บ้านปลาภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 1

บ้านปลาภูมิปัญญาท้องถิ่น การตัง้ รับปรับตัวของชุมชนชายฝัง่ ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

“ในสมัยก่อนภูมิปัญญาจะใช้วสั ดุธรรมชาติ เอาต้นไม้ กิง่ ไม้ ผูก กับหินถ่วงเป็ นสมอ ซักพักก็มีปลา จากนัน้ ก็ไปดักเอา แต่ถ้าอยาก ให้มีปลานานๆ เราต้องมีกติกา”


บ้านปลาภูมิปัญญาท้องถิ่น การตัง้ รับปรับตัวของชุมชนชายฝัง่ โดย เสกสรร ชัญถาวร (มูลนิธิรกั ษ์ไทย สานักงานกระบี)่ ทะเลสาหรับผูค้ นส่วนใหญ่มกั นึกถึงความสดชื่น สนุ กสนาน ทีม่ สี คี รามเกรียวคลื่นเป็ นฟอง ซัดมาหา เราไม่ขาดสาย มีรสเค็มมากๆ รวมไปถึงชายหาด ยาวๆและวิเศษมากๆถ้ามีโอกาสได้เห็นโลกใต้ทะเล ทัง้ สัตว์น้ าและปะการังสีสนั สดใสแต่สาหรับชุมชน ชายฝงั ่ ที่ติดทะเลแล้วละก็ทะเลนัน้ คือชีวิตสาหรับ เขาเหล่านัน้ เลยทีเดียว ไม่ว่าเวลาจะเปลี่ยนผ่านมา นานแค่ไหนก็ตาม หลายคนเติบโตมาเพราะอาศัย ทรัพยากรในทะเล ที่เป็ นแหล่งอาหาร เป็ นรายได้ เป็ นอาชีพ แหล่งยารักษาโรค จนหลายคนเปรียบ ทะเลเป็ น ห้ า งสรรพสิน ค้า เลยก็ ว่ า ได้ อีก ทัง้ เป็ น เส้นทางคมนาคมสัญจร เป็ นที่เล่นสนุ กสนานเป็ นที่ พักผ่อนเป็ นบ้าน เป็ นโรงเรียนสาหรับพรานทะเล ทัง้ หลาย หรือแม้กระทังเป็ ่ นสถานทีส่ งบแก่ผวู้ ายชน วิถี ชีวิต กับ ทะเลจึง สัม พัน ธ์ ก ัน มาอย่ า งยาวนาน ั ่ านปากคลองและบ้านท่าคลอง ณ ชุมชนชายฝงบ้ ตาบลเกาะกลางอาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ก็เช่นเดียวกัน แต่เดิมเป็ นเมืองท่าเทียบเรือสินค้า และชุมชนประมง แต่ภาพดังกล่าวในวันนี้เปลีย่ นไปอย่างสิ้นเชิง หลังจากถนนกลายเป็ นการสัญจร หลัก และวิถกี ารดารงชีวติ ประมงพืน้ บ้านกลายเป็ นประมงเชิงพานิช “สมัย ก่ อ นในคลองมี ป ลาเยอะจริ ง ๆ ไปตกได้ แ ทบทุก วัน เพราะมี ก องหิ น กองปะการัง ธรรมชาติ ที่เป็ นที่ อาศัยของปลา เต็มไปหมด แต่พอคนที่เห็นแก่ได้ใช้ ระเบิ ดไประเบิ ดปลา บ้านปลาตามธรรมชาติ เลยหายไปเกือบหมด” ปญั ญา หวามาก ประธานกลุม่ รักบ้านปา่ เล บ้านท่าคลอง กล่าวนี่เป็นปญั หาหนึ่ง ทีส่ ง่ ผลกระทบในปจั จุบนั ของชุมชนแห่งนี้


