Bureau Veritas Certification Newsletter

Page 1

Bureau Veritas Certification E-Newsletter ISSUE 4

Mr. Quality - อุตสาหกรรมอาหารกับมาตรฐานสากล BV Guest - อุตสาหกรรมไทยปรีดา เพิ่มศักยภาพโรงงาน ด้วยมาตรฐาน ISO 22000 Health & Safety - เรื่องร้อนๆหนาวๆของสาวออฟฟิค


AGRI & COMMODITIES Inspection Servi vices es

Delivering Assurance on the quality and quantity of your Agrifood shipments Grains, Rice and other Agri-products are surveyed and fumigtion by Bureau Veritas inspectors for Quality, Weight, Quantity, Packing, Marking, Condition inspections as well as draft surveys, holds cleanliness inspection, sampling for analysis purposes in warehouses, factories, at loading, discharge, during transhipment, trucks, barges, containers and vessels.

Fore more details please contact: Bureau Veritas Thailand International Trade Division 51/11-12 Moo 9, Soi Sukhumvit 105 (La Salle 77), Sukhumvit Road, Bangna, Bangkok 10260, Thailand Tel: +66 2748 7487 Fax: +66 2398 0455 Email: nirut.klaokliang@th.bureauveritas.com

Visit us on: www.bureauveritas.co.th

Marine Industry I n s p e c t i o n & Ve r i f i ca t i o n i n s e r v i ce Health, Safety & Environment Construction Certification Government Services & International Trade


MR.Quality

Editor Note แม้​้ปัญหาเศรษฐกิจจะรุมเร้าทั่วโลก แต่ประชากรส่วนใหญก็ยัง ต้องบริโภคอาหารเพื่อมีชีวิตอยู่ในสังคม อุตสาหกรรมอาหารจึง ยังคงสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ แม้จะประสบภาวะจากพิษ เศรษฐกิจก็ตาม สิ่งสำคัญที่อยู่คู่กับกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารก็คือ คุณภาพและ ความปลอดภัย ซึ่งผู้บริโภคให้ความใส่ใจเป็นอย่างมาก ดังนั้น ผู ้ ผ ลิต จึ ง ต้ อ งมี ม าตรฐานระบบการจั ด การความปลอดภั ยของ อาหาร เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับคู่ค้า และผู้บริโภค วารสารออนไลน์ฉบับนี้จีงนำเสนอสาระความรู้ด้านมาตรฐานอา หารปลอดภั ย สำหรั บ กลุ ่ ม อตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังมีกรณีศึกษาที่น่าสนใจของอุตสาหกรรมไทยปรีดา ผู้ผลิตซอสปรุงรส ที่มีการประยุกต์ใช้มาตรฐาน ISO 22000 เพื่อเสริมศักยภาพให้กับโรงงาน ทำให้เราได้เห็นมุมมองดีๆใน การนำมาตรฐานมาประยุกต์ใช้

04...อุตสาหกรรมอาหารกับมาตรฐานสากล 06...ไขกลยุทธ สู่มาตรฐาน ISO 22000 เพื่อการแข่งขันใน ตลาดโลก 09...ตรวจสอบคุณภาพข้าวเพื่อการส่งออก BV Guest

11...อุตสาหกรรมไทยปรีดา เพิ่มศักยภาพโรงงาน ด้วยมาตรฐาน ISO 22000 Love Earth

13...80 วิธีหยุดโลกร้อน ตอนจบ Health & Safety

16...เรื่องร้อนๆหนาวๆของสาวออฟฟิค

19...รอบรั้ว BV 20...BV Calendar

04 09

ยั ง มี บ ทความดี ๆ ให้ ท ่ า นผู ้ อ ่ า นได้ เ ก็ บ เกี ่ ย วความรู ้ อ ี ก มาก แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ กองบรรณาธิการ

14

Copyrights c 2009 Issue 4, 2009 Bureau Veritas Certification Newsletter is a publication of the System Certification Service Department. Design and content by Duangkamol Jarupatrakorn, Marketing Communication Bureau Veritas Certification Newsletter office : 16th floor, Bangkok Tower, 2170 New Petchburi Rd., Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310 Thailand Tel. 0 2670 4800 Fax: 0 2718 1941 E-mail : pr.thailand@th.bureauveritas.com website : www.bureauveritas.co.th

03


Mr. Quality

อุตสาหกรรมอาหารกับมาตรฐานสากล โดย วรพันธ ยุทธทองหลาง, Lead Assessor บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น ประเทศไทย

04

ปจจุบันการแขงขันในตลาดโลกสําหรับธุรกิจอาหารมี คอนขางมาก เนื่องจากธุรกิจอาหารเองยังมีความหอมหวนที่เชิญ ชวนใหผูคารายใหมกระโดดเขามารวมวงเปนผูผลิต เพื่อแชร สวนแบงทางการตลาดอยูเสมอ ทั้งนี้อาจเนื่องจากธุรกิจอาหาร เปนธุรกิจที่ไดรับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจเปนลําดับทายๆ สวนสาเหตุที่เปนเชนนั้นพอจะคาดเดาไดวาอาหารยังเปนหนึ่งใน ปจจัยสี่ที่มนุษยยังคงตองการ การสรางความแตกตางจากคูแขงในตลาด เปนอีกหนึ่งในกล ยุทธที่สามารถนํามาใชเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ และใชชวงชิงสวน แบงทางการตลาดได ซึ่งหนึ่งในการสรางความแตกตางที่ นาสนใจ อีกทั้งยังมีประโยชนหลายทางก็คือการจัดทําระบบ มาตรฐานใหกับองคกร เพราะนอกจากจะทําใหการทํางานของ องคกรเปนไปอยางมีระบบระเบียบแลว การที่องคกรไดรับการ รับรองระบบมาตรฐานนั้น ยังสรางความเชื่อมั่นใหกับผูบริโภค กับองคกร และผลิตภัณฑขององคกร (รวมถึงแบรนด) อีกดวย ในปจจุบันระบบมาตรฐานสําหรับธุรกิจอาหารมีมากมาย หลายมาตรฐาน แตในวันนี้จะขอพาทุกทานไปรูจักกับระบบ มาตรฐานยอดนิยมสําหรับธุรกิจอาหาร ซึ่งมีดังนี้ 1. GMP 2. HACCP

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

3. ISO22000:2005 4. Global Standard for Food Safety (BRC Issue 5) 5. International Food Standard Version 5 เพื่อใหเกิดความชัดเจนของแตละตัวมาตรฐาน จะขออธิบาย รายละเอียดของแตละมาตรฐานพอสังเขป ดังนี้ GMP GMP หรือชื่อเต็มก็คือ Good Manufacturing Practice หมายถึงหลักเกณฑวิธีการที่ดีในการผลิตอาหารเพื่อใหไดอาหาร ที่มีความปลอดภัยตอผูบริโภค ซึ่งสําหรับในบานเรานั้น การ ประยุกตใช GMP ในการผลิตไดกลายเปนกฏหมายบังคับไป แลวในบางธุรกิจ ซึ่งโดยปกติแลว GMP ก็คือเปนพื้นฐาน สําหรับโรงงานผลิตอาหารโดยทั่วไปที่ตองปฏิบัติ หัวขอยอย สําหรับมาตรฐาน GMP ตามแนวทางของทาง CODEX มีดังนี้ - การควบคุมกระบวนการผลิตในขั้นตน - การออกแบบ และการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ ตลอดจน ระบบสนับสนุนการผลิต - การควบคุมกระบวนการผลิต - การบํารุงรักษา และการดูแลสุขาภิบาล - บุคลากรสุขลักษณะสวนบุคคล - การขนสง


Mr. Quality

- การใหขอมูลผลิตภัณฑ รวมถึงระบบการชี้บง และการ สอบยอนกลับ - การฝกอบรม HACCP HACCP หรือ Hazard Analysis Critical Control Point เปน ระบบการวิเคราะหอันตรายในกระบวนการผลิต เพื่อหาจุดวิกฤติ ที่ตองมีการควบคุม ซึ่งหากจะขยายความแลวก็หมายถึงเปนการ ตรวจสอบวาขั้นตอนใด หรือวัตถุดิบรายการใดในกระบวนการ ผลิตที่อาจจะมีอันตรายตอผูบริโภค จากนั้นใหกําหนดมาตรการ เพื่อควบคุมนั่นเอง ทั้งนี้ในระหวางขั้นตอนการกําหนดมาตรการ ควบคุมนั้น จะมีวิธีการพิจารณาดวยวาจุดใดที่เราตองใหความ สําคัญเปนพิเศษ (ซึ่งเปนจุดที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑตอผูบริโภค) นั่นก็คือจุดวิกฤติ หรือที่เรียกวา CCP (Critical Control Point) นั่นเอง ISO22000:2005 มาตรฐาน ISO22000 เปนมาตรฐาน ISO ตัวลาสุดสําหรับ ธุรกิจอาหาร เริ่มประกาศใชงานมาตั้งแตปค.ศ.2005 หรือป พ.ศ.2548 แตมาเริ่มถูกกลาวถึงกันอยางแพรหลายใน1-2 ปที่ผาน มานี้เอง มาตรฐาน ISO22000 เปนมาตรฐานที่เกี่ยวของกับการ ผลิตอาหารที่มีความปลอดภัยตอผูบริโภค รวมถึงการควบคุม สุขลักษณะในการผลิตที่ดีอีกดวย ดังนั้นหากจะกลาวใหเห็นภาพ ชัดเจนสําหรับตัวมาตรฐาน ISO22000 นั้น อาจพอกลาวไดวา มาตรฐาน ISO22000 เปรียบเสมือนเปนมาตรฐาน GMP & HACCP ขั้นสูงที่ผนวกเอาหัวขอดานฝาย , การสื่อสาร และการ ทวนสอบระบบเขาไป ดังนั้นตัวมาตรฐาน ISO22000 จึงมี โครงสรางเฉกเชนเดียวกับมาตรฐาน ISO ทั่วไป ซึ่งไดแก ขอ 4 ระบบการจัดการดานความปลอดภัยอาหาร ขอ 5 ความรับผิดชอบฝายบริหาร ขอ 6 การจัดการทรัพยากร ขอ 7 การวางแผน และการทําใหเกิดผลิตภัณฑที่ปลอดภัย ขอ 8 การยืนยันความถูกตอง, การทวนสอบ และการ ปรับปรุงระบบความปลอดภัยอาหาร จากขอมูลในปนี้ (พ.ศ.2552) พบวามาตรฐาน ISO22000 นั้นไดรับการยอมรับ และกลาวถึงเปนที่กวางขวางมากขึ้นทั้งจาก ใน และตางประเทศ โดยที่ผูซื้อ (Buyer) ในตางประเทศหลายราย ตองการใหผูผลิตสินคา (Supplier) ที่มีการติดตอซื้อขายดวย ปรับเปลี่ยนการรับรองจาก GMP&HACCP เปน ISO22000 แทน เนื่องจากเล็งเห็นวาระบบมีความเขมงวดมากกวา และเปนที่ ยอมรับมากกวาเนื่องจากเปนมาตรฐานสากล

