กรณีศกึ ษาบทเรียนการฟื ้ นฟูพนื ้ ที่ประสบภัย ผ่ านกองทุนฟื ้ นฟูอาชีพหลังสึนามิ
กองทุนฟื ้ นฟูอาชีพผู้ประสบภัยพิบัติสึนามิภาคใต้ คือการรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่ได้ รับผลกระทบจากภัย พิบั ติ สึ น ามิ เพื่ อ ก่ อ ตั ง้ กองทุ น หมุ น เวี ย นฟื ้ น ฟู อ าชี พ และความเป็ นอยู่ ข องคนในชุ ม ชน โดยได้ รั บ การ สนับสนุนเงินทุนและกระบวนการการดาเนินงานจากมูลนิธิรักษ์ ไทย มีวัตถุประสงค์ ในครั ง้ แรกเพื่อสนับสนุน เงินทุนในการฟื ้ นฟู อาชี พแก่ ผ้ ู ประสบภัยผ่ านการรวมกลุ่ มและการจั ดตัง้ เป็ นกองทุนหมุ นเวี ยน ต่ อมาได้ มี วัตถุประสงค์ เพิ่มเติมเพื่อสร้ างวินัยทางการเงินโดยการส่ งเสริ มการออมทรั พย์ พัฒนาความสามารถในการ บริหารเงินกู้อย่ างมีประสิทธิภาพและก่ อให้ เกิดผลผลิต เสริ มสร้ างความสามัคคีและความร่ วมมือร่ วมใจของ คนในชุ ม ชน สร้ างความเข้ ม แข็ งทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของชุ ม ชนอั นน าไปสู่ ก ารพึ่ ง ตั ว เองของชุ ม ชน กองทุนหมุนเวียนยังมีบทบาทในการช่ วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ ไขปั ญหาการขาดแคลนเงินทุนเพื่อการ ประกอบอาชีพ และยังเป็ นทางเลือกที่สาคัญในการลดปั ญหาการกู้เงินนอกระบบ และการกู้เงินจากสถาบัน การเงินที่จะต้ องใช้ หลักทรัพย์ คา้ ประกัน เช่ นที่ดนิ และอื่นๆ ภายหลังจากสิน้ สุดโครงการโดยมูลนิธิรักษ์ ไทยกองทุนฟื ้ นฟูอาชีพผู้ ประสบภัยพิบัติสึนามิ ได้ รวมตัวกันใน นามเครื อข่ ายกองทุนผู้ ประสบภัยพิบัติสึนามิ จังหวัดกระบี่ พังงา ระนองโดยมีคณะกรรมการเครื อข่ ายที่มี จากการคัดเลือกและเสนอชื่อโดยคณะกรรมการเครื อข่ ายระดับจังหวัดขึน้ มา โดยมีบทบาทในการให้ การ ช่ วยเหลือ และให้ คาปรึ กษาในการบริ หารจัดการกองทุนที่มีปัญหา เช่ นปั ญหาด้ านการคืนเงินของสมาชิก ปั ญหาด้ านการบัญชี หรือการประสานงานกับหน่ วยงาน และการขับเคลื่อนกิจกรรมกองทุนร่ วมกัน