Bureau Veritas Certification Newsletter

Page 1

Bureau Veritas Certification Newsletter

INTERVIEW >> หลากมุมมองกับมาตรฐานไอเอสโอ

WHAT’s New? >> ประกาศใช้ ISO 9001:2008 >> วางแผนด้วยมาตรฐาน BS 25999-2 รับมือภาวะวิกฤติ

Environment >> Carbon Footprint คืออะไร

ISSUE 4, 2008


Client’s Album

คุณคิม เค.แอล. ซัง ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท เค.เอช. เท็กซ์ไทล์ จำกัด รับมอบใบรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ หรือ ISO 9001 จากคุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด Mr.Supkorn Pookapun, Commercial Manager, Bureau Veritas Certification Thailand awarded quality management system or ISO 9001 certification to Khun Kim K.L. Sung, Sales Marketing Manager, K.H. Textile Co.,Ltd.

คุณทวีศักดิ์ พงษ์วิทยภานุ ประธาน บริษัท ไทย-ออสท์ อะลูมิเนียม จำกัด พร้อมทีมผู้บริหารให้การต้อนรับ นายศุภกร พุกกะพันธุ์ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น(ประเทศไทย) จำกัด ในโอกาสเป็น ตัวแทนของผู้บริหารมอบใบรับรองมาตรฐานคุณภาพหรือ ISO 9001

.

Mr.Thaveesak Pongvitayapanu, the President of Thai-Aust Aluminium Co., Ltd., together with management team, was received quality management system or ISO 9001 certification from Mr.Supkorn Pookapun, Commercial Manager of Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd.

คุณวุฒิพงษ์ แพทยานันท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยสยามนคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด รับมอบใบรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ หรือ ISO 9001 จาก คุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายขาย และการตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส (ประเทศไทย) จำกัด Mr. Wuttipong Padhayanun, Board of Executive, Thai Siamnakorn Property Co., Ltd. received quality management system or ISO 9001 certification from Mr. Supkorn Pookapun, Commercial Manager, Bureau Veritas Certification Thailand

บริษัท สหกลอิควิปเมนท์ จำกัด โดยคุณศาศวัต ศิริสรรพ์ ประธานเจ้า หน้าที่บริหาร คุณนพพันธ์ เมืองโคตร รองประธานกรรมการ และ คุณสมชาย เสรีรัฐ กรรมการผู้จัดการ พร้อมทีมงานร่วมกันให้การ ต้อนรับคุณธนากร ไหวนิยม ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น(ประเทศไทย) จำกัด ในโอกาสเป็นตัวแทนของผู้บริหาร มอบใบรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 ให้กับบริษัทฯ ท่ามกลางความยินดีของทีมงาน ณ ห้องประชุมของบริษัท เมื่อเร็ว ๆนี้ Mr. Sasavat Sirison, Chief Executive Officer, Mr. Noppun Muangkote, Vice Chairman and Mr. Somchai Sarirat, Managing Director Sahakol Equipment Co., Ltd. together with the company staff received quality management system or ISO 9001 certification from Mr. Thanakorn Wainiyom, Technical Manager Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd. Continuted to page 06 Bureau Veritas Certification Newsletter - 05


Continuted from page 05

Client’s Album

บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด โดยคุณอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ร่วมเป็นเกียรติพร้อมมอบใบรับรองระบบมาตรฐาน บริหารงานคุณภาพ หรือ ISO 9001 และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย OHSAS 18001 ให้กับบริษัทระบบจัดการขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) โดยมีคุณคีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการบริหาร เป็นผู้รับ มอบ ท่ามกลางความยินดีของทีมผู้บริหารจากบีทีเอส Mr. Keeree Kanjanapas, CEO of Bangkok Mass Transit System Public Company Limited ( BTSC ),the BTS SkyTrain provider recently received certification of Occupational Health and Safety Assessment Series (OHSAS 18001:2007) presented by Mr. Udomdej Kongtaveelert, The Managing Director of Bureau Veritas Certification Thailand.

เรืออากาศโทอภินันทน์ สุมนะเศรณี กรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ได้รับใบรับรองมาตรฐานระบบ OHSAS ของ ครัวการบินไทย จาก คุณอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ประเทศไทย ณ ฝ่ายครัวการบินสุวรรณภูมิ โดยมีนางพิศมัย จันทรุเบกษา กรรมการ ผู้จัดการฝ่ายครัวการบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ร่วมในพิธี Flg. Off. Apinan Sumanaseni, President, Thai Airways International PLC, received Occupation Health and safety management system or OHSAS 18001 from Mr. Udomdej Kongtaveelert, Managing Director, Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd., attended by Mrs. Pismai Chandrubeksa, Managing Director, Catering Services Department and management team. Thai Airways International’s Catering Services Department has been awarded the OHSAS 18001:2007 certificate for occupational health and safety systems.

คุณฉวนชินหลิน ผู้จัดการฝ่ายบริหาร บริษัท เจ วี เอ อิเลคทริค จำกัด พร้อมด้วย คุณอภิชัย โชคบัณฑิต ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อและฝ่ายผลิต รับมอบใบรับรอง ระบบบริหารคุณภาพ หรือ ISO 9001 จาก คุณธนากร ไหวนิยม ผู้จัดการ ฝ่ายเทคนิค บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด Mr. Chuan-Chin Lin, Manager, Administration Department and Mr. Apichai Chobandit, Purchase and Production Manager, JVA Electric Co., Ltd. received quality management systems or ISO 9001 certification from Mr. Thanakorn Wainiyom, Technical Manager, Bureau Veritas Certification (Thailand) Co., Ltd.

คุณกรวุฒิ ภู่พงศ์ ผู้จัดการฝ่ายรับรองระบบคุณภาพ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองระบบบริหารคุณภาพ หรือ ISO 9001 ให้แก่ คุณฮิโรโต วาตานาเบ้ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เวลแพค อินโนเวชั่น จำกัด พร้อมด้วยคณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี Mr. Kornwut Poopong, Certification Manager, Bureau Veritas Certification Thailand presented Quality Management Systems or ISO 9001 certification to Mr. Hiroto Watanabe, the President of Well Pack Innovation Co., Ltd., together with Well Pack Innovation’s management teams.

06 - Bureau Veritas Certification Newsletter


Mr. Yutaka Kuroda, the President of Sumitomo Rubber (Thailand) Co., Ltd. received quality management system or ISO 9001 from Mr. Thanakorn Wainiyom, Technical Manager, Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd. For Sumitomo Rubber Thailand, a subsidiary from Sumitomo Rubber Industrial Group, produces high quality tires under named “Dunlop”.

Client’s Album

คุณยูทากะ คูโรดะ ประธานบริษัท ซูมิโตโม รับเบอร์ (ไทยแลนด์) จำกัด รับมอบใบรับรองระบบคุณภาพ หรือ ISO 9001 จากคุณธนากร ไหวนิยม ผู้จัดการฝ่ายเทคนิคบริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด สำหรับ ซูมิโตโม รับเบอร์ ไทยแลนด์ เป็นหนึ่งใน กลุ่มบริษัท Sumitomo Rubber Industrial Group ผลิตยางรถยนต์เกรดเอ หรือยางคุณภาพสูง และผลิตยางรถยนต์นั่งส่วนบุคคลภายใต้แบรนด์ดัง อย่าง “DUNLOP”

คุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองระบบมาตรฐานยานยนต์ หรือ ISO/TS 16949 ให้แก่ คุณนิชิมูระ มาซาโนบุ, กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอพีที พรีซิชั่น จำกัด โดยมี คุณสันติ ศิลาอ่อน ผู้จัดการโรงงาน พร้อมทีมงานร่วมแสดงความยินดี Mr. Supkorn Pookapun, Commercial Manager, Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd presented ISO /TS 16949 certification or automotive management systems to Mr. Nishimura Masanobu, The President Director of OPT Precision Co., Ltd., attended by Mr. Santi Sila-on, Factory Manager, OPT Precision.

คุณกอร์ดอน เจมส์ แบล็ควู๊ด กรรมการผู้จัดการภูมิภาคเอเชียใต้ บริษัท จี4เอส ซีเคียวริตี้ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด พร้อมทีมผู้บริหาร ร่วมกันให้การ ต้อนรับนายศุภกร พุกกะพันธุ์ คอมเมอเชียล แมนเนเจอร์ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น(ประเทศไทย) จำกัด ในโอกาสเป็นตัวแทนของผู้บริหารมอบใบ รับรองมาตรฐาน ISO 9001:2000 ระบบบริหารคุณภาพ Mr. Gordon J.Blackwood, Regional Managing Director-Southern Asia, G4S Security Services (Thailand) Ltd. together with management teams jointly received quality management systems or ISO 9001 certification from Mr. Supkorn Pookapun, Commercial Manager, Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd.

คุณกฤช กุลเนตุ กรรมการผู้จัดการ, คุณธีรสิทธิ เศวตศิลา ผู้อำนวยการฝ่าย ประสานงานขายและบริการ บริษัท เอสซีจี เน็ตเวิร์ค แมเนจเม้นท์ จำกัด และนายวีรชัย วิภาตวิทย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสซีจี รีเทล จำกัด ร่วมกันให้การต้อนรับนายศุภกร พุกกะพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น(ประเทศไทย) จำกัด ในโอกาสเป็นตัวแทนของผู้บริหารมอบใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2000 ให้กับฝ่ายประสานงานขายและบริการ บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิร์ค แมเนจเม้นท์ จำกัด และบริษัท เอสซีจี รีเทล จำกัด ในโอกาสที่ทั้ง 2 หน่วยงาน ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 ท่ามกลางความยินดีของทีมงานที่ร่วมเป็นสักขีพยาน Mr. Supkorn Pookapun, Commercial Manager, Bureau Veritas Certification (Thailand) Ltd. presented quality management system or ISO 9001 certification to Mr. Krij Kulanet, the Managing Director of SCG Network Management Co., Ltd. attended by Mr. Werachai Wipatavit, Managing Director, SCG Retail Co., Ltd., Mr. Thirasid Savetsila, Division Manager-Sales & Services Coordination, SCG Network Management Co., Ltd., and company staffs. The ISO 9001 certification awarded to Sales & Services Department of SCG Network Management Co., Ltd., and SCG Retail Co., Ltd.

Continuted to page 8 Bureau Veritas B V i Certification C ifi i Newsletter N l - 07


Client’s Album

Continuted from page 07

คุณอุดมเดช คงทวีเลิศ, กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม หรือ ISO 14001 ให้กับ ฝ่ายบริการลูกค้าภาคพื้น ณ ท่าอากาศสุวรรณภูมิ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) โดยมี พล.อ.อ. ณรงค์ศักดิ์ สังขพงศ์ รองกรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักเลขานุการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และ นางวรรณพร วิบูลย์เจริยกิจจา กรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายบริการลูกค้า ภาคพื้นดิน เป็นผู้รับมอบ Mr. Udomdej Kongtaveelert, Managing Director of Bureau Veritas Certification Thailand, presented environment standard or ISO 14001 certification to Thai Airways International’s Ground Customer Services Department, attended by Air Chief Marshal Narongsak Sangapong, Executive Vice President, Corporate Secretariat and Mrs. Wanporn Wibooncharoenkitja, Managing Director, Ground Customer Services Department, Thai Airways International

บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ( ประเทศไทย ) จำกัด โดยคุณอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ร่วมเป็นเกียรติพร้อมมอบใบรับรองระบบ มาตรฐาน HSPM (Hazard substance process management : ระบบการบริหารจัด การสารต้องห้าม) ให้กับบริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) โดยมีนายวิชัย ศักดิ์สุริยา กรรมการบริหาร เป็นผู้รับมอบ ท่ามกลาง ความยินดีของทีมบริหารและทีมงาน

Interview

Mr. Vichai Saksuriya, Operation manager of Delta Electronics (Thailand) PCL. together with management teams jointly is awarded IECQ-HSPM QC080000 (Hazardous Substance Process Management) from Mr. Udomdej Kongtaveelert, Managing Director, Bureau Veritas Certification Thailand. Delta Electronics Thailand has developed the Integrated Management System including ISO9001, ISO14001, OHSAS18001 and IECQ-HSPM QC080000 by Bureau Veritas Certification.

