BVC E-Newletter issue 1, 2010

Page 1

Bureau Veritas T H A I L AND

C E R T I F I C A T I O N

E - N E W S L E T T E R

2 0 1 0 I SSUE 01

ISO 9001:2008 Mr. Quality พรอมหรือยังกับการเปลี่ยนแปลง ISO 9001:2000 สู ISO 9001:2008 หน้า 04 ทำระบบ ISO อยางไรสำหรับผูประกอบการ หน้า 12 Client Interview เปดมุมมององคกรที่ปรับเปลี่ยน ISO 9001:2000 สู ISO 9001:2008 หน้า 17


EDITOR NOTE

CONTENT

ผ่านไปอีก 1 ปี กับการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน ISO 9001:2008 หลายองค์กรได้มีการปรับเปลี่ยน จากเวอร์ชั่นเก่าสู่เวอร์ชั่นใหม่กันไปบ้างแล้ว และ ยังมีอี ก หลายองค์กรที่ยังไม่ได้ปรับเปลี่ยนแต่ภายใน ปีน ี้ทุกองค์กรทั ่วโลกที่ยังได้รับใบรั บ รองมาตรฐาน ISO 9001 เวอร์ชั่น 2000 จะหมดอายุลง และต้อง ได้ ร ั บ การรั บ รองด้ ว ย ISO 9001:2008 และหาก องค์กรยังไม่ได้เริ่มศึกษาข้อกำหนดเวอร์ชั่นใหม่ ก็ คงจะต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มกั น ตั ้ ง แต่ ต อนนี ้ ใน วารสารฉบับนี้ทางบูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น จึงได้ รวบรวมเอาแนวทางการปรับเปลี่ยนสู่เวอร์ชั่นใหม่ พร้อมทั้งคำแนะนำดีๆจากองค์กรที่ได้ปรับเปลี่ยน มาตรฐานและได้รับการรับรองมาตรฐานแล้ว นอกจากนี้ยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเตรียมตัว สำหรับผู้ประกอบการที่สนใจขอการรับรองระบบ มาตรฐาน รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆที่น่าสนใจมาให้อ่าน กั น สุ ด ท้ า ยนี ้ ข ออวยพรให้ ท ่ า นผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า นพบ แต่ ความสุขความเจริญตลอดปีพุทธศักราช 2553 นะคะ

พร้อมหรือยังกับการ เปลี่ยนแปลง ISO 9001:2000 สู่ ISO 9001:2008

กองบรรณาธิการ

Mr.Quality 04.

08.

Health & Safety 23.

โรคผิวหนังฤดูหนาว

การเปลี่ยนแปลงของ ISO 9001:2008 มีผลต่อ ISO/TS 16949:2009 อย่างไร

25.

รอบรั้ว BV

ทำระบบ ISO อย่างไรสำหรับ ผู้ประกอบการ

28.

BV Calendar

12.

Client interview 17.

มุมมองจากองค์กรที่ปรับเปลี่ยน มาตรฐาน ISO 9001:2000 สู่ ISO 9001:2008

Love Earth

04.

21.

แนวทางการควบคุมและป้องกัน มลพิษทางอากาศ

23. Copyrights © 2010 Issue 1, 2010 Bureau Veritas Certification Newsletter is a publication of the SystemCertification Service Department. Bureau Veritas Certification Newsletter offif ifice : 16th flf loor, Bangkok Tower, 2170 New Petchburi Rd., Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310 Thailand Tel. 0 2670 4800 Fax: 0 2718 1941 E-mail : pr.thailand@th.bureauveritas.com website : www.bureauveritas.co.th


MR.QUALITY

MR.QUALITY

ISO 9001:2000 สู่ ISO 9001:2008 03

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


จากอดีตสู่ปัจจุบัน ISO 9000 คือ มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ โดยคำว่า ISO ย่อมาจาก INTERNATIONAL ORGANIZATION FOR STANDARDIZATION ISO 9001 ได้ประกาศใช้ครั้งแรกเมื่อปี 1987 หรือ พ.ศ. 2530 ซึ่งตามกฎของ ISO ต้องทบทวน มาตรฐานอย่างน้อยทุก 5 ปี โดยคณะกรรมการทบทวนมาตรฐาน ISO (ISO/TC 176) องค์กรนี้ที่เกิดขึ้นโดยการรวมตัวของ กลุ่มนักอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพมากกว่า 90 ประเทศทั่วโลก หลังจากนั้นได้มีการทบทวน มาตรฐานดังกล่าวดังนี้ 1. ทบทวนครั้งแรกเมื่อปี 1990 ประกาศใช้เมื่อปี 1994 (ISO 9001:1994) 2. ทบทวนครั้งที่ 2 เมื่อปี 1996 ประกาศใช้เมื่อ 15 ธันวาคม 2000 หรือ ISO 9001:2000 ซึ่งปรับเพื่อให้เหมาะสมกับ ระบบบริหารงานขององค์กร ซึ่งมุ่งสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าและมีการปรับปรุงสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง 3. ขณะนี้ ISO ได้ปรับเปลี่ยนเป็น ISO 9001:2008 ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)

ผังแสดงการเปลี่ยนแปลงจากอดีต ถึง ปัจจุบัน ISO 9001, ISO 9002, ISO 9003

.1987 หรือ. 2530

ISO 9001, ISO 9002, ISO 9003

. 1994หรือ. 2537

ISO 9001:200

. 2000หรือ. 2543

ISO 9001:2008

. 2008หรือ. 2551


มาตรฐาน ISO 9001:2008 เป็ น เวลา 20 ปี กั บ มาตรฐาน ISO 9001 ปั จ จุ บ ั น มี ใบ รับรองมากกว่า 1,000,000 ใบรับรอง ซึ่งถูกออกใน 175 ประเทศ การได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 เป็นเสมือนการเพิ่ม มูลค่าให้กับองค์กรและสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งในธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงเวอร์ชั่นของ ISO 9001 ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเกิดความพึงพอใจของลูกค้า ซึ่งยังคงเป็นส่วนสำคัญของมาตรฐาน ISO

ทั้งนี้ข้อดีในการ ปรับเปลี่ยนเป็น ISO 9001:2008 จะช่วย เพิ ่ ม ความชั ด เจนจากมาตรฐานฉบั บ เดิ ม เนื ่ อ งจากเนื ้ อ หาของ ข้อกำหนดเป็นเพียงการขยายความในบางข้อให้มีความชัดเจน ทั้งในด้านการมุ่งเน้นที่ลูกค้าเพื่อสะท้อนถึงการพัฒนา รวมทั้ง สามารถประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 ได้ ง ่ า ย

ข้อกำหนดที่มีการปรับเปลี่ยน 4.1 มี ก ารระบุ ท ี ่ ช ั ด เจนถึ ง กระบวนการที ่ ม ี การจ้างผลิตภายนอก โดยการดำเนินการผลิ ต หรือบริการในแบรนด์ของบริษัทที่ว่าจ้างเอง หรื อ บริ ษ ั ท ที ่ น ำระบบไปปฏิ บ ั ต ิ 4.2.1 การระบุ เ อกสารในระบบที ่ ช ั ด เจนที ่ จำเป็นต้องมีอย่างน้อยในระบบบริหารงาน คุ ณ ภาพ เช่ น เอกสารหรื อ ระเบี ย บปฏิ บ ั ต ิ งานสำหรับการควบคุมเอกสาร, การควบคุม บันทึก, การแก้ไข, การป้องกัน, การควบคุม ผลิ ต ภั ณฑ์ ท ี ่ ไม่ เป็ น ไปตามข้ อ กำหนด, และ การตรวจติ ด ตามภายใน

7.3.1 กระบวนการออกแบบที ่ ช ั ด เจน ของ กับดัชนีชี้วัดในกระบวนการผลิตหรือบริการที่ 4.2.3 ความชัดเจนของ การอ้างอิง ถึงเอกสาร การทบทวนการออกแบบ การยื น ยั น และ มี ค ุ ณ ภาพ ภายนอกที ่ จ ำเป็ นที ่ ใช้ ในระบบบริ ห ารงาน การรั บ รองการออกแบบที ่ แ ยกกิ จ กรรมกั น อย่ า งชั ด เจน 8.2.3 การระบุถึงการตรวจวัดและตรวจเช็ค คุ ณ ภาพ ดัชนีชี้วัดในการควบคุมกระบวนการผลิตและ 6.2 การกำหนดความจำเป็ น ในการดำเนิ น 7.5.2 การรับรองกระบวนการผลิตหรือการ บริการที่มีผลกรระทบทางด้านคุ ณ ภาพ การให้พนักงานที่ปฏิบัติงานกระทบทางด้าน บริ ก าร ในกรณี ท ี ่ ไม่ ส ามารถตรวจสอบใน คุ ณ ภาพ มี ค วามสามารถในการทำงาน ไม่ กระบวนการขัน้ สุดท้ายได้ ดัง้ นัน้ การทีร่ วบรวม 8.2.4 การจัดเก็บรักษาหลักฐานที่แสดงความ ว่ า จะเป็ น การฝึ ก อบรม หรื อ การประเมิ น ผลการควบคุมในกระบวนการต่างเพื่อที่จะ สอดคล้องในกระบวนการผลิต และบริการที่ รับรองว่าผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการนั้นได้ สอดคล้องกับเกณฑ์การตรวจเช็คและตรวจ ปฏิ บ ั ต ิ ง าน รับการผลิตหรือบริการเป็นไปตามมาตรฐาน, วัดต่างๆ 6.3 การซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันที่รวมถึง ข้อตกลงกับลูกค้า และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง อืน่ ๆ จากข้อมูลการปรับเปลี่ยนเบื้องต้นจะเห็น อุ ป กรณ์ ท างด้ า น เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ว่าข้อกำหนดในมาตรฐานเวอร์ชั่นใหม่นี้ที่มี 6.4 การควบคุมสภาพแวดล้อมในการทำงาน 7.6 การสอบเทียบเครื่องมือวัดที่รวมถึงการ การปรับเปลี่ยนนั้น ส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การผลิ ต อื ่ น เช่ น เสี ย ง, สอบเที ย บเครื ่ อ งมื อ วั ด ที ่ แ สดงผลผ่ า นทาง ที่มีการปรับเปลี่ยนในเรื่องปลีกย่อยมากกว่า โปรแกรมซอฟท์ แ วร์ ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง หรือทีเ่ รียกว่า Minor change สำหรับมาตรฐาน อุ ณ หภู ม ิ และความชื ้ น ISO 9001 เวอร์ชั่น 2008 05

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


ผลบังคับใช้ ISO 9001:2000 ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008 ประกาศ หรือ ตีพิมพ์ เป็นระยะเวลา 1 ปี ในช่วงนี้ลูกค้าที่ขอการรับรองใหม่ หรือลูกค้า ที ่ ต ่ อ อายุ ก ารรั บ รอง ไม่ ส ามารถขอการรั บ รองด้ ว ยมาตรฐาน ISO 9001:2000 ได้ ทั้งนี้ผู้ให้การรับรองสามารถให้การตรวจ ติดตาม (Surveillance) เพื่อรักษาระบบด้วยเวอร์ชั่นเก่าได้

ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008 ประกาศหรือตีพิมพ์เป็น ระยะเวลา 2 ปี ใบรับรองที่ออกให้อยู่แล้วตาม ISO 9001:2000 จะไม่มีผลบังคับอีกต่อไป และการรับรองมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ถือเป็นอันสิ้นสุด

