SSI : Annual Report 2017 TH

Page 1

รายงานประจำ�ปี 2560

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)


สารบัญ

1

2

4

8

10

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม

ผลประกอบการสำ�คัญ

สารจากประธาน กรรมการบริษัท

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการที่สำ�คัญ ในปี 2560

12

14

15

19

20

โครงสร้าง กลุ่มเอสเอสไอ

ความสัมพันธ์ กับกลุ่มธุรกิจ ของผู้ถือหุ้นใหญ่

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

โครงสร้างรายได้

ภาวะอุตสาหกรรม และการตลาด

21

24

25

31

34

รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบ ปี 2560

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ปี 2560

ปัจจัยความเสี่ยง

ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลสำ�คัญอื่น

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

35

36

49

61

62

นโยบาย การจ่ายเงินปันผล

รายละเอียดเกี่ยวกับ คณะกรรมการบริษัท

รายละเอียดเกี่ยวกับ คณะผู้บริหาร

การถือหุ้นในบริษัท ของกรรมการ และผู้บริหาร

รายงานคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน ปี 2560

66

70

72

74

103

ค่าตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร

ผังองค์กร

รายงานคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี ปี 2560

การกำ�กับดูแลกิจการ

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

108

110

113

128

129

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ ความเสี่ยง

รายการระหว่างกัน

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

รายงานความรับผิดชอบ การวิเคราะห์และคำ�อธิบาย ของคณะกรรมการบริษัท ของฝ่ายจัดการ ต่อรายงานทางการเงิน ปี 2560

142

146

156

รายงานของ งบการเงิน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

หมายเหตุประกอบ งบการเงิน


วิสัยทัศน์

บริษัทเหล็กชั้นน�ำด้านนวัตกรรม และความเชื่อมั่น พันธกิจ

Innovate life through steel and its application, engineering, energy, and marine innovation

ค่านิยม integrity ซื่อตรง

We do what we say ทำ�ในสิ่งที่เราพูด

Fighting spirit

Never give up สู้ ไม่ถอย

aim for excellence

Anything is possible ทุกอย่างเป็นไปได้

can change

Be the leader of change เป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง

teamwork

One for all, all for one เพื่อส่วนรวม ร่วมเป็นหนึ่งเดียว

service-mind

Deliver more than expected ให้มากกว่าที่ถูกคาดหวัง

จิตใจนักสู้

มุ่งสู่ความเป็นเลิศ กล้าเปลี่ยน

การทำ�งานเป็นทีม สำ�นึกในการให้บริการ


2

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ผลประกอบการส�ำคัญ

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

รายได้จากการขายและให้บริการ

ล้านบาท

25,332

19,824

20,173

รายได้รวม

ล้านบาท

28,452

20,305

20,495

ต้นทุนขายและให้บริการ

ล้านบาท

21,841

15,195

19,389

ก�ำไร (ขาดทุน) ขั้นต้น

ล้านบาท

3,491

4,629

784

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่

ล้านบาท

4,535

(2,869)

(40,959)

สินทรัพย์รวม

ล้านบาท

25,538

24,228

23,351

หนี้สินรวม

ล้านบาท

64,474

67,667

63,991

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ล้านบาท

(38,936)

(43,439)

(40,640)

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่

ล้านบาท

(39,554)

(44,089)

(41,271)

อัตรากำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

ร้อยละ

17.90

(14.47)

(203.04)

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย

ร้อยละ

N.A.

N.A.

N.A.

อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย*

ร้อยละ

22.30

(0.99)

(80.94)

เท่า

N.A.

N.A.

N.A.

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น**

บาท

4.07

(2.58)

(37)

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น

บาท

(35.54)

(1.37)

(1.28)

อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

* แก้ไขสูตรในการคํานวณตาม SET Manual Version 2.0 จากก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่หารด้วยสินทรัพย์เฉลี่ยปีนี้และปีก่อนหน้า เป็นก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ก่อนดอกเบี้ยและภาษีหารด้วยสินทรัพย์เฉลี่ยปีนี้และปีก่อนหน้า

** ปี 2558 และปี 2559 ถูกค�ำนวณขึ้นใหม่โดยถือเสมือนว่ามีการลดทุนหุ้นสามัญเกิดขึ้นตั้งแต่วันเริ่มต้นของงวดแรกที่เสนอรายงาน


3

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หน่วย : ล้านบาท

การบริโภคเหล็กแผ่นรีดร้อน ของประเทศไทยเปรียบเทียบกับ ปริมาณการจ�ำหน่ายของบริษัท

(2,869)

19,824 2559

2560

(40,959)

2558

2559

4,535

หน่วย : ล้านบาท

2558

25,332

ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ

20,173

รายได้จากการขายและให้บริการ

2560

6.49

7.38

6.78

1.23

1.29

หน่วย : ล้านตัน 1.13 การบริโภคเหล็กแผ่นรีดร้อนของประเทศไทย ปริมาณการจ�ำหน่ายของบริษัท

2558

2559

2560


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

4

สารจาก ประธานกรรมการบริษัท

เรียนท่านผู้ถือหุ้น

ตามที่ ศ าลล้ ม ละลายกลางได้ มี คำ�สั่ ง เมื่ อ วั น ที่ 15 ธั น วาคม 2559 เห็ น ชอบด้ ว ยแผนฟื้ น ฟู กิ จ การของบริ ษั ท และเห็ น ชอบให้ บ ริ ษั ท

สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารแผนฯ นั้น คณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท ได้กำ�กับดูแล ให้การดำ�เนินงานของบริษัทบรรลุผลตามที่ได้กำ�หนดไว้ในแผนฟื้นฟูกิจการอย่างเคร่งครัดตามที่จะได้รายงานให้ทราบดังนี้

ความคืบหน้าในการดำ�เนินงานตามแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทในปี 2560 มีดังต่อไปนี้

1. ผลการดำ�เนินงาน

ในปี 2560 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายและการให้บริการรวม 25,332 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28 จากปีก่อนหน้า

โดยมีปริมาณส่งมอบผลิตภัณฑ์เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน (Hot Roll Coil: HRC) 1,285 พันตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จากปีก่อนหน้า แต่ต่ำ�กว่า

ปริมาณส่งมอบตามแผนฟื้นฟูกิจการฯ ซึ่งกำ�หนดไว้ที่ 1,700 พันตัน ทั้งนี้ ราคาขาย HRC เฉลี่ยอยู่ที่ 19,197 บาทต่อตัน หรือประมาณ

570 เหรียญสหรัฐต่อตัน เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 23 จากปีกอ ่ นหน้า ตามภาวะราคาเหล็กในตลาดโลก โดยเป็นการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทม ี่ ม ี ล ู ค่าเพิม ่ พิเศษ (Premium Value Products: PVPs) ร้อยละ 51 ของปริมาณขายรวม

บริษัทและบริษัทย่อยมีกำ�ไรสุทธิ 4,535 ล้านบาท มี EBITDA 6,115 ล้านบาท (หากไม่รวมการกลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่า

ของสิ น ค้ า คงเหลื อ 74 ล้ า นบาท การกลั บ รายการภาระผู ก พั น ตามสั ญ ญาซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ 18 ล้ า นบาท และกำ�ไรจากอั ต ราแลกเปลี่ ย น 2,952 ล้านบาท จะมี Core EBITDA เท่ากับ 3,070 ล้านบาท) นับเป็นผลการดำ�เนินงานที่ดีกว่าในปี 2559 ซึ่งมีผลขาดทุนสุทธิ 2,869 ล้านบาท

มี EBITDA 2,143 ล้านบาท และ Core EBITDA 1,378 ล้านบาท โดยที่ในส่วนของงบเฉพาะกิจการเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายตามแผนฟื้นฟู กิจการก็พบว่าบริษัทมีผลกำ�ไรและ EBITDA ที่ดีกว่าเช่นกัน สาเหตุหลักมาจากการที่บริษัทสามารถรักษาระดับส่วนต่างระหว่างราคาขาย กับต้นทุนวัตถุดิบหลักไว้ได้ดีกว่าแผน และมีกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน


5

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2. การชำ�ระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการฯ

ในปี 2560 บริ ษั ท ชำ�ระหนี้ แ ก่ เ จ้ า หนี้ ต ามแผนฟื้ น ฟู กิ จ การรวมเป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น

1,643 ล้านบาท คิดเป็นเงินต้น 1,539 ล้านบาท และดอกเบี้ย 95 ล้านบาท และนอกจากนี้

บริษัทสามารถชำ�ระหนี้ได้เร็วกว่าที่กำ�หนด 280 ล้านบาท รวมชำ�ระหนี้ในปี 2560 ทั้งสิ้น 1,914 ล้านบาท

3. การดำ�เนินการเกี่ยวกับทุนจดทะเบียนตามแผนฟื้นฟูกิจการ

1 มีนาคม 2560

บริษัทได้ดำ�เนินการจดทะเบียนลดทุนที่ยังไม่ได้จัดสรรของบริษัท โดยวิธีการตัดหุ้น

ที่ยังไม่ได้เรียกชำ�ระจำ�นวน 18,097,401,000 หุ้น ทำ�ให้มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 32,166,262,124 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 32,166,262,124 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

14 กรกฎาคม 2560

บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การจดทะเบี ย นลดทุ น โดยการลดจำ�นวนหุ้ น ของบริ ษั ท จำ�นวน 31,053,243,844 บาท ทำ�ให้มท ี น ุ จดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วคงเหลือจำ�นวน 1,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,113,018,280 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 28 มีนาคม 2561

บริษัทได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนชำ�ระแล้วโดยการแปลงหนี้เป็นทุนครั้งที่ 1

ตาม [ข้อ 7.3 (3)] ของแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ ด้วยการจัดสรรหุน ้ เพิม ่ ทุนจำ�นวน 10,000,000,000 หุน ้ ให้กับเจ้าหนี้ที่ได้สิทธิแปลงหนี้เป็นทุนเรียบร้อยแล้ว

บริษัทมีผลก�ำไรและ EBITDA ที่ดีกว่าเช่นกัน สาเหตุหลัก มาจากการทีบ ่ ริษัท

สามารถรักษาระดับ ส่วนต่างระหว่างราคาขาย กับต้นทุนวัตถุดิบหลัก ไว้ได้ดีกว่าแผน และมีก�ำไร จากอัตราแลกเปลี่ยน


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

6

ความมุ่งมั่นของคณะกรรมการบริษัท ตามที่ได้กล่าวมานั้นยังส่งผลให้ บริษัทได้รับรางวัลต่างๆ ประกอบด้วยรางวัลเกียรติยศสูงสุด สถานประกอบกิจการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการ แรงงาน 15 ปีติดต่อกัน

คณะกรรมการบริษัทยังคงมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินธุรกิจโดยยึดหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนา

อย่างยั่งยืน โดยให้การสนับสนุนการด�ำเนินนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น จนบริษัทได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติ

ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Certified Company) จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน

การทุจริตอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในปี 2560 คณะท�ำงานด�ำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัทได้ท�ำ

การศึกษาแนวทางการก�ำหนดมาตรการควบคุมภายในที่เหมาะสมส�ำหรับนิติบุคคลในการป้องกันการให้สินบนเจ้าหน้าที่รัฐของส�ำนักงาน

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับมาตรการการควบคุมภายในที่มีอยู่ของบริษัท พร้อมทั้ง จัดท�ำแผนงานและมอบหมายผู้รับผิดชอบไปด�ำเนินการปรับปรุงให้สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว

ความมุ่ ง มั่ น ของคณะกรรมการบริ ษั ท ตามที่ ไ ด้ ก ล่ า วมานั้ น ยั ง ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ได้ รั บ รางวั ล ต่ า งๆ ประกอบด้ ว ยรางวั ล เกี ย รติ ย ศสู ง สุ ด

สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน 15 ปีติดต่อกัน ประจำ�ปี 2560 (พ.ศ. 2546 - 2560) รางวัลสถานประกอบ

กิจการดีเด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานระดับประเทศ ประจำ�ปี 2560 ระดับเพชร (รางวัลต่อเนื่อง 6 ปี)

ใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 (ระยะเวลา 3 ปี) ใบประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ ประเภทโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) และรางวัลองค์กรสนับสนุนงานด้านคนพิการดีเด่น ประจำ�ปี 2560

ในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย บนหลักพื้นฐานสามประการ คือ ความคิดสร้างสรรค์

การมีสว ่ นร่วมของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย และประสิทธิภาพของการดำ�เนินการ โดยในปี 2560 นอกจากกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมทีอ ่ ยูใ่ นกระบวนการ ดำ�เนินธุรกิจแล้ว บริษัทได้ดำ�เนินโครงการเพื่อสังคมและชุมชน 50 โครงการ ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมประมาณ 26,971 คน โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ การพัฒนาทุนทางสังคมซึ่งมุ่งเน้นการสร้างความแข็งแกร่งให้กับผู้ด้อยโอกาสในสังคม และส่วนที่สอง คือ

การพัฒนาชุมชนใน 4 ด้านหลัก คือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมอาชีพและพัฒนารายได้

และการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งการสนับสนุนเพิ่มเติมในกิจกรรมด้านศาสนาและวัฒนธรรมพื้นถิ่น การดำ�เนินการสอดคล้องกับวาระ

การพัฒนาตามกระบวนทัศน์ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” ขององค์การสหประชาชาติ ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development

Goals: SDGs) ในหลายด้าน อาทิ การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจ้างงานที่มีคุณค่า และการเติบโตทางเศรษฐกิจ แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นต้น


7

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ในปี 2560 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ เ ห็ น ชอบแผนกลยุ ท ธ์ ร ะยะยาวของกลุ่ ม บริ ษั ท

ที่เสนอโดยฝ่ายจัดการ เพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อปัจจัยต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่ อ าจจะส่ ง ผลกระทบต่ อ กลุ่ ม บริ ษั ท และจะเป็ น ทิ ศ ทางให้ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ ของกลุ่มบริษัทได้กำ�หนดเป้าประสงค์ในระยะยาวให้สอดคล้องกัน

ท่ า นผู้ ถื อ หุ้ น สามารถติ ด ตามรายงานผลการดำ�เนิ น งานของบริ ษั ท ความคื บ หน้ า

ในการดำ�เนินการตามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ รายงานประจำ�ปี และรายงานกิจกรรมความรับผิดชอบ

ต่ อ สั ง คมฉบั บ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และข้ อ มู ล ข่ า วสารต่ า งๆ ของบริ ษั ท ได้ เ ช่ น เดิ ม ผ่ า น

สารสนเทศที่ บ ริ ษั ท ได้ แ จ้ ง ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ หรื อ ติ ด ตามได้ ที่ เ ว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ที่ http://ssi-steel.com รวมถึงหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัท ทางหมายเลขโทรศัพท์ 0-2238-3063-82 หรือทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ ir@ssi-steel.com

ในนามของคณะกรรมการบริ ษั ท ผมขอขอบคุ ณ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น ลู ก ค้ า คู่ ค้ า

พันธมิตรธุรกิจ สถาบันการเงิน องค์กรกำ�กับดูแล คณะผู้บริหาร และพนักงาน ที่สนับสนุน

การดำ�เนินงานของบริษท ั ด้วยดีตลอดมา คณะกรรมการบริษท ั จะทุม ่ เทกำ�ลังในการกำ�กับดูแล กิจการให้สามารถดำ�เนินธุรกิจจนเกิดผลสำ�เร็จของแผนตามที่กำ�หนด

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ รองประธานกรรมการบริษัท

ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานกรรมการบริษัท


8

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

บริ ษั ท สหวิ ริ ย าสตี ล อิ น ดั ส ตรี จำ�กั ด (มหาชน) (“บริ ษั ท ”)

โรงงานทั้ ง หมดในประเทศไทยของกลุ่ ม บริ ษั ท ตั้ ง อยู่ บ น

และผู้ ผ ลิ ต เหล็ ก แผ่ น ครบวงจรรายใหญ่ ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคเอเชี ย

ประจวบคีรีขน ั ธ์ ซึง่ อยูห ่ า ่ งจากกรุงเทพมหานครเพียง 400 กิโลเมตร

เป็ น ผู้ ผ ลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นชนิ ด ม้ ว นรายแรกของประเทศไทย

ตะวันออกเฉียงใต้ มีโรงงานเอสเอสไอบางสะพานซึ่งเป็นโรงงาน ผลิตเหล็กกลางนํ้า ด้วยกำ�ลังการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

สู ง สุ ด 4 ล้ า นตั น ต่ อ ปี และกำ�ลั ง การผลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นชนิ ด

ม้ ว นประเภทปรั บ ผิ ว และเคลื อ บน้ำ� มั น สู ง สุ ด 1 ล้ า นตั น ต่ อ ปี มียุทธศาสตร์หลัก คือ “สร้างสรรค์นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เหล็กแผ่น

ที่มีมูลค่าเพิ่มพิเศษ” (Leading Innovative and Reliable Steel Company) เพื่อรองรับความต้องการใช้เหล็กที่เพิ่มขึ้นของภูมิภาค ในอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ เช่ น ยานยนต์ พลั ง งาน เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า บรรจุภัณฑ์ ขนส่ง และการก่อสร้าง

บริ ษั ท มี ก ารร่ ว มลงทุ น ในโครงการเหล็ ก ปลายน้ำ� ต่ อ เนื่ อ ง

ที่สำ�คัญ ประกอบด้วยบริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน) (“TCRSS”) ซึง่ เป็นผูผ ้ ลิตเหล็กแผ่นรีดเย็นรายแรกและรายใหญ่ทส ี่ ด ุ ของประเทศไทย ด้วยกำ�ลังการผลิตสูงสุด 1.2 ล้านตันต่อปี บริษัท

เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด (“TCS”) ผูผ ้ ลิตเหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี

ด้วยกรรมวิธท ี างไฟฟ้ารายแรกและรายใหญ่ทส ่ี ด ุ ของเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ มีกำ�ลังการผลิตสูงสุด 240,000 ตันต่อปี

ชายฝั่งด้านตะวันตกของอ่าวไทย ณ อำ�เภอบางสะพาน จังหวัด และเป็นทำ�เลยุทธศาสตร์ทด ี่ ท ี ส ี่ ด ุ ในประเทศสำ�หรับการดำ�เนินธุรกิจ เหล็กแบบครบวงจร บริษัทมีการร่วมลงทุนในบริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด (“PPC”) ให้บริการท่าเรือพาณิชย์เอกชน ที่มีความลึกที่สุด

ในประเทศไทย รองรับการขนถ่ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์เหล็กได้ ในปริมาณมาก นอกจากนี้ บริษัทยังขยายขีดความสามารถในงาน วิ ศ วกรรมบริ ก ารโดยลงทุ น ร้ อ ยละ 99.99 ในบริ ษั ท เวสท์ โ คสท์

เอ็นจิเนียริง่ จำ�กัด (“WCE”) ให้บริการงานด้านวิศวกรรม การจัดการ

งานซ่อมบำ�รุงโรงงานอุตสาหกรรม งานออกแบบและผลิตเครือ ่ งจักร และชิ้นส่วนจักรกล งานขึ้นรูปและประกอบโครงสร้างโลหะ รวมถึง

การให้ บ ริ ก ารด้ า นการออกแบบวิ ศ วกรรม การจั ด หาเครื่ อ งจั ก ร และอุปกรณ์ และการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 กลุ่ ม บริ ษั ท มี พ นั ก งานทั้ ง สิ้ น

2,449 คน ทัง้ นี้ กลุม ่ บริษท ั ยังคงยึดมัน ่ ในนโยบายการรับคนในท้องถิน ่ เข้าทำ�งาน โดย ณ สิ้นปี 2560 มีจำ�นวนพนักงานที่เป็นคนในท้องถิ่น

คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 79.37 ของจำ�นวนพนั ก งานทั้ ง หมด 2,113 คน

ที่ ทำ�งานที่ โ รงงานของกลุ่ ม บริ ษั ท ในบางสะพานการดำ�เนิ น งาน ของกลุ่มบริษัทสามารถแบ่งตามประเภทธุรกิจได้ดังนี้


9

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจท่าเรือ

บริ ษั ท ได้ ร่ ว มลงทุ น ใน PPC ซึ่ ง มี

ท่ า เ ที ย บ เ รื อ ใ ห้ บ ริ ก า ร จำ� น ว น 4 ท่ า

ส า ม า ร ถ ร อ ง รั บ เ รื อ ข น ถ่ า ย สิ น ค้ า ที่ มี

ธุรกิจเหล็ก

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน ดำ�เนินการ

โดยบริ ษั ท สำ�หรั บ ใช้ ใ นอุ ต สาหกรรม ยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า

ถังแก๊ส ท่อเหล็ก และก่อสร้าง และใช้เป็น วัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง

ธุ ร กิ จ เหล็ ก ปลายน้ำ� ประกอบด้ ว ย

ธุ ร กิ จ เหล็ ก แผ่ น รี ด เย็ น ดำ�เนิ น การโดย

TCRSS ใช้ เ หล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นคุ ณ ภาพสู ง ของบริษัทเป็นวัตถุดิบในการผลิต ธุรกิจ เหล็ ก แผ่ น เคลื อ บ ดำ�เนิ น การโดย TCS แ ล ะ ใ ช้ เ ห ล็ ก แ ผ่ น รี ด เ ย็ น เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิต

ระวางขั บ น้ำ� สู ง สุ ด ถึ ง 100,000 DWT

ธุรกิจวิศวกรรม

เปิ ด ให้ บ ริ ก ารขนถ่ า ยเหล็ ก แท่ ง แบนด้ ว ย

ให้ บ ริ ก ารแก่ กิ จ การภายในกลุ่ ม บริ ษั ท

จำ�นวน 2 ตั ว เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การขนส่ ง

ลูกค้าในประเทศและต่างประเทศ ทั้งใน

อย่างมีประสิทธิภาพ

กระดาษ กลุ่มอุตสาหกรรมซีเมนต์ กลุ่ม

พร้ อ มกั น 2 ลำ� โดยในปี 2555 ได้ เ ริ่ ม

ดำ�เนินการโดย WCE ซึง่ ในช่วงเริม ่ ต้น

เครนหน้าท่าขนาดน้ำ�หนักยกสูงสุด 100 ตัน

เป็นหลัก ปัจจุบน ั ได้ขยายการให้บริการไปสู่

และรองรั บ การขนถ่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล็ ก

กลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก กลุ่มอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมพลังงาน กลุ่มอุตสาหกรรม

ปิโตรเคมี อุตสาหกรรมขนส่ง อุตสาหกรรม ผู้ผลิตเครื่องจักรและเทคโนโลยี


10

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ ในปี 2560

1 มีนาคม 2560 บริษัทได้ปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูกิจการ

22 มิถุนายน 2560 ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณิ ช ย์ ไ ด้ มี ป ร ะ ก า ศ

1 สิงหาคม 2560 ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณิ ช ย์ ป ร ะ ก า ศ ยุ ติ

โดยดำ�เนินการจดทะเบียนลดทุนทีย ่ งั ไม่ได้

คณะกรรมการพิ จ ารณาการทุ่ ม ตลาด

การไต่สวนการตอบโต้การทุ่มตลาด กรณี

เรียกชำ�ระจำ�นวน 18,097,401,000 หุ้น

ชนิ ด เป็ น ม้ ว นและไม่ เ ป็ น ม้ ว น ที่ มี แ หล่ ง

น้ำ� มั น ช นิ ด เ ป็ น ม้ ว น แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น ม้ ว น

จัดสรรของบริษท ั โดยวิธก ี ารตัดหุน ้ ทีย ่ งั ไม่ได้

ต่ อ น า ย ท ะ เ บี ย น บ ริ ษั ท ม ห า ช น จำ� กั ด

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทำ�ให้บริษัทมีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระ แล้ว จำ�นวน 32,166,262,124 บาท แบ่งออก

เป็นหุน ้ สามัญจำ�นวน 32,166,262,124 หุน ้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

15 พฤษภาคม 2560

และการอุ ด หนุ น กรณี เ หล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ น

กำ�เนิดจากจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศมาเลเซีย ให้ขยายระยะเวลา

บังคับใช้มาตรการอีก 5 ปี โดยมีผลบังคับใช้

ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ 2 3 มิ ถุ น า ย น 2 5 6 0 22 มิถุนายน 2565

14 กรกฎาคม 2560 บริษัทได้ปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูกิจการ

ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณิ ช ย์ อ อ ก ม า ต ร ก า ร

โดยดำ�เนิ น การจดทะเบี ย นลดทุ น โดย

เ ห ล็ ก แ ผ่ น รี ด ร้ อ น ช นิ ด เ ป็ น ม้ ว น แ ล ะ

31,053,243,844 บาท ต่อนายทะเบียน

ชั้ น ที่ สุ ด เรี ย กเก็ บ อากรทุ่ ม ตลาดสิ น ค้ า ไม่เป็นม้วน ที่มีแหล่งกำ�เนิดจากสหพันธ์

สาธารณรั ฐ บราซิ ล สาธารณรั ฐ อิ ส ลาม อิ ห ร่ า น และสาธารณรั ฐ ตุ ร กี โดยมี ผ ล

บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 15 พฤษภาคม 2565 และกำ�หนดให้เรียก เก็ บ อากรตอบโต้ ก ารทุ่ ม ตลาดในอั ต รา ร้อยละ 6.88 - 38.27

6 มิถุนายน 2560 ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณิ ช ย์ ไ ด้ มี ป ร ะ ก า ศ

คณะกรรมการพิจารณามาตรการปกป้อง

กรณี เ หล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นไม่ เ จื อ ชนิ ด เป็ น ม้ ว นและไม่ เ ป็ น ม้ ว น ให้ ข ยายระยะเวลา

การบั ง คั บ ใช้ ม าตรการอี ก 3 ปี โดยมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2560 6 มิถุนายน 2563

การลดจำ�นวนหุ้ น ของบริ ษั ท จำ�นวน

บริ ษั ท มหาชนจำ�กั ด กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้า กระทรวงพาณิชย์ จึงทำ�ให้บริษัท

มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน

1,113,018,280 บาท แบ่ ง ออกเป็ น หุ้ น สามั ญ จำ�นวน 1,113,018,280 หุ้ น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

31 กรกฎาคม 2560 บริ ษั ท ได้ รั บ การต่ อ อายุ ใ บรั บ รอง

อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 (ระยะเวลา 3 ปี)

จากกรมโรงงานอุ ต สาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม

เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นกั ด กรดและเคลื อ บ ที่ มี แ หล่ ง กำ�เนิ ด จากสาธารณรั ฐ เกาหลี

เนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมภายในไม่ เ กิ ด ความเสียหายจากสินค้าทุ่มตลาด

25 สิงหาคม 2560 บ ริ ษั ท รั บ ร า ง วั ล เ กี ย ร ติ ย ศ สู ง สุ ด

สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านแรงงาน สั ม พั น ธ์ และสวั ส ดิ ก ารแรงงาน 15 ปี ติดต่อกัน ประจำ�ปี 2560 (พ.ศ. 2546 - 2560)

จากพลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงาน

29 สิงหาคม 2560 ศาลปกครองกลางได้ มี คำ�พิ พ ากษา

ยกฟ้ อ ง กรณี ที่ บ ริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย ในฐานะผู้ฟ้องคดี ยื่นฟ้องอธิบดีกรมที่ดิน

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (หัวหน้ากลุ่ม ภารกิจด้านกิจการความมัน ่ คงภายใน) และ

เจ้าพนักงานที่ดิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สาขาบางสะพาน ต่อศาลปกครองกลาง

เมื่ อ วั น ที่ 20 สิ ง หาคม 2553 และวั น ที่ 1 กันยายน 2553 เพื่อขอให้ศาลปกครอง

กลางมี คำ�พิ พ ากษา (1) เพิ ก ถอนคำ�สั่ ง อธิบดีกรมที่ดิน ลงวันที่ 5 มกราคม 2553

ที่ ใ ห้ เ พิ ก ถอนและแก้ ไ ขรายละเอี ย ดใน หนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์ (น.ส. 3 ก.)

ตำ�บลแม่รำ�พึง อำ�เภอบางสะพาน จังหวัด


11

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประจวบคีรข ี น ั ธ์ ของบริษท ั และบริษท ั ย่อย,

(2) ให้ เ พิ ก ถอนคำ�วิ นิ จ ฉั ย อุ ท ธรณ์ ข อง รองปลั ด กระทรวงมหาดไทย ลงวั น ที่ 6 เมษายน 2553, (3) เพิกถอนประกาศ

สำ�นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ลงวันที่ 9 กรกฎาคม 2553 และ (4) ไม่ให้

เจ้าพนักงานที่ดิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สาขาบางสะพาน ออกใบแทนหนั ง สื อ รับรองการทำ�ประโยชน์ (น.ส. 3 ก.) ของ

บริษท ั และบริษท ั ย่อย ของเจ้าพนักงานทีด ่ น ิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สาขาบางสะพาน

19 กันยายน 2560 บริษั ท รั บ มอบใบประกาศนียบั ต ร

เชิ ด ชู เ กี ย รติ ประเภทโครงการลดก๊ า ซ

เรื อ นกระจกภาคสมั ค รใจตามมาตรฐาน

ของประเทศไทย (T-VER) จาก ดร.วิจารย์

สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ในฐานะทีบ ่ ริษท ั ได้เข้าร่วม และเป็นตัวอย่างที่ดีในการบริหารจัดการ

และดำ�เนิ น กิ จ กรรมเพื่ อ ลดการปล่ อ ย

ก๊ า ซเรื อ นกระจกได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จั ด โดยองค์ ก ารบริ ห ารการจั ด การก๊ า ซ เรือนกระจก (องค์การมหาชน)

27 กันยายน 2560 บริษท ั และบริษท ั ย่อยได้ยน ื่ คำ�อุทธรณ์

คั ด ค้ า นคำ�พิ พ ากษาของศาลปกครอง กลาง เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2560 กรณี

ที่ ดิ น พิ พ าทที่ อำ�เภอบางสะพาน จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ต่อศาลปกครองสูงสุด

5 ตุลาคม 2560

12 ธันวาคม 2560

บริษัทรับรางวัลสถานประกอบกิจการ

ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณิ ช ย์ ไ ด้ มี ป ร ะ ก า ศ

ดีเด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

คณะกรรมการพิ จ ารณาการทุ่ ม ตลาด

ประเทศ ประจำ�ปี 2560 ระดั บ เพชร

การทุ่ ม ตลาดสิ น ค้ า เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ น

และสภาพแวดล้ อ มในการทำ�งานระดั บ

(รางวั ล ต่ อ เนื่ อ ง 6 ปี ) จากนายทศพล กฤตวงศ์วิมาน รองอธิบดีกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

19 ตุลาคม 2560 บริ ษั ท ได้ จ ดทะเบี ย นแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม

หนั ง สื อ บริ ค ณห์ ส นธิ ข องบริ ษั ท เพื่ อ ให้

และการอุดหนุน ให้เรียกเก็บอากรตอบโต้

เจือโบรอน ชนิดเป็นม้วนและไม่เป็นม้วนทีม ่ ี

แหล่งกำ�เนิดจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อไป เป็นระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี ตั้งแต่ วันที่ 26 ธันวาคม 2560 เป็นต้นไป

28 มีนาคม 2561 บริษท ั ได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิม ่ ทุน

สอดคล้ อ งกั บ การเพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย น

ชำ� ร ะ แ ล้ ว ใ น ส่ ว น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จำ� น ว น

10,000,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้

บริ ษั ท มหาชนจำ�กั ด กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ

โ ด ย ก า ร อ อ ก หุ้ น ส า มั ญ

จำ� น ว น

หุ้ น ละ 1 บาท จากทุ น จดทะเบี ย นเดิ ม

จำ�นวน 1,113,018,280 บาท เป็ น ทุ น จดทะเบียนใหม่จำ�นวน 11,113,018,280 บาท เพื่ อ รองรั บ การแปลงหนี้ เ ป็ น ทุ น

ให้กบ ั เจ้าหนีต ้ ามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ ในราคา แปลงหนี้เป็นทุนหุ้นละ 0.05 บาท

1 ธันวาคม 2560 พ ล เ อ ก อ นั น ต พ ร ก า ญ จ น รั ต น์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มอบโล่

ประกาศเกี ย รติ คุ ณ องค์ ก รที่ ส นั บ สนุ น งานคนพิการดีเด่น ประจำ�ปี 2560 แก่บริษท ั

สหวิ ริ ย าสตี ล อิ น ดั ส ตรี จำ�กั ด (มหาชน) (ต่อเนือ ่ งเป็นครัง้ ที่ 2) เพือ ่ เชิดชูเกียรติให้แก่ หน่วยงานทีส ่ นับสนุนและส่งเสริมงานด้าน

คนพิการ เนือ ่ งในโอกาสวันคนพิการสากล ประจำ�ปี 2560

10,000,000,000 บาท ต่อนายทะเบียน การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ ทำ�ให้ บ ริ ษั ท

มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน

11,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้น สามัญจำ�นวน 11,113,018,280 หุน ้ มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท


12

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

13

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างกลุ่มเอสเอสไอ

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน)

ธุรกิจ เหล็กแผ่นรีดร้อน

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

ประเภทปรับผิวและเคลือบน�้ำมัน

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จ�ำกัด (มหาชน) เหล็กแผ่นรีดเย็น

ธุรกิจ เหล็กปลายนํ้า

Pantone

อย่างยั่งยืน

35.19%

: ’ˇÀ≈’ˬ¡®µÿ√—

เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี

ด้วยกรรมวิธีทางไฟฟ้า

Pantone

°√Õ∫

และสนับสนุนความมั่นคง

: Helvetica Medium

°√Õ∫

Font

เสริมสร้างรายได้

: DS 224-1 C

Font

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

เสริมสร้างรายได้

และสนับสนุนความมั่นคง อย่างยั่งยืน

3.7%

: DS 49-1 C : Helvetica Medium

: ’ˇÀ≈’ˬ¡®µÿ√—

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

ธุรกิจ ท่าเรือ

ธุรกิจ วิศวกรรม

ธุรกิจหลัก

ท่าเรือพาณิชย์เอกชน

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด งานด้านวิศวกรรมและซ่อมบำ�รุง

และออกแบบทางวิศวกรรม C ��, M ���, Y ��, K �� R ���, G ��, B ��, C ���, M ���, Y �, K � R ��, G ��, B ��� C �, M �, Y �, K ��� R ��, G ��, B ��� CMYK � R ���, G ���, B ���

ลดต้นทุน

และเพิ่มรายได้

ลดต้นทุน

และเพิ่มรายได้

51% 99.99%


14

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจ ของผู้ถือหุ้นใหญ่

บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ของเครื อ

บริษท ั มีกลไกการรักษาสิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ ให้ได้รบ ั ความเป็นธรรม

ธุรกิจประเภทผลิตและจำ�หน่ายเหล็กชนิดต่างๆ โดยมีรายละเอียด

ของบริษัทให้กับลูกค้าทั้งที่เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่น

สหวิริยาซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ทั้งนี้ เครือสหวิริยาดำ�เนิน รายการระหว่างกันปรากฏอยู่ในเรื่อง รายการระหว่างกัน

บริษัทมีความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ในด้าน การค้ า ระหว่ า งกั น เป็ น หลั ก กล่ า วคื อ การขายสิ น ค้ า ของบริ ษั ท

โดยส่วนใหญ่เป็นการขายส่ง โดยขายให้กับลูกค้าทั้งภายในประเทศ

และต่ า งประเทศ สำ�หรั บ การขายสิ น ค้ า ให้ ลู ก ค้ า ภายในประเทศ ประกอบด้ ว ยผู้ ใ ช้ สิ น ค้ า โดยตรง และผู้ จั ด จำ�หน่ า ยสิ น ค้ า และ

ศู น ย์ บ ริ ก ารสิ น ค้ า (Trader & Coil Center) ซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น บริ ษั ท ทีเ่ กีย ่ วข้องกันและบริษท ั อืน ่ ทีไ่ ม่เกีย ่ วข้องกัน ทัง้ นี้ บริษท ั ไม่มน ี โยบาย

ขายสิ น ค้ า ให้ ลู ก ค้ า รายย่ อ ย หรื อ เข้ า ไปถื อ หุ้ น ในผู้ จั ด จำ�หน่ า ย

สินค้าและศูนย์บริการสินค้า เนื่องจากการประกอบธุรกิจดังกล่าว

มีความเสีย ่ งค่อนข้างสูงเพราะต้องขายสินค้าเป็นเงินเชือ ่ ให้กบ ั ลูกค้า โดยบริษท ั มีสด ั ส่วนการขายให้กบ ั บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกันซึง่ มีการดำ�เนิน

ธุรกิจมาก่อนการประกอบการของบริษท ั ในสัดส่วนทีล ่ ดลงเมือ ่ เทียบ กับปีที่ผ่านมา และเป็นการดำ�เนินธุรกิจทางการค้าตามปกติทั่วไป โดยจะมีการแยกระหว่างการประกอบการผู้ผลิตและผู้จัดจำ�หน่าย ออกจากกัน

โดยบริ ษั ท ในฐานะผู้ ผ ลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ น ได้ จำ�หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ไม่เกี่ยวข้องกันในมาตรฐานราคาที่ไม่แตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับ ปริมาณการสั่งซื้อและความสม่ำ�เสมอในการสั่งซื้อ และเนื่องจาก

ถือเป็นรายการระหว่างกัน บริษัทจึงมีข้อกำ�หนดการเปิดเผยข้อมูล เกีย ่ วกับงบการเงินให้ระบุรายการกับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

โดยถ้ า เป็ น การซื้ อ ขายระหว่ า งกั น ก็ ใ ห้ ร ะบุ น โยบายอั น เกี่ ย วกั บ

ราคาโอนไว้ด้วย ตามรายละเอียดที่แสดงไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินของบริษัท


15

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน (Hot Rolled Steel Sheet in Coil)

ลดลง ทั้งนี้ ในปี 2551 บริษัทเป็นหนึ่งในผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อน

เป็นจำ�นวนมาก เช่น โครงสร้างงานก่อสร้างขนาดใหญ่ การผลิต

ความบางสุดได้ถึง 0.9 มิลลิเมตร ในเชิงพาณิชย์ และ ณ ปัจจุบัน

ซึ่ ง ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งต่ า งๆ ท่อเหล็ก การผลิตถังแก๊ส การผลิตชิน ้ ส่วนประกอบรถยนต์ การผลิต

เครื่องใช้ไฟฟ้า การผลิตเฟอร์นิเจอร์เหล็ก การผลิตตู้คอนเทนเนอร์ การผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น หม้อต้มไอน้ำ�แรงดันสูง อุตสาหกรรม

ชนิดม้วนไม่กรี่ ายของโลก ทีส ่ ามารถผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนทีม ่ ข ี นาด บริษท ั ประสบผลสำ�เร็จในการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนทีม ่ ข ี นาดบางสุด 0.8 มิลลิเมตร

ต่อเรือ และศูนย์บริการเหล็ก (Service Center) เป็นต้น

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนของบริษัท ประกอบด้วย

มิ ล ลิ เ มตร และความหนาระหว่ า ง 1.2 - 6.5 มิ ล ลิ เ มตร ซึ่ ง เป็ น

• เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ที่มีขนาดความกว้างระหว่าง

รถยนต์และชิ้นส่วน และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า โครงการนี้

750 - 1,550 มิลลิเมตร และความหนาระหว่าง 1.0 - 20.0 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม (มอก.) สำ�หรั บ การใช้

• เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นชนิ ด ม้ ว นประเภทปรั บ ผิ ว และเคลื อ บ

น้ำ�มัน หรือ “CleanStrip” ที่มีขนาดความกว้างระหว่าง 750 - 1,550

ผลิตภัณฑ์เหล็กแผ่นมาตรฐานสูง สำ�หรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิต เริ่มเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2547

ในประเทศ และตามมาตรฐานคุ ณ ภาพสากล เช่ น Japanese

และอืน ่ ๆ โดยบริษท ั ได้ดำ�เนินโครงการขยายกำ�ลังการผลิตเหล็กแผ่น

ความต้องการของลูกค้า พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำ�ในตลาดเหล็ก

Standard, American Standard, DIN Standard, British Standard รีดร้อนชนิดม้วนเป็น 4 ล้านตันต่อปีเสร็จสมบูรณ์ในเดือนกุมภาพันธ์

2548 เป็ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของบริ ษั ท ให้ ส ามารถผลิ ต เหล็กได้บางสุด 0.9 มิลลิเมตร ไปจนถึงหนาสุด 20.0 มิลลิเมตร

และปรับปรุงคุณภาพสินค้าให้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันต้นทุนการผลิต

นอกจากนี้ บริษท ั ยังมุง่ เน้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษท ั

อย่างสม่ำ�เสมอ เพือ ่ ยกระดับคุณภาพของสินค้าให้สามารถตอบสนอง

แผ่นรีดร้อนคุณภาพสูง โดยบริษัทมุ่งเน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ทม ี่ ม ี ล ู ค่าเพิม ่ พิเศษ (Innovate Premium Value Products) ออกสู่ตลาด โดยคุณลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว มีดังนี้


16

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

1. เป็นผลิตภัณฑ์ชั้นคุณภาพพิเศษ (High Grade Products)

เหมาะกับการนำ�ไปใช้งานทีต ่ อ ้ งการคุณภาพของเหล็กแผ่นรีดร้อนสูง

ลักษณะของลูกค้า

เช่ น การนำ�ไปใช้ ง านในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด เย็ น

ลูกค้าของบริษัทแบ่งได้เป็น 9 กลุ่มหลัก ดังนี้

1. ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S1 ได้แก่ กลุ่มผู้ใช้เหล็กแผ่น

ชิ้นส่วนรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

2. เป็นผลิตภัณฑ์คุณลักษณะเฉพาะ (Unique Products)

ซึ่งมีผู้ผลิตน้อยรายและมีคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์เป็นของบริษัท

โดยเฉพาะ เช่ น เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นที่ มี ค วามบางเป็ น พิ เ ศษ หรื อ เหล็กแผ่นลาย เป็นต้น

3. เป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทีม ่ ม ี ล ู ค่าเพิม ่ กับลูกค้า (Innovated

Value Products) ซึ่งมีคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม

ให้ กั บ ลู ก ค้ า ในด้ า นต่ า งๆ ทั้ ง ในกระบวนการผลิ ต และการใช้ ง าน ของลูกค้าปลายทาง

การตลาดและการแข่งขัน

รี ด ร้ อ นชนิ ด ม้ ว นประเภทปรั บ ผิ ว และเคลื อ บน้ำ� มั น และเหล็ ก

ชั้นคุณภาพพิเศษต่างๆ โดยที่กลุ่มลูกค้าปลายทาง ได้แก่ ลูกค้า กลุม ่ ผูผ ้ ลิตยานยนต์ ซึง่ การซือ ้ ขายจะมีการตกลงกันเป็นรายไตรมาส โดยมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

2. ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S2 ได้แก่ ลูกค้ากลุ่มโรงงาน

ผลิตถังแก๊ส ลูกค้ากลุ่มผู้ผลิตคอนเทนเนอร์ และลูกค้ากลุ่มโรงงาน

ผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น ซึ่งในประเทศไทยมีผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดเย็น อยู่ 5 ราย โดยเป็นกลุ่มที่เน้นคุณภาพผิวและการส่งมอบเป็นสำ�คัญ

และมีความต้องการความมีเสถียรภาพด้านราคา ซึ่งการซื้อขาย จะมี ก ารตกลงกั น รายเดื อ นหรื อ การซื้ อ ขายแบบล่ ว งหน้ า โดยมี

บริ ษั ท มี ก ารวางแผนการตลาดเพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานขาย

การซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

วัตถุดิบ การพัฒนาคุณภาพในการผลิตอย่างต่อเนื่อง การรักษา

ตั ว แทนการค้ า ได้ แ ก่ ลู ก ค้ า กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมโครงสร้ า ง ลู ก ค้ า

การส่งมอบสินค้าให้ตรงตามกำ�หนด และบริการหลังการขายที่มี

กลุ่มผู้ผลิตเหล็กท่อ ซึ่งการซื้อขายจะมีการตกลงเป็นรายไตรมาส

เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุง่ เน้นให้ความสำ�คัญตัง้ แต่การสัง่ ซือ ้

ส่วนแบ่งตลาด การตอบสนองความต้องการของลูกค้า ตลอดจน

กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ยานยนต์ ลู ก ค้ า กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต เหล็ ก แผ่ น และลู ก ค้ า

ประสิทธิภาพ

รายเดือน หรือขายแบบ Spot โดยมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

กลยุทธ์ทางการตลาด

โครงสร้าง ลูกค้ากลุม ่ ผูผ ้ ลิตท่อเหล็ก และลูกค้ากลุม ่ ผูผ ้ ลิตเหล็กแผ่น

บริ ษั ท มุ่ ง เน้ น การขยายตลาดภายในประเทศให้ ค รอบคลุ ม

โดยมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

สู ง สุ ด และรั ก ษาฐานลู ก ค้ า โดยใช้ ก ลยุ ท ธ์ ด้ า นราคาและบริ ก าร

โครงสร้าง ลูกค้ากลุ่มผู้ผลิตเหล็กแผ่น ลูกค้ากลุ่มผู้ผลิตท่อเหล็ก

รีดร้อนคุณภาพสูง ตลอดจนการส่งออกเมือ ่ สภาวะตลาดเอือ ้ อำ�นวย

เป็นรายเดือน โดยมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

3. ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S3 คือ ลูกค้ากลุ่มที่ซื้อผ่าน

4. ตลาดภายในประเทศกลุม ่ S4 ได้แก่ ลูกค้ากลุม ่ อุตสาหกรรม

ซึ่งการซื้อขายจะมีการตกลงเป็นรายเดือน หรือการขายแบบ Spot

กลุม ่ ลูกค้าทุกตลาด เพือ ่ ทดแทนการนำ�เข้าและครองส่วนแบ่งตลาด

รวมถึงการขยายตลาดไปยังกลุม ่ ลูกค้าเป้าหมายใหม่ ซึง่ ใช้เหล็กแผ่น

และลู ก ค้ า กลุ่ ม ขายเหล็ ก แผ่ น ลาย ซึ่ ง การซื้ อ ขายจะมี ก ารตกลง

และบริษัทมีกำ�ลังการผลิตเพียงพอต่อการผลิตเพื่อส่งออก

กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

จะมีการตกลงเป็นรายไตรมาส โดยมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

โครงสร้าง ลูกค้ากลุม ่ ผูผ ้ ลิตยานยนต์และชิน ้ ส่วน ประเภททีต ่ อ ้ งการ

ได้ แ ก่ ผู้ ใ ช้ เ หล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นในอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งต่ า งๆ

5. ตลาดภายในประเทศกลุม ่ S5 ได้แก่ ลูกค้ากลุม ่ อุตสาหกรรม

6. ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S6 ได้แก่ ลูกค้ากลุ่มผู้ผลิต

เครื่องใช้ไฟฟ้า และลูกค้ากลุ่มผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งการซื้อขาย

7. ตลาดภายในประเทศกลุม ่ S7 ได้แก่ ลูกค้ากลุม ่ อุตสาหกรรม

เช่ น การผลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด เย็ น การผลิ ต รถยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น

สิ น ค้ า สำ�เร็ จ รู ป สามารถนำ�ไปใช้ ง านได้ ทั น ที ซึ่ ง การซื้ อ ขายจะมี

ส่วนประกอบ การผลิตถังแก๊ส การผลิตตู้คอนเทนเนอร์ การผลิต

8. ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S8 ได้แก่ ลูกค้ากลุ่มที่ต้องการ

เหล็ก (Service Center) และตัวแทนการค้า (Trading Firms)

9. ตลาดส่งออก ได้แก่ ลูกค้าต่างประเทศ ในอุตสาหกรรม

รถยนต์ การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า การผลิตเฟอร์นิเจอร์ที่มีเหล็กเป็น

การตกลงเป็นแบบ Spot โดยมีการซื้อขายเป็นสกุลเงินบาท

ท่อเหล็ก และอุตสาหกรรมการก่อสร้าง เป็นต้น รวมถึงศูนย์บริการ

สินค้าเหล็กสำ�เร็จรูป ในลักษณะโครงการพิเศษต่างๆ

เหล็กขั้นปลายมีการซื้อขายแบบ Spot โดยมีการซื้อขายเป็นสกุล ดอลลาร์สหรัฐ


17

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

นโยบายการขาย

1. การขายแบบไตรมาส เป็นไปตามกลไกของ Seaborn Market เพื่อรองรับลูกค้าที่มีความต้องการในการกำ�หนดปริมาณและราคา

