Siam Folk Tunes “South”
A New Composition based on Thai Folk Tunes for String Orchestra
Composed by Nora-ath Chanklum
Thursday, July 17, 2025
Chulalongkorn University Music Hall
อุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
เติบใหญ่และมีพัฒนาการทางด้านดนตรีอย่างต่อเนื่องในหลายๆ
นำเสนอในแต่ละฤดูกาลคอนเสิร์ต ประเภทของบทประพันธ์เพลงที่มีความหลากหลายใน คอนเสิร์ต
อีกทั้งจำนวนผู้ชมที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
พยายามที่จะพัฒนาทักษะดนตรีด้านเครื่องสาย เพื่อมาเป็นร่วมพัฒนาวงการดนตรีของไทย
ให้มีมาตรฐานทัดเทียในระดับสากล
การแสดงดนตรีในคำคืนนี้เป็นการแสดงสำเนียงเสียงสยาม
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2567
ในนามของวงซิมโฟนีออร์เคสตราแห่งจุฬาฯ
ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
สังเคราะห์องค์ความรู้จากบทเพลงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยกับแนวทางการประพันธ์เพลง
คลาสสิกตะวันตก อันนำไปสู่การสร้างสรรค์บทเพลงใหม่ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะตัว
บรรเลงด้วยวงเครื่องสายตะวันตก
นำมาใช้เป็นวัตถุดิบทางเสียงสำหรับการสร้างสรรค์บทเพลงใหม่ขึ้น
พื้นบ้านไทยกับการประพันธ์เพลงคลาสสิกในแนวทางของดนตรีตะวันตกสมัยใหม่
คงไว้ซึ่งจิตวิญญาณของท้องถิ่น หากแต่ยังเปิดพื้นที่ให้เสียงเหล่านี้ได้แสดงออกในบริบทใหม่ที่มี
ความร่วมส มัย เป็นการขยายพรมแดนความรู้ด้านดนตรีไทยและการบูรณาการทางวัฒนธรรม
Siam Folk Tunes “South”
A New Composition based on Thai Folk Tunes for String Orchestra
Composed by Nora-ath Chanklum
Siam Folk Tunes “South” is a practice -based music research project that aims to synthesize knowledge derived from Southern Thai folk music and Western classical composition approaches. The objective is to create a new musical work with a distinctive identity, scored for Western string orchestra, consisting of six movements with an approximate total duration of 60 minutes.
The research process began with an in-depth study of Southern Thai folk music, encompassing its historical context, musical forms, performance practices, sound characteristics, indigenous instruments, as well as its cultural, social, and traditional settings. Emphasis was placed on document -based sources. Selected folk melodies with strong potential were analyzed and interpreted as raw sound materials for the creation of new compositions.
In the compositional process, the researcher developed an approach that harmoniously integrates the identity of traditional Southern melodies with the structural and technical elements of Western composition. The analysis of folk sound characteristics such as scale systems, melodic contours, rhythmic patterns, gestures, and musical metaphors was employed as the foundation for creating new musical content.
The resulting work demonstrates the generation of new knowledge through the fusion of Thai folk music and contemporary Western composition, preserving the local spirit while enabling these sounds to be expressed in a new and contemporary context. It expands the boundaries of knowledge in Thai music and presents a potential model for cultural integration.
This composition serves not only as an example of applying creative research methodology to music creation but also contributes significantly to the development of contemporary Thai music, particularly in preserving, transmitting, and advancing the sound heritage of Southern Thailand through academically rigorous processes. Moreover, it may serve as a model or case study for emerging researchers aiming to pursue creative works in similar directions.
