
แนวคิดและผลงานการออกแบบ
6.1 แนวความคิดและประเด็นในการออกแบบ
“ความตายนั้นเป็นปกติ แต่ความจริงมีชีวิตตลอดไป” การนำเสนอสถาปัตยกรรมในเชิงนามธรรมที่เกี่ยวข้องกับความตาย
โดยจะเปลี่ยนให้ความตายเป็นเรื่องง่ายเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ เพราะเป็นสัจธรรมว่าทุกคนต้องตาย แต่จะมีบางคนที่
การตายนั้นไม่ปกติหรือก็คือตายอย่างผิดธรรมชาติ ดังนั้นหน่วยงานนิติเวชจึงเข้ามาช่วยในส่วนนี้ โดยสถาปัตยกรรม สถาบันนิติเวชจะเป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนในการทำให้การตายที่ผิดปกติกลับมาสู่ความเป็นปกติ สถาปัตยกรรมจะมีส่วน ช่วยในการสร้างสภาพแวดล้อมที่พบเจอตามชีวิตประจำวันให้แก่ผู้ใช้งาน เพื่อช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และผู้ใช้งานที่เผชิญกับ ความหดหู่และเยียวยาผู้ที่เผชิญกับภาวะที่กระทบกระเทือนจิตใจให้กลับมาเป็นปกติได้ ผ่านความคิดที่ว่าการตายเป็นเรื่อง ปกติ งานที่ทำอยู่ทุกวันนั้นไม่ใช่งานที่ต้องมาเจอกับความหดหู่ หรือน่ากลัว แต่นี่คืองานธรรมดาอย่างหนึ่ง เป็นหน้าที่ หน้าที่หนึ่งที่ช่วยเหลือคนที่มีการตายที่ผิดธรรมชาติผ่านความจริงที่ค้นพบ

Normal stage of death
รูปภาพ 44 เส้นแสดงความต่อเนื่องของช่วงชีวิต
ที่มา ผู้จัดทำ

Abnormal stage of death Normal
รูปภาพ 45 เส้นแสดงความต่อเนื่องของช่วงชีวิตที่ผิดปกติ
ที่มา ผู้จัด

รูปภาพ 46 เส้นแสดงความต่อเนื่องของช่วงชีวิต
ที่มา ผู้จัดทำ
ประเด็นในการออกแบบฟาสาดจากแนวคิด “ความตายนั้นเป็นปกติ แต่ความจริงมีชีวิตอยู่ตลอดไป”
เป็นการนำเส้นกราฟคลื่นไฟฟ้าหัวใจของมนุษย์เมื่ออยู่ในสภาวะปกติ มาร่วมกับการเขียนโปรแกรมDynamoเพื่อสร้าง
Adaptive Façade
เพื่อเป็นการระลึกถึงมนุษย์ที่ต่อให้จะตายไปแล้ว แต่ความจริงเกี่ยวกับการตายหรือสาเหตุการตาย ของคนคนนั้นจะยังมีชีวิตอยู่ตลอดไปซึ่งเป็นความจริงที่เด่นชัด

รูปภาพ 47 Electrocardiograph (EKG)
ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 48 รูปสามมิติของฟาสาดในโครงการ
ที่มา โปรแกรม Dynamo

รูปภาพ 49 Script การเขียนฟาสาดของอาคาร
ที่มา โปรแกรม Dynamo
การนำเสนอผลงานการออกแบบครั้งที่ 1
ในการวางฟังก์ชันครั้งแรกได้แบ่งโซนออกเป็น 3 คือ ส่วนPrivate ได้แก่ ฝ่ายชันสูตร กลุ่มงานพิเศษ งานระบบไว้เป็น พื้นที่หวงห้ามเฉพาะเจ้าหน้าที่ ส่วนSemi-Private ได้แก่ ห้องประกอบพิธีและห้องรับรอง ส่วน Public คือห้อง
ประชาสัมพันธ์ ที่รับประทานอาหาร และที่จอดรถ การจัดวางฟังก์ชันและการสัญจรแบบนี้พบว่า circulationนั้นผสมกัน จนไม่สามารถแยกทางสัญจรของผู้ใช้แต่ละประเภทออกได้
รูปภาพ 50 ผังพื้นชั้นที่ 1