Global Standard for Food Safety (BRC Issue 5) และ International Food Standard Version 5 สําหรับมาตรฐาน Global Standard for Food Safety (หรือที่ เรียกวา BRC Issue 5) และ International Food Standard Version 5 (หรือที่เรียกวา IFS Version 5) เปนมาตรฐานที่เปนความ ตองการของลูกคาเฉพาะกลุม กลาวคือเปนมาตรฐานสําหรับ ผูผลิตสินคาเพื่อสงไปยังรานคาปลีกในกลุมประเทศยุโรป อาทิ อังกฤษ, เยอรมัน, ฝรั่งเศส และอิตาลี เปนตน นอกจากนี้แลว ปจจุบันยังพบวามาตรฐานทั้งสองยังเปนที่ยอมรับในวงกวางมาก ขึ้นจากประเทศอื่นๆ เชนประเทศสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย เปนตน มาตรฐานทั้งสองตัวนี้จึงเปรียบเสมือน ใบเบิกทางที่ สําคัญ ในการไปเปดตลาดสินคาในกลุมประเทศที่กลาวมา ดังนั้นหากบริษัทใดกําลังคิดที่จะขยายตลาดไปยังกลุมประเทศ ดังกลาว ควรจะลองศึกษามาตรฐานทั้งสองตัวนี้เพื่อเปนแนวทาง แมวามาตรฐานทั้งสองจะเปนสําหรับผูผลิตสินคาเพื่อสงไป ยังรานคาปลีกในกลุมประเทศยุโรปทั้งคู แตแทจริงแลวยังพบวา มาตรฐานเพียงตัวใดตัวหนึ่งยังคงไมไดรับการยอมรับทั่วทั้ง ยุโรป อาทิ รานคาปลีกในประเทศเยอรมันยังคงตองการให ผูผลิตสินคา (supplier) ไดรับการรับรองมาตรฐาน IFS เทานั้น โครงสรางของทั้งสองมาตรฐานมีความใกลเคียงกันมาก แต ยังคงมีขอกําหนดปลีกยอยบางรายการที่แตกตางกันอยูบาง ซึ่ง หากพอกลาวโดยสรุปภาพรวมของสองมาตรฐานจะพบวาโดย หลักแลวขอกําหนดของทั้งสองมาตรฐานจะกลาวถึงหัวขอ ดังตอไปนี้ • หนาที่ความรับผิดชอบของฝายบริหาร • ระบบการจัดการดานคุณภาพ และความปลอดภัย อาหาร • การจัดการทรัพยากร / โครงสราง • สุขลักษณะของการผลิตที่ดี / การควบคุมการปนเปอน การควบคุมกระบวนการผลิตบุคลากร จากที่กลาวมาทั้งหมดนั้น เปนบทสรุปสั้นๆสําหรับ มาตรฐานแตละตัว ซึ่งปจจุบันการประยุกตใชระบบมาตรฐาน ตางๆ ตลอดจนถึงกระบวนการขอการรับรองมีขั้นตอนที่ไม ยุงยากเหมือนที่ผานมา หากทานสนใจ หรือตองการรายละเอียด เพิ่มเติม สามารถติดตอไดที่โทร 02 670 4862 หรือ อีเมลล sale.support@th.bureauveritas.com หรือเยี่ยมชมเวบไซคไดที่ www.bureauveritas.co.th

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

05


Mr. Quality

ไขกลยุทธ สูมาตรฐาน ISO 22000 เพื่อการแขงขันในตลาดโลก

06

เมื่อความปลอดภัยทางดานอาหาร เปนปจจัยที่ผูบริโภคให ความสําคัญมากขึ้น สงผลใหผูบิโภคมีแนวทางการเลือกซื้อ อาหารที่สะอาด ถูกหลักอนามัย และไดมาตรฐานสากล มากขึ้น บริษัทหลายแหงใหความเขมขนในเรื่องของการผลิตที่ได มาตรฐานสากล เพื่อใหสินคาเหนือคูแขงและสามารถแขงขันใน ตลาดโลกไดดวย มาตรฐานการจัดการดานความปลอดภัยของอาหาร หรือ ISO 22000 จึงกลายเปนเรื่องจําเปนในตลาดปจจุบัน เพราะเปน มาตรฐานที่ไดรับการยอมรับในระดับสากล และถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใหองคกรและบริษัทตางๆที่อยูในหวงโซอาหาร ซึ่งตองจัด ใหมีกลไกสามารถควบคุมอันตรายที่เกิดขึ้นเพื่อใหอาหารมีความ ปลอดภัยตอการบริโภค ขอกําหนดนี้สามารถประยุกตใชกับทุก องคกร ซึ่งองคกรนั้นจะเกี่ยวของในหวงโซอาหาร และการ นําไปใชเพื่อผลิตผลิตภัณฑที่ปลอดภัย เชน โรงงานที่ผลิตภาชนะ บรรจุ สารเคมี ผูขนสง ผูใหบริการจัดเก็บและการกระจายสินคาที่ มีความเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออมกับหวงโซอาหารก็ สามารถนําระบบนี้ไปใชได นอกจากนี้ ISO 22000 เปนการรวมเอาระบบ GMP ซึ่งเปน ระบบพื้นฐานของอุตสาหกรรมอาหาร กับระบบ HACCP ซึ่งเปน ระบบวิเคราะหจุดอันตรายแตละขั้นตอนการผลิต และมีการ ผนวก ISO 9001 เขาไปเสริมในเรื่องการจัดการและระบบเอกสาร ทําใหระบบนี้เหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร โดยมีขอกําหนด ทั้งหมด 8 หัวขอ แตหลักการสําคัญของมาตรฐานประกอบดวย 4 หลักการสําคัญ คือ โปรแกรมขั้นพื้นฐาน หลักการวิเคราะห อันตรายและจุดวิกฤตที่ตองควบคุม ระบบการจัดการ และการ สื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับขอกําหนด 8 ขอ กําหนดในระบบ ISO 22000 : 2005 ไดแก ขอบขาย เอกสารอางอิง บทนิยาม ระบบการจัดการความ ปลอดภัยในอาหาร ความรับผิดชอบของฝายบริหาร การจัดการ ทรัพยากร การวางแผน และการจัดทําผลิตภัณฑที่มีความ ปลอดภัย และการรับรองผลการตรวจสอบและการปรับปรุง

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

ระบบ ทั้ง 8 ขอกําหนด จะมี 5 หัวขอสําคัญ ซึ่งสรุปประเด็นที่จะ เปนประโยชนในการนําไปประยุกตใชแกผูประกอบการ ดังตอไปนี้ 1. ระบบการจัดการความปลอดภัยในอาหาร (Food Safety management System) (ขอกําหนดที่ 4) เนนการจัดทําเอกสาร และการควบคุมเอกสาร • องคกรตองจัดทําเอกสาร (Document) ซึ่งประกอบดวย เอกสารนโยบายและวัตถุประสงค ดานความปลอดภัยอาหาร เอกสารขั้นตอนการดําเนินการ (Procedure) และบันทึกคุณภาพ ตามที่มาตรฐานนี้กําหนด (Record) และเอกสารอื่นๆที่จําเปน โดยเอกสารดังกลาวตองมี Procedure ควบคุม ซึ่งสอดคลองกับ ISO 9001 2. ความรับผิดชอบของฝายบริหาร (Management Responsibility) (ขอกําหนดที่ 5) เนนองคกรและผูบริหารตองให ความสําคัญกับการจัดทําระบบ การวางแผน การทบทวน รวมทั้ง เนนเรื่องการสื่อสาร และการจัดการกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ที่มี ผลกระทบตอความปลอดภัยอาหาร • ผูบริหารขององคกรมีความมุงมั่นใหการสนับสนุนดาน ความปลอดภัยอาหาร • ผูบริหารตองกําหนดนโยบายเปนเอกสาร (ตามขอ 1) และ สื่อสารภายในองคกรใหรับทราบทั่วถึง ซึ่งนโยบายนี้ตอง เหมาะสมกับบทบาทขององคกรในหวงโซอาหาร ตองสอดคลอง กับกฎหมาย หรือขอบังคับและขอตกลงดานความปลอดภัย อาหารของลูกคา • ผูบริหารตองมีการวางแผนเพื่อบรรลุตามที่กําหนดไวในขอ (1) • พนักงานทุกคนตองไดรับมอบหมายความรับผิดชอบให รายงานปญหาเกี่ยวกับระบบความปลอดภัยอาหารไปยัง บุคคลากรที่องคกรแตงตั้ง ซึ่งตองเปนผูที่มีอํานาจและรับผิดชอบ การจัดการและบันทึกรายละเอียดของปญหา


