Self guided materials from the 64th National Exhibition of Art

Page 1

หนังสือนําชม การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 ประจําป 2561

1


…ศิลปะเป นเครื่องมือในการส งเสียงเรื่องราวต างๆในสังคม ทุกๆครั้งการแปรเปลี่ยนยุคสมัยหรือลักษณะการแสดงออกทางศิลปะมักเริ่มต นจากสภาพ สังคมที่มีเหตุและป จจัยที่เปลี่ยนไป… จากที่ได กล าวมาข างต น “ศิลปะ” ดูเหมือนว าจะเป นเครื่องมืออันดีในการบอกกล าวว า สังคมเรานั้นเป นเช นไร และกําลังจะหันเหไปในทิศทาง ใด เมื่อคนและสังคมต องการอิสระเสรี ศิลปะก็เช นกัน หากแต คําว าอิสระในการถ ายทอดความคิดอ านในศิลปะนั้นแตกต างไปจากการแสดงออกทางความ คิดในศาสตร สาขาอืน่ ๆ ไม วา จะเป นวิธกี ารพูด/การบอกกล าวความคิดอ าน ทีใ่ นศาสตร อนื่ ๆอาจใช ภาษาเป นเครือ่ งมือในการแสดงออกเพือ่ การสือ่ สาร และ การสื่อสารย อมมีความชัดเจนตรงไปตรงมาด วยบุคลิกภาพทางภาษานั้นๆ คําว าเสรีภาพจึงเห็นได จากสารที่ผู ที่สื่อสารนั้นส งไป หากแต ในทางศิลปะ (ทัศนศิลป ) ที่มีการรับรู ทางสายตาเป นหลักนั้น การแสดงออกย อมมีมิติที่หลากหลายแตกต างออกไปจากภาษา ความแยบยลในการนําเสนอสารออกไป สูผ ช ู มจึงเป นเล หเ หลีย่ มทีศ่ ลิ ป นส งผ านศิลปะด วยรสชาติทพี่ สิ ดาร ฉะนัน้ คําว าเสรีภาพในการแสดงออกทางศิลปะนัน้ ย อมอุดมไปด วยหนทางการแสดงออก หากแต สาระซึง่ เป นวิถที างการแสดงออกต างหาก ทีท่ าํ ให สารทีส่ ง ออกมาไม จดื ชืดและกลับน าติดตาม แม กระทัง่ ในสังคมทีด่ เู หมือนว าจะถูกกีดกันทางการ แสดงออกทางศิลปะก็ตาม “ศิลปะมีช องทางออกของการสื่อสารเสมอมา ศิลป นเองคือผู ที่เลือกที่จะนําม านหมอกต างๆมาป ดกั้นพร อมด วยข ออ างต างๆ นานามากมายที่จะแสดงออก” ตลอดระยะเวลากว า 6 ทศวรรษ (การแสดงศิลปกรรมแห งชาติครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2492) เวทีการแสดงศิลปกรรมแห งชาติได เดินทาง ควบคูก บั ศิลป นทีส่ ร างสรรค ผลงานศิลปะทีม่ คี ณ ุ ภาพมาอย างต อเนือ่ ง และพืน้ ทีด่ งั กล าวนีไ้ ด มอบความรู ความเข าใจ และฉายภาพสําคัญต อประวัตศิ าสตร ศิลปะสมัยใหม และร วมสมัยในประเทศไทยได อย างชัดเจน ในป นี้ การแสดงศิลปกรรมแห งชาติได กา วสูค รัง้ ที่ 64 การตัดสินรางวัลนัน้ ยังคงยึดตามคุณภาพของผลงานเป นหลัก โดยในป นมี้ รี างวัลสูงสุด คือรางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 1 เหรียญทอง เพียงรางวัลเดียวในสาขาจิตรกรรมเท านั้น ทั้งนี้ การแสดงศิลปกรรมแห งชาติครั้งที่ 64 ประจําป นี้ ได มีผลงานที่ได รับคัดเลือกให ได รับรางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยมในประเภทต างๆ ทัง้ สิน้ จํานวน 16 ผลงาน โดยรางวัล ประกาศนียบัตรเกียรตินยิ มนัน้ จะแบ งตามผลงานแต ละประเภทได แก จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ และสือ่ ประสม 2


ประเภทจิตรกรรม รางวัลสูงสุดประเภทจิตรกรรม คือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 1 เหรียญทอง ซึ่งเป นผลงานของ นายประดิษฐ ตั้งประสาทวงศ ในผลงานชื่อ “แรงบันดาลใจจากคําสอนพระพุทธ (ภาวนาพุทโธ)” ด วยเทคนิค สีนํ้ามัน จากแนวความ คิดที่ว า “สังขาร เป นสิ่งไม เที่ยง และการสิ้นอายุขัยมีอยู จริง ยิ่งไตร ตรองถึงความไม จีรัง ยั่งยืนในชีวิตยิ่งเตือนสติให ทุกก าวของการใช ชีวิตนั้นไม ประมาท ยิ่งยึดพุทธศาสนาเป นที่ พึ่งทางใจ ยิ่งยึดพระธรรม เมื่อเห็นทุกข ” จากแนวคิดในผลงานดังกล าวมีการเข าไปถึง แกนสาระของพุทธะ ที่ซึ่งกล าวถึงการพินิจสังขารและมองไปสู ความไม เที่ยงของชีวิต เรา จะได เห็นสิ่งธรรมดาสามัญของชีวิตนั้นก็คือความตาย การตายกับความตายอาจฟ งดู คล ายๆกัน หากแต สิ่งที่แตกต างคือ การตายนั้นอาจหมายถึงการเข าถึงสัจธรรมบางอย าง และเฝ ารอลมหายใจสุดท ายอย างมีสติ เฝ ารอวาระสุดท ายของพาหนะนีเ้ พือ่ เข าไปสูพ าหนะ ใหม ในภพหน า ความตายมิได เป นจุดสิ้นสุดทาง หากแต เป นการเริ่มเส นทางใหม ในผล งานดังกล าวมีการมองความตายเป นเครือ่ งเตือนสติให ใช ชวี ติ อย างไม ประมาท หากแต อกี ความหมายหนึ่งที่ซ อนอยู เคียงข างกันคือ เราพินิจถึงความตายและการตายอย างไรให มี สติมากที่สุดจนหมดลมหายใจ ภาพใบหน าชายสูงวัยทีด่ เู หมือนจะหมดลมหายใจนี้ เป นการแสดงออกทางศิลปะอย างตรง ไปตรงมา ที่พูดถึงสังขาร/ความตาย แววตาที่ไร ซึ่งชีวิต สีผิวที่ค อยๆแผดซีดจางหายไป ยิ่งเป นสิ่งที่เน นยํ้าไปถึงแนวความคิดของผลงานได เป นอย างดี และด วยทักษะเทคนิคการ สร างสรรค ของ ประดิษฐ ทีม่ คี วามชํา่ ชองในมิตขิ องงานจิตรกรรม ทําให ผลงานชิน้ ดังกล าว นี้มีความสมบูรณ ในความเป นจิตรกรรมอย างเห็นได ชัด