หลากมุมมอง กับการจัดทำระบบไอเอสโอ “แม้ว่างานของบริษัทจะเป็นงานด้านบริการ แต่ก็สามารถนำมาตรฐาน ISO 9001 มาใช้ได้เพราะมาตรฐาน ISO 9001 เป็นมาตรฐาน สากลที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกให้ความสำคัญ เพื่อความเป็นเลิศทางด้านคุณภาพ และความมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานภายใน องค์กร แนวคิดสำคัญของ ISO 9001 คือ การจัดวางระบบบริหารงาน เพื่อการประกันคุณภาพซึ่งเป็นระบบที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ากระบวน การต่างๆได้รับการควบคุม และสามารถตรวจสอบได้โดยผ่านเอกสารที่ระบุขั้นตอน และวิธีการทำงาน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบุคลากรใน องค์กรรู้หน้าที่ความรับผิดชอบและขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติงาน โดยต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานมี การจดบันทึกข้อมูล รวมทั้งการตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามที่ระบุไว้ในเอกสารหรือไม่ และมีการแก้ไขข้อผิดพลาด รวมทั้งมีแนวทางในการป้องกันข้อผิดพลาดเดิม โดยประโยชน์ที่ได้รับภายในองค์กรคือ การมีกระบวนการทำงานที่เป็นระบบยิ่งขึ้น, มีคุณภาพสินค้าที่ดีขึ้น , ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากของเสียได้อย่างเป็นรูปธรรม เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานดีขึ้น, มีระบบเอกสารที่ดีขึ้น สำหรับประโยชน์ที่ได้รับภายนอกองค์กร คือลูกค้าเกิดความมั่นใจในสินค้าและบริการ, ก้าวสู่ตลาดต่างประเทศได้ง่าย, เพิ่มความ พึงพอใจให้กับลูกค้า, สร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน โดยบริษัทเตรียมแผนที่จะพัฒนาระบบ มาตรฐานอื่นๆ ต่อเนื่องในอนาคตอันใกล้นี้ นายกฤช กุลเนตุ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสซีจี เน็ตเวิร์ค แมเนจเม้นท์ จำกัด และบริษัท เอสซีจี รีเทล จำกัด

08 - Bureau Veritas Certification Newsletter


Interview

เนื่องจากปัจจุบันสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ของไทยหลายชนิดต้องการส่งออกไปยังประเทศในแถบยุโรป อเมริกาและจีน ทำให้ สินค้าไทยถูกบังคับให้มีการทดสอบและรับรองตามกฎเกี่ยวกับการควบคุมสารต้องห้าม การได้รับการรับรองมาตรฐานระบบ การบริหารจัดการสารต้องห้าม หรือ IECQ-HSPM QC080000 ของเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ ประเทศไทย จึงเป็นการตอกย้ำให้เห็น ถึงศักยภาพการผลิตและความรับผิดชอบต่อคู่ค้า, พนักงาน และสังคมอย่างแท้จริง ก่อนหน้านั้นทางเดลต้าได้ควบรวมระบบ มาตรฐานทั้ง ISO 9001, ISO 14001 และ OHSAS 18001 เข้าไว้ด้วยกัน โดยเล็งเห็นว่าการรวมระบบดังกล่าวทำให้เดลต้าลดการ ทำงานที่ซ้ำซ้อนลง และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในกระบวนการทำงานด้วย บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) คุณวิชัย ศักดิ์สุริยา กรรมการบริหาร HSPM, ISO 9001, ISO 14001 and OHSAS 18001 ระบบมาตรฐาน ISO 9001 ที่บริษัทจัดทำขึ้นจะช่วยให้การบริหารงานภายในระหว่างทีมบริหารและทีมงานทุกระดับเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นส่งผลให้คู่สัญญาของ บริษัทได้รับการบริการที่ดีเยี่ยมและรวดเร็ว นอกจากนี้การเป็นคู่สัญญากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตเพื่อสนับสนุนแก่การไฟฟ้าฯในส่วนการทำเหมืองแร่ การขุด และขนย้ายแร่ ลิกไนต์ เป็นงานที่สำคัญและต้องใช้ทีมงานที่มีประสิทธิภาพทำงานอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยมาตรฐาน ISO 9001 ที่บริษัท ได้รับจะช่วยให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตมีความมั่นใจในการทำงานของบริษัทมากยิ่งขึ้นและจะส่งผลดีต่อการทำงานของบริษัทใน อนาคต บริษัท สหกลอิควิปเมนท์ จำกัด คุณสมชาย เสรีรัฐ กรรมการผู้จัดการ ISO 9001

มุมมองของ PANDS GROUP ซึ่งเป็นกลุ่มบริษัททำธุรกิจหลักด้านเหมืองแร่ โรงแต่งแร่ และโลจิสติกส์ต่อระบบ ISO 9000 & ISO 14000 คือ ระบบงานที่มีมาตรฐาน เป็นรากฐานที่สำคัญและมีผลต่อการทำธุรกิจที่ยั่งยืน PANDS GROUP มองว่า ISO 9000 & ISO 14000 เป็นระบบที่เป็นที่ยอมรับในสากล และที่สำคัญสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับระบบงานของ PANDS ที่มีอยู่เดิมได้ เป็นอย่างดี การจัดทำระบบมีความยากง่ายในตัวของระบบเอง การจัดทำเอกสาร การควบคุมเอกสารและบันทึก มีความจำเป็นที่ต้องจัด ทำขึ้น เพื่อการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล เอกสารต้องมีความถูกต้องและชัดเจนทันต่อเหตุการณ์ และการนำมาใช้งาน ต้องสอดคล้องกันทั้งระบบอย่างมีประสิทธภาพ ที่สำคัญต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานขององค์กร ดังนั้นความยากจึง ไม่ได้อยู่ที่การจัดทำเอกสาร แต่จะอยู่ที่การสื่อสารว่าทำอย่างไรให้พนักงานผู้ปฏิบัติงานมีความรู้และเข้าใจในระบบและสามารถ นำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และที่สำคัญอันดับต้นๆ ผู้บริหารต้องมีความมุ่งมั่น และชัดเจนในการทำงาน สำหรับประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดทำระบบ คือ ผู้บริหารสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ประเมินผล และตัดสินใจจากข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น เห็นศักยภาพในตัวผู้ปฏิบัติงานได้ชัดเจนมากขึ้น ลดความสูญเสียที่เกิดจาก การปฏิบัติงานได้มากขึ้น และสามารถตอบสังคมได้อย่างชัดเจนว่า PANDS GROUP ของเราก็มีส่วนช่วยในการลดภาวะ โลกร้อน กลุ่มบริษัท พี. แอนด์ เอส. คุณสิริธิดา สมิตะสิริ, Deputy Managing Director ISO 9001 การบินไทยให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของพนักงานทุกคน โดยถือว่าพนักงานเป็นทรัพยากรมีค่า สูงสุดที่จะต้องให้การคุ้มครองดูแลเป็นอันดับแรก และมุ่งมั่นที่จะดำเนินการและพัฒนาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของบริษัทฯให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และจะปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อ บังคับ ประกาศ มาตรฐาน และข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน อย่างเคร่งครัด ผู้บริหารของฝ่ายครัวการบิน คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพของฝ่ายฯ จึงได้กำหนดเรื่องการจัดทำระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยไว้ในแผนงานประจำปี 2550 โดยฝ่ายครัวการบินได้รับการรับรองมาตรฐาน OHSAS 18001 ในเดือนสิงหาคม 2551 ซึ่งเป็นครัวการบินรายแรกของประเทศไทยที่ได้รับมาตรฐานดังกล่าว การที่ฝ่ายครัวการบินได้รับรองมาตรฐาน OHSAS 18001 เกิดจากความร่วมมือ ร่วมใจของพนักงานทุกท่านในฝ่ายครัวการบิน ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ช่วยกันทำงานตั้งแต่การจัดทำระบบเอกสาร ปรับปรุงกระบวนการทำงาน ของพนักงานให้มีความปลอดภัย จัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้เหมาะสม รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ และข้อกำหนดอื่น ๆ รวมถึงข้อกำหนดของสายการบินลูกค้า บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เรืออากาศโทอภินันทน์ สุมนะเศรณี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ OHSAS 18001 ฝ่ายครัวการบินไทย Bureau Veritas Certification Newsletter - 09


What’s new ?

ISO และ IAF ประกาศแผนเตรียมพร้อมสู่ ISO 9001:2008 องค์กรระหว่างประเทศ ว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) และ หน่วย งานระหว่างประเทศที่รับผิดชอบในการดูแลหน่วยรับรองระบบ หรือ IAF ลงความเห็นกับการวางแผนเพื่อสร้างความมั่นใจในการ ปรับเปลี่ยนมาตรฐานระบบคุณภาพฉบับล่าสุด หรือ ISO 9001:2008 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยรายละเอียดของ แผนเกิดจากความร่วมมือกันของสององค์กร คือ ISO และ IAF มาตรฐานระหว่างประเทศ มากกว่า 17,000 มาตรฐาน มาตรฐาน คุณภาพ หรือ ISO 9001 นับเป็นมาตรฐานแรกๆที่ถูกนำมาพิจารณา เพื่อสร้างความมันใจว่าเป็นการรักษาสถานะ และการตัดสินใจที่ ได้รับการยืนยัน, การถอดถอน หรือ การปรับปรุงเอกสาร มาตรฐานระบบคุณภาพฉบับล่าสุด หรือ ISO 9001 เวอร์ชั่น 2008 ซึ่งมีกำหนดการเผยแพร่ก่อนปลายปีนี้ จะแทนที่ ISO 9001 เวอร์ชั่น 2000 มาตรฐานคุณภาพซึ่งถูกกนำมาประยุกต์ใช้โดย ภาครัฐและภาคเอกชน ใน 170 ประเทศ แม้จะไม่มีการบังคับให้ขอ การรับรองมาตรฐานคุณภาพ แต่องค์กรประมาณหนึ่งล้านองค์กร ต่างได้รับการตรวจสอบและให้การรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ หรือ ISO 9001:2000 โดยผู้ให้การรับรองอิสระ (Certification Bodies) การรับรอง ISO 9001 ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งองค์กรรัฐ และเอกชน เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์และบริการของ องค์กร, สร้างความสัมพันธ์อันดีกับหุ้นส่วนทางธุรกิจ, การคัด เลือกผู้ขาย (supplier) ในห่วงโซ่อุปทาน องค์กรไอเอสโอ คือผู้พัฒนาและผู้จัดพิมพ์ มาตรฐานระบบการ จัดการคุณภาพ แต่จะไม่ดำเนินการตรวจสอบ และให้การรับรอง การบริการตรวจสอบและให้การรับรองจะถูกดำเนินการอย่าง อิสระโดยผู้ให้การรับรองระบบ หรือ Certification Bodies องค์กรไอเอสโอไม่ควบคุมการดำเนินการของผู้ให้การรับรอง ระบบ แต่จะดำเนินการพัฒนามาตรฐานระหว่างประเทศที่จะช่วย กระตุ้นให้เกิดวิธีการปฏิบัติที่ดีในกิจกรรมที่องค์กรจัดขึ้นบนพื้น ฐานความเป็นสากล ตัวอย่าง ISO/IEC 17021:2006 ซึ่งเป็น มาตรฐานที่เฉพาะเจาะจงสำหรับผู้ให้การรับรอง ในการตรวจสอบ ให้การรับรองระบบการจัดการมาตรฐาน ผู้ให้การรับรองระบบมุ่งหวังเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการให้บริ การ อาจจะประยุกต์การได้รับการรับรองจากหน่วยรับรอง หรือ IAF ซึ่งมีประสบการณ์และความสามารถ ISO/ IEC 17011: 2004 มาตรฐานสำหรับดำเนินการตามหน่วยรับรอง IAF เป็นหน่วยงาน ระหว่ า งประเทศที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบในการดู แ ลหน่ ว ยรั บ รองระบบ ประกอบด้วย สมาชิกภาพจากหน่วยรับรองแห่งชาติ 49 หน่วย คณะกรรมการเทคนิค ISO/TC 176 (Quality management and quality assurance) ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9000 ทั้งหมด เป็นผู้เตรียมเอกสาร ซึ่งอธิบายรายละเอียดความ แตกต่างระหว่าง ISO 9001 เวอร์ชั่นเก่าและเวอร์ชั่นใหม่ หลังจาก การอนุมัติใช้มาตรฐานฉบับใหม่แล้ว เอกสารดังกล่าวจะถูกเผยแพร่ ในเวบไซค์ขององค์กรไอเอสโอ

10 - Bureau Veritas Certification Newsletter

ISO (International Organization for Standardization) and the IAF (International Accreditation Forum) have agreed on an implementation plan to ensure a smooth transition of accredited certification to ISO 9001:2008, the latest version of the world's most widely used standard for quality management systems (QMS). The details of the plan are given in the joint communiqué by the two organizations which appears below. Like all of ISO's more than 17 000 standards, ISO 9001 is periodically reviewed to ensure that it is maintained at the state of the art and a decision taken to confirm, withdraw or revise the document. ISO 9001:2008, which is due to be published before the end of the year, will replace the year 2000 version of the standard which is implemented by both business and public sector organizations in 170 countries. Although certification is not a requirement of the standard, the QMS of about one million organizations have been audited and certified by independent certification bodies (also known in some countries as registration bodies) to ISO 9001:2000. ISO 9001 certification is frequently used in both private and public sectors to increase confidence in the products and services provided by certified organizations, between partners in business-to-business relations, in the selection of suppliers in supply chains and in the right to tender for procurement contracts. ISO is the developer and publisher of ISO 9001, but does not itself carry out auditing and certification. These services are performed independently of ISO by certification bodies. ISO does not control such bodies, but does develop voluntary International Standards to encourage good practice in their activities on a worldwide basis. For example, ISO/IEC 17021:2006 specifies the requirements for bodies providing auditing and certification of management systems. Certification bodies that wish to provide further confidence in their services may apply to be "accredited" as competent by an IAF recognized national accreditation body. ISO/IEC 17011:2004 specifies the requirements for carrying out such accreditation. IAF is an international association whose membership includes the national accreditation bodies of 49 economies. ISO technical committee ISO/TC 176, Quality management and quality assurance, which is responsible for the ISO 9000 family of standards, is preparing a number of support documents explaining what the differences are between ISO 9001:2008 and the year 2000 version, why and what they mean for users. Once approved, these documents will be posted on the ISO Web site. Joint IAF-ISO communiqué Implementation of accredited certification to ISO 9001:2008 ISO (International Organization for Standardization) and the IAF (International Accreditation Forum) have agreed an implementation plan to ensure a smooth


What’s new ?