Mr. Quality

• องคกรมีการแตงตั้งบุคคลที่ทําหนาที่เปนหัวหนาทีมความ ปลอดภัยอาหาร (Food Safety Team Leader) โดยมีหนาที่บริหาร ทีมจัดระเบียบงาน ดูแลการอบรมและการใหความรูแกสมาชิกใน ทีมจัดทําระบบความปลอดภัยอาหาร รายงานประสิทธิผลของ ระบบ รวมทั้งประสานกับหนวยงานภายนอก • องคกรตองมีการสื่อสารภายนอกตลอดหวงโซอาหาร ใหกับลูกคา ผูบริโภค หนวยงานควบคุมกฎหมาย และหนวยงาน ใดๆที่มีผลกระทบจากประสิทธิภาพและการปรับเปลี่ยนระบบ ความปลอดภัยอาหาร • องคกรตองมีการสื่อสารภายในกับบุคคลในองคกร เกี่ยวกับประเด็นที่มีผลกระทบกับความปลอดภัยอาหาร โดยเฉพาะทีม Food Safety ตองไดรับขอมูลที่ทันเวลากับการ เปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบกับการผลิต • องคกรตองจัดทํา ถือปฏิบัติ และธํารงรักษา เอกสารวาดวย เรื่องการจัดการสถานการณฉุกเฉินและอุบัติภัยที่สงผลตอความ ปลอดภัยอาหาร และที่เกี่ยวของกับบทบาทขององคกรในหวงโซ อาหาร • ฝายบริหารสูงสุดตองทบทวนระบบความปลอดภัยอาหาร ตามชวงเวลาที่วางแผน เพื่อใหมั่นใจถึงความเหมาะสม ความ พอเพียง และประสิทธิภาพของระบบอยางตอเนื่อง รวมถึงการ ประเมินโอกาสในการปรับปรุงและความจําเปนในการ เปลี่ยนแปลงระบบและนโยบาย และตองมีการบันทึกการ ทบทวนทุกครั้ง 3. การจัดการทรัพยากร (Resource management) (ขอกําหนดที่ 6) เนนใหองคกรตองมีทรัพยากรทั้งดานวัสดุ สิ่งกอสราง สิ่งแวดลอมที่ดี รวมทั้งบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหการดําเนินการทางดานความปลอดภัยอาหารเปนไปตาม วัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐาน • องคกรตองมอบหมายทรัพยากรในการจัดทํา ถือปฏิบัติ ธํารงรักษา และปรับระบบการจัดการความปลอดภัยอาหารให ทันสมัยอยางเพียงพอ • ทีม Food Safety และบุคคลใดๆที่ดําเนินกิจกรรมที่มี ผลกระทบตอความปลอดภัยอาหารตองมีความสามารถ ผานการ ใหความรู อบรม มีทักษะและประสบการณ • องคกรตองมอบหมายทรัพยากรเพื่อสนับสนุน การสราง การจัดการ และธํารงรักษาสภาพแวดลอมที่จําเปน เพื่อการ ประยุกตใชขอกําหนดในมาตรฐาน 4. การวางแผนและการจัดทําผลิตภัณฑที่มีความปลอดภัย (Planning and realization of safe products) (ขอกําหนดที่ 7)

ขอกําหนดนี้เปนขอหลักการที่เนนจุดสําคัญของการควบคุมความ ปลอดภัยของอาหาร คือ GMP/HACCP รวมถึงระบบการจัดการ สินคาเมื่อไมสอดคลองกับมาตรฐาน การสอบกลับสินคา และ การเรียกคืนสินคา • องคกรตองมีโปรแกรมพื้นฐานดานสุขลักษณะ (Prerequisite programs) (PRPs) ซึ่งอาจจะเปน GAP (Good Agriculture Practice), GHP (Good Hygienic Practice), GVP (Good Veterinarian Practice), GDP (Good Distribution Practice), GPP ( Good Production Practice), GTP ( Good Trading Practice) และ GMP (Good Manufacturing Practice) ขึ้นอยูกับประเภท ผูประกอบการในหวงโซอาหาร และตองจัดทําเปนเอกสาร • องคกรตองมีระบบ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) โดย - มี Food Safety Team - มีการระบุคุณลักษณะผลิตภัณฑ (Product characteristics) - มีการกําหนดการนําไปใชงาน (Interned use) - มีการจัดทําแผนภูมิกระบวนการผลิต (Flow diagrams) และตองอธิบายมาตรการควบคุมหรือวิธีการปฏิบัติที่อาจสงผล ตอความปลอดภัยอาหาร เพื่อนําไปวิเคราะหอันตรายในขั้นตอน ตอไป - การวิเคราะหอันตราย (Hazard analysis) ทีม Food Safety ตองประเมินอันตรายเพื่อ กําหนดชนิดอันตรายที่ จําเปน ตองควบคุมใหอยูใน ระดับที่กําหนดเพื่อสราง ความมั่นใจถึงความ ปลอดภัยอาหาร รวมถึง มาตรการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ - การประเมินอันตราย (Hazard assessment) อันตรายแตละ ชนิดตองถูกนํามาประเมิน เพื่อพิจารณาความจําเปนในการกําจัด หรือลดลงสูระดับที่ยอมรับได เพื่อใหสามารถผลิตอาหาร ปลอดภัยโดยอาจใชการพิจารณาความรุนแรง (severity) และ โอกาสในการเกิดอันตราย (likelihood of occurrence) - การสราง HACCP plan ซึ่งตองถูกจัดทําเปนเอกสาร โดย แตละจุดวิกฤตที่กําหนด ตองประกอบดวย อันตรายที่ถูกควบคุม มาตรการควบคุม ขอบเขตวิกฤต วิธีการเฝาระวัง การแกไขและ มาตรการแกไข

อานตอหนา 08 BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

07


Mr. Quality

ตอจากหนา 07

08

• องคกรตองมีการวางแผนการตรวจสอบ (Verification planning) โดยกําหนดวัตถุประสงค วิธีการ ความถี่ และ ผูรับผิดชอบ และผลการทวนสอบตองมีการบันทึกและสื่อสาร ไปยัง Food Safety ทีม • องคกรตองมีระบบการสอบกลับ (Tracibility system) โดย ระบุรุนสินคา และเชื่อมโยงไปยังวัตถุดิบ กระบวนการผลิต รวมทั้งการสงมอบที่เกี่ยวของ และมีการจดบันทึก • องคกรตองมีมาตรการการควบคุมความไมสอดคลอง (Control of nonconformity) โดยมีการแกไข (Corrections) เมื่อ ขอบเขตวิกฤตของจุด CCP (Critical Control Point) เกิดการ เบี่ยงเบน และตองมีมาตรการแกไข (Corrective Action) และ จัดการกับผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย (Handing of potentially unsafe products) เพื่อปองกันสินคาเหลานั้นเขาไปสูหวงโซอาหาร และควรมีการประเมินเพื่อปลอยสินคา (Evaluation for release) เมื่อมีหลักฐานที่แสดงวามาตรการควบคุมมีประสิทธิภาพ หรือ ผลการสุมตัวอยางการวิเคราะห แสดงวารุนที่ไดรับผลกระทบ มี ความสอดคลองกับระดับการยอมรับคาความปลอดภัย แตหาก พบวาผลิตภัณฑนั้นไมสามารถปลอยไดตองมีการกําจัด (Disposition of nonconforming products) ซึ่งอาจจะนําไปแปร รูปใหม หรือนําไปผานกระบวนการเพิ่มเติมภายในหรือภายนอก องคกร เพื่อลดอันตรายลงถึงระดับที่ยอมรับได หรือทําลายทิ้ง หรือกําจัดเปนของเสีย • องคกรตองมีการเรียกคืนสินคา (withdrawals) เพื่อชวยให การเรียกคืนสินคาที่ไมปลอดภัยเปนไปอยางสมบูรณและทันตอ เวลา องคกรตองแตงตั้งบุคลากรที่มีอํานาจในการเรียกคืน ตองมี ขั้นตอนการปฏิบัติและแจงหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ ทั้ง ราชการ ลูกคา และผูบริโภค สินคาที่ถูกเรียกคืนตองเก็บกักไว จนกวาจะถูกนํามาทําลาย หรือถูกนําไปใชเพื่อเจตนาอื่น หลัง ผานการประเมินวาปลอดภัย องคกรตองมีการตรวจสอบวิธีการ เรียกคืน เทคนิคที่เหมาะสม เชน Mock Recall 5. การรับรองผล การทวนสอบ และการปรับปรุงระบบ ความปลอดภัยอาหาร (Validation Verification and Improvement of FSMS) (ขอกําหนดที่ 8) เนนใหองคกรตองมีการยืนยัน คาตัวเลขตางๆที่ใช หรือมาตรฐานที่นํามาอางอิงวาเหมาะสม กับองคกรสามารถลดขจัดอันตราย มีการทวนสอบอุปกรณ เครื่องมือที่สําคัญๆ โดยการสอบเทียบ และมีการทวนสอบระบบ เชน การตรวจประเมินภายใน เปนตน

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

• กอนการประยุกตใชมาตรการควบคุมใน PRPs และแผน HACCP หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ องคกรตองทําการรับรอง (Validate) เพื่อใหแสดงวา มาตรการนั้นๆสามารถใหผลคาที่ตั้ง ไวในการควบคุมอันตราย มีประสิทธิภาพ และมีความสามารถ เพื่อใหผลิตภัณฑบรรลุตามที่กําหนด หากไมเปนไปตามที่ คาดหมาย ตองไดรับการปรับเปลี่ยนและประเมินใหม • องคกรตองแสดงหลักฐานเพื่อยืนยันวาวิธีการเฝาระวัง การตรวจวัด และอุปกรณมีความเหมาะสมที่สามารถใหผลการ ตรวจสอบที่นาเชื่อถือ เครื่องมืออุปกรณตองมีการสอบเทียบ มี การจัดเก็บและรักษาบันทึกผลการสอบเทียบและทวนสอบ • องคกรตองมีการทวนสอบระบบการจัดการดานความ ปลอดภัยอาหาร เชน ตรวจประเมินภายใน (Internal audit) หาก พบวาการทวนสอบใหผลไมสอดคลองตามแผน ตองลงมือ ดําเนินการแกไขและตองมีการวิเคราะหผลลัพธจากกิจกรรมการ ทวนสอบ และรายงานผูบริหารเพื่อนําเขาสูการประชุมทบทวน ฝายบริหาร และใชเปนขอมูลปรับระบบใหทันสมัย • ผูบริหารระดับสูงตองมั่นใจวาระบบมีการปรับปรุงอยาง ตอเนื่อง ทันสมัย กิจกรรมเพื่อการปรับระบบใหทันสมัยตอง ไดรับการบันทึกในรูปแบบที่เหมาะสม และนําเขารายงานเพื่อ พิจารณาในการประชุมทบทวนฝายบริหาร PRP OPRP และ CCP คืออะไร Prerequisite Program หรือ PRP หมายถึง สภาพพื้นฐาน และกิจกรรมที่จําเปนในการรักษาสภาวะแวดลอมที่ถูก สุขอนามัยตลอดทั้งหวงโซอาหารที่เหมาะสมสําหรับหารผลิต การจัดการและการดําเนินการตอผลิตภัณฑสุดทายที่ปลอดภัย และอาหารที่ปลอดภัยตอผูบริโภค โดย PRP ไดแก GAP, GVP, GMP, GHP, GPP, GDP, และ GTP Operational Prerequisite Programme หรือ OPRP ก็คือ PRP ที่ถูกบงชี้โดยการวิเคราะหอันตรายตามที่จําเปน เพื่อควบคุม โอกาสนําไปสูอันตรายตอความปลอดภัยของอาหารที่นําไปสู การปนเปอน หรือแพรกระจายอันตรายตอความปลอดภัยของ อาหารไปสูผลิตภัณฑ หรือในกระบวนการ Critical Control Point หรือ CCP หมายถึง ขั้นตอนซึ่งการ ควบคุมสามารถประยุกตใชและจําเปนเพื่อปองกัน หรือกําจัด อันตรายตอความปลอดภัยของอาหาร หรือลดใหอยูในระดับที่ ยอมรับได สรุป PRP ก็คือ GMP ทั่ว ๆ ไป ที่ใชควบคุมในหลายจุด แต OPRP อาจเปน GMP หรือ Control Point ที่เราคุนเคย เพื่อชวยลด ความเสี่ยงของอันตรายที่มีตออาหาร แตยังไมใชจุด CCP