นายประดิษฐ ตั้งประสาทวงศ “แรงบันดาลใจจากคําสอนพระพุทธ (ภาวนาพุทโธ)” สีนํ้ามัน, 177.5 x 212.5 ซม.

3


นายพินิจ มิชารี “ซากความศิวิไลซ หมายเลข 9” วาดเส นปากกาบนผ าใบ, 250 x 280 ซม.

ในรางวัลต อมาคือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน เป นผลงานของ นายพินิจ มิชารี ในผลงานชื่อ “ซากความศิวิไลซ หมายเลข 9” ด วยเทคนิค วาดเส นปากกาบน ผ าใบ จากแนวความคิดที่ว า “สรรพสิ่งในโลกล วนแสดงสภาวะสัจธรรมของความไม เที่ยงแท แน นอน มีการเกิดขึ้น ดํารงอยู และเสื่อมสลาย สูญสิ้นไปตามธรรมชาติทั้งมวล ไม ว าจะเป น มนุษย สัตว หรือสิ่งของ ย อมเกิดการผันแปร เปลี่ยนแปลงอยู ตลอดเวลา หรือแม แต สิ่งต างๆ ที่ ถูกสร างขึ้นอย างมั่นคงแข็งแรง เพื่อแสดงถึงความเจริญรุ งเรืองศิวิไลซ ทางสังคมและศิลป วัฒนธรรมแห งยุคสมัย เช น ศาสนสถานหรือโบราณวัตถุก็ไม อาจดํารงอยู ได ตลอดไป ย อมมี การเสื่อมสลายผุพัง และชํารุดทรุดโทรม หักพังทลายลงไป” จากแนวคิดดังกล าวเป นแรงผลัก ดันให เกิดงานสร างสรรค วาดเส นปากกาที่มีรายละเอียดของภาพผลงานที่น าติดตาม ทักษะการ ให ค านํ้าหนัก ขาว เทา ดํา มีความชัดเจน และองค ประกอบของผลงานมีการจัดวางที่สามารถ สะท อนได ถงึ ความไม เทีย่ ง ความไม แน นอน เกิดอยูว นเวียนและดับไป สังเกตได จากการจัดภาพ ผลงานที่กระจัดกระจายทั้งผืนผ าใบ ฉากหน ามีความชัดเจนจนเบลอหายไปในส วนหลังของผล งาน เนื้อหาในผลงานชิ้นดังกล าวก็มิได แตกต างไปจากผลงานของศิลป นเองเมื่อป ที่แล ว อาจมี เพียงทักษะฝ มือที่เพิ่มขึ้นเพียงเท านั้น

ในรางวัลต อมาของประเภทจิตรกรรมคือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญทองแดง ซึ่งมีผู ที่ได รับรางวัลทั้งสิ้นจํานวน 4 ท านดังนี้ 1. นายจิรโรจน ศรียะพันธุ ในผลงานชื่อ “สีสันในสังคมพหุวัฒนธรรมชาวใต หมายเลข 3” ด วยเทคนิคสีอะครีลิคบนผ าบาติก จากแนวความคิดที่ว า “คาบสมุทร ภาคใต ของประเทศไทยนับว าเป นแหล งชุมชน เมืองท าและแหล งโบราณคดีที่สําคัญมาตั้งแต อดีต เป นพื้นที่ซึ่งมีความหลากหลายและแตกต างทางด านเชื้อชาติและ วัฒนธรรมของ 3 ชนชาติที่อาศัยอยู ร วมกัน คือ ชาวใต ที่นับถือศาสนาพุทธ ชาวใต ที่นับถือศาสนาอิสลาม และชาวใต เชื้อสายจีน ชนชาติทั้ง 3 มีความแตกต างทาง ด านภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี จารีตและความเชื่อ ความแตกต างเหล านี้ล วนส งผลต อการสร างสรรค ที่มีเสน ห โดดเด นเฉพาะตน โดยเฉพาะบรรยากาศ ของสีสนั อันสดใสของศิลปกรรมของแต ละกลุม วัฒนธรรม เสน หแ ห งสีสนั ของชาวใต ได กลายเป นป จจัยทีท่ าํ ให ผส ู ร างสรรค ใช เป นหัวข อเรือ่ งในการสร างสรรค ผลงาน จิตรกรรมชุด “สีสันในสังคมพหุวัฒนธรรมของชาวใต ” 4


นายปฐมพงศ บูชาบุตร “โลกาภิวัตน หมายเลข 1” จิตรกรรมสื่อประสม, 250 x 245 ซม.