การร่วมมือกันระหว่าง IAF และ ISO migration of accredited certification to ISO 9001:2008, after consultation with international groupings การเตรียมความพร้อมของหน่วยรับรองระบบกับ representing quality system or auditor certification มาตรฐาน ISO 9001:2008 bodies, and industry users of ISO 9001 certification องค์กรระหว่างประเทศ ว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) และ services. หน่วยงานระหว่างประเทศที่รับผิดชอบในการดูแลหน่วยรับรอง ISO 9001:2008 does not contain any new requirements They have recognized that ISO 9001:2008 ระบบ หรือ IAF ตกลงทำแผนเพื่อให้มั่นใจว่าการปรับเปลี่ยน introduces no new requirements. ISO 9001:2008 only มาตรฐานคุณภาพ จาก เวอร์ชั่นเก่าเป็นเวอร์ชั่นใหม่ จะเป็นไปอย่าง introduces clarifications to the existing requirements of ราบรื่น หลังจากการปรึกษากับตัวแทนกลุ่มระหว่างประเทศด้าน ISO 9001:2000 based on eight years of experience of ระบบคุณภาพ หรือ ผู้ให้การรับรอง และกลุ่มอุตสาหกรรมผู้ใช้ implementing the standard world wide with about one million certificates issued in 170 countries to date. It ระบบการจัดการมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001 also introduces changes intended to improve ISO 9001: 2008 ไม่ได้เพิ่มเติมข้อกำหนดใหม่แต่อย่างใด consistency with ISO14001:2004 The agreed มาตรฐาน ISO 9001 เวอร์ชั่น 2008 ไม่มีการเพิ่มเติมข้อกำหนด implementation plan in relation to accredited is therefore the following: ใหม่แต่อย่างใด มีเพียงแค่การทำให้ข้อกำหนดของมาตรฐาน ISO certification Accredited certification to the ISO 9001:2008 shall 9001:2000 มีความชัดเจนมากขึ้น โดยเวอร์ชั่น 2008 อาศัยพื้นฐาน not be granted until the publication of ISO 9001:2008 ด้านประสบการณ์แปดปี ในการนำข้อกำหนดไปสู่การประยุกต์ใช้ as an International Standard. Certification of conformity to ISO 9001:2008 and/or ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามีการออกใบรับรอง หนึ่งล้านฉบับ ใน national equivalents shall only be issued after official 170 ประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาให้ publication of ISO 9001:2008 (which should take place สอดคล้องกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม หรือ ISO 14001:2004 before the end of 2008) and after a routine surveillance or recertification audit against ISO 9001:2008. ด้วย of certifications to ISO 9001:2000 ไม่อนุญาตให้มีการออกใบรับรองระบบการจัดการมาตรฐานคุณ Validity One year after publication of ISO 9001:2008 all ภาพ ISO 9001:2008 จนกว่าจะมีการประกาศใช้ ISO 9001:2008 accredited certifications issued (new certifications or จากองค์กร ISO ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีการประกาศใช้ภายในปลายปีนี้ recertifications) shall be to ISO 9001:2008. Twenty four months after publication by ISO of ISO และหลังจากการเข้าไปตรวจติดตาม (Surveillance) หรือ การต่ออายุ 9001:2008, any existing certification issued to ISO ใบรับรอง (Recertification) ซึ่งดำเนินการตรวจภายใต้ข้อกำหนด 9001:2000 shall not be valid. ISO 9001:2008 ใบรับรอง ISO 9001:2000 ไม่มีผลบังคับใช้เมื่อใด หนึ่งปีหลังจากการประกาศใช้ ISO 9001:2008 ลูกค้าที่ขอการรับรองใหม่ หรือลูกค้าที่ต่ออายุใบรับรอง จะไม่สามารถขอการรับรองด้วย เวอร์ชั่นเก่าได้ สองปีหลังจากการประกาศใช้ ISO 9001:2008 ใบรับรอง ISO 9001:2000 รวมทั้งมาตรฐาน ISO 9001:2000 จะไม่มีผลบังคับใช้อีกต่อไป

ISO publishes new edition of ISO 9001 quality management system standard ประกาศใช้มาตรฐาน ISO 9001 ฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ได้มีการประกาศ บังคับใช้มาตรฐาน ISO 9001:2008 ผ่านทางเวบไซค์ www.iso.org โดยมาตรฐานฉบับดังกล่าวนับเป็นการปรับปรุงแก้ไขเป็นฉบับที่ 4 หลังจากที่มีการประกาศใช้ ISO 9001 เมื่อปีพ.ศ. 2530 ซึ่งเป็น มาตรฐานที่ใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก ในมาตรฐานฉบับใหม่นี้ไม่ได้มีการเพิ่มเติมข้อกำหนดใหม่ เมื่อ เปรียบเทียบกับเวอร์ชั่น 2000 เมื่อนับมาตรฐานทั้งหมดที่องค์กรไอเอสโอประกาศขึ้น ปัจจุบัน มีมาตรฐานทั้งสิ้น 17,400 มาตรฐาน ซึ่งมาตรฐานเหล่านี้ทางองค์กร ไอเอสโอได้มีการทบทวน ตรวจสอบ ดำเนินการแก้ไข และยกเลิก เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว คณะกรรมการ IS0/TC 176 ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพ หรือ ISO 9000 นั้นเป็นผู้เชี่ยวชาญ ที่มาจาก ตัวแทนจาก 80 ประเทศ องค์กรระดับภูมิภาคและนานา ชาติ 19 องค์กร รวมทั้งคณะกรรมการด้านเทคนิค นอกจากนี้ยัง มีการทบทวนเกี่ยวกับผลของ ISO 9001 ในฉบับ 2008 โดย คณะกรรมการย่อย หรือ SC2 ของ ISo/TC 176 ด้วย

ISO today published ISO 9001:2008, the latest edition of the International Standard used by organizations in 175 countries as the framework for their quality management systems (QMS). ISO 9001:2008, Quality management system – Requirements, is the fourth edition of the standard first published in 1987 and which has become the global benchmark for providing assurance about the ability to satisfy quality requirements and to enhance customer satisfaction in supplier-customer relationships. ISO 9001:2008 contains no new requirements compared to the 2000 edition, which it replaces. It provides clarifications to the existing requirements of ISO 9001:2000 based on eight years’ experience of implementing the standard worldwide and introduces changes intended to improve consistency with the environmental management system standard, ISO 14001:2004

Continuted to page 12 Bureau Veritas Certification Newsletter - 11


To take account of such factors and to ensure that ISO standards are maintained at the state of the art, ISO has a rule requiring them to be periodically reviewed and a decision taken to confirm, withdraw or revise the documents. ISO/TC 176, which is responsible for the ISO 9000 family, unites expertise from 80 participating countries and 19 international or regional organizations, plus other technical committees. The review of ISO 9001 resulting in the 2008 edition was carried out by subcommittee SC 2 of ISO/TC 176.

What’s new ?

Continuted from page 11

ปัจจุบัน มีใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001 อย่างน้อย 951,486 ฉบับ ใน 175 ประะเทศทั่วโลก(สถิติเมื่อปี 2007) โดยมาตรฐาน ดั ง กล่ า วได้ ถ ู ก ใช้ อ ย่ า งแพร่ ห ลายในภาครั ฐ และภาคเอกชน กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ สำหรับองค์กรที่ต้องการข้อกำหนดมาตรฐานระบบบริหารงาน คุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 สามารถหากซื้อได้จาก สมาคมมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. หรือจะหา ซื้อผ่านทาง www.iso.org ก็ได้

Although certification of conformity to ISO 9001 is not a requirement of the standard, it is frequently used in both public and private sectors to increase confidence in the products and services provided by certified organizations, between partners in business-to-business relations, in the selection of suppliers in supply chains and in the right to tender for procurement contracts. Up to the end of December 2007, at least 951 486 ISO 9001:2000 certificates had been issued in 175 countries and economies. ISO 9001:2008, Quality management system – Requirements, costs 114 Swiss francs and is available from ISO national member institutes and from ISO Central Secretariat through the ISO Store

ตารางแสดงระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนไปใช้มาตรฐานเวอร์ชั่นใหม่ 2550

2551 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

2552 ม.ค.

เตรียมความพร้อมด้านมาตรฐาน

2553 ต.ค.

พ.ย.

ม.ค.

ต.ค.

พ.ย.

ระยะเวลาการเปลี่ยนไปใช้เวอร์ชั่นใหม่ : 24 เดือน

DIS FDIS

บังคับใช้เวอร์ชั่นใหม่ 14 พ.ย. สามารถให้การรับรองลูกค้าใหม่ หรือ ลูกค้าต่ออายุการรับรอง ด้วยเวอร์ชั่นเก่า หรือ เวอร์ชั่นใหม่ได้ สามารถให้การตรวจติดตามเพื่อรักษาระบบ โดยใช้เวอร์ชั่นเก่าได้ แต่ถ้าลูกค้าใหม่ หรือ ลูกค้าต่อ อายุการรับรอง จะขอการรับรองด้วยเวอร์ชั่นเก่าไม่ได้

สิ้นสุดการเปลี่ยนเวอร์ชั่น: ให้การ รับรอง ISO 9001:2008 เท่านั้น

ใบรับรอง ISO 9001:2000 ยังสามารถใช้ได้

“ระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนจากเวอร์ชั่นเก่าไปสู่เวอร์ชั่นใหม่ 24 เดือน” 1.เริ่มบังคับใช้มาตรฐาน ISO 9001:2008 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 2.ช่วงวันที่ 14 พ.ย. 2551 ถึง 14 พ.ย. 2552 เป็นระยะเวลา 1 ปีนับจากการประกาศบังคับใช้ โดยช่วงระยะเวลาดังกล่าวจะอยู่ในการเตรียมตัวและเป็นระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนเวอร์ชั่น ลูกค้่าใหม่ สามารถขอการรับรองด้วยมาตรฐานฉบับเก่า หรือ ฉบับใหม่ได้ สำหรับลูกค้าเดิมที่ครบรอบการตรวจ ติดตาม (Surveillance) หากยังไม่พร้อมที่จะตรวจด้วยเวอร์ชั่นใหม่ ก็สามารถตรวจด้วยเวอร์ชั่นเก่าก่อนได้ หรือหากพร้อมที่จะตรวจโดยใช้ข้อกำหนดเวอร์ชั่นใหม่ ก็สามารถแจ้งความจำนงค์ก่อนที่จะมีการเข้าไป ตรวจติดตาม 3.ช่วงวันที่ 14 พ.ย. 2552 ถึง วันที่ 14 พ.ย. 2553 ในช่วงนี้ ลูกค้าใหม่ หรือ ลูกค้าต่ออายุการรับรอง ไม่สามารถขอการรับรองเป็นเวอร์ชั่นเก่าได้ ทั้งนี้ผู้ให้การรับรอง หรือ CB สามารถให้การตรวจติดตาม (Surveillance) เพื่อรักษาระบบด้วยเวอร์​์ชั่นเก่าได้ 4.หลังจากวันที่ 14 พ.ย. 2553 ใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2000 จะถือว่าไม่มีผลบังคับใช้ สำหรับองค์กรต่างๆที่เพิ่งทราบถึงการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน ISO 9001 ขอแนะนำว่าไม่ต้องเป็นกังวล ต่อการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานดังกล่าว เพราะอย่างที่องค์กรไอเอสโอได้แจ้งไว้ว่า ไม่มีการเพิ่มเติมในตัวข้อ กำหนดแต่อย่างใด หากแต่มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดความชัดเจนตามเจตนารมของข้อกำหนด และ และ เป็นการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ทันยุคทันสมัย สอดคล้องกับมาตรฐานที่บังคับใช้ในปัจจุบัน อย่าง ISO 14001 หรือมาตรฐานอื่นๆ