ที่มา ผู้จัดทำ
รูปภาพ 51 ผังพื้นชั้นที่ 2
ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 52 ผังพื้นชั้นที่ 3
ที่มา ผู้จัดทำ
จากการวิเคราะห์การวางผังพื้นทั้ง 3 ชั้นทำให้ทราบว่าระบบ
การจัดโซนหรือวางพื้นที่ควรจะแยกผู้ใช้งานให้ชัดเจนและมีการวางฟังก์ชันเสริมสำหรับ กรณีไม่คาดฝันเช่น การปีนรั้ว การบุกรุกของนักข่าวหรือญาติ ในทางกายภาพการวางMassอาคารรูปแบบตรงๆหันหน้า ทุกพื้นที่เข้าหาถนนมิตรภาพเป็นมุมฉากนี้ ทำให้ผู้เข้ามาในโครงการไม่สามารถมองเห็นป้ายโครงการหรือวัตถุที่แสดงถึง โครงการได้ และในส่วนของการรับแสง รับความร้อนและสะท้อนความร้อนนั้นยังมีปัญหาในเรื่องของพื้นที่ดาดแข็งทที่มาก เกินไป ทำให้อาคารร้อน
2
จากการนำเสนอแบบร่างครั้งที่ มีประเด็นที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบดังนี้
- ควรแยก Circulation ให้มีความชัดเจน
- แยก Zoning ให้ชัดเจน
- ควรมีการควบคุมการเข้าถึงของผู้ใช้งานประเภทต่างๆ
- ลดพื้นที่ดาดแข็งที่เกิดขึ้นหรือหาวิธีแก้ปัญหา
จากการนำเสนอผลงานการออกแบบครั้งที่1 ได้มีการปรับแก้แบบร่างโดย ปรับทิศทางของการหันหน้า
อาคารเปิดมุมมองการมองเห็นของผู้ที่มาใช้งานหรือสัญจรผ่านโครงการ รูปภาพ 53 การปรับทิศทางการวางอาคาร ที่มา ผู้จัดทำ ปรับเปลี่ยนโซนการวางฟังก์ชันให้มีความชัดเจนมากขึ้น ระหว่าง โซนของเจ้าหน้า-โซนของศพ-โซนของ ประชาชน รูปภาพ 54 การวางZoningและMassอาคาร แผนผัง 3 โซนการวางอาคาร


ที่มา ผู้จัดทำ ที่มา ผู้จัดทำ
แยกCirculationให้ชัดเจนระหว่าง ญาติ และ ศพ โดยให้ญาติมีสิทธิเข้าถึงได้แค่บริเวณที่จอดรถของญาติ เข้ามายังห้องโถงพักคอยที่รองรับญาติที่มาติดต่อราชการ พื้นที่รับประทานอาหารที่มีไว้บริการเจ้าหน้าที่และ
ประชาชนระหว่างรอรับบริการ เมื่อติดต่อที่จุดประชาสัมพันธ์แล้วถึงงจะได้รับอนุญาตให้เข้าถึงในส่วนของห้อง ประกอบพิธีและห้องดูศพ