ข้อแนะนำสำหรับองค์กรที่กำลังปรับสู่ ISO 9001:2008 หลายองค์กรอาจยังไม่มีการปรับเปลี่ยนมาตรฐาน ISO 9001:2000 สู่ ISO 9001:2008 แต่ภายในปี พ.ศ. 2553 ทุกองค์กรจะต้องได้รับการรับรองด้วยมาตรฐาน ISO 9001:2008 ทั้งนี้การปรับเปลี่ยนสู่เวอร์ชั่นใหม่ไม่ใช้เรื่องยาก และไม่ได้มีการปรับเปลี่ยนในหัวข้อหลักแต่ อย่างใด ดังนั้นองค์กรจึงสบายใจได้ในเรื่องของการปรับสู่ ISO 9001:2008 สำหรับขั้นตอน ในการปรับเปลี่ยน มีดังนี้ 1. ศึกษาทำความเข้าใจกับมาตรฐานฉบับใหม่ เช่น เข้ารับการฝึกอบรม หรือศึกษาด้วยตัวเอง โดยดูเปรียบเทียบข้อกำหนดฉบับเก่า และฉบับใหม่ หรือใช้ Annex B ใน ข้อกำหนด ISO 9001:2008 เพื่อดูว่าระบบการบริหารงานคุณภาพที่มีอยู่แตกต่างจากมาตรฐาน ฉบับใหม่หรือไม่ 2. ปรับปรุงคู่มือคุณภาพ และเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับข้อกำหนดฉบับใหม่ 3. กระบวนการที่มีอยู่ขององค์กรต้องมีการเพิ่มเติมส่วนไหนหรือไม่ พร้อมทั้งดำเนินการ Internal Audit ด้วยเวอร์ชั่นใหม่ และจัดทำ Management Review เพื่อทราบถึงการเปลี่ยน แปลงและแก้ไขตามข้อกำหนด ISO 9001:2008 ก่อนจะได้รับการตรวจด้วยมาตรฐานฉบับใหม่ จากผู้ตรวจประเมิน 4. ประชาสัมพันธ์ และสื่อสาร ทบทวนความเข้าใจของบุคคลากรต่าง ๆ ในองค์กรถึงการ เปลี่ยนแปลงมาตรฐานฉบับใหม่ นอกจากนี้ควรสื่อสารกับลูกค้าเพื่อให้ทราบถึงความพร้อมของ องค์กรในการปฏิบัติตาม ISO 9001:2008 5. ใช้หลักการ Plan – Do – Check – Act (PDCA) เป็นหลักในการปรับมาตรฐาน

รายการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของคุณ ทำการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง กำหนดลงไปถึงทีมการเปลี่ยนแปลง สร้างตารางเวลาการเปลี่ยนแปลง ฝึกอบรมทีมการเปลี่ยนแปลงและผู้ตรวจสอบภายใน

อัพเกรด ISO 9001 ดำเนินการในการแก้ไขภายในรอบเดียว (ดำเนินการแก้ไข และการทบทวนการจัดการ) ทำการแก้ไขก่อน ขอการรับรอง ISO 9001:2008 หรือ ตรวจด้วย ISO 9001:2008


อย่างที่ทราบกันดีว่า ปัจจุบัน ISO 9001 ได้ปรับเปลี่ยนเป็น ISO 9001:2008 ไปเมื่อ วั นที ่ 1 5 พฤศจิ ก ายน 2551 โดยมี ก าร เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย รวมทั้งไม่มีผล กระทบต่อองค์กรที่ดำเนินระบบบริหารงาน คุณภาพอยู่แล้ว ทั้งนี้ในส่วนของข้อกำหนด ISO 9001:2008 เป็นข้อกำหนดพื้นฐานของ ISO/TS 16949 ซึ่งเป็นมาตรฐานการจัดการ คุณภาพสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ และ ได้ ม ี ก ารปรั บ เปลี ่ ย นตามการเปลี ่ ย นแปลง ของ ISO 9001 ด้ ว ยเช่ นกั น ซึ ่ ง ปั จ จุ บ ั น ISO/TS 16949 เป็ นเวอร์ชั่น 2009 สำหรับการเปลี่ยนแปลงหลักๆใน ISO/TS 16949:2009 จะเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียง บางข้อกำหนดซึ่งอยู่ในส่วนของ ISO 9001 เพือ่ ให้สอดคล้องกับข้อกำหนด ISO 9001:2008 ทัง้ นีอ้ งค์กรทีท่ ำ ISO/TS 16949 ฉบับปี 2002 ควรจะดำเนินการตามข้อกำหนดของ ISO 9001:2008 ที่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ซึ่ง เนื้อหาการเปลี่ยนแปลงหลักๆ เพื่อให้ง่ายต่อ การรวมระบบการจัดการพื้นฐาน เช่น ISO 9001 กับ ISO 14001 รวมถึงขยายข้อความ บางข้อให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

07

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


การเปลี่ยนแปลงในข้อกำหนด ISO 9001:2008 ที่มีผลต่อ ISO/TS 16949 ข้อกำหนด 4.1 จะเน้นกิจกรรมที่มาจากภาย อยู่ในองค์กรเท่านั้น ซึ่งปกติตำแหน่งนี้ก็เป็น นอก (outsource) มากขึ้น และให้กำหนดไว้ ระดับผู้บริหารในองค์กรอยู่แล้ว เท่ากับว่าไม่ ในระบบบริหารงานคุณภาพ โดยหลักๆก็คือ จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงใดๆ คู่มือคุณภาพ นอกจากนี้ได้มีการขยายความ อธิบายเพิ่มเติมไว้ในส่วนของหมายเหตุ โดย ข้อกำหนด 6.2.1 มีการเปลี่ยนขอบเขต โดย ข้อกำหนด 4.1.1 ของ ISO/TS 16949 ซึ่ง เปลี่ย นมุมมองจากเดิมที่พุ่งประเด็นไปใน เดิมก็ได้มีการกำหนดไว้อยู่แล้วด้วยเช่นกัน เรื่องที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ว่าต้องมั่นใจถึงกระบวนการในการควบคุม (affecting product quality) เป็นลักษณะที่ กิจกรรมจากภายนอกเหล่านี้ โดยถือว่าเป็น มีผลกระทบต่อความสอดคล้องต่อข้อกำหนด ส่วนความรับผิดชอบขององค์กรที่ไม่สามารถ ต่างๆของผลิตภัณฑ์ (affecting conformity หลีกเลี่ยงได้ และสามารถใช้ข้อกำหนดเรื่อง to product requirements) โดยให้ ร วม การจัดซือ้ (7.4.1 และ 7.4.1.3) ในการควบคุม ความถึงงานที่ทำทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ กระบวนการก็ ได้ ดั ง นั ้ น สำหรั บ ISO/TS มีผลกระทบกับผลิตภัณฑ์ทั้งหมด ส่วนข้อ กำหนด 6.2.2 นั้นได้มีการปรับเปลี่ยนในส่วน 16949 ก็ ไม่ ม ี อ ะไรเปลี ่ ย นแปลง ของการจัดการฝึกอบรมหรือกิจกรรมอื่นเท่า ข้อกำหนด 4.2.1 โดยหลักๆเหมือนเดิมเพียง ที่ประยุกต์ได้ เพื่อตอบสนองตามข้อกำหนด แต่ว่าให้มุมมองของการจัดการเอกสารไว้ว่า 6.2.1 ได้ โดยภาพรวม สำหรั บ ข้ อ กำหนด เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงานใดๆสามารถ ISO/TS 16949 นั้น ได้มีการทำในส่วนของ เขียนรวมกันได้ ไม่ว่าจะเป็นสองขั้นตอนการ การกำหนดความจำเป็นในการฝึกอบรมเอา ปฏิบัติงานในหนึ่งเอกสาร หรือสองเอกสาร ไว้แล้วตามข้อกำหนด 6.2.2.2 รวมถึงการทำ ในหนึ่งขั้นตอนการปฏิบัติงาน ซึ่งเดิมก็ได้ การฝึกอบรมหน้างานตามข้อกำหนด 6.2.2.3 ปฏิบัติอยู่แล้ว ในขณะที่ข้อกำหนด 4.2.3 จะ ซึ่งเป็นการครอบคลุมในส่วนของข้อกำหนด เน้นขยายความในส่วนของเอกสารจากภาย ไว้ครบอยู่แล้ว นอก โดยให้ น ั บ หลั ก ๆกั บ เอกสารจากภาย นอกที ่ จำเป็ น และเกี ่ ย วข้อ งกับระบบการ ข้อกำหนด 6.3 มีการเพิม่ กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง บริหารงานคุณภาพจริงๆก็พอ เท่ากับว่าไม่ กับอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ ต้องทำอะไรเพิ่มเติมในส่วนของข้อกำหนดนี้ เช่น คอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ ต่างๆ โดยเน้น เพียงแต่อาจจะพิจารณาในส่วนของเอกสาร ให้มีอุปกรณ์พร้อมใช้และรักษาสภาพการใช้ งาน ยกตัวอย่างกิจกรรม เช่น กิจกรรมการ จากภายนอกก็เพียงพอแล้ว ป้องกันไวรัส การบำรุงรักษาอุปกรณ์สารสนเทศ ข้อกำหนด 5.5.2 ตำแหน่งตัวแทนผู้บริหาร ต่างๆ เป็นต้น ซึง่ เป็นกิจกรรมทีต่ อ้ งทำเพิม่ เติม ระบบบริ หารงานคุ ณ ภาพ หรือ QMR ให้ ขึ้นมาจากเดิม

08

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


ข้อกำหนด 7.1 เพิ่มส่วนของการวัดผลเข้ามาไว้ในข้อกำหนด ให้ครอบคลุมกว้างขึ้น แต่เจตนารมย์ของข้อกำหนดยังคงเหมือนเดิม ข้อกำหนด 7.2.1 ในส่วนของข้อ กำหนดกฎหมายต่างๆและข้อกำหนดอื่นๆขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ ก็มีการ เน้นให้เป็นเรื่องที่สามารถประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ได้ หรือองค์กรพิจารณาแล้วเห็น ว่ามีความจำเป็นกับตัวผลิตภัณฑ์ ซึ่งข้อกำหนดดังกล่าว ได้ถูกรวบรวมเอาไว้เป็นส่วน หนึ่งของกิจกรรมการออกแบบกระบวนการ (process design) ตามหลักการใน APQP อยู่แล้ว จึงไม่ต้องทำอะไรเพิ่มเติม ข้อกำหนด 7.3.1 ระบุว่าในส่วนของการ ทบทวน การทวนสอบ และการรับรองผลระหว่างขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา สามารถดำเนินการและจัดเก็บบันทึกของกิจกรรมที่เกิดขึ้นอย่างแยกออกจากกันหรือ พร้ อ มๆกั น ได้ ในข้ อ กำหนด 7.3.3 ให้ ร วมความถึ ง ข้ อ มู ล ด้ า นการถนอมรั ก ษา ผลิตภัณฑ์หรือบริการด้วย เช่น บรรจุภัณฑ์ การจัดเก็บ เป็นต้น ให้เป็นหนึ่งในข้อมูล ขาออกของการออกแบบและพัฒนาในส่วนของ ISO/TS 16949 นั้น กระบวนการ ของการวางแผนผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า (APQP) ก็มีส่วนครอบคลุมเนื้อหาของการ ถนอมรักษาผลิตภัณฑ์ไว้อยู่แล้ว ข้อกำหนด 7.5.3 เรื่องของการชี้บ่ง ให้ทำการชี้บ่ง ตลอดทั้งกระบวนการ เช่นเดียวกันกับที่ข้อกำหนด 7.5.3.1 ระบุไว้ ข้อกำหนด 7.5.4 เพิ่มเติมทรัพย์สินของลูกค้าในส่วนของข้อมูลส่วนบุคคลเอาไว้ด้วย ส่วนใหญ่จะ เกี่ยวกับธุรกิจงานบริการมากกว่า) ส่วนข้อกำหนด 7.5.5 เพิ่มเติมการดำเนินงานว่า ให้ถนอมรักษาผลิตภัณฑ์ เพื่อวัตถุประสงค์ให้รักษาสภาพให้สอดคล้องกับข้อกำหนด ของผลิตภัณฑ์เป็นหลัก ข้อกำหนด 7.6 เปลี่ยนมุมมองการประยุกต์ใช้ โดยจากเดิม อาจจะพุ่งประเด็นไปที่อุปกรณ์ (device) อย่างกว้างๆซึ่งรวมความถึงอุปกรณ์เครื่อง มื อ เล็ ก ๆน้ อ ยๆ (tooling) บางประเภทด้ ว ย แต่ เมื ่ อ เปลี ่ ย นคำมาเป็ น อุ ป กรณ์ (equipment) ทำให้หลักการของการสอบเทียบสามารถนำไปใช้ได้ เช่นเดียวกันกับ ซอฟท์แวร์ที่ใช้สำหรับการประมวลผลของการวัดหรือการเฝ้าระวังต่างๆ ก็ต้องมี การดำเนินการสอบเทียบหรือทวนสอบเช่นกัน ในข้อกำหนดนี้ ไม่ค่อยมีผลกระทบ ที่จะต้องทำการเปลี่ยนแปลงต่อระบบ คงเน้นให้ครอบคลุมอุปกรณ์เครื่องมือวัดที่ใช้ สำหรับเฝ้าระวังกระบวนการและตรวจวัด ให้ครอบคลุมตลอดทั้งกระบวนการ