สนใจข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ

(66 2) 670 4800 12 - Bureau Veritas Certification Newsletter


วางแผนด้วยมาตรฐาน BS 25999-2 รับมือภาวะวิกฤติ

ทุกวันนี้เศรษฐกิจทั่วโลกเติบโตไปอย่างสลับซับซ้อนและประสบ กับภาวะวิกฤติมากมายที่อาจจะเกิดขึ้น เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ อาจเกิดขึ้นภายในองค์กรซึ่งอาจจะมีผลกระทบโดยตรงต่อลูกค้า เหตุการณ์ดังกล่าวสามารถที่จะบรรเทาหรือหยุดลงได้ หากองค์กร นั้นมีการดำเนินการอย่างถูกต้อง โดยสายงานที่มีความเสี่ยงอาจจะ เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เช่น บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอซีที, บริการเพื่อสุขภาพ, บริการภาครัฐ และ บริการทาง การเงิน รวมทั้งภาคอุตสาหกรรม การดำเนินธุรกิจดังกล่าวต้องมีการ วางแผนเพื่อที่จะคงไว้ซึ่งกิจกรรมทางธุรกิจให้ดำเนินต่อไปได้แม้จะ ประสบกับภาวะวิกฤติก็ตาม การบริหารจัดการธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCM) เป็นวิธีการหนึ่งซึ่ง จะช่วยรักษาธุรกิจของท่าน แม้ว่าท่านจะประสบปัญหาอะไร การ ดำเนินการดังกล่าวจะส่งผลกระทบน้อยที่สุดต่อเหตุการณ์ที่อาจเกิด ขึ้นได้กับลูกค้าของคุณ, ผู้ถือผลประโยชน์ร่วม และสภาวะทางธุรกิจ การจัดการธุรกิจอย่างต่อเนื่องเป็นแนวทางซึ่งมีประสิทธิภาพในการ รักษาความปลอดภัย สร้างความเชื่อมั่นในระบบการบริหาร รักษา ภาพลักษณ์และชื่อเสียงขององค์กร รวมทั้งสร้างสรรค์บรรยากาศ ความเชื่อมั่นให้กับพนักงาน ผู้จัดส่งสินค้า (supplier), ผู้ให้บริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และลูกค้า มาตรฐานระบบบริหารจัดการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BS 25999- Business Continuity Management System) หมายถึง การจัดการธุรกิจ เพื่อให้สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องในยาม ที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น อันอาจก่อให้เกิดการหยุดชะงักของ กิจกรรมทางธุรกิจ และการดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องในการบริหาร จัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องนั้นไม่ได้หมายถึงการที่สามารถ ทำทุกอย่างได้เหมือนกับในสถานการณ์ปกติ แต่ต้องเพียงพอให้ สามารถดำเนินธุรกิจต่อไปได้ สามารถทำให้ธุรกิจมีต่อไปได้ และเกิดความเสียหายน้อยที่สุด มาตรฐานการบริหารจัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง หรือ BS 25999 แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่งเรียกว่า BS 25999-1:2006 – Code of Practice จะเป็นการแนะนำแนวทางปฏิบัติ และวิธีการจัดทำระบบ รวมทั้งอธิบายคำศัพท์เฉพาะทาง ส่วนที่สองเรียกว่า BS 25999-2:2007 – Specification for Business Continuity Management ซึ่งเป็นข้อกำหนดเพื่อประยุกต์ใช้, ปฏิบัติ การ, ปรับปรุง และพัฒนาคู่มือมาตรฐานระบบบริหารการดำเนิน ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดยในส่วนนี้จะอธิบายแค่ข้อกำหนดซึ่งสามารถ กำหนดวัตถุประสงค์ และแนวทางการถูกตรวจจากผู้ให้การรับรอง เพื ่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจในความแตกต่ า งของทั ้ ง สองส่ ว น โดยในส่วนแรกจะเป็นเอกสารคู่มือ(Guidance Document ) ซึ่งแนะ นำให้ปฏิบัติมิได้บังคับ โดยใช้คำว่า “Should” ส่วนที่สองเป็นข้อ กำหนดภาค บังคับที่ต้องปฏิบัติ ซึ่งใช้คำว่า “Shall”

Every day our global economy is growing more complex and interdependent. Incidents that occur within your own business or ecosystem can slow down or even halt your activity, directly impacting your customers and bottom line. This holds true for the ICT services, healthcare, government and finance sectors, as well as manufacturing. Anticipating rupture and having a contingency plan in place is essential in order to maintain your business activity no matter what happens. Business Continuity Management is a methodology and practice that maintains your business despite adverse conditions, minimizing the impact of potential incidents for your customer base, stakeholders and business ecosystem. It is an efficient way of maintaining security, ensuring corporate governance and compliance, protecting your image and reputation, as well as creating a climate of confidence with employees, suppliers, outsourcers, stakeholders and customers. Through the introduction of appropriate resilience strategies, recovery objectives, business continuity and crisis management plans in collaboration with, or as a key component of an integrated risk management initiative, you enable your company’s executives to continue managing business under adverse conditions. Concrete benefits include improved performance in the case of property or revenue loss, protecting cash flow, legal liability, employee safety and morale, corporate image and more. In addition to offering Business Continuity Management certification, Bureau Veritas Certification provides training for auditors and employees overseeing this activity. What is BS 25999? BS 25999 is a Business Continuity Management (BCM) standard in two parts. The first, "BS 25999-1:2006 Business Continuity Management. Code of Practice", takes the form of general guidance and seeks to establish processes, principles and terminology for Business Continuity Management. The second, "BS 25999-2:2007 Specification for Business Continuity Management", specifies requirements for implementing, operating and improving a documented Business Continuity Management System (BCMS), describing only requirements that can be objectively and independently audited. A useful means of understanding the difference between the two is Part 1 is a guidance document and uses the term 'should', Part 2 is an independently verifiable specification that uses the word 'shall'

What’s new ?

“ภาวะวิกฤติเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา หากไม่มีมาตรการบริหารจัดการให้ธุรกิจดำเนินต่อไป แม้จะประสบกับปัญหาร้ายแรงเพียงใด ก็สามารถรับมือได้ หรือจะรอให้เกิดวิกฤตก่อนแล้วจึงแก้ ดังสุภาษิตที่ว่า วัวหายล้อมคอก อย่างนั้นหรือ?”

Continuted to page 14 Bureau Veritas Certification Newsletter - 13


What’s new ?

Continuted from page 13

เนื้อหาของ Code of Practice ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 Scope และ Applicability ในส่วนนี้ให้คำจำกัดความ ขอบเขตของมาตรฐาน โดยมีเนื้อหาที่ชัดเจน อธิบายถึงแนวปฏิบัติ ที่ดีที่สุดซึ่งควรจะปรับให้เหมาะสม เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ใน องค์กร ส่วนที่ 2 คำศัพท์และนิยาม ในส่วนนี้อธิบายคำศัพท์และนิยาม ภายในโครงสร้างของมาตรฐาน ส่วนที่ 3 การแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจอย่างต่อ เนื่อง เป็นการแนะนำสั้นๆถึงหัวข้อมาตรฐาน โดยเป็นการอธิบาย กระบวนการทำงานทั้งหมด ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความ เสี่ยง และเหตุผลสำหรับองค์กรที่จะเพิ่มประโยชน์ในการทำระบบ ส่วนที่ 4 นโยบายการจัดการธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ใจกลาง ของการทำมาตรฐานนี้คือ นโยบายมีความโปร่งใส ไม่คลุมเคลือ และมีแหล่งที่มาที่เหมาะสม ส่วนที่ 5 การจัดการโปรแกรมการ BCM การจัดการโปรแกรม นับเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการ BCM และเข้าถึงคำจำกัด ความของมาตรฐานได้ดี ส่วนที่ 6 ความเข้าใจองค์กร เพื่อประยุกต์ใช้มาตรฐานให้เหมาะ สมกับกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง องค์กรจึงต้องมีเข้าใจ กับกิจกรรมอันอาจจะวิกฤต, แหล่งที่มา, หน้าที่, ข้อบังคับ, การ คุกคาม ความเสี่ยงและความต้องการที่เสี่ยงทั้งหมด ส่วนที่ 7 การวางแผนนโยบาย BCM องค์กรมีความเข้าใจอย่าง ถ่ อ งแท้ ใ นนโยบายการดำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื ่ อ งทั ้ ง หมด และสามารถกำหนดแนวทางได้อย่างเหมาะสม ส่วนที่ 8 การพัฒนาและการเพิ่มการตอบสนองต่อ BCM ใน ความหมายก็คือการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องจะต้องถูกสื่อสาร ซึ่งรวมถึง โครงสร้างการจัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ แผนการ ดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื​ื่องและแผนการจัดการเหตุการณ์ไม่พึงประ สงค์ ส่วนที่ 9 การใช้ การรักษาไว้ การตรวจสอบ และ การประเมิน ด้วยตนเองของวัฒนธรรม BCM หากไม่มีการทดสอบการตอบ สนองต่อการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง องค์กรย่อมไม่สามารถ ทราบได้ว่าองค์กรได้ดำเนินการถูกต้องตามข้อกำหนด กระบวน การใช้ การรักษาไว้ และการตรวจสอบ จะทำให้ความสามารถใน การดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง บรรลุถึงเป้าขององค์กร ส่วนที่ 10 การทำให้ BCM ผสมกลมกลืนกับวัฒนธรรมของ องค์กร การดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องไม่ควรเป็นแค่สูญญากาศ หากแต่ควรเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรนั้นด้วย สำหรับเนื้อหาในส่วนของข้อกำหนด ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ขอบเขต กำหนดขอบเขตของมาตรฐาน ข้อกำหนด สำหรับคู่มือมาตรฐานระบบการจัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อ เนื่อง เพื่อนำไปประยุกต์ใช้และการดำเนินการ ส่วนที่ 2 คำศัพท์และคำนิยาม ในส่วนนี้อธิบายถึงคำศัพท์และ คำนิยามเพื่อใช้ในโครงสร้างของมาตรฐาน ส่วนที่ 3 แผนระบบการจัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (PLAN) ใน ส่วนที่สองของมาตรฐานซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของโครง สร้าง Plan-Do-Check-Act เกี่ยวกับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นับเป็น ขั้นแรกเพื่อจัดทำแผนมาตรฐานระบบการจัดการการดำเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะมีการจัดทำให้สอดคล้องกับองค์กร

14 - Bureau Veritas Certification Newsletter

The contents of the code of practice (BS 25999-1) are as follows: Section 1 - Scope and Applicability. This section defines the scope of the standard, making clear that is describes generic best practice that should be tailored to the organization implementing it Section 2 - Terms and Definitions. This section describes the terminology and definitions used within the body of the standard Section 3 - Overview of Business Continuity Management. A short overview is the subject of the standard. It is not meant to be a beginners guide but describes the overall processes, its relationship with risk management and reasons for an organization to implement along with the benefits Section 4 - The Business Continuity Management Policy. Central to the implementation of business continuity is having a clear, unambiguous and appropriately resourced policy Section 5 - BCM Programme Management. Programme management is at the heart of the whole BCM process and the standard defines an approach Section 6 - Understanding the organization. In order to apply appropriate business continuity strategies and tactics the organization has to be fully understood, its critical activities, resources, duties, obligations, threats, risks and overall risk appetite. Section 7 - Determining BCM Strategies. Once the organization is thoroughly understood the overall business continuity strategies can be defined that are appropriate. Section 8 - Developing and implementing a BCM response. The tactical means by which business continuity is delivered. These include incident management structures, incident management and business continuity plans. Section 9 - Exercising, maintenance, audit and self-assessment of the BCM culture. Without testing the BCM response an organization cannot be certain that they will meet their requirements. Exercise, maintenance and review processes will enable the business continuity capability to continue to meet the organizations goals. Section 10 - Embedding BCM into the organizations culture. Business continuity should not exist in a vacuum but become part of the way that the organization is managed. The contents of the specification (BS 25999-2) are as follows: Section 1 - Scope. Defines the scope of the standard, the requirements for implementing and operating a documented business continuity management system (BCMS) Section 2 - Terms and Definitions. This section describes the terminology and definitions used within the body of the standard Section 3 - Planning the Business Continuity Management System (PLAN). Part 2 of the standard is predicated on the well established Plan-Do-Check-Act model of continuous improvement. The first step is to plan the BCMS, establishing and embedding it within the organization. Section 4 - Implementing and Operating the BCMS (DO) Actually implement ones plans. This section includes a number of topics that are found in


Interested Parties

Plan Maintain and Improve the BCMS

Business Continuity requirements and expectations

Act

Do

Check

Implement and Operate the BCMS

Managed Business Continuity

What’s new ?

