่นแปลกใหม่ มีภารกิจชวนติดตาม และมีการออกแบบอย่างประณีตสวยงาม

s

STEAM =

STEM + (Art & Design) ก้าวไปอีกขั้นกับ STEM + AT อีกหนึ่งแนวคิดที่น่าสนใจเกี่ยวกับองค์ความรู ้ที่เข้ ามาเสริ ม STEM คือแนวคิด STEM + AT ขององค์ กรเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริ กา (United States Agency for International Development: USAID) โดย AT มาจากค�ำว่า Accounting (การบัญชี) และ Tourism (การท่องเที่ยว) เนื่องจาก USAID เห็นว่าล�ำพัง STEM ไม่เพียงพอในโลก ความเป็ นจริ ง แม้ เติม A หรื อ Art เข้ าไปก็ยงั ไม่เพียงพอ เพราะ ในยุคที่ผ้ คู นและวัฒนธรรมมีการเคลื่อนย้ ายและเชื่อมโยงกัน อย่างไร พรมแดน ้ T หรื อ Tourism กลายเป็ นธุรกิจทรงคุณค่า ของประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวชันน� ้ ำ ระดับโลก ยิง่ เมือ่ เติม A หรื อ Accounting เข้ าไปก็จะช่วยเสริมให้ STEM มีทศิ ทางของธุรกิจหรือทักษะการเป็ นผู้ประกอบการซึง่ เป็ น หนึง่ ในทักษะส�ำคัญในศตวรรษที่ 21 ตัวอย่างของ STEM + AT ที่ประสบความส�ำเร็ จอย่างสูง คือ airbnb สตาร์ ตอัปที่ชวนคนทัว่ โลกให้ สร า้ งรายได้ จากการ “เปิ ดห้ องว่างเป็ นห้ องพัก” ซึง่ ตอบโจทย์การท่องเที่ยว 4.0 ที่ผ้ คู น นิยมจองห้ องพักและตัว๋ เดินทางด้ วยตัวเอง ท�ำให้ ในปี ที่ผ่านมา airbnb สร า้ งรายได้ ม ากถึง 2,600 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อ ราว 91,000 ล้ านบาท ย่างเข้ าสูป่ ี ที่ 18 ของศตวรรษที่ 21 โลกยังคงหมุนเร็ วตาม ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยี ทว่าแค่ รู้ด้าน STEM กลับไม่พอ ว่าจะเป็ นด้ าน STEAM โลกต้ องการทรัพยากรมนุษย์ที่รู รอบไม่ ้ หรื อ STEM + AT เพราะสามารถตอบโจทย์โลกยุคใหม่ได้ อย่าง เท่าทันมากกว่า สแกน QR CODE เพื่อรับฟั ง Audio text

23


" จะดีแคไหน ถามี Knowledge Center เกิดขึ้นที่ยานสยามสแควร..."

สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) The Office of Knowledge Management & Development


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.