ลาพังการเปลี่ยนแปลงด้านการใช้ประโยชน์ พน้ื ที่ในการเกษตร และภาคเศรษฐกิจ ที่เน้ นการผลิต อาหารเพือ่ การค้าเป็ นหลักเกิดลักษณะการใช้ประโยชน์ทะเล และพืน้ ทีเ่ กีย่ วข้อง นามาสูป่ ญั หา ทัง้ น้ า เสียจากเกษตรต้นน้ า จากบ่อกุ้ง ตะกอนดิน แหล่งอนุ บาลสัตว์น้ าโดยเฉพาะการลดลงของป่าชาย ั ่ งเผชิญ เลน ก็กระทบกับความสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ าแทบจะวิกฤติแล้ว ปจั จุบนั ชุมชนชายฝงยั กับการเปลี่ยนแปลงจากปรากฏการณ์ ภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งมีผลต่อ ความถี่ ความรุนแรง และความไม่แน่ นอนของคลื่นลมมรสุม ซึ่งเป็ นตัวแปรสาคัญของประมงชายฝงั ่ เพราะเมื่อมีมรสุมทีรุนแรงชาวประมงก็ไม่สามารถออกจับสัตว์น้ าได้ และจากสถานการณ์ ดงั กล่าว จานวนวันทีจ่ ะสามารถออกไปจับสัตว์น้ าสร้างรายได้หรือหาอาหารก็จะมีจานวนวันต่อปีทล่ี ดลง และ อุ ณ หภู มิข องทะเล ซึ่งจะเกี่ย วกับ ความสมบูร ณ์ ข องแหล่งอาหารของสัต ว์น้ า ต่ า งๆไม่ ว่า จะ เป็ น แพลงตอน ปะการังธรรมชาติ ดังทีม่ ขี ่าวเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว จากอุณหภูมนิ ้ าทะเลที่ สูงขึน้ ยังไม่รวมถึงโอกาสว่าจะสามารถจับสัตว์น้ าได้หรือไม่ในแต่ละครัง้ ทีอ่ อกไป ซึ่งล้วนมีตน้ ทุนที่ สูงขึน้ จากค่าเชือ้ เพลิง ทีสูงขึน้ มากในระยะเวลาเพียง 20 ปี ทผ่ี า่ นมา ชุมชนจึงพยายามหาทีด่ นิ เพื่อ ประกอบอาชีพด้านการเกษตรทดแทนแต่ในความเป็ นจริงเกษตรเพียงอย่างเดียวก็เอาไม่อยู่ ….. เพราะประสบปญั หาทีไ่ ม่ได้แตกต่างกันนัก ฉะนัน้ ทางรอดคือต้องมีทางเลือก ในสถานการณ์ขณะนี้ ทะเลสาหรับชุมชนชายฝงั ่ ยิง่ มีความสาคัญ เพราะเป็ นแหล่งอาหาร และอาชีพให้กบั ชุมชนได้เสมอและทุกคนสามารถไปใช้ประโยชน์ได้แต่จะทา ยังไงดีถา้ เราจะให้ทะเลกลับมาสมบูรณ์อกี ครัง้

“บ้านปลา สิ ต้องทาบ้านปลา…. ถ้ามีบา้ นปลา ก็มีปลา” เสียงในวงสนทนาจากวงกาแฟ


“ในสมัยก่อนภูมิปัญญาจะใช้ วสั ดุธรรมชาติ เอาต้นไม้ กิ่งไม้ ผูกกับหินถ่วงเป็ นสมอ ซักพักก็มีปลา จากนัน้ ก็ไปดักเอา แต่ถ้าอยากให้มีปลานานๆ เราต้องมีกติกา” เพียงคาพูดจากวงเล็กๆ และอยากให้เกิด เมื่อมีโอกาสจึงกลายเป็ นรูปธรรม หลังจากวิเคราะห์ทงั ้ สภาพ ความเสีย่ งเรื่องภัยพิบตั ิ และผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ แนวทางการไขปญั หาทีท่ ุกคน เห็นพร้อมกันส่วนหนึ่งคือ ความมันคงทางด้ ่ านอาหารและความปลอดภัยในการประกอบอาชีพประมง โดยเฉพาะช่วงฤดูมรสุม การฟื้ นฟูคลองลัด ลิกี โดยการทาบ้านปลา โดยอาศัยภูมปิ ญั ญาของชุมชน ทีช่ ุมชนใช้คอื ซัง้ ปลา จึงถูกพัฒนาเป็ นแผนงาน บ้านปลา ในประเทศไทยเป็ นคาศัพท์ทเี ่ กิดขึ้นมาจาก ั่ การท างานการจัด การทรัพ ยากรชายฝ งของผู ้น า ชุมชน และ นักพัฒนา ซึง่ ชือ่ ดัง้ เดิมทีเ่ ป็ นทีร่ จู้ กั กัน คือ คาว่า “ซัง้ ” ทีเ่ ป็ นภูมปิ ญั ญาของชาวประมงทีน่ าท่อน ไม้และทางมะพร้าวไปสร้างในลาคลองเพือ่ เป็ นทีอ่ ยู่ ั ่ นดามัน อาศัยปลาในคลองจะพบทัวไปในแนวชายฝ ่ งอั และ ได้ววิ ฒ ั นาการของวัสดุการสร้างบ้านปลาไปเป็ น ยางรถยนต์ ซึง่ ก็กลัวจะเกิดสารเคมีจากยางรถยนต์ อยู่ และ ท่อซีเมนต์ รวมทัง้ นาไปสู่การประดิษฐ์ด้วยวัสดุซเี มนต์ก่อเป็ นรูประฆังควา่ เจาะรู ซึง่ ในต่างประเทศมีการ ผลิตและมีลขิ สิทธิด์ ้วย ส่วนคาว่า “ปะการังเทียม” เป็ นคาศัพท์ทางราชการทีก่ รมประมงใช้ในความหมายว่า “เป็ น แหล่งอาศัยสัตว์น้ า ทีซ่ งึ ่ จะใช้วสั ดุมาตรฐาน เป็ นแท่งซีเมนต์ขนาดใหญ่โปร่งในรูปลูกเต๋าอาจจะมีขนาด ๑ ลูกบาศก์ เมตร เพือ่ เป็นแหล่งอาศัยสัตว์น้ าแล้วจะใช้ทาเป็ นแนวป้องกันเรือประมงอวนรุนอวนลากเข้าไปในเขตประมงชายฝงั ่