Establish BCMS

Interested Parties

Monitor and Review the BCMS

ส่วนที่ 4 การประยุกต์ใช้และการดำเนินการ BCMS (DO) การ ประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องเป็นหนึ่งในแผนงาน ในส่วนนี้รวมถึง หัวข้อซึ่งพบได้ใน BS 25999 - 1 แม้ว่า BS 25999 - 1 ควรจะใช้ สำหรับข้อมูลและข้อแนะนำทั่วไป แต่ใน BS 25999 - 2 สามารถ ประยุกต์เพื่อการตรวจประเมินได้ ส่วนที่ 5 การตรวจสอบและการทวนสอบ (CHECK) เพื่อมั่นใจได้ ว่ามาตรฐานระบบการจัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องมีการ ทวนสอบอยู่เป็นประจำ โดยกระบวนการตรวจสอบจะครอบคลุมถึง การตรวจสอบภายในและการทวนสอบการบริหารจัดการของระบบ การจัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ส่วนที่ 6 การรักษาและการพัฒนาระบบ (ACT) เพื่อให้แน่ใจว่า ระบบมาตรฐานดังกล่าวมีทั้งการรักษาและการพัฒนาระบบอย่างต่อ เนื่อง พื้นฐานของส่วนนี้คือการพิจารณาการกระทำว่ามีความถูกต้อง และมีการป้องกันที่ดี มาตรฐานการบริหารจัดการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง สามารถ ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับมาตรฐานที่องค์กรดำเนินการอยู่อย่าง ISO 9001, ISO 14001, และ ISO 27001 โดย BS 25999-2 อยู่บนพื้นฐาน ของโมเดล Plan-Do-Check-Act ซึ่งเป็นระบบการจัดการที่มีที่มาจาก โครงร่างของ ISO 9001 เนื่องจากว่า ISO 9001 จะช่วยให้การดำเนิน ธุรกิจได้เหมือนกับในสถานการณ์ปกติ แต่สำหรับการบริหารจัดการ ธุรกิจอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้ธุรกิจสามารถดำเนินธุรกิจต่อไปได้แม้ จะเกิดเหตุการณ์อันก่อให้เกิดการหยุดชะงักของกิจกรรมทางธุรกิจ วิธีการที่จะกำหนดขอบข่ายของการรับรองการจัดการธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง – BS 25999-2 ธุรกิจที่ให้คำจำกัดความขอบข่ายของการ

Part 1 although Part 1 should only be used for general guidance and information. Only what is in Part 2 can be assessed. Section 5 - Monitoring and Reviewing the BCMS (CHECK) To ensure that the BCMS is continually monitored the Check stage covers internal audit and management review of the BCMS Section 6 Maintaining and Improving the BCMS (ACT) To ensure that the BCMS is both maintained and improved on an ongoing basis this section looks at preventative and corrective action Is the Business Continuity Management certification stand-alone, or does it integrate with other certifications? BS 25999-2 was designed to be compatible with ISO 9001:2000, ISO 14001:2004 and ISO 27001. BS 25999-2 is based on a plan-do-check-act management system modelled after the proven ISO 9001 framework. Whereas ISO 9001 helps you smoothly run ‘business as usual’, Business Continuity Management helps you to quickly get back on track after disruptions How do you define the scope of Business Continuity Management? BS 25999-2 recommends that businesses define their Business Continuity Management scope and set objectives with regard to their specific requirements for business continuity; organizational objectives and obligations; acceptable level of risk, statutory, regulatory and contractual duties; and interests of their key stakeholders.

รับรองการจัดการธุรกิจและกำหนดวัตถุประสงค์ด้วยข้อกำหนดที่เจาะจงสำหรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง, จุดประสงค์ขององค์กร และ ภาระหน้าที่, ระดับของความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได้,กฎหมาย, ข้อกำหนดและภาระหน้าที่ซึ่งผูกพันโดยสัญญา และสิทธิตาม กฎหมายของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สุดท้ายแล้วหากองค์กรของท่านมีการจัดทำมาตรฐานบริหารจัดการการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง องค์กรของท่านจะสามารถบอกได้ถึงผล กระทบและความเสียหายหากเกิดเหตุให้การดำเนินงานหยุดชะงัก, มีการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ดี อันเป็นการลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ องค์กร ทำให้เกิดการประสานงานแบบข้ามสายงาน แสดงศักยภาพขององค์กรในการตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นการ ยกระดับภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กรในแง่ของการบริหารจัดการที่ดี รวมทั้งเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พันธมิตรทาง ธุรกิจ และ ลูกค้า ถึงความสามารถในการให้บริการหรือให้ผลผลิตได้ในระดับที่ตกลงกันไว้ สนใจรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ประเทศไทย โทร 0 2670 4800 Bureau Veritas Certification Newsletter - 15


What’s new ?

การตรวจประเมินตามฐานความเสี่ยง มุ่งเน้นในการหาความเสี่ยงที่เป็นอุปสรรคต่อบริษัท และการบริหารจัดการ องค์กรที่ประสบความสำเร็จจะมุ่งเน้นที่คุณภาพ ตั้งแต่แนวทาง การจัดการไปจนถึง ผลิตภัณฑ์ และระดับการให้บริการแก่ลูกค้า จากแนวทางที่องค์กรเหล่านี้ยึดถือ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ได้พัฒนาการตรวจประเมินตามฐานความเสี่ยง (Bureau Veritas Certification Risk Based Audit), เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ลูกค้าของเรา ได้บรรลุไปสู่ความสำเร็จ และคงไว้ซึ่งความเป็นเลิศ RBA เป็นการตรวจประเมินกระบวนการ โดยมุ่งเน้นไปที่กระ บวนการหลัก และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในส่วนต่าง ๆ ตามลักษณะ อุตสาหกรรมและสถานการณ์ของลูกค้า ซึ่งเราได้พัฒนาการตรวจ ประเมินนี้ขึ้นมาใช้โดยเฉพาะอุตสาหกรรม (พัฒนามาจากมาตรฐาน ISO 9001) จากประสบการณ์ที่เชี่ยวชาญในด้านการตรวจประเมิน จากทั่วโลกของเรา จากกลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการเข้มงวดมีหลาย รายที่ต้องการลงทุนเพิ่มในการรับรองเพราะเล็งเห็นถึงผลประโยชน์ มากขึ้นที่จะได้รับ ผลตอบรับจากกลุ่มลูกค้าที่ได้ใช้การตรวจ ประเมินตามฐานความเสี่ยงนั้น มีความเห็นว่า RBA มีประโยชน์ ต่อองค์กรที่ต้องการการตรวจประเมินและการรับรองที่เพิ่มคุณค่า อีกทั้งยังมีแนวทางที่ทำให้องค์กรเหล่านั้น สามารถควบคุมความ เสี่ยงได้ดียิ่งขึ้น และเพิ่มความสามารถในการปรับปรุงแบบสืบ เนื่องด้วย ประโยชน์ต่อลูกค้าขององค์กร ในแต่ละองค์กรจะมีกระบวนการหลัก ที่จำเป็นในการทำให้ธุรกิจ ประสบความสำเร็จ และสามารถยืนหยัดต่อไปได้ วิธีการที่ใช้ในการ ตรวจประเมินตามฐานความเสี่ยงของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น นี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อระบุถึงกระบวนการหลักเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเน้นไปในการตรวจประเมินหาความเสี่ยงที่จะ เป็นอุปสรรคต่อ องค์กรและการบริหารจัดการองค์กรที่เหมาะ สำหรับวิธีการ RBA นี้ คือ องค์กรที่ผู้บริหารระดับสูงได้รับมอบหมายให้ดำเนินแผนการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเน้นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการระบุถึง ความเสี่ยงของธุรกิจ ความไม่พึงพอใจของลูกค้าที่อาจจะเกิดขึ้น และส่วนที่ผลการปฏิบัติงานไม่ดี เพื่อที่จะได้นำไปดำเนินการให้ เหมาะสมต่อไป จากความรู้ความเชี่ยวชาญของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น และ ประสบการณ์ในการดำเนินงานตรวจประเมินองค์กรจากทั่วโลก เรา สามารถที่จะค้นหา จุดแข็ง และจุดด้อย ในระบบการบริหารจัดการ และกระบวนการหลักในองค์กรได้อย่างแม่นยำ โดยรวบรวมข้อมูล ที่ได้ทำเป็นรายงานการบริหารจัดการ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงจุดดังกล่าว และ ระบุถึงระดับผลการปฏิบัติจริงและระดับผลการปฏิบัติที่องค์กรรับรู้ พร้อมทั้งให้แนวทางต่อผู้บริหารเกี่ยวกับจุดที่ควรเน้นเพื่อการปรับ ปรุงผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องสืบไป

16 - Bureau Veritas Certification Newsletter

Successful companies are those driven by quality, from the way they operate, to the products and customer service level they deliver. With such companies in mind, BUREAU VERITAS C E RT I F I C AT I O N have developed Risk Based Audit (BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA), as an additional tool to help our clients to achieve and maintain excellence. BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA is a process audit, focusing on the client's key processes and risks relevant to their sector and situation. We have developed this product (initially around ISO 9001) for specific sectors, leveraging our worldwide auditing experience. Some of our most demanding clients wanted to invest more in their certification, because they knew they could get more. Our first feedback from the clients selected that went through a risk based audit, confirmed that with BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA, businesses seeking value adding audits and certification have found the solution to allow them better control of their risks and the ability to foster their continuous improvement. The Benefit to the Client Organization In any organization there are key processes which are critical to success and sustainability of the business. BUREAU VERITAS CERTIFICATION's risk based audit approach aims to identify the key processes, particularly focusing the audit on the risks to which the company and its management are exposed. Any organization is ready for BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA if the top management is committed to implementing a program of continuing improvement, where business risks, potential customer dissatisfaction and areas of non-performance are identified and qualified, focussing on the most relevant issues. Leveraging BUREAU VERITAS CERTIFICATION knowledge and experience of auditing organizations all over the world, we provide insight to highlight strong & weak areas of the company management system and key processes. The output of such an approach is a management report, which highlights these points, indicates current levels of actual and perceived performance and provides a clear direction to the management of where to focus to continuously improve performance.