Mr. Quality

ตรวจสอบคุณภาพขาวเพื่อการสงออก

เนื่องจากขาวหอมมะลิเปนขาวที่ผูบริโภคทั่วโลกยอมรับใน คุณภาพและเปนสินคาสงออกที่ทํารายไดมากที่สุด ทางกระทรวง พาณิชยจึงประกาศใหขาวหอมมะลิเปนขาวมาตรฐานสําหรับการ สงออกตางประเทศ อันไดแกพันธุขาวดอกมะลิ 105 และกข.15 โดยกําหนด เกณฑความบริสุทธิ์ (purity) ของขาวหอมมะลิ Thai Hom Mali Rice หรือ Thai Jasmine Rice วา จะตองมีขาวหอม มะลิ ตั้งแต 92% ขึ้นไป หากมีขาวอื่นปนเกิน 8 % จะไมอนุญาต ใหสงออก และมีบทลงโทษเพิกถอนใบอนุญาตสงออกกับ ผูประกอบการที่ฝาฝน สวนเกณฑของขาวหอมมะลิผสมที่ทาง กระทรวงอนุญาตนั้น จะตองอยูในเกณฑความบริสุทธิ์ 80 : 20 (ขาวหอมมะลิ : ขาวเจาพันธุอื่น) หมายความวา อนุโลมใหมีขาว พันธุอื่นปนไดไมเกิน 20% และจะตองระบุไวขางถุงบรรจุขาววา Mixed Thai Hom Mali Rice (ขาวหอมมะลิผสม) อยางชัดเจน ปญหาในการสงออกขาวที่สําคัญ ไดแก การปลอมปนขาว จนทําใหขาวไทยไมไดมาตรฐานและทําใหผซู ื้อในตางประเทศ เกิดความไมมั่นใจ โดยลาสุดไดเกิดกรณี การปลอมปนขาวหอม มะลิ ซึ่งเปนขาวเกรดพรีเมียมของไทยระบาดหนักในสหรัฐฯ ซึ่ง ไดสรางความกังวลใหกับผูคาปลีก ซึ่งเปนกลุมโมเดิรนเทรดราย ใหญทั่วสหรัฐฯ เนื่องจากเกรงจะเสียชื่อเสียงและสงผลกระทบตอ ยอดขาย ที่ผานมาในแตละปสหรัฐฯมีการนําเขาขาวหอมมะลิจากไทย ประมาณ 3-4 แสนตัน สวนหนึ่งมีการนําไปผสมขาวอื่นสงขาย ฟนกําไร ทําใหขาวหอมมะลิไทยเสียชื่อเสียง ซึ่งยอมรับวา ปองกันยากเนื่องจากเกิดที่ปลายทาง ขณะที่ตนทางสวนหนึ่งเปนผลจากพอคาขาวของไทยมีสวน รูเห็นดวยโดยทําตามความตองการของลูกคา เชน สั่งซื้อขาวโดย ผสมขาวหอมมะลิสัดสวนเพียง 50-60% ที่เหลือเปนขาวอื่น โดย แจงสงออกวาเปนขาวขาว เมื่อสินคาถึงปลายทางก็จะนําไปผสม กับขาวชนิดอื่นแลวแพ็กถุงขายในแบรนดของลูกคา บางครั้งยัง

ใชถุงที่มีตราโลโกรับรองจากกรมการคาตางประเทศของไทยวา เปน Thai Hom Mali Rice เพื่อบรรจุจําหนายสรางความมั่นใจ ใหกับผูบริโภควาเปนขาวหอมมะลิแทจากประเทศไทย นอกจากในสหรัฐฯแลว ปจจุบันในตลาดจีนก็ยังมีปญหาการ ปลอมปนขาวหอมมะลิไทยในระดับที่รุนแรงไมแพกัน สืบเนื่อง จากชาวจีนที่มีรายไดดีนิยมบริโภคขาวหอมมะลิไทย ทําใหในแต ละปจีนมีการนําเขาขาวหอมมะลิจากไทยประมาณ 5-6 แสนตัน สวนหนึ่งมีการนําเขาขาวหอมปทุมธานีหรือขาวขาวชนิดอื่นๆไป ผสม ปญหาที่เกิดขึ้นมาจากผูสงออกบางรายผสมขาวหอม ปทุมธานี 1 ไปถึง 50 % ซึ่งสวนหนึ่งเปนเพราะผูซื้อระบุมา และ อีกสวนเกิดจากการแสวงหากําไรจากราคาที่ตางกัน เพราะขาว หอมมะลิจะมีราคาที่เกวียนละประมาณ 12,000 บาท ในขณะที่ ขาวปทุมธานี 1 ราคาเกวียนละประมาณ 9,000 บาท โดยมี ลักษณะทางกายภาพที่ใกลเคียงกันมาก ตองใชความชํานาญสูง หากจะแยกแยะดวยตา วิธีการตรวจสอบที่ถูกตองจะตอง ตรวจสอบดีเอ็นเอ สําหรับคําแนะนําเบื้องตนในการแกปญหาการปลอมปนขาว ในมุมมองของบริษัทตรวจสอบระดับสากลอยางบูโร เวอริทัส ไดแก การวางมาตรฐานสงออกใหแยกออกจากกันชัดเจนทั้งล็อต กลาวคือ 100 % เปนขาวหอมมะลิ หรือขาวปทุมธานี 1 โดยไม ตองใหมีปลอมปนได จากนั้นจึงเปนเรื่องของผูซื้อที่จะเลือกตาม ความตองการ เพื่อไมใหสงผลกระทบในภาพลบตอขาวหอมมะลิ ของไทย ขาวปทุมธานีแมจะคลายคลึงกับขาวหอมมะลิ แตใน ดานคุณภาพแลวยังสูขาวหอมมะลิไมได เนื่องจากจมูกขาวของ พันธุปทุมธานี 1 จะขาวกวาขาวหอมมะลิ หากเก็บไวนานขาว ปทุมธานีจะเหลืองไวกวาและจะไมเหลือความหอม และโดยปกติ แลว หากหุงทิ้งไวจะแข็งกวาและไมมียางเทาขาวหอม เปนตน

อานตอหนา 10 BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

09


Mr. Quality

ตอจากหนา 9

10

กระทรวงพาณิชยกําหนดปริมาณอมิโลสไวที่ 13-18 % สําหรับ ขาวหอมมะลิ หากมากกวานั้นจะถือเปนขาวขาว ในสวนของบริษัทตรวจสอบนั้น ถือวามีความสําคัญในการ 2.การทดสอบหาปริมาณความชื้นในขาว (Moisture Test) 3. การทดสอบหาปริมาณขาวเจาพันธุอื่นที่ไมใชขาวหอมมะลิ รักษามาตรฐานและชื่อเสียงของขาวไทย ขาวที่ผานเกณฑการ ตรวจสอบจะไดรับใบรับประกันคุณภาพอันเปนหลักฐานสําคัญ ไทยปน (Alkali Test) เปนการตรวจสอบหาความบริสุทธิ์ของ ประกอบการสงออกประเทศไทยถือเปนประเทศแรกที่กําหนด ขาวหอมมะลิ ดวยน้ํายาเพื่อหาปริมาณขาวเจาพันธุอื่นที่ไมใช มาตรฐานการสงออกขาวตั้งแตป 2540 เพื่อสรางความไดเปรียบ ขาวหอมมะลิไทยปน โดยใชเวลาทดสอบนานประมาณ 23 ช.ม. ทางการแขงขันกับประเทศอื่น โดยอยูในความดูแลของ 4. Priliminary Test การตรวจสอบโดยการตม เนื่องจากขาวขาว กระทรวงเกษตรและสหกรณและกระทรวงพาณิชย พรอมทั้ง และขาวหอมจะสุกในเวลาไมเทากัน ออกกฎใหมีบริษัทตรวจสอบที่ผานการรับรองจากกระทรวง การตรวจสอบคุณภาพขาวไทยและขาวหอมมะลิกอนสงออก พาณิชย นอกจากจะเปนการรับประกันคุณภาพขาวตามมาตรฐานการ สําหรับบูโร เวอริทัสเปนผูตรวจสอบขาว ที่มีสาขาทั่วโลก สงออกขาวของไทยและขอกําหนดของตางประเทศแลว ยังชวย ควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐานที่สูงกวาที่ภาครัฐกําหนด และไดรับการยอมรับในระดับสากล บุคลากรของบริษัทมี ประสบการณและความเชี่ยวชาญในการตรวจสอบสูง บริษัท เพื่อใหขาวออกมาดูดี ทั้งในดานของเมล็ดขาว กลิ่น และ ไดรับความไววางใจจากบริษัทสงออกขาวชั้นนําของไทย อาทิ องคประกอบหลังจากสุกแลว ซึ่งเปนการสรางความเชื่อมั่น บริษัทเพรซิเดนท อะกริ เทรดดิ้ง, บริษัท เอเซีย โกลเดน ไรซ ใหกับคุณภาพขาวไทยในตลาดโลก โดยบริษัท บูโร เวอริทัสจะ จํากัด, บริษัทไทยฟา (2511) จํากัด เปนตน ทําการตรวจสอบขาวในแตละล็อต เพื่อใหทราบวาไดคุณภาพ การตรวจสอบขาวจะแบงออกเปนการตรวจสอบทาง ตรงตามที่ลูกคาตองการและมาตรฐานที่กําหนดหรือไม หาก กายภาพ หรือการตรวจสอบดวยสายตาโดยอาศัยความชํานาญ พบวาขาวดังกลาวไมไดมาตรฐานตามที่กําหนด ก็จะทํารายงาน ซึ่งเปนการตรวจสอบหนางาน ที่ทาเรือ โกดัง เชนการตรวจดู พรอมขอเสนอแนะเพื่อใหลูกคานําขอมูลที่ไดไปปรับปรุง จน พื้นขาว จากการสุมตัวอยางของขาวที่จะสงออก 100 เมล็ด มา ไดคุณภาพตรงตามที่ตองการในที่สุด นอกจากนี้ บูโร เวอริทัส ยังใหบริการตรวจสอบและรับรอง นั่งตรวจความยาวทุกเมล็ด สวนผสม สี กลิ่นและสิ่งที่อาจมีปน ไดของขาว และตรวจถุงบรรจุขาวเพื่อปองกันการนําขาวเกรด คุณภาพแบบครบวงจร ไมวาจะเปนการตรวจสอบเรือใหญ และ ตูคอนเทนเนอรเพื่อบรรจุสินคากอนสงออก, การตรวจสอบ ต่ํามาบรรจุในถุงที่ระบุเกรดสูง ตลอดจนตรวจกระสอบตาม สินคากอนบรรจุเขาตูหรือลงเรือ, การตรวจสอบสินคาขณะเขาตู มาตรฐานกระทรวงพาณิชยและเทรดเดอร ทั้งนี้ ขาวแตละประเภท จะมีการแยกเกรดแตกตางกัน อาทิ หรือลงเรือ การรมยาสินคา,การควบคุมความชื้น, การคุมสินคา ขาวขาวที่สงออกมากที่สุด จะคิดเกรดตามขาวหัก เชน ขาวขาว บนเรือใหญ เปนตน เกรดเอ 100% จะมีขาวหักไดไมเกิน 4.0% ซึ่งการดูขาวหักจะคิด สนใจสอบถามรายละเอียด โทร 02 748 7487 จากความยาวเมล็ดขาว หากต่ํากวา 5.2 มิลลิเมตร ถือวา เปนขาวหัก เนื่องจากขาวไทยจะมีความยาวเฉลี่ย 7 มิลลิเมตร เปนตน สําหรับขาวหอมมะลิตามมาตรฐานขาว ไทยแลวตองมีความยาวเฉลี่ย 7 มิลลิเมตรขึ้นไป นอกจากนี้ จะตองมีการตรวจสอบทางเคมีใน หองปฏิบัติการ โดยแบงออกเปน 1.การทดสอบหาปริมาณอมิโลส (Amylose Test) ปกติ แลวโครงสรางของแปงจะมีองคประกอบหลัก 2 ชนิด ไดแก อมิโลเปคติน (Amylopectin) ซึ่งใหคุณสมบัติ เหนียวนุม และอมิโลส (Amylose) ซึ่งทําใหขาวรวนไม เกาะตัว โดยขาวขาวจะมีปริมาณอมิโลส มากกวา ทั้งนี้