“ปะการั งเทียม” ในส่ วนกรมทรั พยากรทางทะเล จะตีความเพิ่มเติมเป็ นแหล่ งอนุรักษ์ ฟื ้ นฟู ทรั พยากรสัตว์ นา้ ทรั พยากรทางทะเล เช่ น การเพาะเลีย้ งปะการั งธรรมชาติ การพัฒนาแหล่ ง ดานา้ เพิ่มเพื่อลดผลกระทบแหล่ งดานา้ ปะการั งธรรมชาติ ซึ่งในประเด็นการสร้ างแหล่ งดานา้ นี ้ ทางสมาคมดานา้ ในจังหวัดภูเก็ต ได้ สนับสนุนให้ มีการสร้ างแหล่ งดานา้ เช่ น อนุสรณ์ การ ประสบภัยสึนามิใต้ นา้ ประติมากรรมใต้ นา้ รวมทัง้ การนาตู้รถไฟ ตู้รถขนขยะ เครื่ องบินรบ ประวัตศิ าสตร์ หรื อ นาเอาฐานขุดเจาะนา้ มันที่หมดอายุแล้ วมาสร้ าง เป็ นต้ น


ท่ า นคงเข้า ใจความหมายของ บ้ า นปลา และ ปะการังเทียม และ วัตถุประสงค์ วัสดุ ทีใ่ ช้ในการ สร้าง และ ประโยชน์ ท่จี ะเกิดขึน้ ในการสร้างบ้าน ปลา สร้างปะการังเทียม หรือ สร้างบ้านปลาด้วย ปะการังเทียม สาหรับชาวประมงชายฝงั ่ สนใจทีจ่ ะสร้างบ้านปลา ด้ว ยปะการัง เทีย มเพื่อ เป็ น แหล่ ง อาศัย สัต ว์น้ า สามารถเป็ นแหล่งอาหาร แหล่งรายได้ ซึ่งวิธกี าร จัดการก็จะมีสองแนวทางดังนี้ แนวทางที่ ห นึ่ ง สร้ า งปะการัง เที ย ม โดยกรม ประมง ซึ่งชุมชนต้องมีการประชาคมและเสนอขอ อนุ มตั ิการสร้างในระดับกรม ที่มกี รมประมงเป็ น ผูด้ แู ล บริหารจัดการโดยคณะกรรมการระดับชาติ อนุ ม ตั ิโ ครงการฯ และ มีก ารสร้า งตามระเบีย บ ราชการ แนวทางที่ส อง การสร้า งบ้า นปลาด้ว ยปะการัง เที ย ม ที่ จ ั ด การโดยชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ที่ มี ก าร ประชาคม สนับสนุ นโดยองค์การบริหารส่วนตาบล และ เสนอขออนุ มตั จิ ากคณะกรรมการพัฒนาหรือ บริหารจังหวัด โดยกรมประมงเป็ นเลขา ฯ อนุ มตั ิ ให้ดาเนินการร่วมมือกับองค์กรเอกชนได้ดว้ ย