รูปภาพ 55 การจัดวาง

จากนั้นเจ้าหน้าที่ตรวจรับวัตถุพยานจะนำวัตถุพยานส่งไปที่ห้องกระจายวัตถุพยานซึ่งจะทำหน้าที่จ่ายวัตถุพยานไป ตามห้องเตรียมวัตถุพยานของแผนกต่างๆตามชนิดของวัตถุพยาน ย้ายพื้นที่ส่วนของฝ่ายอำนวยการมาอยู่ชั้น 2 เพื่อลดการซ้อนชั้นและไม่มีความจำเป็นที่จะต้องแยกชั้นโดย ขยายพื้นที่ส่วนห้องปฏิบัติการให้เต็มโซนฝั่งซ้ายของอาคารและยังมีการเปิดCourt รับแสงธรรมชาติเหมือนเดิม ทำ ให้เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการได้เห็นทัศนียภาพของCourtด้านล่างที่ใช้เป็นลานพักผ่อนของเจ้าหน้าที่ และฝั่ง
ขวาของอาคารเป็นส่วนฝ่ายอำนวยการที่ย้ายจากชั้น3ลงมา ห้องฝ่ายอำนวยการและห้องของผู้บังคับการสามารถ มองเห็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นที่ลานอเนกประสงค์ได้ มีการแบ่งอาคารออกเป็นหลายก้อนอาคารเพื่อลดทอนความหนาของอาคารและลดพื้นที่ดาดแข็งที่เกิดขึ้น พื้นที่ดาดแข็งที่เกิดขึ้นสามารถแก้ไขโดยการปูกระเบื้องคอนกรีตโซลาร์สแล็ปและวางโซลาร์เซลล์เพื่อรับพลังงานที่ เกิดจากแสงอาทิตย์ในทางทิศใต้ของชั้นดาดฟ้า

รูปภาพ 56 ย้ายฝ่ายอำนวยการลงมาชั้น 2 ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 57 การแบ่งMassอาคารออกเป็นก้อนย่อยๆ
ที่มา ผู้จัดทำ
มีการปรับทิศทางการวางอาคารบางก้อนเพื่อเปิดมุมมองอาคารให้ถูกมองเห็นจากหลายๆมุม และเพื่อรักษา
ประโยชน์ในการใช้พื้นที่และแบ่งความสำคัญและจัดลำดับการเข้าถึงด้วยการแบ่งระดับพื้น หรือกั้นเขตการเข้าถึง ด้วยต้นไม้และมีการกั้นเขตด้วย Buffer Zone


แผนผัง 5 ทางสัญจรโดยรวมที่ถูกแก้ไข ที่มา ผู้จัดทำ มีการเพิ่มพื้นทที่สีเขียวเข้ามาช่วยในการผ่อนคลาย ให้เจ้าหน้าที่สามารถนั่งเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกันได้
และให้ญาติได้มีที่นั่งพักเพื่อผ่อนคลายจากสถานการณ์ที่ตึงเครียด

รูปภาพ 59 พื้นที่สีเขียวที่เกิดขึ้นตามบริเวณต่างๆของโครงการ
ที่มา ผู้จัดทำ




รูปภาพ 62 รูปตัดและตำแหน่งของโครงสร้างอาคารที่ใช้ในโครงการ ที่มา ผู้จัดทำ รูปด้านอาคารทางทิศเหนือและรูปด้านอาคารทางทิศใต้ รูปภาพ 63 รูปด้าน ที่มา ผู้จัดทำ


แผนผัง 6 Function Diagram
ที่มา ผู้จัดทำ

ผลการออกแบบผังพื้น

รูปภาพ 65 ผลการออกแบบผังพื้นชั้น 1ขั้นสมบูรณ์
ที่มา ผู้จัดทำ




รูปภาพ 68 รูปด้านหน้าโครงการ ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 69 รูปด้านข้างโครงการ ซอยเทพผาสุก
ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 70 รูปด้านข้างโครงการ (ฝั่งตึกไทยสมุทร)
ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 71 รูปด้านหลังโครงการ
ที่มา ผู้จัดทำ