2. การขายแบบรายเดือน เป็นไปตามกลไกตลาดภายในประเทศ ราคาขึ้นอยู่กับปริมาณและเทอมการชำ�ระเงิน เพื่อรองรับลูกค้า

รายไตรมาส ได้แก่ ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S1 ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S3 และตลาดภายในประเทศกลุ่ม S6

ที่สามารถแจ้งแผนการซื้อได้ล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เดือน ได้แก่ ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S2 ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S3 ตลาดภายใน ประเทศกลุ่ม S4 และตลาดภายในประเทศกลุ่ม S5

3. การขายแบบ Spot เป็นไปตามกลไกราคาตลาดภายในประเทศ และความเร่งด่วนในการส่งมอบสินค้า รองรับลูกค้าที่ต้องการซื้อ

4. การขายแบบ Forward เป็นไปตามโครงสร้างต้นทุนของวัตถุดิบ เพื่อรองรับลูกค้าที่มีความต้องการซื้อเพื่อใช้ในงานโครงการ import

โดยไม่มีการแจ้งแผนล่วงหน้า ได้แก่ ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S3 ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S4 และตลาดส่งออก for export ได้แก่ ตลาดภายในประเทศกลุ่ม S2

การขายผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มพิเศษ

บริษท ั มีนโยบายทีจ ่ ะเพิม ่ สัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์ทม ี่ ม ี ล ู ค่าเพิม ่ พิเศษอย่างต่อเนือ ่ ง โดยในปี 2560 บริษท ั มีปริมาณการส่งมอบผลิตภัณฑ์

กลุ่มนี้จำ�นวน 660,360 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 18 เมื่อเทียบกับปี 2559 ซึ่งเป็นผลมาจากปริมาณการจำ�หน่ายสินค้าที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจเริ่มปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น มีความต้องการการใช้เหล็กสูงขึ้น ประกอบกับสถานทางการเงินและวัตถุดิบคงคลังของบริษัทมีทิศทาง

ทีด ่ ข ี น ึ้ สามารถรับคำ�สัง่ ซือ ้ ได้มากขึน ้ ส่งผลให้เกิดภาพลักษณ์ทด ี่ ข ี น ึ้ ลูกค้าเกิดความไว้วางใจในการสัง่ สินค้า อย่างไรก็ตาม การนำ�เข้าสินค้าเหล็ก ยังอยู่ในระดับที่สูงขึ้นด้วยเช่นกัน โดยอัตราส่วนของผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มพิเศษต่อปริมาณการขายรวมอยู่ที่ประมาณร้อยละ 59 สัดส่วนปริมาณการขายผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มพิเศษต่อยอดขายรวม (ร้อยละ)

ประเภทผลิตภัณฑ์

2557

2558

2559

2560

ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มพิเศษ (Premium Value Products)

34

38

41

59

ผลิตภัณฑ์ชั้นคุณภาพทั่วไป (Commercial Products)

66

62

59

41

อุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดร้อนในประเทศไทย

อุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดร้อนต้องพึง่ พาการนำ�เข้าจากต่างประเทศมาโดยตลอด จนกระทัง่ บริษท ั ได้เปิดดำ�เนินการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อน

ชนิดม้วนขึ้นในปี 2537 เป็นแห่งแรกในประเทศไทย ในปัจจุบันมีผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนทั้งหมด 6 ราย ดังต่อไปนี้ ผู้ประกอบการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนในประเทศไทย

ผู้ประกอบการ

กำ�ลังการผลิตสูงสุด (ตันต่อปี)

เริ่มผลิต

ผลิตภัณฑ์

1. บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี

4,000,000

กุมภาพันธ์ 2537

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

2. บมจ. จี สตีล

1,800,000

ปลายปี 2542

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

3. บมจ. จี เจ สตีล

1,500,000

ไตรมาส 4 ปี 2540

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

840,000

2558

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

1,000,000

2539

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดแผ่นหนา

500,000

2539

เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดแผ่นหนา

4. บจก. ไพร์ม สตีล มิลล์ 5. บมจ. สหวิริยาเพลทมิล 6. บมจ. แอล พี เอ็น เพลทมิล


18

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

จากการอ้ า งอิ ง ถึ ง ข้ อ มู ล ความต้ อ งการเหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ น โดยตรงของประเทศไทย (Apparent Thailand HR Sheet Consumption) ของสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย

ในปี 2560 บริ ษั ท มี ส่ ว นแบ่ ง ตลาดเหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นโดยตรง ประมาณร้ อ ยละ 19 ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น จากร้ อ ยละ 15 ในปี ที่ ผ่ า นมา โดยสินค้านำ�เข้ามีสว ่ นแบ่งตลาดร้อยละ 57 หดตัวลงจากร้อยละ 63

ในปีที่ผ่านมา ในขณะที่ผู้ผลิตภายในประเทศอีก 5 ราย มีส่วนแบ่ง

ตลาดรวมกั น ประมาณร้ อ ยละ 24 ทั้ ง นี้ หากนั บ เฉพาะตลาด เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นชนิ ด ม้ ว น บริ ษั ท มี ส่ ว นแบ่ ง ตลาดร้ อ ยละ 21

ซึ่งเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 17 สินค้านำ�เข้ามีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 56

หดตัวลงจากร้อยละ 62 ในขณะที่ผู้ผลิตภายในประเทศอีก 2 ราย มีส่วนแบ่งตลาดรวมกันประมาณร้อยละ 23

การจัดหาผลิตภัณฑ์

วัตถุดิบ

เนือ ่ งจากกรรมวิธก ี ารผลิตของบริษท ั เป็นการนำ�เหล็กแท่งแบน (Slab) มาผ่านกระบวนการรีดแต่เพียงอย่างเดียว ดังนัน ้ วัตถุดิบทีใ่ ช้ ในการผลิตจึงมีเพียง Slab เท่านัน ้ ซึง่ ยังไม่มก ี ารผลิตในประเทศไทย จึงต้องนำ�เข้าจากต่างประเทศทั้งหมด

Slab มีลักษณะเป็นเหล็กแท่งยาวทรงแบน มีพื้นที่หน้าตัดทึบ

ได้จากกระบวนการถลุงและหลอมเหล็กและเหล็กกล้า (Iron & Steel

Making) เมื่ อ นำ�เข้ า เครื่ อ งหล่ อ แล้ ว จึ ง จะได้ เ หล็ ก แท่ ง แบน ซึ่ ง มี ความหนาตั้งแต่ 160 - 250 มิลลิเมตร ความกว้าง 800 - 1,550

มิลลิเมตร ความยาว 4,300 - 10,800 มิลลิเมตร น้ำ�หนัก 15.5 32.0 ตัน

เหล็กแท่งแบนในตลาดโลกมีหลายชนิดตามประเภทของเหล็ก เช่น ชนิด Low Carbon, Medium Carbon, High Carbon หรือ

Stainless และในแต่ละประเภทจะมีหลายชั้นคุณภาพ ในปัจจุบัน

การผลิต

บริษัทผลิตเหล็กประเภท Low Carbon เป็นหลัก โดยชั้นคุณภาพ

แผ่นรีดร้อนที่ต้องการผลิต ซึ่งเป็นไปตามความต้องการของลูกค้า

บริ ษั ท มี โ รงงานผลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นชนิ ด ม้ ว น จำ�นวน

1 แห่ง และโรงงานผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนประเภทล้างผิว

และเคลือบน้ำ�มัน 1 แห่ง ทั้ง 2 โรงงาน ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน ณ อำ�เภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ของเหล็กแท่งแบนที่บริษัทจะนำ�มารีดนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของเหล็ก

แหล่งที่มาและจำ�นวนผู้จำ�หน่ายวัตถุดิบ

บริษัทนำ�เข้าวัตถุดิบเหล็กแท่งแบน (Slab) จากต่างประเทศ

กำ�ลังการผลิตและนโยบายการผลิต

ทั้งหมด ซึ่งในปัจจุบันมีผู้ผลิตเหล็กแท่งแบนกระจายอยู่ตามแหล่ง

โรงงานผลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นของบริ ษั ท มี กำ�ลั ง การผลิ ต

อเมริกาใต้ ประเทศในยุโรป และออสเตรเลีย เป็นต้น โดยในปี 2560

การผลิตจริง (Effective Capacity) ที่ 3.2 ล้านตันต่อปี

ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย บราซิล ไต้หวัน เกาหลีใต้ อินเดีย และยูเครน โดย

Order) รวมทั้งการผลิต เพื่อให้มีสินค้าคงคลังประมาณ 1 เดือน

อย่างไรก็ตาม บริษัทไม่มีข้อผูกพันใดๆ ในการสั่งซื้อจากบริษัทใด

ของตลาด และความเหมาะสมทางด้านเทคนิคในการผลิต โดย

ถึ ง ปริ ม าณความต้ อ งการใช้ วั ต ถุ ดิ บ เป็ น รายปี ห รื อ รายไตรมาส

วันละ 3 กะ กะละ 8 ชั่วโมง โดยมีการหยุดซ่อมบำ�รุงประจำ�ปี ปีละ

ปริมาณความต้องการใช้ลว ่ งหน้าทำ�ให้บริษท ั สามารถลดความเสีย ่ ง

ต่ า งๆ ทั่ ว โลก เช่ น จี น กลุ่ ม ประเทศรั ส เซี ย เก่ า เกาหลี ใ ต้ ญี่ ปุ่ น

สูงสุด (Design Capacity) 4 ล้านตันต่อปี และมีประสิทธิภาพกำ�ลัง

บริษัทจัดซื้อวัตถุดิบจากผู้ผลิตจำ�นวน 7 ราย ใน 7 ประเทศ คือ

บริษัทมีนโยบายการผลิตตามคำ�สั่งซื้อของลูกค้า (Made to

วิธีการซื้อเป็นรายไตรมาส และ Spot Market ผ่านตัวแทนจำ�หน่าย

(Made to Stock) ซึ่งจะเลือกผลิตสินค้า โดยพิจารณาความต้องการ

บริษัทหนึ่ง ทั้งนี้ บริษัทจะแจ้งให้ผู้จำ�หน่ายวัตถุดิบทราบล่วงหน้า

กำ�หนดแผนการผลิตล่วงหน้าเป็นรายเดือน และจัดให้มีการผลิต

โดยการตกลงซื้ อ ขายจะขึ้ น อยู่ กั บ ราคาในแต่ ล ะช่ ว ง ซึ่ ง การแจ้ ง

1 ครั้ง ครั้งละประมาณ 10 วัน

ในด้านการขาดแคลนวัตถุดิบได้


19

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างรายได้

สายผลิตภัณฑ์ / กลุ่มธุรกิจ

ดำ�เนินการโดย

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี

ร้อยละ การถือหุ้น ของบริษัท -

2560

2559

รายได้ ร้อยละ (ล้านบาท) 24,9761)

86.27

25582) (ปรับปรุงใหม่) รายได้ ร้อยละ รายได้ ร้อยละ (ล้านบาท) (ล้านบาท) 19,4541)

94.48

19,6121)

94.15

ธุรกิจวิศวกรรม

บจก. เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง

99.99

548

1.89

346

1.68

601

2.89

ธุรกิจท่าเรือ

บจก. ท่าเรือประจวบ

51.00

238

0.82

282

1.37

244

1.17

รายได้อื่นๆ

บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี

3,129

10.81

501

2.43

363

1.74

5

0.02

3

0.01

7

0.04

56

0.19

6

0.03

4

0.02

28,952

100.00

20,592

100.00

20,831

100.00

บจก. ท่าเรือประจวบ บจก. เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง

1) 2)

รวมรายได้จากการขายให้ บมจ. เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�นวน 2,251 ล้านบาท 723 ล้านบาท และ 70 ล้านบาท ในปี 2560 ปี 2559 และปี 2558 ตามลำ�ดับ รายได้ในปี 2558 เป็นข้อมูลปรับปรุงใหม่


20

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ภาวะอุตสาหกรรม และการตลาด

อุตสาหกรรมเหล็กโลกปี 2560

และไตรมาส 4/2560 ตามลำ�ดั บ เช่ น เดี ย วกั บ ราคาวั ต ถุ ดิ บ

ต่อเนื่องจาก 440 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในไตรมาส 1/2560 มาอยู่

สมาคมเหล็กโลก หรือ World Steel Association (WSA) รายงาน

ตัวเลขประมาณการผลิตเหล็กดิบของโลก (Crude Steel Production)

ในปี 2560 อยู่ที่ 1,674 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.55 จากปี 2559

ซึ่งประเทศจีนยังคงเป็นประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ คิดเป็นประมาณ ร้อยละ 50 ของปริมาณการผลิตเหล็กดิบทั้งหมด โดยประเทศจีน มีปริมาณการผลิตเหล็กดิบทั้งสิ้น 831 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 จากปี 2559

ทัง้ นี้ ปริมาณการบริโภคสินค้าเหล็กของโลกในปี 2560 (Global

Apparent Steel Use) เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 1.3 จากปี 2559 ปัจจัยหลักยังคงมาจากการชะลอตัวของการลงทุนทั่วโลก จึงทำ�ให้

เหล็ ก แท่ ง แบน CFR East Asia Import ปรั บ ราคาเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ที่ระดับ 419, 447 และ 493 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในไตรมาส 2/2560 ไตรมาส 3/2560 และไตรมาส 4/2560 ตามลำ�ดั บ ปั จ จั ย หลั ก มาจากวัตถุดิบในกระบวนการผลิตเหล็ก ทั้งถ่านหินและสินแร่เหล็ก

มี ก ารปรั บ ราคา โดยราคาสิ น แร่ เ หล็ ก CFR China จากระดั บ

76.25 - 94.86 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในไตรมาส 1/2560 มาอยูท ่ รี่ ะดับ 53.36 - 81.54, 62.05 - 79.81 และ 59.35 - 76.36 เหรียญสหรัฐ

ต่อตัน ในไตรมาส 2/2560 ไตรมาส 3/2560 และไตรมาส 4/2560 ตามลำ�ดับ

ความต้องการใช้เหล็กปีนฟ ้ี น ้ื ตัวได้ไม่มากนัก อย่างไรก็ตามการขยายตัว

อุตสาหกรรมเหล็กในประเทศปี 2560

โดยเฉพาะประเทศเวียดนามเป็นปัจจัยทีท ่ ำ�ให้ความต้องการใช้เหล็ก

ของเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศเกิดใหม่และประเทศในกลุ่มอาเซียน ในปี 2560 กลับมาเป็นบวก

ด้านราคาเหล็กในปี 2560 นัน ้ ราคาเหล็กทุกประเภทส่วนใหญ่

ปรับราคาเพิ่มขึ้น ซึ่งในไตรมาสที่ 3 สามารถไต่ระดับราคาสูงสุด ในรอบปี โดยราคาเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน FOB China ปรับราคา

หดตั ว ลงเล็ ก น้ อ ยจากระดั บ 478 - 564 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ ตั น ในไตรมาส 1/2560 มาอยู่ที่ระดับ 420 - 522, 523 - 667 และ

595 - 658.43 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในไตรมาส 2/2560 ไตรมาส 3/2560

อุตสาหกรรมเหล็กภายในประเทศในปี 2560 มี Apparent

Steel Supply อยู่ที่ 16.6 ล้านตัน หดตัวลงร้อยละ 13.7 เมื่อเทียบ กับปี 2559 (ข้อมูลจากสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย หรือ ISIT) และเมือ ่ พิจารณาในรายผลิตภัณฑ์ พบว่าผลิตภัณฑ์เหล็ก

ทรงยาวหดตัวลงร้อยละ 32 และการบริโภคเหล็กทรงแบน หดตัวลง ร้อยละ 9.28

ในปี 2560 ปริ ม าณการผลิ ต เหล็ ก ในประเทศประมาณ

6.9 ล้านตัน หดตัวลงร้อยละ 13.7 เมื่อเทียบกับปีก่อน


21

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2560

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2560 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2560 ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทลูกหนี้ตามคำ�สั่ง

เห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการของศาลล้มละลายกลาง เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 ได้มีมติเห็นชอบแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิม เป็นคณะกรรมการตรวจสอบอีกวาระหนึ่ง โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2560 - 29 มิถุนายน 2563

ในปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทได้จัดให้มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง

คณะกรรมการตรวจสอบ

จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วม/จำ�นวนครั้งทั้งหมด

1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

ประธานกรรมการตรวจสอบ

7/7

2. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

กรรมการตรวจสอบ

5/7

3. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

กรรมการตรวจสอบ

7/7

และได้ปฏิบัติภารกิจต่างๆ ดังนี้

1. สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ

• สอบทานงบการเงินระหว่างกาลและงบการเงินรวมระหว่างกาลของบริษัท บริษัทย่อย และการร่วมค้า ซึ่งมิได้ผ่านการสอบทาน

โดยผู้สอบบัญชีของบริษัท และได้รับทราบประเด็นพิจารณาจากที่ผู้บริหารสายการเงินและบัญชีนำ�เสนอ พร้อมนำ�ประเด็นที่สำ�คัญเสนอ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

22

• สอบทานงบการเงินประจำ�ปี 2560 ของบริษท ั และงบการเงินรวมประจำ�ปี 2560 ของบริษท ั บริษท ั ย่อย และการร่วมค้า โดยประชุมร่วมกับ

ผู้สอบบัญชีและฝ่ายจัดการบริษัท และประชุมเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชี เพื่อสอบถามและรับฟังคำ�ชี้แจง และ/หรือข้อคิดเห็นในประเด็น ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายงานทางการเงิน รวมทั้งการรายงานของผู้สอบบัญชี ก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติให้เปิดเผย ไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนต่อไป

• ผู้สอบบัญชีได้รายงานการตรวจสอบงบการเงินประจำ�ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ว่าผู้สอบบัญชีไม่แสดงความเห็นต่องบการเงิน

ดังกล่าว เพราะไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นได้ เนื่องจากการถูกจำ�กัด ขอบเขตการตรวจสอบโดยสถานการณ์ ในเรือ ่ ง (1) มีเจ้าหนีท ้ ย ี่ น ื่ คำ�ขอรับชำ�ระหนีต ้ ามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การทีบ ่ ริษท ั มีการโต้แย้งในมูลหนี้ โดยเจ้าหนี้

บางรายยังอยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่มีคำ�สั่งถึงที่สุดให้ได้รับชำ�ระหนี้ และยังมีเจ้าหนี้อีกบางรายที่มียอดหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ ซึ่งได้มีคำ�สั่งถึงที่สุดให้ได้รับชำ�ระหนี้ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้วแต่เจ้าหนี้ได้ยื่นอุทธรณ์คำ�สั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และคดียังอยู่ ในระหว่างการพิจารณาของศาล และ (2) ในปี 2558 ตามที่บริษัท สหวิริยาอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ได้แสดงความจำ�นงเพื่อเลิกกิจการและบริษัท ในฐานะผู้ค้ำ�ประกันเงินกู้ให้กับ SSI UK ซึ่งผู้ให้กู้รายใหญ่ของ SSI UK ได้เรียกร้องขอให้บริษัทรับผิดชอบต่อมูลหนี้ บริษัทได้บันทึกประมาณการ หนี้สินภายใต้สัญญาค้ำ�ประกัน เงินกู้ยืมของ SSI UK ทั้งจำ�นวน ซึ่งปัจจุบัน SSI UK ยังอยู่ระหว่างกระบวนการชำ�ระบัญชี ทั้งนี้ผู้ให้กู้อาจจะได้รับ

ชำ�ระคืนหนีบ ้ างส่วนในอนาคตจากกระบวนการชำ�ระบัญชี ซึง่ จำ�นวนเงินดังกล่าวจะถูกนำ�มาหักจากประมาณการหนีส ้ น ิ ภายใต้สญ ั ญาค้ำ�ประกัน ทีบ ่ ริษท ั ได้บน ั ทึกบัญชีไว้ ทำ�ให้บริษท ั ไม่สามารถหามูลค่าหนีส ้ น ิ ทีต ่ อ ้ งจ่ายในอนาคตเพือ ่ รับรูร้ ายการ ตามมาตรฐานบัญชี ฉบับ 104 ดังนัน ้ ผูส ้ อบบัญชี จึงไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับมูลค่าของหนี้สินตามแผนฟื้นฟูกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ความเห็น : คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษัท ประจำ�ปี 2560 มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญ

ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป เป็นที่เชื่อถือได้ การรายงานของผู้สอบบัญชีเป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี

2. สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่ เ หมาะสม รวมทั้ ง พิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของ

สำ � นั ก ตรวจสอบภายในกลุ่ ม ตลอดจนให้ ค วามเห็ น ชอบในการพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย เลิ ก จ้ า งผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของสำ � นั ก

• ให้ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบประจำ�ปีของสำ�นักตรวจสอบภายในกลุ่ม รวมทั้งรับทราบรายงานผลการตรวจสอบของสำ�นัก

• พิจารณาร่างประกาศข้อพึงปฏิบัติที่ดีของผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท

ตรวจสอบภายใน ตรวจสอบภายในกลุ่ม

• ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท สำ�หรับปี 2560 ตามแบบประเมินของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ

หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ประกอบกั บ ผลการประเมิ น ตนเองของบริ ษั ท ตามแบบประเมิ น ของบริ ษั ท ผู้ ส อบบั ญ ชี รวมทั้ ง รั บ ทราบ

ผลการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทย่อย สำ�หรับปี 2560 ตามแบบประเมินของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ความเห็น : คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม และเห็นว่า

หัวหน้าสำ�นักตรวจสอบภายในมีความรู้ความสามารถเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติงานในหน้าที่

3. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท

รวมทั้งกฎ/ ระเบียบ/ ประกาศ/ คำ�สั่ง ที่ออกโดยอาศัยอำ�นาจตามกฎหมายดังกล่าว

• รายงานจากผู้สอบบัญชีว่าไม่มีประเด็นและข้อสังเกตที่ต้องแจ้งให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบตามบทบัญญัติในมาตรา 89/25

• รายงานจากสำ�นักกฎหมายกลุ่มเกี่ยวกับการติดตามความคืบหน้าของคดีความที่เกี่ยวข้องกับบริษัททุกไตรมาส

แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ความเห็น : คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า บริษัทได้จัดให้มีการติดตามดูแลการถือปฏิบัติตามกฎหมายที่เหมาะสม และได้รับรายงาน

4.

สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยงของบริษัท โดยมุ่งเน้นในความเสี่ยงที่สำ�คัญของบริษัท

จากฝ่ายจัดการบริษัทเกี่ยวกับความคืบหน้าของคดีความที่เกี่ยวข้องกับบริษัททุกไตรมาส

• ติ ด ตามรายงานการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ สำ�คั ญ ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยจากคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น รายไตรมาส

และผลการประเมินความเสี่ยงของบริษัทที่อาจเกิดการทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นรายปี

• รายงานระบบและหลักเกณฑ์ในการบริหารความเสี่ยงของบริษัท เป็นรายปี

ความเห็น : คณะกรรมการตรวจสอบเห็นด้วยกับข้อเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีข้อสังเกตเพิ่มเติมเกี่ยวกับ

การบริหารความเสี่ยงในบางประเด็น และเห็นว่าระบบการบริหารความเสี่ยงของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสมแล้ว


23

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.

พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัท

• พิจารณา คัดเลือก และเสนอแนะให้แต่งตั้ง นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ หรือ นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์ หรือ นายนพฤกษ์

พิษณุวงษ์ แห่งบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท ประจำ�ปี 2561 ซึ่งเป็นรายเดียวกับปี 2560 โดยจำ�นวนเงินค่าสอบบัญชี สำ�หรับปี 2561 เท่ากับปี 2560

6. พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์

และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท รวมทั้งกฎ/ ระเบียบ/ ประกาศ/ คำ�สั่ง ที่ออกโดยอาศัยอำ�นาจ

• รายการซื้อขายสินค้ากับบริษัทที่เกี่ยวโยงกัน และติดตามรายงานลูกหนี้/เจ้าหนี้ที่เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

• พิจารณาร่างบันทึกข้อตกลงการไม่ใช้สิทธิเรียกร้องซึ่งกันและกันจากการร่วมค้ำ�ประกันหนี้เงินกู้วงเงินหมุนเวียน บี (Revolving

ตามกฎหมายดังกล่าว

• รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท

Facility B) ของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ที่ได้ผ่านความเห็นชอบจากสำ�นักกฎหมายกลุ่มและบริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์ และพาร์ทเนอร์ส จำ�กัด (WCP) ซึ่งทำ�หน้าที่เป็นบริษัทที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทแล้ว

ความเห็น : คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า บริษัทได้ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่กำ�หนด

7. พิจารณาในเรื่องสำ�คัญที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องของบริษัท

พิจารณาให้ฝ่ายจัดการติดตามทวงถามและเร่งรัดหนี้ที่ค้างชำ�ระเกินกำ�หนดจากลูกหนี้ที่เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด

8. อื่นๆ

• ทบทวนประกาศบริษัท เรื่อง ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท (ฉบับที่ 4)

• ประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2560 เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท

• ติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการตรวจสอบ

• สอบทานข้อมูลที่เปิดเผยไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ในรายงานประจำ�ปี 2560 (แบบ 56-2) และในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ของบริษัท (แบบ 56-1)

• พิจารณาข้อมูลคุณสมบัติของผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และผู้ควบคุมดูแลการทำ�บัญชี (สมุห์บัญชี)

• รายงานสรุปผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ สำ�หรับปี 2560 ต่อคณะกรรมการบริษัท

ของบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตอำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ มี ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ตามที่ กำ�หนด ด้วยความเป็นอิสระ การแสดงความเห็นได้ยึดหลักความโปร่งใส สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ โดยคำ�นึงถึงหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 26 กุมภาพันธ์ 2561


24

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ปี 2560

1. “คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง” ได้รบ ั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษท ั ตามมติทป ี่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั เมือ ่ วันที่ 3 ธันวาคม

2550 เพือ ่ ทำ�หน้าทีช ่ ว ่ ยคณะกรรมการบริษท ั ในการกำ�กับดูแลงานด้านการบริหารความเสีย ่ ง โดยคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งจะประกอบด้วย

กรรมการบริษท ั อย่างน้อย 3 คน และมีผช ู้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สายการเงินและบัญชี ทำ�หน้าทีเ่ ป็นเลขานุการของคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงที่ดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี 2559 มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 4 ธันวาคม 2559 จนถึง

วันที่ 3 ธันวาคม 2562 มีรายชื่อดังต่อไปนี้

1 นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

เป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

3. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง

2. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง

2. 2.1 “คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง” ทำ�หน้าที่กำ�กับดูแลงานด้านการบริหารความเสี่ยงของบริษัท โดยพิจารณาสอบทานรายงาน

การบริหารความเสี่ยงเพื่อติดตามความเสี่ยงที่สำ�คัญ และให้ข้อเสนอเพิ่มเติมสำ�หรับการจัดการความเสี่ยงรวมถึงนำ�เสนอนโยบายการบริหาร

ความเสี่ ย ง รวมทั้ ง ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการพั ฒ นาระบบบริ ห ารความเสี่ ย งให้ แ ก่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ทราบ เพื่ อ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระของ คณะกรรมการในการกำ�กับดูแลการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร โดยในปี 2560 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ทำ�การพิจารณาทบทวน

และให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ฝ่ายจัดการ ประเมินปัจจัยเสี่ยง แผนการบริหารความเสี่ยงและความเหมาะสมของขนาดความเสี่ยง ในการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงที่จัดขึ้นเป็นรายไตรมาส ในเดือนมกราคม พฤษภาคม กรกฎาคม และตุลาคม 2560 รวมทั้งหมด 4 ครั้ง

เพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทมีการดำ�เนินการบริหารความเสี่ยงตามขบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ และเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อบริษัทในอนาคต

2.2 ในปี 2560 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้พิจารณาความเสี่ยงที่สำ�คัญของบริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด (“WCE”)

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด (“PPC”) และการชำ�ระบัญชีของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด (“SSI UK”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท และอาจมีผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัทได้

2.3 นอกจากความเสี่ ย งในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ โดยปกติ ข องบริ ษั ท แล้ ว ในปี 2560 ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ เ ข้ า สู่ ก ระบวนการฟื้ น ฟู กิ จ การ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงยังได้พิจารณาความเสี่ยงของบริษัท ในการดำ�เนินการตามแผนฟื้นฟูกิจการ (Rehabilitation) ผลกระทบต่อ หลักทรัพย์จดทะเบียนของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และการดำ�รงอยู่ในระหว่างการพักชำ�ระหนี้ (Automatic Stay) ของบริษัท รวมถึงมาตรการ ดำ�เนินการของบริษัทเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายการฟื้นฟูกิจการตามที่ตั้งไว้ได้

2.4 คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งรับทราบรายงานแผนงบประมาณและรายงานการวิเคราะห์ Sensitivity Study ประจำ�ปี 2560 จาก

2.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงพิจารณาความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัท ประจำ�ปี 2560 ตามที่บริษัทได้เข้าร่วม

ปัจจัยเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน, ด้าน Metal Spread และด้านปริมาณการจัดส่งสินค้า เพื่อประเมินผลกระทบต่อกำ�ไรและภาพรวมของธุรกิจ โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

2.6 อื่นๆ

• พิจารณารายงานระบบและหลักเกณฑ์การบริหารความเสี่ยงของบริษัท และนำ�เสนอคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อให้คณะ

• พิจารณารายงานปัจจัยเสี่ยงของบริษัท เพื่อเปิดเผยในในรายงานประจำ�ปี 2560

กรรมการตรวจสอบสามารถสอบทานและมีความเห็นต่อความเพียงพอของระบบการบริหารความเสี่ยงของบริษัท

• พิจารณาการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ประจำ�ปี 2560 ตาม “แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ

ชุดย่อยแบบรายคณะ” และ “แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยแบบรายบุคคล” ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ดร.ทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561


25

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

บริษท ั ได้เข้าสูก ่ ระบวนการฟืน ้ ฟูกจ ิ การ โดยศาลล้มละลายกลาง

(“ศาล”) ได้มีคำ�สั่งเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559 ให้บริษัทฟื้นฟูกิจการ

1. ความเสี่ยงด้านการตลาด

แผนฟื้นฟูกิจการได้ระบุให้บริษัทเป็นผู้บริหารแผน ทั้งนี้ ในปี 2560

ภายใต้กระบวนการฟืน ้ ฟูกิจการ อย่างไรก็ตาม บริษท ั ยังคงตระหนัก

และราคาวั ต ถุ ดิ บ ของบริ ษั ท เป็ น ความเสี่ ย งที่ อ าจส่ ง ผลกระทบ

และตั้ ง บริ ษั ท เป็ น ผู้ ทำ�แผน จนกระทั่ ง “ศาล” มี ม ติ เ ห็ น ชอบ แผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 โดยใน

บริษท ั ในฐานะผูบ ้ ริหารแผน ยังสามารถดำ�เนินธุรกิจหลักได้โดยปกติ ถึงความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อบริษัท

โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทำ�หน้าที่ช่วยคณะกรรมการ บริ ษั ท ในฐานะผู้ บ ริ ห ารแผนฟื้ น ฟู กิ จ การ ในการกำ�กั บ ดู แ ลงาน ด้านการบริหารความเสี่ยง มีการติดตามและประเมินความเสี่ยง ที่ สำ�คั ญ และคณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้ า ที่ ส อบทานระบบ

การบริหารความเสี่ยงและติดตามการบริหารความเสี่ยงที่สำ�คัญ

โดยตลอดปี 2560 ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การการทบทวน และประเมินปัจจัยเสี่ยงพร้อมกับกำ�หนดมาตรการควบคุมเพื่อลด

ความเสี่ยงเป็นรายไตรมาส ความเสี่ยงหลักและการบริหารจัดการ ความเสี่ยงที่สำ�คัญในปี 2560 สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

• ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคา ปริมาณและส่วนต่างราคาขายและราคาวัตถุดิบ ของบริษทั

ความผันผวนของราคา ปริมาณและส่วนต่างราคาขาย

ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและอาจทำ�ให้บริษัทไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายทางธุรกิจทีว ่ างแผนไว้ได้ ซึง่ การเปลีย ่ นแปลงทางเศรษฐกิจ

ภาวการณ์ แ ข่ ง ขั น ในอุ ต สาหกรรม รวมทั้ ง การเปลี่ ย นแปลงอื่ น ๆ

ที่เกิดขึ้นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ มีผลกระทบต่อราคา และความต้ อ งการบริ โ ภควั ต ถุ ดิ บ เหล็ ก แท่ ง แบนและสิ น ค้ า เหล็ ก

แผ่นรีดร้อนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยบริษัทสรุปปัจจัยเสี่ยง ที่สำ�คัญที่มีผลต่อราคา ปริมาณและส่วนต่างระหว่างราคาขายและ ราคาวัตถุดิบของบริษัท ได้ดังต่อไปนี้


26

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

1) ด้ า นอุ ป สงค์ : ปั จ จั ย ทางเศรษฐกิ จ ในภาพรวมทั้ ง

3) ติ ด ตามสถานการณ์ ต ลาดทั้ ง ภายในประเทศและ

อุปโภคบริโภค นโยบายการลงทุนของภาคเอกชนและภาครัฐที่มี

ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การสั่ ง ซื้ อ และการนำ�เข้ า วั ต ถุ ดิ บ เหล็ ก แท่ ง แบน

ภายในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงสถานการณ์ตลาดสินค้า

การเปลี่ ย นแปลงส่ ง ผลต่ อ ความต้ อ งการบริ โ ภคสิ น ค้ า เหล็ ก แผ่ น รีดร้อน ทำ�ให้ไม่สามารถส่งมอบสินค้าได้ในปริมาณและราคาซึ่งได้ วางแผนกำ�หนดไว้

2) ด้านอุปทาน : ปริมาณการส่งมอบในประเทศทั้งจาก

สิ น ค้ า นำ�เข้ า และปริ ม าณการส่ ง มอบของคู่ แ ข่ ง ภายในประเทศ ซึ่ ง อาจส่ ง ผลต่ อ ปริ ม าณการขายของบริ ษั ท รวมถึ ง นโยบายทาง

การค้าของภาครัฐที่ส่งผลถึงปริมาณนำ�เข้าสินค้าเหล็กแผ่นรีดร้อน ทุ่มตลาดจากต่างประเทศ

3) ปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อราคาสินค้าและ Metal

Spread เช่น ปริมาณและราคาของวัตถุดิบเหล็กแท่งแบน อัตรา

แลกเปลี่ ย น อั ต ราดอกเบี้ ย ค่ า ขนส่ ง และรวมถึ ง ระยะเวลา ในการขนส่ง เป็นต้น

ต่ า งประเทศเพื่ อ นำ�มาใช้ วิ เ คราะห์ แ ละพิ จ ารณาการขายสิ น ค้ า

จากต่างประเทศ ตลอดจนแสวงหาแหล่งนำ�เข้าวัตถุดิบให้มากขึ้น

เพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูง ราคาต่ำ� ปริมาณที่เพียงพอ ต่อความต้องการ และสามารถส่งมอบได้ในระยะเวลาอันสั้น

4) ดำ�เนินการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับการขาย และเร่งรัดระยะเวลาในการส่งมอบให้เร็วขึ้น

5) ติดตามสถานการณ์การทุม ่ ตลาดของสินค้านำ�เข้าจาก

ต่างประเทศ การนำ�เข้าอย่างไม่เป็นธรรม รวมทั้งมีการดำ�เนินการ อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว

6) มุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม สำ�หรั บ การใช้ ง านแบบเฉพาะของลู ก ค้ า ผู้ ใ ช้ ง านกลุ่ ม ต่ า งๆ เช่ น กลุ่มผู้ใช้งานก่อสร้าง กลุ่มผู้ใช้งานโครงสร้างรถบรรทุก เป็นต้น

2. ความเสี่ยงด้านการเงิน

และส่วนต่างราคาขายและราคาวัตถุดิบของบริษัทดังกล่าวข้างต้น

1) บริหารการจัดซือ ้ วัตถุดบ ิ ด้วยความระมัดระวังในราคา

ไม่ ส ามารถที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามภาระผู ก พั น ต่ า งๆ เมื่ อ ครบกำ�หนด

จากปั จ จั ย เสี่ ย งความผั น ผวนด้ า นราคาและปริ ม าณ บริษัทได้มีมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงที่สำ�คัญ ดังนี้

ที่ จ ะทำ�ให้ บ ริ ษั ท มี ส่ ว นต่ า งระหว่ า งราคาขายและราคาวั ต ถุ ดิ บ ตามที่ต้องการและในจำ�นวนที่คาดว่าจะขายได้ ซึ่งการดำ�เนินธุรกิจ ตามปกติของบริษัทนั้นจำ�เป็นต้องมีสินค้าคงคลัง ซึ่งประกอบด้วย

วัตถุดิบและสินค้าสำ�เร็จรูปในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้การขาย และการผลิ ต ของบริ ษั ท สามารถดำ�เนิ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

และลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคา รวมทั้งลดค่าใช้จ่าย ในการจัดเก็บ

2) มุ่งเน้นการผลิตที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า เป็นหลัก รวมถึงกำ�หนดประเภทของลูกค้าอย่างชัดเจน เพื่อรักษา

ฐานลูกค้าเดิม และเพิม ่ กลุม ่ ลูกค้าใหม่ โดยกลยุทธ์การขายทีย ่ ด ื หยุน ่ อีกทัง้ ยังง่ายในการปรับใช้ได้กบ ั ลูกค้าทีม ่ ค ี วามต้องการทีห ่ ลากหลาย

แตกต่างกัน เพือ ่ ลดปัจจัยความเสีย ่ งเรือ ่ งการแข่งขันในสภาวะตลาด ที่ผันผวนของอุตสาหกรรม

• ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง หมายถึง ความเสี่ยงที่บริษัท

อั น เนื่ อ งจากบริ ษั ท ไม่ ส ามารถเปลี่ ย นสิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น เงิ น สด หรื อ

ไม่สามารถจัดหาเงินในจำ�นวนที่เพียงพอกับความต้องการภายใน

ระยะเวลาที่ กำ�หนดและมี ต้ น ทุ น ที่ เ หมาะสม ซึ่ ง อาจทำ�ให้ เ กิ ด ความเสียหายต่อบริษัทได้ โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำ�คัญที่ส่งผลกระทบ

ต่อสภาพคล่องของบริษัท เป็นผลต่อเนื่องมาจากยอดขายที่อาจ ไม่เป็นไปตามแผนและลูกหนี้การค้าที่ไม่สามารถชำ�ระหนี้ได้ตาม กำ�หนดชำ�ระหนี้ ซึ่งกระทบกับกระแสเงินสดรับ กระแสเงินสดจ่าย และเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท


27

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยเสีย ่ งด้านสภาพคล่องของบริษท ั ในปี 2560 นอกจาก

ปริ ม าณและราคาขายสิ น ค้ า ที่ มี ค วามผั น ผวน และลู ก หนี้ ก ารค้ า

ที่ ไ ม่ ส ามารถชำ�ระหนี้ ไ ด้ ต ามกำ�หนดแล้ ว บริ ษั ท ยั ง มี ภ าระหนี้ ที่ต้องชำ�ระตามแผนฟื้นฟูกิจการ หลังจากที่ “ศาล” มีมติเห็นชอบ

ด้วยแผนฟื้นฟูกิจการตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2559 อย่างไรก็ตาม

บริ ษั ท ได้ มี ก ารติ ด ตามระดั บ เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นอย่ า งใกล้ ชิ ด ผ่านการจัดทำ�ประมาณการกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่าย อย่ า งสม่ำ� เสมอ เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง ความต้ อ งการสภาพคล่ อ ง ในอนาคตและมีเวลาเตรียมการที่เพียงพอในการหาทางแก้ปัญหา

สภาพคล่ อ งได้ ทั น การณ์ บริ ห ารจั ด การและให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ การขายสินค้าและสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างรายได้และมูลค่าเพิ่ม

ให้ กั บ สิ น ค้ า ลดค่ า ใช้ จ่ า ยในด้ า นต้ น ทุ น การผลิ ต และค่ า ใช้ จ่ า ย ด้านอื่นๆ อย่างเข้มงวด นอกจากนี้ ยังมีการประชุมหารือร่วมกับ

คณะกรรมการเจ้ า หนี้ อ ย่ า งสม่ำ� เสมอทุ ก เดื อ นในการติ ด ตาม

การดำ�เนินการตามแผนฟื้นฟูกิจการ และการติดตามการจัดการ เงินสดโดยผูส ้ อบทานกระแสเงินสด เพือ ่ ให้มน ่ั ใจว่าบริษท ั มีการบริหาร จัดการเงินสดได้อย่างเหมาะสม

• ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ

เนื่ อ งจากการซื้ อ เหล็ ก แท่ ง แบนซึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก

ในการผลิ ต ของบริ ษั ท เป็ น การนำ�เข้ า จากต่ า งประเทศทั้ ง จำ�นวน

ทำ�ให้ บ ริ ษั ท มี ภ าระรายจ่ า ยคงค้ า งที่ เ ป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศ ในขณะที่ ร ายรั บ ของบริ ษั ท ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การขายในประเทศ

นอกจากนี้ บริษัทยังมีหนี้สินตามแผนฟื้นฟูกิจการบางส่วนที่เป็น เงินตราต่างประเทศ บริษท ั จึงมีความเสีย ่ งจากการเปลีย ่ นแปลงของ

อัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้น อันเป็นผลมาจากการที่อัตราแลกเปลี่ยน มีความผันผวน จนอาจส่งผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษท ั ทั้งนี้ ฝ่ายจัดการได้มีการบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของ

อัตราแลกเปลี่ยนภายใต้นโยบายที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัท โดยจะใช้วิธีการ Matching คือการนำ�รายได้สกุลเดียวกัน

จากคู่ ค้ า รายหนึ่ ง มา Match กั บ รายจ่ า ยที่ ต้ อ งชำ�ระให้ แ ก่ คู่ ค้ า

อี ก รายหนึ่ ง ส่ ว นที่ เ หลื อ จะทำ�สั ญ ญาซื้ อ ขายอั ต ราแลกเปลี่ ย น ล่วงหน้า (Forward Contract)

ในปี 2560 จากการที่ บ ริ ษั ท ได้ เ ข้ า สู่ ก ระบวนการฟื้ น ฟู

กิจการและอยูใ่ นระหว่างการพักชำ�ระหนี้ (Automatic Stay) ส่งผลให้

บริ ษั ท ถู ก ระงั บ วงเงิ น ในการทำ�สั ญ ญาซื้ อ ขายอั ต ราแลกเปลี่ ย น ล่วงหน้า (Forward Contract) ทีใ่ ช้เพือ ่ ลดความเสีย ่ งจากความผันผวน

ของอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ ทำ�ให้ ไ ม่ ส ามารถ

ปิ ด ความเสี่ ย งจากความผั น ผวนของอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่างประเทศได้ ดังนั้น เพื่อช่วยลดความเสี่ยงจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลีย ่ นในระหว่างทีถ ่ ก ู ระงับวงเงินในการทำ�สัญญาซือ ้ ขาย อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Contract) บริษัทได้เปิดบัญชี

เงินฝากเงินตราต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit: FCD) ไว้ สำ�หรั บ การถื อ เงิ น ตราต่ า งประเทศในระหว่ า งที่ ถู ก ระงั บ วงเงิ น อย่ า งไรก็ ต าม ในช่ ว งครึ่ ง หลั ง ของปี บริ ษั ท ได้ รั บ อนุ มั ติ ว งเงิ น

ในการทำ�ธุ ร กรรมการซื้ อ หรื อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศล่ ว งหน้ า

สำ�หรับการซือ ้ วัตถุดบ ิ และอยูใ่ นระหว่างการขออนุมต ั ว ิ งเงินดังกล่าว เพิม ่ เติม ส่งผลให้ความเสีย ่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย ่ น เงินตราต่างประเทศลดลง

• ความเสี่ยงจากการให้สินเชื่อทางการค้า

ความเสี่ยงจากการให้สินเชื่อทางการค้าเป็นความเสี่ยง

ที่เกิดจากการที่ลูกค้าของบริษัทไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขและ

ข้อตกลงในสัญญาซือ ้ ขายทีไ่ ด้ตกลงร่วมกันไว้ ทำ�ให้ไม่สามารถชำ�ระหนี้ ได้เมื่อครบกำ�หนด ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินของบริษัท

ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได้ มุ่ ง เน้ น และให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ คุ ณ ภาพ

ของสิ น เชื่ อ การควบคุ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการติ ด ตามหนี้ ระบบ

การควบคุ ม ภายในที่ ดี และรวมถึ ง นโยบายการปล่ อ ยสิ น เชื่ อ ที่เข้มงวด การทบทวนการให้สินเชื่อ ตลอดจนอำ�นาจในการอนุมัติ สินเชื่อ เพื่อให้เกิดมาตรฐานในการให้สินเชื่ออย่างต่อเนื่อง และ

เพือ ่ จำ�กัดความเสีย ่ งจากสินเชือ ่ ทีไ่ ม่กอ ่ ให้เกิดรายได้ให้อยูใ่ นเกณฑ์

ทีไ่ ม่มากจนกระทบกับผลการดำ�เนินงานโดยรวมของบริษท ั ซึง่ บริษท ั ได้มีการดำ�เนินการติดตามยอดหนี้คงค้างเกินกำ�หนดอย่างใกล้ชิด

โดยร่ ว มกำ�หนดแผนการชำ�ระเงิ น และกำ�หนดนโยบายสิ น เชื่ อ ในการให้ ชำ�ระหนี้ ค งค้ า งเกิ น กำ�หนดก่ อ นที่ จ ะส่ ง มอบสิ น ค้ า ใหม่ ให้กับลูกค้า


28

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

3. ความเสี่ยงด้านการผลิต

ที่ดำ�เนินการแล้ว และคิดค้นโครงการใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

โครงการต่างๆ ที่สำ�คัญ เช่น (1) โครงการ Zero Scrap (2) โครงการ

• ความเสี่ยงด้านกระบวนการผลิตและเทคโนโลยี ในการผลิต

และลดต้นทุนการผลิต รวมทั้งมีการปรับปรุงด้านคุณภาพ โดยมี ลดอุ ณ หภู มิ เ ผาไหม้ ใ นเตาเผา (3) โครงการลดความสิ้ น เปลื อ ง

ในการผลิตสินค้าเหล็กแผ่นรีดร้อน บริษัทมีความเสี่ยง

การใช้งานลูกรีดของแท่นรีดละเอียด (4) โครงการซ่อมบำ�รุง Edge

ในการผลิต โดยความเสี่ยงที่สำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต

ควบคุมเครื่องม้วนเก็บแบบอัตโนมัติเพื่อลดของเสียจากการกดทับ

สำ�คัญที่อาจเสียหายจากการใช้งาน ความเสี่ยงจากกระบวนการ

ข้อมูลของระบบควบคุมการผลิตด้วยตนเอง (7) โครงการเพิ่มอัตรา

ลู ก ค้ า หรื อ ไม่ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้ า บางเกรดได้ รวมถึ ง ความเสี่ ย ง

การบำ�รุงรักษาด้วยตนเองทีท ่ ก ุ คนมีสว ่ นร่วม (TPM) และ (9) โครงการ

และความเสี่ ย งจากเครื่ อ งจั ก รไม่ พ ร้ อ มใช้ ง านเนื่ อ งจากอะไหล่

สิ่งแวดล้อมในองค์กรด้วย BBS

เหล็กแผ่นรีดร้อน หรืออาจทำ�ให้ตอ ้ งหยุดการผลิต และมีผลต่อเนือ ่ ง ต่อการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าอีกด้วย

บริษัทมีขั้นตอนในการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อแก้ไขปัญหา

เหตุการณ์วาตภัย อุทกภัย และอัคคีภัย ซึ่งจะก่อให้เกิดการสูญเสีย

เพื่อเตรียมอะไหล่สำ�รองให้มีความพร้อมใช้งานตลอดเวลา รวมถึง

คณะทำ�งาน และเตรียมความพร้อมทั้งด้านบุคลากรและอุปกรณ์

ประสิทธิภาพของการควบคุมคุณภาพมีความแม่นยำ�สูงขึ้น จึงทำ�

ความเสี ย หายในด้ า นทรั พ ย์ สิ น ความเสี ย หายของสิ น ค้ า และ

เพื่อช่วยในการตัดสินใจแบบ Real Time ซึ่งจะทำ�ให้สามารถรับรู้

ชะงักทางธุรกิจที่อาจเกิดขึ้นจากอัคคีภัยหรือภัยธรรมชาติ

ทำ� ใ ห้ ช่ ว ย ล ด ก า ร เ กิ ด สิ น ค้ า ด้ อ ย คุ ณ ภ า พ จำ� น ว น ม า ก ไ ด้

บางสะพาน ทำ�ให้สน ิ ค้า เครือ ่ งจักร ระบบสาธารณูปโภคของโรงงาน

สิ น ค้ า ให้ เ หมาะสมกั บ การใช้ ง านของลู ก ค้ า เพื่ อ ลดการผิ ด พลาด

ทดแทนจากการทำ�ประกันภัย ทั้งนี้ หลังเหตุการณ์น้ำ�ท่วมดังกล่าว

ให้ ลู ก ค้ า จะมี ค วามสม่ำ� เสมอ นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี

ที่อาจเกิดขึ้นอีก สำ�หรับด้านอัคคีภัยบริษัทได้มีการซ้อมแผนฉุกเฉิน

ด้านให้ลดลงอีกด้วย โดยคณะทำ�งานจะทำ�หน้าที่ในการวิเคราะห์

ความพร้อมให้กับพนักงานหากเกิดเหตุฉุกเฉินในอนาคต

ด้านการผลิตทัง้ ทีม ่ าจากเครือ ่ งจักร กระบวนการผลิต และเทคโนโลยี

Induction Heater โดยบุคลากรภายในบริษัท (5) โครงการระบบ

และเทคโนโลยีในการผลิต ประกอบด้วยความเสี่ยงจากเครื่องจักร

ชิน ้ งานทีผ ่ ด ิ ปกติ (6) โครงการปรับปรุงและถ่ายโอนโปรแกรมพร้อมทัง้

ผลิตที่ไม่เหมาะสมทำ�ให้ผลิตสินค้าผิดไปจากความต้องการของ

การผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนกัดกรดและเคลือบน้ำ�มัน (8) โครงการ

จากความสูญเสียของกระบวนการผลิต (Yield Loss) จำ�นวนมาก

Zero Accident (10) โครงการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยและ

ล้าสมัย (Obsolete Part) ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการผลิตสินค้า

• ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ อัคคีภัย และเหตุฉกุ เฉินอื่นๆ

เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อกระบวนการผลิต

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น หากเกิ ด

และบริหารความเสี่ยง จัดทำ�และทบทวนแผนบริหารวัสดุคงคลัง

โอกาสในการผลิต และการส่งมอบ จึงได้มีการบริหารจัดการตั้ง

มีการนำ�เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิต และเพื่อให้

เพื่อตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน รวมถึงการทำ�ประกันภัยที่ครอบคลุม

การติดตั้งระบบการตรวจสอบผิว (Surface Inspection System)

ผลิตภัณฑ์ทอ ี่ าจเกิดจากเหตุการณ์ตา ่ งๆ ดังกล่าว ตลอดจนการหยุด

และปรับปรุงกระบวนการผลิตได้อย่างทันทีทผ ่ี ลิตภัณฑ์ไม่ได้คณ ุ ภาพ

และบริ ษั ท ยั ง มี ก ารจั ด หาระบบอั ต โนมั ติ ใ นการบริ ห ารคุ ณ ภาพ

และบ้านพักพนักงานได้รับความเสียหาย โดยบริษัทได้รับสินไหม

จากการตัดสินใจของผูป ้ ฏิบต ั งิ าน ทำ�ให้ระดับคุณภาพสินค้าทีส ่ ง่ มอบ

บริษัทได้มีการยกระดับมาตรการในการรองรับเหตุการณ์อุทกภัย

คณะทำ�งานในการพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อแก้ไขปัญหาแต่ละ

ไปแล้วทั้งหมด 18 ครั้ง ในปี 2560 เพื่อเป็นการทบทวนและเตรียม

วางแผนการปรั บ ปรุ ง และปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในโครงการ

ในช่วงต้นปี 2560 เกิดเหตุการณ์อุทกภัยในพื้นที่อำ�เภอ


29

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชนในพื้นที่ในทุกๆ ด้าน ทั้งในด้าน

4.