บ้านปลา ณ คลองลัดลิกี

ั ญา หลังจากชุมชนได้เรียนรู้รูป แบบการจัดท าบ้า นปลาเพิ่มเติมโดยการศึกษาจากภูมปิ ญ ท้องถิน่ ตนเอง ดูงานพืน้ ทีอ่ ่นื และร่วมศึกษากับ นักวิชาการ สมโภชน์ นิ้มสันติเจริญ ทีป่ รึกษา โครงการ ได้สรุปรูปแบบบ้านปลาของชุมชนจะใช้ แบบซัง้ ปลา ทีเ่ ป็ นภูมปิ ญั ญาชาวบ้าน ดัง้ เดิม ที่เอาท่อนไม้กงิ่ ไม้ และทางมะพร้าวแต่ประยุกต์ ให้มวี สั ดุท่มี โี ครงสร้างแข็งเข้ามา ประกอบเพิม่ ขึน้ ซึง่ มีรปู แบบเป็ นทรงปิรามิดทรงต่าเพื่อใช้เป็ น ที่ ยึดเกาะและหลบซ่อนของ สัตว์น้ าหน้าดิน โดยใช้ทอ่ น้ าคอนกรีตขนาด 20-30 ซม. แทนการใช้ ถุงทรายหรือก้อนหิน ใน การถ่วงกิง่ ไม้ ในพืน้ ที่ ทีม่ ดี นิ เลนไม่หนาเพียงพอ วางซ้อนกันและมัดด้วยเชือกโดยใช้ไม้หรือ เสารัว้ คอนกรีตวางรองท่อน้ า ทีช่ ว่ ยให้มนคงขึ ั ่ น้ และไม่จมในพืน้ และอาจใช้ท่อใยหินขนาด 1020 ซม. วางเสริมเพือ่ ให้เป็ นทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์น้ าขนาดเล็กโดยใช้เสารัว้ คอนกรีตเป็ นตัวยึดให้ กองท่ อ อยู่ก ับ ที่โ ดยป กั ลงในพื้น ทายปนเลนและทรายปนกรวดจะท าให้บ้ า นปลาไม่ถู ก กระแสน้ าทีไ่ หลแรงพัดพาไป


จุดทีก่ าหนดให้จดั วางบ้านปลา ั่ บริเวณริมฝงคลองลั ดลิกี

คณะทางานชุมชน ตาบลเกาะกลางได้กาหนดพืน้ ที่จดั วางบ้านปลาในบริเวณริมคลองลัด ลิกี ซึ่งมีความ กว้างประมาณ 300 เมตร ความลึกของน้ าประมาณ 5-6 เมตรพืน้ ทะเลทีจ่ ดั วางเป็ นทรายปนเลน ซึ่งใน พืน้ ทีด่ งั กล่าวชุมชนได้ทดลองจัดวางซัง้ ปลาทีจ่ ดั สร้างโดยไม้และพุม่ ไม้สาหรับล่อให้ปลาเข้ามาอยูอ่ าศัย ซึง่ ได้ผลดีเป็ นทีน่ ่าพอใจ แต่เนื่องจากไม้และกิง่ ไม้จะมีอายุการใช้งานทีส่ นั ้ ดังนัน้ จึงต้องการจัดสร้างบ้าน ปลาทีม่ คี วามแงแรง ทนทานและมีอายุการใช้งานทีน่ านขึน้ สาหรับความสูงของบ้านปลาจะมีความสูงไม่ เกิน 1 เมตร เนื่องจากบริเวณทีว่ างมีความลึกประมาณ 4-5 เมตร มีการจัดทาทุ่นเพื่อแสดงตาแหน่ งของ บ้านปลา ซึง่ จะไม่เป็ นอุปสรรคต่อการเดินเรือ

ฐานซัง้ ปลา โดยนาท่อคอนกรีต ใช้ท่อ30 ซม. มัดเป็ นชุด และนา เสาปูนมาประกอบเป็ นฐานรอง

ฐานซัง้ ปลา ใช้วสั ดุคล้ายแบบที่ 1 แต่เพิ่มเสาปูนมาประกอบเป็ นโครง เพื่อ ลดการกลิ้งตัว (เหมาะพื้นที่ ปากคลอง ที่กระแสน้าแรง)


สาหรับการจัดวางบ้านเกาะกลางจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องจัดวางให้ถูกต้อง เนื่องจากมีขอ้ จากัดหลายด้าน ทัง้ ความลึกของคลอง กระแสน้ าทีไ่ หลแรง โดยเฉพาะในช่วงน้ าเกิด กระแสน้ าจะไหลแรงมากทัง้ 2 ด้าน การจัดวางบ้านปลาจะต้องวางเรียงตามกระแสน้ า เพราะหากการวางท่อขวางกระแสน้ าจะทาให้บา้ นปลา ั ่ ก กัด เซาะเพิ่ม ขึ้น เนื่ อ งจากการเปลี่ย นทิศ ทางของ อาจได้ร บั ความเสีย หายและอาจท าให้ช ายฝ งถู กระแสน้ าในแต่ละจุดจะวางประมาณ 5-6 กอง โดยจะให้วางเป็ นกองเล็กๆ แต่ละกองจะห่างกันประมาณ 3-5 เมตร และระหว่างจุดจะวางห่างกันประมาณ 200 เมตร เพือ่ ให้สตั ว์น้ ามีทอ่ี าศัยเพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ยงั จะช่วยให้มกี ารใช้ประโยชน์ในการจับสัตว์น้ าทีม่ ีประสิทธิภาพอีกด้วย