ผลงานชุดดังกล าวเป นผลงานจิตรกรรมสีอะครีลิคผสมกับการเขียนเทียน รอยแตกแบบเทคนิคบาติกมีจุดประสงค เพื่อหล อหลอมอัตลักษณ พื้นถิ่นที่เห็นได จาก บรรยากาศของสีสดที่มักเป นสีแท หรือสีที่ถูกทําให หม นเพียงเล็กน อยเพื่อให สีประสานสัมพันธ กันอันได แก สีแดง สีเหลือง สีส ม สีเขียว และสีนํ้าเงิน สีเหล านี้จะถูก นํามาสร างสรรค เป นการแต มสี หยดสี ระบายสี ย อมสี ให เป นจุดและรอยแตกของเทียน ทีเ่ น นการสร างจังหวะและลีลาให เกิดความรูส กึ สนุกสนาน มีชวี ติ ชีวา ทีเ่ ป นการ สือ่ ถึงสัญญะทีผ่ ส ู ร างสรรค ตอ งการสือ่ ให ผช ู ม ผลงานชิน้ ดังกล าวมีความน าสนใจตรงการนําภาพแทนทางวัฒนธรรมบางอย างมานําเสนอและมีการผสานกันระหว าง ภาพแทนในแต ละวัฒนธรรมที่ลงตัวด วยสีสันที่ศิลป นพยายามนําเสนอให เห็นถึงความสดใสสนุกสนานในวัฒนธรรมดังกล าว นอกจากนี้ ผลงานดังกล าวยังมีความน า สนใจอีกประเด็น คือ การผสานกันระหว างความเป นจิตรกรรมสมัยใหม และเทคนิคศิลปะแบบพื้นบ านอย างการเขียนผ าบาติกได อย างลงตัว ซึ่งสามารถแสดงให เห็นว า การผสานกันของสิ่งที่แตกต างกันนั้นย อมเป นไปได ขอเพียงแค เราเรียนรู และเข าใจ 2. นายปฐมพงศ บูชาบุตร ในผลงานชื่อ “โลกาภิวัตน หมายเลข 1” ด วยเทคนิคจิตรกรรมสื่อประสม จากแนวความคิดที่ว า “ในยุคโลกาภิวัตน มีหลายอย างที่ เปลี่ยนแปลงไป ทั้งวิถีชีวิตความเป นอยู เทคโนโลยีการสื่อสาร สังคมออนไลน มีความเปลี่ยนแปลงอย างรวดเร็วในเพียงระยะเวลาไม กสี่ ิบป ซึ่งได เห็นได สัมผัสมาตัง้ แต เด็กจนถึงป จจุบนั ” ในผลงานมีการแสดงออกในรูปแบบจิตรกรรมผสมโดยมีวสั ดุหลักทีเ่ ป นไม และอาศัยเทคนิคสร างสรรค ดว ยการฉลุไม อย างประณีตเป นรูปร างต างๆ ด วยความเปราะบาง และรายละเอียดที่ซับซ อนทําให มิติของจิตรกรรมชิ้นนี้โดดเด นขึ้นมา 5

หนังสือนําชม การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 ประจําป 2561

นายจิรโรจน ศรียะพันธุ “สีสันในสังคมพหุวัฒนธรรมชาวใต หมายเลข 3” สีอะครีลิคบนผ าบาติก, 270 x 270 ซม.


3. นายภานุวัฒน สิทธิโชค ในผลงานชื่อ “พันธจองจําแห งจิต” ด วยเทคนิคแกะไม และหมึก พิมพ จากแนวความคิดที่ว า “เนื่องจากเป นผู ที่ปฏิบัติและยึดหลักศาสนาอยู เต็มหัวใจ ในวัย เด็กคิดแน วแน ถึงการละทิ้ง เพื่อเข าสู ร มกาสาวพัสตร ตลอดชีวิต แต เมื่อผ านวัยเจริญพันธุ การตอบสนองทางกายด านกามคุณ มีบทบาทและขัดแย งโดยสิ้นเชิงกับความคิดเดิม ในท าย ที่สุด ‘จิตที่เคยเป นนายรับใช จิต ต องตกเป นบ าวรับใช กาย’ จากประสบการณ นี้เอง จึงนํามา สร างสรรค ผลงาน ‘พันธจองจําแห งจิต’ โดยมองถึงมนุษย ชายและหญิงทีม่ พี นั ธนาการถักทอ จากกายและรสชาติกามคุณทีละน อย จนห อหุม เป นเครือ่ งจองจําจิตไว จนหลงติดและไม แน ใจ ถึงหนทางของชีวิตที่แท จริง แต หากย อนเวลากลับไปได ก็ยังเลือกทางเดิมที่ได เดินผ านมา” ในผลงานชิ้นดังกล าวได มีการกล าวถึงวิธีคิดที่อิงแอบกับความคิดทางพุทธศาสนาอีกเช นกัน การสร างสรรค ผลงานศิลปะในประเทศไทย ดูเหมือนว าแนวคิดทางพุทธศาสนาน าจะเป น ทางออกที่จะสามารถแสดงถึงประสบการณ ส วนตนได อย างดีเยี่ยม ในการสร างสรรค ผลงาน ชิ้นนี้ สิ่งที่น าสนใจคือ การสร างมิตแิ ห งการซ อนทับได อย างน าตืน่ ตา ราวกับเป นการรวมงาน จิตรกรรมและประติมากรรมนูนตํา่ มาผนวกกับการทําเทคนิคภาพพิมพ โดยให สาระสําคัญกับ นํ้าหนักที่ปรากฏบนแม พิมพ ซึ่งนับได ว าเป นเทคนิคการสร างสรรค ที่ลงตัวและยังมองเห็น ความน าจะเป นของพัฒนาการของผลงานชิ้นดังกล าวได อย างน าสนใจ 4. นายสุพร แก วดา ในผลงานชื่อ “ชั่วขณะ หมายเลข 1” ด วยเทคนิค ดินสอไขบนผ าใบ จาก แนวความคิดทีว่ า “ไหลเวียนแปรเปลีย่ นไม คงที่ เป นไปตามเหตุปจ จัยพึงมีสติ รูเ ท ารูท นั ตาม ความเป นจริง ใจเป นปกติ หลุดพ น อิสระ” จากสาระที่ส งมาจากผลงานที่ง ายดายผสานกับ เทคนิคการสร างสรรค ที่อุดมไปด วยความงาม ได ถ ายทอดออกมาผ านเกลียวคลื่นที่กําลังซัด เข าหาฝ ง ความรุนแรง หากแต สิ่งที่เกิดขึน้ มิได เคลื่อนไหวใดๆ ปรากฏแต ความนิ่งสงบไปตาม ร องรอยของดินสอไขที่ศิลป นได สร างสรรค 6

นายภานุวัฒน สิทธิโชค “พันธจองจําแห งจิต” แกะไม และหมึกพิมพ , 205 x 245 ซม.