ด้านความปลอดภัย รวมถึงด้านเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่

จากการทีบ ่ ริษท ั ได้ยน ื่ คำ�ร้องขอฟืน ้ ฟูกจ ิ การต่อศาลล้มละลาย

• ความเสี่ยงจากการผลิตที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน

บริษท ั ได้ประเมินปัจจัยเสีย ่ งจากการผลิตทีอ ่ าจมีผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ า นการใช้ ท รั พ ยากร ด้ า นสั ง คมความเป็ น อยู่ เพื่ อ ลดผลกระทบที่ อ าจเกิ ด จากการผลิ ต ของบริ ษั ท ต่ อ ชุ ม ชนภายนอก บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การตามมาตรฐานระบบ การจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2015 และติดตามการเปลีย ่ นแปลง

กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทได้เลือกใช้

เชื้อเพลิงน้ำ�มันเตาที่มีกำ�มะถันต่ำ� ไม่เกินร้อยละ 2 มีการควบคุม และตรวจสอบระบบการเผาไหม้ให้มีการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ควบคุม

ตรวจสอบอุปกรณ์ระบบบำ�บัดอากาศและระบบบำ�บัดน้ำ�ให้พร้อมใช้ งานเสมอ มีการนำ�น้ำ�ที่บำ�บัดแล้วหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ทั้งหมด

โดยไม่มีการระบายออกสู่ภายนอก ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ และน้ำ�ไม่เกินมาตรฐานที่ราชการกำ�หนด ดำ�เนินการตรวจประเมิน

บริษัทรับกำ�จัดกากของเสียและใช้บริการบริษัทรับกำ�จัดกากที่ได้

รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม และติดตามตรวจสอบ การขนส่งจนเสร็จสิ้นกระบวนการกำ�จัดของเสีย นอกจากนี้ ยังได้

มี ก ารฝึ ก ซ้ อ มแผนตอบสนองเหตุ ฉุ ก เฉิ น จากการผลิ ต เพื่ อ ลด ผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น

ในส่ ว นของผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น เนื่ อ งจาก

การขนส่ ง สิ น ค้ า บริ ษั ท มี ก ารควบคุ ม รถขนส่ ง สิ น ค้ า ของบริ ษั ท ในเครือสหวิริยา และติดตามผลการดำ�เนินงานผ่านคณะขับเคลื่อน สภาผู้นำ�ชุมชน มีกิจกรรมต่างๆ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการขนส่ง เช่น การอบรมพนักงานขับรถ การติดตัง้ กล้องวงจรปิดเพือ ่ ตรวจสอบ

พฤติ ก รรมการขั บ รถผ่ า นพื้ น ที่ ชุ ม ชน รวมถึ ง ติ ด ตั้ ง ระบบ GPS กับรถขนส่งทุกคันและมีการควบคุมผ่านศูนย์ควบคุมตลอด 24 ชัว ่ โมง

และการตั้ ง จุ ด ตรวจวั ด ความพร้ อ มของพนั ก งานขั บ รถระหว่ า ง เส้ น ทางขึ้ น กรุ ง เทพฯ รวมถึ ง มี ส ถานที่ ใ ห้ พั ก ผ่ อ นให้ กั บ พนั ก งาน ขับรถ เป็นต้น

ความเสี่ยงจากการที่ ไม่สามารถดำ�เนิน กระบวนการฟื้นฟูกิจการให้สำ�เร็จ หรือกระบวนการฟื้นฟูกิจการเกิดความล่าช้า จนเกิดความเสียหายต่อการดำ�เนินกิจการ

กลางในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 และอยู่ระหว่างกระบวนการฟื้นฟู กิจการภายใต้พระราชบัญญัติลม ้ ละลายตามคำ�สัง่ “ศาล” ให้บริษท ั

ฟื้ น ฟู กิ จ การ การเข้ า สู่ ก ระบวนการฟื้ น ฟู กิ จ การในขั้ น ตอนใดๆ อาจถูกคัดค้านจากเจ้าหนี้ หรือมีเหตุให้ไม่ได้รับความเห็นชอบจาก

ศาล จนส่งผลให้ฟน ื้ ฟูกจ ิ การล่าช้าหรือไม่สำ�เร็จ ซึง่ อาจมีผลให้บริษท ั อาจถูกเจ้าหนี้ฟ้องล้มละลายได้ เพราะหาก “ศาล” มีคำ�สั่งยกเลิก ฟืน ้ ฟูกจ ิ การแล้ว บริษท ั ก็จะไม่ได้รบ ั ความคุม ้ ครองตามมาตรา 90/12 ในเรื่อง สภาวะการพักชำ�ระหนี้ (Automatic Stay) อีกต่อไป

ในปี 2560 บริษัทได้ดำ�เนินการตามที่กำ�หนดไว้ในแผนฟื้นฟู

• บริษท ั ชำ�ระหนีต ้ ามกำ�หนดแก่เจ้าหนีต ้ ามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ

กิจการ ดังนี้

ในปี 2560 เป็ น เงิ น ต้ น 1,538,882,372.18 บาท และดอกเบี้ ย 95,230,004.72 บาท โดยรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,634,112,376.90 บาท ซึ่งเป็นการชำ�ระหนี้ได้ตามที่กำ�หนดในแผนฟื้นฟูกิจการ

• บริษท ั มียอดชำ�ระหนีเ้ งินต้นก่อนกำ�หนดจากกระแสเงินสด

ส่วนเกิน สำ�หรับงบการเงินปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

รวมเป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น 1,144,405,000 บาท โดยเป็ น เงิ น ต้ น ก่ อ น กำ�หนดจากกระแสเงินสดส่วนเกินสำ�หรับงวด 6 เดือน สิ้นสุดวันที่

30 มิถุนายน 2560 จำ�นวน 279,505,000 บาท และสำ�หรับงวด 6 เดือน สิน ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำ�นวน 864,900,000 บาท

• ปรั บ โครงสร้ า งทุ น โดยการลดทุ น ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ จั ด สรร

โดยวิธีการตัดหุ้นที่ยังไม่ได้เรียกชำ�ระจำ�นวน 18,097,401,000 หุ้น ลดทุนโดยการลดจำ�นวนหุ้นจำ�นวน 31,053,243,844 หุ้น และเพิ่ม

ทุนจดทะเบียนโดยการออกหุ้นสามัญจำ�นวน 10,000,000,000 หุ้น เพื่ อ รองรั บ การแปลงหนี้ เ ป็ น ทุ น ทำ�ให้ ณ สิ้ น ปี 2560 บริ ษั ท

มี ทุ น จดทะเบี ย นจำ�นวน 11,113,018,280 บาท แบ่ ง ออกเป็ น หุ้นสามัญจำ�นวน 11,113,018,280 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท


30

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

บริ ษั ท ได้ ติ ด ตามและรายงานความคื บ หน้ า การปฏิ บั ติ ต าม

ทุ ก ไตรมาสและเมื่ อ มี เ หตุ ก ารณ์ สำ�คั ญ โดยมี บ ริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษา

โดยที่แผนฟื้นฟูกิจการได้กำ�หนดให้บริษัทเป็น “ผู้บริหารแผน” ทั้งนี้

แผนฟื้นฟูกิจการต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นประจำ� กฎหมาย ผู้สอบทานกระแสเงินสด ผู้ตรวจสอบสินค้าและวัตถุดิบ

และตัวแทนหลักประกัน ในการทีจ ่ ะช่วยให้บริษท ั สามารถดำ�เนินการ ตามแผนฟื้นฟูกิจการ ได้จนเป็นผลสำ�เร็จ

5. ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสิทธิหรือการลงทุน ของผู้ถือหลักทรัพย์ จากการทีบ ่ ริษท ั ได้ยน ื่ คำ�ร้องขอฟืน ้ ฟูกจ ิ การต่อศาลล้มละลาย

กลางในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 และอยู่ระหว่างกระบวนการฟื้นฟู กิจการภายใต้พระราชบัญญัติลม ้ ละลายตามคำ�สัง่ “ศาล” ให้บริษท ั

ฟื้ น ฟู กิ จ การ เมื่ อ วั น ที่ 10 มี น าคม 2559 ส่ ง ผลให้ บ รรดาสิ ท ธิ ตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นระงับลง เว้นแต่สิทธิที่จะได้รับเงินปันผล โดยตลาดหลักทรัพย์ขน ึ้ เครือ ่ งหมาย SP, NP และ NC ต่อหลักทรัพย์

ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และหยุดทำ�การซื้อขายตั้งแต่วันที่

27 เมษายน 2559 เพือ ่ ปรับปรุงฐานะการเงินของบริษท ั สืบเนือ ่ งจาก งบการเงิ น สำ�หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 ที่ ผ่ า น

การตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี แสดงส่วนของผู้ถือหุ้นมีค่าน้อยกว่า

ศูนย์ ทำ�ให้บริษัทเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียน ซึ่งหากบริษัทไม่สามารถแก้ไขให้พ้นเหตุเข้าข่ายอาจถูก

เพิกถอนภายในระยะเวลาทีก ่ ำ�หนด บริษท ั อาจจะถูกตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทยพิ จ ารณาเพิ ก ถอนจากการเป็ น หลั ก ทรั พ ย์

จดทะเบียน โดยราคาปิดตลาด ณ วันที่ 26 เมษายน 2559 ซึ่งเป็น

วันสุดท้ายของการซือ ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษท ั ในตลาดหลักทรัพย์ฯ มีราคาปิดอยู่ที่ 0.05 บาทต่อหุ้น

บริ ษั ท ได้ จั ด ทำ�แผนฟื้ น ฟู กิ จ การเสนอต่ อ “ศาล” และเมื่ อ

วันที่ 15 ธันวาคม 2559 “ศาล” มีมติเห็นชอบแผนฟื้นฟูของบริษัท บริษัทได้ดำ�เนินการตามแผนฟื้นฟูกิจการในการปรับโครงสร้างทุน แล้ว ดังนี้

• วันที่ 1 มีนาคม 2560 จดทะเบียนลดทุนที่ยังไม่ได้จัดสรร

โดยวิธีการตัดหุ้นที่ยังไม่ได้เรียกชำ�ระจำ�นวน 18,097,401,000 หุ้น ทำ�ให้มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 32,166,262,124 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 32,166,262,124 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

• วันที่ 14 กรกฎาคม 2560 จดทะเบียนลดทุนโดยการลด

จำ�นวนหุน ้ จำ�นวน 31,052,243,844 บาท ทำ�ให้มท ี น ุ จดทะเบียนและ ทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 1,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ จำ�นวน 1,113,018,280 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

• วันที่ 19 ตุลาคม 2560 จดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือ

บริคณห์สนธิของบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจดทะเบียน โดยการออกหุน ้ สามัญจำ�นวน 10,000,000,000 หุน ้ มูลค่าหุน ้ ทีต ่ ราไว้

หุ้นละ 1 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำ�นวน 1,113,018,280 บาท

เป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำ�นวน 11,113,018,280 บาท เพื่อรองรับ

การแปลงหนี้ เ ป็ น ทุ น ให้ กั บ เจ้ า หนี้ ต ามแผนฟื้ น ฟู กิ จ การ ในราคา แปลงหนี้เป็นทุนหุ้นละ 0.05 บาท

• วันที่ 28 มีนาคม 2561 จดทะเบียนเพิม ่ ทุนชำ�ระแล้วในส่วน

ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จำ�นวน 10,000,000,000 บาท ต่ อ นายทะเบี ย นบริ ษั ท

มหาชนจำ�กัด กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทำ�ให้

บริษัทมีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 11,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 11,113,018,280 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท


31

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลส�ำคัญอื่น

ชื่อบริษัท :

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน)

SAHAVIRIYA STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

ชื่อย่อ : เอสเอสไอ SSI

เลขทะเบียนบริษัท : 0107537000688

เว็บไซต์ : http://www.ssi-steel.com ประเภทธุรกิจ :

ผลิตและจ�ำหน่ายเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ด้วยก�ำลังการผลิตสูงสุด 4 ล้านตันต่อปี และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน

ชั้นคุณภาพพิเศษเพื่อรองรับความต้องการใช้เหล็กที่เพิ่มขึ้นของภูมิภาค ส�ำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ พลังงาน

ประเภทล้างผิวและเคลือบน�ำ ้ มัน ด้วยก�ำลังการผลิตสูงสุด 1 ล้านตันต่อปี โดยมุง่ เน้นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เหล็กแผ่น

การขนส่ง และการก่อสร้าง ส่วนการลงทุนในอุตสาหกรรมเหล็กปลายน�้ำ บริษัทได้ร่วมลงทุนในบริษัท เหล็กแผ่น รีดเย็นไทย จ�ำกัด (มหาชน) (TCRSS) ซึง่ ประกอบธุรกิจเหล็กแผ่นรีดเย็น และบริษท ั เหล็กแผ่นเคลือบไทย จ�ำกัด (TCS)

ซึง่ ประกอบธุรกิจเหล็กแผ่นเคลือบ อีกทัง้ ยังมีการลงทุนในธุรกิจทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ ง ได้แก่ ธุรกิจวิศวกรรม ภายใต้การด�ำเนินงาน ของบริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (WCE) และธุรกิจท่าเรือ ภายใต้การด�ำเนินงานของบริษัท ท่าเรือประจวบ จ�ำกัด (PPC)

ที่ตั้งส�ำนักงาน ส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 28/1 อาคารประภาวิทย์ ชั้น 2 - 3 ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2238-3063-82

โทรสาร 0-2236-8890, 0-2236-8892

ส�ำนักงานโรงงาน :

เลขที่ 9 หมู่ที่ 7 ต�ำบลแม่ร�ำพึง อ�ำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77140

โทรสาร 0-3269-1416, 0-3269-1421

โทรศัพท์ 0-3269-1403-5, 0-3269-1412-5, 0-3269-1419-20

จ�ำนวนและชนิดของหุ้นของบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ทุนจดทะเบียน

แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ

จ�ำนวน

จ�ำนวน

มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ

11,113,018,280

11,113,018,280

บาท

หุ้น

1 บาท

ทุนช�ำระแล้ว จ�ำนวน 1,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ จ�ำนวน มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ

1,113,018,280 หุ้น

1 บาท


32

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ชื่อ สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ ประเภทธุรกิจ จำ�นวนและชนิดของหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้น ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ชื่อและสถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ของนิติบุคคล

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (บาท)

มูลค่าที่ตราไว้ จำ�นวนหุ้นสามัญ อัตราส่วน หุ้นละ ที่จำ�หน่ายได้แล้ว จำ�นวนหุ้นที่ถือ (บาท) (หุ้น) (%)

ธุรกิจวิศวกรรม

75,000,000

10

7,500,000

99.99

ธุรกิจท่าเรือ

400,000,000

10

40,000,000

51

ธุรกิจ

4,816,350,000

4.50

1,070,300,000

35.19

16 อาคาร เค แอนด์ วาย ชั้น 5 ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2234-9889 โทรสาร 0-2233-6669 บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด 28/1 อาคารประภาวิทย์ ชั้น 6 ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2630-0323-32 โทรสาร 0-2236-7057 บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน) 28/1 อาคารประภาวิทย์ ชั้น 5 ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2630-0300 โทรสาร 0-2630-0320-2

เหล็กแผ่น รีดเย็น


33

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ชื่อ สถานที่ตั้ง ของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ หุ้นสามัญ :

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

โทรศัพท์ 0-2009-9000

ที่ตั้งส�ำนักงาน เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรสาร 0-2009-9991

TSD Call Center 0-2009-9999

ผู้สอบบัญชี :

นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2982

นายนพฤกษ์ พิษณุวงษ์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 7764

เลขานุการบริษัท

:

นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5599

บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

ที่ตั้งส�ำนักงาน เลขที่ 316/32 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2259-5300 โทรสาร 0-2260-1553

นายสุรศักดิ์ งามสิทธิพงศา

ผู้จัดการทั่วไป ส�ำนักเลขานุการบริษัท โทรศัพท์ 0-2238-3063-82 โทรสาร 0-2236-8892 อีเมล

surasakn@ssi-steel.com


34

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่

รายชื่อและสัดส่วนการถือหุ้น ตามทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 26 มีนาคม 2561 ซึ่งบริษัทใช้เป็นเอกสารประกอบการขอจดทะเบียน

เพิ่มทุนชำ�ระแล้ว และนายทะเบียนบริษัทมหาชนจำ�กัด กระทรวงพาณิชย์ ได้รับจดทะเบียนเพิ่มทุนชำ�ระแล้ว เป็นที่เรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2561

ชื่อผู้ถือหุ้น

ณ วันที่ 26 มีนาคม 2561 จำ�นวนหุ้นที่ถือ

ร้อยละของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด

1. ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)

4,499,394,589

40.488

2. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน)

4,469,534,816

40.219

3. ธนาคารทิสโก้ จำ�กัด (มหาชน)

874,888,641

7.873

4. บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เพื่อผู้ฝาก

590,833,147

5.317

5. Thailand Securities Depository Company Limited For Depositors

264,164,474

2.377

6. ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จำ�กัด (มหาชน)

156,181,954

1.405

7. บริษัท เครือสหวิริยา จำ�กัด

146,739,141

1.320

ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย

10,809,597,679 หุ้น

ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว

303,420,601 หุ้น

ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลที่เป็นปัจจุบันได้จากเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.ssi-steel.com)

ข้อจำ�กัดการถือหุ้นของชาวต่างชาติ

บริษัทมีข้อจำ�กัดการถือหุ้นของบุคคลต่างด้าว (Foreign Limit) ไว้ร้อยละ 49 ของทุนชำ�ระแล้ว โดย ณ วันที่ 26 มีนาคม 2561 มีบุคคล

ต่างด้าวถือหุ้นของบริษัทร้อยละ 2.73


35

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

นโยบาย การจ่ายเงินปันผล

บริษท ั มีนโยบายทีจ ่ ะจ่ายเงินปันผลจากงบการเงินเฉพาะกิจการ

สำ�หรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยให้แก่บริษัท

ตามกฎหมาย และสำ�รองอื่นๆ ในแต่ละปี อย่างไรก็ตาม การจ่าย

ผลประกอบการของแต่ ล ะบริ ษั ท ย่ อ ย และคณะกรรมการของ

ในอัตราไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ สำ�รอง เงินปันผลจากงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับภาวะ

เศรษฐกิจ กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน แผนการลงทุน เงื่อนไขสัญญา ต่างๆ และความเหมาะสมอื่นๆ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

มติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ที่ อ นุ มั ติ ใ ห้ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลจาก งบการเงินเฉพาะกิจการนั้น ให้นำ�เสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุม ผูถ ้ อ ื หุน ้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ให้คณะกรรมการ

บริษัทมีอำ�นาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจากงบการเงินเฉพาะกิจการ ได้แล้วให้รายงานให้ทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ทราบในการประชุมคราวต่อไป

บริษัทไม่ได้กำ�หนดอัตราส่วนในการจ่ายไว้แต่อย่างใด ขึ้นอยู่กับ บริษัทย่อยนั้นๆ จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลเป็นกรณีไป

ในปี 2560 คณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟู

กิจการของลูกหนีต ้ ามคำ�สัง่ ศาลล้มละลายกลาง เมือ ่ วันที่ 15 ธันวาคม

2559 คดีหมายเลขแดงที่ ฟ.8/2559 ในคราวประชุมครั้งที่ 5/2560 เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2560 ได้มีมติอนุมัติงดจ่ายเงินปันผลจาก ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2559 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เนื่ อ งจากบริ ษั ท มี ข าดทุ น สะสมอยู่ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 จึงไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ตามกฎหมาย


36

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับ คณะกรรมการบริษัท

1. นายวิทย์ วิริยประไพกิจ ประธานกรรมการบริษัท อายุ 82 ปี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : 2551 - 2555

• ประธานกรรมการ

2538 - 2553

• กรรมการ บริษัท เรือลำ�เลียงบางปะกง จำ�กัด

2537 - 2553

• ประธานกรรมการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

• 21 มกราคม 2537

• กรรมการ บริษัท ท่าเรือบางปะกง จำ�กัด

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

• บิดานายวิน วิริยประไพกิจ

2533 - 2553

• กรรมการ

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

• กรรมการ บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

• 0.000000269% (3 หุ้น)

2533 - 2546

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

2525 - 2543

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

• ปริญญากิตติมศักดิ์สาขาบริหารธุรกิจ

• กรรมการและประธานกรรมการบริหาร

2525 - 2541

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท เอสวีโอเอ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-


37

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ บริษัท สหวิริยา สตีล คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ 69 ปี

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

• กรรมการ บริษัท เครือสหวิริยา จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท สหวิริยา อินเตอร์ สตีล โฮลดิ้งส์ จำ�กัด กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท

• กรรมการ บริษัท สหวิริยาเพลทมิล จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท บี.เอส. เมทัล จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท ทรัพย์สิน อาคารประภาวิทย์ จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท สหวิริยาพาณิชย์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด • กรรมการ บริษัท อาคารเวสเทิร์น จำ�กัด

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

12/13 ครั้ง

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา • -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

• -มี-

• -มี-

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย (ศาลล้มละลายกลาง ได้พพ ิ ากษาเมือ ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2560 ให้นายวิทย์ วิริยประไพกิจ ล้มละลายแล้ว ซึ่งเป็นผลให้ ต้องพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการโดยผลแห่งกฎหมาย (ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 / ตอนที่ 4 ง / หน้า 165 / 16 มกราคม 2561))

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

การเข้าร่วมประชุม :

1. ประชุมคณะกรรมการบริษัท

• 26 กุมภาพันธ์ 2553

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ (ภาคภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ 4414) • ประกาศนียบัตรการเงินและการธนาคาร สถาบันนายธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ

• ประกาศนียบัตรชั้นสูงหลักสูตรการเมืองการปกครอง

ในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11

สถาบันพระปกเกล้า

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

(DCP 80/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

• กรรมการ บริษัท เลนโซ่ คอร์ปอร์เรชั่น จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษัท โกลเบล็ก โฮลดิ้ง แมนเนจเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน)

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำ�กัด (ตลาดไท)

• ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง

(นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์)

• สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

• กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารศรีนคร จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน)


38

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ :

• ประธานกรรมการ และประธานกรรมการสรรหา

หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือบริษัทย่อย

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : และกำ�หนดค่าตอบแทน

บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำ�มันปาล์ม จำ�กัด (มหาชน)

• ประธานกรรมการ บริษัท ส. ขอนแก่นฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท เอส ซี เจ แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำ�กัด กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท • -ไม่มี-

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

13/13 ครั้ง

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ

2/2 ครั้ง 7/7 ครั้ง

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

หรือในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

• ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

• ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี

• ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญ อันอาจมีผล

หรือที่ปรึกษากฎหมาย

3. นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

การเข้าร่วมประชุม :

2. เข้าร่วมประชุมกรรมการอิสระ

หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปัจจุบัน

ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�หน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

2. ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัท/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม

พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ�

• กรรมการ บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

1. ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้บริหาร

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 79 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ : • 1 มีนาคม 2537

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมโยธา (โครงสร้าง)

มหาวิทยาลัยนอร์ธเวสเทอร์น, ชิคาโก, สหรัฐอเมริกา

• ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมโยธา (โครงสร้าง) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 32)

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program

(DAP 36/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Finance for Non-Finance Director

(FND 24/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)


39

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

การเข้าร่วมประชุม :

2548 - 2555

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : 2547 - 2553

• กรรมการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย • กรรมการอิสระ

บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด

2549 - 2551

• กรรมการ

(มหาชน) 2546 - 2551

• กรรมการ

2540 - 2551

• ประธานกรรมการ

บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย

จำ�กัด 2544 - 2546

• ผู้จัดการใหญ่

บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด

(มหาชน) 2539 - 2544

• กรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ไทยเทเลโฟนแอนด์เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) 2530 - 2534

• กรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด

(มหาชน) 2522 - 2530 2519 - 2522

• ผู้ว่าการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้ว่าการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• ประธานกรรมการ บริษท ั สามารถ คอร์ปอเรชัน ่ จำ�กัด (มหาชน) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

2. เข้าร่วมประชุมกรรมการอิสระ

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

• ประธานกรรมการ บริษัท ชัชวาลย์-รอยัล แฮสโคนิ่ง จำ�กัด

หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือบริษัทย่อย

• นายกสภามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

4/4 ครั้ง

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ :

• กรรมการ บริษัท ไทยไล้ท์บล๊อคแอนด์แพเนล จำ�กัด

2/2 ครั้ง

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

• ประธานกรรมการ บริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ซี.ที.แลนด์ จำ�กัด

11/13 ครั้ง

1. ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้บริหาร

2. ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัท/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปัจจุบัน

หรือในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

• ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ�

• ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี

• ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญ อันอาจมีผล

หรือที่ปรึกษากฎหมาย

ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�หน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ


40

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

4. นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ 69 ปี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

2553 - 2559

• กรรมการอิสระ

2555 - 2556

• กรรมการ กสท. -

บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำ�กัด (มหาชน)

ประธานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม

บริษัท กสท.โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ กวท. -

• 30 เมษายน 2553

ประธานคณะอนุกรรมการ

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

พัฒนาทรัพยากรบุคคล

• -ไม่มี-

แห่งประเทศไทย

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ/

2553 - 2556

• กรรมการและประธานกรรมการบริหาร/

• -ไม่มี-

ประธานกรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

2553 - 2554

• กรรมการและประธานกรรมการบริหาร

2552 - 2553

• กรรมการ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2550 - 2552

• ปลัดกระทรวงพาณิชย์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

และตลาดหลักทรัพย์

• ประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและพาณิชย์

และตลาดหลักทรัพย์

• ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักบริหารระดับสูง นบส. รุ่น 17

และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

(IOD)

สินค้าเกษตรล่วงหน้า

บรรษัทประกันสินเชือ ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม

• ปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ (D.B.A.),

ความเสี่ยง ธนาคารอาคารสงเคราะห์

• ปริญญาโท สาขาพาณิชยศาสตร์ (บริหารธุรกิจ)

• ปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ (ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์)

• ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 43)

สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์

University of South Australia ประเทศออสเตรเลีย

(TEPCoT รุ่นที่ 1)

ธนาคารนครหลวงไทย จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการในคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์

• กรรมการในคณะกรรมการกำ�กับ

(ก.พ.)

สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ

(DCP 131/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• กรรมการในคณะกรรมการกำ�กับการซื้อขาย

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 7 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับการซื้อขาย

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

2546 - 2552

2551 - 2560

สินค้าเกษตรล่วงหน้า

สินค้าเกษตรล่วงหน้า

• ประธานคณะอนุกรรมการด้านบริหาร

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

ในคณะกรรมการกำ�กับการซื้อขาย

สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณี

สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับการซื้อขาย

2554 - 2559

2548 - 2551

• ประธานคณะกรรมการบริหาร

และเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สินค้าเกษตรล่วงหน้า

(ด้านบริหารธุรกิจ) และประธาน อ.ก.พ.ร.

2544 - 2550

ราชการ สำ�นักงาน ก.พ.ร.

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ก.พ.ร.

ลดขั้นตอน ในคณะกรรมการพัฒนาระบบ

• กรรมการ ธนาคารออมสิน

• อธิบดีกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์


41

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ :

• กรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือบริษัทย่อย

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

บริษัท อาหารสยาม จำ�กัด (มหาชน)

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• รองประธานกรรมการ บริษัท ทีซีซี อินเตอร์เทรด จำ�กัด กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท • -ไม่มี-

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

2. เข้าร่วมประชุมกรรมการอิสระ

หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปัจจุบัน

หรือในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

• ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

• ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี

• ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญ อันอาจมีผล

หรือที่ปรึกษากฎหมาย

การเข้าร่วมประชุม :

2. ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัท/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม

พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ�

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

1. ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้บริหาร

2/13 ครั้ง 2/2 ครั้ง

ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�หน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ

5. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 66 ปี

• -ไม่มี-

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน

4/4 ครั้ง

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

• 8 ธันวาคม 2542

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• -ไม่มี-

• ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ. 13)

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

• ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ Boston University, U.S.A. • หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program

(DAP 3/2003) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• หลักสูตร Understanding the Fundamental

of Financial Statements (UFS 12/2007)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of Chairman Program

(RCP 37/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)


42

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

2542 - 2554

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

• ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่

สายสินเชื่อและสนับสนุนธุรกิจลูกค้าบุคคล 2550 - 2552

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน)

• ประธานกรรมการ

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จำ�กัด

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• ประธานกรรมการ บริษัท บูทิค คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำ�กัด • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

บริษัท ชับบ์สามัคคีประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ :

ธนาคารกัมพูชาพาณิชย์ จำ�กัด

หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือบริษัทย่อย

• กรรมการอิสระ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

2. ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัท/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท

หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปัจจุบัน

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

2. เข้าร่วมประชุมกรรมการอิสระ

หรือในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

• ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ�

การเข้าร่วมประชุม :

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

1. ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้บริหาร

11/13 ครั้ง

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ

4. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1/2 ครั้ง 5/7 ครั้ง 4/4 ครั้ง

• ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี

• ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญ อันอาจมีผล

หรือที่ปรึกษากฎหมาย

ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�หน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ

6. นายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์

• -ไม่มี-

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ และกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อายุ 59 ปี

• -ไม่มี-

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

• -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• 1 มีนาคม 2556

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • 0.197% (2,202,097 หุ้น)

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• พาณิชยการ (Commerce) โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย


43

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ :

• -ไม่มี-

หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือบริษัทย่อย

1. ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้บริหาร

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

2. ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัท/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปัจจุบัน

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

• เจ้าของกิจการและผู้จัดการ บริษัท กิมเฮ่งเซ้งเหล็กกล้า จำ�กัด

• ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี

• ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญ อันอาจมีผล

• กรรมการ บริษัท เอสวี นิททัน จำ�กัด

หรือที่ปรึกษากฎหมาย

• กรรมการ บริษัท อัมรินทร์สตีล จำ�กัด

ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�หน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

7. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

• -ไม่มี-

การเข้าร่วมประชุม :

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

2. เข้าร่วมประชุมกรรมการอิสระ

13/13 ครั้ง 2/2 ครั้ง

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3/3 ครั้ง

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโทบริหารธุรกิจด้านการเงินและการจัดการ

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง • -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

• -ไม่มี-

(DAP 23/2004) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• -ไม่มี-

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

(DCP 60/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

มหาวิทยาลัยอินเดียน่า, บูมมิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อายุ 54 ปี

• 27 กุมภาพันธ์ 2555

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา • -ไม่มี-

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

• ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ�

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

หรือในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

• หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหาร

ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 3

สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (PDI)


44

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

การเข้าร่วมประชุม :

2557 - 2559

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : • ประธานกรรมการ

บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 2554

• กรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำ�กัด • กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

9/13 ครั้ง

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ

7/7 ครั้ง

2. เข้าร่วมประชุมกรรมการอิสระ

4. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3/3 ครั้ง

และกรรมการบริหารความเสี่ยง

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

• ประธานกรรมการ

• -ไม่มี-

2553 - 2554

• กรรมการ สภาธุรกิจตลาดทุนไทย

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท กรุงไทยธุรกิจลีสซิ่ง จำ�กัด

2552 - 2554

• กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษัท อสมท จำ�กัด (มหาชน)

• ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

2/2 ครั้ง

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

และกรรมการบริหาร

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

• กรรมการ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2550 - 2554

• กรรมการบริหารและอุปนายก

2551

บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท เซ็ทเทรด ดอท คอม จำ�กัด

สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย 2550 - 2551

• อนุกรรมการพิจารณาแนวทาง

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2548 - 2552

• กรรมการผู้อำ�นวยการและกรรมการบริหาร

บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

บริษัท เคมีแมน จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท พริ้นซิเพิล แคปิตอล จำ�กัด (มหาชน)

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

• กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ :

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือบริษัทย่อย

• เลขาธิการ สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย • ที่ปรึกษา สภาธุรกิจตลาดทุนไทย

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

1. ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้บริหาร

2. ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัท/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปัจจุบัน

หรือในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

• ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน

พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ�

• ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น ผู้สอบบัญชี

• ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญ อันอาจมีผล

หรือที่ปรึกษากฎหมาย

ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�หน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ


45

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

8. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

กรรมการบริษัท กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ 78 ปี

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• กรรมการ บริษัท สหวิริยาเพลทมิล จำ�กัด (มหาชน)

• 29 เมษายน 2546

การเข้าร่วมประชุม :

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

• -ไม่มี-

2. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

9/13 ครั้ง

และกำ�หนดค่าตอบแทน

• -ไม่มี-

4/4 ครั้ง

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

U.S.A.

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Michigan State University,

• -ไม่มี-

• ปริญญาตรี สาขาการบัญชี (เกียรตินิยมอันดับ 2)

• -ไม่มี-

• การสัมมนาผลสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการบริษัทไทย 2547

• -ไม่มี-

4/4 ครั้ง

เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2548

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

2553 - 2557

• ประธานกรรมการ

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

2547 - 2557

• กรรมการ

• -ไม่มี-

2552 - 2555

• กรรมการ

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

2533 - 2542

• กรรมการ

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

• กรรมการ

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

2529 - 2541

• กรรมการ

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

2527 - 2542

• กรรมการ

2526 - 2542

• กรรมการ

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด (มหาชน)

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด (มหาชน)

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

บริษัท ปูนซิเมนต์นครหลวง จำ�กัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน)

9. นายกมล จันทิมา

บริษัท ประกันชีวิตศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

• -ไม่มี-

กรรมการบริษัท และประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ด ี อายุ 79 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ : • 8 เมษายน 2541


46

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • 0.00399% (44,429 หุ้น)

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

• ปริญญาตรี สาขาพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 33) • หลักสูตรประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(DCP 3/2000) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• หลักสูตรประกาศนียบัตรประธานกรรมการบริษัท

(RCP 4/2001) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• ประธานกรรมการ บริษัท ไอที ซิตี้ จำ�กัด (มหาชน) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• ประธานอนุกรรมการกำ�กับดูแลคุณภาพงานสอบบัญชี สภาวิชาชีพบัญชี

• ประธานกรรมการ บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด • กรรมการ บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

การเข้าร่วมประชุม :

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

13/13 ครั้ง

2. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3/3 ครั้ง

• หลักสูตรประกาศนียบัตรสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

(Board & CEO 1/2003)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตรพัฒนาทักษะต่อเนื่อง (DCP Refresher 4/2007)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

2551 - 2556

• ประธานคณะกรรมการจรรยาบรรณ

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

2546 - 2556

• กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

สภาวิชาชีพบัญชี

บริษัท อุตสาหกรรม อีเล็คโทรนิคส์ จำ�กัด

(มหาชน) 2550 - 2555

• ประธานกรรมการตรวจสอบและประเมินผล

2543 - 2545

• ประธานกรรมการ

กระทรวงศึกษาธิการ

องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.) 2541 - 2543

• ประธานกรรมการตรวจสอบ

2541

• อธิบดีกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2539 - 2541

• ประธานกรรมการ

สำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 2538 - 2542

• กรรมการและประธานกรรมการบริหาร

2536 - 2541

• รองปลัดกระทรวงการคลัง

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-


47

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

10. นายวิน วิริยประไพกิจ

กรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และกรรมการผู้จัดการใหญ่ อายุ 47 ปี

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด (มหาชน) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

• กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

• 30 มิถุนายน 2542

• กรรมการ บริษัท เครือสหวิริยา จำ�กัด

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

• กรรมการ บริษัท สหวิริยา สตีล คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท สหวิริยา อินเตอร์ สตีล โฮลดิ้งส์ จำ�กัด

• บุตรนายวิทย์ วิริยประไพกิจ

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

• กรรมการ บริษัท บริการจัดการสหวิริยา จำ�กัด

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท ทรัพย์สิน อาคารประภาวิทย์ จำ�กัด

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม : • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ

การเข้าร่วมประชุม :

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเคโอ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

(DCP 100/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• -ไม่มี-

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of Chairman Program

• -ไม่มี-

(IOD)

• -ไม่มี-

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

1. ประชุมคณะกรรมการบริษัท

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

13/13 ครั้ง

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

(IOD)

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

(RCP 20/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

2553 - 2558

• กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

2551 - 2557

• กรรมการ และกรรมการจัดการ

• -ไม่มี-

2555 - 2556 • ประธานกรรมการ

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

และประธานคณะกรรมการจัดการ

2539 - 2555

2542 - 2546

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด • กรรมการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-


48

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

11. นายนาวา จันทนสุรคน

กรรมการบริษัท กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายธุรกิจ อายุ 52 ปี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ :

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ และกรรมการจัดการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

• กรรมการ และกรรมการบริหาร

• 18 มิถุนายน 2558

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

• กรรมการ บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

การเข้าร่วมประชุม :

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท

• -ไม่มี-

ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

และกำ�หนดค่าตอบแทน

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

(เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• -ไม่มี-

(DCP 104/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• -ไม่มี-

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 19 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

• -ไม่มี-

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2557 - 2558

• ประธานกรรมการ

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

2555 - 2558

• ประธานคณะกรรมการจัดการ

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

2555 - 2557

• กรรมการผู้จัดการใหญ่

2546 - 2550

• ผู้อำ�นวยการส่วนบริหารงานกลาง

2534 - 2546

• รองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา

• ปริญญาโท สาขานโยบายสาธารณะและการบริหารโครงการ

8/13 ครั้ง

• ปริญญาตรี สาขาการเมืองและการปกครอง

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

(IOD)

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57

3/4 ครั้ง

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

• -ไม่มี-

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

เครือพิกุลทองล่ำ�ซำ�

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

• -ไม่มี-


49

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับ คณะผู้บริหาร

1. นายวิน วิริยประไพกิจ

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 กันยายน 2554

(IOD)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มกราคม 2547

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

อายุ 47 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

(DCP 100/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of Chairman Program

(RCP 20/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

• บุตรนายวิทย์ วิริยประไพกิจ

2553 - 2558

• กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

2551 - 2557

• กรรมการ และกรรมการจัดการ

2555 - 2556

• ประธานกรรมการ

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด

• -ไม่มี-

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

และประธานคณะกรรมการจัดการ

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์

2539 - 2555

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2542 - 2546

มหาวิทยาลัยเคโอ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด • กรรมการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)


50

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด (มหาชน) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

• กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร • กรรมการ บริษัท เครือสหวิริยา จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท สหวิริยา อินเตอร์ สตีล โฮลดิ้งส์ จำ�กัด • กรรมการ บริษัท สหวิริยา สตีล คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• กรรมการ บริษัท บริการจัดการสหวิริยา จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท ทรัพย์สิน อาคารประภาวิทย์ จำ�กัด ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

2. นายนาวา จันทนสุรคน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายธุรกิจ

อายุ 52 ปี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 เมษายน 2558

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโท สาขานโยบายสาธารณะและการบริหารโครงการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

• ปริญญาตรี สาขาการเมืองและการปกครอง

(เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

(DCP 104/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (IOD)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 19 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : 2557 - 2558

• ประธานกรรมการ

2555 - 2558

• ประธานคณะกรรมการจัดการ

2555 - 2557

• กรรมการผู้จัดการใหญ่

2546 - 2550

• ผู้อำ�นวยการส่วนบริหารงานกลาง

2534 - 2546

• รองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

เครือพิกุลทองล่ำ�ซำ�

บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด


51

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • กรรมการ และกรรมการจัดการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

• กรรมการ และกรรมการบริหาร

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : •

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา • -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

ประธานเจ้าหน้าที่เทคโนโลยี สำ�นักเทคโนโลยีกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มิถุนายน 2555

อายุ 51 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

กรรมการ บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

3. นายกิตติศักดิ์ มาพะเนาว์

• -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • 0.00588% (65,467 หุ้น)

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

(DCP 104/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : 2556 - 2558

• กรรมการ

2553 - 2555

• กรรมการ และกรรมการจัดการ

2534 - 2535

• Industrial Engineer บริษัท ฮานาคอยส์ จำ�กัด

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการผู้จัดการ บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

• กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด • กรรมการ และกรรมการบริหาร

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-


52

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

• -ไม่มี-

2556 - 2560

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

• ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

สายบัญชีและการเงิน

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

2555 - 2558

• กรรมการผู้จัดการ

2552 - 2554

• ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

สายการเงินและบัญชี

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

4. นายณรงค์ฤทธิ์ โชตินุชิตตระกูล

เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจเหล็กปลายนํ้า

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มิถุนายน 2560

อายุ 48 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต • ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยสยาม

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ กรรมการจัดการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

• กรรมการ และกรรมการบริหาร • กรรมการ และกรรมการบริหาร

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย


53

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2558 - 2560

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

5. นายสมศักดิ์ ศิวะไพบูลย์ เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

และเลขานุการคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 กรกฎาคม 2560

อายุ 55 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • 0.00310% (34,602 หุ้น)

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

(การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน) มหาวิทยาลัยศรีปทุม

• ปริญญาโท วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

• ปริญญาตรี สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program

(DAP 60/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

(DCP 84/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Finance for Non-Finance Director

(FND 34/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(IOD)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

• ประธานกรรมการ

และประธานคณะกรรมการจัดการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

2556 - 2558

• กรรมการ

2553 - 2555

• กรรมการผู้จัดการใหญ่

• กรรมการ บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

2549 - 2555

• รองประธานกรรมการ

บริษัท ชูไก จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

2547 - 2555

• กรรมการ และกรรมการบริหาร

2544 - 2555

• กรรมการ บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

2548 - 2553

• กรรมการผู้จัดการ

บริษัท ไลน์ทรานสปอร์ต จำ�กัด

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

บริษัท บางสะพานทรานสปอร์ต จำ�กัด

บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด

2544 - 2553

• กรรมการผู้จัดการ

2543 - 2548

• กรรมการผู้จัดการ

2540 - 2543

• General Manager - Sales & Marketing

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ และกรรมการจัดการ

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จำ�กัด

• กรรมการ และกรรมการบริหาร

• กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด • กรรมการ และกรรมการบริหาร

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท พรปิยะฌาน ทรานสปอร์ต จำ�กัด กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• กรรมการ บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด


54

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

• -ไม่มี-

2539 - 2556

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

• ผู้จัดการทั่วไป

ประจำ�สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

• กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• -ไม่มี-

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

• -ไม่มี-

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

6. นายถาวร คณานับ

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจท่าเรือ

อายุ 55 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-


55

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

7. นายทินกร ผดุงวงศ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มบริษัท สำ�นักเทคโนโลยีกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 31 ตุลาคม 2558

อายุ 50 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• -ไม่มี-

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

• -ไม่มี-

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมศาสตร์

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

นานาชาติสิรินธร-ไทยเยอรมัน

• ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาโลหการ)

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

(เครื่องกลและกระบวนการ) บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

• -ไม่มี-

8. นายมนินทร์ อินทร์พรหม

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายการผลิต

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

2556 - 2558

• ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายการผลิต

2549 - 2555

• ผู้จัดการทั่วไป สายการผลิต ด้านปฏิบัติการ

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 19 พฤษภาคม 2559

อายุ 47 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

• -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน :

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

• -ไม่มี• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท • -ไม่มี-

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


56

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : 2557 - 2558

• ผู้จัดการทั่วไป สายการผลิต ด้านปฏิบัติการ

2555 - 2557

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

• ผู้จัดการทั่วไป สำ�นักจัดซื้อกลุ่ม

สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

9. นายปีเตอร์ โรวสัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบัญชีการเงินกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 17 พฤศจิกายน 2558

ประธานเจ้าหน้าที่การเงินกลุ่ม

อายุ 54 ปี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 กรกฎาคม 2560

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• The Fellowship of Chartered Accountants,

Chartered Accountant (ICAEW),

and Wales Manchester Metropolitan University

Institute of Chartered Accountants of England

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) : 2556 - 2558

• Finance Director,

2552 - 2554

• Finance Director,

2547 - 2551

• CFO, Focus Energy Company Limited

Sahaviriya Steel Industries UK Limited

V2O Management Company Limited

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย


57

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2557 - 2560

• ผู้จัดการทั่วไป สำ�นักการเงินและบัญชีกลุ่ม

2547 - 2557

• รองกรรมการผู้จัดการ และเลขานุการบริษัท

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด (มหาชน)

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

• -ไม่มี-

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-

10. นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - สายการเงินและบัญชี - สำ�นักบริหารความเสี่ยงกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มิถุนายน 2560

และเลขานุการคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มิถุนายน 2560

อายุ 47 ปี

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : • -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง : 1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

• -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม : • ปริญญาโท สาขาบริหารการเงิน

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-


58

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

11. นายยงยุทธ มลิทอง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - สายทรัพยากรบุคคลและธุรการ - สำ�นักทรัพยากรบุคคลกลุ่ม - สำ�นักจัดซื้อกลุ่ม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มกราคม 2559

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ - สำ�นักการพัฒนาอย่างยั่งยืนกลุ่ม

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• กรรมการ และรักษาการในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มีนาคม 2560

บริษัท สหวิริยาเพลทมิล จำ�กัด (มหาชน)

และเลขานุการคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

อายุ 47 ปี

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มกราคม 2559

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด 3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• -ไม่มี-

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

• ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

• ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

• -ไม่มี-

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

2551 - 2553

• HR & GA Director,

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

• Operation Director,

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

New International School of Thailand

Master Car Rental Company Limited

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2550 - 2551

2549 - 2550

(Millennium Auto Group)

• Operation Manager,

Master Car Rental Company Limited (Millennium Auto Group)

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว

• -ไม่มี-


59

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

12. นายสุรศักดิ์ งามสิทธิพงศา

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา :

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 21 มกราคม 2537

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

เลขานุการบริษัท

อายุ 59 ปี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : • -ไม่มี-

กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน :

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : • -ไม่มี-

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

• -ไม่มี-

• ปริญญาโท สาขากฎหมายเศรษฐกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• -ไม่มี-

• ปริญญาโท สาขาการจัดการภาครัฐและเอกชน

• -ไม่มี-

• เนติบัณฑิตไทย

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

• ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

• ปริญญาโท สาขากฎหมายธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สำ�นักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

• หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

(IOD)

• -ไม่มี-

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

(DCP 15/2002) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• หลักสูตรผู้ที่ทำ�หน้าที่สนับสนุนการทำ�งานของคณะกรรมการ

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

(IOD)

สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2531 - 2536

• ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการ

2528 - 2536

• นักวิจัยอาวุโส

(CSP 5/2004) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

• หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP 8)

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

บริษัท สยามเรียลตี้แอนด์เซอร์วิส จำ�กัด

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน)

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น • -ไม่มี-

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว • -ไม่มี-


60

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

13. นางสาวปัทมวรรณ บุญทั่ง

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปีย้อนหลัง :

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 6 มกราคม 2559

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

อายุ 42 ปี

1. การถูกพิพากษาว่ามีการกระทำ�ความผิดทางอาญา 2. การถูกพิพากษาให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร :

3. การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย

• -ไม่มี-

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) :

ประวัติการถูกลงโทษในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการกระทำ�

• -ไม่มี-

ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม :

พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ เฉพาะความผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ :

• -ไม่มี-

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ที่อาจทำ�ให้สำ�คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

2554 - 2558

3. การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุน

พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ,

1. การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

• ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์

2. การเปิดเผย หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ

Southeastern University (London Campus)

ในสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) :

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในการซื้อขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

2548 - 2554

• หัวหน้าสายตรวจสอบ

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

• ผู้ช่วยหัวหน้าสายตรวจสอบ

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในกิจการหรือองค์กรอื่นในปีที่ผ่านมา : กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน : • -ไม่มี-

กิจการอื่นที่แข่งขัน/เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ :

• -ไม่มี-

• -ไม่มี-

หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว • -ไม่มี-


61

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การถือหุ้นในบริษัท ของกรรมการและผู้บริหาร

ลำ�ดับ

รายชื่อคณะกรรมการ และผู้บริหารของบริษัท

31 ธันวาคม 2559 (มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท)

31 ธันวาคม 2560 (มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท)

จำ�นวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น หรือ (ลดลง) ระหว่างปี 2560* (มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท)

1.