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER


BV Guest

อุตสาหกรรมไทยปรีดา เพิ่มศักยภาพโรงงาน ดวยมาตรฐาน ISO 22000 กลุมอุตสาหกรรมอาหารนับเปนกลุมอุตสาหกรรมที่มีการ แขงขันกันสูง และความตองการในตลาด โดยเฉพาะตลาด ตางประเทศนั้นหากตองการขยายตลาดไปสูทวีปยุโรป อเมริกา ระบบการจัดการมาตรฐานความปลอดภัยในอุตสาหกรรม อาหารจึงเปนสิ่งสําคัญ เพราะผูบริโภคในตางประเทศคอนขาง เอาใจใสในสินคาบริโภค และตองมั่นใจวาสินคาที่บริโภคหรือ นําไปปรุงแตงอาหารนั้นมีความปลอดภัยอยางแทจริง เพื่อเปด ประสบการณใหผูอานไดเห็นมุมมองการทําระบบมาตรการ จัดการความปลอดภัยดานอุตสาหกรรมอาหาร หรือ ISO 22000 วารสารบูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น ฉบับนี้ไดรับเกียรติ จากบริษัท อุตสาหกรรมไทยปรีดา จํากัด ที่จะใหขอมูล เกี่ยวกับความคิดริเริ่มในการนําระบบมาตรฐาน ISO 22000

เขามาประยุกตใชกับองค คุณสุรัช ทวีพันธุ กรรมการผูจัดการ บริษัท อุตสาหกรรม ไทยปรีดา จํากัด เลาถึงที่มาใหฟงวา คุณปรีดา วีระพงษเปนผู ริเริ่มกอตั้งบริษัทขึ้น โดยในตอยแรกไดเริ่มจากการผลิต น้ําปลาซึ่งสามารถหาวัตถุดิบไดในชลบุรี และไดสงขายไป ตามหัวเมืองตางๆ จนกิจการไดเจริญขึ้นเรื่อยมา และไดจด ทะเบียนเปน บริษัทเมื่อ วันที่ 10 สิงหาคม 2514 และมีการ ขยายกําลังการผลิตน้ําปลา โดยใชเครื่องจักรในการผลิตที่ ทันสมัยและมีประสิทธิภาพและไดขยายตลาดทั้งในและนอก ประเทศ ในป 2545 ทางบริษัท ไดขยายการผลิต โดยไดสราง โรงงานผลิตซอสปรุงรสขึ้น ในพื้นที่โรงงานเดิม ทําใหบริษัท สามารถผลิตสินคาได หลากหลายมากยิ่งขึ้น ปจจุบัน บริษัทสามารถผลิตสินคาใน กลุมเครื่องปรุงรสไดหลากหลาย อาทิเชน น้ําปลา น้ําสมสายชู ซอสหอยนางรม ซอสผัด ซอส พริก น้ําจิ้มไก ซอสปรุงอาหาร ซอสผัดไทย ซอสตมยํา เปนตน ปจจุบันไดสงออกสินคาไปสู ตลาดตางประเทศ หลาย ประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุน ออสเตรเรีย นิวซีแลนด เปนตน

อานตอหนา 12 BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

11


BV Guest

ตอจากหนา 11 โดยในอนาคตทางบริษัทไดมีแนวทางในการพัฒนา ผลิตภัณฑ โดยใหสินคาใกลชิดกับผูบริโภคมากขึ้น งายตอการ ใชงาน และ สะดวกมากขึ้น ตามแนวทาง easy to cook มาก ขึ้น สําหรับการนําระบบ GMP และ HACCP เขามา ประยุกตใช คุณสุรัช เปดเผยวา ทางบริษัทมีความมุงมั่นที่จะ ผลิตสินคาที่มีคุณภาพและปลอดภัยตอผูบริโภคและเล็งเห็น

ความสําคัญของระบบมาตรฐานตางๆ โดยเริ่มแรกทางบริษัท ไดเริ่มจาก ระบบมาตรฐาน GMP กอน โดยจัดสงพนักงานที่มี ศักยภาพไปอบรมระบบ GMP แลวนํามาเผยแพรตอภายใน องคกร ตอจากนั้นจึงเริ่มจัดตั้งทีมงานบริหารระบบขึ้นและ ทีมงานดังกลาวก็พัฒนาระบบอยางตอเนื่อง โดยเริ่มขยาย ระบบไปเปน GMP&HACCP และ ISO22000:2005 ในเวลา ตอมา

“ระบบมาตรฐานตาง ๆ เปนเพียงแคเครื่องมือในการทํางานเทานั้น มันจะไมมี ประโยชนอะไรเลย ถาเครื่องมือถูกตั้งไวเฉยๆ ถาคิดจะทําระบบแลว ตองใชระบบ ใหจริงจัง เปรียบเสมือนเรานําเครื่องมือมาใชใหเปนประโยชน”

12

“เนื่องจากทางบริษัทเปนผูผลิตอาหาร ความปลอดภัยของอาหาร จึงเปนสิ่งสําคัญ ทางบริษัทจึงไดมุงเนนเรื่องนี้เปนอยางมาก โดยไดเตรียมความพรอมในการพัฒนาระบบที่เกี่ยวของกับความ ปลอดภัยของอาหารอยางตอเนื่อง ทางทีมบริหารระบบจึงได เลือกจัดทํา ระบบ ISO 22000:2005 เพื่อตอบสนองนโยบายที่ สําคัญของบริษัท” แมวาการจัดทําระบบ ISO 22000 อาจจะไมไดชวย สงเสริมการขายมากนัก แตหากระบบที่จัดทํามีประสิทธิภาพแลว จะทําใหลูกคามีความมั่นใจเพิ่มขึ้น และยังเพิ่มความพึงพอใจของ ลูกคา ซึ่งจะชวยไดกับลูกคาปจจุบันที่มีอยูแลวมากกวา “ทางบริษัท ตองการใหระบบสามารถใชไดจริงใน องคกร โดยที่ใหพนักงานทุกคนรูสึกวา ระบบเปนสวนหนึ่งของงาน ไมใชเปนงาน เพิ่มขึ้นมา และระบบจะชวยใหทุก คนทํางานงายขึ้น ไมตองเกรงใจกันหรือ กลัวที่จะทํางาน โดยใหทุกคนถือวาทําตาม ระบบ ไมไดใชความรูสึกในการทํางาน” คุณสุรัช กลาว คุณสุรัช กลาวอีกวา นโยบายของ ทางบริษัทจะเรียบงายไมซับซอน เพื่อให พนักงานเขาใจไดงาย และนําไปสูการ ปฏิบัติไดจริง วา “เรามุงมั่นในการผลิต สินคาที่มีคุณภาพดี มีความปลอดภัย เพื่อ สรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา และ ปรับปรุงประสิทธิผลอยางตอเนื่อง” นอกจากนี้ คุณสุรัช ยังใหมุมมอง

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

ในเรื่องของการทําไอเอสโอวา การทําระบบยุงยากกวาไมทําอยู แลว แตการที่ทําระบบ ความยุงยากนั้นจะไมสรางความเสียหาย เกิดขึ้น แตถาไมทําระบบแมดูเหมือนจะไมยุงยาก แตอาจจะทํา ใหการทํางานไมสม่ําเสมอ และจะเหนื่อยมากกวาการทําระบบ เสียอีก สําหรับปญหาในการจัดทําระบบมาตรฐานทางบริษัท ไมมีปญหามากนัก เนื่องจากการจัดทําระบบดังกลาวเปนความ ตองการของทีมบริหารระบบเอง ซึ่งมีสมาชิกจากหนวยงานตางๆ อยูแลว ทําใหปญหาตางๆ ถูกชวยกันแกไขปรับปรุง ปญหา หลักในการทําระบบมาตรฐานคือ พนักงานไมมีความเขาใจวา ระบบที่ทําอยูคืออะไร ทําใหการทํางานเปนการทํางานตามคําสั่ง หรือตามที่ถูกบอก ทําใหระบบขาดการ พัฒนาปรับปรุงหรือปรับใหเขากับองคกร โดยในตอนเริ่มตนทางบริษัทไดจางที่ ปรึกษาโครงการเพื่อเปนหลักในการจัดทํา ระบบ จากนั้น ทางทีมงานก็จะพยายาม ปรับการทํางานใหเขากับระบบ หรือปรับ บางประเด็นใหเขากับการทํางานในแตละ วัน คุณสุรัช ทิ้งทายดวยแงคิดดีๆเกี่ยวกับการทํา ระบบวา “ระบบมาตรฐานตาง ๆ เปนเพียง แคเครื่องมือในการทํางานเทานั้น มันจะไม มีประโยชนอะไรเลย ถาเครื่องมือถูกตั้งไว เฉยๆ ถาคิดจะทําระบบแลว ตองใชระบบ ใหจริงจัง เปรียบเสมือนเรานําเครื่องมือมา ใชใหเปนประโยชน”