ขั้นตอนหลักของวิธีการ มีดังนี้ การค้นหาฐานความเสี่ยง จุดเริ่มต้นเริ่มต้นของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น RBA จะเริ่มจากคำถามเบื้องต้น ตามลักษณะ อุตสาหกรรม การค้นหาฐานความเสี่ยงนี้ จะสามารถระบุถึงจุดที่มี ความเสี่ยงอยู่ได้อย่างชัดเจน และชี้ถึงกระบวนการและบริเวณที่มี โอกาสทำให้ผลการปฏิบัติงานต่ำ การประชุมกำหนดขอบเขตตามฐานความเสี่ยงของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น RBA ได้รับการออกแบบให้กำหนดขอบเขตของการ ตรวจประเมินร่วมกันกับผู้บริหารระดับสูงของลูกค้า ขั้นตอนนี้เกิด จากประสบการณ์ ท ี ่ เ ชี ่ ย วชาญของผู ้ ต รวจประเมิ น ของเรา ที่ได้รับการอบรม เป็นพิเศษ ซึ่งหลักที่ใช้คือการกำหนดว่ากระบวน การอะไรส่งผลสำคัญต่อองค์กร การตรวจประเมินนี้มิใช่เป็นการนำ ข้อกำหนดของมาตรฐานไปปรับใช้กับองค์กรลูกค้า แต่เป็นการ ประเมินเปรียบเทียบองค์กรในปัจจุบันกับสภาพที่ควรจะเป็นของ องค์กร โดยใช้มาตรฐานนี้มาเป็นกรอบแนวทาง การตรวจประเมินหลักตามฐานความเสี่ยงของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ให้ความสำคัญในกระบวนการหลักที่ถูกคัดเลือก และ นำมาจัดลำดับความสำคัญตามขอบเขตที่ระบุไว้ในขั้นต้น โดย บูโร เวอริทสั เซอทิฟิเคชั่น RBA จะมีการประเมินผลการปฏิบัติงานตาม ความเป็นจริงที่สังเกตเห็นในกระบวนการหลัก โดยจะทำการระบุถึง ขั้นตอนที่ทำให้เกิดผลการปฏิบัติงานต่ำ และอาจทำให้ลูกค้าเกิด ความไม่พึงพอใจขึ้นได้ ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อการดำเนินงาน ของธุรกิจในระยะยาว ส่วนหนึ่งของ RBA นี้ยังมุ่งเน้นไปที่การ ประเมิ น ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ จ ากส่ ว นที ่ ถ ู ก ระบุ ว ่ า มี ผ ล ปฏิบัติงานต่ำด้วย รายงานผลการตรวจประเมินตามฐานความเสี่ยงของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น จะรวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์ ให้แก่ คณะผู้บริหารและเจ้าของกระบวนการได้รับทราบ รายงานนี้จะใช้ การประเมินผลแบบอิสระ (โดยผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การดำเนินงาน) และประเมินผลตามพัฒนาการในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งจะทำให้การตรวจประเมินความก้าวหน้าของการปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่องบรรลุผล การตรวจติดตามผลการตรวจประเมินตามฐานความเสี่ยงของ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น มีการตรวจติดตามผลในภายหลังเป็น ประจำตามรอบของการออกใบรับรอง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่รับรองว่า การปรับปรุงผลปฏิบัติงานเกิดขึ้นจริง การตรวจติดตามระบบนี้ นอกจากจะเป็นการรักษาคุณภาพของการรับรองแล้ว ยังเป็นการ ควบคุมผลการปฏิบัติงาน และจัดการต่อความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ภายหลังได้ ซึ่งขอบเขตของการตรวจติดตามระบบนี้ สามารถจะดัด แปลงนำไปใช้กับส่วนอื่นๆ ที่มองเห็นว่าอาจจะทำให้เกิดความเสี่ยง ขึ้นกับธุรกิจได้

The Approach BUREAU VERITAS CERTIFICATION's approach to risk based auditing is built upon ISO 9001. The approach is fully in line with accreditation requirements, and can result in an ISO 9001 certificate if the client so requires. Key steps to the approach are: The BUREAU VERITAS CERTIFICATION Risk Based Discovery starts off the BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA dealing with sector specific questions. The Risk Based Discovery shows precisely where the risks are and identifies the processes and areas of potential poor performance. The BUREAU VERITAS CERTIFICATION Risk Based Scoping Meeting is designed to define, jointly with the client's top management, the scope of the audit. This step leverages our best experience, thanks to the involvement of our top auditors, trained specifically to this new approach. A key step is to determine what is important to the client company. This audit is not about applying the rules

What’s new ?

วิธีการ วิธีการที่ บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ใช้เพื่อการตรวจประเมินตาม ฐานความเสี่ยงนั้น ตั้งอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐาน ISO9001 ซึ่งวิธี การนี้สอดคล้องกับข้อกำหนดของการรับรองระบบงาน และ สามารถขอการรับรองในส่วนของมาตรฐาน ISO9001 ได้ในคราว เดียวกัน

of the standard to the client organization, but evaluating the organization against what it needs to be, using the standard as a framework. The BUREAU VERITAS CERTIFICATION Risk Based Main Audit focuses on the key processes selected and prioritized in the Scoping phase. The BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA will assess the actual and perceived performance of the key processes. The areas of poor performance and potential customer dissatisfaction will be identified, based on their potential impact on the long term viability of the business. A part of the BUREAU VERITAS CERTIFICATION RBA can focus on assessing the economic impact of the identified areas of poor performance. The BUREAU VERITAS CERTIFICATION Risk Based Audit Report summarizes the findings, giving valuable information to the entire management team and to the process owners. The report shows the independent evaluation and evolution over time, this allows a monitoring of progress of any continuous improvement efforts undertaken. The BUREAU VERITAS CERTIFICATION Risk Based Audit Surveillance Visits repeated at regular intervals as per normal certification cycle, are critical to ensure performance improvements. These visits not only maintain certification, if applicable, but also monitor performance and risk management over time. The scope for these surveillance visits could change to shed light on other areas of risks adapting to the businesses evolving priorities.

Bureau Veritas Certification Newsletter - 17


Environment

ตามรอยคาร์บอน - Reduce your Carbon Footprint รอยเท้าคาร์บอน (อังกฤษ : carbon footprint) เป็น"การวัด"ผล กระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ที่มีต่อระบบสิ่งแวดล้อมในแง่ของ ปริมาณแก๊สเรือนกระจกที่สร้างขึ้นมาจากกิจกรรมนั้นๆ โดยเป็น การวัดคาร์บอนได้ออกไซด์ที่ปล่อยออกมา รอยเท้าคาร์บอนใช้ สำหรับประมาณว่าคนๆหนึ่ง ประเทศๆหนึ่ง หรือองค์กรๆหนึ่งมี ผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนมากน้อยเพียงใด วิธีการหลักๆของ รอยเท้าคาร์บอนคือ ประเมินปริมาณคาร์บอนที่ปล่อยออกมาสู่ สิ่งแวดล้อมและประเมินความมากน้อยในการส่งเสริมพลังงานทด แทนหรือพลังงานสะอาดขององค์กรนั้นๆ เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ หรือการปลูกป่า รอยเท้าคาร์บอนเป็นส่วน ย่อยของรอยเท้าระบบนิเวศ (ecological footprint) ซึ่งจะรวม เอาความต้องการของมนุษย์ทั้งหมดในระบบชีวนิเวศเข้าไปด้วย รอยเท้าคาร์บอน คือ ปริมาณคาร์บอนได้ออกไซด์ทั้งหมดที่มา จากการกระทำของมนุษย์แต่ละคนในระยะเวลา 1 ปี (ซึ่งรวมถึง การปล่อยออกมาผ่านการใช้พลังงานด้วย) นิยามนี้ให้ความสำคัญ เรื ่ อ งของการคำนวณปริ ม าณคาร์ บ อนของแต่ ล ะบุ ค คล ซึ่งมาจากแนวความคิดที่ว่ารอยเท้านี้เป็นสิ่งที่มาจากการกระทำ ของมนุษย์ทกุๆคนรวมกัน รอยเท้าคาร์บอนอาจจะพิจารณาเฉพาะ การปล่อยโดยตรงอย่างเดียว (คำนวณจากปริมาณพลังงานที่ใช้ใน ครัวเรือนและการขนส่ง รวมไปถึงการเดินทางด้วยรถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ หรือการขนส่งสาธารณะอื่นด้วย) หรืออาจจะรวม เอาการการปล่อยทางอ้อมไว้ด้วยก็ได้ (รวมปริมาณแก๊สคาร์บอน ไดออกไซด์ที่เป็นผลมาจากสินค้าและบริการที่บริโภคในแต่ละวัน ) การคำนวณจากล่าขึ้นบนจะให้ผลรวมเป็นปริมาณแก๊สคาร์บอส ไดออกไซด์ ท ี ่ แ ต่ ล ะคนปล่ อ ยออกมาจากกิ จ กรรมของตั ว เอง ส่วนการคำนวณจากบนลงล่างจะให้ผลรวมเป็นปริมาณที่ประเทศ นั้นๆปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาทั้งหมด และสามารถนำไป หารเป็นปริมาณเฉลี่ยที่ครัวเรือนแห่งหนึ่งปล่อยออกมา รู้หรือไม่วันหยุดเป็นสาเหตุของการทำลายสภาพแวดล้อม

carbon footprint is a "measure of the impact that human activities have on the environment in terms of the amount of greenhouse gases produced, measured in units of carbon dioxide". These gases are produced by the burning of fossil fuels for our everyday living. For example- heating and electricity. Its purpose is for individuals, nations and organizations to conceptualize their personal (or organizational) carbon dioxide contribution. A conceptual tool in response to carbon footprints are carbon offsets, or the mitigation of carbon emissions through the development of alternative projects such as solar or wind energy or reforestation. The concept and name of the carbon footprint originates from the ecological footprint discussion. The carbon footprint is a subset of the ecological footprint, which includes all human demands on the biosphere including the carbon, food and fibre footprint. The definition of the carbon footprint is the total amount of carbon dioxide attributable to the actions of an individual (which includes emissions through their energy use, but other unforeseen emissions as well) over a period of one year. This definition underlies the personal carbon calculations. The term owes its origins to the idea that a footprint is what has been left behind as a result of the individual's activities. Carbon footprints can either consider only direct emissions (typically from energy used in the home and in transport, including travel by cars, airplanes, rail and other public transport), or can also include indirect emissions (including CO2 emissions as a result of goods and services consumed). Bottom-up calculations sum attributable CO2 emissions from individual actions; top-down calculations take total emissions from a country (or other low-level entity) and divide these emissions among the residents (or other participants in that entity). Holidays as extra environmental burden

จากการวิเคราะห์รอยเท้าคาร์บอนของงานคริสมาสต์ในประเทศ อังกฤษ แสดงให้เห็นถึงมีการบริโภคในรายการต่างๆ เช่น อาหาร, การเดินทาง,ไฟฟ้า และของขวัญ ซึ่งในงานคริสมาสต์นั้นมีการ ปล่อยคาร์บอน 650 กิโลกรัม ต่อ คน หรือเทียบเท่ากับ 5.5 เปอร์เซ็นต์ในเวลาหนึ่งปีในประเทศอังกฤษ นอกจากนี่ในวันคริส มาสต์ ค่าเฉลี่ยต่อคน ในการปล่อยคาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศมีดังนี้ 26 กิโลกรัม ของการปล่อยคาร์บอน มาจาก อาหาร 96 กิโลกรัม ของการปล่อยคาร์บอน มาจาก การเดินทางโดยรถ 218 กิโลกรัม ของการปล่อยคาร์บอน มาจาก การจัดแสดงไฟ เป็นจำนวนมาก 310 กิโลกรัม ของการปล่อยคาร์บอน มาจาก การช้อปปิ้งสินค้า คริสมาสต์ ทั้งนี้การปล่อยคาร์บอนในช่วงวันคริสมาสต์สามารถลดลงได้ ประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ หรือ ประมาณ 250 กิโลกรัม 18 - Bureau Veritas Certification Newsletter

An analysis of the carbon footprint of Christmas in the UK shows that consumption of items such as food, travel, lighting and gifts at Christmas produces as much as 650 kg of carbon dioxide (CO2) emissions per person - equal to 5.5% of the UK annual carbon footprint. Over Christmas, the average person could produce as much as: 26 kg of CO2 from Christmas food 96 kg of CO2 from Christmas Car travel 218 kg of CO2 from extravagant lighting displays 310 kg of CO2 on Christmas Shopping Christmas carbon emissions could be reduced by up to 60 per cent to about 250 kg.

ข้อมูลอ้างอิง • http://en.wikipedia.org/wiki/Carbon_footprint


หลักการใช้อีเมลล์เบื้องต้น

อีเมลล์ หรือ จดหมายอิเลคทรอนิคส์ เป็นช่องทางการสื่อสารอย่าง หนึ่งที่สะดวกและรวดเร็ว วิธีการใช้อีเมลล์จึงกลายเป็นความจำเป็น เบื้องต้น อย่างไรก็ตาม การใช้อีเมลล์ในทางที่ผิดย่อมนำมาซึ่งความ เสี่ยง หรือประเด็นต่างๆตามมา เพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมดังกล่าวจึง ได้มีการกำหนดหลักการใช้อีเมลล์เบื้องต้นโดยอาศัยพฤติกรรมการใช้ อีเมลล์เป็นประจำทุกวัน

The use of e-mail has become essential and is now a commonplace in professional exchanges. However, a misuse of it can lead to a certain number of risks or issues. In order to avoid these, here is a list of basic e-mail rules, based on common sense.