นายวิทย์ วิริยประไพกิจ

100 หุ้น

3 หุ้น

(97)

2.

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

-

-

-

3.

นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

-

-

-

4.

นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ

-

-

-

5.

นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

-

-

-

6.

นายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์

63,640,600 หุ้น

2,202,097 หุ้น

(61,438,503)

7.

นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

-

-

-

8.

นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

-

-

-

9.

นายกมล จันทิมา

1,284,000 หุ้น

44,429 หุ้น

(1,239,571)

10.

นายวิน วิริยประไพกิจ

-

-

-

11.

นายนาวา จันทนสุรคน

-

-

-

12.

นายกิตติศักดิ์ มาพะเนาว์

1,892,000 หุ้น

65,467 หุ้น

(1,826,533)

13.

นายณรงค์ฤทธิ์ โชตินุชิตตระกูล

-

-

-

14.

นายสมศักดิ์ ศิวะไพบูลย์

1,000,000 หุ้น

34,602 หุ้น

(965,398)

15.

นายถาวร คณานับ

-

-

-

16.

นายทินกร ผดุงวงศ์

-

-

-

17.

นายมนินทร์ อินทร์พรหม

-

-

-

18.

นายปีเตอร์ โรวสัน

-

-

-

19.

นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ

-

-

-

20.

นายยงยุทธ มลิทอง

-

-

-

หมายเหตุ :

* จ�ำนวนหุ้นที่ลดลงระหว่างปี 2560 ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทดังกล่าวนั้น สืบเนื่องจากการที่บริษัทได้ด�ำเนินการจดทะเบียนลดทุนโดยการลดจ�ำนวนหุ้น ของบริ ษั ท จ� ำ นวน 31,053,243,844 บาท ต่ อ นายทะเบี ย นบริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ เมื่ อ วั น ที่ 14 กรกฎาคม 2560 ซึ่งเป็นการด�ำเนินการภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการข้อ 7.3 (2) ของบริษัทเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างทุน

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท จึ ง มี ทุ น จดทะเบี ย นจ� ำ นวน 11,113,018,280 บาท ทุ น ช� ำ ระแล้ ว จ� ำ นวน 1,113,018,280 บาท แบ่ ง ออกเป็ น หุ ้ น สามั ญ จ� ำ นวน 1,113,018,280 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท


62

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน ปี 2560

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนขอรายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ดังนี้

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) ครั้งที่ 5/2554 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2554 ได้มีมติอนุมัติให้

ควบรวมคณะกรรมการสรรหาและคณะกรรมการกำ�หนดค่ า ตอบแทนเข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee) ซึ่งประกอบด้วยกรรมการของบริษัทอย่างน้อย 3 ท่าน โดยกรรมการอย่างน้อย 1 ท่านต้องเป็น กรรมการอิสระ โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2560 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2563 และมีผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายทรัพยากรบุคคลและธุรการเป็นเลขานุการ

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีหน้าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้งให้เป็นกรรมการบริษัท หรือกรรมการผู้จัดการใหญ่ แล้วนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาต่อไป และทำ�หน้าที่ ในการพิ จ ารณาแนวทางการกำ�หนดค่ า ตอบแทนให้ แ ก่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท แต่ ง ตั้ ง ขึ้ น

และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตลอดจนโครงสร้างค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง โดยให้มีการกำ�หนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำ�หนดค่าตอบแทน และโครงสร้างค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุผล

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนชุดปัจจุบันมีรายนามต่อไปนี้

(2) นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

(1) นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ

เป็น ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

(3) นายนาวา จันทนสุรคน

เป็น กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

(4) นายยงยุทธ มลิทอง

เป็น กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

เป็น เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้จัดให้มีการประชุมในปี 2560 รวม 3 ครั้งด้วยกัน ซึ่งได้พิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้

63

1.1 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2560 เพื่อพิจารณาการปรับขึ้นเงินเดือน

ประจำ�ปี 2560 ของกรรมการผู้จัดการใหญ่

โดยคณะกรรมการได้พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานที่สำ�คัญในรอบปีที่ผ่านมาของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามหลักเกณฑ์ การจ่ายค่าตอบแทนทีจ ่ ะต้องเชือ ่ มโยงกับผลการดำ�เนินงานของบริษท ั เป็นสำ�คัญและปัจจัยอืน ่ ๆ ในการพิจารณาขึน ้ เงินเดือนกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สำ�หรับปี 2560 แม้ว่าบริษัทมีข้อจำ�กัดในการอยู่ภายใต้การฟื้นฟูกิจการ ก็ยังสามารถนำ�พาบริษัทให้มีผลประกอบการที่ดี และได้พิจารณาจาก

อัตราเงินเดือนในปัจจุบันของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ถือว่าต่ำ�กว่าตลาดแรงงานที่มีขนาดธุรกิจที่ใกล้เคียงกัน อีกทั้งกรรมการผู้จัดการใหญ่ ขอสละสิทธิในการขึน ้ เงินเดือนประจำ�ปีมาในหลายปีทผ ่ี า ่ นมา จึงมีมติให้ขน ้ึ เงินเดือนประจำ�ปีในอัตราร้อยละ 7 ของฐานเงินเดือน เดือนมีนาคม 2560 และให้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ เพื่อพิจารณาตามแต่จะเห็นสมควรต่อไป

1.2 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มก ี ารประชุมเมือ ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 เพือ ่ พิจารณาการจ่ายเงินช่วยเหลือ

พิเศษของครึ่งปีหลัง 2559 ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการฯ ได้พิจารณาเห็นว่า กรรมการผู้จัดการใหญ่ทุ่มเทความรู้ความสามารถ ทำ�ให้บริษัทสามารถดำ�เนินธุรกิจได้ดีกว่าเป้าหมาย แม้จะมีข้อจำ�กัดทางการเงิน โดยทำ�ให้บริษัทมีผลประกอบการในครึ่งหลังปี 2559 นี้ บริษัท

มีกำ�ไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ (ดอกเบี้ยส่วนต่างการผิดนัดชำ�ระหนี้ ดอกเบี้ย และกำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนของภาระหนี้ค้ำ�ประกัน) 1,113 ล้านบาท และเป็นกำ�ไรหลังการตั้งสำ�รองค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ (Slab + Coil) ในเดือนมิถุนายนแล้ว ดังนั้น คณะกรรมการ

สรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนจึ ง มี ม ติ ใ ห้ จ่ า ยเงิ น ช่ ว ยเหลื อ พิ เ ศษให้ กั บ กรรมผู้ จั ด การใหญ่ ในอั ต รา 2 เท่ า ของเงิ น เดื อ น เพื่ อ เป็ น ขวั ญ และกำ�ลังใจในการทำ�งานให้กับกรรมการผู้จัดการใหญ่ในการทุ่มเทปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ความสามารถต่อไป จึงมีมติให้นำ�เสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

1.3 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2560 เพื่อพิจารณาการจ่ายเงินช่วยเหลือ

พิเศษของปี 2560 ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการฯ ได้พิจารณาเห็นว่า กรรมการผู้จัดการใหญ่ทุ่มเทความรู้ความสามารถ ทำ�ให้

บริษัทสามารถดำ�เนินธุรกิจได้ดีกว่าแผนฟื้นฟูกิจการ แม้จะต่ำ�กว่าแผนธุรกิจประจำ�ปีก็ตาม รวมถึงการสร้างธุรกิจและผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น SSI Air Beam เป็ น ต้ น ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท มี ป ระมาณการกำ�ไรก่ อ นดอกเบี้ ย และค่ า เสื่ อ ม ตามแผนฟื้ น ฟู กิ จ การ จำ�นวน 2,877 ล้ า นบาท

ดังนั้น คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจึงมีมติให้จ่ายเงินช่วยเหลือพิเศษให้กับกรรมผู้จัดการใหญ่ ในอัตรา 2.5 เท่าของเงินเดือน

ซึง่ เป็นอัตราของผูป ้ ฏิบต ั งิ านดี แต่ไม่ใช่อต ั ราทีจ ่ า ่ ยจริงสูงสุดของบริษท ั ดังนัน ้ เพือ ่ เป็นขวัญและกำ�ลังใจในการทำ�งานให้กบ ั กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

ในการทุ่มเทปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ความสามารถต่อไป จึงมีมติให้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้จัดให้มีการประชุมในปี 2561 รวม 1 ครั้งด้วยกัน เพื่อพิจารณาเรื่องต่อไปนี้

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 ได้พิจารณาในประเด็น ดังนี้

2.1 รับทราบการพ้นจากตำ�แหน่งประธานกรรมการบริษัท และกรรมการบริษัท ที่ประชุมรับทราบการพ้นจากตำ�แหน่งประธาน

กรรมการบริษัท และกรรมการบริษัทของนายวิทย์ วิริยประไพกิจ โดยผลแห่งกฎหมายดังกล่าวตามเสนอ แต่ทั้งนี้ ประธานกรรมการบริษัท รับค่าตอบแทนเฉพาะเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ 2560

2.2 พิจารณาคัดเลือกบุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ที่ประชุมได้พิจารณาบุคคลที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยพิจารณา

จากรายชือ ่ กรรมการอิสระของตลาดหลักทรัพย์และรายชือ ่ จากผูบ ้ ริหารระดับสูงของบริษท ั ตามทีเ่ ลขานุการฯ เสนอ โดยคณะกรรมการพิจารณา

แล้วเห็นว่า เพื่อเสริมให้คณะกรรมการบริษัทมีความเข้มแข็ง จึงควรเพิ่มผู้มีประสบการณ์ด้านวิศวกรรมเพิ่มเติม ดังนั้น ที่ประชุมจึงมีมติเลือก นายกิ ต ติ ศั ก ดิ์ มาพะเนาว์ ปั จ จุ บั น ดำ�รงตำ�แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ เ ทคโนโลยี ก ลุ่ ม เข้ า ดำ�รงตำ�แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท เพื่ อ นำ�เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ เพื่อพิจารณาต่อไป


64

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2.3 กำ�หนดค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนได้ พิ จ ารณากำ�หนดค่ า ตอบแทน

กรรมการบริษัท แล้วเห็นว่าค่าตอบแทนอัตราปัจจุบันเป็นอัตราที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน จึงเห็นควรให้คงหลักเกณฑ์การจ่าย ค่าตอบแทนตามข้อ 1 ถึง 6 และเว้นการจ่ายบำ�เหน็จกรรมการสำ�หรับปี 2560 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ค่าตอบแทนรวมที่เป็นตัวเงิน

หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

1. ค่าตอบแทนในรูปเงินค่าเบี้ยประชุมที่ได้จ่ายให้แก่กรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งขึ้นตามอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น สรุปหลักเกณฑ์ได้ดังนี้

(1) เบี้ยประชุม

(1.1) กรรมการบริษัท

(1.2) ประธานกรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ

กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

25,000 บาทต่อเดือน 18,750 บาทต่อครั้ง 15,000 บาทต่อครั้ง

(1.3) ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

12,500 บาทต่อครั้ง

(1.4) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

12,500 บาทต่อครั้ง

กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

(1.5) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

10,000 บาทต่อครั้ง

10,000 บาทต่อครั้ง

12,500 บาทต่อครั้ง

10,000 บาทต่อครั้ง

(2) เบี้ยประชุมเพิ่มเติม

กรรมการบริษัทคนใดที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งขึ้น ก็จะได้รับค่าตอบแทนในฐานะเป็นกรรมการชุดนั้นอีกตามภาระงานและเวลาที่ต้องใช้เพิ่มขึ้น

2. ประธานกรรมการบริษัทและรองประธานกรรมการบริษัทได้รับค่าตอบแทนในฐานะที่มาปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะเต็มเวลา

ในอัตรา 300,000 บาทต่อเดือน และ 200,000 บาทต่อเดือน ตามลำ�ดับ โดยไม่ได้รบ ั ค่าเบีย ้ ประชุมกรรมการบริษท ั และเบีย ้ ประชุมคณะกรรมการ ชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งขึ้นแต่อย่างใด

3. ประธานกรรมการตรวจสอบจะได้รบ ั ค่าตอบแทนในฐานะทีต ่ อ ้ งให้คำ�แนะนำ�ในรายละเอียดของการตรวจสอบ นอกเหนือจาก

4. กรรมการทีเ่ ป็นพนักงานบริษท ั ด้วย จะได้รบ ั ค่าตอบแทนในฐานะของพนักงานบริษท ั เท่านัน ้ จะไม่ได้รบ ั ค่าตอบแทนในฐานะ

5. ค่าเบี้ยประกันสุขภาพ ประกันอุบัติเหตุ และประกันชีวิต ในวงเงินไม่เกินคนละ 20,000 บาท สำ�หรับกรรมการบริษัท

การตรวจสอบปกติในฐานะกรรมการตรวจสอบของบริษัทอีก ในอัตรา 10,000 บาทต่อเดือน กรรมการแต่อย่างใด

คนใดที่บริษัทผู้รับประกันได้ปฏิเสธการรับประกันบางประเภททั้งหมดและ/หรือยกเว้นไม่คุ้มครองเฉพาะโรคบางชนิดในกรณีประกันสุขภาพ

ไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตาม ให้บริษัทเป็นผู้รับภาระการประกันโดยตรงให้แก่กรรมการบริษัททุกคนที่บริษัทผู้รับประกันได้ปฏิเสธการรับประกัน ดังกล่าวในวงเงินเท่ากับวงเงินประกันและ/หรือสิทธิประโยชน์ที่บริษัทผู้รับประกันชีวิต ประกันสุขภาพ และประกันอุบัติเหตุ ให้ความคุ้มครอง แก่กรรมการบริษัท ในอัตราค่าเบี้ยประกันที่ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติไว้แล้ว

6. ค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นประเภทเงินบำ�เหน็จกรรมการหรือโบนัสประจำ�ปี

(1) การจ่ายเงินบำ�เหน็จกรรมการจะจ่ายเมื่อมีการจัดสรรเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากปีใดบริษัทมิได้มีการจ่าย เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น กรรมการบริษัทก็จะไม่ได้รับเงินบำ�เหน็จกรรมการในปีนั้นๆ

(2) อัตราการจ่ายบำ�เหน็จกรรมการนั้น ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติให้จ่ายในอัตราร้อยละ 0.25 ถึง 0.50 ของเงินปันผล

ที่จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น และให้ประธานกรรมการบริษัทและรองประธานกรรมการบริษัทได้รับเงินบำ�เหน็จกรรมการมากกว่ากรรมการร้อยละ 10 และร้อยละ 5 ตามลำ�ดับ

(3) ในกรณีทก ี่ รรมการคนใดดำ�รงตำ�แหน่งไม่ครบปี ให้จา ่ ยเงินบำ�เหน็จกรรมการตามสัดส่วนของระยะเวลาทีด ่ ำ�รงตำ�แหน่ง


65

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2.4 สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทแทนกรรมการบริษัทที่ออกตามวาระ โดยคณะกรรมการสรรหา

และกำ�หนดค่าตอบแทนได้พิจารณาคณะกรรมการบริษัทที่ออกตามวาระ แต่ยังไม่สามารถพิจารณาคณะกรรมการบริษัทที่ออกตามวาระได้

เนื่ อ งจากบริ ษั ท ได้ เ ข้ า สู่ ก ระบวนการฟื้ น ฟู กิ จ การ และศาลล้ ม ละลายกลางได้ มี คำ�สั่ ง ให้ ฟื้ น ฟู กิ จ การเมื่ อ วั น ที่ 10 มี น าคม 2559 และเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 ศาลล้มละลายกลางได้มีค่ำ�สั่งเห็นชอบด้วยแผน และกำ�หนดให้บริษัท เป็นผู้บริหารแผนนั้น ดังนั้น บริษัท

ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 จึงจำ�เป็นต้องหยุดการพิจารณากรรมการ ที่ออกตามวาระไว้ก่อน

ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 โดยสรุปสาระสำ�คัญที่เกี่ยวข้องดังนี้ “ให้บรรดาสิทธิตามกฎหมาย

ของผู้ถือหุ้นของลูกหนี้ระงับลง เว้นแต่สิทธิที่จะได้รับเงินปันผล” และสิทธิของผู้ถือหุ้นจะเป็นของผู้บริหารชั่วคราว เจ้าหน้าที่พิทักษ์ทรัพย์ ผู้ทำ�แผน หรือผู้บริหารแผน (ตามขั้นตอนของกระบวนการฟื้นฟูกิจการ) ตามรายละเอียด ตามมาตราต่างๆ ดังนี้

มาตรา 90/21 วรรคแรก

“ภายใต้บังคับมาตรา 90/42 และมาตรา 90/64 ในกรณีที่ศาลมีคำ�สั่งให้ฟื้นฟูกิจการแต่ยังไม่มีการตั้งผู้ทำ�แผน ให้บรรดาสิทธิ

ตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นของลูกหนี้ระงับลง เว้นแต่สิทธิที่จะได้รับเงินปันผล และให้สิทธิดังกล่าวตกแก่ผู้บริหารชั่วคราวหรือเจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์ แล้วแต่กรณี จนกว่าจะมีการตั้งผู้ทำ�แผน”

มาตรา 90/24 วรรคแรก

“ถ้าศาลมีคำ�สัง่ ตัง้ ผูท ้ ำ�แผน ให้ศาลแจ้งคำ�สัง่ นัน ้ แก่ผท ู้ ำ�แผนเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์ ผูบ ้ ริหารของลูกหนี้ และผูบ ้ ริหารชัว ่ คราว

โดยไม่ชก ั ช้า อำ�นาจหน้าทีข ่ องผูท ้ ำ�แผนให้เริม ่ แต่วน ั ทีศ ่ าลมีคำ�สัง่ ดังกล่าว และให้อำ�นาจหน้าทีข ่ องเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์ผบ ู้ ริหารของลูกหนี้ หรือผู้บริหารชั่วคราวสิ้นสุดลง”

มาตรา 90/25 วรรคแรก

“ภายใต้บังคับมาตรา 90/42 และมาตรา 90/64 เมื่อศาลมีคำ�สั่งตั้งผู้ทำ�แผนแล้ว ให้อำ�นาจหน้าที่ในการจัดการกิจการ

และทรัพย์สินของลูกหนี้ และบรรดาสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นของลูกหนี้ ยกเว้นสิทธิที่จะได้รับเงินปันผล ตกแก่ผู้ทำ�แผน และให้นำ� บทบัญญัติมาตรา 90/12 (9) มาใช้บังคับแก่ผู้ทำ�แผนโดยอนุโลม”

มาตรา 90/42 วรรคสุดท้าย

“มิให้นำ�มาตรา 1117 มาตรา 1119 มาตรา 1145 มาตรา 1220 ถึงมาตรา 1228 มาตรา 1238 ถึงมาตรา 1243 แห่งประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 31 มาตรา 33 มาตรา 50 มาตรา 51 มาตรา 52 มาตรา 54 มาตรา 84 มาตรา 102 มาตรา 107 มาตรา 116

มาตรา 119 มาตรา 136 มาตรา 137 มาตรา 139 มาตรา 140 มาตรา 141 มาตรา 146 ถึงมาตรา 148 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาใช้บังคับแก่แผนตามมาตรานี้”

มาตรา 90/59 วรรคแรก

“ภายใต้บังคับมาตรา 90/42 และมาตรา 90/64 เมื่อศาลมีคำ�สั่งเห็นชอบด้วยแผน ให้ศาลแจ้งคำ�สั่งนั้นแก่ผู้บริหารแผน

และผู้ทำ�แผนโดยไม่ชักช้า ให้บรรดาสิทธิและอำ�นาจหน้าที่ของผู้ทำ�แผนตกเป็นของผู้บริหารแผนตั้งแต่ผู้บริหารแผนได้ทราบคำ�สั่งศาล”

นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561


66

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ค่าตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร

1. ค่าตอบแทนรวมที่เป็นตัวเงิน

หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

1.1 ค่าตอบแทนในรูปเงินค่าเบี้ยประชุมที่ได้จ่ายให้แก่กรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งขึ้น ตามอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นสรุปหลักเกณฑ์ได้ดังนี้

(1) (1.1) กรรมการบริษัท

(1.2) ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

25,000

บาทต่อเดือน

18,750 บาทต่อครั้ง 15,000 บาทต่อครั้ง

(1.3) ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

12,500

(1.4) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

12,500 บาทต่อครั้ง

กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

(1.5) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

10,000

10,000

12,500

10,000

บาทต่อครั้ง

บาทต่อครั้ง

บาทต่อครั้ง

บาทต่อครั้ง

บาทต่อครั้ง

(2) กรรมการบริษัทคนใดที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งขึ้น ก็จะได้รับ

ค่าตอบแทนในฐานะเป็นกรรมการชุดนั้นอีกตามภาระงานและเวลาที่ต้องใช้เพิ่มขึ้น


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

67

1.2 ประธานกรรมการบริษัท และรองประธานกรรมการบริษัท ได้รับค่าตอบแทนในฐานะที่มาปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะเต็มเวลา ในอัตรา 300,000 บาทต่อเดือน และ 200,000 บาทต่อเดือน ตามลำ�ดับ โดยไม่ได้รับค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท และเบี้ยประชุม คณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งขึ้นแต่อย่างใด

1.3 ประธานกรรมการตรวจสอบจะได้รับค่าตอบแทนในฐานะที่ต้องให้คำ�แนะนำ�ในรายละเอียดของการตรวจสอบ นอกเหนือจาก

1.4 กรรมการทีเ่ ป็นพนักงานบริษท ั ด้วย จะได้รบ ั ค่าตอบแทนในฐานะของพนักงานบริษท ั เท่านัน ้ จะไม่ได้รบ ั ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ

1.5 ค่าเบี้ยประกันสุขภาพ ประกันอุบัติเหตุ และประกันชีวิต ในวงเงินไม่เกินคนละ 20,000 บาท สำ�หรับกรรมการบริษัทคนใดที่บริษัท

การตรวจสอบปกติในฐานะกรรมการตรวจสอบของบริษัทอีก ในอัตรา 10,000 บาทต่อเดือน แต่อย่างใด

ผู้รับประกันได้ปฏิเสธการรับประกันบางประเภททั้งหมดและ/หรือยกเว้นไม่คุ้มครองเฉพาะโรคบางชนิดในกรณีประกันสุขภาพ

ไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตาม ให้บริษัทเป็นผู้รับภาระการประกันโดยตรงให้แก่กรรมการบริษัททุกคนที่บริษัทผู้รับประกันได้ปฏิเสธ การรับประกันดังกล่าวในวงเงินเท่ากับวงเงินประกันและ/หรือสิทธิประโยชน์ที่บริษัทผู้รับประกันชีวิต ประกันสุขภาพ และประกัน

อุบัติเหตุ ให้ความคุ้มครองแก่กรรมการบริษัทในอัตราค่าเบี้ยประกันที่ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติไว้แล้ว

1.6 ค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นประเภทเงินบำ�เหน็จกรรมการหรือโบนัสประจำ�ปี

(1) การจ่ายเงินบำ�เหน็จกรรมการจะจ่ายเมื่อมีการจัดสรรเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากปีใดบริษัทมิได้มีการจ่ายเงินปันผล

แก่ผู้ถือหุ้น กรรมการบริษัทก็จะไม่ได้รับเงินบำ�เหน็จกรรมการในปีนั้นๆ

ผู้ถือหุ้น และให้ประธานกรรมการบริษัท และรองประธานกรรมการบริษัท ได้รับเงินบำ�เหน็จกรรมการมากกว่ากรรมการ

(2) อัตราการจ่ายบำ�เหน็จกรรมการนั้น ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติให้จ่ายในอัตราร้อยละ 0.25 ถึง 0.50 ของเงินปันผลที่จ่ายให้แก่

ร้อยละ 10 และร้อยละ 5 ตามลำ�ดับ

(3) ในกรณีที่กรรมการคนใดดำ�รงตำ�แหน่งไม่ครบปี ให้จ่ายเงินบำ�เหน็จกรรมการตามสัดส่วนของระยะเวลาที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

ทั้งนี้ ให้คงหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนตามข้อ 1.1 ถึง 1.6 ดังกล่าวข้างต้นตลอดไปจนกว่าที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะได้พิจารณาอนุมัติให้

สำ�หรับในปี 2560 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทในฐานะผู้ทำ�แผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ตามคำ�สั่งศาลล้มละลายกลาง เมื่อวันที่

เปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น

15 ธันวาคม 2559 คดีหมายเลขแดงที่ ฟ.8/2559 ในคราวประชุมครั้งที่ 5/2560 เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2560 รับทราบการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่

กรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งขึ้นสำ�หรับปี 2559 เป็นรายบุคคล พร้อมทั้งรับทราบการงดเว้น การจ่ายบำ�เหน็จกรรมการสำ�หรับปี 2559 ให้แก่กรรมการบริษัทตามหลักเกณฑ์ที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นไว้แล้ว


68

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึง่ คณะกรรมการบริษท ั แต่งตัง้ ขึน ้ ทีจ ่ า ่ ยในปี 2560

รายชื่อกรรมการ

ค่าตอบแทน (บาท) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ สรรหา กำ�กับดูแล บริหาร และกำ�หนด กิจการที่ดี ความเสี่ยง ค่าตอบแทน

รวม (บาท)

1. นายวิทย์ วิริยประไพกิจ 1)

-

-

-

-

-

-

2. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์ 2) 3)

-

-

-

-

-

-

3. นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์ 4)

300,000

-

-

-

4. นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ 5)

300,000

-

5. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

300,000

6. นายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์

300,000

7. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

300,000

8. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

300,000

-

9. นายกมล จันทิมา 6)

300,000

-

-

75,000 105,000

50,000 -

-

50,000 30,000

350,000 350,000 405,000

-

30,000

-

330,000

-

20,000

-

425,000

40,000

37,500

40,000 -

380,000 337,500

10. นายวิน วิริยประไพกิจ *

-

-

-

-

-

-

11. นายนาวา จันทนสุรคน **

-

-

-

-

-

-

รวม

2,100,000

180,000

90,000

87,500

120,000

2,577,500

หมายเหตุ :

ประธานกรรมการบริษัท

1)

รองประธานกรรมการบริษัท

2)

ประธานกรรมการตรวจสอบ

3)

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

4)

ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

5)

ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

6)

* นายวิน วิริยประไพกิจ กรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพนักงานบริษัทจึงไม่ได้รับ ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษัท

** นายนาวา จันทนสุรคน กรรมการบริษัท เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายธุรกิจ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพนักงานบริษัท จึงไม่ได้รับค่าตอบแทน ในฐานะกรรมการบริษัท

- ประธานกรรมการบริษัท และรองประธานกรรมการบริษัท ได้รับค่าตอบแทนในฐานะที่มาปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะเต็มเวลา โดยไม่ได้รับค่าเบี้ยประชุมเพิ่มเติมอีก


69

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนของประธานกรรมการบริษท ั และรองประธานกรรมการบริษท ั ในฐานะทีม ่ าปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ นลักษณะเต็มเวลาทีจ ่ า ่ ยในปี 2560

ลำ�ดับ

รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่งในบริษัท

1.*

นายวิทย์ วิริยประไพกิจ

ประธานกรรมการบริษัท

2.

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

รองประธานกรรมการบริษัท

ค่าตอบแทนในฐานะที่มาปฏิบัติหน้าที่ ในลักษณะเต็มเวลา (บาท) 600,026 2,400,000

หมายเหตุ :

* ประธานกรรมการบริษัท ขอรับค่าตอบแทนเฉพาะของเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ 2560

ค่าตอบแทนกรรมการอิสระของบริษท ั ทีด ่ � ำ รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษท ั ย่อยทีจ ่ า ่ ยในปี 2560

ลำ�ดับ

รายชื่อกรรมการอิสระของบริษัท ในบริษัทย่อย

ตำ�แหน่งในบริษัทย่อย

ค่าตอบแทนปี 2560 (บาท)

บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด 1.

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

กรรมการบริษัท

150,000

2.

นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

กรรมการบริษัท

150,000

ประธานกรรมการบริษัท

360,000

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด 1.

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

1.7 ค่าตอบแทนรวมของผูบ ้ ริหารระดับผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ขน ึ้ ไป ในรูปเงินเดือน เงินชดเชยเนือ ่ งจากการเกษียณอายุการทำ�งาน

ค่าชดเชยรถประจำ�ตำ�แหน่ง ค่าเบี้ยประกันภัยที่บริษัทออกให้ และค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางส่วนที่เกินราชการกำ�หนด (ต่างประเทศ) รวม 9 คน และกรรมการผู้จัดการใหญ่ 1 คน จำ�นวนทั้งสิ้นปีละ 72,084,969 บาท

2. ค่าตอบแทนอื่นๆ

เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพของผูบ ้ ริหารระดับผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ขน ึ้ ไป รวม 9 คน และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ 1 คน จำ�นวน

ทั้งสิ้นปีละ 5,938,774.20 บาท


70

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

71

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ผังองค์กร คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สำ�นักประธานกรรมการ • สำ�นักเลขานุการบริษัท

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม สำ�นักตรวจสอบภายในกลุ่ม

• • • • • •

คณะกรรมการจัดการ

ธุรกิจโรงถลุงเหล็ก

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน

• บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี

ธุรกิจเหล็กปลายน�้ำ

สำ�นักเทคโนโลยีกลุ่ม สำ�นักการเงินและบัญชีกลุ่ม สำ�นักบริหารความเสี่ยงกลุ่ม สำ�นักเทคโนโลยีสารสนเทศกลุ่ม สำ�นักกลยุทธ์องค์กรกลุ่ม สำ�นักการพัฒนาอย่างยั่งยืนกลุ่ม

• • • • •

สำ�นักจัดซื้อกลุ่ม สำ�นักกฎหมายกลุ่ม สำ�นักรัฐกิจสัมพันธ์กลุ่ม สำ�นักทรัพยากรบุคคลกลุ่ม สำ�นักกำ�กับดูแลกิจการและปฏิบัติงานกลุ่ม

ธุรกิจวิศวกรรม

• บมจ. เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย • บจก. เหล็กแผ่นเคลือบไทย

ธุรกิจท่าเรือ

• บจก. เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง

• บจก. ท่าเรือประจวบ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

สายการเงินและบัญชี

สายทรัพยากรบุคคลและธุรการ

สายธุรกิจ

ด้านพัฒนาธุรกิจเหล็ก ส�ำหรับงานก่อสร้าง

ด้านเทคโนโลยีก่อสร้าง

สายการผลิต

ด้านการเงิน

ด้านบัญชี

ด้านทรัพยากรบุคคล และธุรการ (ส�ำนักงานกรุงเทพฯ)

ด้านทรัพยากรบุคคล และธุรการ (โรงงานบางสะพาน)

ด้านธุรกิจการค้า ในประเทศ

ด้านธุรกิจการค้า ระหว่างประเทศ และจัดหาวัตถุดิบ

ด้านนวัตกรรม

ด้านพัฒนาธุรกิจเหล็ก ส�ำหรับงานก่อสร้าง

ด้านเทคโนโลยีก่อสร้าง

ด้านปฏิบัติการ

ด้านซ่อมบ�ำรุง

ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์

ฝ่ายการเงิน

ฝ่ายบัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และธุรการ (กรุงเทพฯ)

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และธุรการ (โรงงาน)

ฝ่ายวางแผนการขาย และจัดจ�ำหน่าย

ฝ่ายวางแผน เหล็กแท่งแบน

ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ และตลาด

ฝ่ายวิศวกรรมเหล็ก งานก่อสร้าง

ฝ่ายออกแบบและปฏิบัติการ เทคโนโลยีก่อสร้าง

ฝ่ายวางแผนการผลิต และโลจิสติกส์

ฝ่ายซ่อมบ�ำรุงไฟฟ้า

ฝ่ายปรับปรุงคุณภาพ ผลิตภัณฑ์

ฝ่ายบัญชีต้นทุน

ฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนา (กรุงเทพฯ)

ฝ่ายพนักงานสัมพันธ์ และสวัสดิการ

ฝ่ายปฏิบัติงานขาย

ฝ่ายธุรกิจต่างประเทศ

ฝ่ายบริการปรับแต่ง ผลิตภัณฑ์และเทคนิค

ฝ่ายการตลาดเหล็ก งานก่อสร้าง

ฝ่ายขายเทคโนโลยีก่อสร้าง

ฝ่ายผลิต HSM

ฝ่ายซ่อมบ�ำรุงเครื่องกล

ฝ่ายประกันคุณภาพ ผลิตภัณฑ์

ฝ่ายผลิต HFL & PO

ฝ่ายบริการสาธารณูปโภค

ส�ำนักควบคุมการผลิต

ส�ำนักเครื่องมือวัดคุม อุตสาหกรรรม

ส�ำนักควบคุม ระบบปฏิบัติการ

ส�ำนักควบคุมระบบไดร์ฟ

กลุ่มงานธุรกิจการค้า ในประเทศ 1 - ฝ่ายขาย 1 - ฝ่ายขาย 2 - ฝ่ายขาย 3 - ฝ่ายขาย 4 - ฝ่ายขาย 5 - ฝ่ายขาย 6 กลุ่มงานธุรกิจการค้า ในประเทศ 2 - ฝ่ายขาย 7 - ฝ่ายขาย 8

ส�ำนักควบคุม ระบบอัตโนมัติ

ส�ำนักคลังวัสดุ ส�ำนักจัดการสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

72

รายงานคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปี 2560

คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทได้ตั้งขึ้นตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

ครัง้ ที่ 7/2550 เมือ ่ วันที่ 3 ธันวาคม 2550 ซึง่ ปัจจุบน ั ประกอบด้วยกรรมการบริษท ั จำ�นวน 3 คน มีนายกมล จันทิมา กรรมการบริษท ั เป็นประธานฯ มีนายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ และนายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์ กรรมการอิสระ เป็นกรรมการฯ

คณะกรรมการชุดนี้ได้รับมอบหมายภาระหน้าที่และความรับผิดชอบจากคณะกรรมการบริษัท ในการเสนอทบทวนนโยบายการกำ�กับ

ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท พัฒนาและทบทวนแนวปฏิบัติในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ

บริษัท ติดตามดูแลการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามนโยบายและแนวปฏิบัติในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทที่ได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัท รวมทั้งให้คำ�ปรึกษาฝ่ายจัดการ เรื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท (Corporate Social Responsibility: CSR)

และกำ�กับดูแลให้ฝ่ายจัดการของบริษัทมีแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจนในการปฏิบัติตามนโยบาย CSR และติดตามผลการปฏิบัติตามแผนงาน ของฝ่ายจัดการ เพือ ่ รายงานต่อคณะกรรมการบริษท ั ตลอดจนการเสนอความเห็นเพือ ่ ทบทวนและปรับปรุงปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจ จริยธรรม ธุรกิจ จริยธรรมกรรมการ จริยธรรมของผู้บริหารและพนักงาน และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ

บริษัท ทั้งนี้ เพื่อให้งานด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ที่บริษัทจดทะเบียนพึงปฏิบัติ

ในปี 2560 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีได้ประชุมรวม 3 ครั้ง โดยดำ�เนินการตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย

1. พิจารณาทบทวนการกำ�หนดขนาดรายการของธุรกรรมทางการค้าหรือทางธุรกิจระหว่างบริษัทหรือบริษัทย่อยกับลูกค้า คู่ค้า ลูกหนี้

รวมทั้งได้รายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบถึงการดำ�เนินงานดังกล่าว สรุปที่สำ�คัญ ดังนี้

เจ้าหนี้ ของบริษัทหรือบริษัทย่อย ที่ถือว่ามีนัยสำ�คัญ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท สำ�หรับปี 2560 ทั้งนี้ เป็นไปตามแนวปฏิบัติคณะกรรมการบริษัท ว่าด้วยเรื่อง การกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน การมีส่วนได้เสีย ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ที่ประกาศให้ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2552


73

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2. พิจารณารายงานการเปรียบเทียบหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ส ี ำ�หรับบริษท ั จดทะเบียน ปี 2560 (CG Code) กับนโยบายและแนวปฏิบต ั ิ

3. พิ จ ารณารายงานการเปรีย บเทีย บหลักการตามคู่มือแนวทางการกำ�หนดมาตรการควบคุมภายในที่เหมาะสมสำ�หรับนิติบุคคล

เกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท และให้คำ�แนะนำ�ให้ฝ่ายจัดการไปดำ�เนินการ เพื่อเตรียมความพร้อมสำ�หรับการปรับใช้ในปี 2561 ในการป้องกันการให้สน ิ บนเจ้าหน้าทีข ่ องรัฐ เจ้าหน้าทีข ่ องรัฐต่างประเทศ และเจ้าหน้าทีข ่ ององค์การระหว่างประเทศ กับมาตรการและแนวปฏิบต ั ิ

ของบริษท ั โดยพิจารณาเห็นควรให้คณะทำ�งานดำ�เนินการขับเคลือ ่ นนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ไปศึกษา เพือ ่ จะได้ทราบถึงข้อห้าม และข้อควรปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย และ/หรือพระราชบัญญัติที่ต้องพิจารณา

4. พิจารณาประเมินผลตนเองของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประจำ�ปี 2560 ตามแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ

ชุดย่อยแบบรายคณะ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และพิจารณาร่างรายงานการประเมินผลตนเองของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประจำ�ปี 2560 ที่จะนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท

5. กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัท ซึ่งมีหน่วยงานของบริษัท คือ สำ�นักการพัฒนา

อย่ า งยั่ ง ยื น และสื่ อ สารกลุ่ ม และสำ�นั ก จั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มและความปลอดภั ย โรงงาน เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบและผู้ ดำ�เนิ น การ โดยได้ ร ายงาน ผลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษท ั สำ�หรับปี 2560 เสนอคณะกรรมการบริษท ั ทราบว่ามีการดำ�เนินกิจกรรมพัฒนาสังคม และชุมชนรวมจำ�นวน 50 โครงการ (รวมกิจกรรมเอสเอสไออาสา 26 กิจกรรม) ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 4,705,395.67 บาท โดยมีผู้มีส่วนได้เสีย ที่ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมประมาณ 26,971 คน

6. รั บ ทราบรายงานต่ า งๆ เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการติ ด ตามดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยจั ด การให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายและแนวปฏิ บั ติ

ในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท โดยนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ ดังนี้

6.1 รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษท ั รายงานการซือ ้ หรือการขายหลักทรัพย์ ซึง่ เป็นการเปลีย ่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์

ของบริษัท ในส่วนของผู้บริหารบริษัท ได้แก่ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการทั่วไป รวมถึงผู้จัดการฝ่าย ของสายการเงินและบัญชี ตลอดจนผู้จัดการส่วนของฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ซึ่งสังกัดสำ�นักการเงินกลุ่ม ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการใช้ข้อมูลภายในในการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ของบริษัท

6.2 รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ได้แก่ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

และผู้จัดการทั่วไป

7. อื่นๆ

7.1 ติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

7.3 สอบทานข้อมูลทีเ่ ปิดเผยไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

7.2 รับทราบรายงานผลการพิจารณาของคณะอนุทำ�งานพิจารณาความเสียหาย

ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) สำ�หรับปีบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และในรายงานประจำ�ปี 2560 (แบบ 56-2)

ในหัวข้อเรื่อง “การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี” โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2556 ได้มีการเปิดเผยเพิ่มเติมถึงเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ในหัวข้อเรื่อง “ความรับผิดชอบต่อสังคม” ด้วย

7.4 รายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท

ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ม ี ค ี วามมุง่ มัน ่ ทีจ ่ ะร่วมกันยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการและความรับผิดชอบ

ต่อสังคมไปสู่มาตรฐานสากล เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีความตั้งใจในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ ด้วยความซื่อสัตย์

สุจริต ระมัดระวัง รอบคอบ ดูแลรักษาประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียไปพร้อมๆ กับการดูแลสร้างสรรค์สังคม รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง

นายกมล จันทิมา ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี


74

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การก�ำกับดูแลกิจการ

นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ

กิจการทีด ่ ส ี ำ�หรับบริษท ั จดทะเบียน ปี 2555 ซึง่ ได้ปรับปรุงแก้ไขเพิม ่ เติม

ASEAN CG Scorecard และแนวปฏิบัติที่ดีในระดับสากล อันจะช่วย

คณะกรรมการบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

ตระหนักดีถงึ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

ตามที่ได้รับ มอบหมายด้วยความไว้วางใจจากผู้ถือหุ้นของบริษัท (Fiduciary Duty) ซึ่งมีความคาดหวังที่จะให้คณะกรรมการได้ทำ� หน้ า ที่ กำ�กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ให้ มี ก ารบริ ห ารงานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และโปร่ ง ใส อั น จะสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

ทุกฝ่าย ทั้งนี้ บริษัทได้ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดถือปฏิบัติตามหลักการ

กำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท มีการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน

คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามสำ�คั ญ ในเรื่ อ งการกำ�กั บ

ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยได้ ป ระกาศใช้ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีมาตั้งแต่ปี 2545 เพื่อใช้เป็นหลัก ในการบริ ห ารจั ด การให้ สั ม ฤทธิ ผ ล และมี ก ารทบทวนนโยบายฯ

ดั ง กล่ า วในปลายปี 2550 ให้ มี ค วามเหมาะสมยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น

การยกระดับมาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการของบริษท ั และให้เป็นไป

ตามหลักปฏิบัติที่ดีของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย เมื่อปี 2556 ศูนย์พัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ประกาศหลักการกำ�กับดูแล

ในส่วนของแนวปฏิบัติที่ดีทั้ง 5 หมวด ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์

ยกระดับหุ้นไทยสู่การเป็น ASEAN Asset Class ต่อไป โดยอ้างอิง หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่เป็นสากลของ The Organisation for

Economic Co-operation and Development (OECD Principles of Corporate Governance) ที่ประกอบด้วย 5 หมวดหลัก ได้แก่

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

เพื่อให้มีความมั่นใจว่า บริษัทมีการกำ�กับดูแลการถือปฏิบัติ

ตามนโยบายฯ ดังกล่าวข้างต้นอย่างจริงจัง ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good

Corporate Governance Committee) ขึ้น ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2550 ซึ่ ง เป็ น คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยที่ จ ะมาช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระของ

คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการบริษัทจำ�นวน 3 คน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี ซึง่ ปัจจุบน ั แม้ประธานกรรมการ

กำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ม ี ไิ ด้เป็นกรรมการอิสระ แต่มก ี รรมการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีอีกจำ�นวน 2 คน เป็นกรรมการอิสระ


75

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ตามมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เมื่ อ

เดือนกุมภาพันธ์ 2556 ให้บริษัทพิจารณาปรับปรุงแก้ไขนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ให้สอดคล้องกับหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 ดังกล่าวข้างต้น ซึ่ ง จะนำ�ไปสู่ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท และผู้ ถื อ หุ้ น โดยรวม ทั้ ง นี้

ได้มีเจตนารมณ์ร่วมกันในคณะกรรมการบริษัทว่า การที่จะพัฒนา ยกระดับมาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีภายในบริษัทนั้นต้อง

พึ่งพาและประสานการทำ�งานของกลไกทั้ง 4 ด้านเข้าด้วยกัน คือ คณะกรรมการบริ ษั ท ฝ่ า ยจั ด การของบริ ษั ท ผู้ ต รวจสอบบั ญ ชี ภายนอกของบริษัทที่เป็นอิสระ และผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท

เพื่อให้บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) สามารถ

บรรลุ ถึ ง เจตจำ�นงดั ง กล่ า วข้ า งต้ น รวมทั้ ง ได้ มี ก ารถื อ ปฏิ บั ติ ตามนโยบายในการกำ�กั บ ดู แ ลบริ ษั ท จดทะเบี ย นของสำ�นั ก งาน คณะกรรมการกำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รวมถึ ง

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริษัท สหวิริยา สตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) ในการประชุมครัง้ ที่ 10/2557 เมือ ่ วันที่ 18 กันยายน 2557 จึงมีมติเห็นควรให้ยกเลิกนโยบายคณะกรรมการ

บริษัท ที่ 1/2550 เรื่อง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2550 และให้ประกาศใช้นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) ไว้ ดังนี้

1. คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วาม

สำ�คัญ ต่อ หน้า ที่ความรับผิดชอบของตน

ที่ พึ ง มี ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ข อ ง บ ริ ษั ท ใ น ก า ร ที่ จะต้ อ งรั ก ษาสิ ท ธิ แ ละปกป้ อ งประโยชน์

ข้อ 1 - 3 อยู่ในหมวด • สิทธิของผู้ถือหุ้น

• การปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างเท่าเทียมกัน

ในทุ ก ประการของผู้ ถื อ หุ้ น โดยส่ ง เสริ ม

ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ ใ ช้ สิ ท ธิ ต ามบทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมาย รวมทั้ ง ดู แ ล

ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายได้ รั บ การปฏิ บั ติ แ ละรั บ ทราบข้ อ มู ล จากบริ ษั ท อย่างเท่าเทียมกัน

2. คณะกรรมการบริษัทจะกำ�กับดูแลให้การประชุมผู้ถือหุ้น

และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของบริ ษั ท เป็ น ไปตามบทบั ญ ญั ติ ข อง