Love Earth

80 วิธีหยุดโลกรอน ตอนจบ 36.เลือกซื้อสินคาที่มีหีบหอนอยๆ หีบหอหลายชั้นหมายถึงการ เพิ่มขยะอีกหลายชิ้นที่จะตองนําไปกําจัด เปนการเพิ่มปริมาณกาซ เรือนกระจกสูบรรยากาศโดยไมจําเปน 37.เลือกใชผลิตภัณฑที่ซื้อเติมใหมได เพื่อเปนการลดขยะจาก หีบหอของบรรจุภัณฑ 38.ใชกระดาษทั้ง 2 หนา เพราะกระบวนการผลิตกระดาษแทบ ทุกขั้นตอนใชพลังงานจากน้ํามันและไฟฟาจํานวนมาก 39.เลือกใชกระดาษรีไซเคิล กระดาษรีไซเคิลชวยลดขั้นตอน หลายขั้นตอนในกระบวนการผลิตกระดาษ 40.ตั้งเปาลดการผลิตขยะของตัวเองใหได 1 ใน 4 สวน หรือ มากกวา เพื่อชวยประหยัดทรัพยากรและลดกาซเรือนกระจกไดอีก จํานวนมาก เมื่อลองคูณ 365 วัน กับจํานวนปที่เหลือกอนเกษียณ 41.สนับสนุนสินคาและผลิตผลจากเกษตรกรในทองถิ่นใกล บาน ชวยใหเกษตรกรในพื้นที่ไมตองขนสงผลิตผลใหพอคาคน กลางนําไปขายในพื้นที่ไกลๆ 42.บริโภคเนื้อวัวใหนอยลง ทานผัก (ปลอดสารพิษ) ใหมากขึ้น ฟารมเลี้ยงวัว คือ แหลงหลักในการปลดปลอยกาซมีเทนสู บรรยากาศ หันมารับประทานผักใหมากขึ้น ทานเนื้อวัวใหนอยลง 43.ทานสเตกและแฮมเบอรเกอรในรานใหญๆ ใหนอยลง เพราะอุตสาหกรรมเนื้อระดับนานาชาติ ผลิตกาซเรือนกระจกถึง 18% สาเหตุหลักก็คือไนตรัสออกไซดจากมูลวัวและมีเทน ซึ่งถูก ปลดปลอยออกมาจากลักษณะทางธรรมชาติของวัวที่ยอยอาหารได ชา (มีกระเพาะอาหาร 4 ตอน) มีเทนเปนกาซเรือนกระจกที่ทําให เกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกไดมากกวาคารบอนไดออกไซดถึง 23 เทา ในขณะที่ไนตรัสออกไซดกอผลไดมากกวาคารบอนไดออกไซด 296 เทา 44.ชักชวนคนอื่นๆ รอบขางใหชวยกันดูแลสิ่งแวดลอมและลด ปญหาภาวะโลกรอน ใหความรูความเขาใจและชักชวนคนใกลตัว

รวมทั้งเพื่อนบานรอบๆ ตัวคุณ เพื่อขยายเครือขายผูรวมหยุด โลกรอนใหกวางขวางขึ้น 45.รวมกิจกรรมรณรงคสิ่งแวดลอมในชุมชน แลวลองเสนอ กิจกรรมรณรงคใหความรูและกระตุนใหเกิดการรวมมือ เพื่อลงมือ ทํากิจกรรมสิ่งแวดลอมที่ตอเนื่อง และสงผลใหคนในชุมชนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 46.เลือกโหวตแตพรรคการเมืองที่มีนโยบายสิ่งแวดลอมที่ ชัดเจน จริงใจ และตั้งใจทําจริง เพราะนักการเมืองคือคนที่เราสงไป เปนตัวแทนทําหนาที่ในสภาผูแทนราษฎร โปรดใชประโยชนจาก พวกเขาตามสิทธิที่คุณมี ดวยการเลือกนักการเมืองจากพรรค การเมืองที่มีนโยบายชัดเจนเรื่องสิ่งแวดลอมและการลดปญหาโลก รอน 47.ซื้อใหนอยลง แบงปนใหมากขึ้น อยูอยางพอเพียง เกษตรกร ชาวสวน ชาวไร ชาวนาก็สามารถชวยไดดวยการ 48.ลดการเผาปาหญา ไมริมทุง และตนไมชายปา เพื่อกําจัด วัชพืชและเปดพื้นที่ทําการเกษตร เพราะเปนการปลอย คารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศจํานวนมาก นอกจากนั้นการ ตัดและเผาทําลายปายังเปนการทําลายแหลงกักเก็บกาซ คารบอนไดออกไซดที่สําคัญ 49.ปลูกพืชผักใหหลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในทองถิ่น เปนการลดการปลูกพืชผักนอกฤดูกาลที่ตองใชพลังงานเพื่อถนอม อาหาร และผานกระบวนการบรรจุเปนอาหารกระปอง 50.รวมกลุมสรางตลาดผูบริโภค-ผูผลิตโดยตรงในทองถิ่น เพื่อ ลดกระบวนการขนสงผานพอคาคนกลาง ที่ตองใชพลังงานและ น้ํามันในการคมนาคมขนสงพืชผักผลไมไปยังตลาด

อานตอหนา 14 BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

13


Love Earth

ตอจากหนา 13 56.ชวยกันเลาความจริงเรื่องโลกรอน โปรดชวยกันสื่อสารให ประชาชนและรัฐบาลเขาใจสถานการณจริงที่เกิดขึ้น 57.เปนผูนํากระแสของสังคมเรื่องชีวิตที่พอเพียง ตนตอหนึ่งของ ปญหาโลกรอนก็คือกระแสการบริโภคของผูคน ทําใหเกิดการ บริโภคทรัพยากรจํานวนมหาศาล ชีวิตที่ยึดหลักของความพอเพียง โดยมีฐานของความรูและคุณธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จึงนาจะเปนหนทางปองกันและลดปญหาโลกรอนที่สังคม สถาปนิกและนักออกแบบ โลกกําลังเผชิญหนาอยู 52.ออกแบบพิมพเขียวบานพักอาศัยที่สามารถชวย “หยุด 58.ใชความคิดสรางสรรคเพื่อรวมรับผิดชอบสังคม ออกแบบ โลกรอน” การลดปริมาณกาซเรือนกระจก โดยคิดถึงการติดตั้ง งานโฆษณาที่สอดแทรกประเด็นปญหาของภาวะโลกรอนอยางมี ระบบการใชพลังงานที่งาย ไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีสูงๆ แต รสนิยม เรื่องที่เปนจริงและไมโกหก

51.ลดการใชสารเคมีในการเกษตร นอกจากจะเปนการลด ปญหาการปลดปลอยไนตรัสออกไซดสูบรรยากาศโลกแลว ใน ระยะยาวยังเปนการลดตนทุนการผลิต และทําใหคุณภาพชีวิต ของเกษตรกรดีขึ้น โปรดปรึกษาและเรียนรูจากกลุมเกษตรกร ทางเลือกที่มีอยูเปนจํานวนมากในประเทศไทย

ใชงานไดจริง ลองคิดถึงวิธีการที่คนรุนปูยาใชในการสรางบาน สมัยกอน ซึ่งมีการพึ่งพาทิศทางลม การดูทิศทางการขึ้น-ตกของ ครู อาจารย ดวงอาทิตย อาจชวยลดคาใชจายเรื่องพลังงานในบานไดถึง 40% 59.สอนเด็กๆ ในขั้นเรียน เกี่ยวกับปญหาโลกรอน 60.ใชเทคนิคการเรียนรูหลากหลายจากกิจกรรม ดีกวาสอนโดย 53.ชวยออกแบบสรางบานหลังเล็ก บานหลังเล็กใช พลังงานนอยกวาบานหลังใหญ และใชวัสดุอุปกรณการกอสราง ใหเด็กฟงครูพูดและทองจําอยางเดียว นอยกวา

นักวิจัย นักวิทยาศาสตร และวิศวกร 61.คนควาวิจัยหาแนวทางและเทคโนโลยีใหมที่มีประสิทธิภาพ สื่อมวลชน นักสื่อสารและโฆษณา ในการลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 54.ใชความเชี่ยวชาญในวิชาชีพเพือ่ ใหความรู และสรางความ 62.ศึกษาและทําวิจัยในระดับพืน้ ที่ เพื่อใหมีขอมูลที่ชดั เจน ตระหนักกับสาธารณชนเกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอน และทําใหการ เกี่ยวกับผลกระทบของภาวะโลกรอนตอพื้นที่เสี่ยงของประเทศไทย เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปนประเด็นของทองถิน่ 63.ประสานและทํางานรวมกับนักสื่อสารและโฆษณา เพื่อแปลง 55.สรางความสนใจกับสาธารณชน เพื่อทําใหประเด็นโลกรอน ขอมูลทางวิทยาศาสตรไปสูการรับรูและเขาใจของประชาชนในสังคม อยูในความสนใจของสาธารณชนอยางตอเนื่อง วงกวาง

14

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

นักธุรกิจ อุตสาหกรรมและบริการ 64.นํากาซมีเทนจากกองขยะมาใชประโยชนเชิงพาณิชย ดวยการ ลงทุนพัฒนาใหเปนพลังงานทดแทนที่มปี ระสิทธิภาพ แตมีตน ทุน ต่ํา 65.สนับสนุนนักวิจัยในองคกร คนควาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม และมีประสิทธิภาพในการลดการใชพลังงานจาก เชื้อเพลิงฟอสซิล 66.เปนผูนําของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่ชวยรักษาสิง่ แวดลอม หากยังไมมีใครเริ่มตนโครงการที่ชว ยหยุดปญหาโลกรอนอยาง จริงจัง ก็จงเปนผูน ําเสียเอง 67.สรางแบรนดองคกรที่เนนการดูแลและใสใจโลก ไมใชแคการ สรางภาพลักษณภายนอก แตเปนการสรางความเชื่อมั่นเรื่องความ รับผิดชอบที่มาจากภายในองคกร