09

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


ข้อกำหนด 8.2.1 ในการวัดผลความพึงพอใจของลูกค้า ได้มกี ารเพิม่ หมายเหตุให้สำหรับ มุมมองของการวัดผล เช่น การสำรวจความพึงพอใจ ข้อมูลของลูกค้าที่เกี่ยวกับด้าน คุณภาพหรือการส่งมอบ บทวิเคราะห์การสูญเสียธุรกิจ เป็นต้น ซึง่ ข้อกำหนด 8.2.1.1 ก็ได้ระบุไว้อยู่แล้วสำหรับ ISO/TS 16949 โดยให้ใช้ข้อมูลที่องค์กรมีอยู่ ไม่ว่าจะเป็น ผลด้านคุณภาพ ผลด้านการส่งมอบ ค่าใช้จา่ ยเพิม่ เติม การแจ้งเตือนลูกค้าในกรณีตา่ งๆ เป็นต้น ดังนั้น ในส่วนของข้อกำหนดนี้ ไม่ต้องเพิ่มเติมใดๆ ข้อกำหนด 8.2.2 เน้นใน เรือ่ งของการดำเนินการแก้ไขประเด็นความไม่สอดคล้องทีพ่ บว่า ให้ครอบคลุมความหมาย ของการแก้ไขเฉพาะหน้าและการดำเนินการแก้ไข ที่มีตั้งแต่การหาสาเหตุของปัญหา และการกำหนดแผนการดำเนินการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำด้วย ตามหลักการของ ระบบบริหาร ข้อกำหนด 8.2.4 เน้นหลักฐานที่ใช้แสดงถึงความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์ก่อนมีการ ส่งมอบให้กับลูกค้า ข้อกำหนด 8.3 มีการเพิ่มวิธีการเป็นช่องทางเลือกสำหรับการ ดำเนินการจัดการกับผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด โดยเพิ่มในส่วน ของการดำเนินการในกรณีที่ปัญหาถูกพบเมื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการได้ถูกตรวจพบหลัง การส่งมอบไปแล้ว ในส่วนของ ISO/TS 16949 ข้อกำหนด 8.2.4.1, 8.2.4.2, 8.3.1, 8.3.2, 8.3.3, 8.3.4 ได้ระบุถึงขั้นตอนการทำงานที่ครอบคลุมส่วนที่เปลี่ยนแปลงไป อยู่แล้ว ข้อกำหนด 8.5.2 และ 8.5.3 ได้มีการเพิ่มในเรื่องของการทบทวนประสิทธิผลในการ ดำเนินการแก้ไขและป้องกัน จากการดำเนินการที่ได้ทำไป เพื่อให้มั่นใจถึงการจัดการ อย่างเป็นระบบ โดยเน้นเรื่องของการป้องกันการเกิดซ้ำ หรือไม่ให้ปัญหานั้นเกิดขึ้น มาเลย เหมือนกับที่ส่วนเพิ่มเติมของข้อกำหนด 8.5.2.1, 8.5.2.2, 8.5.2.3, 8.5.2.4 ได้ กำหนดไว้ 10

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


การทำระบบบริ ห าร หรือ ISO สำหรับ ผู้ประกอบการ จะสำเร็จได้ต้องเกิดจากความ ตั้งใจจากผู้บริหารขององค์กร ที่ต้องการสร้าง คุณภาพของสินค้าและบริการเพื่อได้รับความ พึงพอใจจากกลุ่มลูกค้า ผู้ประกอบการบางราย อาจมองว่า การจัดทำระบบเป็นเรื่องยาก มี ขั้นตอนที ่ ส ลั บ ซั บ ซ้ อน แต่ในความเป็นจริง ไม่ใช่เรื่องยากแต่อย่างใด และผู้ประกอบการ เองไม่ จ ำเป็ นต้ อ งรู ้ ท ุ ก เรื ่ อ งราว แต่ ข อให้ ร ู ้ ระบบขั ้ น ตอนหลั ก ๆเอาไว้ ต ิ ด ตามงานกั บ ตัวแทนผู้จัดทำระบบขององค์กร และหากผู้

11

ประกอบการร่ ว มสนั บ สนุ นการทำงานของ 1. ศึกษาข้อกำหนด เพื่อทราบว่ามาตรฐาน กลุ่มผู้จัดระบบ จะช่วยให้งานด้านคุณภาพ แต่ละตัวว่าด้วยเรื่องอะไรบ้าง และท่านสนใจ คืบหน้าและมีประสิทธิผลมากขึ้น ในตัวไหน มุมมองเป็นอย่างไร เช่น ISO 9001 สำหรับเจ้าของกิจการ หรือผู้ประกอบการ เป็นมาตรฐานบริหารงานคุณภาพ, ISO 14001 หรือผู้บริหารระดับสูง หากมีเวลาเพียงพอ เป็นมาตรฐานจัดการสิ่งแวดล้อม, OHSAS ขอแนะนำให้ศึกษาข้อกำหนดข้อที่ 5 ซึ่งว่า 18001 เป็ น การจั ด การอาชี ว อนามั ย และ ด้วยความรับผิดชอบของผู้บริหารที่ต้องมีต่อ ความปลอดภัย เป็นต้น แต่รู้เพียงแค่พอสังเขป การทำระบบไอเอสโอ สำหรับผู้ประกอบการ ก็เพียงพอ สำหรับผู้ประกอบการที ่ ส นใจจะ ที่สนใจจัดทำระบบและต้องการทราบขั้นตอน ฝึกอบรม ควรเลือกหลักสูตรสำหรับผู้บริหาร ในการเตรียมตัวเพื่อขอการรับรองระบบ เพื่อเข้าใจในประเด็นของมาตรฐานนั้น สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


2. แต่งตัง้ ผูแ้ ทนฝ่ายบริหาร หรือ MR และ ให้ ก ารฝึ ก อบรม เมื ่ อ ผู ้ ป ระกอบการทราบ เบื้องต้นนตัวมาตรฐานไอเอสโอ ขั้นตอนต่อ ไปคื อ การเลื อ กผู ้ ท ี ่ จ ะทำหน้ า ที ่ ต ั ว แทนฝ่ า ย บริ ห ารในการขั บ เคลื ่ อ นให้ ร ะบบสามารถ ดำเนินไปได้และต้องมีเวลาด้วย โดยส่วนใหญ่ แล้ว MR จะมาจากผู้จัดการ ทั้งนี้หากตัว MR ไม่มีเวลามากนัก ก็สามารถหาผู้ดูแลระบบที่ มี ค วามรู ้ ด ้ า นนี ้ โดยตรงเข้ า มาดู แ ลในฐานะ ISO Specialist เพือ่ ช่วย MR ในการทำงาน หรื อ อี กทางเลื อ กหนึ ่ ง คือ จ้าง MR ที่มี ความรู้ทางด้านนี้อยู่แล้ว และมีประสบการณ์ ในการจัดทำระบบไอเอสโอสำเร็จมาแล้ว แต่ การจ้างนี้จะต้องให้อยู่ในระดับของผู้บริหาร ด้วย เพราะในข้อกำหนดมีการระบุไว้ หรือ ทางเลือกสุดท้ายคือ ผู้ประกอบกิจการจะลงมา ดูแลและเป็น MR เอง ซึ่งจะได้ผลดีที่สุด แต่ อาจจะไม่ต้องใช้แนวทางนี้ก็เป็นได้ จากนั้นส่ง MR ไปฝึกอบรม เพื่อทราบใน ข้ อ กำหนดเพิ ่ ม มากขึ ้ น โดยหลั ก สู ต ในการ อบรม เช่น การตีความข้อกำหนด หรือ การ ตรวจประเมิ น ภายใน หรื อ หลั ก สู ต รที ่ เน้ น มุ ม มองของผู ้ ต รวจอย่ า ง หลั ก สู ต รหั ว หน้ า ผู้ตรวจประเมิน โดยค่อยๆทยอยฝึกอบรมเพื่อ เสริมความแกร่งให้กับตัว MR

หรือด้านอาชีวอนามัย เพราะต้องอาศัยความ 5. กำหนดนโยบาย นโยบายคือเจตนารมย์ 3. ทบทวนสถานะเริ่มต้นของกิจการ เพื่อ รู ้ เทคนิ ค ต่ า งๆ รวมถึ ง กฎหมายเฉพาะด้ า น และความมุ่งมั่นขององค์กร เป็นสิ่งที่ผู้ร่วม วิเคราะห์ส่วนที่ขาด คือกิจการยังขาดอะไรบ้าง เพื่อคอยให้คำปรึกษา งานทุ ก ท่ า นต้ อ งนำไปกำหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ และขาดอี ก มากน้ อยแค่ ไหน จึงจะสามารถ 4. กำหนดขอบข่ายการขอการรับรอง ใน เป้าหมาย และแผนปฏิบัติ การ เมื ่ อ กำหนด บรรลุข้อกำหนดต่างๆทั้งหมดได้ ขั้นตอนนี้จะ ส่วนตรงนี้สามารถดำเนินการก่อนข้อ 3 ได้ นโยบายแล้ว ต้องมีการประกาศให้ทราบทั่วกัน ทำหรื อ ไม่ ท ำก็ ได้ เพราะไม่ ได้ ร ะบุ ไว้ ในข้ อ โดยองค์กรอาจจะไม่ขอรับการรับรองหมดทั่ว พนักงานต้องเข้าใจ ถ้ามีการจัดการฝึกอบรม กำหนด ISO 9001 และ ISO 14001 แต่มี ทั้งองค์กรก็ได้ อาจจะเลือกทำเฉพาะกิจกรรม ภายในได้จะเป็นสิ่งที่ดี เพราะจะทำให้ผู้เข้า เป็ น ข้ อ กำหนดใน OHSAS/TIS 18001 หลักๆก็ได้ เพื่อให้ง่ายขึ้น เพราะขอบเขตลดลง อบรมทราบว่าองค์กรจะทำอะไร และพนักงาน สำหรั บ ขั ้ นตอนนี ้ จ ะช่ ว ยให้ ผ ู ้ ป ระกอบการ แต่ควรเป็นกิจกรรมหลักขององค์กร ในส่วน ควรปฏิบัติอย่างไร ทราบสถานะปัจจุบันขององค์กรเมื่อเทียบกับ ของการกำหนดขอบข่ายนั้ แต่ละระบบอาจจะ ข้อกำหนดหากองค์กรจะทำระบบ ISO 9001 พิจารณาแตกต่างกันไป เช่น ISO 14001 อาจ ผู้ประกอบการและ MR อาจจะทบทวนกัน 2 จะไม่ยอมให้แยกขอบข่ายนี้ เพราะถ้าขอบข่าย คนได้ แต่ถ้าเป็น ISO 14001 และ OHSAS/ ทีเ่ ราขอยกเว้นกลับส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม TIS 18001 ควรมีผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม หลักๆ จึงทำให้ไม่สามารถแยกขอบข่ายได้