นายสุพร แก วดา “ชั่วขณะ หมายเลข 1” ดินสอไขบนผ าใบ, 250 x 275 ซม.


หนังสือนําชม การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 ประจําป 2561

นางสาวสุกัญญา สอนบุญ “แปร-รูป หมายเลข 2” ประกอบไม ด วยเดือยกลม 280 x 150 x 110 ซม.

นายฉัตรมงคล อินสว าง “ธรรมวิสัยแห งรูป” เชื่อมโลหะ และเรซิ่นไฟเบอร กลาส, 130 x 110 x 260 ซม.

ประเภทประติมากรรม ในครั้งนี้มีรางวัลสูงสุด คือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน ได แก ผลงานของ นางสาวสุกัญญา สอนบุญ ในผลงาน ชื่อ “แปร-รูป หมายเลข 2” ด วยเทคนิคประกอบไม ด วยเดือยกลม จากแนวความคิดที่ว า “นําเสนอผลงานศิลปะ ซึ่งถือเป นนวัตกรรมการสร างสรรค ผลงาน ที่สืบสาน และต อยอดมาจากงานช างไม ไทย โดยได รบั การถ ายทอดมาจากบิดา จากสายเลือดทีส่ ง ต อมาถึงตัวของผูส ร างสรรค โดยต องการให ผลงานแสดงออกถึง คุณค า ความ งาม เทคนิค และวิธกี าร ของการก อตัวของรูปทรง โดยแปรสภาพจากไม ทมี่ คี ณ ุ สมบัติ คงทน แข็ง ตรง ให ออ นนุม ด วยการขัดเกลาจนเกิดการเปลีย่ นรูปหักล างหน าที่ และบทบาทเดิมๆ ก อเกิดเป นความสมดุลของวัสดุได อย างสอดคล องและลงตัว” ในผลงานดังกล าวมีความน าสนใจอยู ที่วิธกี ารนําเสนอรูปทรงความเคลื่อนไหวที่มีการ แสดงออกด วยวัสดุที่เป นไม ที่มีความแข็งสู ความอ อนไหว ซึ่งในผลงานชิ้นดังกล าวนับได ว ามีพัฒนาการจากผลงานในป ก อนอย างมาก ความสมบูรณ ทางด านเทคนิค ประกอบไม การจบพื้นผิวผลงานที่ค อนข างที่จะสมบูรณ ผนวกกับรูปทรงที่สร างสรรค ออกมาอย างพริ้วไหว คล องจอง ความสมบูรณ ในผลงานดังกล าวมิได มาจาก เพียงฝ มือและเทคนิคที่เชี่ยวชาญเท านั้น หากแต มีแนวคิดว าด วยการสานต อ/สืบสานงานช างไม จากครอบครัวผนวกเข าไปด วย นับได ว าผลงานชิ้นดังกล าวมีกลิ่นอาย ของความเป นครอบครัว การสานต อ การประยุกต และการปรับเปลี่ยนเพื่อทําความเข าใจในโลกสมัยใหม รางวัลต อมาคือรางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญทองแดง ซึ่งมีผู ที่ได รับรางวัลทั้งสิ้นจํานวน 3 ท านดังนี้ 1. นายฉัตรมงคล อินสว าง ในผลงานชื่อ “ธรรมวิสัยแห งรูป” ด วยเทคนิค เชื่อมโลหะ และเรซิ่นไฟเบอร กลาส จากแนวความคิดที่ว า “ความทุกข ที่เกิดจากความเจ็บ ป วยในร างกาย และบุคคลอันเป นที่รัก นับเป นประสบการณ ที่ให โอกาสได ใกล ชิดกับธรรมชาติอย างที่สุด การพิจารณาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในร างกายด วย สภาวะจิตอันสงบนิ่ง ทําให พบเห็นลักษณะสามัญของธรรมชาติ ได แก สภาวะการเกิด ดับ ความเสื่อม อาการขืนและไร รูปไร ตัวตน ที่จะสามารถดํารงสถานะใดสถานะ 7