Love Earth นักการเมือง ผูวา ราชการฯ และรัฐบาล 68.วางแผนการจัดหาพลังงานในอนาคต รัฐจําเปนตองมีการ วิเคราะหทางเลือกเพื่อมุงจัดการแกไขปญหาพลังงานและ สิ่งแวดลอม ที่มองไปขางหนาอยางนอยที่สุด 50 ป 69.สนับสนุนใหมีการพัฒนาการใชพลังงานแสงอาทิตย ทั้งการ สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย และการพัฒนาระบบใหมีตนทุน ต่ําและคุมคาในการใชงาน 70.สนับสนุนกลไกตางๆ สําหรับพลังงานหมุนเวียน เพื่อสราง แรงจูงใจในการปรับปรุงเทคโนโลยีและการลดตนทุน 71.สนับสนุนอุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน เพื่อกระตุนให

75.สงเสริมเครือขายการตลาดใหกบั กลุมเกษตรกรทางเลือก เกษตรกรจํานวนมากเปนตัวอยางทีด่ ีของการลดปญหาโลกรอน ดวย การลดและเลิกการใชสารเคมีที่ทําใหเกิดการปลดปลอยไนตรัส ออกไซดสูบรรยากาศโลก ซึ่งการสงเสริมการตลาดสีเขียวดวยการสราง เครือขายการตลาดที่กระจายศูนยไปสูกลุมจังหวัดหรือภูมิภาค จะชวย ลดการปลอยคารบอนไดออกไซดจากกระบวนการขนสงผลผลิตไปยัง ตลาดไกลๆ อีกดวย 76.ริเริ่มอยางกลาหาญกับระบบพลังงานแบบกระจายศูนย เพื่อ ลงทุนกับทางเลือกและทางรอดในระยะยาว 77.พิจารณาใชกฎหมายการเก็บภาษีเปนเครื่องมือในการควบคุม ปริมาณกาซเรือนกระจก โดยเฉพาะ คารบอนไดออกไซด เชน การเก็บภาษี คารบอน (Carbon Tax) สําหรับ ภาคอุตสาหกรรม 78.เปลี่ยนแปลงระบบการจัดเก็บภาษี นัน่ คือการสรางระบบการจัดเก็บภาษีที่สามารถ สะทอนใหเห็นตนทุนทางออมจากกิจกรรม ทางเศรษฐกิจตัวใดตัวหนึ่ง ซึ่งทําใหสังคม ตองแบกรับภาระนั้นอยางชัดเจน เชน ภาษี ที่เรียกเก็บจากถานหิน ก็จะตองรวมถึง ตนทุนในการดูแลรักษาสุขภาพที่จะตอง เพิ่มขึ้นจากปญหามลพิษ และตนทุนความ เสียหายจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป 79.ปฏิรูปภาษีสิ่งแวดลอม เปนกาวตอไปที่ ทาทายของนักการเมืองและรัฐบาลที่มาจาก การเลือกตั้งอยางใหญหลวงในการ ปรับเปลี่ยนและสรางจิตสํานึกใหมให สังคม การเพิ่มการจัดเก็บภาษีสําหรับ กิจกรรมที่มีผลทําลายสภาพแวดลอมให เกิดการลงทุนของภาคเอกชน รัฐบาลควรหามาตรการที่ชัดเจนใน การสนับสนุนอุตสาหกรรมหมุนเวียน ซึ่งเปนพลังงานสะอาด เชน สูงขึ้นเปนการชดเชย เชน กิจกรรมที่มีการปลอยคารบอน ภาษีจากกอง ขยะ ไมใชเรื่องเปนไปไมได หลายประเทศโดยเฉพาะในยุโรปตะวันตก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม เพื่อใหสามารถแขงขันกับ อุตสาหกรรมพลังงานอื่นๆ ที่ใชพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ที่เปน นําแนวคิดนี้ไปใชตั้งแตป พ.ศ. 2533 ปจจุบันนี้ประเทศใหญๆ ใน สหภาพยุโรปก็รวมดําเนินการดวย และพบวาการปรับเปลี่ยนระบบการ สาเหตุหลักของการปลอยคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศ 72.มีนโยบายทางการเมืองที่ชัดเจนในการสนับสนุนการ “หยุด จัดเก็บภาษีดังกลาว ไมมีผลตอการปรับเปลี่ยนระดับการจัดเก็บภาษี หากแตมีผลกับโครงสรางของระบบภาษีเทานั้น ภาวะโลกรอน” เสนอตอประชาชน 80.กําหนดทิศทางประเทศใหมุงสูแนวทางของการดําเนินชีวติ 73.สนับสนุนโครงสรางทางกายภาพ เมื่อประชาชนตระหนัก อยางพอเพียง ที่สามารถยืนหยัดอยูร อดอยางเขมแข็งในสังคมโลก และตองการเขามามีสวนรวมในการลดการปลอยกาซ เริ่มตนดวยการใสประโยคที่วา ประเทศไทยจะตองยึดหลักเศรษฐกิจ คารบอนไดออกไซด เชน จัดการใหมีโครงขายทางจักรยานที่ ปลอดภัยใหกับประชาชนในเมืองสามารถขับขี่จักรยาน ลดการใช ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปนแกนหลักของการพัฒนาประเทศไวในรัฐธรรมนูญไดหรือไม รถยนต อยามัวแตใหคนดังๆ รณรงคโดยที่เราไมยอมทําอะไร เพราะทุก 74.ลดจํานวนรถยนตสวนตัวบนถนนในกรุงเทพมหานครอยาง คนมีสวนและมีสิทธิในการชวยเหลือโลกนี้ไดเทาๆ กัน จริงจัง ดวยการสนับสนุนระบบขนสงมวลชนที่มีประสิทธิภาพ BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

15


Health & Safety

เรื่องรอนๆหนาวๆของสาวออฟฟค โดย นิตยสารสุดสัปดาห

16

เคยสงสัยไหมวาในขณะที่เรานั่งหนาวเหน็บจนอยากจะลุกไป ปรับแอร แตเพื่อนรวมงานที่นั่งโตะขางๆ กลับไมสะทกสะทานตอ ความหนาวเย็นแบบที่เราเปนเลยสักนิด Live & Learn เหตุที่แตละคนสามารถทนความหนาวไดแตกตางกันก็เพราะมี พื้นฐานภายในรางกายไมเหมือนกัน ดังนี้ น้ําหนักตัวมีสวน คนที่มีน้ําหนักตัวและไขมันมากกวา จะมีไขมันเปนเสมือน ฉนวนกันความหนาวมากกวาสาวที่ผอมบาง หญิงหรือชายสําคัญไฉน ผูหญิงมีแนวโนมที่จะขี้หนาวมากกวาผูชาย เนื่องจากภาวะการ ทํางานของตอมไทรอยดแตกตางกัน และความไดเปรียบของมวล กลามเนื้อของผูชายที่มีมากกวา (1 ใน 3 ของพลังงานที่ใหความ อบอุนแกรางกายมาจากกลามเนื้อ) ทําใหหนุมๆ ออฟฟศไมคอย สะทกสะทานกับความเย็นเหมือนสาวๆ สักเทาไร แตถาสาวๆ คน ไหนที่ออกกําลังกายเปนประจําอยูแลวก็จะชวยใหรางกายมีมวล กลามเนื้อมากขึ้น สามารถปรับตัวรับอุณหภูมิในหองแอรไดดีกวา เชนกัน แตในชวงวันกอนมีประจําเดือน อุณหภูมิในรางกายของ สาวๆ จะไมคงที่และอาจทําใหเกิดอาการขี้หนาวมากกวาปกติ อายุตางก็หนาวตางกัน ปจจัยของชวงอายุที่แตกตางกัน ทําใหระบบฮอรโมนใน รางกายของแตละคนตางกันไปโดยปริยาย คนในวัยใกลหมด ประจําเดือนอาจมีอาการรอนๆ หนาวๆ เพราะระดับฮอรโมนใน รางกายเปลี่ยนแปลงขึ้นๆ ลงๆ อยูตลอด ทําใหรูสึกเดี๋ยวรอนเดี๋ยว หนาวได กินดีมีชัยไปกวาครึ่ง ควรกินอาหารใหครบทุกมื้อเพื่อที่รางกายจะไดมีพลังงานตอสู กับอากาศเย็นและควรเพิ่มรายการของโปรตีน แมกนีเซียม (ขาว กลอง ขาวโพด ผักโขม ผักตังกุย กลวย) ที่ชวยเรื่องระบบการ ไหลเวียนของเลือด โพแทสเซียม (องุน ผักสด เมล็ดธัญพืชและ ผลไมแหง) ชวยในการทํางานของระบบประสาท นอกจากนี้ใบ โหระพาสด วิตามินบี 12 ธาตุเหล็ก ก็ชวยเพิ่มเกล็ดเลือดใหแก รางกาย ซึ่งถารางกายมีเกล็ดเลือดและเม็ดเลือดเพิ่มมากขึ้น แรงตาน กับอากาศหนาวก็จะเพิ่มขึ้นดวย สําหรับคนที่เปนมังสวิรัติ การกินพืชผักใบเขียวและอาหาร ประเภทถั่วเหลืองก็ไดผลดีเหมือนกัน