Focus On

หลายครั้งที่อีเมลล์เต็มอย่างรวดเร็ว หลายครั้งที่ระบบเครือข่ายรับเมลล์ได้อย่างล่าช้า รู้หรือไม่ว่า ทุกวัน ที่รับและส่งอีเมลล์ อาจส่งผลกระทบต่อองค์กรได้

ประโยชน์ของการใช้อีเมลล์อย่างถูกต้อง - Benefit ต่อไปนี้คือประโยชน์หลักของการใช้อีเมลล์อย่างชาญฉลาด ประสิทธิผล -ห ลีกเลี่ยงการทำให้อีเมลล์ของคุณและของผู้รับเต็ม - ห ลีกเลี่ยงการทำให้ระบบเครือข่ายถูกบรรจุไปด้วยอีเมลล์จำนวน มาก แทนที่จะทำให้เกิดการไหลเวียนของอีเมลล์ที่ดี ความปลอดภัย - สร้างความมั่นใจในความปลอดภัยขององค์กร เป็นความลับและมีความสมบูรณ์ -ก ารยอมรับกับกฎและหลักการขององค์กร โดยเฉพาะ ความลับ ความยุติธรรม และความสมบูรณ์

Here are the main benefits of using one’s professional e-mail wisely: Efficiency •Avoiding the saturation of your inbox and your recipient’s. •Avoiding the overload on servers allowing a much better flow of e-mails. Safety •Ensuring the company’s safety. Confidentiality and integrity •Complying with the rules and principles of company’s Code of Ethic addressing notably confidentiality impartiality and integrity.

ใช้อีเมลล์อย่างไรให้ฉลาด - หลักการของอีเมลล์เบื้องต้น -หัวข้อและจุดประสงค์ของอีเมลล์ต้องชัดเจน มีการใช้วิจารณ ญาณ ในระดับของข้อมูลของผู้รับ เมื่อมีอีเมลล์หลายเมลล์ในหัวข้อ เดียวกัน ให้เก็บเพียงแค่หัวข้อที่เหมือนกันเพื่อทำให้ง่ายต่อการอ่าน -เขียนอีเมลล์อย่างสั้นและได้ใจความที่สุด -ตรวจทานข้อความก่อนการส่ง โดยใช้การตรวจสอบการสะกด คำจากระบบอิเล็คโทรนิคส์ของอีเมลล์ -อย่าเขียนสิ่งใดๆในอีเมลล์ ถ้าสามารถใช้สิ่งอื่นมาแทนได้ เช่น จดหมาย โทรศัพท์ เป็นต้น อีเมลล์สามารถเก็บและใช้ เพื่อสิ่งสำคัญ มากกว่าเรื่องทั่วๆไป - การส่ ง ต่ อ อี เ มลล์ ด ้ ว ยความเอาใจใส่ แ ละต้ อ งมี ผ ลดี ก ั บ ผู ้ อ ื ่ น พยายามหลีกเลี่ยงการส่งต่ออีเมลล์ที่ทำให้กล่องข้อความของผู้อื่น เต็ม -ไม่ควรทำสำเนาหรือส่งข้อมูล “ลับเฉพาะ” -จำกัดจำนวนของผู้รับและในกลุ่มสำเนา เพื่อให้เกิดการต่อเติม ข้อความให้น้อยที่สุด ไม่ควรใส่ทุกคนในสำเนาเพราะจะทำให้ อีเมลล์ของคนอื่นเต็มได้ รวมทั้งไม่ควรใช้ สำเนาซ่อน (BCC) ด้วย เช่นกัน โดยให้ส่งอีเมลล์แบบแยกเฉพาะบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเนื้อ ความแทน

State clearly the topic and the object of the e-mail. Take in consideration the level of information of the recipients. When there are several e-mails on the same topic, keep the same object to make the reading easier. • Write short and clear messages. • Proofread the message before sending it; use your electronic spell check. • Do not write anything in an e-mail you would not allow yourself if you were using any other support (paper mail, telephone, etc.). An e-mail can be stored and used for other means than its original one. • Forward with care and only to affected people, you will avoid saturating people’s inboxes. • Never duplicate or send “confidential” information. • Limit the number of recipients and people in copy to a bare minimum. Do not put everyone in copy as it might saturate people’s inboxes. Also, hidden copies (bcc) should be avoided. Instead, send the e-mail to the affected person separately.

Continuted to page 20 Bureau Veritas Certification Newsletter - 19


Continuted from page 19

•Limit the number and the size of attached files to avoid

Focus On

overloading the network:

-จำกัดขนาดของไฟล์แนบ อย่าแนบไฟล์ ที่มีขนาดใหญ่เกินไป เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา กับระบบเครือข่าย o หลี ก เลี ่ ย งการใส่ ไ ฟล์ ภ าพที ่ ม ี ค วาม ละเอียดของภาพสูงในอีเมลล์ o หากเป็นไปได้ให้บีบอัดไฟล์ให้เล็กลง เช่นไฟล์ภาพใน Powerpoint หรือ MS Word o เมื่อส่งไฟลให้พยายามส่งแบบบีบอัดไฟล์ หรือ .zip เพื่อให้ไฟล์ ที่ส่งมีขนาดน้อยลง -เมื่อจะตอบอีเมลล์ ให้ลบข้อความอีเมลล์ที่ไม่จำเป็นออก เก็บ เฉพาะข้อมูลที่จำเป็น และให้ลบไฟลแนบที่ไม่จำเป็นออกด้วย -ส่งอีเมลล์เท่าที่จำเป็น อย่าลังเลที่จะจัดการกับเอกสารที่มีขนาด ใหญ่ ถ้าเป็นไปได้ให้ใช้การพูดคุยก่อน -การใช้อีเมลล์เพื่อวัตถุประสงค์ที่จำเป็นเท่านั้น -ไม่ควรส่งหรือส่งต่อข้อความที่ส่อเสียดไปในทางที่ไม่ดี หรือ ผิด ศีลธรรม หรือ ลบหลู่ทางเพศ หรือ ข้อความใดก็ตามแต่ที่ไม่เหมาะสม -ผู้ใช้อีเมลล์ไม่ควรส่งต่อข้อความ อย่างเช่น ข้อความหลอกลวง, spam, ข่าวลือ หรือข้อความใดก็ตามแต่ที่ส่งผลเสียต่อระบบเครือข่าย

o Avoid high resolution pictures in your e-mails. o Compress your files whenever it is possible

(ie:

pictures in Word or PowerPoint for example).

o Use the Zip functionality in your e-mail. •When you reply, clear the e-mail of the unnecessary information kept in the historic, and suppress unnecessary attachments. •Send an e-mail if necessary and because it brings a contribution; do not hesitate to handle heavy documents in person, when it is possible or to call the person. •E-mails are to be used for professional purposes only. •It is forbidden to send or to forward messages contributing to discrimination or to a moral or sexual harassment, or of an insulting, racist or pornographic nature. •The user should not forward messages such as hoaxes, spams, false alarms, rumors, etc., as those may endanger the network.

โรคจากการทำงาน - Business Diseases ในขณะนี้เป็นช่วงที่พนักงานและลูกจ้างหลายแห่งได้รับบริการ ตรวจสุขภาพประจำปี และตรวจเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากการทำงาน เพื่อทราบถึงแนวโน้มการเจ็บป่วยของตนเอง และรักษาหรือป้องกัน ได้อย่างทันท่วงที เพราะงานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของ ประชากร 30 กว่าล้านคนในประเทศไทย เวลากว่า 1 ใน 3 ใช้ไปกับการทำงาน การจัดสภาพในที่ทำงานให้เหมาะสมปราศจาก โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่อผู้ทำงานจึงมีความสำคัญ ความหมายของโรคจากการทำงาน โรคจากการทำงาน หมายความถึงโรคและการบาดเจ็บจากการ ทำงาน โดยแบ่งตาม สาเหตุหรือลักษณะการเกิดโรค เป็น 2 ประเภท คือ 1.โรคจากอาชีพ (Occupational Diseases) หมายถึง โรคหรือ ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงานโดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่ง คุกคามสุขภาพในที่ทำงาน ซึ่งอาการเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน ในขณะทำงานหรือหลังจากทำงานเป็นเวลานาน และโรคบางอย่าง อาจเกิ ด ภายหลั ง หยุ ด การทำงานหรื อ ลาออกจากงานนั ้ น ๆแล้ ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของสิ่งคุกคามสุขภาพ ปริมาณสารที่ได้รับ และโอกาสหรือวิธีการที่ได้รับ ตัวอย่างของโรคที่สำคัญ เช่น โรค พิษตะกั่ว โรคซิลิโคสิส (โรคปอดจากฝุ่นหิน) โรคพิษสารทำละลาย ต่าง ๆ (Organic solvent toxicity) เป็นต้น ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ในเชิง สาเหตุและผลกระทบ(Cause-effect or dose-response relationship) 2. โรคเนื่องจากงาน (Work-related diseases) หมายถึงโรคหรือ ความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากปัจจัยหลาย อย่างประกอบกันและการทำงานเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค ทั้งนี้ปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนทำให้เกิดโรค อาจได้แก่ พันธุกรรม พฤติกรรมสุขภาพของคนทำงาน ท่าทางการทำงาน ลักษณะหรือ ระบบงานที่ไม่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น โรคปวดหลังจากการทำงาน 20 - Bureau Veritas Certification Newsletter

โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยสรุป การเกิดโรคจากการทำงาน ถ้ามีปัจจัยจากภายนอก มาทำให้เกิดโรค ก็ถือเป็นโรคจากอาชีพ เช่น โรคพิษตะกั่ว (ตะกั่วไม้ใช่สารองค์ประกอบของร่างกาย) โรคซิลิโคสิส (ฝุ่น หินเป็นสารแปลกปลอมในปอด) เป็นต้น แต่ถ้ามีสาเหตุจาก ปัจจัยส่วนตัวร่วมกับสภาพและสิ่งแวดล้อมการทำงานทำให้อา การของโรคมากขึ้น หรือเกิดความผิดปกติชัดเจนยิ่งขึ้น ก็ถือเป็น กลุ่มโรคเนื่องจากงาน เช่น โรคปวดหลัง ซึ่งคนที่มีอริยาบถไม่ ถูกต้องมีแนวโน้มปวดหลังได้ง่าย เมื่อต้องมาทำงานรีบเร่งหรือ ยกย้ายของหนัก ๆ ก็ยิ่งทำให้ปวดหลังง่ายขึ้นหรือทำให้อาการ ปวดหลังกำเริบมากขึ้น เป็นต้น ปัจจัยหลักในการก่อให้เกิดโรคจากการทำงานมีอยู่ 3 ปัจจัยคือ 1.สภาพของผู้ทำงาน(workers) เด็กและผู้สูงอายุหรือสตรีมี ครรภ์มีโอกาสเกิดโรคจากการทำงานได้มากขึ้น ลักษณะรูปร่าง ของคนงานที่ไม่เหมาะสมกับสภาพการทำงานสามารถก่อให้เกิด โรคกล้ามเนื้อและกระดูก กรรมพันธุ์มีผลต่อการเกิดโรคบาง ชนิดได้ เช่น ผู้ป่วยที่เป็น seroderma pigmentosum ซึ่งมีความ บกพร่องในการซ่อมแซม DNA ทำให้มีโอกาสเกิดมะเร็ง ผิ ว หนั ง จากการสั ม ผั ส ถู ก แสงแดดได้ ง ่ า ยกว่ า บุ ค คลทั ่ ว ไป พฤติกรรมของผู้ทำงานมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการเกิดโรคจาก การทำงาน เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่จะทำให้ผู้ทำงานมี โอกาสเกิ ด โรคตั บ หรื อ โรคปอดจากการทำงานได้ ม ากขึ ้ น ประสบการณ์ทำงานของผู้ทำงานมีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุในการ ทำงาน โดยผู้ที่มีประสบการณ์น้อยมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ค่อน ข้างมาก นอกจากนี้ ประสบการณ์การทำงานที่น้อยยังอาจส่งผล ให้ขาด การระมัดระวังในการทำงานที่ต้องสัมผัสกับสิ่งคุกคาม ต่อสุขภาพต่างๆ ในที่ทำงานอีกด้วย


โรคที่เกิดจากการทำงานส่วนมากไม่สามารถรักษาได้ หรือมีความพิการหลงเหลืออยู่หลังการรักษา ดังนั้น หนทางที่ดีที่สุดในการจัดการกับโรคจากการทำงาน คือ การป้องกันโรค การค้นหาวินิจฉัยผู้ป่วยที่เป็นโรค ให้การรักษา และฟื้นฟูสภาพ ให้กลับเป็นปกติ หลักสำคัญที่จะทำการรักษาและฟื้นฟูได้คงต้อง มีการวินิจฉัยที่ถูกต้องนำมาก่อน หลักการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน ประกอบด้วย *การวินิจฉัยโรค โดยอาศัยหลักการทางการแพทย์ทั่วไปในการ วินิจฉัยว่าผู้ทำงานเจ็บป่วยเป็นโรคใด *การซั ก ประวั ต ิ ก ารทำงานโดยละเอี ย ดมิ ใ ช่ เ พี ย งคำถามว่ า ประกอบอาชีพอะไรเท่านั้น การซักประวัติการทำงานควรประกอบด้วย ประวัติการเจ็บป่วยทั่วไป ประวัติปัจจุบัน ซักถามถึงช่วงเวลาที่มีอาการ หากมีอาการช่วง วันทำงานและอาการดีขึ้นในช่วงวันหยุด อาจส่อเค้าว่ามีความ สัมพันธ์กับการทำงาน มีเพื่อนร่วมงานมีอาการเช่นเดียวกันหรือไม่