หนึ่งไว ได เนื่องด วยการเปลี่ยนแปลงของรูปกายที่เกิดขึ้นทุกขณะความจริงของธรรมชาติที่ได สัมผัสรับรู ทําให เกิดการตระหนักรู ต อปรากฏการณ ธรรมชาติ สามารถวางความทุกข ที่ผูกไว กับการมีอยู ดํารงอยู ของร างกายได อย างมหัศจรรย ” ในผลงานชิน้ ดังกล าวได มกี ารหยิบยืมวิธคี ดิ ทางพุทธศาสนามาใช เป นเส นแกนหลักในการเข าถึง สาระของผลงาน การเกิดดับ ไร รูปตัวตน เป นคําที่เรามักพบเห็นกันบ อยในขอบเขตการสร างสรรค ศิลปะใน ประเทศไทย และในผลงานชิ้นดังกล าวได นําคําต างๆนี้มาสร างเป นประติมากรรมกึ่งนามธรรมคล ายกับร างกาย มนุษย ที่กําลังขึ้นหรือลงบันไดเวียนว าย เกิดดับไปไม มีที่สิ้นสุด ด วยวัสดุที่เหมือนจะไม สมบูรณ อย างเรซิ่นขึ้นรูป ซึ่งอาจทําให ความรู สึกเมื่อรับชมผลงานเกิดความรู สึกไม จีรัง พร อมที่จะแปรสภาพเป นสิ่งอื่นตามแต จินตนาการ 2. นายอริยะ กิตติเจริญวิวัฒน ในผลงานชื่อ “ทุกข ทุกชีวิต หมายเลข 2” ด วยเทคนิค สแตนเลส สายยางและ โฟม จากแนวคิดที่ว า “ความไม มีโรค คือลาภอันประเสริฐ” ในผลงานของ อริยะ ความน าสนใจอยู ที่การเลือกใช วัสดุที่ยกระดับประติมากรรมขึ้นมาอีกขึ้นด วยความพยายามใช วัสดุอย างสแตนเลสมาสร างรูปทรงและที่ว างทาง ประติมากรรมได อย างงดงาม หลายๆครั้งที่ผลงานของ อริยะ สร างความตื่นตาและตื่นใจด วยการแสดงออกของ ศักยภาพของวัสดุทผี่ สานกับรูปทรงทีแ่ อบอิงกับธรรมชาติซงึ่ เป นการผสานกันระหว างความเป นธรรมชาติกบั วัสดุ ในยุคอุตสาหกรรมใหม ได อย างลงตัว แต มาในครัง้ นี้ ศิลป นกลับเลือกใช วสั ดุทดี่ แู ปลกตาขึน้ จากแต กอ น ด วยการ เพิ่มโฟมและสายยางเข ามาในผลงาน (ทุกสิ่งที่เข ามาเป นวัสดุในประติมากรรมล วนมีความหมาย) ผลงานชิ้นนี้จึง อาจเป นการทดลองสิง่ ใหม เข ามาในการสร างสรรค ผลงานประติมากรรมสแตนเลสของ อริยะ ทีด่ เู หมือนจะต องการ สื่อความหมายใหม ในผลงาน 3. นางสาวอิสรีย บารมี ในผลงานชื่อ “เขลา” ด วยเทคนิค ไฟเบอร กลาส จากแนวคิดที่ว า “การยึดถือสิ่งที่รัก สิง่ ทีห่ วัง สิง่ ทีม่ ี สิง่ ทีเ่ ป น เปรียบเสมือนการแบกไว ซงึ่ พันธนาการแห งทุกข งานชิน้ นีส้ ะท อนการตอบสนองต อชีวติ ตามทัศนคติของผู ที่ขาดสติ หลงไปกับความสุขที่มาพร อมกับความทุกข มองเห็นเรื่องดังกล าวเป นความโง เขลา ‘เขลาในชีวิต’ ไม เว นแม แต ตัวผู สร างสรรค เอง” 8

นายอริยะ กิตติเจริญวิวัฒน “ทุกข ทุกชีวิต หมายเลข 2” สแตนเลส สายยางและโฟม 127 x 147 x 280 ซม.

นางสาวอิสรีย บารมี “เขลา” ไฟเบอร กลาส 225 x 160 x 175 ซม.


หนังสือนําชม การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 ประจําป 2561

ประเภทภาพพิมพ ในครั้งนี้มีรางวัลสูงสุดคือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน ได แก ผลงานของนายบุญมี แสงขําในผลงานชือ่ “ไฮเดรนเยีย” ด วยเทคนิค ภาพ พิมพ เมซโซทินท จากแนวความคิดที่ว า “การสร างสรรค งานศิลปะนี้ ได แนวความคิดมาจาก พุทธปรัชญา ได แก หลักคําสั่งสอนเกี่ยวกับความจริง (สัจธรรม) ซึ่งเป นกฎแห งเหตุและผล สาระในทางพุทธศาสนาถือว าทุกสิ่งที่มีอยู ในธรรมชาติย อมเกิดขึ้นเป นไปตามอํานาจของกฎ แห งเหตุและป จจัย มุง เน นหลักเข าใจในภาวะของธรรมชาติเป นหลักในการดํารงชีวติ อย างสงบ สุข สันโดษ โดยการฝ กฝนตนเองให หลุดพ นห วงแห งวัฏฏะสงสารไปสู ความสงบ ความสว าง ความว างในนิพาน เพราะฉะนั้นธรรมะกับธรรมชาติคือสิ่งเดียวกัน จึงได นําความคิดดังกล าว มาสร างสรรค งานศิลปะโดยอาศัยรูปทรงของพืชพันธุ ที่สมบูรณ พร อมจะผลิดอกออกผลแล ว ร วงหล น จนกระทั่งไปสู เมล็ดพันธุ ที่จะเติบใหญ หมุนเวียนสืบต อไปโดย ไม มีที่สิ้นสุด มาเป น สัญลักษณ ในการแสดงออก ผ านผลงานศิลปะภาพพิมพ เมซโซทินท (Mezzotint) เพือ่ ให เกิด รูปความคิดและจินตนาการถึงความรู สึกสุข สงบ และมีสมาธิ ซึ่งเป นสาระ สัจจะ ความจริง ในการดําเนินชีวติ อันเป นต นแบบของชาวพุทธเป นสําคัญ” ความน าสนใจในผลงานชิน้ ดังกล าว นี้ นอกจากแนวความคิดที่มีการหยิบยืมหลักคําสอนที่เกี่ยวกับความจริง สัจธรรม หรือสาระ ต างๆของพุทธศาสนามาเป นพื้นฐานแนวคิดนั้น สิ่งที่ปรากฏเด นชัดที่สุด คือการแสดงออกที่ สามารถโยงสอดคล องกลับไปยังแนวความคิดได อย างสมบูรณ ความว าง สงบ สันโดษ ล วน เป นสิ่งที่ปรากฏในผลงานภาพพิมพ เมซโซทินท ชิ้นนี้ ด วยเทคนิคภาพพิมพ ดังกล าว การสร าง รูปขึน้ มาจากทีว่ า งนัน้ มีกระบวนการทีซ่ บั ซ อนและต องอาศัยสมาธิและจิตอันสงบ โดยเริม่ ตัง้ แต เตรียมนํ้าหนักดําเรื่อยมาจนถึงลบออกให เป นรูปร างต างๆ ด วยนํ้าหนักขาวและเทาตามลําดับ ผลงานชิ้นดังกล าวจึงอุดมไปด วยเวลาที่ศิลป นเองพินิจสิ่งต างๆที่เกิดขึ้นรอบข างและดําดิ่งไป สูห ว งความสงบจนเกิดสุข ในทุกๆนํา้ หนักทีป่ รากฏในผลงาน คือกระบวนการละทิง้ สาเหตุแห ง ทุกข และมุ งสู เส นทางของสุข

นายบุญมี แสงขํา “ไฮเดรนเยีย” ภาพพิมพ เมซโซทินท , 124 x 174 ซม.