วางไปแล้ว เกิดอะไรขึน้ ผลจากการติดตามซึ่งมีทงั ้ ลงไปดาน้ าสารวจ และสอบถามจากผูม้ าใช้ประโยชน์ ปรากฏว่าตัวซัง้ ปลาการใช้ท่อคอนกรีต มามัดเป็ นชุดและมีเสาเป็ นฐานถ่วงน้ าหนักสาหรับกิง่ ไม้ โดยมี ทุ่ น ลอยน้ า นั น้ ช่ ว ยในการถ่ ว งน้ า ได้ดี ไม่ เ คลื่อ นไม่ จ มเลน ขณะเดีย วกัน น้ า ก็ ส ามารถลอดผ่ า นได้ ไม่ขวางทางน้ าเหมือนก้อนหิน ทางน้ าไม่เปลีย่ นโดยเฉพาะบริเวณปากแม่น้ า และภายในตัวท่อก็เพิม่ พืน้ ที่ อาศัยของสัตว์น้ าขนาดเล็กได้ดกี ว่าก้อนหิน อีกทัง้ เหมาะให้เกิดเพรียงและปะการังทีเ่ กาะขึน้ ค่อนข้างเร็ว อย่างเห็นได้ชดั ซึง่ จะเป็ นทัง้ ทีอ่ ยูแ่ ละแหล่งอาหารสัตว์น้ าวัยอ่อน นอกจากจะอาศัยเพียงกิง่ ไม้อย่างเดียว แต่การใช้ทอ่ คอนกรีต ทาให้มนใจจะสามารถใช้ ั่ ทดแทนและมีอายุยาวนานขึน้ ส่วนทีเป็ นกิง่ ไม้นนั ้ ได้ผุพงั และย่อยสลายไปส่วนใหญ่แล้ว จึงเห็นเฉพาะส่วนฐานเพราะใช้กงิ่ ทีค่ ่อนข้างมี ขนาดเล็ก ซึ่งชุมชนเห็นว่าต้องทาตามที่วางแผนไว้คอื นากิง่ ไม้มาเสริมทุกๆ 6 เดือน หรือ 1 ปี ขึน้ กับ ขนาดของกิง่ ไม้หรือท่อนไม้ทงั ้ นี้ในลักษณะพืน้ ที่ ทีเ่ ป็ นลาคลอง ชุมชนสรุปว่าจากการสังเกตเปรียบเทียบ พบว่าวัสดุ ธรรมชาติ เมื่อถูกแช่น้ าจนเริ่มเปื่ อยเน่ า จะมีกลิ่น ปลาจะชอบมาแทะและหลบซ่อนที่กอง มากกว่า เพราะมีลกั ษณะเป็ นโพลงเล็กๆ แต่ปญั หาคืออายุส ั ่นมากๆ สาหรับคอนกรีต จะได้ผลเมื่อมี เพรียงเริม่ มาเกาะ เริม่ มีหอย และปะการังเข้ามาบ้าง โดยพืน้ ที่ ทีเ่ ป็ นเลนหนาๆ ซึง่ ขุน่ มากๆ การเกิดของ ปะการังจะช้ากว่าพืน้ ที่ ทีม่ ที รายมากกว่า ฉะนัน้ ต้องอาศัยวัสดุธรรมชาติเข้ามาเสริม