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

ยิ่งเครียดยิ่งหนาว เชื่อหรือไมวา ความเครียดเปนบอเกิดที่ทําใหคุณกลายเปนคน ขี้หนาวได สาเหตุก็เพราะระหวางที่เครียดจัดๆ นั้น รางกายของ คนเราจะลดประสิทธิภาพในการหมุนเวียนโลหิตในรางกายโดยที่ เราไมรูตัว เรื่องการออกกําลังกายและการกินอาจตองใชเวลาสักพักกวา จะเห็นผล (แตไดผลและมีประโยชนในระยะยาว) แตสําหรับคนที่ อยากตัวอุนขึ้นมาทันใจ เพราะทนไมไหวกับความเย็นจากแอรใน หองที่คอยบั่นทอนประสิทธิภาพในการทํางานตองฟงทางออก งายๆ แตเห็นผลทันใจดังนี้ เลือกน้ําอุนและจิบชา สํารวจตัวเองเสียหนอยวาติดการดื่มน้ําเย็นหรือเปลา ถาใช ควรฝกนิสัยในการดื่มน้ําอุนๆ (ถาไมชิน เริ่มฝกจากน้ําอุณหภูมิ ธรรมดา) เมื่อตองทํางานในหองที่มีอากาศเย็น หรือการจิบชาเปป เปอรมินต ลาเวนเดอร ที่มีกลิ่นอโรมาชวยในเรื่องการผอนคลาย ความเครียด รวมถึงน้ําขิง น้ําตะไครอุนๆ ที่มีสรรพคุณชวยใหเลือด ไปหลอเลี้ยงที่ผิวหนังไดมากขึ้น เพราะนอกจากจะชวยปรับ อุณหภูมิในรางกายใหอุนขึ้นแลว การถือแกวน้ําอุนอยูในมือสักพัก หนึ่งยังชวยใหนิ้วและฝามือคลายหนาวไดอยางนาพอใจดวย ปรับอุณหภูมิใหพอเหมาะ ศาสตราจารยอลัน เฮดจ ผูเชี่ยวชาญดานสรีรศาสตร มหาวิทยาลัยคอรแนล ไดทําการทดลองเรื่องอุณหภูมิของหองที่มี ผลตอประสิทธิภาพการทํางานของคนในออฟฟศวา ในอุณหภูมิ ประมาณ 28 องศาเซลเซียส พนักงานสามารถพิมพงานได ประสิทธิภาพดี เร็ว และผิดนอยกวาพนักงานที่นั่งทํางานในหองที่ มีอุณหภูมิประมาณ 20 องศาเซลเซียสถึงสองเทา และการศึกษาได ขอสรุปออกมาอีกวา อุณหภูมิระหวาง 22 - 26 องศา เปนอุณหภูมิที่ เหมาะสมที่สุดทั้งกับรางกายของผูหญิงและผูชาย อยางนี้ตองเทาอุนไวกอน ศาสตราจารยอลัน เฮดจ ยังบอกอีกวา "เชื่อหรือไมวาบริเวณ ขอเทาเปนสวนที่ไวตอความเย็นมากที่สุดที่หนึ่งในรางกาย เพราะฉะนั้นสาวๆ ที่ชอบใสรองเทาแบบเปลือยมาทํางานควรสวม ถุงเทาเพื่อกันความเย็นไวก็จะชวยใหรางกายอุนขึ้นได สวนการเดิน หรือขยับเขยื้อนรางกายบางระหวางทํางานถือเปนการวอรมอัพ รางกายไปในตัว ชวยสรางความอบอุนไดอีกทางหนึ่ง"


รอบรั้ว BV พีทีทีไอซีทีรับ ISO 27001— นายอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจัดการ ใหญ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรอง ระบบการจัดการความปลอดภัยขอมูลสารสนเทศ หรือ ISO/IEC 27001 ใหกับนายไชยเจริญ อติแพทย กรรมการผูจัดการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด บริษัทผูใหบริการดานการออกแบบและพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารแบบครบวงจร

นายธนากร ไหวนิยม ผูจัดการฝายรับรองระบบมาตรฐาน บริษัท บูโร เว อริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรองระบบมาตรฐานการ จัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001 และระบบมาตรฐานการจัดการยานยนต หรือ ISO/TS 16949 ใหกับนายโทชิฮิโกะ ฮาชิโมโตะ ประธานบริษัท พริซิชั่น เทคโนโลยี จํากัด

ทีเอสจีมุงมั่นมาตรฐานสิ่งแวดลอม – นายธนากร ไหวนิยม ผูจัดการฝาย รับรองระบบมาตรฐาน บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรองระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม หรือ ISO 14001 ใหกับนายโตชิอาคิ นาคาโนะ กรรมการผูจัดการบริษัท บริษัท ไทยสเปเชี่ยล แกส จํากัด ผูผลิตออกซิเจนเหลว ไนโตรเจนเหลว อารกอนเหลว และกาซ ไฮโดรเจน รวมทั้งใหบริการขนสงแกสดวย

ยามาฮามาฮารับ OHSAS 18001- นายอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจัดการ ใหญ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรอง ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ OHSAS 18001 ให นายฟูมิอากิ นางาชิมา ประธานกรรมการบริหาร, นายพงศธร เอื้อมงคลชัย ผูจัดการใหญดานบริหาร พรอมดวยทีมผูบริหารและพนักงาน บริษทั ไทยยา มาฮามอเตอร จํากัด

นายศุภกร พุกกะพันธุ ผูจัดการฝายขายและการตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรองระบบมาตรฐานการ จัดการความปลอดภัยของขอมูล ISO/IEC 27001 ใหกับ นายมินทร อิงค ธเนศ ประธานคณะผูบริหาร บริษัทบิซิเนส ออนไลน จํากัด (มหาชน) ผู ใหบริการดานขอมูลธุรกิจ

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

17


รอบรั้ว BV ทัชรับ ISO 9001:2008 – นายธนากร ไหวนิยม ผูจัดการฝายรับรอง ระบบมาตรฐาน บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรองระบบมาตรฐานการจัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ใหกับ นายมนเธียร สรอยสุวรรณ กรรมการผูจัดการ บริษัท ทัช พร็อพเพอรตี้ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทดูแลงานบริหารและ การจัดการดานอสังหาริมทรัพยในเครือของบริษัท พลัส พร็อพ เพอรตี้ จํากัด

นายอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจัดการใหญ บูโร เวอริทัส เซอทิ ฟเคชั่น ประเทศไทย มอบใบรับรอง ระบบมาตรฐานการจัดการ คุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ใหกับ นายกอบชัย จิราธิวัฒน กรรมการผูจัดการใหญและประธานคณะเจาหนาที่บริหาร พรอม ดวยนายนริศ เชยกลิ่น รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการเงิน และบัญชี และสายงานบริหารทรัพยสิน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) และคณะผูบริหารศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซาบาง นาและเซ็นทรัลพลาซาปนเกลา

นายอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจัดการใหญ บูโร เวอริทัส เซอทิ ฟเคชั่น ประเทศไทย มอบใบรับรอง ระบบมาตรฐานการจัดการ สิ่งแวดลอม หรือ ISO 14001 ใหกับนายสมิทธิ พิรุณสาร กรรมการ ผูจัดการฝายครัวการบิน บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

18

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER

นายศุภกร พุกกะพันธ ผูจัดการฝายขายและการตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด มอบใบรับรองระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม หรือ ISO 14001 ใหกับนายโอตาเกะ Vice President บริษัท เวลแพค อินโนเวชั่น จํากัด


รอบรั้ว BV

ISO 27001 ทีมผูตรวจประเมินของบริษัทบูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น เขา รวมอบรมหลักสูตร ISO 27001 Lead Auditor

BRC/IoP—ทีมผูตรวจประเมินดานอาหารของบูโร เวอริทัส เซฮทิฟเคชั่น เขารวมอบรมหลักสูตร BRC/IoP for Food Packaging

Public Training: Upgrade ISO/TS 16949 New Edition เมื่อวันที่ 6-7 สิงหาคม 2552

Public Training: ISO 9001:2008 Internal Auditor เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2552

19

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER


BV Calendar

สนใจรายละเอียดหลักสูตรเพิม่ เติม คลิกนี่ www.bureauveritas.co.th/03_training.asp

หรือโทร 0 2670 4874 Special Course Topic : "Interpretation of ISO 9001:2008 Requirements" Date : 19 October (One-day course) Venue : U-Thong Inn, Ayutthaya Fee : 2,200 THB per person plus Certificate ………………………………. Topic : "Upgrade SA 8001 Requirement to new version" Date : 19 October (One-day course) Venue : Royal Benja Hotel, Bangkok Fee : 2,200 THB per person ----> Special price 1,500 THB per person for first 10 seats plus Certificate ………………………………. Note: This price is exclusive of 7% VAT

ตัวอยางวีดีโอฝกอบรม สําหรับผูสนใจใชบริการฝายฝกอบรม บูโร เวอริทัส ประเทศไทย และอยากชมตัวอยางการฝกอบรมของวิทยากร สามารถเยี่ยมชมดูตัวอยางวีดีโอฝกอบรมไดที่ เวบไซคของบูโร เวอริทัส ฝายฝกอบรม บูโร เวอริทัส ใหบริการฝกอบรมทั้งภายในและภายนอกองคกร โดยเนนหลักสูตรดานการพัฒนาศักยภาพ ของผูตรวจประเมินในทุกๆมาตรฐาน นอกจากนี้ เรายังมีบริการฝกอบรมในดานอุตสาหกรรม ทั้งในสวนของ Radiographic flim Interpretation, CE Marking overview เปนตน

20 http://www.bureauveritas.co.th/03_training.asp

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER


BV Calendar

New Courses for Industry Non-Destructive Testing (NDT) Topic : Radiographic Flim Interpretation (SNT-TC-1A) Date : 2-7 November (6-days course) Venue : Bangkok Fee : 25,000 THB* per person plus Certificate ………………………………. Topic : Radiation Safety in Radiographic Work Date : 2 October (1-day course) Venue : Bangkok Fee : 3,500 THB* per person plus Certificate

Topic : Introduction to NDT Techniques for QC and Inspection Personnel Date : 15-16 October (2-days course) or 17-18 December ( 2-days course) Venue : Bangkok Fee : 6,000 THB* per person plus Certificate Note: *This price is exclusive of 7% VAT

European Directive Topic : Introduction to Pressure Equipment Directive (PED 97/23/EC) Date : 2-4 December (3-days course) Venue : Bangkok Fee : 15,000 THB* per person plus Certificate

Topic : CE Marking Overview (Multi Directive) Date : 23 November (1-day course) Venue : Bangkok Fee : 7,000 THB* per person plus Certificate Note: *This price is exclusive of 7% VAT

Lifting Equipment Topic : Introduction to Safety for Lifting Equipment Operating Date : 13 November (1-day course) Venue : Bangkok Fee : 3,500 THB* per person plus Certificate

Topic : Crane Operation Safety Training Date : 4 December (1-day course) Venue : Bangkok Fee : 3,500 THB* per person plus Certificate Note: *This price is exclusive of 7% VAT

21

BUREAU VERITAS CERTIFICATION NEWSLETTER


www.bureauveritas.co.th Contact: 02 670 4800


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.