9


นายทินกร กาษรสุวรรณ “สัญลักษณ ชนบท หมายเลข 1” ภาพพิมพ คอลโลกราฟ และภาพพิมพ สกรีนปรินท 107 x 135 ซม.

นางสาวสุพัฒนาวดี เหมือนตา “กาย-กลับกลาย หมายเลข 1” ภาพพิมพ หิน 123 x 93 ซม.

10

รางวัลต อมาคือรางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญทองแดง ซึ่งมีผู ที่ได รับรางวัลทั้งสิ้นจํานวน 2 ท านดังนี้ 1. นายทินกร กาษรสุวรรณ ในผลงานชื่อ “สัญลักษณ ชนบท หมายเลข 1” ด วยเทคนิค ภาพพิมพ คอลโลกราฟ และภาพพิมพ สกรีนปรินท จากแนวความคิดทีว่ า “จากเนือ้ หาเรือ่ ง ราวเกิดจากประสบการณ จริงและภูมิหลังที่เกิดขึ้นในวิถีชนบท สิ่งแวดล อมที่มีความอุดม สมบูรณ มุ งเน นด านเกษตรกรรมมีความสงบอบอุ นผ อนคลาย มีความสนุกสนานกับ วัฒนธรรมประเพณีพื้นบ าน สื่อสัญลักษณ ที่ใช ในผลงานได มาจากรูปทรงเตาเผาถ าน รูป ทรงของบ าน ผลผลิตทางการเกษตรเครื่องมือในการดํารงชีพต างๆ เป นสื่อสัญลักษณ ใน การแสดงออกถึงความเรียบง าย สงบ ไม ซบั ซ อน” ในผลงานนอกจากแนวความคิดทีช่ ดั เจน มุ ง ตรงทางเดี ย วคื อ การสร า งภาพสั ญ ลั ก ษณ ช นบทให อ อกมาเป น รู ป ธรรมผ า นการ แสดงออกทางผลงานภาพพิมพ ได อย างชัดเจนแล ว อีกสิ่งหนึ่งที่น าสนใจในผลงานชิ้นดัง กล าว คือคุณภาพของการสร างสรรค ผลงาน เทคนิควิธีการนําเสนอและทักษะของผู สร าง ทีม่ กี ารวางแผนรายละเอียดของผลงานได อย างแม นยําและน าสนใจ สังเกตได จากการสร าง พืน้ ผิวในผลงานทีม่ กี ารใช เทคนิคคอลโลกราฟสร างร อยรอยได อย างรุนแรงและฉับไว ผนวก กับพื้นที่สีดําสนิทแน นิ่งกลางภาพ พร อมทั้งมีการวางภาพวัตถุเหมือนจริงที่บอกเล าเรื่อง ราวชนบทที่ลงตัวและเรียบง ายที่มาพร อมกับมาตรฐานในการสร างสรรค ผลงาน 2. นางสาวสุพฒ ั นาวดี เหมือนตา ในผลงานชือ่ “กาย-กลับกลาย หมายเลข 1” ด วยเทคนิค ภาพพิมพ หิน จากแนวความคิดที่ว า “ความรู สึกและประสบการณ ในเรื่องเพศสภาพ การ ถูกป ดกัน้ การแสดงออก การเป ดเผยตัวตนและพฤติกรรมทีเ่ ป นตัวของตัวเองต อบุคคลใกล ชิดและสังคม การแสดงออกทีก่ งึ่ เป ดกึง่ ป ด เกิดเป นพฤติกรรมทีส่ บั สนและซับซ อน ไม กล า เป ดเผยตัวเองอย างสมบูรณ จึงเกิดเป นผลงานที่มีมิติทับซ อนของร างกาย ความโปร งบาง ของเสื้อผ าชั้นนอก เพื่อเผยให เห็นความอึดอัดภายในที่พยายามปกป ด สิ่งที่ขัดกับความ


หนังสือนําชม การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 ประจําป 2561