กฎหมายและเป็นไปตามแนวปฏิบต ั ท ิ ด ี่ ข ี องสำ�นักงานคณะกรรมการ

กำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย

3. คณะกรรมการบริ ษั ท จะกำ�กั บ ดู แ ลและติ ด ตามให้ มี

การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ ว่าด้วยเรื่อง การเก็บรักษาและป้องกัน การใช้ข้อมูลภายในของบริษัท เพื่อการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของ บริษัท เพื่อขจัดปัญหาเรื่องการใช้ข้อมูลภายในในการซื้อหรือขาย

หลักทรัพย์ของบริษัท รวมทั้งให้มีการสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้ทราบ

4. คณะกรรมการบริ ษั ท จะคำ�นึ ง

ถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ของ บริษท ั และกำ�กับดูแลบริษท ั ให้มีการปฏิบต ั ิ ตามบทบัญญัติของกฎหมาย

ข้อ 4 - 6 อยู่ในหมวด

• บทบาทของผู้มีส่วน ได้เสีย

5. คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ การกำ�กั บ ดู แ ล

เรื่องความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม โดยเฉพาะ

อย่ า งยิ่ ง ในเรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบจากการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท

โดยตรง เพื่อให้มั่นใจว่า การประกอบธุรกิจของบริษัทได้คำ�นึงถึง ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ผู้มีส่วนได้เสียทราบ

6. คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ การต่ อ ต้ า น

การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยจะกำ�กับดูแลและติดตามให้มีการปฏิบัติ

ตามนโยบายและแนวปฏิ บั ติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง การต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ซึง่ บริษท ั จะไม่ยอมรับหรือกระทำ�การ ใดๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ในทุ ก รู ป แบบทั้ ง ทางตรง หรือทางอ้อม

7. คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วาม

สำ�คัญกับความโปร่งใสในการดำ�เนินธุรกิจ

ของบริ ษั ท ที่ พึ ง ขจั ด ปั ญ หาความขั ด แย้ ง

ข้อ 7 - 8 อยู่ในหมวด • การเปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส

ทางผลประโยชน์ ระหว่ า งประโยชน์ ข อง

บริษัทหรือของผู้ถือหุ้นโดยรวม กับประโยชน์ส่วนตนของกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอื่น โดยจะกำ�กับดูแล

และติดตามให้มก ี ารปฏิบต ั ต ิ ามแนวปฏิบต ั ิ ว่าด้วยเรือ ่ ง ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ด้วยความระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุมีผล และเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี

ทั้งนี้ ผู้มีส่วนได้เสียต้องไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจใดๆ

ที่เกี่ยวข้อง และการตัดสินใจต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัท และผู้ ถื อ หุ้ น โดยรวมเป็ น สำ�คั ญ รวมทั้ ง ต้ อ งมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา

8. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท จ ะ กำ� กั บ ดู แ ล เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ ล ง ทุ น

มี ค วามมั่ น ใจได้ ว่ า บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล สารสนเทศที่ สำ�คั ญ ของบริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา

9. คณะกรรมการบริ ษั ท จะต้ อ ง

ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระไม่ น้ อ ยกว่ า

หนึ่งในสามของจำ�นวนกรรมการทั้งคณะ

ข้อ 9 - 17 อยู่ในหมวด • ความรับผิดชอบ

ของคณะกรรมการ

10. คณะกรรมการบริ ษั ท จั ด ให้ มี

คณะกรรมการย่ อ ยชุ ด ต่ า งๆ โดยให้ มี บ ทบาทและอำ�นาจหน้ า ที่

ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย รวมทั้งศึกษาและกลั่นกรอง งานก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการบริษท ั ซึง่ คณะกรรมการย่อยชุดต่างๆ

ของบริษัท ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา

และกำ�หนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

และคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ทั้ ง นี้ อาจพิ จ ารณาเพิ่ ม คณะกรรมการย่ อ ยชุ ด อื่ น ๆ อี ก ตามความจำ�เป็ น ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ การบริหารงานของกรรมการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยุติธรรม และโปร่งใส


76

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

11. คณะกรรมการบริ ษั ท เห็ น ควรให้ มี ก ารแบ่ ง แยกบุ ค คล

ผู้ ดำ�รงในตำ�แหน่ ง ประธานกรรมการบริ ษั ท ออกจากประธาน

เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ่ ม และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ข องบริ ษั ท โดยคณะกรรมการบริษท ั จะกำ�หนดอำ�นาจหน้าทีข ่ องแต่ละตำ�แหน่ง ให้ ชั ด เจน นอกจากนี้ ยั ง เห็ น ควรให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง คู่ มื อ อำ�นาจ

ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีขอบเขตของการกระจายอำ�นาจ

ของคณะกรรมการบริ ษั ท และขอบเขตของฝ่ า ยจั ด การผู้ รั บ มอบ การใช้อำ�นาจที่แจ้งชัด

12. คณะกรรมการบริษท ั มีหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบในการกำ�หนด

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในการดำ�เนินงานของบริษัท ซึ่งต้อง

มี ก ารทบทวนเป็ น ระยะๆ อย่ า งสม่ำ� เสมอ รวมทั้ ง กำ�กั บ ดู แ ลให้ ฝ่ายจัดการดำ�เนินการตามแผนงานให้สอดคล้องกันด้วย

13. คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ หน้ า ที่ ค วาม

รับผิดชอบในการกำ�กับดูแลเรื่องการบริหารความเสี่ยง และระบบ การควบคุมภายในของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจัดให้มี หน่วยงานตรวจสอบภายในแยกเป็นส่วนงานหนึ่งของบริษัท

14. คณะกรรมการบริ ษั ท จะยึ ด มั่ น ในปรั ช ญาในการดำ�เนิ น

ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และจะกำ�กั บ ดู แ ลและติ ด ตามให้ มี ก ารปฏิ บั ติ

ตามจริ ย ธรรมในการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท จริ ย ธรรมของ กรรมการบริษัท และจริยธรรมของพนักงาน รวมทั้งให้มีการสื่อสาร ให้ทุกฝ่ายได้ทราบ

15. คณะกรรมการบริ ษั ท จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม โดยสม่ำ� เสมอ

เป็ น ประจำ�ทุ ก เดื อ น และอาจมี ก ารประชุ ม พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม ตาม ความจำ�เป็นได้ โดยมีกำ�หนดการประชุมล่วงหน้า มีการกำ�หนด

วาระการประชุมทีช ่ ด ั เจน โดยกรรมการสามารถเสนอเรือ ่ งเพือ ่ บรรจุ ในวาระการประชุ ม และมี ก ารนำ�ส่ ง เอกสารประกอบการประชุ ม

ล่วงหน้าตามข้อบังคับของบริษัท เพื่อให้กรรมการได้มีเวลาศึกษา ข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม

16. คณะกรรมการย่อยแต่ละชุดจัดให้มก ี ารประชุมเป็นประจำ�

ตามความเหมาะสม ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี และคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งมีการประชุม

อย่ า งน้ อ ยปี ล ะสี่ ค รั้ ง สำ�หรั บ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนมีการประชุมอย่างน้อยปีละสองครัง้ ทัง้ นี้ คณะกรรมการย่อย

แต่ ล ะชุ ด อาจมี ก ารประชุ ม พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม ตามความจำ�เป็ น ได้

โดยมีกำ�หนดการประชุมล่วงหน้า มีการกำ�หนดวาระการประชุม

ทีช ่ ด ั เจน และมีการนำ�ส่งเอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้า เพือ ่ ให้ กรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม

17. คณะกรรมการบริษัทจะทำ�หน้าที่พิจารณาค่าตอบแทน

ของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ่ ม และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่

ตามที่ ค ณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนนำ�เสนอ โดยค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม และกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท

สำ�หรับค่าตอบแทนใดๆ ของกรรมการให้เป็นไปตามมติที่ประชุม

ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ เพื่อให้การจ่ายค่าตอบแทนเป็นไปอย่างเหมาะสม มีความโปร่งใส และป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์

18. นโยบายนี้ให้มีการทบทวนเป็นประจำ�สม่ำ�เสมอ การแก้ไข

19. นโยบายนี้ จ ะได้ มี ป ระกาศหรื อ แนวปฏิ บั ติ กำ�หนด

เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง ให้เป็นไปตามความจำ�เป็นและเหมาะสม

รายละเอี ย ด/หลั ก เกณฑ์ / วิ ธี ป ฏิ บั ติ เพื่ อ ความเหมาะสมตามควร

แก่ ก รณี ต่ อ ไป ทั้ ง นี้ บรรดาประกาศ หรื อ แนวปฏิ บั ติ ที่ อ อกตาม นโยบายคณะกรรมการบริษท ั ที่ 1/2550 เรือ ่ ง การกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2550 ที่มีผลใช้บังคับอยู่ในวันที่นโยบาย

ฉบั บ นี้ ใ ช้ บั ง คั บ ให้ ยั ง คงใช้ บั ง คั บ ได้ ต่ อ ไปเพี ย งเท่ า ที่ ไ ม่ ขั ด หรื อ แย้งกับนโยบายนี้ จนกว่าจะมีประกาศหรือแนวปฏิบัติใหม่ที่ออก ตามนโยบายนี้ใช้บังคับแทน

ในปี 2560 บริษท ั ไม่ได้รบ ั การประเมินผลในโครงการทีเ่ กีย ่ วข้อง

กับการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี ทัง้ โครงการสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (Corporate Governance Report of

Thai Listed Companies 2017: CGR) ที่สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ร่ ว มกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์

แห่งประเทศไทย และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เป็นผูจ ้ ด ั รวมถึงโครงการประเมินคุณภาพการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ สามัญ

ประจำ�ปี 2560 (Annual General Meeting: AGM) ที่สำ�นักงาน

คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ร่วมกับสมาคม

ส่งเสริมผู้ลงทุนไทย และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นผู้จัด เนื่องจากบริษัทได้ยื่นคำ�ร้องขอฟื้นฟูกิจการต่อศาลล้มละลายกลาง

เมื่ อ วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2558 ต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่ 10 มี น าคม 2559 ศาลมีคำ�สั่งให้บริษัทฟื้นฟูกิจการ ส่งผลให้บรรดาสิทธิตามกฎหมาย ของผู้ ถื อ หุ้ น ระงั บ ลง เว้ น แต่ สิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ เงิ น ปั น ผล ซึ่ ง ทำ�ให้ บริษัทไม่ต้องจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี นับตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา


77

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การปฏิบัติตามหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

บริ ษั ท สหวิ ริ ย าสตี ล อิ น ดั ส ตรี จำ�กั ด (มหาชน) ได้ ใ ห้

ความสำ�คั ญ กั บ หลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สำ�หรั บ บริ ษั ท จดทะเบียน ปี 2560 ตามทีส ่ ำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์

และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ประกาศใช้เมือ ่ เดือนมีนาคม 2560

ที่ ผ่ า นมา โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ รั บ ทราบหลั ก ปฏิ บั ติ ต าม CG Code และตระหนั ก ถึ ง บทบาทหน้ า ที่ ใ นฐานะผู้ นำ� ซึ่ ง เป็ น ผู้รับผิดชอบสูงสุดของบริษัทในการดำ�เนินธุรกิจ (Governing Body) ในการสร้ า งคุ ณ ค่ า ให้ แ ก่ กิ จ การอย่ า งยั่ ง ยื น โดยคณะกรรมการ

บริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ ค ณะกรรมการการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เป็นผู้พิจารณาดำ�เนินการต่อไป

การถือปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

ของ The Organisation for Economic Co-operation and

บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ป รั ช ญาในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ

ที่ประกอบด้วย 5 หมวดหลัก สรุปได้ดังนี้

อนุมัติไว้ ซึ่งได้มีการพิจารณาทบทวนครั้งล่าสุดเมื่อปี 2559 เพื่อ

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

มีอยู่ร่วมกันและปฏิบัติจริง จนเป็นเอกลักษณ์ทั้งในฐานะของบริษัท

ในปี 2560 ซึ่ ง อ้ า งอิ ง ตามหลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ เ ป็ น สากล

Development (OECD Principles of Corporate Governance)

ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ใน 2 หมวดแรกที่เกี่ยวกับ

ของบริษัท และจริยธรรมธุรกิจ ที่คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณา เป็นหลักการ ความเชื่อ และแนวทางที่บริษัทและบุคลากรทุกคน

และคุณค่าทีบ ่ ริษท ั มอบให้แก่ผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกกลุม ่ ซึง่ ได้หล่อหลอม

เป็นวิถีแห่งการผลักดันขับเคลื่อนการดำ�รงอยู่ พัฒนา และเติบโต อย่างยั่งยืนของบริษัท

ผู้ ถื อ หุ้ น นั้ น จากการที่ บ ริ ษั ท ได้ ยื่ น คำ�ร้ อ งขอฟื้ น ฟู กิ จ การต่ อ ศาล

2559 ศาลมีคำ�สั่งให้บริษัทฟื้นฟูกิจการ และตั้งให้บริษัทเป็นผู้ทำ�

อย่างยั่งยืนนั้น มีรากฐานที่เริ่มจากปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจของ

ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ล้ ม ละลาย ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ บ รรดาสิ ท ธิ ต าม

1. มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ

แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 ศาลล้มละลาย

3. เชื่อมั่นในคุณค่าของบุคลากร

กิจการได้กำ�หนดให้บริษท ั เป็นผูบ ้ ริหารแผนฯ ซึง่ บริษท ั มีความมุง่ มัน ่

ของแผนตามที่ กำ�หนดได้ โ ดยเร็ ว ที่ สุ ด โดยผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว น

1. แนวโน้มเศรษฐกิจ

ได้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น และทั น การณ์ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท

3. แผนยุทธศาสตร์ 3 ปี

ความคื บ หน้ า ของการฟื้ น ฟู กิ จ การแจ้ ง ไปยั ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์

Mission and Values Statement)

งบการเงินและคำ�อธิบายและวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการแล้ว

Strategic Goals)

ปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท

ล้มละลายกลางเมือ ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ต่อมาเมือ ่ วันที่ 10 มีนาคม

การบริหารจัดการองค์กรของบริษท ั เพือ ่ นำ�ไปสูก ่ ารเจริญเติบโต

แผนฟื้น ฟูกิ จ การ โดยบริษัทอยู่ระหว่างกระบวนการฟื้นฟูกิจการ

บริษัท ซึ่งประกอบด้วย

กฎหมายของผูถ ้ อ ื หุน ้ ระงับลง เว้นแต่สท ิ ธิทจ ี่ ะได้รบ ั เงินปันผล (ถ้ามี)

กลางได้มีคำ�สั่งเห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการและโดยที่แผนฟื้นฟู

ที่ จ ะดำ�เนิ น การตามแผนฟื้ น ฟู กิ จ การดั ง กล่ า วให้ ไ ด้ ถึ ง ผลสำ�เร็ จ

ได้ เ สี ย ทุ ก รายสามารถติ ด ตามและรั บ ทราบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ บริ ษั ท

และของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ บริษท ั ได้มก ี ารรายงาน

3.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และค่านิยม (Vision,

แห่ ง ประเทศไทยเป็ น รายไตรมาส นอกเหนื อ จากการนำ�ส่ ง

3.2 วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Objective &

3.3 แผนกิจกรรมและโครงการเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic

2. ยึดมั่นในคุณภาพสินค้าและบริการ 4. ตั้งมั่นในจริยธรรม

5. ถือมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม

แผนธุรกิจของบริษัท สำ�หรับปี 2560 - 2562 ประกอบด้วย

2. การวิเคราะห์สภาพอุตสาหกรรม (SWOT Analysis)

Activities and Projects Plan)

3.4 แผนการเงินเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Financial Plan)


78

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

สำ�หรับปี 2560 คณะกรรมการจัดการของบริษท ั ได้มก ี ารจัดทำ�

พิ จ ารณาทบทวนวิ สั ย ทั ศ น์ (Vision) และพั น ธกิ จ (Mission) ของบริษัท ดังนี้

วิสัยทัศน์ (Vision) :

(Leading Innovative and Reliable Steel Company)

Innovate life through steel and its application,

บริษัทเหล็กชั้นนำ�ด้านนวัตกรรมและความเชื่อมั่น

พันธกิจ (Mission) :

engineering, energy, and marine innovation

ทั้งนี้ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ระยะยาวของบริษัท

(SSI Group 10-Year Strategy) ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม

คณะกรรมการบริษท ั ครัง้ ที่ 12/2560 เมือ ่ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2560

จริยธรรมธุรกิจ (Business Ethics) ของบริษัท

บริ ษั ท จะดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ บนพื้ น ฐานของความรั บ ผิ ด ชอบ ความโปร่ ง ใส ความซื่ อ สั ต ย์ และความสามารถในการแข่ ง ขั น

โดยปฏิ บั ติ แ ละประสานประโยชน์ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ด้ ว ย ความเป็นธรรม ดังนี้

1. ผู้ถือหุ้น

บริษัทตระหนักว่าผู้ถือหุ้นคือเจ้าของกิจการ และบริษัท

มีหน้าที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว จึงกำ�หนดแนวทาง

2. ลูกค้า

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความสำ�คั ญ และความพึ ง พอใจของ

ลูกค้า ที่มีผลต่อความสำ�เร็จของธุรกิจของบริษัท จึงมีความตั้งใจ อย่ า งแน่ ว แน่ ที่ จ ะแสวงหาวิ ธี ก ารที่ ส ามารถสนองความต้ อ งการ

ของลู ก ค้ า ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลยิ่ ง ขึ้ น ตลอดเวลา และเป็นที่ไว้วางใจของลูกค้า โดยมีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

1) ส่ ง มอบสิ น ค้ า และให้ บ ริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพ ตรงตาม

2) ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า ด้ ว ยความสุ ภ าพ ให้ ข้ อ มู ล

หรือสูงกว่าความคาดหมายของลูกค้า

ข่าวสารที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า เพื่อให้

ทราบเกีย ่ วกับสินค้าและบริการ โดยไม่มก ี ารกล่าวเกินความเป็นจริง

ที่เป็นเหตุให้ลูกค้าเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ปริมาณ หรือเงื่อนไข ใดๆ ของสินค้าและบริการนั้นๆ

3) ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด

กรณีทไี่ ม่สามารถปฏิบต ั ต ิ ามเงือ ่ นไขใดได้ ต้องรีบแจ้งให้ลก ู ค้าทราบ เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา

4) จัดให้มีระบบและช่องทางทีใ่ ห้ลก ู ค้าร้องเรียนเกีย ่ วกับ

คุ ณ ภาพ ปริ ม าณ และความปลอดภั ย ของสิ น ค้ า และบริ ก าร และลูกค้าต้องได้รับการตอบสนองอย่างรวดเร็ว

5) รักษาความลับของลูกค้าและไม่นำ�ไปใช้เพือ ่ ประโยชน์

โดยมิชอบ

6) ให้ คำ�แนะนำ�เกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารใช้ สิ น ค้ า และบริ ก าร ของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

สุ จ ริ ต ระมั ด ระวั ง รอบคอบ และเป็ น ธรรม เพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด

โดยตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานของการได้ รั บ ผลตอบแทนที่ เ ป็ น ธรรม

1) ปฏิบต ั ห ิ น้าทีอ ่ ย่างเต็มความสามารถ ด้วยความซือ ่ สัตย์

ของผู้ถือหุ้นโดยรวม

2) นำ�เสนอรายงานผลประกอบการ รายงานฐานะ

3) แจ้งผูถ ้ อ ื หุน ้ ทุกรายทราบอย่างเท่าเทียมกันถึงแนวโน้ม

ทางการเงิน และรายงานอื่นๆ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันกาล

ในอนาคตของบริษัททั้งในด้านบวกและด้านลบ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของความเป็นไปได้ มีข้อมูลสนับสนุนและมีเหตุมีผลอย่างเพียงพอ

4) ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองและผูอ ้ น ื่ โดยใช้ขอ ้ มูล

ใดๆ ของบริษท ั ซึง่ ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ หรือดำ�เนินการใดๆ

ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท

3. คู่ค้า

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การปฏิ บั ติ ต่ อ คู่ ค้ า อย่ า งเป็ น ธรรม

ทั้งสองฝ่าย บริษัทจึงให้ข้อมูลที่เป็นจริง รายงานที่ถูกต้อง ปฏิบัติ ตามพั น ธสั ญ ญา การเจรจาแก้ ไ ขปั ญ หาเพื่ อ หาทางออกที่ ตั้ ง อยู่

บนพืน ้ ฐานของความสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมทัง้ หลีกเลีย ่ งสถานการณ์

ทีท ่ ำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีแนวปฏิบต ั ิ ดังต่อไปนี้

1) ไม่เรียก ไม่รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริต

2) กรณีที่มีข้อมูลว่ามีการเรียก หรือการรับ หรือการจ่าย

ในการค้ากับคู่ค้า

ผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริต ต้องเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่อคู่ค้า และร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยรวดเร็ว

3) ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ตามสัญญาอย่างเคร่งครัด

กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดได้ ต้องรีบแจ้งคู่ค้าทราบ ล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา


79

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

4. คู่แข่งทางการค้า

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การปฏิ บั ติ ต่ อ คู่ แ ข่ ง ทางการค้ า อย่ า ง เป็นธรรม โดยมีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

1) ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม

2) ไม่ทำ�ลายชือ ่ เสียงของคูแ ่ ข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหา

ในทางร้าย

5. พนักงาน

บริ ษั ท ตระหนั ก ว่ า พนั ก งานเป็ น ทรั พ ยากรที่ มี ค่ า ยิ่ ง ต่ อ ความสำ�เร็ จ ของบริ ษั ท จึ ง ปฏิ บั ติ ต่ อ พนั ก งานอย่ า งเป็ น ธรรม

ทั้ ง ด้ า นผลตอบแทน โอกาส และการพั ฒ นาศั ก ยภาพ โดยยึ ด

หลักสิทธิมนุษยชนที่ไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลหนึ่งบุคคลใด เพราะ ความเหมื อ นหรื อ ความแตกต่ า งทางเชื้ อ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ หรือภาวะทางร่างกาย โดยมีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

1) ปฏิบัติต่อพนักงานโดยเคารพต่อความเป็นปัจเจกชน

ในทางปฏิ บั ติ บริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามสำ�คั ญ และเอาใจใส่ ต่ อ

ความเป็ น อยู่ เ พื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในทุ ก กลุ่ ม

ไม่ ว่ า จะเป็ น พนั ก งาน ครอบครั ว ของพนั ก งาน สั ง คมและชุ ม ชน โดยมีความมุ่งมั่นพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กควบคู่ไปกับการพัฒนา

สั ง คมและชุ ม ชน และคำ�นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ อ าจมี ต่ อ ทรั พ ยากร

ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ดังนัน ้ บริษท ั จึงได้จด ั ให้มรี ะบบการจัดการ

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐานระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001:2004) และมาตรฐานระบบ

การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18001) เพือ ่ ลด และควบคุมความเสี่ยงจากภัยอันตรายที่อาจเกิดแก่พนักงานและ ผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทเกิดความปลอดภัย มากยิ่งขึ้น

ในปี 2560 ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ได้ รั บ รางวั ล ประเภทต่ า งๆ

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในเรื่ อ งนี้ ตามรายละเอี ย ดข้ อ มู ล ปรากฏอยู่ ใ นเรื่ อ ง กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน

3.1 การดูแลและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท

และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

3) ดู แ ลรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มในการทำ�งานให้ มี ค วาม

ทุกกลุ่ม ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่งทางการค้า พนักงาน

2) ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อพนักงาน

ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอ

4) แต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย ให้ ร างวั ล และลงโทษพนั ก งาน

ด้ ว ยความสุ จ ริ ต ใจ และตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงานนั้น

5) ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาความรูแ ้ ละความสามารถ ของพนักงานอย่างทั่วถึง

6) หลี ก เลี่ ย งการกระทำ�ใดๆ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม ซึ่ ง อาจมี

ผลกระทบต่ อ ความมั่ น คงในหน้ า ที่ ก ารงานของพนั ก งาน หรื อ

การกระทำ�ใดๆ ที่เป็นการคุกคาม หรือสร้างความกดดันต่อสภาพ จิตใจของพนักงาน

6. องค์กรที่กำ�กับดูแล

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความสำ�คั ญ ในการปฏิ บั ติ ที่ ถู ก ต้ อ ง

ตามกฎหมาย และเป็นไปตามครรลองทีถ ่ ก ู ต้องของธุรกิจ โดยการปฏิบต ั ิ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ ระเบี ย บ และมาตรฐาน ของทางการอย่ า งเคร่ ง ครั ด พร้ อ มทั้ ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ ต่ อ องค์ ก ร ที่กำ�กับดูแลอย่างเต็มที่

7. สังคมและชุมชน

บริษัทตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมและชุมชน โดยคำ�นึงถึงผลกระทบที่อาจมีต่อทรัพยากร

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนให้มี

กิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างสรรค์สังคมและชุมชน ดูแลรักษาและฟื้นฟู

ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนดำ�เนินการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนือ ่ ง เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน

บริษท ั ดำ�เนินธุรกิจโดยให้ความสำ�คัญต่อผูม ้ ีสว ่ นได้เสีย

องค์กรที่กำ�กับดูแล สังคมและชุมชน ตามที่ได้กล่าวไว้ในจริยธรรม ธุรกิจ (Business Ethics) ของบริษัท โดยบริษัทได้จัดให้มีกลไก

ก า ร ดำ� เ นิ น ง า น ที่ จ ะ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ เ พื่ อ ส ร้ า ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท กั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ เช่ น การสำ�รวจความคิดเห็นของลูกค้า การเปิดช่องทางให้ผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสีย

ส่งข้อเสนอแนะและถามตอบข้อสงสัยทางเว็บไซต์ การเปิดช่องทาง

การแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนถึงคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี การสนับสนุนสินค้าและบริการชุมชน การจัดกิจกรรมเดิน-วิ่ง การกุศล เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น รวมทั้งมีการเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้

เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับข่าวการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัทผ่านทางเว็บไซต์

ของบริษัท เพื่อให้คู่ค้าและผู้ที่สนใจทราบ นอกจากนี้ บริษัทยังจัดให้ มีหน่วยงาน หรือคณะกรรมการ หรือคณะทำ�งาน หรือคณะอนุทำ�งาน

ต่างๆ ขึ้น เพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้มอบหมาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ

ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ ดั ง ตั ว อย่ า งการดู แ ลและการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ในปี 2560 ที่ผ่านมา ดังนี้ 3.1.1 ผู้มีส่วนได้เสีย : ผู้ถือหุ้น

• สำ�นักเลขานุการบริษัทได้ดำ�เนินการต่างๆ ตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ในฐานะผู้ บ ริ ห ารแผนฟื้ น ฟู กิ จ การฯ มอบหมาย


80

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

3.1.2 ผู้มีส่วนได้เสีย : ลูกค้า

3.1.3 ผู้มีส่วนได้เสีย : คู่ค้าและเจ้าหนี้

โดยมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และการให้บริการที่รวดเร็ว

ผู้มีส่วนได้เสียสำ�คัญที่ช่วยเหลือในการดำ�เนินธุรกิจซึ่งกันและกัน

• บริษท ั คำ�นึงถึงความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า

เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง บริษัทได้นำ� ระบบการบริหารงานด้านคุณภาพ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สิ่งแวดล้อมมาใช้ในการดำ�เนินงาน เพื่อมุ่งเน้นการบริหารคุณภาพ ด้ ว ยกระบวนการทำ�งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ส่ ง มอบสิ น ค้ า

ที่สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าโดยการนำ�มาตรฐานต่างๆ อาทิ

ISO 9001, ISO/TS 16949, ISO 14001, TIS/OHSAS 18001 มาปฏิบต ั ิ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง บริ ษั ท มี ก ระบวนการในการรั บ ฟั ง ลู ก ค้ า ในแต่ ล ะ กลุ่มผ่านช่องทางที่หลากหลาย เพื่อให้ทราบถึงความต้องการและ ความคาดหวังของลูกค้า ได้แก่ การพบปะลูกค้าโดยทีมผู้บริหาร

การเยี่ ย มเยี ย นลู ก ค้ า ของที ม งานขาย การจั ด ประชุ ม กั บ ลู ก ค้ า รายสำ�คัญเป็นรายเดือน การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

ของบริ ษั ท ให้ กั บ ลู ก ค้ า อี ก ทั้ ง ยั ง ให้ คำ�ปรึ ก ษาแนะนำ� และให้ ความช่วยเหลือแก่ลก ู ค้าในการแก้ไขปัญหาทีเ่ กีย ่ วข้องกับผลิตภัณฑ์

• บริ ษั ท มี ก ระบวนการจั ด การข้ อ ร้ อ งเรี ย น ในกรณี ที่ ลู ก ค้ า เกิ ด ความไม่ พึ ง พอใจเกี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยมี

ช่ อ งทางรั บ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น ข้ อ เสนอแนะจากลู ก ค้ า ทุ ก ข้ อ ร้ อ งเรี ย น

จะบันทึกเข้าในระบบและต้องได้รับการตอบสนองเบื้องต้นภายใน 2 วัน โดยจะแจ้งกลับลูกค้าทันทีเมื่อดำ�เนินการแล้วเสร็จ เพื่อให้ ลูกค้ายังคงพึงพอใจต่อกระบวนการและผลการแก้ไขข้อร้องเรียน

ข้ อ เสนอแนะ ตลอดจนมี ค วามเชื่ อ มั่ น ต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องบริ ษั ท

นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการประเมินความพึงพอใจ ความไม่พงึ พอใจ และความผู ก พั น ของลู ก ค้ า อั น ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ข้ อ มู ล ที่ ส มบู ร ณ์ ต่ อ การดำ�เนินการปรับปรุงผลิตภัณฑ์/บริการ ระบบงาน เพื่อให้บริษัท สามารถตอบสนองลูกค้าได้ดีเกินกว่าที่ลูกค้าคาดหวัง

• คณะทำ�งานสร้างสรรค์นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ เหล็ ก และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม กั บ ลู ก ค้ า ได้ ดำ�เนิ น กิ จ กรรมใน การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าและร่วมมือกับฝ่ายผลิตของบริษท ั

เพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาสิ น ค้ า และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม กั บ ลูกค้ามาตลอด โดยในปี 2560 บริษัทได้ออกผลิตภัณฑ์และบริการ

ใหม่ที่ช่วยเพิ่มคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของลูกค้า อาทิ ผลิตภัณฑ์ เหล็ ก ชั้ น คุ ณ ภาพทั่ ว ไปที่ มี ค วามแข็ ง แรงพิ เ ศษ ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า

ได้ ส รรค์ ส ร้ า งและขยายตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ โ ครงสร้ า งสำ�หรั บ งาน ก่ อ สร้า งและพาหนะบรรทุกสินค้า ตลอดจนการบริการด้านอื่นๆ เช่น การควบคุมความหนาและความกว้างของผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่ม

Productivity ลดอัตราการสูญเสียทีไ่ ม่จำ�เป็นของลูกค้า เพือ ่ สนับสนุน

ให้ลูกค้าสามารถจำ�หน่ายและขยายตลาดได้มากขึ้น โดยในปี 2560

บริ ษั ท ได้ ส่ ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ดั ง กล่ า วถึ ง ร้อยละ 24 ของปริมาณการส่งมอบสินค้าทั้งหมด

• บริษัทให้ความสำ�คัญกับคู่ค้า อันเป็นกลุ่ม โดยบริษท ั จะปฏิบต ั ต ิ อ ่ คูค ่ า ้ อย่างเสมอภาคบนพืน ้ ฐานของการแข่งขัน

ที่ เ ป็ น ธรรม เคารพสิ ท ธิ ซึ่ ง กั น และกั น สร้ า งความสั ม พั น ธ์ แ ละ ความร่ ว มมื อ อั น ดี รวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาอย่ า งเคร่ ง ครั ด ตลอดจนบริษท ั ได้ให้ความสำ�คัญในกระบวนการจัดซือ ้ จัดหาซึง่ เป็น

กระบวนการสำ�คั ญ ในการควบคุ ม ค่ า ใช้ จ่ า ย คุ ณ ภาพสิ น ค้ า และ

บริ ก าร มี ก ารกำ�หนดแนวปฏิ บั ติ ใ นการจั ด ซื้ อ จั ด หาเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

• คณะอนุทำ�งานตรวจติดตามผู้ผลิตวัตถุดิบ

ได้ดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสรรหาผู้ผลิตที่มีศักยภาพทั้งด้านคุณภาพ และปริมาณเพือ ่ สร้างความสม่ำ�เสมอในปริมาณวัตถุดบ ิ มีการกระชับ ความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ผ ลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะกั บ ผู้ ผ ลิ ต ที่ มี

ธุ ร กิ จ กั น ในระยะยาวและสม่ำ� เสมอ มี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล และ ประสบการณ์ระหว่างกัน มีการเชิญผู้ผลิตวัตถุดิบจากต่างประเทศ

มาประชุมหารือร่วมกันกับบริษัท มีการทบทวนข้อตกลงทางเทคนิค และคุณภาพ (Technical Protocol and Specification) ในการพัฒนา

ชั้ น คุ ณ ภาพของวั ต ถุ ดิ บ ให้ มี ค วามหลากหลายและตอบสนองกั บ ความต้ อ งการของตลาดมากขึ้ น และร่ ว มกั น หาข้ อ สรุ ป แนวทาง

ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพวัตถุดิบ และปัญหาอื่นๆ ร่วมกันเป็นประจำ�

• สำ�นักจัดซือ ้ กลุม ่ ได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

• เผยแพร่ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ข่ า วการจั ด ซื้ อ

จัดจ้างของบริษท ั ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษท ั ที่ http://www.ssi-steel.com

เพื่ อ ให้ คู่ ค้ า ทราบ และให้ ผู้ ที่ ส นใจจะขายสิ น ค้ า หรื อ ให้ บ ริ ก าร

กับบริษัท สามารถขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ขายของบริษัทได้โดยตรง หรื อ ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท และให้ ส ามารถเสนอราคางาน จัดซื้อจัดจ้างได้ด้วย เพื่อความมีประสิทธิภาพและความโปร่งใส ในการจัดหาของบริษัท

• เสาะหาผู้ขายและผู้ให้บริการรายใหม่ๆ

เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้มีผู้ขาย ผู้ให้บริการ และผู้ผลิตที่มี

ศั ก ยภาพ ที่ ส ามารถผลิ ต หรื อ จำ�หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพตรง ตามที่บริษัทต้องการ ด้วยราคาที่เหมาะสม และสามารถส่งมอบได้ ตามกำ�หนดเวลา โดยสามารถเข้ามาแข่งขันได้อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งในปี 2560 มีผู้ขายเพิ่มขึ้นจำ�นวน 138 ราย

• จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม และสั ม มนาร่ ว มกั บ

ผู้ ข ายและผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารปี ล ะครั้ ง โดยในปี 2560 ได้ จั ด ขึ้ น ในเดื อ น มีนาคม เพื่อชี้แจงระเบียบนโยบาย เป้าหมายการจัดซื้อจัดจ้างของ

บริ ษั ท และแนวทางในการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งร่ ว มกลุ่ ม เหล็ ก สหวิ ริ ย า รวมทัง้ นโยบายอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับงานด้านจัดซือ ้ จัดจ้าง นโยบายด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมของบริษท ั และได้แจ้งให้

ผู้ขายทุกรายทราบถึงนโยบายการต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น และนโยบายการไม่รับของขวัญและของกำ�นัลของบริษัทด้วย


81

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

• ในปี 2560 บริ ษั ท ได้ ดำ � เนิ น การจั ด ซื้ อ

จัดหาจากผู้ขายทั่วไปมูลค่าประมาณ 2,190 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น

สินค้าในกลุ่มพลังงาน 898 ล้านบาท ลูกรีด 238 ล้านบาท อะไหล่

177 ล้านบาท วัสดุสิ้นเปลือง 179 ล้านบาท สินทรัพย์ถาวรและ รายจ่ า ยลงทุ น 115 ล้ า นบาท งานบริ ก าร 565 ล้ า นบาท และ อื่นๆ 18 ล้านบาท รวมถึงการจัดซื้อจัดหาจากชุมชนบางสะพาน

มูลค่ารวมประมาณ 259 ล้านบาท และในปี 2561 คาดว่าจะมีมล ู ค่า

การจัดซื้อจัดหาจากผู้ขายทั่วไป 2,400 ล้านบาท และจากชุมชน 280 ล้านบาท

• เข้าเยี่ยมชมกระบวนการผลิตและระบบ

การบริหารงานของผู้ขายทั่วไปในปี 2560 จำ�นวน 27 ราย และ ชุมชนบางสะพาน จำ�นวน 14 ราย เพื่อตรวจสอบกระบวนการผลิต

และคุณภาพสินค้าให้ตรงกับความต้องการใช้งานของบริษท ั รวมทัง้

ให้ขอ ้ แนะนำ�เกีย ่ วกับการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสินค้า และกำ�หนด ส่งมอบสินค้าและบริการให้ทันต่อความต้องการของบริษัท

• ช่วยประชาสัมพันธ์และสนับสนุนสินค้า

ที่ผลิตได้ในชุมชน สินค้าที่ชุมชนเป็นตัวแทนจำ�หน่าย งานบริการ

ที่ จั ด หาได้ จ ากชุ ม ชน รวมถึ ง โครงการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาสิ น ค้ า

3.1.5 ผู้มีส่วนได้เสีย : พนักงาน

สายทรัพยากรบุคคลและธุรการมุง่ มัน ่ ดำ�เนินการ ตามวิถีเอสเอสไอ (SSI WAY) ที่บริษัทกำ�หนดไว้ ซึ่งประกอบด้วย

ปรั ช ญาในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ จริ ย ธรรมธุ ร กิ จ วิ สั ย ทั ศ น์ ค่ า นิ ย ม

จริ ย ธรรมของพนั ก งาน และความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ โดย บริษัทมีความเชื่อมั่นในเรื่องคุณค่าของบุคลากรว่า พนักงานที่ดี มีคณ ุ ภาพ จะนำ�มาซึง่ ความสำ�เร็จขององค์กร ดังนัน ้ บริษท ั จึงได้จด ั

ให้มส ี ภาพการจ้างงานพนักงาน โดยกำ�หนดค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสม กั บ ความรู้ ค วามสามารถเพื่ อ จู ง ใจพนั ก งาน จั ด สวั ส ดิ ก ารและ

ประโยชน์ตอบแทนในรูปแบบต่างๆ เช่น เงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ การประกั น สุ ข ภาพ การประกั น ชี วิ ต และอุ บั ติ เ หตุ การฝึ ก อบรม สั ม มนาของพนั ก งาน ทุ น การศึ ก ษา สนั บ สนุ น ในกิ จ การสหกรณ์

ออมทรัพย์ของพนักงาน การเข้าร่วมโครงการเงินกู้อัตราดอกเบี้ย

พิเศษกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ และสนับสนุนให้จัดตั้งสมาคม ฌาปนกิ จ สงเคราะห์ ก ลุ่ ม บริ ษั ท สหวิ ริ ย าสตี ล อิ น ดั ส ตรี รวมทั้ ง

สวัสดิการรถรับ-ส่ง และโรงอาหารสำ�หรับพนักงานทีโ่ รงงานเอสเอสไอ บางสะพาน เป็นต้น

บริษท ั ได้ให้ความสำ�คัญในการดูแลพนักงานให้มี

ที่ผลิตได้ในชุมชนบางสะพาน ตามนโยบายด้านความรับผิดชอบ

สวั ส ดิ ก ารพนั ก งานที่ ดี และมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ทั้ ง ของพนั ก งานและ

• บริษัทมีนโยบายในการปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ของ

รางวั ล เกี ย รติ ย ศสู ง สุ ด สถานประกอบกิ จ การดี เ ด่ น ด้ า นแรงงาน

ต่อสังคม (CSR)

บริษท ั ทุกรายอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน โดยปฏิบต ั ต ิ ามเงือ ่ นไข ข้อตกลงและพันธสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้สถาบัน

การเงินทุกราย ตามเงื่อนไขข้อกำ�หนดของสัญญา ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง วัตถุประสงค์การใช้เงิน การชำ�ระเงินคืน การดูแลคุณภาพหลักทรัพย์

ค้ำ�ประกัน โดยมีความรับผิดชอบและโปร่งใส ไม่ปกปิดข้อมูลหรือ

ข้อเท็จจริงอันจะทำ�ให้เจ้าหนี้อาจเกิดความเสียหาย และหากมีกรณี ที่บริษัทไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขฯ ทางบริษัทจะแจ้งให้เจ้าหนี้ ทราบทันที เพื่อหารือในการกำ�หนดแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน 3.1.4 ผู้มีส่วนได้เสีย : คู่แข่งทางการค้า

• บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การปฏิ บั ติ ต่ อ คู่ แ ข่ ง ทาง การค้าอย่างเป็นธรรม โดยมีแนวปฏิบัติว่า ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็น

ความลับของคูแ ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธท ี ไี่ ม่สจ ุ ริตหรือไม่เหมาะสม และ ไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้าย • กลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต เหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นในประเทศ ได้ ร วมตั ว กั น จั ด ตั้ ง สมาคมเหล็ ก แผ่ น รี ด ร้ อ นไทย มี ก ารประชุ ม

แลกเปลีย ่ นความคิดเห็นโดยมีวาระทีช ่ ด ั เจน เพือ ่ กระชับความสัมพันธ์

และส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจ ร่วมมือกับรัฐบาลในการส่งเสริม การค้าอุตสาหกรรม ตลอดจนการประสานงานร่วมมือพัฒนาการผลิต

เพื่ อ ให้ สิ น ค้ า มี ป ริ ม าณเพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของตลาด ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ของครอบครัวพนักงานที่ดีด้วย ซึ่งสะท้อนจากการที่บริษัทได้รับ สัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน 15 ปีติดต่อกัน (พ.ศ. 2546 - 2560)

โดยบริ ษั ท ได้ บ ริ ห ารงานด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คล

และงานธุรการตามประกาศนโยบายและระเบียบด้านการบริหาร งานบุคคล ซึ่งบริษัทได้จัดให้มีขึ้นตั้งแต่ปี 2537 เป็นต้นมา และ มีการปรับปรุงนโยบายและระเบียบฯ ในบางเรือ ่ งให้ทน ั ต่อเหตุการณ์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสม โดยบริษัทได้ประกาศ นโยบายและระเบียบด้านการบริหารงานบุคคลของบริษัทในเรื่อง

ต่ า งๆ ให้ พ นั ก งานทราบเป็ น การทั่ ว ไปที่ บ นบอร์ ด ของบริ ษั ท และ

เผยแพร่ บ นระบบอิ น ทราเน็ ต และในขั้ น ตอนการปฐมนิ เ ทศให้ พนักงานใหม่ทราบด้วย ดังนี้

• เรือ ่ ง การบริหารค่าตอบเทน ตัง้ แต่ปี 2545

เพือ ่ สร้างแรงจูงใจให้พนักงานทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไป

อย่างยุติธรรม โดยบริษัทได้มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงาน โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงาน

ประจำ�ปีของพนักงาน การประเมินผลการดำ�เนินงานของพนักงาน

ตามแผนงานที่กำ�หนด (Goal Program Achievement) ผลงาน ที่ ส ร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ผลประกอบการในการดำ�เนิ น งาน ของบริษัทในแต่ละปี เป็นต้น


82

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

• เรื่อง สวัสดิการต่างๆ ของบริษัท อาทิ

(1) เรื่ อ งเงิ น พิ เ ศษสำ�หรั บ พนั ก งานที่ ป ฏิ บั ติ ง านประจำ�โรงงาน

บางสะพาน ตั้งแต่ปี 2537 เพื่อเป็นการจูงใจพนักงานที่ต้องปฏิบัติ งานประจำ�โรงงานบางสะพาน (2) เรื่ อ งค่ า เบี้ ย เลี้ ย ง ค่ า ที่ พั ก และค่ า ยานพาหนะ (ภายในประเทศ) ตั้ ง แต่ ปี 2540 เพื่ อ เป็ น

การช่วยเหลือพนักงานที่ต้องไปปฏิบัติงานนอกสถานที่ ฝึกอบรม/ สัมมนานอกสถานที่ (3) เรื่องสวัสดิการเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัย ตั้งแต่

ปี 2542 เพือ ่ ช่วยเหลือเรือ ่ งบ้านพักอาศัยสำ�หรับพนักงานและครอบครัว (4) เรือ ่ งรางวัลอายุการทำ�งาน ตัง้ แต่ปี 2543 เพือ ่ ส่งเสริมให้พนักงาน ร่ ว มปฏิ บั ติ ง านกั บ บริ ษั ท อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ระยะเวลานานและ

เพื่ อ เป็ น การยกย่ อ งชมเชยให้ แ ก่ พ นั ก งานที่ มี ค วามวิ ริ ย อุ ต สาหะ ในการปฏิบต ั งิ านกับบริษท ั มาเป็นระยะเวลานาน (5) เรือ ่ งเงินช่วยเหลือ

ค่าเช่าบ้าน ตั้งแต่ปี 2544 เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายด้านที่พัก

ของพนักงานที่ไปปฏิบัติงานประจำ�โรงงานบางสะพาน (6) เรื่อง เงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต ตั้งแต่ปี 2544 เพื่อเป็นการบำ�รุงขวัญ และช่ ว ยเหลื อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นใหั กั บ พนั ก งานหรื อ บุ ค คล

ในครอบครัวของพนักงาน โดยให้ความช่วยเหลือพนักงานหรือบุคคล ในครอบครัวของพนักงานทีถ ่ งึ แก่กรรม (7) เรือ ่ งการเยีย ่ มไข้พนักงาน ตั้งแต่ปี 2545 เพื่อแสดงความห่วงใย สร้างขวัญกำ�ลังใจและให้ ความช่วยเหลือแก่พนักงานตามความเหมาะสม (8) เรือ ่ งชุดเครือ ่ งแบบ พนั ก งาน ตั้ ง แต่ ปี 2547 เพื่ อ กำ�หนดชุ ด เครื่ อ งแบบพนั ก งานให้ พนักงานสำ�หรับสวมใส่มาปฏิบต ั งิ านกับบริษท ั เพือ ่ ความเป็นระเบียบ

เรียบร้อยและความปลอดภัยในการทำ�งาน (9) เรือ ่ งรถรับ-ส่งพนักงาน ตัง้ แต่ปี 2548 เพือ ่ เป็นการให้ความสะดวกแก่พนักงานในการเดินทาง ไปปฏิบัติงานที่โรงงาน (10) เรื่องการรักษาพยาบาลและการประกัน

กลุม ่ ตัง้ แต่ปี 2551 เพือ ่ ส่งเสริมให้พนักงานมีสข ุ ภาพและพลานามัย ที่แข็งแรง และให้มีความคุ้มครองทางด้านการรักษาพยาบาล และ

(11) เรือ ่ งการลากรณีบค ุ คลในครอบครัวของพนักงานเสียชีวต ิ ตัง้ แต่ ปี 2558 เพื่อให้พนักงานได้หยุดงานไปร่วมแสดงความเคารพและ

ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นต้น โดยบริษัทได้มีการดำ�เนินการให้ สวัสดิการในเรือ ่ งต่างๆ ดังกล่าวแก่พนักงานทุกคน โดยมีความมุง่ หมาย

ให้ พ นั ก งานในบริ ษั ท สามารถมี ร ะดั บ ความเป็ น อยู่ ที่ ดี พ อสมควร มีความผาสุกทั้งกายและใจ มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีความปลอดภัย

ในการทำ�งาน มีความเจริญก้าวหน้า มีความมัน ่ คงในการดำ�เนินชีวต ิ ไม่เฉพาะแต่ตว ั พนักงานเท่านัน ้ แต่รวมถึงครอบครัวของพนักงานด้วย

• เรือ ่ ง กองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ ตัง้ แต่ปี 2542

เพื่อเป็นการเสริมสร้างหลักประกันทางการเงินในอนาคตที่มั่นคง

ให้แก่พนักงาน เมื่อพนักงานพ้นสภาพการเป็นพนักงาน และเป็น ทุนทรัพย์ให้แก่พนักงานในกรณีที่พนักงานลาออกหรือเกษียณอายุ และเป็นหลักประกันให้แก่ครอบครัว ในกรณีพนักงานเสียชีวิตด้วย

• เรื่อง สหกรณ์ออมทรัพย์ ตั้งแต่ปี 2546

เพื่อเป็นการส่งเสริมให้สมาชิกรู้จักการประหยัด รู้จักการออมทรัพย์

และสามารถให้เงินกูแ ้ ก่สมาชิกเพือ ่ นำ�ไปใช้จา ่ ยเมือ ่ เกิดความจำ�เป็น

• เรื่อง การพัฒนาบุคลากร ตั้งแต่ปี 2545

เพื่อสนับสนุนให้พนักงานมีโอกาสเข้ารับการพัฒนา ไม่ว่าจะเป็น การฝึกอบรม การสัมมนา การประชุมวิชาการ หรือการศึกษาดูงาน