12

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


6. แต่งตั้งคณะทำงานและให้การฝึกอบรม เพราะการทำระบบไอเอสโอจะทำกั น เพี ย ง ผู้ประกอบการและ MR เพียงสองท่านไม่ได้ จึงต้องหาผู้ร่วมทำงาน โดยอาจจะใช้วิธีการ กำหนดให้หน้าที่ความรับผิดชอบต่างๆเข้าไป ในระบบของบริษัท โดยผู้จัดการแผนกต่างๆ จะมีหน้าที่ความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับ ISO เช่น ผู้จัดการฝ่ายบุคคลอาจได้รับหน้าที่ เพิ ่ ม เติ ม คื อ ติ ด ตามกฎหมาย หรื อ งาน ประชาสัมพันธ์ ข้อดีของวิธีการนี้คือ การสั่ง การเป็นไปตามรูปแบบของการบังคับบัญชา ตามลำดับ งานจะออกมาค่อนข้างดี แต่ข้อเสีย คืออาจเกิดความสับสนกับงานประจำ และ อาจไม่มีเวลาให้อย่างเต็มที่

อีกวิธีหนึ่งก็คือ ตั้งคณะทำงานขึ้นมาใหม่ (เว้นแต่ ISO/TS 16949 ที่บังคับเรื่อง Cross โดยแบ่งความรับผิดชอบเป็นฝ่ายๆ ตั้งขึ้นเป็น functional Team ไว้ในหลายๆ ข้อให้พจิ ารณา แผนกใหม่ รวมอยูใ่ นผังขององค์กร ซึง่ สามารถ ด้วย) ทั้งนี้จะต้องเลือกวิธีให้เหมาะกับองค์กร รวบรวมคนทำงานจากต่างแผนกมาอยู่ด้วยกัน เช่น หากทำ ISO 9001 องค์กรอาจเลือกวิธี ข้อ ดี คือ มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ แรก แต่ถ้าทำ ISO 14001, OHSAS 18001 เฉพาะออกจากกั น ไม่ ต ้ อ งสั บ สนกั บ หน้ า ที ่ ควรเลือกทำแบบวิธีที่สอง นอกจากนี้จะต้อง หลัก มีสมาชิกจากหลายๆฝ่ายมาร่วมกัน ทำ ส่ ง คณะทำงานไปฝึ ก อบรม (ครอบคลุ ม ถึ ง ให้ได้แนวคิดทีห่ ลากหลาย ข้อด้อยก็คอื อำนาจ ผู้จัดการ, หัวหน้างานระดับกลาง) หลักสูตร ในการบั ง คั บ บั ญ ชาจะไม่ ช ั ด เจนผู ้ น ำไม่ ม ี ควรจะเป็น Introduction หรือ Implementation อำนาจให้คุณให้โทษ การทำงานเป็นการไหว้ รวมทั้งเรียนรู้วิธีการจัดทำเอกสาร โครงสร้าง วานมากกว่ า การสั ่ ง วิ ธ ี น ี ้ ห ั ว หน้ า ที ม ต้ อ งมี เอกสารสำหรับการจัดทำระบบ และวิธีเขียนคู่ ภาวะผู้นำสูงหรือมีตำแหน่งสูง ไม่เช่นนั้นจะ มือคุณภาพ นอกจากนี้อาจจะใช้การฝึกอบรม แบบ In-house Training ถ้าจำนวนผู้เข้าร่วม คุมคนไม่ค่อยได้ ในตัวข้อกำหนดไม่ได้บังคับว่าต้องใช้วิธีใด สัมมนามีจำนวนมาก

7. กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายและแผนงาน ณ ตอนนี้ องค์กรทราบแล้วว่าคณะทำงานด้านระบบไอเอสโอ เป็นกลุ่มไหน ผู้ประกอบการ จึงต้องร่วมกับทีมงานในการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายขึ้นมา และต้องนำนโยบายที่ได้ตั้งไว้แล้วมาเป็นกรอบในการตั้งวัตถุประสงค์ด้วย ถ้าเป็นระบบ ISO 9001 ควรมีการแยกวัตถุประสงค์เป้าหมายออกเป็นแต่ละระดับ ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของบริษัท และให้แต่ละฝ่าย กำหนดเองได้ อาจจะใช้หลักการของ Policy Deployment และเป้าหมายตัวนี้ จะใช้เป็นตัววัดผลด้วยว่า ระบบที่เราทำนั้น มีประสิทธิผลหรือไม่ หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายแล้ว ต้องทำแผนรองรับด้วยว่า เราจะบรรลุวัตถุประสงค์นั้นได้อย่างไร คือทำ Action Plan ขึ้นมา เพื่อนำไปปฏิบัติ และเพื่อเป็นหลักฐานว่า ตัวเลขเป้าหมายนั้น มีที่มาที่ไป 8. ประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อให้พนักงานทราบว่าองค์กรกำลังทำอะไรอยู่ นอกจากนี้อาจจะสื่อสารให้บุคคลภายนอกได้ทราบว่าองค์กรมี ความมุ่งมั่นในการจัดทำระบบ 9. ตัง้ ระบบ และดำเนินการจัดทำเอกสาร คนทีด่ ำเนินการตรงนี้ ก็คอื MR และคณะทำงานทีแ่ ต่งตัง้ ขึน้ มา ระบบหลักๆ ตรงนีม้ อี ยูใ่ นข้อกำหนด ทั้งหมด เช่น การควบคุมเอกสาร, การควบคุมบันทึก เขียนเอกสารโพรซีเดอร์ขึ้นมาก่อน ให้ครบตามที่ข้อกำหนดระบุ รวมถึงโพรซีเดอร์ที่เขาไม่ได้ ระบุ แต่ก็ควรจะมีไว้เช่นการจัดซื้อ เป็นต้น เขียนโพรซีเดอร์เสร็จ แล้วค่อยให้ MR เขียนคู่มือ (Manual) อาจจะดูสลับขั้นตอนไปบ้าง แต่ถ้าเริ่ม จากโพรซีเดอร์ แล้วมาเขียนคู่มือมันจะง่ายกว่า เพราะคู่มือก็คือสรุประบบคร่าวๆสำหรับให้ระดับบริหารดู ถ้าทำระบบย่อยก่อน น่าจะช่วยให้เขียน คู่มือง่ายขึ้น คือรู้ระบบหมดแล้ว จากนั้นค่อยเขียน Work Instruction ที่เกี่ยวข้อง ให้หัวหน้างาน หรือคณะทำงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเขียน แต่ต้องมั่นใจว่า เขามีทักษะด้านการ เขียนเอกสาร ไม่เช่นนั้นท่านอาจจะพบว่า วิธีการใช้เครื่องจักร กลายเป็นรายงานสรุปอะไหล่เครื่องจักร เป็นต้น 13

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


10. ฝึกอบรม และสร้างจิตสำนึกให้พนักงาน เป็นข้อกำหนดหลักของทุกมาตรฐาน ต้องให้การ ฝึกอบรมแก่พนักงานทั่วไป อย่างน้อยหลักสูตร Introduction หรือ Awareness สักครึง่ วันหรือ หนึ่งวันก็เพียงพอ เพราะพนักงานไม่จำเป็นต้อง ทราบเกี่ยวกับข้อกำหนดมาก แต่เน้นเรื่องความ ตระหนักมากกว่า ในงานที่เขาทำอยู่เขาต้องทำ อย่ า งไรบ้ า ง เพื ่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบาย, วัตถุประสงค์เป้าหมาย, กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง, แผนงานต่างๆ ผูต้ รวจประเมินจะสุม่ ถามพนักงาน ในเรือ่ งของความตระหนัก สำหรับการฝึกอบรม สามารถจัดเป็นการฝึกอบรมภายใน โดยให้ MR หรือผูท้ ม่ี คี วามรูค้ วามเข้าใจในมาตรฐานไอเอสโอ อบรมให้ สิ่งที่ยากกว่าฝึกอบรมก็คือสร้างจิตสำนึก วิธี สร้างมีได้หลายแบบ การฝึกอบรมก็เป็นวิธีหนึ่ง อาจต้องใช้วธิ อี น่ื เสริมเช่นจัดบอร์ด, นิทรรศการ การประกวดต่างๆ มีรางวัลจูงใจให้ พือ่ ให้พนักงาน ทุกคนตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการ ขับเคลื่อนให้องค์กรได้รับการรับรอง

11. แต่งตั้งผู้ตรวจประเมินภายใน และให้การฝึกอบรมเลือกคนที่เหมาะกับการเป็นผู้ตรวจ ประเมิน สำหรับจำนวนขึ้นอยู่กับขนาดของบริษัทครับ โดยอาจจะเลือกจากคณะทำงานที่มีอยู่ แล้ว และต้องแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งต้องจัดฝึกอบรมเรื่องการตรวจประเมิน ภายในให้ 12. ดำเนินการตรวจติดตาม เป็นดำเนินการตรวจติดตาม ตามแผนที่ได้วางไว้ ผลของการ ตรวจติดตามที่ออกมาจะชี้บ่งถึงสมรรถนะของระบบได้ดีในระดับหนึ่ง 13. ดำเนินการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ตรงส่วนนี้ผู้บริหารต้องเข้ามามีส่วนร่วมอย่างมาก เพราะจะได้รับทราบระบบทั้งหมด โดยการประชุมอาจะให้ MR เป็นผู้ดำเนินการประชุม และ ผู้บริหารต้องซักถามหากมีข้อสงสัยตรงส่วนใด เพื่อให้การประชุมทบทวนครั้งนี้เกิดประสิทธิผล 14. คัดเลือกผูต้ รวจประเมิน/นัดหมายกำหนดการตรวจประเมิน ขัน้ ตอนนีจ้ ะทำตัง้ แต่เนิน่ ๆ ก็ได้นะครับ ถ้าวางแผนไว้ว่าจะดำเนินการเสร็จทันเวลาที่กำหนด แต่หากไม่แน่ใจสามารถรอ การตรวจติดตามเสร็จ หรือประชุมทบทวนเสร็จค่อยติดต่อก็ได้ 15. ตรวจประเมิน เมื่อถึงกำหนดก็รับการตรวจประเมิน โดยไม่ต้องเกรงว่าองค์กรจะมีข้อ บกพร่องตรงส่วนใด เพราะหากองค์กรมีการดำเนินระบบที่ดี ก็มั่นใจได้ว่าจะผ่านการตรวจ ประเมินไปได้ แต่หากการตรวจพบข้อบกพร่อง ก็ไม่ต้องกังวลใจ เพราะสามารถดำเนินการ แก้ไขให้สอดคล้องตามข้อกำหนด และตามทีผ่ ตู้ รวจประเมินแจ้งไว้ สำหรับอุปสรรคทีใ่ หญ่หลวง ที่สุดคือ ความกลัว ซึ่งจะทำให้องค์กรไม่ยอมขอการรับรอง และปล่อยให้เวลาผ่านไปเนิ่นนาน จนผ่านไปเนินนาน