ต องการ การมีสัญลักษณ ที่เป นเพศหญิง แต ในขณะเดียวกันการใช ผ ารัดหน าอกนั้น แสดงให เห็นถึงความอึดอัดและสะท อนให เห็นถึงป ญหาของเพศที่สามที่ไม ได รับการ ยอมรับอย างเต็มใจสมบูรณ ” ผลงานชิ้นดังกล าวนี้นับได ว าเป นอีกตัวอย างผลงานที่มี การพูดถึงเรื่องใกล ตัว ซึ่งสามารถยึดโยงไปยังสังคมเป นจริงในเวลาป จจุบันที่ว าด วย เรื่องเพศสภาพได อย างน าสนใจ ถึงแม การแสดงออกทางศิลปะจะเป นไปตามขนบของ เทคนิคการแสดงออก แต ดว ยเรือ่ งราวนัน้ ยังสามารถพัฒนาไปได อกี ไกลด วยแนวความ คิดและวิธกี ารนําเสนอทีว่ า ด วยเรือ่ งมิตกิ ารทับซ อน การเป ดเผย ปกป ด หรือในอนาคต อาจข ามศาสตร สาขาไปสร างสรรค ในแนวทางสื่อผสมเพื่อเพิ่มมิติทางการรับรู ก็เป นไป ได อีกแนวทางหนึ่ง ประเภทสือ่ ประสมในครัง้ นีม้ รี างวัลสูงสุดคือ รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินยิ ม อันดับ 2 เหรียญเงิน ได แก ผลงานของ นายภาราดา ภัทรกุลปรีดา ในผลงานชือ่ “จินตนาการ ของลูกแม คา ” ด วยเทคนิค สือ่ ประสม จากแนวคิดทีว่ า “การเติบโตและคุน เคยกับภาพ บรรยากาศในตลาดสด ซึ่งมีภาพจําร านขายปลาสดที่เป นภาพติดตาของปลาที่กาํ ลังถูก ฆ า จึงคิดว าทําไมการฆ าปลาจํานวนมากมายจึงดูไม รุนแรงเทียบเท ากับการฆ ามนุษย ด วยกันเพียงหนึ่งชีวิต ทําให เกิดจินตนาการว าถ าปลาเหล านี้มีสัดส วนและร างกายบาง ส วนเหมือนกับมนุษย เรายังจะฆ าปลาและบริโภคสัตว เหล านี้อยู หรือไม ” ด วยเนื้อหา เรื่องราวของผลงานศิลป นได กล าวมาแล วข างต นในแนวความคิดซึ่งก็มิได มีอะไรแปลก ใหม ในนิยามของศิลปะที่สามารถจินตนาการได ไม มีขอบเขต หากแต ความน าสนใจใน ผลงานชิน้ ดังกล าวนีค้ อื การใช วสั ดุสาํ เร็จและการผลิตหุน จําลอง (ปลา) ทีม่ กี ลไลให ขยับ ราวกับการหายใจทีล่ มหายใจกําลังจะหมดลม คล ายกับฉากในภาพยนตร ไซไฟทีม่ ง ุ เน น จินตนาการเหนือจริง และสร างสรรค ออกมาเป นดังตัวละครในภาพยนตร

นายภาราดา ภัทรกุลปรีดา “จินตนาการของลูกแม ค า” สื่อประสม 280 x 280 x 230 ซม.

11


รางวัลต อมาคือรางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ 3 เหรียญทองแดง ซึ่งมีผู ที่ได รับรางวัลทั้งสิ้นจํานวน 2 ท านดังนี้ 1. นายถาวร ความสวัสดิ์ ในผลงานชือ่ “สัตว ในจินตนาการอีสาน” ด วยเทคนิค สือ่ ประสม จากแนวคิดทีว่ า ด วย “เรือ่ งของสัตว ทสี่ ร างขึน้ ให มคี วามเรียบง าย แต แฝงความมีอารมณ ขบขัน เพือ่ กระตุน จินตนาการให กบั ผูช มตามแบบฉบับการแสดงออกของช างพืน้ บ านอีสาน ผ านรูปทรงประติมากรรมสื่อประสม”

นายถาวร ความสวัสดิ์ “สัตว ในจินตนาการอีสาน” สื่อประสม, 270 x 270 x 145 ซม.

12

2. นางสาวสุพิมพ วรทัต ในผลงานชื่อ “หุ นนิ่งจากจิตรกรรมกระบวนจีน” ด วยเทคนิค วัสดุผสม จากแนวคิดที่ว าด วย “ผลงานดังกล าวมีเรื่องราว เทคนิค วิธีการ รูปแบบภาพ จิตรกรรมกระบวนจีนมาเป นแรงบันดาลใจในการสร างสรรค ดัดแปลง ผสมผสานกับค า นิยมสมัยใหม สอดแทรกเข าไปในผลงาน ทําให เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางค านิยมของ คนในสมัยก อนและสมัยใหม ที่มีการบิดเบือนทางความคิดจากเดิมไป เช นเรื่องความสวย ความงาม ความฟุ มเฟ อยต างๆ เห็นคุณค าทางด านวัตถุมากกว าคุณค าทางด านจิตใจ รูป แบบเหล านีก้ อ ให เกิดสัญลักษณ ทางค านิยมในสมัยป จจุบนั ผิดกับอดีตทีค่ า นิยมส วนใหญ อยู บนพื้นฐานทางศาสนา ประพฤติตามหลักธรรมคําสอน จึงนําอิทธิพลเหล านี้มาผนวก กับเทคนิควิธีการสร างสรรค จิตรกรรมกระบวนจีนจากช างโบราณมาผสมผสาน จนเกิด เป นจิตรกรรมกระบวนจีนสมัยใหม ในเชิงล อเลียน เปรียบเทียบ ค านิยมแต ละยุคสมัย ระหว างอดีตกับป จจุบัน” ผลงานชิ้นดังกล าวเปรียบดังการหยอกล อวัฒนธรรมเก าและ ใหม ของจีน ที่มีการเปลี่ยนผ านด วยความเป นสมัยใหม วัฒนธรรมถูกทําให กลายเป น สินค า สินค าถูกทําให กลายเป นวัฒนธรรม การกลับไปมาของความหมายทางวัฒนธรรม นี้ปรากฏในผลงานชิ้นดังกล าวอย างสนุกสนาน สิ่งที่น าสนใจในผลงานชิ้นนี้คือการผสม


หนังสือนําชม การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 ประจําป 2561