ข้อมูลสารวจการใช้ประโยชน์ บา้ นปลา จานวนประมง 99

ชนิดเครื่องมือ

ชนิดของปลา

น้าหนัก

92

39

31 43

10

พ.ย.-56

14

417

225

43

ธ.ค.-56

ม.ค.-57

ก.พ.-57

มี.ค.-57

เม.ย.-57

พ.ค.-57

มิ.ย.-57

ก.ค.-57

การใช้ ประโยชน์ สิง่ ที่เห็นจากการสังเกตของคณะทางานคือ จานวนผู้มาใช้ประโยชน์ และช่วงเวลา มีคนในชุมชนและจากหมู่บา้ นใกล้เคียงเข้ามาใช้ประโยชน์ จบั สัตว์น้ าในพืน้ ที่ต่อเนื่อง จากบ้านท่าคลอง บ้านปากคลอง บ้านนาทุ่งกลาง และบ้านลิกี โดยเครื่องมือทีใ่ ช้เบ็ดเป็ นส่วนใหญ่ รองลงมาคืออวน ไซ สิง่ ที่เปลี่ยนไปคือ ในช่วงมีลมมรสุมเข้าชายฝงั ่ ที่เรือไม่ส ามารถออกทะเลได้ ก็มกั จะจอดเรือกันเป็ น ส่วนใหญ่ แต่ชว่ งเดือน พฤษภาคม จนถึงปจั จุบนั ซึง่ เป็ นช่วงมีมรสุม บางครัง้ เรือออกทะเลไม่ได้ แต่กลับ มีเรือมาตกปลาในพืน้ ทีว่ างซัง้ ซึง่ แต่ละวันไม่ต่ากว่า 3-5 ลา ช่วงเวลาแตกต่างกันไป ซึ่งในอดีตไม่มี และ จากการลองสุ่มสอบถามการจับสัตว์น้ าพบว่า พื้นที่คลอง สามารถจับสัตว์น้ าได้อย่างต่อเนื่ อง มีปลา เศรษฐกิจ เข้ามาอาศัย เช่น ปลาเก๋า ปลากะพง ปลาทราย ปลาเบน ปลากระบอก ซึงมีหลายขนาด ทีจ่ บั ได้ใหญ่ทส่ี ุดเท่าทีมขี อ้ มูลคือ ปลากะพงแดง ขนาด3.5 กิโลกรัม และอีกหลากหลายชนิด ปจั จุบนั ชุมชนใช้ประโยชน์ จากพืน้ ทีดงั กล่าว อยูท่ ่ี 23 ชนิดตามข้อมูลทีส่ ุ่มสารวจได้ ทีน่ ่ าสนใจคือปลาที่ เคยสูญหายไปได้กลับมาอีกครัง้ เมื่อมีบา้ นปลาคือปลานกแอ่น โดยจากการสุม่ สอบถาม ผูท้ าประมง 4 ราย ทาประมงเฉลีย่ 5 วัน สามารถจับสัตว์น้ ามีมลู ค่าดังนี้ เดือน

จานวนประมง ชนิดเครือ่ งมือ ชนิดของปลา

น้าหนัก(ก.ก.) ราคา (บาท)

พ.ย.-56 ธ.ค.-56 มี.ค.-57 ก.ค.-57

4 4 2 4

99 92 31 39

3 3 2 1

10 14 5 7

11,524 10,755 3,810 2,970


สัตว์น้าที่พบบริเวณซัง้ ปลา ตัวอย่างชนิดพันธุส์ ตั ว์น้าที่พบได้แก่

ปลาเก๋า

ปลากะพงแดง

ปลาข้างปาน

ปลานกแก้ว

ปลาอังเกย

ปลากะเบน

ปลากะพงขาว

ปลานกแอ่น

ปูมา้

ปลาใบปอ

ปลาโฉมงาม


ข้อตกลงชุมชน ถึงจะมีปลา มีบา้ นปลาแต่ถ้าไม่มกี ารจัดการที่ดี วัน หนึ่งต่อไปปลาก็หมด คณะทางานชุมชน ตาบลเกาะ กลางได้มีก ารก าหนดข้อ ตกลงในการด าเนิ น การ จัดสร้างบ้านปลาและข้อกาหนดในการใช้ประโยชน์ จากบ้านปลาในเบื้องต้น โดยจะไม่อนุ ญาตให้มกี าร เข้าไปทาการประมงในบริเวณบ้านปลาและบริเวณ ใกล้เคียงเป็ นเวลาอย่างน้อย 3 เดือนหลังการจัดวาง เพื่อ ให้สตั ว์น้ า มีโ อกาสขยายพันธุ์ และสามารถใช้ เครื่องมือประมงคือการใช้เบ็ดตกปลา และอุปกรณ์ท่ี ไม่ทาลายล้างทาประมงบริเวณบ้านปลาได้ อีกทัง้ ได้ กาหนดแนวเขตอนุ รกั ษ์ โดยใช้สญ ั ลักษณ์สที ุ่นเป็ น แนวเขต โดยจากริมคลองด้านในจนถึงแนวทุ่นสีขาว แดง ห้ามมีการจับสัตว์น้ าทุกชนิด ให้จบั ได้หน้าแนว ทุน่ เท่านัน้ นอกจากนี้จะเป็ นประโยชน์อย่างมากหาก มีการเผยแพร่ความรู้ท่ไี ด้จากการดาเนิ นงานบ้า น ปลาและผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศให้กบั คนทัง้ ในชุมชนและนอกชุมชนได้รบั ทราบและพัฒนาเป็ นเครือข่ายของกลุม่ ต่อไป