1. โหมโรงโนรา
2. ระบำเงาะ
3. ตันหยง
4. ตะลุง
5. นกเขามะราปี
6. รองเง็ง
ผูวิจัยไดเลือกบทเพลงโหมโรงโนราเปนเพลงแรกในเพลงชุดเสียงประสานปกษใตนี้ นอกจากการเปนเพลงโหมโรงที่มีความหมายวาเปนเพลงแรกของการแสดงแลว
ดังกลาวนี้ยังเปนบทเพลงประกอบการแสดงโนรา
และมีสำเนียงเพลงที่เปนเอกลักษณของ
ดนตรีภาคใตมากที่สุดบทเพลงหนึ่ง ผูวิจัยไดเลือกองคประกอบที่โดดเดน
บรรยากาศของบทเพลงโดยรวม
การแสดงถึงสำเนียงเพลงพื้นบ้านนั้น ตามความเห็นของผู้วิจัยพบว่าบางครั้งอาจมิใช่ เพียงแต่การคัดทำนอง หรือการเลียนเสียงของสำเนียงร้องและการบรรเลง
เลือกช่วงเสียงที่เหมาะสมของเครื่องดนตรีนี้จะทำให้สามารถเลียนเสียงโหม่งได้พอสมควร
ในบทเพลงต้นแบบผู้วิจัยได้ใช้จากแหล่งที่มา
เกิดความน่าสนใจของทำนองไทยในอีกรูปแบบหนึ่ง
เนื่องจากเป็นที่รู้จักและเกี่ยวโยงกับชื่อเพลงในท่อนที่ 2 นี้
ผู้วิจัยได้คัดสรรจุดเด่นของดนตรีเงาะ
ที่น่าสนใจคือสีสันสำเนียงดนตรี
ชีวิตโดยตรงก็คือถิ่นที่อยู่อาศัย
ผู้วิจัยได้เลือกทำนองหลักจากเพลงแขกเงาะหรือแขกยิ้ม ซึ่งเป็นเพลงไทยเดิมที่อาจจะ ตีความได้ว่า นำลักษณะเด่นของเงาะที่ศิลปินผู้ประพันธ์มีความประทับใจ
สำหรับการบรรเลงในการแสดงนาฎศิลป์และเป็นที่รู้จักจนถึงทุกวันนี้ นอกเหนือจากเพลงแขกเงาะแล้ว
สะท้อนถึงบุคลิกของเงาะที่เข้าใจในวงกว้าง
มีจุดมุ่งหมายเพื่อถอดทำนองหรือประพันธ์เพลงตามข้อเท็จจริง
ชนเผ่าที่อยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ภาคใต้ภายในประเทศไทย ผู้ประพันธ์ได้ใช้บทเพลงที่เกี่ยวข้อง
ด้วยลีลาทำนองที่ไพเราะติดหู มีทำนองที่ฟังเศร้าจากกุญแจเสียงไมเนอร์
ตีความในแง่มุมที่หลากหลาย
ที่สองของท่อนจะเป็นการปรับจังหวะให้เร็วขึ้น เพื่อแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของทำนอง
สามารถแปรเปลี่ยนไปตามเนื้อดนตรีและลีลาดนตรี
ท่อนตันหยงนี้
จะเริ่มด้วยการถอดทำนองและสำเนียงเพลงชาน้องหรือช้าน้อง
สัญลักษณ์ จึงทำให้เกิดระดับเสียงที่แปลกหู
สำเนียงพื้นถิ่นให้ใกล้เคียงที่สุด
ในท่อนตันหยงมีจุดเด่นคือการได้ทดลองวิธีการบรรเลงแบบเสี้ยวเสียง
น้อง ซึ่งเป็นอีกวิธีที่สามารถถ่ายทอดสำเนียงพื้นบ้าน
เช่นการเทียบเสียงหรือการวิเคราะห์ในเชิงอุโฆษวิทยา (music acoustic) ผสานกับศาสตร์ ดนตรีทั้งในด้านการบันทึกโน้ตและการปฎิบัติสำหรับเครื่องดนตรีสากล ก็น่าจะเป็นประโยชน์
ต่อศาสตร์ทั้งสอง
การใช้บันไดเสียงที่แตกต่างกันออกไป ทำให้ความรู้สึกของผู้ฟังก็จะเปลี่ยนไปตามบันได
พบได้บ่อยในภูมิภาคตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(grace note)
ก่อนที่ทำนองที่สร้างจากบันไดเสียงเปล็อกจากดนตรีกาเมลัน ซึ่งเป็นบันไดเสียงและส่วนเสียง
ประสานหลักของท่อนนี้และจะกลับมาอีกครั้งก่อนจะจบท่อน
ใหม่ซึ่งสื่อให้เห็นถึงความใกล้ชิดของวัฒนธรรมการเชิดหุ่นเงา การผ่องถ่าย