ประวัติอดีต งานในอดีตมีการสัมผัสกับสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ ใดบ้าง ประวัติการทำงาน สอบถามงานที่ทำตั้งแต่ในอดีตจนถึง ปัจจุบัน โดยลงรายละเอียดถึงสภาพงานและสภาพแวดล้อมใน การทำงาน ตลอดจนสิ่งคุกคามต่อสุขภาพในการทำงานต่างๆ มี การจัดอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลหรือวิธีการควบคุมสิ่งคุกคาม ต่อสุขภาพในที่ทำงานอย่างไรบ้าง การตรวจสุขภาพก่อนเข้า ทำงานและระหว่างการทำงานมีหรือไม่ ผลเป็นอย่างไรมีการ ตรวจวัดสิ่งคุกคามต่อสุขภาพในที่ทำงานหรือไม่อย่างไร หยุดงาน เนื่องจากการเจ็บป่วยมากน้อยเพียงใด มีการเบิกจ่ายจากกองทุน เงินทดแทนบ่อยแค่ไหน และมีการทำงานพิเศษที่อื่นหรือไม่ เนื่อง จากการเจ็บป่วยอาจจะเกิดจากงานพิเศษก็ได้ ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม โรคจากการทำงานบางครั้งมีอาการ คล้ายกับโรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการซักถามถึงสภาพ แวดล้อมที่บ้านจึงมีความจำเป็น เช่น มีโรงงานบริเวณที่พักหรือ ไม่มีแหล่งเก็บหรือทิ้งของสารเคมีมีพิษบริเวณใกล้เคียงบ้านหรือ ไม่ อาชีพของคู่ครองก็มีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้ มลพิษบริเวณ บ้านมีมากน้อยอย่างไร งานอดิเรกที่ทำเป็นประจำ เช่น การยิงปืน เป็นงานอดิเรกอาจทำให้เกิดหูเสื่อมจากเสียงดังได้ สารเคมีและ สารฆ่าแมลงที่ใช้ภายในบ้าน การทบทวนพิษวิทยาของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพที่พบในที่ทำงาน ของผู้ป่วย เนื่องจากมีสารเคมีกว่า 70,000 ชนิดใช้ในโลก จึง สมควรทราบถึงแหล่งข้อมูลด้านพิษวิทยาเกี่ยวกับสารเคมีต่างๆ โดยเบื้องต้นอาจเริ่มจากฉลากที่ปิดมากับภาชนะบรรจุสารเคมี (material safety data sheet-MSDS) ซึ่งตามกฎหมายระบุให้ผู้ผลิต และนำเข้าสารเคมีต่างๆ ต้องมีฉลากดังกล่าวบ่งบอกถึงชื่อสารเคมี ผลต่อสุขภาพ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของสิ่งคุกคามต่อ สุขภาพกับอาการที่เกิดขึ้น (dose - response rela-tionship) โดย ปกติอาการทางพิษวิทยาเป็นเพิ่มมากขึ้นตามปริมาณการรับสัมผัส สารที่เพิ่มขึ้น การพิจารณาถึงสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิดโรคนอกเหนือจากการทำ งาน แพทย์ควรจะต้องพิจารณาถึงสาเหตุอื่นๆ นอกเหนือจากสิ่ง คุกคามต่อสุขภาพในที่ทำงานที่อาจเป็นสาเหตุการเกิดโรคที่แท้จริง การรวบรวมข้อมูลต่างๆ ข้างต้น เพื่อสรุปผลว่าผู้ป่วยเป็นโรค จากการทำงานหรือไม่ โดยสรุปจากการที่เจ็บป่วยเป็นโรคจริง และมีหลักฐานยืนยันชัดเจนว่าการทำงานมีผลให้เกิดโรคดังกล่าว หลังจากที่มีการวินิจฉัยโรคจากการทำงานได้แล้ว การรักษา พยาบาลเป็นการให้การรักษาตามชนิดของโรค หากหลังการรักษา พยาบาลแล้วผู้ป่วยยังมีสมรรถภาพร่างกายไม่ปกติ ต้องมีการส่ง ผู้ป่วยเข้ารับการฟื้นฟูสภาพร่างกาย (physical rehabilitation) และ หากมี ค วามจำเป็ น อาจต้ อ งส่ ง ผู ้ ป ่ ว ยเข้ า ทำการฟื ้ น ฟู ฝ ึ ก อาชี พ (vocational rehabilitation) ร่วมด้วย หลังจากการฟื้นฟูสภาพเสร็จ สิ้นก่อนให้ผู้ป่วยกลับเข้าทำงานต้องมีการพิจารณาความเหมาะสม ของผู้ป่วยกับงาน (fitness for work) โดยอาศัยหลักการเดียวกับ การพิจารณาความเหมาะสมก่อนบรรจุเข้าทำงานใหม่ข้างต้น

Focus On

2.สภาพงาน (work conditions) ได้แก่ ระบบการทำงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบ การทำงานเป็นกะ ค่าจ้าง สวัสดิการ และความสัมพันธ์ ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างมีผลเกี่ยวข้องกับการ เกิดโรคจากการทำงาน เช่น ระบบการทำงานที่มุ่งเน้นที่จำนวน ผลผลิตจะกระตุ้นให้คนงานประมาทขาดความระมัดระวังในการ ป้องกันอันตราย การทำงานเป็นกะโดยมีการเปลี่ยนกะอยู่เป็นประจำ ทำให้คนงานมีปัญหาโรคกระเพาะอาหาร โรคหัวใจและปัญหา ทางด้านจิตใจและสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในที่ทำงาน มีผลต่อจิตใจ และผลผลิตในการทำงาน สิ่งแวดล้อมในการทำงาน (working environments) 1. สิ่งแวดล้อมด้านภายภาพ (physical environments) ได้แก่ แสง ที่จ้าเกินไปหรือมืดเกินไปมีผลต่อสายตาและสภาพความเครียด เสียง ที่ดังเกินไป (noise) ส่งผลให้เกิดภาวะหูเสื่อม อุณหภูมิร้อนหรือ หนาวเกินไปทำให้สมดุลย์ของร่างกายเสียไป แรงสั่นสะเทือน 2. สิ่งแวดล้อมด้านชีวภาพ (biological environments) ได้แก่ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในที่ทำงาน ได้แก่ เชื้อโรคชนิดต่างๆ ในสถาน พยาบาล สัตว์นำโรคหรือสัตว์มีพิษต่างๆ ที่พบในภาคเกษตรกรรม และเชื้อโรคและสัตว์ทดลองในห้องทดลองวิจัย 3. สิ่งแวดล้อมด้านเคมี (chemical environments) ได้แก่ สารเคมี โลหะหนัก ในรูปฝุ่น ควัน หมอก ละออง ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายทั้งทางการหายใจ การกิน หรือผิวหนัง สามารถทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพผู้ทำงานได้ทุกระบบทั้งเฉียบ พลัน เรื้อรังและอาจก่อให้เกิดมะเร็ง 4. สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตใจ (psychological environments) ได้แก่ สภาพความเครียดในการทำงาน (occu-pational stress) ความเหนื่อยล้าจากการทำงาน (burnout) ซึ่งสามารถส่งผลให้เกิดโรคทางกายได้ (psychosomatic disorders) 5. สิ่งแวดล้อมด้านการยศาสตร์ (ergonomics) การยศาสตร์เป็น วิชาที่เกี่ยวกับการนำเอาศาสตร์ต่างๆ มาปรับใช้กับการจัดสถานที่ ทำงานให้เหมาะสมกับผู้ทำงาน การที่ลักษณะที่ทำงานเข้ากันไม่ได้ กับตัวผู้ทำงานจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุและโรคจากการทำงานได้ เช่น การที่คนงานต้องก้มๆเงยๆ ทำงานอยู่ตลอดวันทำให้คนงานมี โอกาสเกิดอาการปวดหลังขึ้นได้

อ้่างอิงจาก >> www.healthnet.md.chula.ac.th >> สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) Bureau Veritas Certification Newsletter - 21


BV Album

Training

18 August 2008

>>> การตีความข้อกำหนดระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม >>> Interpretation of ISO 14001:2004 requirment

25-26 25 26 August 2008 - Chon Chonburi

การตรวจประเมินระบบคุณภาพภายใน ISO 9001:2008 >>> QMS Internal Auditor ISO 9001:2008 >>>

13 August 2008 at Ayutthaya

>>> New Release ISO/FDIS 9001:2008 ! & HSPM - Hazardous Substance Process Management

4 September 2008 Go Beyond ISO 9001 Certification with VeriCert®

22 - Bureau Veritas Certification Newsletter

>>>


Training

>>> มุ่งมั่นสู่มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม คุณพร้อมแล้ว หรือยัง? >>> Are you ready to certify ISO 14001:2004?

BV Album

15 October 2008

4 April 2008

พัฒนาประสิทธิผลระบบจัดการสิ่งแวดล้อม >>> Improvement Environmental System Performance >>>

สำหรับทุกหลักสูตร สมัครล่วงหน้า 2 เดือนรับส่วนลด 15% สนใจหลักสูตรส ตรสัสัมมมนาเพิ นาเพิ่มเเติติม กรุณาติดต่อ ฝ่ายฝึกอบรม บูโร เวอริทัส ประเทศไทย โทร 0 2670 4800 Ext. 839, 874 หรืออีเมลล์​์ bvt.training@th.bureauveritas.com Apply 2 months before the training date get 15% discount for all course. If you would like more information about training, please don’t hesitate to contact Traininig Department, Bureau Veritas Thailand Tel. 0 2670 4800 Ext. 839, 874 or Email: bvt.training@th.bureauveritas.com

Training Program - December 2008 Bureau Veritas is pleased to offer "Public Training" programs on December 2008 as followings; Special course

Course No.2:

Topic :

Topic : "QMS Internal Auditor ISO 9001:2008" Date : 3-4 December 2008 (Two-day course) Venue : To be advised Fee : 3,750 THB per person plus Certificate (this price is exclusive of 7% VAT)

"Upgrade Internal Auditor for new version ISO 9001:2008" Date : 19 December 2008 (One-day course) Venue : Royal Benja, Bangkok (Sukhumvit soi 5) Fee : 2,000 THB per person plus Certificate (this price is exclusive of 7% VAT)

!!หากท่านสนใจจะจัดเป็นหลักสูตร In-house Training ท่านสามารถติดต่อแผนกฝึกอบรม โทร 0 2670 4874!! !!เตรียมพบกับตารางฝึกอบรมประจำปี 2009 ได้ใน

www.bureauveritas.co.th Bureau Veritas Certification Newsletter - 23


Contact us

www.bureauveritas.co.th เตรียมพบกับ เวบไซค์โฉมใหม่ เร็วๆนี้

For more enquiry, please contact us: Customer Service Teams: Email: ncr@th.bureauveritas.com CS Teams:

K.Anongrat (อนงค์รัตน์) >> Tel: 0 2670 4832 K.Kannika (กัณณิกา)

>> Tel: 0 2670 4836

K.Manika (มานิกา)

>> Tel: 0 2670 4843

K.Narumol Nanthamongkol (นฤมล K.Suchada (สุชาดา)

นันทมงคล) >> Tel: 0 2670 4829

>> Tel: 0 2670 4838

K.Kanlayanee (กัลยาณี) >> Tel: 0 2670 4835 K.Sirinya (สิรินยา) K.Prasong (ประสงค์)

>> >>

Tel: 0 2670 4833 Tel: 0 2670 4883

K.Chatchada (ชัชฎา) >> Tel: 0 2670 4845 --------------------------------------------------------------------Sales and Marketing: Email: sale.support@th.bureauveritas.com Invoice:

New Client:

K.Nualtanom (นวลถนอม) >> Tel: 0 2670 4828

Existing Client:

K.Maniprapha (มณีประภา) >> Tel: 0 2670 4866 --------------------------------------------------------------------

Training: Email: bvt.training@th.bureauveritas.com K.Mutita (มุทิตา) >> Tel: 0 2670 4874 K.Darika (ดาริกา) >> Tel: 0 2670 4839


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.