บ้านปลาแนวทางเดียวกัน แค่ต่างที่รปู แบบที่ตาบลเขาคราม พื้นที่ อ่าวตาบลเขาคราม เป็ นพื้นที่ ชาวประมงในพื้นที่ตาบลเขาครามและพืน้ ที่ตาบลเขาทอง เป็ น ผูใ้ ช้ประโยชน์เป็ นหลัก แต่จากสถานการณ์ทรัพยากรทางทะเลขาดแคลน กลายเป็ นหลายชุมชนทัง้ จาก พังงา และพืน้ ที่ขา้ งเคียงมาใช้ประโยชน์ จนเกิดการแย่งชิงทรัพยากร เพราะไม่เพียงพอ และจากการ ร่วมศึกษาวิเคราะห์ศกั ยภาพและความเปราะบางต่อผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศ ชุมชนจึง ต้อ งการที่จะฟื้ นฟู ท รัพยากรสัต ว์น้ า ใกล้ชุม ชน จึงได้มีโอกาสศึก ษาสภาพพื้น ที่ร่ว มกับ ที่ปรึก ษา โครงการและได้กาหนดพื้นที่จดั วางบ้านปลาในบริเวณอ่าวเขาครามบริเวณริมเกาะที่มปี ะการังตาม ธรรมชาติทเ่ี สื่อมโทรม และบริเวณคลองในบ้านเขาคราม จานวน 7 แห่ง สาหรับสภาพทัวไปของพื ่ น้ ที่ จัดวางบ้านปลาบริเวณริมเกาะในอ่าวเขาคราม ซึ่งเป็ นอ่าวด้านใน จะเป็ นบริเวณที่กระแสน้ าไหลไม่ แรงมาก พืน้ เป็ นทรายปนเลนหรือพืน้ ทราย มีเกาะต่างๆ คอยกาบังคลื่นลม ทาให้ปกติจะไม่มคี ลื่นลม แรงเหมือนในทะเลเปิ ดยกเว้นในช่วงทีม่ พี ายุคลื่นลมแรงทาให้ออกไปทาประมงไม่ได้มคี วามลึกของน้ า ประมาณ 5-8 เมตร คลองมีความกว้างประมาณ 100 เมตร


รูปแบบ ทีน่ าเสนอนัน้ เป็ นท่อซีเมนต์คอนกรีต ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 80 cm แต่ละจุดใช้ท่อ 25 ลูก โดยพยายามวางให้เกาะกลุ่มมากที่สุดเพราะถ้ากระจายแล้วก็จะไม่เกิดประโยชน์ ใดใดเลย ซึ่งเทคนิค คือ ต้องวางในวันที่ทะเลสงบมากที่สุด และถ้าหากจะได้ผลเร็วคือ ต้องวางใกล้แนวปะการังธรรมชาติ เดิมที่มอี ยู่ จากการศึกษาพบว่า วัสดุดงั กล่าว ช่วยให้เพรียงมาเกาะได้ค่อนข้างดี และเมื่อเพรียงมา เกาะ หอยและปลาก็จะเข้ามาหาอาหาร ถ้าหากมีความสมบูรณ์มากขึน้ ปะการังอ่อนอื่นก็จะเข้ามา สัตว์ น้ าก็จะหลากหลายมากยิง่ ขึ้น เข้ามาอาศัย หลังจากนัน้ คณะทางานได้จดั วางบ้านปลาเรียบร้อยแล้ว พร้อมทัง้ กิจกรรมการปล่อยพันธ์สตั ว์ น้ าร่วมกับสถานีพฒ ั นาป่าชายเลนที่ 26 และร่วมกับมูลนิธริ กั ษ์ ไทยจัดกิจกรรมให้ความรูเ้ รื่องบ้านปลา แก่เยาวชนและผูป้ กครอง บ้านไหนหนังและบ้านหนองจิก เพื่อ เข้า ใจและดูแ ลรัก ษาบ้านปลา ขณะเดีย วกัน คณะท างานก็ไ ด้ป ระชุ ม กับ คณะท างานและจัด เวที ประชาคม กับ 4 ชุมชน สาหรับกาหนดกติกา ร่วมกัน เพือ่ ให้เกิดการใช้ประโยชน์บา้ นปลา อย่างยังยื ่ น

โดยมีกติกาดังนี้ •ห้ามระเบิดปลา •ห้ามเบือ่ ปลา •ห้ามปื นยิงปลา •ห้ามใช้อวนล้อมกระทุ้งน้ า •ห้ามเรือปัน่ ไฟ ผูด้ าเนินความผิด จะถูก ดาเนินคดีตามกฎหมาย และ ถูกริบสัตว์น้าที่จบั ได้