อ้างอิงข้อมูลจาก : http://www.ru.ac.th 14

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


มาตรฐานอุปกรณ์รับความดันตามข้อกำหนดสหภาพยุโรป : Pressure Equipment Directive (PED) 97/23/EC ตามข้อกำหนดสหภาพยุโรป อุปกรณ์รับ ความดั น เช่ น ถั ง ความดั น , หม้ อ ต้ ม ไอน้ ำ , อุ ป กรณ์ ถ ่ า ยเทความร้ อ น, ท่ อ , วาวล์ และ อุปกรณ์เกี่ยวกับความดันต่างๆ ทั้งสินค้าใหม่ และสินค้ามือสองที่จะนำเข้ามาใช้งานหรือ วางขายในสหภาพยุโรป ซึง่ ต้องใช้งานทีค่ วามดัน มากกว่า 0.5 Bar จะต้องเป็นไปตามข้อกำหนด PED 97/23/EC ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบอุปกรณ์รับความดัน ที่จะส่งออกไปจำหน่ายหรือใช้งานในสหภาพ ยุโรป (ซึ่งโอกาสทางธุรกิจในสหภาพยุโรปมี มูลค่ามหาศาลด้วยจำนวนประชากรมากกว่า 450 ล้านคน ใน 25 ประเทศ) ต้องเป็นผู้รับ ผิดชอบตามกฎหมายหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง กับ PED 97/23/EC โดยจะอ้างว่าไม่ทราบ ข้อบังคับเหล่านี้ไม่ได้ อุปกรณ์รับความดันจะต้องมีการตรวจสอบ ให้ เป็ น ไปตามมาตรฐาน โดยกระบวนการ ตรวจสอบและรับรองจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ ชนิด, ความดัน, ปริมาตร และความอันตราย หรื อ ความเสี ่ ย งของอุ ป กรณ์ ร ั บ ความดั น เหล่านั้น ซึ่งข้อกำหนดในเชิงควบคุมคุณภาพมี รายละเอียดภาพรวมดังต่อไปนี้ • ระบบคุณภาพ • การออกแบบ • วัสดุดิบที่ใช้ในการผลิต • กระบวนการผลิต • การประกอบ • อบในขั้นตอนสุดท้าย

15

เมื่ออุปกรณ์รับความดันเป็นไปตามข้อกำหนด PED 97/23/EC และข้อกำหนดอื่นๆที่ เกี่ยวข้องแล้ว (เช่น ข้อกำหนดสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงดันต่ำ, ข้อกำหนดสำหรับอุปกรณ์ซึ่ง สามารถแผ่สนามแม่เหล็กไฟฟ้า, ข้อกำหนดสำหรับอุปกรณ์ซึ่งต้องนำไปใช้งานในบริเวณซึ่ง เสี่ยงต่อการระเบิด, อื่นๆ) ผู้ผลิตสามารถติดสัญลักษณ์ CE บนผลิตภัณท์ บ่งบอกถึงสินค้านั้น ได้ผลิตตามข้อกำหนดของสหภาพยุโรป สามารถใช้งานและวางขายได้ในประเทศสมาชิก สหภาพยุโรปโดยไม่มีข้อกีดกันทางการค้า บูโร เวอริทัส (Notified Body Number-0062) ให้บริการตรวจสอบและรับรองอุปกรณ์รับ ความดันในทุกขอบข่ายตามข้อกำหนด PED 97/23/EC

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


CLIENT INTERVIEW

CLIENT INTERVIEW

ISO 9001:2000 สู่ ISO 9001:2008 นับตั้งแต่มีการประกาศเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน ISO 9001:2000 สู่ ISO 9001:2008 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 หลายองค์กรมีการปรับเปลี่ยนมาตรฐานตั้งแต่ช่วงแรกที่มีการประกาศปรับ เปลี่ยน และตั้งแต่ต้นปี 2552 ที่ผ่านมาองค์กรที่ขอการรับรองใหม่ ต่างขอการรับรองด้วยมาตรฐาน ISO 9001:2008 อาจะเป็นเพราะการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย จึงทำให้หลายองค์กรเลือกที่จะ อัพเกรดเวอร์ชั่นไปพร้อมๆกับรอบการตรวจติดตาม หรือ Surveillance แต่ยังมีอีกหลายๆองค์กรที่อาจจะยังไม่ได้ปรับเปลี่ยน อาจเพราะรอจังหวะที่ใบรับรองปัจจุบัน หมดอายุก่อนแล้วจึงขอการรับรองด้วยเวอร์ชั่นใหม่ แต่บางองค์กรยังอาจเป็นกังวลกับการเปลี่ยน มาตรฐาน และกำลังเตรียมความพร้อมเพื่อการตรวจด้วย ISO 9001:2008 อยู่ แต่ถึงอย่างไรภาย ในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2553 นี้ ทุกองค์กรทั่วโลกที่ได้รับใบรับรอง ISO 9001:2000 จะหมด อายุลง ดังนั้นแล้วองค์กรที่ยังไม่ได้ปรับเปลี่ยนเวอร์ชั่นจึงไม่ควรปล่อยปละละเลยจนเวลาหมดลง ในวารสารฉบับนี้จึงถือโอกาสพูดคุยกับองค์กรต่างๆที่ดำเนินการเปลียนแปลงมาตรฐาน ISO 9001:2000 เป็น ISO 9001:2008 ทั้งองค์กรเล็กและใหญ่ เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรที่กำลังจะ ปรับเปลี่ยนมาตรฐาน

คุณธีรยุทธ ศักดิ์วิลาสตระกูล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงาน ธุรกิจโครงข่าย บมจ. กสท โทรคมนาคม คุณธีรยุทธ เล่าให้ฟังว่า จากที่ กสท นำระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9002:1994 มาใช้ตั้งแต่ปี 2543 และได้มีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่องมาสู่มาตรฐาน ISO 9001:2000 ในปี 2548 เป็นต้นมา กระบวนการทำงานและการพัฒนาการให้บริการของ กสท จึงมีการปรับเปลีย่ น พัฒนาให้ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจในการใช้บริการตลอดมา ดังนั้นการปรับเปลี่ยนมาตรฐานบริหารงานคุณภาพมาสู่ ISO 9001:2008 กสท จึงมีความพร้อม ในการปรับเปลี่ยนตั้งแต่ต้น โดยผู้บริหารระดับสูงให้การสนับสนุนและส่งเสริมอย่างจริงจัง มีการ มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินงานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO พิจารณาศึกษาสาระสำคัญ ประเด็นต่างๆที่มาตรฐานใหม่กำหนดไว้ต้องมีหรือต้องปรับเปลี่ยน และนำมาปรับปรุงในเอกสาร คู่มือกระบวนการปฏิบัติงาน คุณธีรยุทธ กล่าว

16

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


จากการศึกษาพบว่าข้อกำหนดมาตรฐาน ISO 9001:2008 มีเนื้อหาหลักๆเช่นเดียว กับมาตรฐาน ISO9001:2000 แต่มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาถ้อยคำบางส่วนให้มีความ ชัดเจน รวมทั้งการเพิ่มเนื้อหาที่ต้องจัดทำใหม่บ้างบางส่วน อาทิ ข้อกำหนดในเรื่อง กระบวนการบริหาร Outsource, กระบวนการที่มีผลกระทบต่อความสอดคล้องของ ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานที่กำหนด กระบวนการใช้อุปกรณ์ระบบสารสนเทศ กระบวนการ วัดความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น กสท ได้มีการปรับปรุงเอกสารโดยจัดทำรายละเอียดกระบวนการและขั้นตอนการ ปฏิบัติงานในเอกสารบริหารงานคุณภาพทั้ง QM, QP, WI และ SD ให้สอดคล้องกับผล การศึกษาและตามมาตรฐานที่กำหนด และมีการอบรมพนักงานทุกส่วนที่เกี่ยวข้องให้ เข้าใจในการปรับเปลี่ยนดังกล่าว รวมทั้งมีการตรวจติดตามการปฏิบัติงานตามคู่มือ เอกสารที่ปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ คุณธีรยุทธ กล่าวอีกว่า การนำระบบบริหารงานคุณภาพ ISO มาใช้ในการปฏิบัติงาน หัวใจสำคัญที่สุด ประการแรกที่องค์กรจะต้องมีคือ การที่ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร รับรู้ตระหนักถึงคุณค่าในการนำระบบมาใช้ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งต้องให้การสนับสนุน ส่งเสริมและกระตุ้นให้พนักงานทุกๆส่วนตระหนักและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานที่กำหนด พนักงานแต่ละคนจะรับรู้รับทราบหน้าที่ของตนที่จะต้องปฏิบัติ รู้ รายละเอียดวิธีการทำงาน ทำให้การทำงานมีความต่อเนื่องสม่ำเสมอ ถึงแม้ว่าจะมีการ ปรั บ เปลี ่ ย นบุ ค ลากรในอนาคต การทำงานจะมี ค วามผิ ด พลาดลดลง คุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการมีความสม่ำเสมอ อันนำมาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าในที่สุด

ระบบบริหารงานคุณภาพ ยังส่งเสริมให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทำงาน การผลิตสินค้า และบริการให้ดียิ่งขึ้นไปเพื่อให้ลูกค้าเกิดความประทับใจและพึงพอใจสูงสุดอย่างสม่ำเสมอด้วย คุณธีรยุทธ กล่าว

ตัวอย่างผลสำเร็จในการนำระบบบริหารงานคุณภาพมาใช้ พิจารณาเกี่ยวกับ

ก่อนนำมาประยุกต์ใช้

หลังการนำมาประยุกต์ใช้

เอกสาร คู่มือการปฏิบัติงานต่างๆที่ จำเป็นในการปฏิบัติงาน

มีเพียงบางส่วน ตามที่คิดว่าเพียงพอ โดยไม่มีการควบคุม และปรับปรุง อย่างเป็นระบบมาตรฐาน

มีการจัดทำเอกสารและบันทึกผล ต่างๆที่จำเป็นในการปฏิบัติงานทุก ขั้นตอน โดยมีการควบคุมและปรับปรุง อย่างเป็นระบบตามมาตรฐานสากล

การบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย (KPIs)

กำหนดขั้นตอนการทำงานกระบวน การที่เกี่ยวเนื่อง ไม่ครอบคลุมและ การวางแผนไม่ชัดเจน

มีการกำหนดขั้นตอนการทำงานทุก กระบวนการที่เกี่ยวเนื่องไว้ชัดเจน ทำให้สามารถบรรลุผลการวัดผลตาม วัตถุประสงค์

การตรวจประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ไม่มีการตรวจประเมินผลจากผู้ตรวจ จากผู้ตรวจประเมินภายใน กสท และ ภายในและภายนอก ผู้ตรวจภายนอกที่มีมาตรฐานรับรอง การปรับปรุงระบบคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง 17

มีผู้ตรวจประเมินภายใน กสท ปีละ อย่างน้อย 2 ครั้ง และผู้ตรวจ ประเมินภายนอกอีก 2 ครั้ง/ปี มีข้อมูลเพียงพอและสามารถพิจารณา ไม่มีข้อมูลที่เพียงพอ ในการนำมา นที่ต้องเร่งดำเนินการ พิจารณาวางแผน กำหนดแผนกลยุทธ์ ถึปรังความจำเป็ บปรุงก่อนหลัง และวางแผน ดำเนิน และแผนระยะยาว เพื่อปรับปรุงระบบ การ เพื่อปรับปรุง ระบบคุณภาพอย่าง คุณภาพอย่างต่อเนื่อง ต่อเนื่อง

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


พิจารณาเกี่ยวกับ

ก่อนนำมาประยุกต์ใช้

หลังการนำมาประยุกต์ใช้

ทุกปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบคุณภาพ

บางปัญหาไม่สามารถแก้ไขในระดับ ผู้ปฏิบัติงานได้ หรือใช้เวลาแก้ไขนาน หรือไม่ได้แก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในทุกระดับ และมีขน้ั ตอนการทำงาน ทำให้ปญ ั หาถูก แก้ไขได้รวดเร็ว และมีการวิเคราะห์ ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ

พนักงานผู้ปฏิบัติงาน

หน้าที่รับผิดชอบ โดยกำหนดขอบเขต ไว้กว้างๆไม่ได้กำหนดลงในเนื้องาน ทำให้ไม่เกิดการเรียนรู้งานในหน้าที่ และไม่มีการประเมินความสามารถใน หน้าที่รับผิดชอบ

มีการกำหนดเนือ้ งานไว้ชดั เจน และมีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นระยะๆ ทัง้ เรือ่ งการพัฒนาความรู้ และการปฏิบตั ิ งานตามหน้าที่จากผู้ตรวจประเมิน

สำหรับ ประโยชน์ที่องค์กรได้รับจากการได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2008 พอสังเขปดังนี้ 1. องค์กรมีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ 2. องค์กรมีพนักงานที่มีความตระหนักในการผลิตผลิตภัณฑ์หรือบริการที่คำนึงถึงความพึงพอใจของลูกค้าเป็นหลัก 3. การทำงานมีความต่อเนื่อง ลดความซ้ำซ้อน มีการจัดทำเอกสารอย่างเป็นระบบ ทำให้สามารถตรวจสอบและสอบทาน ได้ง่าย เป็นระเบียบเรียบร้อย ลดความผิดพลาดในการทำงาน 4. พนักงานซึ่งเป็นหัวใจหลักของการทำงาน ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาความรู้ ความสามารถในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานที่กำหนด 5. องค์กรได้รับความเชื่อถือจากลูกค้า ว่ามีการปฏิบัติงานผลิตผลิตภัณฑ์ และบริการได้มาตรฐานสากล มีความสม่ำเสมอ ในผลิตภัณฑ์และบริการตามมาตรฐานที่กำหนด

คุณธนัท ฮุนตระกูล

ผู้จัดการทั่วไป บริษัท อินวิกอร์ อินคอร์ปอเรชั่น จำกัด และ บริษัท เอฟเวอร์เรสท์ โฮลดิ้ง จำกัด คุณธนัท กล่าวว่า เดิมองค์กรได้รับ ISO 9001: 2000 อยู่แล้ว ซึ่งก็ได้มีการยึดถือและ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานตลอดมา ซึง่ อาจมีการคลาดเคลือ่ นจากมาตรฐานไปบ้าง การทีจ่ ะต้องเตรียมตัว เพื่อปรับสู่ ISO 9001: 2008 นั้นบริษัทฯ ได้ทำการตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงในมาตรฐาน ใหม่คือ Version 2008 ได้ดำเนินการปรับเปลี่ยนรูปแบบเอกสารการควบคุมการปฏิบัติงาน ของบริษทั ให้ใกล้เคียงกับข้อกำหนดในมาตรฐานใหม่ เพือ่ ทีจ่ ะให้พนักงานผูป้ ฏิบตั มิ คี วามเข้าใจใน ข้ อ กำหนดใหม่ ด ี ข ึ ้ น พร้ อ มกั นนี ้ ท างบริ ษ ั ท ได้ ร ั บ การแนะนำและฝึ ก อบรมจากอาจารย์ ผ ู ้ เชี่ยวชาญทำให้บริษัทสามารถประหยัดเวลาในการขอการรับรองด้วย ISO 9001: 2008 สำหรับสิ่งที่ได้รับจากการทำ ISO 9001: 2008 คือ มีการแก้ไขหรือปรับปรุง แนวทางการ ทำงานของพนักงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตามข้อกำหนดต่างๆ ที่ระบุในมาตรฐานใหม่ ทำให้บริษัทฯ มีโอกาสในการปรับปรุงระบบเอกสารทั้งหมดที่เคยผิดพลาด และไม่ตรงตาม ข้อกำหนดการควบคุมให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามข้อกำหนดใน ISO 9001: 2008 พร้อมสร้าง ความเชื่อมั่นที่ได้รับจากบุคคลภายนอกและลูกค้าและองค์กรอื่นๆ ที่ติดต่อกับบริษัทฯ คุณธนัท กล่าวทิง้ ท้ายว่า ประโยชน์ทอ่ี งค์กรได้รบั โดยตรงจากการรับรอง ISO 9001: 2008 คือ

ความเชือ่ มัน่ ในประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ านของพนักงาน และคุณภาพของสินค้าทีม่ มี าตรฐานทีด่ ขี น้ึ 18

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


คุณไพบูลย์ ให้สมั ภาษณ์วา่ การเตรียมตัวของ ในส่วนของความสำเร็จทีไ่ ด้จากการทำ ISO นอกจากนี้ประโยชน์ที่ได้จากการรับรอง องค์กรในการปรับเปลี่ยนสู่ ISO 9001:2008 คื อ มี ร ะบบการทำงานที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ได้ ISO 9001:2008 ที่เห็นได้ชัดเจน คือเรื่องของ องค์กรเริ่มต้นจากการชี้แจงความเข้าใจในการ มาตรฐาน ลดการทำงานที่ซำซ้อน ลดความ งานบริหารบุคคล และ IT ซึ่งทำให้มั่นใจขึ้น ทำระบบ IS0 ให้กับพนักงานในองค์กร ทราบ ผิดพลาดจากการทำงาน ลดปัญหาความขัด ว่ า กระบวนการบริ ห ารงานบุ ค คลได้ ส รรหา ถึงความสำคัญ และผลทีไ่ ด้รบั และมีการสรรหา แย้งภายใน ส่งผลให้การทำงานรวดเร็วขึ้น และพัฒนาบุคคลากรให้ตรงกับความต้องการ ทรัพยากรที่จำเป็น มีการฝึกอบรม มีการจัดตั้ง สร้างความเชื่อมั่นและภาพลักษณ์ที่ดีขององค์ ขององค์กรและในด้านของ IT ทำให้เรามีระบบ คณะกรรมการในการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุ การให้กับลูกค้าที่ได้รับบริการ ที่ทำให้ฐานข้อมูลที่ถูกต้องและครบทวน ไม่มี วัตถุประสงค์ที่วางไว้ การสูญหายไปไหน

สุดท้ายนีผ้ มคิดว่าถ้าคนกับระบบทำงานร่วมกันได้ องค์กรก็จะประสบความเสร็จ

คุณไพบูลย์ กล่าวทิ้งท้าย

Mr. Pandia Rajan Chockalingam บริษทั นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด Mr. Pandia กล่าวว่า การปรับเปลีย่ นสูม่ าตรฐาน ISO 9001:2008 Senior division manager & QMR. บริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด

ทางนันยางได้เริ่มด้วยการฝึกอบรมพนักงานให้เข้าใจในตัวข้อกำหนดฉบับใหม่ รวมทั้งให้ข้อมูล เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานกับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดได้รับทราบ นอกจากนี้ทางบริษัท ยังได้ปรับปรุงเอกสารและคู่มือคุณภาพให้สอดคล้องกับข้อกำหนด ISO 9001:2008 รวมทั้งมี การตรวจประเมินภายในด้วย ISO 9001:2008 เพื่อตรวจสอบว่ามีการดำเนินการสอดคล้อง ตามข้อกำหนดฉบับใหม่หรือไม่ หรือมีตรงส่วนไหนต้องปรับปรุงหรือแก้ไขหรือไม่

Mr. Pandia กล่าวอีกว่า ความสำเร็จในครั้งนี้เกิดจากองค์กรมีความเข้าใจในตัวข้อกำหนดที่ ปรับเปลี่ยนใหม่ รวมทั้งเห็นประโยชน์ของการทำระบบไอเอสโอ นอกจากนี้นันยางฯ ยังให้ ความสำคัญในการฝึกอบรมพนักงานและการตรวจประเมินภายใน เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ การทำระบบ ISO 9001:2008 เป็นสิ่งที่ช่วยขจัดการควบคุมหรือระบบที่ทำงานด้วยมือ ไปสู่ ระบบในการทำงานและการควบคุมแบบอัตโนมัติ ยิ่งไปกว่านั้น ยังช่วยให้ลดกระบวนการที่ผิด พลาดลงได้ และมีการริเริ่มแนวทางแก้ไขและปรับปรุง เพื่อนำไปสู่การควบคุมต้นทุนทางการ ผลิตได้เป็นอย่างดี 19

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


LOVE EARTH

LOVE EARTH

แนวทางการควบคุม และป้องกันมลพิษ ทางอากาศ

บทความวิชาการสิ่งแวดล้อม 1. การออกกฎหมายควบคุม

ทางหน่วยงานของรัฐได้ออกกฎหมายเพื่อควบคุมมลพิษทางอากาศให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ดังต่อไปนี้ • พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติโรงงาน พ . ศ . 2535 • พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง • พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ . ศ . 2535 • พระราชบัญญัติโรงงาน พ . ศ . 2535 • ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม • กฎกระทรวงต่าง ๆ

2. การกำหนดมาตรฐาน (Air Quality Standards Control)

ถูกกำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการใช้กฎหมายเพื่อการควบคุมดูแลคุณภาพอากาศทั้งใน บรรยากาศและในสถานที่ประกอบการหรือบริเวณที่อยู่อาศัยให้อยู่ในระดับที่เกิดความ ปลอดภัย 2.1 มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ (Ambient Air Quality Standards) ถูกกำหนดขึ้นเพื่อที่จะให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพอากาศใช้เป็น มาตรการสำหรับตรวจสอบและควบคุมดูแลให้สภาพแวดล้อมของบรรยากาศอยู่ในเกณฑ์ ที่กำหนด 2.2 มาตรฐานคุณภาพอากาศจากแหล่งกำเนิด (Emission Air Quality Standard) แหล่งกำเนิดของอากาศเสียที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์นั้นเป็นแหล่งสำคัญที่จะต้องถูก ควบคุมไม่ให้มีการปล่อยสารมลพิษทางอากาศจนอาจเกิดปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของ มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อีกทั้งต้องไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ด้วย

3. การควบคุมที่แหล่งกำเนิด (Source Control)

3.1 การควบคุมการปล่อยสารปนเปื้อนหรือการลดผลิตสารปนเปื้อนจากแหล่งกำเนิดให้ น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ได้แก่ การเปลี่ยนกระบวนการหรือวิธีการผลิต การลดสารปนเปื้อน ที่เกิดขึ้น และการนำสารปนเปื้อนที่เกิดขึ้นกลับมาใช้ประโยชน์ การออกแบบเครื่องมื อ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานให้เกิดความเหมาะสมที่จะนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ต้องมีการควบคุมการทำงานและการบำรุงรักษาเครื่องจักรเครื่องมือและอุปกรณ์อยู่เสมอ 20

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


3.2 การควบคุมสารปนเปื้อนจากแหล่งกำเนิดก่อนปล่อยออกสู่บรรยากาศ เพื่อไม่ทำให้ มีสารปนเปื้อนในบรรยากาศปริมาณมากจนอาจเกิดก่อให้เกิดอันตราย ได้แก่ การลดความเร็ว ของอากาศเสีย การเปลี่ยนทิศทางของอากาศเสีย การสกัดกั้นหรือกรองเอาอนุภาคออกจาก อากาศ การใช้แรงดึงดูดกระแสไฟฟ้าสถิต การสันดาปเชื้อเพลิงให้สมบูรณ์ การดูดซับแกส (Adsorption) การดูดซึม (Absorption) การทำให้เจือจางและการควบแน่น (Vapor Condensers) 3.3 อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการกำจัดอนุภาคในอากาศ มีอปุ กรณ์จำนวนมากต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม กับอนุภาคนั้น ดังต่อไปนี้ Cyclone ใช้หลักของแรงหมุนเหวี่ยง เหมาะกับการควบคุมอนุภาค ขนาดใหญ่ (15-40 ไมครอน ) ไม่เหมาะกับอนุภาคขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน วิธคี า่ ใช้จา่ ยใน การลงทุนและการบำรุงรักษาน้อยแต่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ Bag House Collector ใช้หลักของการกรอง ซึ่งจะแยกอนุภาคโดยให้ ผ่านตัวกรอง ตัวกรองจะเป็นถุงผ้าฝ้ายหรือไฟเบอร์กลาสหรือใยหินหรือ ไนลอน อุปกรณ์นี้เหมาะกับการกำจัดอนุภาคขนาดเล็ก แต่ไม่เหมาะกับ อนุภาคทีม่ คี วามชืน้ อุปกรณ์นม้ี ปี ระสิทธิภาพสูง ค่าก่อสร้างและการดำเนิน งานสูง แต่ทนความร้อนสูงได้ไม่ดี