บันไดเสียงที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งแตกต่างจากบันไดเสียงในดนตรีไทยแบบดั้งเดิม
เล็งเห็นคุณค่าทางวัฒนธรรมของเพลงพื้นบ้านนี้
ดนตรีไทย โดยคงไว้ซึ่งสำเนียงและลักษณะเฉพาะของเพลงมลายูดั้งเดิม
ครูมนตรีไม่เพียงแต่รักษาทำ นองและจังหวะของเพลงเดิมเท่านั้น แต่ยังได้เพิ่มองค์ประกอบ ทางดนตรีไทยเข้าไปอย่างประณีต
กำหนดช่วงเสียงที่เหมาะสมให้ทำนองที่ไพเราะได้ทำงานด้วยความเป็นธรรมชาติ
ความอภิรมย์จากทำนองดั้งเดิมอันไพเราะ
การนำเสนอทำนองด้วยเสียงประสานที่มีสีสันที่หลากหลาย
เพลงเริ่มต้นด้วยท่อนนำ
วัฒนธรรมของดนตรีมลายูที่เชื่อมโยงกับอิทธิพลจากตะวันออกกลางและเอเชียใต้ แมจะมีการใชเทคนิคการแปรทำนองและการเรียบเรียงเสียงประสานหลากหลาย
แตผูวิจัยตั้งใจใหทอนนี้มีความเรียบงาย เพื่อเปนพื้นที่ใหผูฟงไดซาบซึ้งกับทำนอง
พื้นบานอยางเต็มที่ บทบาทของทอนนี้จึงเปรียบเสมือนชวงผอนคลายทางอารมณระหวางทอน
ท่อนเพลงนกเขามะราปีจึงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความสมดุลให้กับโครงสร้างทั้งชุดของ บทประพันธ์และยังทำให้ผู้ฟังได้ผ่อนคลายและดื่มด่ำกับทำนองได้ในท่อนนี้อย่างเ ต็มที่
Concerto No. 1 in A minor ของ Shostakovich โดยให้ความสำคัญกับแนวไวโอลินเดี่ยว
ซึ่งถือเป็นหัวใจของการแสดงรองเง็งดั้งเดิม
ประพันธ์เพลงประเภท concerto ซึ่งเป็นรูปแบบบทประพันธ์เพลงที่เน้นบทบาทของไวโอลิน
เดี่ยวในฐานะผู้นำทางดนตรีเช่นเดียวกันกับการแสดงรองเง็ง
ผู้วิจัยได้เขียนแนวไวโอลินเดี่ยวขึ้นใหม่โดยเฉพาะ
ยังเปิดพื้นที่ให้ผู้ฟังได้สัมผัสดนตรีรองเง็งในมิติใหม่
จากเพลงนกเขามะราปีด้วย
Menuhin School
Akiko Ono
University of Music and Performing Arts Vienna
Dora
Schwarzberg เธอเคยเข้าร่วมมาสเตอร์คลาสกับศิลปินและครูผู้มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ
Koichiro Harada, Nam Yun Kim, Mayuko Kamio, Boris Belkin, Boris Brovtsyn, Barnabás Kelemen และDimitry Sitkovetsky อีกทั้งยังเคยร่วมแสดงกับศิลปินชั้นนำอย่าง
Shlomo Mintz, Hagai Shaham, Charles Owen
Andrej Power (คอนเสิร์ตมาสเตอร์แห่งวง London Symphony Orchestra และคอนเสิร์ตมาสเตอร์หลัก แห่งวง Royal Stockholm Philharmonic Orchestra)
เธอได้รับรางวัลชนะเลิศและรางวัลสูงสุดจากเวทีการแข่งขันต่างๆมากมาย เช่น The
14th Arthur Grumiuax International Violin Competition, Tunbridge Wells International Music Competition, Osaka International Music Competition และ The Final Beethoven Music Competition ซึ่งทำให้เธอได้รับโอกาสไปแสดงคอนเสิร์ตที่งาน
Beethovenfest 2018
Mosonmagyaróvár
Carl Flesch Competition
Vercelli
(CU Symphony Orchestra)
(CU String Orchestra)
1st Violin Cello
Double Bass
2nd Violin