ผสานระหว างการสร างสรรค งานช างโบราณขึ้นมาล อเลียนและการใช วัสดุสําเร็จรูป ทีห่ าซือ้ ได ตามตลาดค าส งทีแ่ หล งผลิตคงหนีไม พน ประเทศจีน นัยทีส่ อดแทรกมากับ ตัววัสดุนั้นสามารถตอบสนองแนวความคิดดังกล าวได อย างดี และอีกทั้งผลงานดัง กล า วสามารถตอบโจทย นิ ย ามของศิ ล ปะประเภทสื่ อ ประสมในพื้ น ที่ ก ารแสดง ศิลปกรรมแห งชาติได ดีในระดับที่ชัดเจนและน าพึงพอใจ โดยภาพรวมของการแสดงศิลปกรรมแห งชาติครั้งที่ 64 นี้ นับได ว าผลงานที่ผ าน การคัดเลือกตัดสินจากคณะกรรมการจนได รับรางวัลต างๆ นั้นล วนมีคุณภาพที่ ดีแตกต างกันไปตามเทคนิคและเนือ้ หาในการสร างสรรค หากแต เมือ่ ลองพินจิ ดูแล ว แนวทางหรือแนวคิดในการสร างสรรค ผลงานศิลปะที่อยู ในพื้นที่ดังกล าวนี้มักจะอยู ภายใต ร มของพุทธศาสนา ที่อุดมไปด วยแนวคิดเรื่องสังขาร การเกิดดับ การมีอยู ดับไปของร างกายและจิต ซึง่ ทําให ผลงานส วนใหญ ยงั คงบอกกล าวเรือ่ งราวเดิมๆ ราว กับั งานศิลปะทีป่ รากฏส วนใหญ ทาํ ตามหัวเรือ่ งของศาสนา ซึง่ มิได เป นเรือ่ งทีผ่ ดิ หาก แต การเข าถึงพุทธะนั้นต องกระทําด วยตนเอง วิถีทางเข าถึงสัจธรรมดังกล าวจึงเป น หนทางที่ไร เส นทางที่ชัดเจน… นางสาวสุพิมพ วรทัต “หุ นนิ่งจากจิตรกรรมกระบวนจีน” วัสดุผสม, 230 x 155 x 46 ซม.

กฤษฎา ดุษฎีวนิช

13


ภาคผนวก

การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ การแสดงศิลปกรรมแห งชาตินับเป นเวทีการประกวดระดับชาติที่มีประวัติความเป นมายาวนานที่สุดใน ประเทศไทย ริเริ่มโดย ศาสตราจารย ศิลป พีระศรี เป นครั้งแรกใน พ.ศ.2492 เพื่อเป นการสนับสนุนและ เป ดโอกาสให ศิลป นไทยได มีเวทีแห งการสร างสรรค ในระดับชาติ ในครั้งที่ 1 – 14 ดําเนินการจัดประกวดร วม กันระหว างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร และนับตั้งแต ครั้งที่ 15 เรื่อยมา มหาวิทยาลัยศิลปากรจึง ได ดําเนินการจัดการประกวดมาจนถึงป จจุบัน โดยได รับความร วมมือจากสถาบันการศึกษาด านศิลปะจากทั่ว ทุกภูมิภาค และให หอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากรเป นผู ดูแลการจัดประกวดและจัดแสดง ในแต ละป คณะกรรมการอํานวยการฯที่ประกอบด วยผู แทนจากสถาบันการศึกษาด านศิลปะต างๆ จะดําเนิน การคัดเลือกผู ทรงคุณวุฒิในหลากหลายสาขาเพื่อทําหน าที่เป นคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน โดยเป ด โอกาสให ศิลป นส งผลงานศิลปกรรม 4 ประเภท ได แก ประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ และสื่อ ประสม คณะกรรมการจะถือเอาคุณภาพของผลงานเป นหลักในการพิจารณารางวัล ส งผลให มีรางวัลในแต ละ ประเภทแตกต างกันไป และมีการคัดเลือกผลงานอีกส วนหนึ่งเพื่อให ได ร วมแสดง เมื่อสิ้นสุดการแสดงในส วน กลาง ณ พิพิธภัณฑสถานแห งชาติ หอศิลป แล ว ทางหอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงนําผลงานไปจัดแสดง นิทรรศการในสถาบันส วนภูมิภาค

14


ศิลป นชั้นเยี่ยม จากการแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ศิลป นชัน้ เยีย่ ม คือ ตําแหน งอันทรงเกียรติทอี่ ยูค ก ู บั เวทีการแสดงศิลปกรรมแห งชาติมาอย างยาวนาน เพือ่ เป นการส งเสริมประชาชนให เกิดความสนใจในงานศิลปกรรมร วมสมัย และกระตุ นให ศิลป นไทยมุ งมั่น สร างสรรค งานศิลปะอันมีคุณค าและให มีความก าวหน ายิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงกําหนดคุณสมบัติ ของศิลป นผู ที่สมควรจะได รับเกียรติยกย องให เป นศิลป นชั้นเยี่ยม คือ เป นศิลป นผู ได รับประกาศนียบัตร เกียรตินิยมเหรียญทอง 3 ครั้ง หรือได รับประกาศนียบัตรเกียรตินิยมเหรียญทอง 2 ครั้ง กับเหรียญเงิน 2 ครั้ง ในประเภทเดียวกัน เกียรติยศนี้แสดงให เห็นถึงความมุมานะของศิลป น ที่จําเป นต องพัฒนาตนเอง อย างต อเนื่องให ได รางวัลครบตามเกณฑ ที่เงื่อนไขได กําหนดไว ในการแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 พ.ศ.2561 นี้ มีศิลป นชั้นเยี่ยม 1 ราย ได แก นายประดิษฐ ตั้งประสาทวงศ จากการได รับประกาศนียบัตรเกียรตินิยมเหรียญทอง 2 ครั้ง และเหรียญเงิน 2 ครั้ง ใน ประเภทจิตรกรรม ส งผลให ได รับยกย องเป น ศิลป นชั้นเยี่ยม ลําดับที่ 24 สาขาจิตรกรรม

15


การแสดงศิลปกรรมแห งชาติ ครั้งที่ 64 The 64th National Exhibition of Art เจ าของและผู จัดพิมพ หอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02 221 3841, 02 623 6155 ต อ 11418,1149 Website : www.art-centre.su.ac.th Email : su.artcentre@gmail.com 16

พิมพ ครั้งแรก กันยายน 2561 จํานวนที่พิมพ 5,000 เล ม พิมพ ที่ โรงพิมพ ภาพพิมพ 45/14 หมู 4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตําบลบางขนุน อําเภอบางกรวย นนทบุรี 11130


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.