ฯลฯ ซึ่งจะทำ�ให้พนักงานสามารถเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจเพิ่ม

ทักษะให้กบ ั พนักงานส่งผลให้การปฏิบต ั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำ�หรั บ ในปี 2560 บริ ษั ท มี จำ�นวนชั่ ว โมงอบรมเฉลี่ ย จำ�นวน

20.27 ชั่ ว โมงต่ อ คนต่ อ ปี ซึ่ ง ได้ มี ก ารรายงานเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะผู้บริหารทราบเป็นประจำ�ทุกเดือน

น อ ก จ า ก นี้ บ ริ ษั ท ยั ง คำ� นึ ง ถึ ง ก า ร ส ร้ า ง สภาพแวดล้อมในการทำ�งานที่จะมุ่งเน้นและส่งเสริมให้พนักงาน

ของบริ ษั ท เป็ น คนดี คนเก่ ง และเป็ น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คม ได้ แ ก่

การจัดกิจกรรมเพิ่มเสริมสร้างวิถีเอสเอสไอ (SSI WAY) โดยสร้าง บุ ค คลต้ น แบบ (Role Model) เพื่ อ เป็ น แบบอย่ า งให้ กั บ พนั ก งาน

ในการสร้างค่านิยมที่ดีต่อไป รวมทั้งมุ่งเน้นการสร้างสายใยภายใน องค์กร ภายใต้โครงการชื่อ “Care Organization” ซึ่งประกอบด้วย

โครงการย่อยๆ อีกหลายโครงการที่ส่งเสริมให้เกิดความใกล้ชิดกัน ระหว่างพนักงานในแต่ละระดับ อาทิ (1) โครงการย่อยผู้บริหาร

พบพนักงาน ได้แก่ กิจกรรมการชีแ ้ จงนโยบายแต่ละสายงาน กิจกรรม ผู้บริหารพบปะพนักงาน โดยเฉพาะในโรงงาน (2) โครงการย่อย หัวหน้างานพบพนักงาน ได้แก่ กิจกรรมการสอนงาน โดยมุ่งเน้น

การเป็ น ที่ ป รึ ก ษากั บ พนั ก งาน ทั้ ง เรื่ อ งงานและเรื่ อ งส่ ว นตั ว

(3) โครงการย่อยพบปะกันระหว่างพนักงาน ได้แก่ กิจกรรมพี่เลี้ยง เพื่อการดูแลพนักงานใหม่ และยังมุ่งเน้นให้เกิดการสร้างสมดุลของ ชีวิตการทำ�งานและครอบครัว โดยบริษัทได้ส่งเสริมให้ครอบครัว

มามีสว ่ นร่วมในการทำ�กิจกรรมระหว่างครอบครัวพนักงาน พนักงาน และบริษัทด้วย

บริ ษั ท ยั ง คงตระหนั ก ว่ า การสื่ อ สารเป็ น ปั จ จั ย ที่ สำ�คั ญ ในการนำ�ไปสู่ ค วามสำ�เร็ จ โดยได้ ทำ�การสื่ อ สารผ่ า น ช่ อ งทางต่ า งๆ อย่ า งทั่ ว ถึ ง และสม่ำ� เสมอ ได้ แ ก่ วารสารภายใน หนังสือพิมพ์ภายใน เสียงตามสายโทรทัศน์ภายใน SMS โทรศัพท์มอ ื ถือ รวมถึงโซเชียลเน็ตเวิร์ก ได้แก่ เฟซบุ๊กภายในองค์กร อีกทั้งการฝึก

อบรมหัวหน้างานให้มีทักษะในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพอีกด้วย และบริษัทมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยได้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการทีใ่ ห้สท ิ ธิการบริหารจัดการแก่พนักงานเฉพาะเรือ ่ ง เช่น

คณะกรรมการโรงอาหาร คณะกรรมการสวัสดิการ คณะกรรมการ ดำ�เนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ เป็นต้น ซึง่ การดำ�เนินการในหลายๆ

ด้านดังกล่าวเป็นสิง่ ทีส ่ ะท้อนว่าบริษท ั ได้ให้ความสำ�คัญกับพนักงาน

ว่าเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งของบริษัท ซึ่งโครงการและกิจกรรม ต่างๆ ที่บริษัทได้จัดขึ้นนั้น คำ�นึงถึงการพัฒนาพนักงานให้เติบโต ไปพร้อมกันกับบริษัทด้วยความห่วงใยและยั่งยืนตลอดไป


83

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

3.1.6 ผู้มีส่วนได้เสีย : องค์กรที่กำ�กับดูแล

• สำ�นักจัดการสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย

ที่ถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นไปตามครรลองที่ถูกต้องของธุรกิจ

สังคมและชุมชน รวมทั้งสิ่งแวดล้อม ดังนี้

• บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในการปฏิบัติ โดยการปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ ระเบี ย บ และ

มาตรฐานของทางการอย่างเคร่งครัด ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายด้าน แรงงาน การจ้างงาน ผู้บริโภค การแข่งขันทางการค้า สิ่งแวดล้อม ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน พร้ อ มทั้ ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ ต่ อ องค์ ก ร ทีก ่ ำ�กับดูแลบริษท ั อย่างเต็มที่ โดยมุง่ หวังให้คณะกรรมการ ผูบ ้ ริหาร

และพนักงานทุกระดับปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง เพื่อส่งเสริมให้บริษัทเป็นองค์กรที่ดำ�เนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

และมีจริยธรรม อันเป็นกลไกหนึ่งที่สำ�คัญที่จะส่งผลให้กระบวนการ และขั้น ตอนการทำ�งานของบริษัทมีความถูกต้อง รอบคอบ และ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึง่ ส่งผลให้ตลอดระยะเวลาทีผ ่ า ่ นมา บริษท ั

ไม่เคยถูกดำ�เนินการลงโทษจากหน่วยงานที่กำ�กับดูแลด้วยสาเหตุ

ที่ ไ ม่ ไ ด้ ป ระกาศข้ อ มู ล จากเหตุ ก ารณ์ สำ�คั ญ ภายในระยะเวลา ที่ทางการกำ�หนด หรือด้วยสาเหตุอื่นแต่อย่างใด

นอกจากนี้ บริษัทยังมีนโยบายและระเบียบ

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4/2543 เรื่อง ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2543 กำ�หนดเกี่ยวกับเรื่อง โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ที่ นำ�มาใช้ ใ นบริ ษั ท ได้ ต้ อ งเป็ น โปรแกรม

ที่ บ ริ ษั ท อนุ ญ าตให้ ใ ช้ ซึ่ ง มี ลิ ข สิ ท ธิ์ ที่ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย และ เป็ น โปรแกรมจากผู้ ผ ลิ ต หรื อ ผู้ ข ายที่ รู้ จั ก และเชื่ อ ถื อ ได้ หรื อ เป็ น

โปรแกรมที่ได้ผ่านการทดสอบแล้วเป็นอย่างดีเท่านั้น โดยมีสำ�นัก

เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผูร้ ายงานในส่วนทีเ่ กีย ่ วกับการปฏิบต ั ต ิ าม พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ของบริษัทด้วย

3.1.7 ผู้มีส่วนได้เสีย : สังคมและชุมชน

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

มีปรัชญาและจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ โดยเชื่อมั่นในคุณค่า ของบุคลากร ดูแลพนักงานให้มีคณ ุ ภาพชีวิตทีด ่ ี มีสภาพการทำ�งาน ที่ปลอดภัยถูกสุขอนามัย รวมทั้งถือมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยถื อ ว่ า ระบบการจั ด การความปลอดภั ย

อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น สิ่ ง สำ�คั ญ ต่ อ การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ

บริ ษั ท จึ ง มี เ จตจำ�นงและสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารดำ�เนิ น การระบบฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้มีการพัฒนาและปรับปรุงอย่าง

ต่อเนื่องเป็นไปตามมาตรฐานของระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่กำ�หนด

• สำ�นักการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนและสือ ่ สารกลุม ่

ได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ตามรายละเอียดข้อมูลปรากฏอยู่ในเรื่อง กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน

โรงงานและบริษัท ได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ

• บริษัทประกาศนโยบายความปลอดภัย

อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ที่ลงนามโดยกรรมการผู้จัดการใหญ่

ฉบับปี 2558 เพื่อแสดงความมุ่งมั่นในการลดและป้องกันอุบัติเหตุ และการเจ็ บ ป่ ว ยจากการทำ�งาน การป้ อ งกั น และลดผลกระทบ

ต่อสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรและพลังงาน โดยได้จัดทำ� แผนงานโครงการต่างๆ อาทิ การประเมินความเสี่ยง การอบรมด้าน

ความปลอดภัย การตรวจสอบความปลอดภัย การเฝ้าระวังตรวจวัด สภาพแวดล้ อ มในการทำ�งานของพนั ก งานและสภาพแวดล้ อ ม

ในเขตชุ ม ชน การตรวจสุ ข ภาพตามปั จ จั ย เสี่ ย ง การรณรงค์ ใ ห้ รายงานและแก้ไขสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน การรณรงค์ส่งเสริม

การแสดงออกซึ่ ง พฤติ ก รรมความปลอดภั ย ที่ พึ ง ประสงค์ (BBS

Programs) โครงการ Zero Accident การฝึกซ้อมการตอบสนอง เหตุฉุกเฉิน การรณรงค์และตรวจสอบการแยกทิ้งขยะให้ถูกประเภท เพื่อให้สะดวกต่อการส่งกำ�จัด การเลือกวิธีการการจัดการของเสีย ด้ ว ยวิ ธี นำ�กลั บ มาใช้ ใ หม่ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด การออกแบบกระบวนการ

ให้ ส ามารถนำ�น้ำ� กลั บ มาใช้ ใ หม่ ทั้ ง หมดเพื่ อ ไม่ ต้ อ งปล่ อ ยน้ำ� ทิ้ ง ออกจากโรงงาน (Zero Discharge) และการปฏิบัติตามกฎหมาย

และมาตรการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ เป็นไป

ตามมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18001) และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001)

• บริษท ั ประกาศนโยบายพลังงานทีล ่ งนาม

โดยประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารกลุม ่ และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ เมือ ่ ปี

2560 ซึ่งแสดงความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาระบบการจัดการพลังงาน อย่างเหมาะสม โดยเตรียมการเพื่อขอรับการรับรองตามมาตรฐาน การจัดการพลังงาน ISO 50001

• บริษท ั จัดอบรมแก่พนักงานและผูร้ บ ั เหมา

ทุกคน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม

ที่ อ าจเกิ ด จากกิ จ กรรมต่ า งๆ รวมถึ ง วิ ธี ก ารลดผลกระทบที่ ต้ อ ง ถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด อาทิ การแยกทิ้ ง ขยะให้ ถู ก ประเภท

การควบคุมของเสียและมลพิษจากกระบวนการผลิต การจัดการ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินเพื่อป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม

• บริษัทมีผลการดำ�เนินงานตามโครงการ

ที่กำ�หนด สำ�หรับปี 2560 คือ อัตราการเกิดอุบัติเหตุจากการทำ�งาน ทุ ก กรณี เ พิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ที่ ผ่ า นมา อั ต ราการบาดเจ็ บ ถึ ง ขั้ น

หยุดงานเพิ่มขึ้น โดยในปี 2560 เท่ากับ 0.66 รายต่อหนึ่งล้านชั่วโมง

การทำ�งาน เมื่อเทียบกับปี 2559 ซึ่งมีค่าอยู่ที่ 0.35 รายต่อหนึ่งล้าน ชั่วโมงการทำ�งาน

• บริ ษั ท ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารใช้ ท รั พ ยากร

อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ ลดการใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง ลดการใช้ ไ ฟฟ้ า ลดการเกิ ด ของเสี ย รวมถึ ง การคัดแยกของเสียเพื่อส่งกำ�จัดอย่างถูกต้อง


84

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

• บริ ษั ท มี ก ารทำ � สำ � รวจทั ศ นคติ ชุ ม ชน

อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกปี เนื่องด้วยการดำ�เนินงานของโรงงาน

อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบทั้ ง ทางด้ า นบวกและด้ า นลบต่ อ ชุ ม ชน ซึ่งอาจครอบคลุมถึงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ บริ ษั ท เกิ ด ความเข้ า ใจถึ ง มุ ม มองของชุ ม ชนและผลกระทบต่ า งๆ

ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการดำ�เนิ น งานของโรงงาน อั น นำ�ไปสู่ ก ระบวนการ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มตั ด สิ น ใจของโรงงานร่ ว มกั บ ชุ ม ชนผ่ า นกระบวนการ

มีส่วนร่วม เช่น การประชุมสภาผู้นำ�ชุมชน การประชุม หมู่บ้าน ฯลฯ ซึง่ บริษท ั จะนำ�ข้อสรุปจากกระบวนการต่างๆ ดังกล่าวนำ�มาพิจารณา

เพือ ่ กำ�หนดแนวทางการจัดการทีเ่ หมาะสม เพือ ่ นำ�ไปสูค ่ วามพึงพอใจ ของชุมชนอย่างยั่งยืน

ตามนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสิง่ แวดล้อม ซึง่ แสดงความมุง่ มัน ่ ในการลดผลกระทบสิง่ แวดล้อม

อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรและพลั ง งานด้ ว ยการใช้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ลดการสิ้นเปลือง ดำ�เนินการคัดแยกของเสียที่เกิดจากการดำ�เนิน

กิจกรรมของบริษัท รวมถึงป้องกัน ควบคุมการกำ�จัด และบำ�บัด ของเสียเหล่านั้นให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รวมถึง

ลดและป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ และการดู แ ลความหลากหลายทางชี ว ภาพในพื้ น ที่ อี ก ด้ ว ย ทั้ ง นี้

ความสำ�เร็จของการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย สิง่ แวดล้อม และ การอนุรักษ์พลังงาน เป็นไปตามการรับรองและรางวัลต่างๆ ได้แก่

• ระบบการบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม

ISO 14001 ซึง่ บริษท ั ได้รบ ั การรับรองอย่างต่อเนือ ่ งมาตัง้ แต่ปี 2542 จนถึงปัจจุบัน

• ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ

ความปลอดภั ย TIS/OHSAS 18001 ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ รั บ การรั บ รอง

อย่างต่อเนือ ่ งมาตัง้ แต่ปี 2545 - 2558 และเปลีย ่ นเป็น OHSAS 18001 ตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปัจจุบัน

• รางวั ล สถานประกอบการดี เ ด่ น ด้ า น

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน จากกระทรวงแรงงาน ตัง้ แต่ปี 2555 จนถึงปี 2560 ต่อเนือ ่ งเป็นปีที่ 6

3.2 มาตรการชดเชยความเสียหาย

ในกรณี ที่ ผู้ มี ส่ ว นไ ด้ เ สี ยไ ด้ รั บ ค ว า ม เ สี ยห าย จ าก การที่ บ ริ ษั ท ละเมิ ด สิ ท ธิ ต ามกฎหมายนั้ น บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การ

ในบางประการโดยการทำ�ประกั น ภั ย ความเสี่ ย งคุ้ ม ครองผู้ มี ส่ ว น ได้เสียของบริษัทในบางกรณี ได้แก่

• การประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่ บริหารของบริษัท (Directors & Officers Liability Insurance)

• ก า ร ป ร ะ กั น ภั ย ก า ร ข น ส่ ง สิ น ค้ า ท า ง ท ะ เ ล แ ล ะ การขนส่งภายในประเทศ (Marine Cargo Open Policy)

• การประกั น ภั ย ความรั บ ผิ ด ต่ อ บุ ค คลภายนอก อั น เนื่ อ งมาจากการปฏิ บั ติ ง านในสถานที่ เ อาประกั น ภั ย (Public Liability Insurance)

• การประกั น ภั ย การเสี่ ย งภั ย ทุ ก ชนิ ด ของทรั พ ย์ สิ น การประกันภัยเครื่องจักรหยุดชะงัก การประกันภัยหม้อไอน้ำ�ระเบิด และการประกั น ภั ย ธุ ร กิ จ หยุ ด ชะงั ก (สำ�หรั บ โรงงานขนาดใหญ่ )

[All Risks of Property Damage, Machinery Breakdown, Boiler Explosion and Business Interruption Insurance (for major plants)]

• การประกั น ภั ย การเสี่ ย งภั ย ทุ ก ชนิ ด ของทรั พ ย์ สิ น (สำ�หรับอาคารสำ�นักงาน) [Property All Risks Insurance (for office building)]

นอกจากการจั ด ทำ�ประกั น ภั ย หลั ก ของบริ ษั ท ตาม รายละเอี ย ดข้ า งต้ น แล้ ว บริ ษั ท ยั ง ได้ ป ระสานงานในการจั ด ทำ� ประกันภัย เพือ ่ ขยายความคุม ้ ครองไปยังบริษท ั ในกลุม ่ เหล็กสหวิรย ิ า

ซึ่งประกอบธุรกิจภายในประเทศ เช่น บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง

จำ�กัด บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน) เป็นต้น ตลอดจนมีการติดตามสถานการณ์ เพื่อ ประเมินความเสี่ยงที่อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทและ

ผู้มีส่วนได้เสียอยู่เป็นระยะๆ และจัดทำ�ประกันภัยเพิ่มเติมเพื่อให้ ความคุ้มครองเหมาะสมกับความเสี่ยงภัยที่เพิ่มขึ้นด้วย (ถ้ามี)

3.3 ข้อพิพาทที่สำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย

• ร า ง วั ล อุ ต ส า ห ก ร ร ม ดี เ ด่ น ป ร ะ เ ภ ท

บริ ษั ท ได้ มี ก ารดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ โดยพยายามหลี ก เลี่ ย ง

• รางวัลสถานประกอบการที่มีการจัดการ

ทีบ ่ ริษท ั เข้าไปเกีย ่ วข้องด้วย ไม่วา ่ จะเป็นลูกค้า คูค ่ า ้ คูแ ่ ข่งทางการค้า

การบริหารความปลอดภัย ปี 2558

และรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มตามาตรการในรายงานการวิ เ คราะห์ ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มดี เ ด่ น ประจำ�ปี 2559 (EIA Monitoring Awards 2016)

• สำ�นักจัดซือ ้ กลุม ่ ได้สนับสนุนโครงการจัดซือ ้

ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยได้จัดหาผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิ์ให้ใช้ เครือ ่ งหมายฉลากเขียวทีป ่ ระกาศโดยมูลนิธิสถาบันสิง่ แวดล้อมไทย รวมถึงสนับสนุนนโยบายการประหยัดพลังงานโดยการจัดหาและ ใช้หลอดแอลอีดีในโรงงานบางสะพานมาอย่างต่อเนื่อง

การเกิดข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทกับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) พนักงาน สังคม และชุมชน ทั้งนี้ บริษัทได้มีกลไกในการกำ�กับดูแล

ให้หน่วยงานต่างๆ ภายในบริษัทถือปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท (Legal Compliance) โดยการจัดทำ�

บัญชีรายชื่อกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่บริษัทต้องถือปฏิบัติ โดยในปี ที่ผ่านๆ มากำ�หนดให้แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทำ�การปรับปรุง และสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง แล้วรายงานผล

มายังสำ�นักกฎหมายกลุ่ม (Group Legal Office) เพื่อรวบรวมข้อมูล และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบทราบและเพือ ่ ให้การกำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงานภายในบริษัทมีประสิทธิภาพมากขึ้น และในปี

2560 บริษัทได้ทำ�ตามแผนงาน โดยแยกงานด้านการกำ�กับดูแล


85

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การปฏิบัติงานออกจากสำ�นักกฎหมายกลุ่ม (Group Legal Office)

ให้พนักงานและผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทัง้ ภายในและภายนอกบริษท ั ทราบถึง

Compliance and Corporate Governance Office) ขึ้นมา เพื่อทำ�

ต่ า งๆ เช่ น ระบบอิ น ทราเน็ ต ของบริ ษั ท ที่ http://ssi.net ระบบ

โดยจั ด ตั้ ง สำ�นั ก กำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การและปฏิ บั ติ ง านกลุ่ ม (Group หน้าที่อย่างอิสระในการกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานภายในองค์กร

สำ�หรั บ คดี ค วามและข้ อ พิ พ าทที่ สำ�คั ญ ของบริ ษั ท ซึ่งเปิดเผยอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทนั้น สำ�นัก กฎหมายกลุ่มเป็นผู้ดำ�เนินการ ติดต่อ ประสานงาน รวมทั้งรายงาน ผลความคืบหน้าและความคิดเห็นตลอดจนแนวโน้มของคดีความ

และข้ อ พิ พ าทเหล่ า นั้ น ต่ อ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละประธาน

เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ่ ม ทราบเป็ น ระยะๆ อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ร ายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษท ั ทราบทุกไตรมาส อีกด้วย

3.4 การแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนใดๆ

คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ด้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำ�คัญของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่จะมา

ช่ ว ยกำ�กั บ ดู แ ลบริ ษั ท จึ ง ได้ กำ�หนดให้ มี ช่ อ งทางการแจ้ ง เบาะแส หรือข้อร้องเรียน เพื่อให้บริษัทมีกลไกในการรับทราบข้อมูลต่างๆ

จากพนักงานและจากผู้มีส่วนได้เสียอื่น เช่น ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า

คู่ แ ข่ ง ทางการค้ า สั ง คมและชุ ม ชน ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ งการกระทำ� ผิดกฎหมายหรือจริยธรรมธุรกิจ หรือการกระทำ�ทุจริต หรือการกระทำ�

ความผิดต่อตำ�แหน่งหน้าที่ หรือการกระทำ�การทุจริตคอร์รัปชั่น หรื อ การกระทำ�การฝ่ า ฝื น ต่ อ นโยบายเกี่ ย วกั บ ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ของบริษัท หรือการกระทำ�การขัดต่อหรือการละเลย

ต่อหน้าที่ตามนโยบาย แนวปฏิบัติ คำ�สั่ง หรือระเบียบต่างๆ ของ

บริษัท หรือรายงานทางการเงินที่ไม่ถูกต้อง หรือระบบการควบคุม ภายในที่บกพร่อง หรือการกระทำ�อื่นๆ ที่อยู่ในข่ายทำ�ให้ผู้แจ้งหรือ

ช่องทางและวิธีการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน โดยผ่านช่องทาง อินเทอร์เน็ตที่เว็บไซต์ http://www.ssi-steel.com ซึ่งผู้แจ้งสามารถ

แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน ผ่านช่องทางติดต่อสื่อสารกับบริษัท ได้ 2 ช่องทาง ได้แก่

• ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ e-mail address : ssigcg@yahoo.com หรือ

• ทางไปรษณีย์ โดยส่งจดหมายมาที่คณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั ตูป ้ ณ.534 ปณจ.บางรัก กทม.10500

ทั้ ง นี้ คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จ ะเป็ น

ผูก ้ ำ�หนดกระบวนการดำ�เนินการเมือ ่ ได้รบ ั แจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียน และมี ม าตรการรั ก ษาความลั บ ของผู้ แ จ้ ง โดยกำ�หนดบุ ค คล ผู้มีสิทธิเข้าถึงข้อมูลตามช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน

ดังกล่าว กล่าวคือ กล่องรับข้อความทางระบบไปรษณียอ ์ เิ ล็กทรอนิกส์ หรือตู้รับจดหมายทางไปรษณีย์เป็นของผู้ให้บริการภายนอกบริษัท ซึ่งพนักงานไม่ว่าหน่วยงานใดของบริษัทไม่สามารถเข้าถึงกล่องรับ

ข้อความหรือตู้รับจดหมายนี้ได้ เว้นแต่บุคคลผู้ได้รับมอบหมายจาก ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

นอกจากนี้ บริษัทได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วม

ปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (Certified Company) จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย

ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต เมื่ อ วั น ที่ 22 มกราคม 2559 โดย

ในปี 2560 บริษัทได้ด�ำเนินการหรือมีกิจกรรมที่ได้เข้าร่วมเกี่ยวกับ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ตามรายละเอียดข้อมูลปรากฏอยู่ ในเรื่อง การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

บริษัทได้รับความเสียหาย มายังคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

ทำ�ให้บริษัททราบถึงปัญหาหรือข้อมูลเชิงลึกได้มากยิ่งขึ้น และเป็น

คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูล

ตลอดจนวางมาตรการป้องกันต่างๆ ให้รัดกุม ยิ่งขึ้น อันจะทำ�ให้

ที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส

ที่ดีของบริษัท ตามหลักเกณฑ์ที่เปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งจะ โอกาสให้บริษัทนำ�ข้อมูลที่ได้รับมาวิเคราะห์ หาหนทางแก้ไขปัญหา การบริหารงานโดยรวมของบริษัทมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

บริ ษัทได้ประกาศนโยบายคณะกรรมการบริษัท เรื่อง การแจ้ ง เบาะแสหรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น และแนวปฏิ บั ติ ค ณะกรรมการ

บริษัท ว่าด้วยเรื่อง ช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน ซึ่งได้ ประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม 2551 ต่อมาคณะกรรมการ

บริ ษั ท ได้ มี ก ารพิ จ ารณาทบทวนและได้ ป ระกาศใช้ แ นวปฏิ บั ติ

คณะกรรมการบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยเรื่ อง ช่ อ งทางการแจ้ งเบาะแสหรื อ ข้อร้องเรียน (ฉบับที่ 2) เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 ทดแทน ฉบับเดิม โดยมีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการคุ้มครองผู้แจ้ง

เบาะแสหรือข้อร้องเรียน เพื่อรองรับนโยบายคณะกรรมการบริษัท และแนวปฏิ บั ติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง การต่ อ ต้ า น

การทุจริตคอร์รัปชั่น ซึ่งบริษัทได้มีการสื่อสารนโยบายเรื่องดังกล่าว

สารสนเทศที่สำ�คัญของบริษัท ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลอื่น

ทั น การณ์ และเป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ ที่ สำ�นั ก งานคณะกรรมการ

กำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง

ประเทศไทยกำ�หนด โดยนำ�เสนอทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพือ ่ ให้ผล ู้ งทุน ผูถ ้ อ ื หุน ้ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผูเ้ กีย ่ วข้องต่างๆ

รวมถึงสาธารณชน ได้รบ ั ทราบข้อมูลได้อย่างทัว ่ ถึงและเท่าเทียมกัน ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้แถลง

ถึงเจตนาอย่างชัดแจ้งในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั

ทัง้ นี้ บริษท ั ได้จด ั ให้มห ี น่วยงานทีด ่ แ ู ลรับผิดชอบเรือ ่ งการเปิดเผย

ข้อมูลสารสนเทศของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คือ สำ�นักเลขานุการบริษัท และสำ�นักนักลงทุนสัมพันธ์กลุ่ม สังกัด สำ�นักการเงินกลุ่ม


86

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

4.1 การเปิดเผยข้อมูลตามประกาศ หรือข้อกำ�หนด หรือข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรือของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ในปี 2560 การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศของบริษท ั มีดงั นี้

• เปิ ด เผยข้ อ มู ล สารสนเทศตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ต ลาด

หลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและสำ�นั ก งานคณะกรรมการกำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ กำ�หนด โดยเฉพาะรายงาน

ทางการเงินซึง่ เป็นข้อมูลเกีย ่ วกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน ของบริ ษั ท รอบระยะเวลาหกเดื อ นแรกของปี และสำ�หรั บ ปี ห ลั ง

ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต พร้อมทั้งเปิดเผยคำ�อธิบาย

และการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) ของบริษัท บริษัทย่อย และการร่วมค้า เป็นรอบ ระยะเวลาหกเดื อ นแรกของปี ด้ ว ย สำ�หรั บ รายงานความคื บ หน้ า

การฟื้ น ฟู กิ จ การ บริ ษั ท ได้ มี ก ารเปิ ด เผยเป็ น รายไตรมาส ไปยั ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และสำ�นั ก งานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

• จัดส่งรายงานประจำ�ปี 2559 (แบบ 56-2) ให้กับ

คณะกรรมการบริษท ั ในฐานะผูบ ้ ริหารแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การฯ และเปิดเผย ข้อมูลสารสนเทศดังกล่าวไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สำ�นั ก งานคณะกรรมการกำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และกระทรวงพาณิชย์ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำ�หนด

• เปิ ด เผยแบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจำ�ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 (แบบ 56-1) ไปยั ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์

แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ

ตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 3 เดือน นับแต่วน ั สิน ้ สุดรอบระยะเวลาบัญชี ของบริษัท ตามระยะเวลาที่กฎหมายกำ�หนด

ทัง้ นี้ การเปิดเผยข้อมูลของบริษท ั ไปยังตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทยและสำ�นั ก งานคณะกรรมการกำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ ดังกล่าวข้างต้น เป็นไปอย่างครบถ้วนและ ตรงตามกำ�หนดเวลา

4.2 การเปิดเผยข้อมูลตามแนวปฏิบัติที่ดี ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อความโปร่งใสของบริษัท

คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ

งานเกี่ยวกับ “นักลงทุนสัมพันธ์” เพื่อเป็นศูนย์กลางในการติดต่อ

สื่อสาร และมีหน้าที่เปิดเผยข้อมูลสารสนเทศของบริษัทกับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนทั่วไป นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และภาครัฐ

ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อย่ า งเท่ า เที ย มกั น เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ กลุ่ ม บุ ค คล

ผู้เกี่ยวข้องข้างต้นได้รับทราบข้อมูลที่นำ�มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อ การลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษท ั ในเชิงลึกได้ดย ี งิ่ ขึน ้ โดยเมือ ่ ปี 2554 บริษัทได้รวมหน่วยงานดังกล่าวกับฝ่ายการเงิน เป็น “ฝ่ายการเงิน

และนักลงทุนสัมพันธ์” ซึง่ ในปัจจุบน ั คือ “สำ�นักนักลงทุนสัมพันธ์กลุม ่

สังกัดสำ�นักการเงินและบัญชีกลุ่ม” เพื่อทำ�หน้าที่ดูแลรับผิดชอบ โดยตรงในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล สารสนเทศของบริ ษั ท ผ่ า นตลาด

หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักการพัฒนาอย่างยั่งยืนและ

การสื่อสารกลุ่ม เพื่อทำ�หน้าที่ดูแลรับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูล

สารสนเทศของบริ ษั ท ต่ อ สาธารณชนผ่ า นสื่ อ มวลชน ซึ่ ง ทั้ ง สอง หน่ ว ยงานของบริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การเปิ ด เผยและเผยแพร่ ข้ อ มู ล

ที่สำ�คัญผ่านเว็บไซต์ของบริษัทที่ http://www.ssi-steel.com ด้วย โดยบริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงข้อมูลดังกล่าวให้เป็นปัจจุบันอย่าง

สม่ำ�เสมอ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียและผู้เกี่ยวข้องทั้งหลายสามารถ รับทราบข้อมูลข่าวสารที่สำ�คัญของบริษัท อาทิ ข้อมูลทางการเงิน รายงานประจำ�ปี ข่ า วสารองค์ ก รและกิ จ กรรมสั ง คม และข้ อ มู ล

นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้ตลอดเวลา 4.2.1 ความสัมพันธ์กับนักลงทุน

ในปี 2560 สำ�นักนักลงทุนสัมพันธ์กลุม ่ มีการดำ�เนิน กิจกรรมที่สำ�คัญผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้

• จั ด ใ ห้ มี ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ

ทางการเงินและข้อมูลอื่นที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินของบริษัท รวมทั้ง นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี จริยธรรมธุรกิจของบริษท ั จริยธรรม

กรรมการ และจริยธรรมของพนักงาน ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทที่ http://www.ssi-steel.com เพื่อให้ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุนสามารถเข้าถึงข้อมูลบริษัทได้อย่างสะดวกตลอดเวลา และอย่างเท่าเทียมกัน

• จั ด ให้ มี ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งผู้ ถื อ หุ้ น

และผู้ ล งทุ น กั บ บริ ษั ท เพื่ อ สอบถามข้ อ มู ล กั บ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ ข้ อ มู ล เพิ่มเติมกับบริษัทได้ตลอดเวลาทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่

e-mail address: ir@ssi-steel.com และสามารถลงทะเบียนรับบริการ ข่าวสารทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่เว็บไซต์ของบริษัทได้

• จั ด ทำ�การวิ เ คราะห์ แ ละคำ�อธิ บ ายของ

ฝ่ายจัดการ (Management’s Discussion and Analysis: MD&A)

ของบริษท ั บริษท ั ย่อย และการร่วมค้า สำ�หรับผลการดำ�เนินงานงวด 6 เดือนและรายปี เพื่อประกอบการเปิดเผยงบการเงินทุกไตรมาส

โดยเผยแพร่ให้แก่ผู้ลงทุนทราบและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ

ที่เกิดขึ้น รวมทั้งปัจจัยและเหตุการณ์ที่มีผลต่อฐานะการเงินและ ผลการดำ�เนินงาน นอกเหนือจากข้อมูลตัวเลขในงบการเงิน 4.2.2 ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียอื่น และสาธารณชน

ในปี 2560 สำ�นั ก การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น และ

• จัดให้มก ี ารส่งข่าวประชาสัมพันธ์ และภาพข่าว

การสื่อสารกลุ่ม มีการดำ�เนินกิจกรรมที่สำ�คัญต่างๆ ดังนี้

เกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทแก่นักข่าว เพื่อให้มีการเผยแพร่ ข้อมูลของบริษัทเป็นระยะๆ ให้ผู้ลงทุนและสาธารณชนทราบ

• จั ด ให้ มี ก ารสั ม ภาษณ์ ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท

ตามที่ ไ ด้ รั บ การติ ด ต่ อ จากสื่ อ มวลชน เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจแก่ สื่อมวลชนให้รับทราบ และเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องของบริษัท


87

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

• จัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลหรือบทความของ

4. นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ

• สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ต่ า งๆ ได้ แ ก่ หนั ง สื อ พิ ม พ์

5. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

• การแสดงนิทรรศการ เพื่อให้ข้อมูลที่เป็น

6. นายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์

• สื่ อ พิ เ ศษหรื อ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ได้ แ ก่

7. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

8. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

9. นายกมล จันทิมา

10. นายวิน วิริยประไพกิจ

11. นายนาวา จันทนสุรคน

กรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ นายวิทย์

บริษัทผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ อาทิ รายงานประจำ�ปี

ประโยชน์แก่บุคคลทั่วไปและกลุ่มเป้าหมาย

เว็บไซต์ของบริษัทที่ http://www.ssi-steel.com, http://www.blogssi. com/360degree/, http://www.blogssi.com/ssiarsa/ และวิดีโอ

• จัดให้มีช่องทางติดต่อสื่อสารเพื่อสอบถาม

หรือขอข้อมูลเพิ่มเติมจากบริษัทได้ตลอดเวลาที่ e-mail address: pr@ssi-steel.com

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

5.1 โครงสร้างคณะกรรมการ

5.1.1 องค์ประกอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ

ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ ความเชี่ ย วชาญ และประสบการณ์ ที่หลากหลายที่เป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท (Board

Diversity) ได้ แ ก่ ด้ า นการผลิ ต การบริ ห ารจั ด การ การบริ ห าร ความเสี่ยง การเงินและการบัญชี ตลอดจนประสบการณ์ที่ยาวนาน ในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมเหล็ก ซึ่งจำ�นวนกรรมการตาม หนังสือรับรองกระทรวงพาณิชย์ ฉบับล่าสุดเมื่อวันที่ 16 มกราคม

2561 มีจำ�นวน 11 คน ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 6 คน และกรรมการที่มิได้เป็นกรรมการอิสระอีกจำ�นวน 5 คน ในจำ�นวนนี้ มี ก รรมการที่ เ ป็ น พนั ก งานระดั บ บริ ห าร 2 คน คื อ นายวิ น

วิ ริ ย ประไพกิ จ ดำ�รงตำ�แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ่ ม และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และนายนาวา จันทนสุรคน ดำ�รงตำ�แหน่ง

เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม สำ�นักรัฐกิจสัมพันธ์กลุ่ม และผู้ช่วยกรรมการ

ผู้จัดการใหญ่ สายธุรกิจ ซึ่งจำ�นวนกรรมการอิสระของบริษัทเป็นไป ตามที่กำ�หนดไว้ในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทและ

เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 ด้วย

รายชื่อของคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย 1. นายวิทย์ วิริยประไพกิจ*

ประธานกรรมการบริษัท

2. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

3. นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

รองประธานกรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ

กรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ

หมายเหตุ :

กรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ

กรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ

กรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ

กรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ

กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท

วิริยประไพกิจ หรือนายกมล จันทิมา หรือนายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

หรือนายวิน วิริยประไพกิจ หรือนายนาวา จันทนสุรคน กรรมการ สองในห้าคนนีล ้ งลายมือชือ ่ ร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษท ั 5.1.2 การกำ�หนดวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

ของกรรมการและของกรรมการอิสระ

การกำ�หนดระยะเวลาที่กรรมการบริษัทจะดำ�รง

ตำ�แหน่งในแต่ละวาระเป็นไปตามข้อบังคับของบริษท ั และสอดคล้อง

กับพระราชบัญญัตบ ิ ริษท ั มหาชนจำ�กัด ซึง่ บัญญัตไิ ว้วา ่ ในการประชุม

สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี ทุ ก ครั้ ง กรรมการต้ อ งออกจากตำ�แหน่ ง

ตามวาระเป็นจำ�นวน 1 ใน 3 ทุกๆ ปี กรรมการที่ออกตามวาระ จะเป็นกรรมการทีอ ่ ยูใ่ นตำ�แหน่งนานทีส ่ ด ุ กรรมการทีอ ่ อกตามวาระ

นั้นอาจถูกที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกให้กลับเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ ต่อเนื่องอีกครั้งก็ได้

อย่างไรก็ดี เนื่องจากบริษัทมีความจำ�เป็นต้อง ขอฟื้นฟูกิจการ โดยเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559 ศาลล้มละลายกลาง

มีคำ�สั่งให้ฟื้นฟูกิจการของบริษัทและตั้งบริษัทเป็นผู้ทำ�แผน ดังนั้น นับแต่วันที่ศาลมีคำ�สั่งดังกล่าว อำ�นาจหน้าที่ในการจัดการกิจการ และทรัพย์สินของบริษัท และบรรดาสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้น

(ยกเว้นสิทธิที่จะได้รับเงินปันผล ถ้าหากมี) ตกแก่ผู้ทำ�แผน ตาม ความในมาตรา 90/25 พระราชบัญญัติล้มละลายฯ จึงทำ�ให้บริษัท ไม่ตอ ้ งจัดการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ อีกต่อไปไม่วา ่ จะเป็นการประชุมสามัญ

ประจำ�ปีหรือการประชุมวิสามัญ จนกว่าศาลจะมีคำ�สั่งยกเลิกคำ�สั่ง ให้ฟื้นฟูกิจการหรือยกเลิกการฟื้นฟูกิจการของบริษัท แล้วแต่กรณี

* ศาลล้มละลายกลางได้พิพากษาเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2560 ให้นายวิทย์ วิริยประไพกิจ ล้มละลายแล้ว ซึ่งเป็นผลให้ต้องพ้นจากตำ�แหน่งคณะกรรมการโดยผลทางกฎหมาย (ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 / ตอนที่ 4ง / หน้า 165 / 16 มกราคม 2561)


88

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

เมือ ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2559 ศาลล้มละลายกลาง

ได้ มี คำ�สั่ ง เห็ น ชอบด้ ว ยแผน ทำ�ให้ บ รรดาสิ ท ธิ แ ละอำ�นาจหน้ า ที่ ของผู้ทำ�แผนตกเป็นของผู้บริหารแผน ตามความในมาตรา 90/59

พ.ร.บ.ล้มละลายฯ ตามลำ�ดับ และโดยที่แผนกำ�หนดให้บริษัทเป็น

ผู้บริหารแผน ดังนั้น กรรมการและกรรมการอิสระของบริษัท จึงยัง

คงทำ�หน้าทีเ่ ป็นกรรมการและกรรมการอิสระของผูบ ้ ริหารแผนต่อไป สำ�หรั บ การกำ�หนดจำ�นวนวาระสู ง สุ ด ของ

กรรมการที่จะดำ�รงตำ�แหน่งติดต่อกันในคณะกรรมการบริษัท และ ของกรรมการอิสระที่จะดำ�รงตำ�แหน่งติดต่อกันในคณะกรรมการ บริ ษั ท และในคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยแต่ ล ะชุ ด นั้ น บริ ษั ท ยั ง มิ ไ ด้

กำ�หนดไว้ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ความคล่ อ งตั ว ในการสรรหาบุ ค คลที่ มี ประสบการณ์และความสามารถเฉพาะด้านที่เหมาะสมกับภารกิจ ที่จะได้รับมอบหมายและมีความเข้าใจในลักษณะธุรกิจของบริษัท 5.1.3 การแยกตำ�แหน่งประธานกรรมการบริษัท และกรรมการผู้จัดการใหญ่

ในส่วนโครงสร้างการจัดการได้จัดแบ่งบทบาท ห น้ า ที่ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง บุ ค ค ล ผู้ ดำ� ร ง ตำ� แ ห น่ ง ที่ สำ� คั ญ ออกจากกัน กล่าวคือ นายวิทย์ วิรย ิ ประไพกิจ ดำ�รงตำ�แหน่งประธาน กรรมการบริษัท และนายวิน วิริยประไพกิจ ดำ�รงตำ�แหน่งประธาน

เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ่ ม และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดยกำ�หนด อำ�นาจหน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบของแต่ละตำ�แหน่งไว้อย่างชัดเจน 5.1.4 ความเป็นอิสระของประธานกรรมการบริษัท

บริษัทยังมิได้กำ�หนดเป็นนโยบายของบริษัทว่า ประธานกรรมการบริ ษั ท ต้ อ งเป็ น กรรมการอิ ส ระ เพราะอาจเป็ น

ข้ อ จำ�กั ด ที่ ทำ�ให้ บ ริ ษั ท ไม่ ส ามารถสรรหาบุ ค คลที่ เ หมาะสม ในการดำ�รงตำ�แหน่งดังกล่าวในช่วงเวลาที่บริษัทต้องการ เนื่องจาก อุ ต สาหกรรมเหล็ ก และเหล็ ก กล้ า มี ค วามจำ�เป็ น ที่ ต้ อ งการบุ ค คล

ที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น นอกเหนื อ จาก การเป็นผูน ้ ำ�ทีม ่ ว ี ส ิ ย ั ทัศน์ทก ี่ ว้างไกล และมีความสามารถในการกำ�กับ

ดูแลการบริหารงานของบริษัทให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทและ ผู้ถือหุ้น รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสียอื่นของบริษัทด้วย 5.1.5 เลขานุการบริษัท

บริษัทมีเลขานุการบริษัท เพื่อให้คำ�แนะนำ�ด้าน กฎหมายและกฎเกณฑ์ตา ่ งๆ ทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั จะพึงต้องทราบ

และปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการดู แ ลกิ จ กรรมของคณะกรรมการบริ ษั ท รวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษท ั ซึง่ คณะกรรมการบริษท ั ได้แต่งตัง้ นายสุรศักดิ์ งามสิทธิพงศา ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ มี คุ ณ วุ ฒิ แ ละคุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสม ให้ ดำ�รงตำ�แหน่ ง เลขานุการบริษัท โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติและหน้าที่ ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท ดังนี้

คุณสมบัติ

1. มี ค วามรู้ พื้ น ฐานในด้ า นกฎหมาย และ กฎระเบี ย บของหน่ ว ยงานทางราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กฎหมาย ว่ า ด้ ว ยบริ ษั ท มหาชนจำ�กั ด และกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ หรื อ ผ่ า นการอบรมหลั ก สู ต รที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัท

2. มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี และข้อพึงปฏิบัติที่ดีของการกำ�กับดูแลกิจการ

3. มี ค ว า ม เ ป็ น อิ ส ร ะ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เลขานุการบริษัท

หน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ให้ คำ�ปรึ ก ษาและข้ อ เสนอแนะเบื้ อ งต้ น

แก่คณะกรรมการบริษัทในประเด็นข้อกฎหมาย ข้อควรปฏิบัติของ หน่วยงานทางราชการ ข้อพึงปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

และข้อบังคับของบริษท ั รวมถึงรายงานการเปลีย ่ นแปลงทีม ่ น ี ย ั สำ�คัญ 2. จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม เอกสาร

ประกอบการพิ จ ารณาในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และการประชุ ม คณะกรรมการบริษัท

3. จั ด การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และการประชุ ม

คณะกรรมการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัท และข้อพึงปฏิบัติที่ดี

4. บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ การประชุมคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตาม มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท

5. จั ด ทำ�และเก็ บ รั ก ษาทะเบี ย นกรรมการ รายงานประจำ�ปี หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม

คณะกรรมการบริ ษั ท รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และรายงาน การประชุมคณะกรรมการบริษัท

6. ดำ�เนินการให้กรรมการและผู้บริหารจัดทำ� รายงานการมีส่วนได้เสียของตนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ตามข้อกำ�หนด

กฎหมาย รวมทั้ ง เก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ร ายงาน โดยกรรมการหรือผูบ ้ ริหาร และส่งสำ�เนาให้ประธานกรรมการบริษท ั

ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี ตามที่กฎหมายกำ�หนด

7. ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงาน สารสนเทศ ตามระเบียบและข้อกำ�หนดของหน่วยงานทางการ 8. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัท

9. จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ

คณะกรรมการบริษท ั และรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ บริษัท

10. ติ ด ต่ อ และสื่ อ สารกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ ให้ ไ ด้ รับทราบสิทธิต่างๆ ของผู้ถือหุ้น และข่าวสารของบริษัท

11. ดำ�เนินการอืน ่ ใดเพือ ่ ให้เป็นไปตามทีก ่ ฎหมาย กำ�หนด


89

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.2 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ห รื อ ให้ ความเห็นชอบในเรื่องที่สำ�คัญของบริษัทเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ

ทิ ศ ทางและนโยบายในการดำ�เนิ น งาน แผนธุ ร กิ จ กลยุ ท ธ์ และ งบประมาณประจำ�ปี ข องบริ ษั ท รวมทั้ ง กำ�กั บ ดู แ ลให้ ก ารบริ ห าร จัดการความเสี่ยงและการบริหารงานของฝ่ายจัดการดำ�เนินการ ให้เป็นไปตามนโยบายและแผนธุรกิจทีก ่ ำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิผล

และปฏิบต ั ถ ิ ก ู ต้องตามกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ของ

องค์กรที่กำ�กับดูแล วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจน มติทป ี่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั และมติทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยคำ�นึง ถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียเป็นสำ�คัญ ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทสามารถเจริญเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน ซึ่งจะเพิ่ม

มูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับอำ�นาจ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ดังนี้

อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท

1. คณะกรรมการมี อำ�นาจและหน้ า ที่ ใ นการดำ�เนิ น กิจการของบริษัททั้งในฐานะที่บริษัทเป็นลูกหนี้และในฐานะที่บริษัท

เป็นผูบ ้ ริหารแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ รวมถึ ง หลั ก เกณฑ์ เ งื่ อ นไขและวิ ธี ก าร ที่กำ�หนดในแผนฟื้นฟูกิจการและตามคำ�สั่งของศาลล้มละลาย

2. คณะกรรมการมีอำ�นาจทีจ ่ ะมอบหมายอำ�นาจให้แก่

บุคคลธรรมดาหรือให้แก่นิติบุคคล ไม่ว่าบุคคลธรรมดานั้นจะเป็น

กรรมการของบริษัทหรือไม่ก็ตาม ในการที่จะกระทำ�การใดๆ ในนาม ของบริษัท และการลงลายมือชื่อของผู้รับมอบอำ�นาจดังกล่าวนั้น

ให้ถอ ื ว่ามีผลผูกพันบริษท ั ได้ภายใต้ขอ ้ จำ�กัดในการลงลายมือชือ ่ ของ

ผู้รับมอบอำ�นาจตามที่คณะกรรมการเป็นผู้กำ�หนด คณะกรรมการ อาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนปฏิบต ั ิการอย่างใด อย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการก็ได้

3. คณะกรรมการต้ อ งประชุ ม อย่ า งน้ อ ยสามเดื อ น ต่อครั้ง

4. คณะกรรมการต้องจัดให้มก ี ารจัดทำ�งบดุลและบัญชี กำ�ไรขาดทุ น ณ วั น สิ้ น สุ ด ของรอบปี บั ญ ชี ข องบริ ษั ท โดยงบดุ ล