CYCLONE Wet Collector หรือ Wet Scrubber อุปกรณ์นี้ใช้หลัก ของการชนหรื อ การตกกระทบ สามารถใช้ ก ำจั ด อนุ ภ าค กาซและกาซที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ ทนความร้อนสูง ใช้ได้ทั้ง ระบบเปียกและแห้ง แยกอนุภาคโดยทำให้อนุภาคเปียกโดย สัมผัสกับละอองน้ำในอากาศ เมื่ออนุภาคเปียกจะรวมกัน เป็นกลุ่มก้อน อุปกรณ์นี้มีประสิทธิภาพสูง แต่ค่าใช้จ่ายสูง กว่าในการบำรุงรักษาและการลงทุน BAG HOUSE COLLECTOR Electrostatic Precipitator (EP) ใช้ ห ลั ก ของความ แตกต่างทางประจุไฟฟ้าโดยการทำให้อนุภาคเกิดประจุไฟฟ้า ตรงข้ามกับแผ่นดักจับแล้วเกิดการดึงดูดอุปกรณ์นี้ไม่เหมาะ สำหรัยการกำจัดอนุภาคที่เหนียวหนืด มีประสิทธิภาพสูงถึง 99% แต่ค่าก่อสร้างสูบและใช้พื้นที่มาก

BAG HOUSE COLLECTOR ที่มาของข้อมูล : กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 21

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


HEALTH & SAFETY

HEALTH & SAFETY

22

โรคผิวหนังฤดูหนาว

ในช่วงฤดูหนาว หลายคนอาจผจญกับปัญหาโรคผิวหนังไม่แตกต่างจากฤดูกาลอืน่ ๆ ขณะเดียวกัน โรคบางโรคอาจกำเริบมากขึ้น เกี่ยวกับเรื่องนี้ รศ.พ.ญ. พรทิพย์ ภูวบัณฑิตสิน สาขาจิตวิทยา (ผิวหนัง) ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บอกว่า เพราะอากาศ ที่เปลี่ยนแปลง ทำให้เป็นหวัดง่ายภูมิคุ้มกันลดลง อาจทำให้เป็นโรคเริม หรือ งูสวัด หรือประสบ ปัญหา ผิวแห้ง และรังแค รุนแรงขึ้น

เริม เป็นเชื้อไวรัสกลุ่มเฮอร์ปีส์ ติดต่อทางระบบหายใจในเด็กซึ่งยังไม่มีภูมิคุ้มกันเมื่อได้รับเชื้อจะมี อาการไข้ ต่อมน้ำเหลืองที่คอโตและมีตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก กระจายรอบปาก และภายในช่องปาก ร่างกายจะสร้างภูมิและทำลายไวรัสได้เอง แผลจะหายได้ใน 2 สัปดาห์ ในบางรายเชื้อเริมบางส่วน จะหลบเข้าในปมประสาทขนาดเล็กบริเวณริมฝีปาก ในวัยผู้ใหญ่เมื่อภูมิไวรัสเริมต่ำลงเชื้อที่แอบ แฝงจะออกมาทำลายผิวหนังใกล้ปมประสาท พบเป็นกลุ่มของตุ่มใส 5-10 ตุ่ม บริเวณมุมปาก หรือ ริมฝีปาก โดยมีการเป็นซ้ำเมื่อภูมิคุ้มกันต่ำลงเป็นระยะๆ ตลอดชีวิต การรักษาสุขภาพให้แข็งแรงจะ ช่วยให้ภูมิร่างกายปกติ แต่ถ้าเป็นเริมก็ไม่ต้องวิตกกังวลผื่นจะทุเลาได้เองภายใน 1 สัปดาห์

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


งูสวัด เกิดจากเชือ้ ไวรัสสุกใส เป็นเชือ้ กลุม่ เฮอร์ปสี ์ ติดต่อทางระบบหายใจ การติดเชือ้ สุกใสครัง้ แรกในวัยเด็กจะมีอาการไข้ ต่อมน้ำ เหลืองโต และตุม่ ใสกระจายทัว่ ตัว ร่างกาย จะสร้างภูมขิ น้ึ ผืน่ หายเองใน 2 สัปดาห์ แต่ ในบางคนเชือ้ สุกใสจะหลบเข้าปมประสาท ขนาดใหญ่ เมือ่ ภูมคิ มุ้ กันโรคสุกใสลดลงในวัย กลางคน หรือวัยสูงอายุ ไวรัสทีแ่ ฝงอยูจ่ ะก่อ ให้เกิดอาการไข้และปวดรุนแรงตามแนวยาว ของปมประสาท จะพบเป็นกลุม่ ของตุม่ น้ำใส เป็นแนวด้านใดด้านหนึง่ ของร่างกาย งูสวัดจะ หายสนิทใน 2 สัปดาห์ ไม่เกิดซ้ำเหมือนเริม ยกเว้นในรายทีม่ ภี มู ติ า้ นต่ำด้วยสาเหตุอน่ื ผิวแห้ง เซลล์ผิวหนังจะสร้างสารเคราติน อัดแน่นเป็นแผ่นบางใสในชั้นนอกสุด เรียกว่า หนังขี้ไคล ช่วยป้องกันการดูดซึมของสาร เข้าสู่ร่างกาย ลดอันตรายจากรังสีอัลตราไวโอเลตและป้องกันการระเหยของน้ำจากผิวหนัง แผ่นบางใสของหนังขี้ไคลจะมีรูขนาดเล็ก เพื่อให้น้ำมันหล่อเลี้ยงผิวซึ่งร่างกายสร้างจากเซลล์ผิวหนังหรือจากต่อมไขมันสร้างออกมาเคลือบผิวชั้นขี้ไคลอีกชั้น น้ำมันหล่อเลี้ยงผิว เป็นส่วนผสมของน้ำมันหลายชนิด สารเพิ่มความ ชุ่มชื้น เกลือแร่และน้ำ ผิวแต่ละบุคคลจะสร้างน้ำมันหล่อเลี้ยงผิวให้เหมาะสมแตก ต่างกัน ในคนซึ่งผิวหนังธรรมดาปกติ การล้างมากเกิน ผิวก็จะแห้งและเกิดอาการคันได้ ในผู้ป่วยภูมิแพ้ผิวหนัง ซึ่งเป็นผื่นแพ้ถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะมีอาการคันร่วมด้วย โรคนี้มีผิวแห้งร่วมด้วย ดังนั้นเมื่ออากาศหนาว ผิวจะยิ่งแห้ง อาการคันจึงรุนแรงมากขึ้น การเกาจะทำให้เกิดรอยแผลติดเชื้อตามมา ดังนั้นในผู้ป่วยกลุ่มนี้จำเป็นต้องใช้ครีมทาผิวให้ ชุ่มชื้น เพื่อป้องกันการกำเริบของผื่น ในคนผิวปกติมีการสร้างหนังขี้ไคลและน้ำมันหล่อเลี้ยงผิวอย่างสมดุล การอาบน้ำเพียงเพื่อกำจัดขี้ไคลที่เกาะกับสิ่งสกปรกฝุ่นละออง หรือเครื่องสำอางออกควรเหลือน้ำมันหล่อเลี้ยงไว้เพื่อไม่ให้ผิวแห้ง หลังการชำระล้างที่ เหมาะสม ถ้าสภาพผิวอยู่ในสภาพปกติก็ไม่ จำเป็นต้องใช้ครีมทาผิวเพิ่มแต่ถ้าผิวแห้งการใช้ครีมทาผิวควรใช้แต่พอควร ฤดูหนาวอากาศแห้ง ลมแรง ผิวอาจแห้งได้ ควรจะลดปริมาณสบู่ อย่าอาบน้ำอุ่นจัด หรืออาบนานเกินควร เพื่อรักษาน้ำมันหล่อเลี้ยง ผิวไว้ให้มากที่สุด เพราะในน้ำมันหล่อเลี้ยงผิวนอกจากมีน้ำมันสารเพิ่มความชุ่มชื้นซึ่งสร้างเฉพาะตัวยังมีเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราซึ่ง เป็นมิตรกับเราช่วยป้องกันเชื้อโรคร้ายแรงอื่นไม่ให้เข้ามาในชั้นผิวหนัง ดังนั้นการชำระล้างมากเกินไป นอกจากผิวแห้งจากการสูญเสีย น้ำมันหล่อเลี้ยงผิวแล้ว การชำระล้างยังทำลายเกาะภูมิคุ้มกันของผิวหนังด้วย ควรสวมใส่เสื้อผ้ามิดชิด เพื่อปรับอุณหภูมิร่างกายให้ สม่ำเสมอ และยังช่วยป้องกันการระเหยของน้ำออกจากผิว ช่วยป้องกันลมและแสงแดด ถ้าผิวยังคงแห้งอยู่ ควรใช้น้ำมันมะกอกและ วาสลินเจลลี่ทาเพิ่มความชุ่มชื้น แต่บางท่านอาจไม่ชอบเพราะเหนอะหนะ ก็อาจใช้ครีมซึ่งมีจำหน่ายทั่วไป ผิวแห้งบริเวณริมฝีปากอาจแตกเป็นร่องควรใช้วาสลินเจลลี่ทาบ่อยๆ และลดปริมาณของยาสีฟันจะช่วยให้ริมฝีปากดีขึ้น ส่วนปัญหา เท้าแตกจะเป็นรุนแรงขึ้นควรทาวาสลินเจลลี่ หรือครีมผสมยูเรีย หรือซาลิซาลิก การใส่รองเท้าหรือถุงเท้าหุ้มจะช่วยให้ผิวแห้งลดลง รังแค มีหลายท่านจะเกิดรังแคเฉพาะในฤดูหนาว ถ้ามีผื่นรังแคอยู่เดิมก็อาจมีอาการมากขึ้น เพราะผิวหนังแห้งจากอากาศแห้งและ จากสมดุลของเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราของผิวหนังอาจปรวนแปรไปในฤดูหนาวทำให้รังแคกำเริบ จึงแนะนำให้ใช้ยาสระผมชนิดรักษา รังแค ไม่ควรสระผมบ่อยเพราะผิวจะแห้งมากขึ้น เมื่อรังแคหายก็ควรกลับมาใช้ยาสระผมธรรมดา อย่าใช้แชมพูรักษารังแคเพื่อป้อง กันอาการรังแค เพราะเชื้อราชนิดนี้จะพบในภาวะปกติ การรักษาก็เพียงปรับปริมาณเชื้อให้กลับสู่สมดุลเท่านั้น ในบางรายผื่นรังแค อาจเป็นลามออกนอกหนังศีรษะที่บริเวณไรผม คิ้ว ข้างจมูก หลังใบหู รูหู หนวดและเครา ยาทาเชื้อราจะช่วยให้ผื่นทุเลา 23