บทเรียนจากบ้ านปลา •รูปแบบซัง้ ปลา ทีม่ โี ครงสร้างแข็งมากขึน้ จะทาให้ลดการลงทุนการทาซัง้ ปลาในระยะยาว โดยชุมชนสามารถต่อยอดโดยใช้เชือกและกิง่ ไม้ไปผูกจุดเดิมได้ตลอดเวลาเมื่อต้องการ ฟื้นฟูเพิม่ เติม สาหรับพืน้ ทีเ่ ดิม •รูปแบบซัง้ ปลา ต้องปรับเปลีย่ นตามสภาพพืน้ ที่ พืน้ ทีเ่ ลนใช้แบบไม้ปกั ได้ พืน้ ทีท่ รายควร ใช้แบบท่อคอนกรีตเสริมฐาน เพือ่ ลดการจมแทน เป็ นต้น •การวางบ้านปลาต้องดาเนินการในช่วงทีน่ ้ านิ่งทีส่ ุดเพื่อง่ายต่อการให้เกิดกองปะการัง ซึง่ จะมีลกั ษณะทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อการเพาะพันธ์สตั ว์น้ า •การกาหนดจุดควรอยูใ่ กล้แนวปะการังธรรมชาติ และเมือ่ วางแล้ว ควรอยู่ต่ากว่าน้ าทะเล ลงต่าสุดประมาณ 5 เมตร เพือ่ ไม่เกิดอันตรายสาหรับการสัญจรทางน้ า •การทาข้อมูลแผนทีเ่ พื่อกาหนดจุด ต้องมีเพื่อใช้สาหรับการอธิบายและแลกเปลีย่ น เพื่อ ตัดสินใจ และใช้สาหรับเวทีประชาคม


บทเรียนจากบ้ านปลา •การทาเวทีประชาคมเป็ นหัวใจสาคัญ ของการดาเนินการในพืน้ ที่ ว่าจะสามารถดาเนินการ ได้ห รือ ไม่ เพราะหน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ งจะดู ข้อ กฎหมาย แต่ ก็จ ะเห็น น้ า หนั ก ของการ ประชาคมเป็ นส่วนสาคัญในการเห็นด้วยกับโครงการ •การสร้างความเข้าใจและเข้าถึงแกนนาชุมชนข้างเคียง ต้องทาอย่างต่อเนื่อง และเมื่อ สาเร็จจะทาให้การกาหนดเขตการดูแล และเพิม่ ขยายจุดทาซัง้ ปลาในการฟื้ นฟู โดยทัง้ ชุมชนเองหรือสนับสนุนจากท้องถิน่ จะมีโอกาสสาเร็จมากยิง่ ขึน้ •ให้ความร่วมมือในการดาเนินงานแผนงานของท้องถิน่ อย่างต่อเนื่อง จะสามารถหนุ นเสริม งานของชุมชนได้ เช่นศูนย์การเรียนรู้ งบประมาณ และขยายพืน้ ทีบ่ า้ นปลาจากงบท้องถิน่


การจัด สร้ า งบ้ า นปลา เป็ นวิ ธี หนึ่ งที่ ช่ วยบรรเทาปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ น จาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงกับวิถีชีวิตและความ เป็ นอยู่ของชาวประมงพื้นบ้านได้ดีขึ้น บ้านปลาที่จด ั สร้างโดยชุมชน จะช่วยให้ ชุมชนมีแหล่งทาการประมงใกล้บ้า นโดยเฉพาะในช่วงที่มมี รสุมที่มรี ะยะเวลานานจนไม่ สามารถออกไปทาประมงได้ตามปกติ และช่วยให้มรี ายได้เพิม่ ขึน้ เนื่องจากมีสตั ว์น้ าทีอ่ ุดม สมบูรณ์ข้นึ และการจัดสร้างบ้านปลาสามารถจัดสร้างในพื้นที่ใกล้ชุมชน ทาให้ประหยัด ต้นทุนในการเดินทางออกไปทาการประมง ทัง้ ยังช่วยให้สามารถดูแลและจัดการบ้านปลาได้ สะดวกขึน้ ทีส่ าคัญบ้านปลาจะเป็ นเครือ่ งมือทีส่ าคัญทีใ่ ห้ชุมชนมาร่วมเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นข้อมูลและ ความคิด เห็น ซึ่ง โดยทัว่ ไปจะเป็ น การยากที่ใ ห้ชุ ม ชนมากพู ด คุ ย เกี่ย วกับ การอนุ ร ัก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อ ม จึ งเป็ นโอกาสที่ ดี ที่จ ะให้ ชุม ชนเห็น คุณ ค่ า และ ความสาคัญในการดูและบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชนและ บทบาทของบ้านปลาที่ ช่วยบรรเทาปั ญหาที่ เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ สาเหตุ ท่ีเ กิด วิธีก ารแก้ ไ ขหรือ บรรเทาความรุ น แรงและผลกระทบที่เ กิด ขึ้น จากการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ ลูกหลานของเรากาลังจะได้รบั อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ จึงต้อง รูว้ ธิ กี ารปรับตัวเพือ่ การดาเนินชีวติ ของชุมชนและลูกหลานในอนาคต

มูลนิธิรกั ษ์ไทย สานักงานกระบี่ 193/3 หมู่ที่7 ตาบลไสไทย อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 โทร:075-810186 www.raksthai.org www.greenforall.net www.facebook.com/Raksthai.BCRCC


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.