และบัญชีกำ�ไรขาดทุนดังกล่าวจะต้องผ่านการตรวจสอบจากผูส ้ อบ บัญชีรับอนุญาต และจะต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของ บริษัท

5. ในระหว่างที่บริษัทอยู่ในกระบวนการฟื้นฟูกิจการ คณะกรรมการบริ ษั ท ในฐานะคณะกรรมการของผู้ ทำ�แผนและ

คณะกรรมการของผูบ ้ ริหารแผน ตามลำ�ดับ จะเป็นผูม ้ ีอำ�นาจหน้าที่ ในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของบริษัท และจะเป็นผู้ใช้สิทธิ

ตามกฎหมายแทนผูถ ้ อ ื หุน ้ (ยกเว้นสิทธิทจ ี่ ะได้รบ ั เงินปันผล ถ้าหากมี) ทั้ ง นี้ ตามที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ล้ ม ละลายฯ กำ�หนดไว้ จนกว่ า

ศาลล้ ม ละลายจะมี คำ�สั่ ง ยกเลิ ก คำ�สั่ ง ให้ ฟื้ น ฟู กิ จ การหรื อ ยกเลิ ก การฟื้นฟูกิจการของบริษัท แล้วแต่กรณี

6. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต้ อ ง จั ด ใ ห้ มี เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท

รั บ ผิ ด ชอบดำ�เนิ น การตามที่ ก ฎหมายกำ�หนดในนามของบริ ษั ท หรือคณะกรรมการ

ในกรณีที่เลขานุการบริษัทพ้นจากตำ�แหน่งหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งเลขานุการบริษัท

คนใหม่ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่เลขานุการบริษัทคนเดิมพ้นจาก ตำ�แหน่งหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ และให้คณะกรรมการมีอำ�นาจ

มอบหมายให้กรรมการคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนในช่วงเวลา ดังกล่าว ให้ประธานกรรมการแจ้งชื่อเลขานุการบริษัทต่อสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ภายในสิบสีว ่ น ั

นับแต่วันที่จัดให้มีผู้รับผิดชอบในตำ�แหน่งดังกล่าว และให้แจ้งให้

สำ�นั ก งานคณะกรรมการกำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ทราบถึงสถานที่เก็บเอกสารตามที่กฎหมายกำ�หนดด้วย 5.2.1 นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการบริษท ั มีเจตนารมณ์รว ่ มกันในการ

ทีจ ่ ะพัฒนายกระดับมาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ภ ี ายในบริษท ั มาอย่างต่อเนือ ่ ง โดยตัง้ แต่ปี 2545 ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั ได้มี

มติประกาศใช้นโยบายเกีย ่ วกับการกำ�กับดูแลกิจการบริษท ั สหวิรย ิ า

สตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ ได้กำ�หนดให้สอดคล้องกับหลักการ กำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จำ�นวน 15 ข้ อ ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ต่อมาเมือ ่ เดือนธันวาคม 2550 ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการ

บริษัทได้พิจารณาทบทวนและมีมติประกาศใช้นโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

ซึ่งได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับ บริษัทจดทะเบียนปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

และล่ า สุ ด เมื่ อ เดื อ นกั น ยายน 2557 บริ ษั ท ได้ ป ระกาศนโยบาย การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ฉบั บ ใหม่ ซึ่ ง ได้ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สำ�หรั บ บริ ษั ท จดทะเบียนปี 2555 โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท

ไทยร่ ว มกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และสำ�นั ก งาน

คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งได้เผยแพร่ ไว้เมื่อต้นปี 2556


90

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.2.2 จริยธรรมกรรมการ

รวมทั้งกำ�หนดเงื่อนไขและหลักประกันของลูกค้า เพื่อป้องกันหรือ

บริษท ั ดังนัน ้ ในปี 2544 ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั มีมติเห็นชอบ

ลูกค้า ตลอดจนพิจารณาทบทวนการต่ออายุวงเงินสินเชื่อการค้า

เพือ ่ ให้เป็นไปตามปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจของ ในการกำ�หนดจริยธรรมของกรรมการบริษัทไว้ ดังนี้

1) กรรมการบริษท ั พึงปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตาม เจตนารมณ์แห่งปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจ และยึดมั่นในจริยธรรม ในการประกอบธุรกิจที่บริษัทกำ�หนดไว้

2) กรรมการบริษท ั พึงปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตาม

กฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษท ั ตลอดจนมติทป ี่ ระชุม ผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ ของบริษัท

3) กรรมการบริ ษั ท พึ ง อุ ทิ ศ เวลาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่

ด้วยความรับผิดชอบอย่างเพียงพอ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ และทักษะการบริหารจัดการอย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้บริษัท

เจริญก้าวหน้า มัน ่ คง และก่อให้เกิดผลประโยชน์ตอบแทนทีเ่ หมาะสม 4) กรรมการบริษัทพึงปฏิบัติหน้าที่โดยคำ�นึงถึง

ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และในขณะเดี ย วกั น ต้ อ งคำ�นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องด้วย โดยปฏิบัติต่อทุกกลุ่มด้วยความเหมาะสมและเป็นธรรม

5) กรรมการบริษัทไม่พึงอาศัยตำ�แหน่งหน้าที่ ในการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เปิดเผยข้อมูลความลับ

ของบริษัทต่อบุคคลภายนอก รวมทั้งไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้กับ ตนเองและผู้เกี่ยวข้อง โดยใช้ข้อมูลใดๆ ของบริษัทซึ่งยังไม่เปิดเผย

ต่อสาธารณะ ตลอดจนไม่กระทำ�การใดๆ ในลักษณะทีอ ่ าจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท

5.2.3 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์

ในระยะที่ผ่านมา บริษัทได้กำ�หนดหลักเกณฑ์

เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์และให้มีการดำ�เนินการ

รายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันหรือรายการทีเ่ กีย ่ วข้องเพือ ่ ให้เกิดความโปร่งใส ชัดเจน และสามารถอธิบายได้ ซึ่งจะยังประโยชน์ต่อความน่าเชื่อถือ ในการบริหารงานของบริษท ั และส่งผลให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ประสบผลดียิ่งขึ้น ดังนี้

1) กำ�หนดระเบี ย บเกี่ ย วกั บ การให้ ส่ ว นลด

ในการขาย เพือ ่ เพิม ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เพิม ่ ปริมาณยอดขาย

และส่ ว นแบ่ ง การตลาด และตอบแทนลู ก ค้ า ผู้ มี อุ ป การคุ ณ ที่ ไ ด้ สัง่ ซือ ้ เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วนจากบริษท ั อย่างสม่ำ�เสมอตลอดมา 2) กำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธก ี ารปฏิบต ั เิ กีย ่ วกับ

การให้ สิ น เชื่ อ การค้ า (Rules and Procedures Governing the

Extension of Commercial Credit) เพื่อให้การอนุมัติสินเชื่อการค้า เป็นไปอย่างมีระบบระเบียบ ซึง่ จะช่วยควบคุมความเสีย ่ งจากการให้

สินเชื่อการค้าของบริษัท และแต่งตั้งคณะทำ�งานพิจารณาสินเชื่อ (Credit Committee) เพื่อทำ�หน้าที่วิเคราะห์และกลั่นกรองการให้ วงเงินและประเภทสินเชื่อการค้าในระดับที่เหมาะสมกับลูกค้า โดย

พิจารณาถึงความต้องการของลูกค้า ความสามารถในการชำ�ระหนี้

ลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริษัทในการอนุมัติวงเงินสินเชื่อ ของลูกค้าแต่ละรายด้วย

3) กำ�หนดให้มีการรายงานการขายสินค้าและ

ราคาขายสินค้าของบริษัท ให้ที่ประชุมคณะกรรมการจัดการทราบ

เป็นประจำ�ทุกเดือน และรายงานให้ทป ี่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ทราบทุกไตรมาส เพื่อให้มั่นใจว่าการดำ�เนินธุรกิจระหว่างบริษัท และบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เป็นการดำ�เนินธุรกิจตามปกติและเป็นไป ตามเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป

4) การจั ด ทำ�รายงานการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ และการเปลีย ่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษท ั ของกรรมการ

และผูบ ้ ริหารบริษท ั ซึง่ ได้เปิดเผยในรายงานประจำ�ปี 2560 โดยแสดง ภายใต้หัวข้อเรื่อง การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

5) กำ�หนดแนวปฏิ บั ติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ว่าด้วยเรื่อง การกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการมีส่วน

ได้เสียของกรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษท ั เมือ ่ ปี 2552 โดยกรรมการ และผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ทั้ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง านที่ บ ริ ษั ท และที่ บ ริ ษั ท ย่ อ ย

ได้รายงานการมีสว ่ นได้เสียของตนและของบุคคลทีม ่ ค ี วามเกีย ่ วข้อง ให้บริษัททราบเป็นรายไตรมาส

6) กำ�หนดแนวปฏิบั ติบริษั ท ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เมือ ่ ปี 2553 เพือ ่ ให้เกิดความชัดเจนแก่ พนักงานในการถือปฏิบต ั ิวา ่ การกระทำ�ใดจะก่อให้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์แห่งบริษัท เพื่อหลีกเลี่ยง การกระทำ�ดังกล่าวหรือป้องกันมิให้มีการกระทำ�ดังกล่าวเกิดขึ้น

7) คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาร่ า ง บทวิ เ คราะห์ ท างกฎหมายจากบริ ษั ท วี ร ะวงค์ , ชิ น วั ฒ น์ และ

เพี ย งพนอ จำ�กั ด ที่ ป รึ ก ษากฎหมายของบริ ษั ท เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง

(1) การเข้ า ทำ�รายการที่ เ กี่ ย วโยง ในการซื้ อ ขายเหล็ ก แท่ ง แบน (Slabs) ระหว่ า งบริ ษั ท สหวิ ริ ย าสตี ล อิ น ดั ส ตรี ยู เ ค จำ�กั ด และ

กลุ่มบริษัท Vanomet และระหว่างบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) และกลุ่มบริษัท Vanomet (2) ราคาซื้อขายเหล็ก แท่งแบน (Slabs) ระหว่างบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด และบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) พร้อมนำ�เสนอ

ประเด็ น ข้ อ สั ง เกตของทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งเกี่ ย วกั บ ความเห็ น ทาง กฎหมายของบริษท ั ทีป ่ รึกษากฎหมายของบริษท ั ในการเข้าทำ�รายการ

ทีเ่ กีย ่ วโยงในการซือ ้ ขายเหล็กแท่งแบน เสนอทีป ่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 10/2556 ในวันที่ 14 สิงหาคม 2556

อนึง่ ในกรณีทีม ่ ีการประชุมคณะกรรมการบริษท ั

และมีวาระการประชุมเพื่อพิจารณาถึงรายการของธุรกรรมที่อาจมี

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท กรรมการผู้มีส่วนได้เสียกับ ธุรกรรมทีท ่ ำ�กับบริษท ั นัน ้ จะต้องไม่มส ี ว ่ นร่วมในการตัดสินใจการทำ� ธุรกรรมดังกล่าว โดยไม่เข้าร่วมพิจารณาในวาระการประชุมดังกล่าว


91

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.2.4 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบ

การประชุมให้แก่กรรมการให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท โดย

รายละเอียดข้อมูลปรากฏอยู่ในเรื่องการควบคุม

กรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมการประชุม

ภายใน

ภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

5.2.5 การบริหารความเสี่ยง

รายละเอี ย ดข้ อ มู ล ปรากฏอยู่ ใ นเรื่ อ ง ปั จ จั ย ความเสี่ยง

5.3 การประชุมคณะกรรมการ

5.3.1 การกำ�หนดตารางเวลาการประชุม

คณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย ล่วงหน้า

บริษท ั ได้กำ�หนดการประชุมคณะกรรมการบริษท ั

และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เป็นการล่วงหน้าสำ�หรับปี โดยมี การประสานงานเพื่อกำ�หนดตารางการประชุมของคณะกรรมการ

แต่ละชุดและแจ้งให้กรรมการแต่ละคน รวมทัง้ หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้อง

ภายในบริ ษั ท ทราบเป็ น การล่ ว งหน้ า ด้ ว ย เพื่ อ ให้ ก รรมการและ ผูบ ้ ริหารทีเ่ กีย ่ วข้องสามารถจัดสรรเวลาและเข้าร่วมประชุมได้อย่าง

พร้ อ มเพรี ย งกั น โดยคณะกรรมการบริ ษั ท มี กำ�หนดการประชุ ม เป็นทุกเดือน นอกจากกรรมการผู้จัดการใหญ่จะเป็นผู้เสนอเรื่อง

เพื่อบรรจุในวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัทแล้ว กรรมการ แต่ ล ะคนยั ง สามารถที่ จ ะเสนอเรื่ อ งเพื่ อ บรรจุ ใ นวาระการประชุ ม

โดยผ่านคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ให้ประธานกรรมการบริษัท เป็นผู้พิจารณาเรื่องบรรจุในวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อความครบถ้วนของวาระการประชุม

ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท แ ล ะ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ มีผู้บริหารระดับสูงที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม

ประชุมด้วย เพือ ่ ให้ขอ ้ มูลรายละเอียดเพิม ่ เติมในฐานะผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องกับ

เรื่องที่นำ�เสนอโดยตรง และเพื่อเปิดโอกาสให้คณะกรรมการบริษัท ได้รู้จักกับผู้บริหารระดับสูงของบริษัทซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการใช้ ประกอบการพิจารณาแผนทดแทนตำ�แหน่ง (Succession Plan) ด้วย

การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท แต่ ล ะครั้ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ รั บ ทราบรายงานผลการดำ�เนิ น งานและ รายงานการติดตามความคืบหน้าของงานที่ได้มอบหมาย รวมทั้ง

พิ จ ารณาเรื่ อ งที่ เ ป็ น อำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ

คณะกรรมการบริษท ั โดยคณะกรรมการบริษท ั จะกำ�กับควบคุมและ ดูแลให้ฝ่ายจัดการ ตลอดจนคณะกรรมการย่อยแต่ละชุดได้ดำ�เนิน

งานตามนโยบายและแผนงาน ซึ่งเป็นไปตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่

และความรับผิ ดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยมีเลขานุการบริษท ั เป็นผูด ้ ำ�เนินการเกีย ่ วกับการประชุมให้เป็นไป

ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ซึ่งในการประชุม

คณะกรรมการบริษท ั ในแต่ละครัง้ ต้องมีการกำ�หนดวาระการประชุม

ที่ ชั ด เจน และการจั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และเอกสารประกอบ

กำ�หนดไว้เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้ การประชุมแต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง ทั้งนี้ ในปี 2560

ที่ ผ่ า นมา มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ในฐานะผู้ บ ริ ห าร แผนฟื้นฟูกิจการ รวมจำ�นวนทั้งสิ้น 13 ครั้ง โดยจัดประชุมทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง ยกเว้นในเดือนกุมภาพันธ์ได้จัดประชุม 2 ครั้ง

สำ�หรั บ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยมี ก ารประชุ ม เพื่อปฏิบัติภารกิจต่างๆ อย่างเป็นอิสระตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่

และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยเลขานุการของคณะกรรมการย่อยแต่ละชุดเป็นผู้ดำ�เนินการ เกี่ยวกับการประชุม โดยจัดส่งหนังสือแจ้งนัดประชุมและเอกสาร ประกอบการประชุมเป็นการล่วงหน้าก่อนการประชุม

ในปี 2560 คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยต่ า งๆ มี

การประชุมของแต่ละชุด ดังนี้

1) คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมจำ�นวน 7 ครั้ง ในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ เมษายน พฤษภาคม สิงหาคม พฤศจิกายน และธันวาคม

2) คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีการประชุมจำ�นวน 4 ครั้ง ในเดือนกุมภาพันธ์ เมษายน พฤษภาคม และธันวาคม

3) คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี มีการประชุม จำ�นวน 3 ครั้ง ในเดือนมีนาคม มิถุนายน และธันวาคม

4) คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง มีการประชุม

จำ�นวน 4 ครั้ง ในเดือนมกราคม พฤษภาคม กรกฎาคม และตุลาคม บริษท ั ยังจัดให้มก ี ารประชุมเฉพาะกรรมการอิสระ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 6 คน โดยในปี 2560 นี้

มี ก ารประชุ ม จำ�นวน 2 ครั้ ง ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ แ ละสิ ง หาคม เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการของบริษัท โดยหาก มี ป ระเด็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตที่ มี ค วามสำ�คั ญ คณะกรรมการอิ ส ระ

จะนำ�เสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบหรือพิจารณา ต่อไปด้วย

นอกจากนี้ กรรมการทุกคนยังมีสว่ นร่วมในการกำ�กับ

ดู แ ลการบริ ห ารงานของบริ ษั ท โดยมี ก ารประชุ ม กรรมการ

เป็นกลุม ่ ย่อยอย่างไม่เป็นทางการในเรือ ่ งเฉพาะเจาะจงต่างๆ ซึง่ ขึน ้ อยู่

กั บ เรื่ อ งที่ จ ะปรึ ก ษาหารื อ ว่ า ต้ อ งการความรู้ ความเชี่ ย วชาญ รวมทั้ ง ข้ อ คิ ด เห็ น ทางด้ า นใดจากกรรมการ อาทิ ด้ า นวิ ศ วกรรม ด้านการผลิต หรือด้านการบริหารจัดการเฉพาะเรื่อง เป็นต้น อีกทั้ง ยังได้มก ี ารปรึกษาหารือปัญหาข้อปฏิบต ั บ ิ างประเด็นทางโทรศัพท์กบ ั

กรรมการบางคนทีม ่ ป ี ระสบการณ์โดยตรง เป็นประจำ�อย่างสม่ำ�เสมอ


92

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.3.2 สรุปการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละคนในคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย

การเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละคน ในปี 2560 (จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม/จำ�นวนครั้งในการประชุมของคณะกรรมการ) ชื่อ

1. นายวิทย์ วิริยประไพกิจ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ สรรหา กำ�กับดูแล บริหาร อิสระ (ในฐานะ และกำ�หนด กิจการที่ดี ความเสี่ยง ผู้บริหารแผนฯ) ค่าตอบแทน 12/13

ประธานกรรมการ 2. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

13/13

7/7

2/2

รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 3. นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

11/13

4/4

2/2

กรรมการอิสระ 4. นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ

2/13

4/4

9/13

4/4

2/2

กรรมการอิสระ 5. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

4/4

กรรมการ 6. นายกมล จันทิมา

13/13

3/3

กรรมการ 7. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

11/13

5/7

9/13

7/7

3/4

1/2

กรรมการอิสระ 8. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

2/3

2/2

3/3

2/2

กรรมการอิสระ 9. นายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์

13/13

กรรมการอิสระ 10. นายวิน วิริยประไพกิจ

13/13

กรรมการ 11. นายนาวา จันทนสุรคน

8/13

3/4

กรรมการ หมายเหตุ :

กรณีกรรมการบางคนที่มิได้เข้าร่วมประชุมในการประชุมคณะกรรมการหรือคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละชุดตามข้อมูลที่ปรากฏดังตารางข้างต้น เนื่องจากมีเหตุจ�ำเป็น หรือมีภารกิจที่ส�ำคัญมากจนไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ กรรมการที่มิได้เข้าร่วมประชุมได้แจ้งการลาการประชุมเป็นการล่วงหน้าทุกครั้ง และหากกรรมการมีประเด็นข้อสังเกต ในเรื่องที่จะน�ำเสนอตามระเบียบวาระการประชุมใด สามารถแจ้งผ่านเลขานุการบริษัทหรือเลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยของแต่ละชุด เพื่อน�ำเสนอให้ที่ประชุมพิจารณา


93

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.4 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ

ธั น วาคม 2553 สำ�หรั บ รายงานผลการประเมิ น ตนเองของ

เป็นประจำ�ทุกปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ

5.4.1 การประเมินผลตนเองของคณะกรรมการบริษท ั

บริษัทจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานโดย

ตนเองของคณะกรรมการบริษัทเป็นประจำ�ทุกปี โดยคณะกรรมการ

บริษท ั ได้รเิ ริม ่ ดำ�เนินการเป็นครัง้ แรกในต้นปี 2549 ซึง่ ทำ�การประเมินผล สำ�หรับปี 2548 โดยใช้หลักเกณฑ์ตามแบบประเมินผลตนเองของ

คณะกรรมการบริษท ั ประจำ�ปี (Board of Directors Self-Assessment

Guide) ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และดำ�เนิ น การ

ประเมิ น ผลเป็ น ประจำ�ทุ ก ปี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนถึ ง ปั จ จุ บั น เพื่ อ เป็ น แนวทางให้คณะกรรมการได้มีการพิจารณาทบทวนผลงาน ปัญหา

และอุปสรรคต่างๆ ในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในระหว่างปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ ยั ง เปิ ด โอกาสให้ ก รรมการแต่ ล ะคนสามารถแสดง

ความคิดเห็นต่อผลการปฏิบต ั งิ านของคณะกรรมการทัง้ คณะโดยรวม

คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ ได้จัดทำ�และนำ�เสนอรายงานผลการประเมินตนเอง แบบรายคณะ ทั้งสองรูปแบบการประเมินฯ ให้คณะกรรมการบริษัททราบทั้งแบบ

ของสำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมทั้งรายงานผลการประเมินตนเอง แบบรายบุคคล ตามแบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วย กล่าวคือ ในปี

2560 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ รั บ ทราบรายงานผลการประเมิ น ตนเอง แบบรายคณะ ของคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด ตามแบบ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

5.5 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

เพื่ อ ให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาแนวทางการปฏิ บั ติ ง านของ

คณะกรรมการบริ ษั ท ยั ง มิ ไ ด้ มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ

ค่าตอบแทนกรรมการของบริษท ั ให้เหมาะสมยิง่ ขึน ้ โดยค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลมากยิ่ ง ขึ้ น อย่ า งไรก็ ดี คณะกรรมการเป็นรายบุคคล

5.4.2 การประเมินผลตนเองของคณะกรรมการ ชุดย่อย

สำ�หรับการประเมินผลการปฏิบต ั งิ านโดยตนเอง ของคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2560 คณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด

ได้มก ี ารประเมินผลการปฏิบต ั งิ านโดยตนเอง แบบรายคณะ ตามแบบ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว สำ�หรับการประเมินผล

การปฏิบัติงานโดยตนเอง แบบรายบุคคล มีคณะกรรมการชุดย่อย ทีไ่ ด้ทำ�การประเมินฯ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ กำ� ห น ด ค่ า ตอบแทน ส่ ว นคณะกรรมการตรวจสอบได้ มี ก ารประเมิ น ผล ตนเองแบบรายคณะ ตั้ ง แต่ ปี 2543 เป็ น ต้ น มา ซึ่ ง ในระยะแรก ได้ประเมินตามแบบประเมินผลตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ

ประจำ�ปี (Audit Committee Self-Assessment Guide) ตามแนวทาง

ตัวอย่างที่ได้จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institue of Directors: IOD) และจากสมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

แห่งสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified Public Accountants: AICPA) จนถึงปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ

ได้ประเมินผลตนเองโดยใช้ “แบบสอบทานการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการตรวจสอบด้วยตนเอง” ตามแนวทางตัวอย่างทีไ่ ด้จาก

“คูม ่ อ ื คณะกรรมการตรวจสอบ” ของสำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.

ทีไ่ ด้จด ั ทำ�ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และบริษัท ไพร้ซ์วอเตอร์เฮาส์

คูเปอร์ จำ�กัด ซึ่งเผยแพร่ให้บริษัทจดทะเบียนทราบเมื่อวันที่ 28

ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี ครั้ ง ที่ 16 เมื่ อ วั น ที่

5 เมษายน 2548 ได้มม ี ติอนุมต ั ป ิ รับปรุงหลักเกณฑ์และอัตราการจ่าย

กรรมการบริษัทและกรรมการบริหารจะกำ�หนดให้เป็นค่าตอบแทน

รายเดื อ น ส่ ว นกรรมการชุ ด ย่ อ ยอื่ น จะกำ�หนดให้ เ ป็ น แต่ ล ะครั้ ง ของการประชุม สำ�หรับกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ซง่ึ เป็นผูบ ้ ริหารระดับสูง จะได้รบ ั ค่าตอบแทนในฐานะของผูบ ้ ริหารระดับสูงเท่านัน ้ จะไม่ได้รบ ั

ค่ า ตอบแทนในฐานะของกรรมการอี ก ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ พิ จ ารณา

ค่ า ตอบแทนกรรมการและผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ตาม ความเหมาะสมและสอดคล้องกับขอบเขตภาระหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ

และเชื่ อ มโยงกั บ ผลการดำ�เนิ น งานของบริ ษั ท โดยรวม สำ�หรั บ

ผูบ ้ ริหารระดับสูงจะต้องเชือ ่ มโยงกับผลการปฏิบต ั งิ านตามเป้าหมาย การปฏิ บั ติ ง านประจำ�ปี (Goals Program) ด้ ว ย ซึ่ ง ค่ า ตอบแทน และองค์ ป ระกอบค่ า ตอบแทนแก่ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง น่าจะอยูใ่ นระดับเพียงพอทีจ ่ ะจูงใจและรักษากรรมการและผูบ ้ ริหาร ระดับสูงที่มีคุณภาพไว้ได้ตามที่ต้องการ โดยมีการเปรียบเทียบกับ

ค่าตอบแทนของบริษัทกับบริษัทที่จัดอยู่ในระดับที่มีการกำ�กับดูแล กิจการทีด ่ แ ี ละอยูใ่ นอุตสาหกรรมทีเ่ ทียบเคียงกันได้ดว ้ ย และทีป ่ ระชุม

วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 2/2554 เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2554 ได้มีมติ อนุมัติการปรับปรุงค่าตอบแทนกรรมการให้สอดคล้องเหมาะสมกับ แผนการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการของบริษัท

กล่าวโดยสรุป ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูง ของบริษัท เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่เสนอโดยคณะกรรมการสรรหา

และกำ�หนดค่ า ตอบแทน ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษั ท เห็ น ชอบด้ ว ย และได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยมีรายละเอียด

เกี่ยวกับค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ปี 2560 ปรากฏอยู่ใน เรื่อง ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร


94

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5.6 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

บริษท ั มีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้กรรมการ และผู้บ ริ ห ารระดับ สูงของบริษัทได้เข้ารับการอบรม หรือเข้าร่วม

ในกิจกรรมด้านต่างๆ ของบริษัท เช่น การไปศึกษาดูงานที่โรงงาน ของบริษท ั จดทะเบียนอืน ่ เพือ ่ เป็นการเพิม ่ พูนความรูแ ้ ละเพือ ่ พัฒนา

ศักยภาพของบุคลากรของบริษัทให้สูงขึ้น โดยนำ�ความรู้ดังกล่าว มาประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านของบริ ษั ท ซึง่ มีทงั้ การอบรมหรือสัมมนาทีจ ่ ด ั ขึน ้ เองภายในบริษท ั และทีส ่ ถาบัน

ภายนอกเป็นผู้จัด นอกจากนี้ ยังมีการหมุนเวียนผู้บริหารระดับสูง ภายในกลุ่มบริษัท เพื่อการเรียนรู้งานและถ่ายทอดประสบการณ์ การบริหารจัดการภายในกลุ่มบริษัทอีกด้วย

เพื่ อ รองรั บ การดำ�เนิ น การดั ง กล่ า วข้ า งต้ น บริ ษั ท ได้ กำ�หนดนโยบายและระเบี ย บด้ า นการบริ ห ารงานบุ ค คล เรื่ อ ง

สำ�หรับแผนการสืบทอดงาน บริษัทได้มีนโยบาย และระเบียบด้านการบริหารงานบุคคล ภาคพิเศษที่ 2/2548 เรือ ่ ง แผน

ทดแทนตำ�แหน่ ง (Succession Plan) เพื่ อ เป็ น การวางแผนและ เตรียมความพร้อมด้านอัตรากำ�ลังของบริษท ั ในอนาคต โดยกำ�หนด ผูส ้ ืบทอดตำ�แหน่ง (Successor) ในตำ�แหน่งงานหลัก (Key Position)

คณะอนุ ทำ�งานวางแผนและพั ฒ นาผู้ สื บ ทอด ตำ�แหน่ง (Succession Plan Sub-Committee) ได้วางแผนและกำ�หนด รู ป แบบการพั ฒ นาผู้ สื บ ทอดตำ�แหน่ ง โดยให้ มี แ ผนการพั ฒ นา

ผู้สืบทอดตำ�แหน่งเป็นรายบุคคล (Individual Development Plan) เพื่อให้ผู้สืบทอดตำ�แหน่งมีศักยภาพครบถ้วนตามแนวทางที่บริษัท ได้กำ�หนดไว้ โดยบริษัทได้กำ�หนดพนักงานผู้สืบทอดตำ�แหน่งงาน ที่สำ�คัญ

การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งแนวปฏิบัติว่าด้วยเรื่อง การฝึกอบรม/

คณะกรรมการชุดย่อย

การฝึกอบรม/สัมมนา

คณะกรรมการบริษท ั ได้กระจายอำ�นาจหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ

สั ม มนาพนั ก งาน และแนวปฏิ บั ติ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง การเบิ ก ค่ า ใช้ จ่ า ย 5.6.1 การพัฒนากรรมการ

1) การปฐมนิเทศกรรมการใหม่

ในปี 2560 บริษท ั ไม่มีกรรมการบริษท ั ทีไ่ ด้รบ ั

การเลือกตั้งเข้ามาใหม่ สำ�นักเลขานุการบริษัทเป็นผู้รวบรวมและ ส่งมอบเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ

กรรมการ ได้แก่ คู่มือกรรมการ คู่มืออำ�นาจดำ�เนินการของบริษัท คู่มือจริยธรรมของกรรมการบริษัท และข้อมูลอื่นที่สำ�คัญที่เกี่ยวกับ บริษัท อาทิ ปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจ จริยธรรมธุรกิจ วิสัยทัศน์

ในการกำ�กั บ ดู แ ลบริ ษั ท โดยแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยต่ า งๆ

เพื่ อ แบ่ ง เบาภาระของคณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ช่ ว ยศึ ก ษาและ กลั่ น กรองงานที่ มี ค วามสำ�คั ญ ตามขอบเขตอำ�นาจหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ

มอบหมายจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท รวมจำ�นวน 6 ชุด และเมื่อปี 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติให้

ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการของบริษท ั ทำ�ให้คณะกรรมการ ชุดย่อยเหลือเพียง 4 ชุด ดังนี้

ค่ า นิ ย ม จริ ย ธรรมพนั ก งาน และความขั ด แย้ ง ทางผลประโยขน์

อบรมสัมมนาต่างๆ

2) การอบรมสัมมนาของกรรมการในโครงการ

ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข้ อ มู ล ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น เ รื่ อ ง รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการบริษัท

5.6.2 การพัฒนาผู้บริหารและแผนการสืบทอดงาน

1) การปฐมนิเทศผู้บริหารใหม่

สำ� ห รั บ ผู้ บ ริ ห า ร ใ ห ม่ บ ริ ษั ท ไ ด้ จั ด ใ ห้ มี การแนะนำ�ลั ก ษณะธุ ร กิ จ การดำ�เนิ น งานของบริ ษั ท และของ

หน่วยงานต่างๆ โดยผูบ ้ ริหารของแต่ละหน่วยงาน รวมทัง้ จัดเอกสาร

และข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการปฏิ บั ติ ง านของผู้ บ ริ ห ารให้ เ ป็ น คู่ มื อ ในการทำ�งาน อาทิ คู่มืออำ�นาจดำ�เนินการของบริษัท คู่มือบริษัท “วิถีเอสเอสไอ (SSI WAY)”

2) การอบรมสัมมนาของผู้บริหาร

ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข้ อ มู ล ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น เ รื่ อ ง รายละเอียดเกี่ยวกับคณะผู้บริหาร

1. คณะกรรมการตรวจสอบ

3. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ซึง่ บริษท ั ได้จด ั พิมพ์เป็นคูม ่ อ ื บริษท ั ทีเ่ รียกว่า วิถเี อสเอสไอ (SSI WAY)

2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการชุดย่อยเกือบทุกชุดมีกรรมการอิสระเป็นประธาน กรรมการเว้นแต่คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบมีสมาชิกทุกคนเป็นกรรมการอิสระ ส่วนคณะกรรมการ

กำ�กับดูแลกิจการที่ดีและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีสมาชิก

ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กรรมการอิ ส ระ สำ�หรั บ คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนสมาชิกส่วนใหญ่ยังไม่เป็นกรรมการอิสระ ซึ่ง

คณะกรรมการบริษท ั จะพิจารณาให้มก ี รรมการอิสระเพิม ่ ขึน ้ ในโอกาส

ทีเ่ หมาะสมต่อไป ส่วนการกำ�หนดระยะเวลาทีก ่ รรมการชุดย่อยต่างๆ จะดำ�รงตำ�แหน่งในแต่ละวาระเป็นไปตามที่บริษัทกำ�หนดวาระละ 3 ปี สำ�หรับการกำ�หนดจำ�นวนวาระสูงสุดทีก ่ รรมการจะดำ�รงตำ�แหน่ง

ติดต่อกันในคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ นัน ้ บริษท ั ยังมิได้กำ�หนดไว้

นอกจากนี้ เมือ ่ ปี 2554 คณะกรรมการบริษท ั ยังได้มม ี ติให้จด ั ตัง้

คณะกรรมการจัดการ (Management Committee) ขึน ้ เพือ ่ รับผิดชอบ

ภาระงานบางส่วนแทนคณะกรรมการบริหาร มีสมาชิกประกอบด้วย

ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท โดยแต่ ง ตั้ ง นายวิ น วิ ริ ย ประไพกิ จ กรรมการบริ ษั ท และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ดำ�รงตำ�แหน่ ง เป็ น ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ่ ม ซึ่ ง ทำ�หน้ า ที่ เ ป็ น ประธาน คณะกรรมการจัดการดังกล่าวด้วย


95

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

โดยรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ และ

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ มีดังนี้

1. คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ

ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 คน วาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี (ตัง้ แต่วน ั ที่ 30 มิถน ุ ายน 2560 ถึงวันที่ 29 มิถน ุ ายน 2563) ดังนี้

1. นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

2. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

3. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

โดยกรรมการตรวจสอบทั้ ง 3 คนดั ง กล่ า ว มี ค วามรู้ แ ละ

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ประสบการณ์ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถทํ า หน้ า ที่ ใ นการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงิน

ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ายงานทางการเงิ น อย่ า งถู ก ต้ อ ง

9. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบ

หรื อ มี ข้ อ สงสั ย ว่ า มี ร ายการหรื อ การกระทำ�ดั ง ต่ อ ไปนี้ ซึ่ ง อาจมี

ผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ ของบริษท ั เพือ ่ ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีค ่ ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร

9.1 รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์

9.2 การทุ จ ริ ต หรื อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ ห รื อ มี ค วามบกพร่ อ ง

ที่สำ�คัญในระบบการควบคุมภายใน

9.3 การฝ่ า ฝื น ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องกับธุรกิจของบริษท ั รวมทัง้

กฎ/ ระเบียบ/ ประกาศ/ คำ�สั่ง ที่ออกโดยอาศัยอำ�นาจตามกฎหมาย ดังกล่าว

10. รายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

11. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผย

ให้คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้อยปีละสองครั้ง

ไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้ อ งประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล

ตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

และเพียงพอ

2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน­­­

Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสม

ตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้

วาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี (ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2560

2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal

และมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง พิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของสำ�นั ก โยกย้าย เลิกจ้างผู้บริหารสูงสุดของสำ�นักตรวจสอบภายใน

3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์

ณ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 6 0 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า

และกำ�หนดค่ า ตอบแทน ประกอบด้ ว ยกรรมการจำ�นวน 3 คน ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2563) ดังนี้

1. นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ

2. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

3. นายนาวา จันทนสุรคน

ผู้สอบบัญชีของบริษัท

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ย

1.1 สรรหาบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมที่ จ ะดำ�รง

และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท

รวมทั้งกฎ/ ระเบียบ/ ประกาศ/ คำ�สั่ง ที่ออกโดยอาศัยอำ�นาจตาม กฎหมายดังกล่าว

4. สอบทานระบบการบริหารความเสีย ่ งของบริษท ั โดยมุง่ เน้น

5. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทน

6. พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี

ในความเสี่ยงที่สำ�คัญของบริษัท

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท รวมทั้งกฎ/ ระเบียบ/ ประกาศ/ คำ�สั่ง ที่ออกโดยอาศัย อำ�นาจตามกฎหมายดังกล่าว

7. พิ จ ารณาว่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษาเฉพาะกิ จ ในกรณี ที่ ต้ อ งการ

คำ�แนะนำ�หรือความรู้จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ด้วยค่าใช้จ่าย ของบริษัท

8. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน­­­

1. หน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับด้านการสรรหา

ตำ�แหน่ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท และผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในตำ�แหน่ ง

ตั้ ง แต่ ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง สำ�หรั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในตำ�แหน่ ง ตั้ ง แต่

กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป และในกรณี ที่ ตำ�แหน่ ง กรรมการ ว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ น นอกจากถึ ง คราวออกตามวาระ หรื อ ให้

คณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาคั ด เลื อ กเพื่ อ เสนอชื่ อ ให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งสำ�หรับกรณีอื่น


96

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

1.2 ในการสรรหาบุคคลเพื่อเสนอชื่อให้คณะกรรมการ

หรื อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในตำ�แหน่ ง ตั้ ง แต่ ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่

2.1 พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษั ท

บริ ษั ท หรื อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท ขึ้นไป ตามที่กล่าวในข้อ 1.1 นั้น คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนควรดำ�เนินการดังนี้

1.2.1 กำ�หนดคุ ณ สมบั ติ แ ละลั ก ษณะส่ ว นตั ว อื่ น

ทีเ่ ห็นว่ามีความสำ�คัญของกรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูงในตำ�แหน่ง ตั้งแต่กรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป ที่ต้องการสรรหา เช่น ความเป็น

ผู้นำ� ความรู้ และประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ที่ต้องการ มีคุณธรรมและความรับผิดชอบต่อผลงาน (Integrity

and Accountability) ยึ ด มั่ น ในการทำ�งานอย่ า งมี ห ลั ก การและ

มาตรฐานเยี่ยงมืออาชีพ มีวุฒิภาวะและความมั่นคง และกล้าแสดง ความคิดเห็นที่แตกต่างและเป็นอิสระ เป็นต้น

1.2.2 พิจารณาความเป็นอิสระของบุคคลทีจ ่ ะเสนอ

ชื่อให้เป็นกรรมการประเภทอิสระของบริษัทว่ามีคุณสมบัติครบถ้วน ในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทหรือไม่

1.2.3 พิ จ ารณาความเพี ย งพอของการอุ ทิ ศ เวลา

สำ�หรับการปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ นฐานะกรรมการบริษท ั เช่น ในการพิจารณา เสนอชือ ่ กรรมการเดิมเข้าดำ�รงตำ�แหน่งต่ออีกวาระ อาจประเมินจาก จำ�นวนครั้งของการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท ส่วนบุคคล ที่จะถูกเสนอชื่อเป็นกรรมการใหม่อาจพิจารณาจากจำ�นวนบริษัท ที่บุคคลนั้นดำ�รงตำ�แหน่งอยู่ก่อนที่จะเข้าเป็นกรรมการบริษัท

1.2.4 ตรวจสอบให้รอบคอบว่า บุคคลทีจ ่ ะถูกเสนอ

ชื่อนั้น มีคุณสมบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของหน่วยราชการ

2. ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร กำ� ห น ด

ค่าตอบแทน

กรรมการของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

จั ด ตั้ ง ขึ้ น และผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในตำ�แหน่ ง ตั้ ง แต่ ก รรมการ

ผูจ ้ ด ั การใหญ่ขน ึ้ ไป เพือ ่ ให้คณะกรรมการบริษท ั หรือทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ พิจารณาอนุมัติแล้วแต่กรณี ค่าตอบแทนในที่นี้ ให้หมายรวมถึง

(ก) ค่ า ตอบแทนประจำ� (Retainer) ซึ่ ง เป็ น ค่ า ตอบแทนที่ จ่ า ย

เป็ น รายเดื อ น (ข) ค่ า เบี้ ย ประชุ ม (Attendance Fee) ซึ่ ง เป็ น ค่ า ตอบแทนที่ จ่ า ยเป็ น รายครั้ ง ต่ อ การประชุ ม สำ�หรั บ กรรมการ ที่เข้าร่วมประชุม (ค) ค่าตอบแทนที่จ่ายตามผลการดำ�เนินงานของ บริษท ั (Incentive) ซึง่ ได้แก่ โบนัสหรือบำ�เหน็จ และ (ง) ผลประโยชน์ อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด

2.2 เพื่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนมี ค วามโปร่ ง ใส เป็ น ธรรม และสมเหตุ ส มผล คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด

ค่าตอบแทนควรดำ�เนินการพิจารณาค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ และแนวทางดังต่อไปนี้

2.2.1 ค่ า ตอบแทนควรสมเหตุ ส มผลและอยู่ ใ น

ระดับทีส ่ ามารถทีจ ่ ะดึงดูดและรักษากรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูง

ที่มีคุณสมบัติที่บริษัทต้องการ โดยอาจพิจารณาเปรียบเทียบกับ ข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนของบริษัทอื่นที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีและเทียบเคียงกันได้ เช่น ขนาดของกิจการ (Size) ซึ่งอาจวัด

ได้ จ ากยอดขายหรื อ ยอดสิ น ทรั พ ย์ ร วม เป็ น ต้ น ระดั บ ของกำ�ไร (Profitablility) และความยากง่ายของการบริหาร (Complexity)

1.3 ทบทวนและเสนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการ

(Composition) ของคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่

กรรมการทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบมากขึน ้ ก็ควรได้รบ ั

บริษัทเกี่ยวกับความเหมาะสมของขนาด (Size) และองค์ประกอบ

ของคณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล เช่ น ควรจะ

มีจำ�นวนกรรมการเพียงพอที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม เพื่อแต่งตั้ง เป็ น กรรมการของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

จัดตัง้ ขึน ้ ส่วนองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษท ั ควรประกอบด้วย ก ร ร ม ก า ร ที่ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ ความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นที่ ห ลากหลาย เพื่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณา

ตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทในเรื่องต่างๆ มีความรอบคอบ

รัดกุมยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของจำ�นวน กรรมการทีเ่ ป็นอิสระเพือ ่ ให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี

1.4 ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ การสรรหากรรมการ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

2.2.2 ค่ า ตอบแทนกรรมการควรเหมาะสมและ

สอดคล้องกับขอบเขตหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคน

ค่าตอบแทนที่เพิ่มขึ้นด้วย เช่น กรรมการชุดย่อย นอกจากจะได้รับ ค่าตอบแทนในฐานะทีเ่ ป็นกรรมการบริษท ั แล้ว ควรได้รบ ั ค่าตอบแทน

เพิ่มเติมในฐานะเป็นกรรมการชุดย่อยด้วย ประธานกรรมการบริษัท

และประธานคณะกรรมการชุดย่อยควรได้รับค่าตอบแทนมากกว่า สมาชิ ก ของคณะกรรมการบริ ษั ท และสมาชิ ก ของคณะกรรมการ ชุดย่อยในอัตราที่เหมาะสม

2.2.3 ค่ า ต อ บ แ ท น ข อ ง ก ร ร ม ก า ร ที่ จ่ า ย ต า ม

ผลการดำ�เนิ น งานประจำ�ปี ข องบริ ษั ท เช่ น โบนั ส กรรมการควร

เชื่ อ มโยงกั บ ผลตอบแทนที่ จ่ า ยให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ในรู ป ของเงิ น ปั น ผล หากปีใดมิได้มีการจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น ก็จะไม่มีการพิจารณา การจ่ายโบนัสให้แก่กรรมการ

2.2.4 กรรมการที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ด้ ว ย

จะได้ รั บ ค่ า ตอบแทนในฐานะของผู้ บ ริ ห ารเท่ า นั้ น จะไม่ ไ ด้ รั บ ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของบริษัทแต่อย่างใด


97

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2.3 ทบทวนและให้คำ�แนะนำ�ต่อกรรมการบริษท ั เกีย ่ วกับ

ความเหมาะสมของค่ า ตอบแทนกรรมการเป็ น ประจำ�ทุ ก ปี โดย

พิ จ ารณาตามหลั ก เกณฑ์ แ ละแนวทางการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน

ดังกล่าวข้างต้นก่อนนำ�เสนอต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ เพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ิ 2.4 ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง

ในตำ�แหน่ ง ตั้ ง แต่ ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป เพื่ อ กำ�หนด ค่าตอบแทนก่อนนำ�เสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเป็น

ประจำ�ทุกปี ในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของผู้บริหาร

ระดั บ สู ง ในตำ�แหน่ ง ตั้ ง แต่ ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไปนั้ น ควรจะพิจารณาจากผลการดำ�เนินงานประจำ�ปีของบริษัทโดยรวม

ผลการปฏิบัติหน้าที่ในด้านที่สำ�คัญอื่น และการสร้างผลตอบแทน

ให้แก่บริษัทและผู้ถือหุ้นในระยะยาว นอกจากนี้ ควรจะเปรียบเทียบ กั บ ผลการดำ�เนิ น งานของบริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น ที่เทียบเคียงกันได้ประกอบพิจารณาด้วย

3. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ­­­

ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

2.5 ปฏิบต ั ห ิ น้าทีอ ่ น ื่ ใดทีเ่ กีย ่ วกับการกำ�หนดค่าตอบแทน

3. ที่ ป รึ ก ษาภายนอก (Outside Advisors) ในการปฏิ บั ติ

ห น้ า ที่ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า แ ล ะ กำ� ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น

ให้ ค ณ ะ ก ร ร มก า ร ส รรหาแ ละกำ�หนดค่ า ต อบแ ทนมีอำ�นา จ ในการว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอกตามที่เห็นว่าจำ�เป็นและเหมาะสม เพื่ อ ให้ ส ามารถขอคำ�ปรึ ก ษาจากผู้ เ ชี่ ย วชาญในเรื่ อ งที่ จ ะช่ ว ยให้

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนสามารถปฏิ บั ติ

หน้ า ที่ ต ามที่ กำ�หนดไว้ ใ นกฎบั ต รนี้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล

การรายงาน (Reporting Responsibilities) คณะกรรมการ

สรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนควรรายงานผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตามที่กำ�หนดไว้ในกฏบัตรดังนี้

• รายงานผลการประชุ ม ของคณะกรรมการสรรหา

แ ล ะ กำ� ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น ห ลั ง จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม ทุ ก ค รั้ ง ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ทราบ นอกจากนี้ ควรรายงานต่ อ

คณะกรรมการบริ ษั ท ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การสรรหาและกำ�หนด

ค่ า ตอบแทนที่ สำ�คั ญ อื่ น ซึ่ ง คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนเห็นว่าคณะกรรมการบริษัทควรจะได้รับทราบ

• รายงานผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ค ณะกรรมการสรรหา

และกำ�หนดค่ า ตอบแทนในปี ที่ ผ่ า นมาต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยจั ด ทำ� เป็นรายงานและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ล

กิจการที่ดี ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 คน วาระการดำ�รง ตำ�แหน่ ง คราวละ 3 ปี (ตั้ ง แต่ วั น ที่ 4 ธั น วาคม 2559 ถึ ง วั น ที่ 3 ธันวาคม 2562) ดังนี้

1. นายกมล จันทิมา

2. นายญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์

3. นายพิชัย เอื้อศิริทรัพย์

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

1. เสนอทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท

ต่อคณะกรรมการบริษัท โดยยึดมั่นในปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจ และจริยธรรมธุรกิจของบริษัท รวมทั้งให้เปรียบเทียบกับหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่เป็นสากล

2. พัฒนาและทบทวนกระบวนการหรือแนวปฏิบต ั ใิ นการกำ�กับ

3. ติ ด ตามดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยจั ด การให้ เ ป็ น ไป

ดูแลกิจการที่ดี เพื่อนำ�เสนอหรือแนะนำ�ต่อคณะกรรมการบริษัท

ตามนโยบายและแนวปฏิบัติในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท

4. ให้คำ�ปรึกษาฝ่ายจัดการเรื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคม

5. กำ�กั บ ดู แ ลให้ ฝ่ า ยจั ด การของบริ ษั ท มี แ ผนปฏิ บั ติ ง าน

ของบริษัท (Corporate Social Responsibility: CSR)

