“ตัวอักษร” ทีป่ รากฏในสิ มอีสาน : ขนบการใช้งานผ่านฮูปแต้ม เฉลิมพล แสงแก้ว สิ ม เป็ นภาษาที่คนโบราณอีสานเรี ยกพระอุโบสถ ในภาษาไทยภาคกลาง ซึ่ งคาว่า สิ ม มาจากคาว่า “สี มา” หรื อ “เสมา” หมายถึง หลักเขตการทาสังฆกรรมหรื อสถานที่ใช้ประชุมทาสังฆกรรมของพระสงฆ์ เช่น สวดพระ ปาติโมกข์ อุปสมบท เป็ นต้น สี มาที่ปักเขตพระอุโบสถสาหรับทาพิธีสงฆ์เรี ยกว่า พัทธสี มา ส่ วนสี มาที่สงฆ์ไม่ได้ปักเขตและมิได้กระทา พิธีกรรม เรี ยกว่า อพัทธสี มา พระอุโบสถมีใบเสมาเป็ นสิ่ งแสดงที่หมายนิมิตล้อมรอบตัวอาคาร 8 จุด เพื่อกาหนดเขต วิสุงคามสี มา เขตสังฆกรรมภายในองค์พทั ธ์สีมาถือว่าศักดิ์สิทธิ์ เป็ นสถานสมมุติแห่งความดีงามโดยเฉพาะสิ มอีสาน แต่อดีตจะถือกันเคร่ งครัดมากว่า สตรี จะล่วงล้ าเข้าไปในเขตนั้นมิได้ เป็ น “ขะลา” เป็ นสิ่ งมิบงั ควร แม้ในเวลาบวชภิกษุ สามเณรที่กระทากันในสิ ม ตอนจะถวายบาตร จีวร จะต้องกระทากันตรงบริ เวณมุขที่ยนื่ ออกมาอันเป็ นบริ เวณภายนอก ที่ปักใบเสมา (ไพโรจน์ สโมสร, 2532) วิโรฒ ศรี สุโร (2536) ได้แบ่ง สิ มอีสาน เป็ น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ตามการใช้สอย คือ สิ มน้ า (อุทกกเขปสี มา) และสิ มบก ซึ่ งสิ มบก สามารถแบ่งออกได้อีก 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1. ชนิดสิ มโปร่ งหรื อสิ มโถง ซึ่ งแยกออกได้อีก 2 ประเภทดังนี้ 1.1 สิ มโปร่ งพื้นบ้านบริ สุทธิ์ แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ 1.1.1 แบบไม่มีเสารับปี กนก 1.1.2 แบบมีเสารับปี กนก 1.2 สิ มโปร่ งพื้นบ้านประยุกต์โดยช่างพื้นบ้าน (รุ่ นหลัง) 2. ชนิดสิ มทึบ แยกออกได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 2.1 สิ มทึบพื้นบ้านบริ สุทธิ์ แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ 2.1.1 สร้างด้วยไม้ 2.1.2 สร้างด้วยอิฐถือปูน แบ่งเป็ น 2 แบบคือ แบบไม่มีเสารับปี กนก และแบบมีเสารับปี กนก 2.2 สิ มทึบพื้นบ้านประยุกต์โดยช่างพื้นบ้าน(รุ่ นหลัง) ซึ่ งแบ่งตามช่างที่ทา ได้ 2 แบบ คือ 2.2.1 ใช้ช่างพื้นบ้านไท-อีสาน 2.2.2 ใช้ช่างญวน หรื อรับอิทธิ พลช่างญวน แบ่งเป็ น 4 แบบ คือ แบบไม่มีมุขหน้า แบบมีมุขหน้า แบบมีมุขหน้าและมุขหลัง และแบบมีระเบียงรอบ 2.3 สิ มทึบพื้นบ้านผสมเมืองหลวง(กรุ งเทพฯ) 2.4 สิ มทึบที่ลอกเลียนเมืองหลวง(กรุ งเทพฯ) จากการแบ่งประเภทของสิ ม ออกเป็ นประเภทต่างๆของอาจารย์วโิ รฒ ศรี สุโร นั้น จะเห็นได้วา่ เป็ นการแบ่ง ตามโครงสร้างตัวสิ ม แบ่งตามวัสดุที่ใช้สร้าง แบ่งตามช่างที่ทา และแบ่งตามศิลปะที่ปรากฏในตัวสิ ม ซึ่งในตัวสิ มแบบ