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


รอบรั้ว BV คุณอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองมาตรฐานการจัดการความ ปลอดภัยสารสนเทศ หรือ ISO 27001 ให กั บ คุณพีระพล สาครินทร อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน สังกัดกระทรวงพลังงาน นับเปนหนวยงานแรกของ หนวยงานราชการพลเรือนที่ไดรับการรับรองดวย มาตรฐานดังกลาว คุณอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองการบริหารจัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ให้คุณอนุชา จิรายุสกมล และคุณดวงรัตน์ จิรายุสกมล กรรมการบริษัท เอส.ที.ดี. เจริญฟาร์ม จำกัด ฟาร์มเลี้ยงเป็ดแบบ ระบบปิ ด แห่ ง แรกของไทยที ่ ไ ด้ ร ั บ การรั บ รอง มาตรฐานไอเอสโอ

คุณศุภกร พุกกะพันธ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและ การตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมแสดงความยินดีกับ คุณปัญญา ผ่องธัญญา ผู้จัดการทั่วไป พร้อม ด้วยทีมผูบ้ ริหารและพนักงาน บริษทั ไทยเอเชีย แปซิฟิค บริวเวอรี่ จำกัด ในโอกาสรับมอบใบ รับรองมาตรฐานการจัดการความปลอดภัยด้าน อาหาร หรือ ISO 22000 โดยบริษัทไทยเอเชีย แปซิฟิค บริวเวอรี่ เป็นผู้ผลิตเบียร์รายใหญ่ ทั้ง เบียร์ไฮเนเก้น ไทเกอร์เบียร์ และเบียร์เชียร์

24

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

คุณศุภกร พุกกะพันธ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและการ ตลาด บริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเิ คชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองมาตรฐานการจัดการคุณภาพ ด้านสารสนเทศ หรือ ISO 20000 ให้กบั คุณสุกญ ั ญา วนิชจักรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท วัน ทู วัน คอนแทคส์ จำกัด ในโอกาสนี้ คุณศิริชัย รัศมีจันทร์ รองประธานกรรมการบริหาร บริ ษั ท สามารถ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ให้เกียรติเข้าร่วม แสดงความยินดีกับความสำเร็จในครั้งนี้ สำหรับ บริษัท วัน ทู วัน คอนแทคส์ จำกัด วัน เป็นผู้นำใน ตลาดผู้ให้บริการ Solution สำหรับ Call Center และเปน็ หนึง่ ในบริษทั ในเครือของสามารถ คอร์ป 2010 I SS U E 01


คุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายขาย และการตลาด บริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเิ คชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองระบบการ จัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 และใบ รับรองการจัดการคุณภาพด้านยานยนต์ หรือ ISO/TS 16949:2009 ให้คุณธวัชชัย โพธิกุล ผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั โอเรียนตัลไทย อินดัสตรีส้ ์ จำกัด

คุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผู้จัดการฝ่ายขาย คุณอุดมเดช คงทวีเลิศ กรรมการผูจ้ ดั การ และการตลาด บริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเิ คชัน่ ใหญ่ บริ ษ ั ท บู โ ร เวอริ ท ั ส เซอทิ ฟ ิ เคชั ่ น (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองระบบการ (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองมาตรฐาน จัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 และ การจัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ให้ ใบรับรองมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม กับ คุณสจ๊วต วินเทอร์ส ผู้อำนวยการประจำ หรือ ISO 14001 ให้กบั คุณดุษฏี พงษ์สทุ ธิมนัส ภู ม ิ ภ าค พร้ อ มด้ ว ย คุ ณ เอ็ ด การ์ โทเรล Executive Vice President บริษทั ร้อกเวิรธ์ เฮอร์นนั เดซ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป พร้อมทีมผูบ้ ริหาร จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์สำนักงาน บริษทั โซเด็กซ์โซ่ เฮ็ลธแคร์ ซัพพอร์ท เซอร์วสิ รายใหญ่ของไทย (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ให้บริการในด้านต่างๆ อาทิ อาหาร การซ่อมบำรุง อุปกรณ์ทางการ แพทย์ เป็นต้น

คุณธนากร ไหวนิยม ผู้จัดการฝ่ายรับรอง ระบบมาตรฐาน บริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเิ คชัน่ (ประเทศไทย) มอบใบรับรองมาตรฐานการ จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ OHSAS 18001 ให้กบั Mr. Shuichi Okamoto กรรมการผู้จัดการ พร้อมด้วย คุณจันทรัสน์ วนเจริญวงศ์ QA and Technical Manager, คุณ ถิรพันธ์ กิง่ พะโยม OH&S MR / QMR / EMR และคุณ น้ำเพชร มณีวรรณ Accounting & General affair manager บริษัท ดี ไอ ซี คัลเลอร์(ประเทศไทย) จำกัด 25

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


คุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและ คุณธนากร ไหวนิยม ผู้จัดการฝ่ายรับรอง คุณธนากร ไหวนิยม ผู้จัดการฝ่ายรับรอง การตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น ระบบมาตรฐาน บริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเิ คชัน่ ระบบมาตรฐาน บริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเิ คชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองระบบการ (ประเทศไทย) มอบใบรับรองมาตรฐานการจัด (ประเทศไทย) มอบใบรับรองมาตรฐานการจัด จัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ให้กับ การคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ให้คุณ การคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ใหก้ บั คุณ ฝ่ายการตลาด บริษัท เอสซีจี เน็ตเวิร์ค บัวทอง จันทสิทธิ์ ประธานกรรมการบริหาร ไพบูลย์ อังคณากรกุล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แมเนจเม้ นท์ จำกั ด โดยมีคุณกฤช กุลเนตุ พร้ อ มด้ ว ยที ม ผู ้ บ ริ ห ารบริ ษ ั ท เอส.พี . บี . วาไรเทค จำกัด ตัวแทนจำหน่ายสินค้าด้าน กรรมการผู ้ จ ั ด การ ร่ ว มแสดงความยิ นดี เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัทผู้นำด้านงานระบบ อิเลคทรอนิกส์ต่างๆ และเป็นบริษัทในเครือ บริษัท เอสซีจี เน็ตเวิร์ค แมเนจเม้นท์ จำกัด ท่อส่งลมในประเทศไทย อาซีฟา

คุณธนากร ไหวนิยม ผูจ้ ดั การฝ่ายรับรองระบบ คุณศุภกร พุกกะพันธุ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและ คารบ์ อนเอ็กซโ์ ปร์ – กลุม่ บริษทั บูโร เวอริทสั มาตรฐาน บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น การตลาด บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น เข้าร่วมออกบูธงาน “Carbon Expo Forum (ประเทศไทย) มอบใบรับรองมาตรฐานการจัด (ประเทศไทย) จำกัด มอบใบรับรองมาตรฐาน Asia 2009” ณ ประเทศสิงคโปร์ ระหว่างวันที่ การคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 ให้กับคุณ การจัดการคุณภาพ หรือ ISO 9001:2008 26 – 27 ตุลาคม 2552 ซึง่ เป็นงานทีเ่ น้นเกีย่ วกับ อุดมชัย เฉลิมลาภอนันต์ กรรมการผู้จัดการ ให้กบั คุณมาซาโนบุ นิชมิ รุ ะ ประธานบริษทั โอพีที การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทัง้ แนวทาง บริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด กลุ่มธุรกิจสิ่ง พรีซิชั่น จำกัด ผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิคส์ เกี่ยวกับกลไกการพัฒนาที่สะอาด หรือ CDM ทอเพื่อการส่งออก ซึ่งเป็นประเด็นที่ทั่วโลกต่างให้ความสำคัญ

26

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


TRAINING CALENDAR 2010 (Rev.00-30/10/09)

No.

*

Course title

. .

. .

. .

. .

. .

. .

Jan

Feb

Mar

Apr

May

Jun

Day

Fee*

3

8,000

1

2,200

1

2,200

2

4,000

5

25,000

1

2,200

1

2,200

18

26

1

2,200

25

30

3

8,000

1

2,200

2

4,000

1

2,200

5

25,000

17-21

3

8,000

10-12

1

2,200

2

4,000

2

4,000

3

6,000

: ISO 9000 1

ISO 9001:2008 How to Implement ISO 9001:2008

2

Introduction and Quality Awareness ISO 9001:2008 3 Interpretation of ISO 9001:2008 Requirements ISO 9001:2008 4 Internal auditor for ISO 9001:2008

5

ISO 9000 Lead auditor (IRCA) ISO 9001:2008 6 New version ISO 9001:2008 for QMR (Lecture and workshop) ISO 9001:2008 7 Document preparation for new version ISO9001:2008 ISO 9001:2008 8 Upgrade Internal Auditor for new version ISO 9001:2008

29-31 8 11

7 14

8 11-12

22-23

14-15

15-19 19

21

: ISO 14000 9

ISO 14001:2004

How to Implement ISO 14001:2004 ISO 14001:2004 10 Interpretation of ISO 14001:2004 Requirements

11

Internal auditor for ISO 14001:2004 ISO 14001:2004 12 ISO 14001:2004 for EMR (Lecture and workshop)

13

ISO14001 lead auditor (IRCA)

19-21 15

7 15-16 18

12

: OHSAS 18000 OHSAS 18001:2007 14 How to Implement OHSAS 18001:2007 OHSAS 18001:2007 15 Interpretation of OHSAS 18001:2007

16

Internal auditor for OHSAS 18001:2007

22 28-29

: Integrated Management System ,

17

22-23

10-11

QMS, EMS and OHSAS Integrated Management System

18

,

24-26

QMS, EMS and OHSAS Integrated Internal Auditor 1/2

ราคาดังกล่าวไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และสามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ Above fee is not inclusive of VAT (7%) Withholding Tax (3%) 27

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


*

No.

Course title

Day

Fee*

. . Jan

. . Feb

. . Mar

. . Apr

. . May

. . Jun

: ISO/TS 16949:2009 ISO/TS 16949:2009 Interpretation of ISO/TS 16949:2009 Requirements ISO/TS 16949:2009 20 Internal auditor for ISO/TS 16949:2009

19

21 22 23

Failure Mode and Effects Analysis (FMEA) Measurement System Analysis (MSA) Statistical Process Control (SPC)

2

4,000

2

4,000

1

2,200

1

2,200

1

2,200

4-5 22-23 25 9 26

: Information Security Management System (ISO/IEC 27000:2005) ISO/IEC 27001:2005 How to Implement ISO/IEC 27001:2005 ISO/IEC 27001:2005 25 Interpretation of ISO/IEC 27001:2005 Requirements

24

26

Internal auditor for ISO/IEC 27001:2005

3

8,000

2

7,000

3

9,500

24-26 18-19 17-19

: IT Service Management System (ISO/IEC 20000:2005) ISO/IEC 20000:2005 How to Implement ISO/IEC 20000:2005 ISO/IEC 20000:2005 28 Interpretation of ISO/IEC 20000:2005 Requirements

27

29

Internal auditor for ISO/IEC 20000:2005

3

8,000

2

7,000

3

9,500

2

4,000

17-18

21-22

2

4,000

25-26

24-25

2

4,000

10-11

2

4,000

15-16

2

4,000

24-26 29-30 10-12

: Food Standard 30

IFS Internal Auditor

IFS

BRC BRC Internal Auditor HACCP/GMP 32 HACCP/GMP Internal Auditor ISO 22000 33 ISO 22000 - Understanding the requirements ISO 22000 34 ISO 22000 Internal Auditor

31

26-27

: FSC (Forest Stewardship Council) 35

FSC Interpretation of FSC requirements

1

2,200

24 2/2

ราคาดังกล่าวไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และสามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ Above fee is not inclusive of VAT (7%) Withholding Tax (3%) ท่านสามารถลงทะเบียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์บูโร เวอริทัส ได้ที่ www.bureauveritas.co.th Online Registration is now available at www.bureauveritas.co.th

สนใจรายละเอียดฝึกอบรมเพิ่มเติม คลิก >> www.bureauvertas.co.th 28

CERTIFICATION E-NEWSLETTER

2010 I SS U E 01


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.