บทความตีพิมพ์ในสูจิบัตรการแสดงศิลปกรรมแหํงชาติ ครั้งที่ 46 ศิลปกรรมร่วมสมัยไทย แนวสื่อประสมและแนวการจัดวางกับพื้นที่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี ศิลปินไทยแตํละยุคสมัยจะมีกลุํมที่แสวงหาแนวทางในการสร๎างสรรค์ เพื่อหารูปแบบใหมํ ๆ และทดลอง สร๎างผลงานด๎วยเทคนิควิธีการที่แตกตํางไปจากลักษณะเดิม ๆ ก็เพราะผลจากความเคลื่อนไหวในวงการศิลปะ ทั่วโลกที่มีกระแสของความเปลี่ยนแปลง ความกระตือรือร๎นของสังคมภายนอก และประชาชนที่หันมาติดตาม ความเคลื่อนไหวในวงการศิลปะทาให๎ศิลปินหนุํมสาวในรุํนตํอมามุํงแสวงหาแนวทางและนาเสนอผลงานด๎าน สื่อวัสดุใหมํ ๆ เพิ่มมากขึ้นตามลาดับ ศิลปินไทยรุํนอาวุโสที่ใช๎สื่อวัสดุประกอบในการสร๎างสรรค์ผลงานนั้นมีมาตั้งแตํยุคแรก ที่เห็นเดํนชัด ก็ คือ พิชัย นิรันด์ จิตรกรที่นาเอาทรายและกระจกสีมาปะติดลงในผลงาน พิชัยก็ยังคงสร๎างงานจิตรกรรมด๎ วย สื่อวัสดุตํอเนื่องมา งานของพิชัยจะเน๎นเรื่องราวและเนื้อหาที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ผลงานของประวัติ เล๎าเจริญ ชื่อ “Collage No.3” พ.ศ. 2509 ก็เป็นการใช๎วัสดุหลากชนิดปะติด ลง ไป อาทิเชํน กระสอบ ผ๎า พลาสติก เชือก แล๎วใช๎สีหนา ๆ ระบายทับ ประวัติไมํเน๎นเรื่องราวแตํจะทาเป็นภาพ นามธรรม ใช๎จังหวะของรูปทรงที่วํางและพื้นผิวที่เป็นทัศนธาตุทางศิลปะประสานกันให๎เกิดความงดงามตามใจ ปรารถนาประวัติยังคงทางานด๎วยสื่อ วัสดุ หลากชนิดทั้งงานภาพพิมพ์ จิตรกรรม และผสมผสานงาน 3 มิติเข๎า ไป มีการใช๎พื้นที่เพื่อการจัดวาง และบางครั้งศิลปินใช๎การแสดง (Performance) รํวมเข๎าไปในผลงานด๎วย ธงชัย รักปทุม เป็นศิลปินอีกคนที่ใช๎ทรายโรยลงในงานจิตรกรรมแล๎วระบายสีทับ ในผลงานชื่อ “จิตรกรรม หมายเลข 6” พ.ศ. 2511 ซึ่งได๎รับรางวัลเหรียญเงินจากการประกวดศิลปกรรมแหํงชาติ ครั้งที่ 18 รูปทรงที่ธงชัยสร๎างสรรค์ขึ้นเป็นรูปทรงเล็ก ๆ สอดคล๎องกับการใช๎ทรายขาวละเอียดโรยลงไป จากนั้นจึงใช๎สี น้ามันระบายทับ ผลงานชื่อ “รูปคน หมายเลข 2” พ.ศ. 2511 ของ อนันต์ ปาณินท์ ก็ใช๎เทคนิคหลากหลายทาลงบน ผ๎าใบ มีสํวนนูน สํวนยื่นออกมาจากภาพ รูปรํางที่อนันต์แสดงออกจะมีความบันดาลใจจากรูปรํางคน ผลงาน ชิ้นที่ได๎รับรางวัลเหรียญเงินจากการประกวดศิลปกรรมแหํงชาติ ครั้งที่ 18 เชํนกัน ในปี พ.ศ. 2512 เกียรติศักดิ์ ชานนนารถ ศิลปินชั้นเยี่ยมสาขาจิตรกรรมจากการแสดงศิลปกรรม แหํงชาติ ได๎ใช๎พลาสติกและอะลูมิเนียม ผสมผสานไปกับภาพเขียนสีน้ามันในภาพชื่อ “จิตรกรรม” พ.ศ. 2512 นับเป็นการใช๎สื่อวัสดุที่หลากหลายและไมํยึดถือเหตุผลของขอบเขต ภาพที่เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมเชํนที่เคยปฏิบัติ กัน เกียรติศักดิ์ใช๎มิติลวงในการเขียนภาพบนผ๎าใบ สํวนที่ประกอบเป็นวัสดุสาเร็จจะเป็นรูปทรงลอยตัวมีมิติ ความลึกจริง เนื้อหาของภาพเขียนเป็นความฝังใจในชีวิตสํวนตัวที่มีประสบการณ์จริงแตํนามาสร๎างสรรค์ขึ้น ตามจินตนาการความคิดฝันของตัวเองให๎ดูเหนือความจริง เกียรติศักดิ์ยังสร๎างผลงานด๎วยเทคนิควัสดุหลาก ชนิดอยูํอีกหลายชิ้น ตํอมาภายหลังจึงคํอย ๆ ลดวัสดุลงไปแตํใช๎มิติของภาพที่มีความสูงต่าแล๎วระบายสีแทน