รูปภาพ 72
ทัศนียภาพเมื่อมองจากภายนอกโครงการ ที่มา ผู้จัดทำ













และตรงตามมาตรฐานแล้ว ผู้ออกแบบอาคารนิติเวชหรืออาคารที่คล้ายคลึงการควรคำนึงถึงสุขภาพจิตของผู้ที่จะมาใช้งาน อาคารด้วย ขั้นตอนเก็บรวบรวมข้อมูลและการสัมภาษณ์ควรจะต้องสัมภาษณ์มุมมองทัศนคติหรือแนวคิดของผู้ใช้งานด้วยว่ามี ความเห็นต่องานที่ทำอยู่อย่างไร หรืองานที่ทำอยู่นี้ส่งผลต่อจิตใจมากน้อยเท่าไร เพื่อเป็นการทำความเข้าใจมุมมองของผู้ที่จะ เข้าไปใช้งานจริงในพื้นที่ที่ออกแบบ ข้อเสนอแนะสุดท้ายคือการออกแบบอาคารนิติเวชจำเป็นที่จะต้องเป็นไปตามหลักการ มาตรฐานที่ถูกกำหนดไว้ แต่ทัศนคติหรือมุมมองในการออกแบบงานอาคารนิติเวชจะต้องมีความคิดที่ยืดหยุ่น เปิดกว้างและมี หลักการสนับสนุนที่มากพอ เพื่อนำเสนอมุมมองใหม่ๆทางสถาปัตยกรรมเกี่ยวกับนิติเวชหรือนิติวิทยาศาสตร์ต่อไป
เอกสารอ้างอิง
ภาษาไทย
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและ สภาพแวดล้อม. กระทรวงสาธารณะสุข.
ศรันยา สีมา. (2565). การชันสูตรพลิกศพ. ร้อยเรื่องเมืองไทย, 1. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2478). หมวด 2 การชันสูตรพลิกศพ. ใน อนุวัตน์จาตรนต์, อาทิตย์ทิพอาภา, และ เจ้าพระยายมราช, ประมวญกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (หน้า 59). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา.
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2565). สถิติคดีอาญาคดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ จำแนกตามประเภทความผิด ราย จังหวัด พ.ศ. 2560 - 2564. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.
ออนไลน์ กรมที่ดิน. (December 2023). ค้นหารูปแปลงที่ดิน https://landsmaps.dol.go.th/ ศูนย์บริหารความปลอดภัย ชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม. (2565). ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และ เครื่องมือ. Faculty of Tropical Medicine:
https://www.tm.mahidol.ac.th/research/ORIC/Chemical%20Safety/PhysicalIssues.pdf
https://pr.moph.go.th/print.php?url=pr/print/2/03/181747/
ArchDaily. (19 May 2013). Legal Medical Institute of Granada ArchDaily:
https://www.archdaily.com/373710/legal-medical-institute-of-granada-andres-lopez-jesus-bozzo-yrosa-palacios?ad_source=search&ad_medium=projects_tab
ArchDaily. (23 September 2013). Netherlands Forensic Institute / KAAN Architecten
https://www.archdaily.com/428406/netherlands-forensic-institute-claus-en-kaanarchitecten?ad_medium=gallery
Fujen Wang, Indra Permana, Citra Chaerasari, Kwowhei Lee, Tongbou Chang, และ Dibakar Rakshit. (19 January 2022). MDPI MDPI: https://www.mdpi.com/2227-9032/10/2/193
Google Maps. (2023, December). Retrieved from Google Maps:
https://www.google.com/maps/place/Institute+of+Legal+Medicine+of+Granada/
Google Maps. (10 December 2023). Google Maps. https://www.google.com/maps/place/แผนกนิติเวช+
Google Maps. (2024, January 3). Retrieved from Google Maps: https://www.google.com/maps/place/Office+of+Forensic+Science/
Netherlands Forensic Institute. (2023). NFI. Retrieved from https://www.google.com/maps/place/Netherlands+Forensic+Institute+(NFI)
The American Institute of Architects. (2024). Philadelphia Forensic Science Center. Retrieved from https://www.aiatopten.org/node/150
ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์

ชื่อ-นามสกุล ชนิสรา ศรีหารัตน์
รหัสนิสิต 62011110027
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรีสาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วัน เดือน ปีเกิด 22 สิงหาคม 2543
ที่อยู่ 333/23 หมู่ 12 ตำบลแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
เบอร์โทรศัพท์ 063-7413515