ที่ชัดเจนในการปฏิบัติตามนโยบาย CSR และติดตามผลการปฏิบัติ

ตามแผนงานของฝ่ายจัดการ เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท

6. ทบทวนปรั ช ญาในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ จริ ย ธรรมธุ ร กิ จ

จริยธรรมกรรมการ จริยธรรมของพนักงาน และแนวปฏิบต ั ท ิ เี่ กีย ่ วข้อง ตามความเหมาะสม เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท


98

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

7. พิจารณาว่าจ้างที่ปรึกษาเฉพาะกิจจากภายนอกเกี่ยวกับ

เรื่ อ งการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เมื่ อ เห็ น ว่ า มี ค วามจำ�เป็ น และ เหมาะสม ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท

8. ให้กรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ไี ด้รบ ั การอบรมเสริมสร้าง

ความรู้ ใ นเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ การดำ�เนิ น งานของคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีได้ ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท

9. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย

10. รายงานผลการดำ�เนินงานเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ

อันเกี่ยวเนื่องกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบตามวาระและโอกาส

4. ให้ข้อเสนอเพิ่มเติมสำ�หรับการจัดการความเสี่ยง รวมถึง

ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงให้แก่ คณะกรรมการบริษัททราบ

5. ขอความเห็นจากทีป ่ รึกษาภายนอก เมือ ่ เห็นว่ามีความจำ�เป็น

และเหมาะสม รวมทั้งการได้รับการอบรมเสริมสร้างความรู้ในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องต่อการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย

6. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย

อันเกี่ยวเนื่องกับการบริหารความเสี่ยง

อั น ควร อย่ า งน้ อ ยปี ล ะสองครั้ ง และต้ อ งรายงานโดยพลั น ต่ อ

คณะกรรมการจัดการ

ผลกระทบต่ อ บริ ษั ท อย่ า งมี นั ย สำ�คั ญ รวมทั้ ง ให้ ค วามเห็ น หรื อ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการจัดการ ประกอบด้วย

1. นายวิน วิริยประไพกิจ

2. นายนาวา จันทนสุรคน

3. นายกิตติศักดิ์ มาพะเนาว์

4. นายณรงค์ฤทธิ์ โชตินุชิตตระกูล

5. นายสมศักดิ์ ศิวะไพบูลย์

6. นายถาวร คณานับ

7. นายมนินทร์ อินทร์พรหม

8. นายยงยุทธ มลิทอง

9. นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ

10. Mr. Peter Rowson

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการจัดการ

คณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบหรือพิจารณาในกรณีที่มีเรื่องซึ่งมี ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก้ไขตามความเหมาะสม

11. รายงานการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น

เพื่ อ ทราบเป็ น ประจำ�ทุ ก ปี โดยเปิ ด เผยไว้ ใ นรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) ของบริษัท ได้แก่

11.1 รายงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแ ลกิจการที่ดี ที่ลงนามโดยประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

11.2 รายงานการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ

ทีด ่ ท ี ต ี่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศกำ�หนด

4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 คน วาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี (ตั้งแต่วันที่ 4 ธันวาคม 2559 ถึงวันที่ 3 ธันวาคม 2562) ดังนี้

1. นายทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์

2. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

3. นายเพิ่มพูน ไกรฤกษ์

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

1. สอบทานและนำ�เสนอนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง

และความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ให้แก่คณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ

2. กำ�กับดูแลการพัฒนาและการปฏิบต ั ต ิ ามกรอบการบริหาร

3. สอบทานรายงานการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ ติ ด ตาม

ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร

ความเสี่ ย งที่ สำ�คั ญ และดำ�เนิ น การ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า องค์ ก ร มีการจัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง

ผู้บริหารจำ�นวน 10 คน ดังนี้

ประธานคณะกรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ

1. ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา

อนุ มั ติ เ กี่ ย วกั บ นโยบาย กลยุ ท ธ์ แผนงานระยะยาว แผนงาน

ป ร ะ จำ� ปี ( ง บ ป ร ะ ม า ณ ) แ ผ น ห รื อ ง บ ป ร ะ ม า ณ ก า ร ล ง ทุ น (Capital Budget) แผนการขยายงาน แผนการดำ�เนินการในธุรกิจ ใหม่หรือร่วมทุน


99

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

2. รั บ ผิ ด ชอบในการดำ�เนิ น การตามนโยบาย แผนงาน

ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท รวมทั้ ง การติ ด ตาม และวิ เ คราะห์ ผ ลการดำ�เนิ น การตามนโยบายและตามแผนงาน เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา

3. อำ�นาจต่างๆ ของคณะกรรมการจัดการ ให้เป็นไปตาม

และ/หรื อ จำ�กั ด ขอบเขตโดยแผนภู มิ ก ารอนุ มั ติ ภ ายใต้ อำ�นาจ ดำ�เนินการ (Authorisation Chart) ที่อนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัท

4. ดำ� เ นิ น ก า ร เ รื่ อ ง อื่ น ใ ด ต า ม ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท

มอบหมาย

การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ และผู้บริหารระดับสูงสุด 1. กรรมการอิสระ

• คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้กำ�หนด

หลั ก เกณฑ์ ใ นการคั ด เลื อ กกรรมการอิ ส ระไว้ ใ นกฎบั ต รของ

คณะกรรมการชุ ด นี้ ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดข้ อ มู ล ปรากฏอยู่ ใ นกฎบั ต ร ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนในข้อที่ 5.1.2

• คุณสมบัติกรรมการอิสระของบริษัทมีรายละเอียดข้อมูล

เกี่ยวกับการกำ�หนดจำ�นวนและคุณสมบัติของกรรมการอิสระ ดังนี้

(1) โครงสร้างคณะกรรมการบริษท ั ต้องมีกรรมการอิสระ

อย่างน้อยหนึง่ ในสามของจำ�นวนกรรมการทัง้ หมดของบริษท ั แต่ตอ ้ ง ไม่น้อยกว่าสามคน

(2) กรรมการอิสระแต่ละคนของบริษัท ต้องเป็นไปตาม

หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

(ก) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิ

ออกเสี ย งทั้ ง หมดของบริ ษั ท บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ให้นับรวม การถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย

(ข) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น กรรมการที่ มี ส่ ว นร่ ว ม

บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มี

อำ�นาจควบคุมของบริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม บริษท ั ย่อย ลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษท ั เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่า

สองปีกอ ่ นได้รบ ั การแต่งตัง้ ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าว ไม่รวมถึง กรณี ที่ ก รรมการอิ ส ระเคยเป็ น ข้ า ราชการ หรื อ ที่ ป รึ ก ษาของส่ ว น ราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท

(ค) ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต

หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่ ส มรส พี่ น้ อ ง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู่ ส มรสของบุ ต ร ของผู้ บ ริ ห าร

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอ ให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย

(ง) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท

บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท ในลั ก ษณะที่ อ าจเป็ น การขั ด ขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้น

ที่ มี นั ย หรื อ ผู้ มี อำ�นาจควบคุ ม ของผู้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ

กั บ บริ ษั ท บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อำ�นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง

ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ตามวรรคหนึ่ ง รวมถึ ง การทำ�รายการ

ทางการค้ า ที่ ก ระทำ�เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ

ให้ เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รายการเกี่ ย วกั บ สิ น ทรั พ ย์ ห รื อ บริ ก าร หรื อ การให้ ห รื อ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น ด้ ว ยการรั บ หรื อ ให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึง

พฤติ ก ารณ์ อื่ น ทำ�นองเดี ย วกั น ซึ่ ง เป็ น ผลให้ บ ริ ษั ท หรื อ คู่ สั ญ ญา

มีภาระหนีท ้ ต ี่ อ ้ งชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ ้ ยละสามของสินทรัพย์ ที่ มี ตั ว ตนสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท หรื อ ตั้ ง แต่ ยี่ สิ บ ล้ า นบาทขึ้ น ไป แล้ ว แต่

จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไป

ตามวิธีการคำ�นวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการ

ที่ เ กี่ ย วโยงกั น โดยอนุ โ ลม แต่ ใ นการพิ จ ารณาภาระหนี้ ดั ง กล่ า ว ให้นบ ั รวมภาระหนีท ้ เี่ กิดขึน ้ ในระหว่างหนึง่ ปีกอ ่ นวันทีม ่ ค ี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

(จ) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท

บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท และไม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อำ�นาจควบคุ ม

หรื อ หุ้ น ส่ ว นของสำ�นั ก งานสอบบั ญ ชี ซึ่ ง มี ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท สั ง กั ด อยู่ เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง

(ฉ) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ

ซึ่ ง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษากฎหมายหรื อ ที่ ป รึ ก ษาทาง

การเงิ น ซึ่ ง ได้ รั บ ค่ า บริ ก ารเกิ น กว่ า สองล้ า นบาทต่ อ ปี จ ากบริ ษั ท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท และไม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อำ�นาจควบคุ ม

หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจาก

การมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปีกอ ่ นได้รบ ั การแต่งตัง้

(ช) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็น

ตัวแทนของกรรมการของบริษท ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง่ เป็น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่


100

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

กรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ นายวิทย์

วิริยประไพกิจ หรือนายกมล จันทิมา หรือนายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

หรือนายวิน วิริยประไพกิจ หรือนายนาวา จันทนสุรคน กรรมการ สองในห้าคนนีล ้ งลายมือชือ ่ ร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษท ั

2. กรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด

• คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้กำ�หนด

หลั ก เกณฑ์ ใ นการคั ด เลื อ กบุ ค คลดั ง กล่ า วไว้ ใ นกฎบั ต รของ คณะกรรมการชุดนี้ ในข้อที่ 5.1.2 ดังนี้

“5.1.2 ในการสรรหาบุคคลเพือ ่ เสนอชือ ่ ให้คณะกรรมการ

บริ ษั ท หรื อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริ ษั ท

(ซ) ไม่ ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า งเดี ย วกั น

และเป็ น การแข่ ง ขั น ที่ มี นั ย กั บ กิ จ การของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย หรื อ ไม่ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นที่ มี นั ย ในห้ า งหุ้ น ส่ ว น หรื อ เป็ น กรรมการที่ มี

ส่ ว นร่ ว มบริ ห ารงานลู ก จ้ า ง พนั ก งาน ที่ ป รึ ก ษาที่ รั บ เงิ น เดื อ น

ประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย

(ฌ) ไ ม่ มี ลั ก ษ ณ ะ อื่ น ใ ด ที่ ทำ� ใ ห้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ห้

ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท

ภายหลั ง ที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการอิ ส ระที่ มี

ลักษณะเป็นไปตามวรรคหนึ่ง (ก) ถึง (ฌ) แล้ว กรรมการอิสระ อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการให้ตัดสินใจในการดำ�เนิน กิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย

ลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท

หรื อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในตำ�แหน่ ง ตั้ ง แต่ ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่

ขึ้ น ไปนั้ น คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนควร ดำ�เนินการดังนี้

5.1.2.1 กำ�หนดคุณสมบัตแ ิ ละลักษณะส่วนตัวอืน ่

ทีเ่ ห็นว่ามีความสำ�คัญของกรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูงในตำ�แหน่ง ตัง้ แต่กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ขน ึ้ ไป ทีต ่ อ ้ งการสรรหา เช่น มีความเป็น ผู้ นำ� ความรู้ ประสบการณ์ และความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น

ที่ต้องการ มีคุณธรรม และความรับผิดชอบต่อผลงาน (Integrity and Accountability) ยึ ด มั่ น ในการทำ�งานอย่ า งมี ห ลั ก การและ

มาตรฐานเยี่ยงมืออาชีพ มีวุฒิภาวะและความมั่นคง และกล้าแสดง ความคิดเห็นที่แตกต่างและเป็นอิสระ เป็นต้น

5.1.2.2 พิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของบุ ค คล

ทีจ ่ ะเสนอชือ ่ ให้เป็นกรรมการประเภทอิสระของบริษท ั ว่า มีคณ ุ สมบัติ

ครบถ้วนในการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทหรือไม่

5.1.2.3 พิจารณาความเพียงพอของการอุทศ ิ เวลา

โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้

สำ�หรับการปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ นฐานะกรรมการบริษท ั เช่น ในการพิจารณา

• ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง หมายความว่ า บุ ค คลตามมาตรา 258

จำ�นวนครั้งของการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท ส่วนบุคคล

• ผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั หมายความว่า ผูถ ้ อ ื หุน ้ ในกิจการใดเกินกว่า

หมายเหตุ :

เสนอชือ ่ กรรมการเดิมเข้าดำ�รงตำ�แหน่งต่ออีกวาระ อาจประเมินจาก

แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ที่จะถูกเสนอชื่อเป็นกรรมการใหม่อาจพิจารณาจากจำ�นวนบริษัท

ร้อยละสิบของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของกิจการนั้น และการถือหุ้นดังกล่าวให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย

• หุ้ น ส่ ว น หม าย ความ ว่ า บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ ม อบห ม า ย

จากสำ�นั ก งานสอบบั ญ ชี หรื อ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ ให้ เ ป็ น ผู้ลงลายมือชื่อในรายงานการสอบบัญชี หรือรายงานการให้บริการ ทางวิชาชีพ (แล้วแต่กรณี) ในนามของนิติบุคคลนั้น

• กรรมการทีม ่ ส ี ว ่ นร่วมบริหารงาน หมายความว่า กรรมการ

ที่ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้บริหาร กรรมการที่ทำ�หน้าที่รับผิดชอบเยี่ยง

ผู้บริหารและกรรมการที่มีอำ�นาจลงนามผูกพัน เว้นแต่แสดงได้ว่า เป็ น การลงนามผู ก พั น ตามรายการที่ ค ณะกรรมการมี ม ติ อ นุ มั ติ ไว้แล้ว และเป็นการลงนามร่วมกับกรรมการรายอื่น

• บริ ษั ท ย่ อ ยลำ�ดั บ เดี ย วกั น หมายถึ ง บริ ษั ท ย่ อ ยตั้ ง แต่

สองบริษัทขึ้นไปที่มีบริษัทใหญ่เป็นบริษัทเดียวกัน

ที่บุคคลนั้นดำ�รงตำ�แหน่งอยู่ก่อนที่จะเข้าเป็นกรรมการบริษัท

5.1.2.4 ตรวจสอบให้ ร อบคอบว่ า บุ ค คลที่ จ ะ

ถู ก เสนอชื่ อ นั้ น มี คุ ณ สมบั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ กำ�หนดของ หน่วยงานราชการ”


101

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

สิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ รายย่อยในการแต่งตัง้ กรรมการ บริษท ั ได้แจ้ง

ไปยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง ขอเชิญผู้ถือหุ้นเสนอ

ระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี รวมทั้งการเสนอ

ชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัททุกปี

โดยให้นำ�เสนอมายังบริษท ั ล่วงหน้าทางระบบไปรษณียอ ์ เิ ล็กทรอนิกส์ หรือทางไปรษณีย์ มายังเลขานุการบริษท ั ภายในระยะเวลาทีก ่ ำ�หนด

และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทประกาศไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท

ทั้งนี้ เมื่อบริษัทเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการ โดยคำ�สั่งศาล

ล้มละลายกลางมีคำ�สั่งเห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการ และในแผนฯ ได้กำ�หนดให้บริษัทเป็นผู้บริหารแผนฯ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559

ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ อำ�นาจของผู้ ถื อ หุ้ น สิ้ น สุ ด ลง จึ ง ไม่ ส ามารถพิ จ ารณา การเปลี่ ย นแปลงกรรมการตามรอบที่ กำ�หนดได้ ทั้ ง นี้ หากมี

ความจำ�เป็นต้องเปลี่ยนแปลงกรรมการ จะต้องดำ�เนินการร้องขอ ต่อศาลล้มละลายกลางเพื่อพิจารณา

การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ย่อย และกิจการที่เป็นการร่วมค้า

1. กลไกในการกำ�กับดูแลที่ทำ�ให้บริษัทสามารถควบคุม

2. การเปิ ด เผยข้ อ ตกลงระหว่ า งบริ ษั ท กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น อื่ น

ในการบริหารจัดการกิจการที่เป็นการร่วมค้า

• มี ก ารกำ�หนดข้ อ ตกลงในสั ญ ญาร่ ว มทุ น ระหว่ า ง

บริษัทกับบริษัทอื่น ที่ถือหุ้น ในบริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นการร่วมค้า ในเรื่องที่เกี่ยวกับข้อตกลงทางธุรกิจ

และการจั ด สรรตำ�แหน่ ง กรรมการ และ/หรื อ กรรมการผู้ จั ด การ

และ/หรื อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง จากผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะกลุ่ ม เพื่ อ ไปดำ�รง

ตำ�แหน่ ง ดั ง กล่ า วในบริ ษั ท ที่ เ ป็ น การร่ ว มค้ า ซึ่ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ฯ ต้ อ ง ดำ�เนิ น การตามข้ อ ตกลงตามสั ญ ญาร่ ว มทุ น (Joint Venture Agreement) ดังกล่าวที่ได้ตกลงร่วมกัน

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

1. กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องและนโยบายของบริษท ั ในการกำ�กับ

ดู แ ลเรื่ อ งการใช้ ข้ อ มู ล ภายใน เพื่ อ ป้ อ งกั น การกระทำ�อั น ไม่ เ ป็ น ธรรมเกี่ยวกับการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท ซึ่งจะก่อให้เกิด

ความเสมอภาคและยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน มีดังนี้

• พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์

ดูแลการจัดการและรับผิดชอบการดำ�เนินงานของบริษท ั ย่อยและ

พ.ศ. 2535

ของบริษัท โดย

และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สจ. 12/2552 เรื่อง การจัดทำ�และเปิดเผย

ไปดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการและ/หรือกรรมการผูจ ้ ด ั การ และ/หรือ

ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2552

ในหน่วยงานทีส ่ ำ�คัญ เพือ ่ ทำ�หน้าทีก ่ ำ�กับดูแลการดำ�เนินงานในบริษท ั

คณะกรรมการบริษัทจะกำ�กับดูแลและติดตามให้มีการปฏิบัติตาม

Venture Agreement) โดยต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ

ภายในของบริษัท เพื่อการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท เพื่อ

• ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย

ของบริษัท รวมทั้งให้มีการสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้ทราบ

หรื อ กิ จ การที่ เ ป็ น การร่ ว มค้ า และผู้ บ ริ ห ารดั ง กล่ า วยั ง ต้ อ งจั ด ทำ�

การเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อการซื้อหรือขาย

การร่วมค้า เป็นรายเดือน รวมถึงการกำ�หนดเป้าหมายและทิศทาง

2558 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2558 เป็นต้นไป ดังนี้

เดียวกันกับการดำ�เนินงานของบริษัท

ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว หรื อ กำ�ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท

ผลประโยชน์ของบริษัท ได้กำ�หนดไว้ว่า พนักงานทุกคน ซึ่งรวมถึง

ข้อมูลภายในดังกล่าวไปใช้ในการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท

ในกิ จ การธุ ร กิ จ ใดๆ ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น การแข่ ง ขั น โดยตรงหรื อ

ผู้อื่นด้วย

กิจการที่เป็นการร่วมค้า เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุน

• บริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท

รายงานการถือหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้สอบบัญชี

ผู้บริหารระดับสูง ของบริษัทย่อยและของกิจการที่เป็นการร่วมค้า

• นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั พ.ศ. 2557

ดังกล่าว และต้องเป็นไปตามข้อตกลงตามสัญญาร่วมทุน (Joint

แนวปฏิ บั ติ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง การเก็ บ รั ก ษาและป้ อ งกั น การใช้ ข้ อ มู ล

บริษัททุกครั้ง

ขจัดปัญหาเรื่องการใช้ข้อมูลภายในในการซื้อหรือขายหลักทรัพย์

เป็ น ไปตาม Job Description ของตำ�แหน่ ง งานของบริ ษั ท ย่ อ ย

และรายงานผลการดำ�เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ย และกิ จ การที่ เ ป็ น

หลักทรัพย์ของบริษัท (ฉบับที่ 4) ซึ่งได้ประกาศ ณ วันที่ 2 มีนาคม

ในการดำ�เนิ น งานต่ า งๆ ของบริ ษั ท ดั ง กล่ า ว ต้ อ งเป็ น แนวทาง

- กรรมการและพนักงานจะต้องไม่ใช้ขอ ้ มูลภายใน

• ประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์

• แนวปฏิ บั ติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง

• ตามแนวปฏิบัติบริษัท ว่าด้วยเรื่อง ความขัดแย้งทาง

เพื่อแสวงหาผลประโยชน์สำ�หรับตนเองหรือผู้อื่น และจะต้องไม่นำ�

กรรมการผู้จัดการใหญ่ ต้องไม่เข้าไปเป็นกรรมการหรือผู้บริหาร

หรื อ ไปใช้ ใ นการแนะนำ�การซื้ อ หรื อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท แก่

โดยอ้อมกับบริษัท รวมถึงเป็นกรรมการของบริษัทอื่น ซึ่งทำ�การค้า

หรือกำ�ลังติดต่อที่จะทำ�การค้ากับบริษัท เว้นแต่เป็นการไปดำ�รง ตำ�แหน่งในบริษัทในเครือของบริษัทซึ่งคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ แล้ว


102

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

- กรรมการและพนักงานทีเ่ ป็นเจ้าของข้อมูลหรือ

เปิดเผยต่อสาธารณชนให้มีความรัดกุม และจำ�กัดการเข้าถึงข้อมูล

ข้อมูลภายใน เพื่อการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท

ครอบครองข้อมูลภายใน จะต้องดูแลรักษาข้อมูลภายในที่ยังไม่ได้

ที่ยังไม่ได้เ ปิดเผยต่อสาธารณชน โดยให้รับรู้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้อง

และจำ�เป็นเท่านั้น รวมทั้งจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลภายในดังกล่าว ต่ อ สาธารณชน ยกเว้ น เป็ น ไปตามกฎหมาย หรื อ เป็ น ผู้ มี อำ�นาจ

ของบริ ษั ท หรื อ เป็ น ผู้ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากผู้ มี อำ�นาจของบริ ษั ท ให้เ ปิดเผยข้อ มูล ภายในหรือสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ข้อมูลภายในของบริษัทได้

- กรรมการและผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งไม่ ซื้ อ หรื อ ขาย

โอนหรื อ รั บ โอนหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ที่ ต นเอง คู่ ส มรส และบุ ต ร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เป็นผู้ถือ ภายหลังจากระยะเวลาหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันสิ้นสุดของแต่ละไตรมาส จนถึงวันถัดจากวันที่บริษัท

3. มาตรการลงโทษกรณีพนักงานไม่ปฏิบต ั ต ิ ามแนวปฏิบต ั ิ

คณะกรรมการบริษัท ว่าด้วยเรื่อง การเก็บรักษาและป้องกันการใช้ • บริ ษั ท กำ�หนดมาตรการลงโทษฐานผิ ด วิ นั ย กรณี พนักงานกระทำ�การใดๆ อันอาจทำ�ให้บริษัทได้รับความเสื่อมเสีย

ชื่อเสียง ตลอดจนแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวหรือผู้อื่นโดยอาศัย ตำ�แหน่ ง หน้ า ที่ ก ารงานที่ ทำ�กั บ บริ ษั ท หรื อ นำ�ความลั บ เกี่ ย วกั บ การบริหารงาน ระบบงาน การผลิต รวมทั้งข้อมูลอื่นใดของบริษัท ไปเปิ ด เผยตามแนวปฏิ บั ติ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง มาตรการโทษทางวิ นั ย

และการดำ�เนิ น การทางวิ นั ย อ้ า งถึ ง ระเบี ย บและนโยบายด้ า น

บริหารงานบุคคล ฉบับที่ 4/2551 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2551 เรื่อง วินัยและโทษทางวินัย

ได้เปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีในปี 2560

บริ ษั ท ให้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารตั้ ง แต่ พ นั ก งานผู้ ดำ�รงตำ�แหน่ ง

1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee)

บริ ห ารกลุ่ ม และให้ ห มายความรวมถึ ง พนั ก งานผู้ ดำ�รงตำ�แหน่ ง

หรื อ เที ย บเท่ า และผู้ ดำ�รงตำ�แหน่ ง ในหน่ ว ยงานที่ ดู แ ลงานด้ า น

การสอบบัญชีให้แก่บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล

- การรายงานการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ข อง

ผู้จัดการทั่วไปจนถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่ ในสายงานบั ญ ชี ห รื อ การเงิ น ที่ เ ป็ น ระดั บ ผู้ จั ด การฝ่ า ยขึ้ น ไป นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ที่ เ ป็ น ระดั บ ผู้ จั ด การส่ ว นขึ้ น ไป หรื อ เที ย บเท่ า รายงานภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่บุคคลผู้นั้นได้รับการแต่งตั้ง

ให้ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทแล้วแต่กรณี

และให้บุคคลดังกล่าวรายงานภายในสามวันทำ�การ นับแต่วันที่ซื้อ หรือขายหลักทรัพย์ของบริษัท ตามแนวปฏิบัติคณะกรรมการบริษัท กำ�หนด

2. ก า ร กำ � กั บ ดู แ ล ใ ห้ มี ก า ร ถื อ ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย

ที่เกี่ยวข้องและนโยบายของบริษัท

• มี ก ารควบคุ ม ดู แ ลให้ มี ก ารเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล สำ�คั ญ ของบริ ษั ท ก่ อ นเปิ ด เผยไปยั ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

และเปิ ด เผยทั น ที ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มี ม ติ ใ นเรื่ อ งดั ง กล่ า ว

โดยเปิ ด เผยผ่ า นตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ก่ อ นที่ จ ะมี

การเปิดเผยผ่านสือ ่ อืน ่ ๆ ทัง้ นี้ เพือ ่ ให้ผถ ู้ ือหุน ้ และผูล ้ งทุนได้รบ ั ทราบ ข้อมูลสารสนเทศของบริษัทอย่างเท่าเทียมกัน

• มีการรายงานให้ที่ประชุมคณะกรรมการกำ�กับดูแล กิ จ การที่ ดี ท ราบเป็ น รายไตรมาส ถึ ง การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ข อง ผู้บริหารของบริษัท

• มีการรายงานให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัททราบ

ทุกครัง้ ตามวาระการประชุมถึงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และผูบ ้ ริหารของบริษท ั ตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และเปิดเผยไปยังสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย ได้ แ ก่ บริ ษั ท ท่ า เรื อ ประจวบ จำ�กั ด

และบริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด มีรายการค่าตอบแทน

จำ�กัด ที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ�นวนเงินรวม 3,410,000 บาท

สำ�หรับบริษท ั ทีเ่ ป็นการร่วมค้า ได้แก่ บริษท ั เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย

จำ�กั ด (มหาชน) มี ร ายการค่ า ตอบแทนการสอบบั ญ ชี ใ ห้ แ ก่ บริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี ภู มิ ไ ชย สอบบั ญ ชี จำ�กั ด ที่ ผู้ ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด ในรอบปีบัญชี 2560 มีจำ�นวนเงิน 1,180,000 บาท

2. ค่าบริการอื่น (Non-audit Fee)

บริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด มีรายการ

ค่าตอบแทนของงานบริการอืน ่ ซึง่ ได้แก่ ค่าบริการตรวจสอบโครงการ ที่ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ที่ ป ระสงค์ จ ะขอใช้ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำ�ปี 2560 ให้แก่บริษัท สอบบัญชี

ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด ที่ผู้สอบบัญชีสังกัด มีจำ�นวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งในรอบปี 2560 ที่ผ่านมา บริษัทและบริษัทย่อย

ได้มีการเปลี่ยนผู้สอบบัญชี สังกัดสำ�นักงานสอบบัญชีจากบริษัท

เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด เป็นบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ

อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด จึงทำ�ให้มีค่าบริการที่เป็น “Professional

services rendered in relation to: Additional charge for the access and review our working papers for the fiscal year ended

31 December 2016” เกิดขึ้นเพิ่มเติมกับบริษัท เป็นจำ�นวนเงิน

100,000 บาท และบริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด และบริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด เป็นจำ�นวนเงินบริษัทละ 50,000 บาท


103

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ความรับผิดชอบต่อสังคม

นโยบายภาพรวม

การดำ�เนินงานและการจัดทำ�รายงาน

บริษัทมีนโยบายให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย

ได้ เ สี ย (Stakeholders) ตามแนวทางความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม

ซึ่งเป็นแนวทางที่ใช้กันแพร่หลายตามหลักสากล

เป็นไปด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และกลุ่มผู้มีส่วน

ของกิจการทีจ ่ ด ั ทำ�โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยปรากฏ อยู่ ใ นรายงานความรั บ ผิ ด ต่ อ สั ง คมของบริ ษั ท ซึ่ ง ได้ จั ด พิ ม พ์ เ ป็ น รูปเล่มและเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://www.ssi-steel.com

ทัง้ นี้ บริษท ั ได้ดำ�เนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึด

บริษท ั ได้จด ั ทำ�รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม โดยประยุกต์

ใช้แนวทางการรายงานของ Global Reporting Initiative (GRI) G4

การดำ�เนินธุรกิจที่มีผลกระทบ ต่อความรับผิดชอบต่อสังคม

ตามแนวทางวิสัยทัศน์ คือ “สร้างสรรค์นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เหล็ก

บริ ษั ท ได้ มี ก ารดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ โดยพยายามหลี ก เลี่ ย งการเกิ ด

ผลตอบแทนแก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งยั่ ง ยื น ” และได้ บู ร ณาการ

คู่ค้า คู่แข่งทางการค้า พนักงาน สังคมและชุมชน ที่บริษัทเข้าไป

และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม กั บ ลู ก ค้ า สร้ า งกำ�ไรสม่ำ� เสมอ สร้ า ง นโยบายด้านต่างๆ อาทิ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี จริยธรรม ในการประกอบธุ ร กิ จ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ความเหมาะสมต่ อ การดำ�เนิ น งานและการสื่ อ สารกั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ โดย

บริ ษั ท ได้ กำ�หนดกลยุ ท ธ์ เ พื่ อ รองรั บ และได้ กำ�หนดแนวคิ ด เพื่ อ

เป็นแนวทางปฏิบัติและสื่อสารคือ “สร้างสรรค์ • ความแข็งแกร่ง (innovate • strength)”

ข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทกับผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย (Stakeholders) เช่น ลูกค้า

เกี่ยวข้องด้วย ทั้งนี้ บริษัทได้มีกลไกในการกำ�กับดูแลให้หน่วยงาน ต่างๆ ภายในบริษท ั ถือปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัท (Legal Compliance) โดยการจัดทำ�บัญชีรายชื่อ

กฎหมายและกฎเกณฑ์ทีบ ่ ริษท ั ต้องถือปฏิบต ั ิ ตลอดจนการปรับปรุง บัญชีรายชือ ่ กฎหมายดังกล่าวให้เป็นปัจจุบน ั อยูอ ่ ย่างสม่ำ�เสมอ โดย ให้ แ ต่ ล ะหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ทำ�การสอบทานการปฏิ บั ติ ต าม

กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้อง แล้วรายงานผลมายังสำ�นักกฎหมายกลุม ่ (Group

Legal Office) เพื่อรวบรวมข้อมูลสำ�หรับนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกไตรมาส


104

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

เดิน-วิ่งการกุศล “ฅนเหล็กมินิมาราธอน 2559” มอบเงินรายได้ จากการจัดการแข่งขัน โดยไม่หักค่าใช้จ่ายจำ�นวน 2.38 ล้านบาท แก่มูลนิธิผู้ดูแล และให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส โดยมีผู้เข้าร่วม กิจกรรมกว่า 1,400 คน

• บริษัทได้ดำ�เนินโครงการทางด้านการพัฒนาการศึกษา

ประกอบด้ ว ยกองทุ น สหวิ ริ ย าร่ ว มพั ฒ นาการศึ ก ษาบางสะพาน โครงการมอบทุนการศึกษาให้แก่นก ั เรียนโรงเรียนในเขตบางสะพาน

ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับปริญญาตรีต่อเนื่องเป็นประจำ� ทุ ก ปี โดยในปี 2560 บริ ษั ท ได้ ม อบทุ น ให้ แ ก่ นั ก เรี ย นจำ�นวน 22 โรงเรียน รวม 259 ทุน รวมมูลค่า 625,000 บาท และมีพนักงาน

ร่ ว มมอบทุ น ส่ ว นตั ว ในนาม “ทุ น นี้ เพื่ อ น้ อ ง” จำ�นวน 164 ทุ น รวมมูลค่า 202,500 บาท

• บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น โครงการทางด้ า นการพั ฒ นาเยาวชน

ประกอบด้วยโครงการโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความยั่งยืน สำ�หรับคดีความและข้อพิพาทที่สำ�คัญของบริษัทซึ่งเปิดเผย

โครงการยุ ว เกษตรอิ น ทรี ย์ โครงการสภาเยาวชนระดั บ หมู่ บ้ า น

เป็นผู้ดำ�เนินการติดต่อ ประสานงาน และรายงานผลความคืบหน้า

เหล่านัน ้ ต่อประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารกลุม ่ และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

อย่ า งยั่ ง ยื น แบบมี ส่ ว นร่ ว ม ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนที่ ตั้ ง อยู่ ร อบโรงงาน

และคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาสอีกด้วย

ส่งเสริมให้ชุมชนดำ�เนินการจัดตั้งธนาคารชุมชน จำ�นวน 18 แห่ง

กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม (After Process)

และมี ส มาชิ ก ร่ ว มโครงการได้ รั บ ประโยชน์ รวม 3,282 ราย

อยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษท ั นัน ้ สำ�นักกฎหมายกลุม ่

โครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น

ตลอดจนความคิ ด เห็ น และแนวโน้ ม ของคดี ค วามและข้ อ พิ พ าท

ธนาคารชุมชน ซึ่งเป็นการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ทราบเป็นระยะๆ อีกทั้งยังได้รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

จำ�นวน 19 หมู่ บ้ า น ในพื้ น ที่ 4 ตำ�บล โดยมี ก ารสนั บ สนุ น และ

• ในด้านเศรษฐกิจฐานรากนั้น บริษัทได้ดำ�เนินโครงการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีกองทุนรวมทั้งสิ้น 28,142,393 บาท และมี ก ารจั ด ตั้ ง สภาผู้ นำ�ชุ ม ชน จำ�นวน 9 แห่ ง เพื่ อ ทำ�หน้ า ที่ บริหารจัดการชุมชนของตนเองแบบมีส่วนร่วม

• บริ ษั ท ให้ ค วามสำ�คั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ความรั บ ผิ ด ชอบ

บริษัทยังคงมุ่งเน้นการพัฒนาสังคมและชุมชนตามแนวทาง

ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง นอกจากการควบคุ ม

บนหลั ก พื้ น ฐานสามประการคื อ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ การมี

กระบวนการผลิตไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและอาชีวอนามัย

โดยในปี 2560 บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น โครงการเพื่ อ สั ง คมและชุ ม ชน

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการดำ�เนิ น กิ จ กรรมรณรงค์ แ ละส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ

ทางสั ง คมซึ่ ง มุ่ ง เน้ น การสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ ผู้ ด้ อ ยโอกาส

รั ก ษ์ ช ายหาด” กิ จ กรรม “สองล้ อ รั ก ษ์ บ างสะพาน” โครงการ

การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา การพั ฒ นาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม

นักอนุรักษ์รุ่นเยาว์”

ที่ ดี รวมทั้ ง การสนั บ สนุ น เพิ่ ม เติ ม ในกิ จ กรรมด้ า นศาสนาและ

เป็นกิจกรรมที่ให้พนักงานและผู้บริหารของบริษัท ร่วมทำ�กิจกรรม

ในปี 2560 ดังนี้

เพื่ อ สร้ า งความภู มิ ใ จในตนเองให้ กั บ พนั ก งาน โดยในปี 2560

องค์กรร่วมจัด ได้แก่ บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน)

ภายใต้โครงการ “25 ปี เอสเอสไอ 250 ความดีพันดวงใจอาสา”

เอ็นเอส บลูสโคป (ประเทศไทย) จำ�กัด (NS Blue Scope) และ บริษท ั

หรือคิดเป็น 6,032 ชั่วโมงงาน และประชาชนในชุมชนร่วมกิจกรรม

การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพือ ่ สร้างความแข็งแกร่งให้กบ ั กลุม ่ ผูม ้ ส ี ว่ นได้เสีย

ดู แ ลกระบวนการผลิ ต เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มวลสารที่ ร ะบายออกจาก

ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และประสิทธิภาพของการดำ�เนินการ

ของพนั ก งานและคนในชุ ม ชน บริ ษั ท ยั ง ได้ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงาน

50 โครงการ แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรก คือ การพัฒนาทุน

สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ประกอบด้ ว ยโครงการ “เอสเอสไอ

ในสังคม และส่วนที่สอง คือ การพัฒนาชุมชนใน 4 ด้านหลัก คือ

“ธนาคารขยะเอสเอสไอสำ�หรับสถานศึกษา” และโครงการ “ค่าย

การส่งเสริมอาชีพและพัฒนารายได้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต

วั ฒ นธรรมพื้ น ถิ่ น โดยมี ตั ว อย่ า งกิ จ กรรมที่ บ ริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การ

และดำ�เนินการช่วยเหลือสังคมและชุมชนในเขตอำ�เภอบางสะพาน

• บริ ษั ท ได้ ร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รอุ ต สาหกรรมเหล็ ก ในฐานะ

พนั ก งานของบริ ษั ท ได้ ร่ ว มมื อ ดำ�เนิ น กิ จ กรรมเอสเอสไออาสา

(TCRSS) บริษท ั เอ็นเอส-สยามยูไนเต็ดสตีล จำ�กัด (NS-SUS) บริษท ั

จำ�นวน 15 กิจกรรม รวมพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 754 คน

เจเอฟอี สตีล กัลวาไนซิง่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (JSGT) จัดการแข่งขัน

อาสาพัฒนาชุมชน ทั้งสิ้น 512 คน หรือคิดเป็น 4,096 ชั่วโมงงาน

• โครงการ “เอสเอสไออาสา” ในรูปแบบจิตอาสาพนักงาน


105

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

คณะกรรมการบริษท ั มีความมุง่ มัน ่ ทีจ ่ ะดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลัก

การกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ แ ี ละความรับผิดชอบต่อสังคม เพือ ่ การพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น และเล็ ง เห็ น ว่ า การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น นั้ น เป็ น ภั ย ร้ า ย ทีบ ่ น ่ั ทอนทาํ ลายองค์กรและประเทศชาติโดยรวม รวมถึงให้การสนับสนุน

การดำ�เนิ น นโยบายการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ของบริ ษั ท จนบริษท ั ได้รบ ั การรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบต ั ข ิ องภาคเอกชนไทย

ในการต่อต้านการทุจริต (Certified Company) จากคณะกรรมการ

แนวร่วมปฏิบต ั ข ิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เมือ ่ วันที่ 22 มกราคม 2559 โดยในปี 2560 บริษัทมีการดำ�เนินการดังนี้

แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการกำ�กับดูแลเพือ่ ควบคุมป้องกัน และติดตามความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่น ของบริษัท สรุป ได้ดังนี้

1. นโยบายและระเบียบรวมทั้งแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง กับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

บริษัทได้ประกาศใช้นโยบายคณะกรรมการบริษัท เรื่อง

การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น และแนวปฏิ บั ติ ค ณะกรรมการ

บริษัท ว่าด้วยเรื่อง การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ตั้งแต่ปี 2557 ซึง่ เป็นการยืนยันถึงเจตจำ�นงและความคาดหวังของบริษท ั ในการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชั่น

สำ�หรับนโยบายคณะกรรมการบริษัท เรื่อง การต่อต้าน

การทุจริตคอร์รัปชั่น กำ�หนดไว้ว่า กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน

ต้องไม่ยอมรับหรือกระทำ�การใดๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ในทุ ก รู ป แบบทั้ ง ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม โดยบริ ษั ท จะปฏิ บั ติ ต าม

กฎหมายที่ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นทั้งกฎหมายไทย

และกฎหมายของประเทศที่บริษัทไปดำ�เนินธุรกิจอยู่อย่างเคร่งครัด

นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษท ั ยังเห็นควรให้บริษท ั ย่อย และกิจการ ทีค ่ วบคุมร่วมกันของบริษท ั ได้นำ�นโยบาย เรือ ่ ง การต่อต้านการทุจริต

คอร์รัปชั่น รวมถึงประกาศหรือแนวปฏิบัติที่ออกโดยอาศัยนโยบาย ฉบับนี้ไปถือปฏิบัติด้วย

ส่วนแนวปฏิบต ั ค ิ ณะกรรมการบริษท ั ว่าด้วยเรือ ่ ง การต่อต้าน

การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ได้ กำ�หนดแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การรั บ หรื อ

ให้ของขวัญหรือของกำ�นัล การเลี้ยงรับรองและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง การบริ จ าค หรื อ เงิ น บริ จ าคหรื อ เงิ น สนั บ สนุ น เพื่ อ การกุ ศ ลหรื อ

สาธารณกุศลหรือสาธารณประโยชน์ การให้ความช่วยเหลือทาง การเมือง และวิธีปฏิบัติเมื่อพบการทุจริตคอร์รัปชั่น เพิ่มเติมจาก

การปฏิบต ั ต ิ ามวิถเี อสเอสไอ (SSI WAY) ซึง่ ได้กล่าวถึงเรือ ่ งการตัง้ มัน ่ ในจริ ย ธรรม ในปรั ช ญาในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และเรื่ อ ง ความซื่ อ สั ต ย์ ที่ ป รากฏในจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ จริ ย ธรรมพนั ก งาน

และค่านิยมของบริษัท รวมทั้งเรื่องการดำ�เนินการด้านจริยธรรม

ของพนักงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทีก ่ ำ�หนดไว้ในแนวปฏิบต ั ิ ว่าด้วยเรือ ่ ง ความขัดแย้งทางผลประโยชน์

2. การสื่อสารนโยบายและระเบียบรวมทั้งแนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

บริษท ั ได้ให้ความสำ�คัญในการสือ ่ สารนโยบายและระเบียบ

รวมทั้งแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ซึ่ ง พนั ก งานทุ ก คนสามารถเข้ า ถึ ง นโยบายและระเบี ย บรวมทั้ ง

แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ค อ ร์ รั ป ชั่ น ผ่ า นทางระบบอิ น ทราเน็ ต ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ยั ง ได้ เ ปิ ด เผย

นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท www.ssi-steel.com อี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ ในการสั ม มนาผู้ ข าย

ประจำ�ปีทจ ี่ ด ั ขึน ้ เมือ ่ เดือนพฤษภาคม 2560 ได้มก ี ารสือ ่ สารนโยบาย

และระเบียบรวมทั้งแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริต

คอร์ รั ป ชั่ น ให้ แ ก่ ผู้ ข ายได้ รั บ ทราบและขอความร่ ว มมื อ ในการถื อ ปฏิบัติ ซึ่งบริษัทได้จัดอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกปี

3. การฝึกอบรม

บริ ษั ท จั ด ให้ มี ก ารฝึ ก อบรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ บ ริ ห าร

และพนั ก งานตระหนั ก ในเรื่ อ งการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานมีความรู้ความเข้าใจอย่าง

แท้จริงและสามารถปฏิบัติตามนโยบายคณะกรรมการบริษัท และ แนวปฏิบัติคณะกรรมการบริษัท ว่าด้วยเรื่อง การต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น โดยนอกจากที่ได้มีการจัดสัมมนาให้พนักงานบางส่วน

ในปีกอ ่ นหน้านีแ ้ ล้วก็มก ี ารบรรยายในหัวข้อเรือ ่ งนโยบายการต่อต้าน การทุจริตของบริษท ั ในการปฐมนิเทศให้แก่พนักงานใหม่ ซึง่ ในปี 2560

บริษัทจัดปฐมนิเทศสำ�หรับผู้บริหารจำ�นวน 2 ครั้ง และปฐมนิเทศ สำ�หรับพนักงานจำ�นวน 3 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง

4. การขับเคลื่อนนโยบายไปสู่ภาคปฏิบัติ

บริษท ั ได้แต่งตัง้ คณะทำ�งานดำ�เนินการขับเคลือ ่ นนโยบาย การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัท เพื่อดำ�รงไว้ซึ่งการเป็น สมาชิกโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน

การทุจริต เพือ ่ แสดงถึงความมุง่ มัน ่ และเจตจำ�นงของคณะกรรมการ บริษท ั ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ และเพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าบริษท ั

มีการกำ�กับดูแลการปฏิบต ั ต ิ ามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่

มีการมอบหมายอำ�นาจและความรับผิดชอบทีช ่ ด ั เจนเพือ ่ นำ�นโยบาย การต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ไปปฏิบต ั ิ โดยในปี 2560 คณะทำ�งาน ดำ�เนิ น การขั บ เคลื่ อ นนโยบายการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น

ของบริษัท ได้ทำ�การศึกษาแนวทางการกำ�หนดมาตรการควบคุม ภายในที่ เ หมาะสมสำ�หรั บ นิ ติ บุ ค คลในการป้ อ งกั น การให้ สิ น บน

เจ้าหน้าที่รัฐ ของสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับมาตรการการควบคุม

ภายในที่ มี อ ยู่ ข องบริ ษั ท พร้ อ มทั้ ง จั ด ทำ�แผนงานและมอบหมาย ผู้รับผิดชอบไปดำ�เนินการให้สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว


106

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5. การประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่น

บริษัทประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่น โดย

สำ�นักบริหารความเสีย ่ งกลุม ่ เป็นผูป ้ ระสานงานกับเจ้าของความเสีย ่ ง

แต่ ล ะสายงาน ให้ มี ก ารประเมิ น และรวบรวมผลการประเมิ น ความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยเจ้าของความเสี่ยงแต่ละ

สายงานจะระบุเหตุการณ์ทอ ี่ าจมีความเสีย ่ งจากการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ เกิดขึ้น ประเมินโอกาสเกิดและผลกระทบของความเสี่ยง ทบทวน

และกำ�หนดมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นที่เหมาะสมกับ

Arising from Fraudulent Financial Reporting or Misappropriation

of Assets) นอกจากนี้ สำ�นักตรวจสอบภายในกลุ่มยังมีการจัดทำ�

แผนการตรวจสอบแม่บท แผนการตรวจสอบประจำ�ปีตามแนวทาง

ทีค ่ ำ�นึงถึงความเสีย ่ ง โดยรวมถึงความเสีย ่ งจากการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ด้ ว ย และดำ�เนิ น การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจำ�ปี

ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงาน ผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

ความเสี่ยงที่ประเมินได้ เพื่อนำ�เสนอคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยง

บริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็นรายปี

พิ จ ารณาทบทวนถึ ง ความเหมาะสมก่ อ นนำ�เสนอคณะกรรมการ

บริษัทกำ�หนดแนวทางการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ดังนี้

1. การแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน

บริ ษั ท มี ช่ อ งทางเพื่ อ รั บ แจ้ ง เบาะแสหรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น เกี่ยวกับการกระทำ�ผิดกฎหมาย หรือจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ การกระทำ�การทุจริต หรือกระทำ�ความผิดต่อตำ�แหน่งหน้าที่ หรือ

การกระทำ�การทุจริตคอร์รัปชั่น การกระทำ�การฝ่าฝืนต่อนโยบาย เกี่ ย วกั บ ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท การกระทำ� การขัดต่อหรือการละเลยต่อหน้าที่ตามนโยบาย แนวปฏิบัติ คำ�สั่ง

หรือระเบียบต่างๆ ของบริษัท รายงานทางการเงินที่ไม่ถูกต้อง ระบบ การควบคุมภายในที่บกพร่อง รวมถึงการกระทำ�อื่นๆ ที่อยู่ในข่าย

ทำ�ให้ผู้แจ้งหรือบริษัทได้รับความเสียหาย โดยมีมาตรการคุ้มครอง

ผู้แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน รวมถึงผู้ให้ข้อมูล และมีมาตรการ ในการตรวจสอบและกำ�หนดบทลงโทษสำ�หรับผู้กระทำ�ความผิด ตามนโยบายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เบาะแสหรือข้อร้องเรียน

ที่ มี ถึ ง คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ผ่ า นช่ อ งทางการแจ้ ง เบาะแสและข้ อ ร้ อ งเรี ย นจะได้ รั บ การติ ด ตามและตรวจสอบ

ข้ อ เท็ จ จริ ง ดำ�เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งและ แจ้งผลการดำ�เนินการกลับไปยังผู้แจ้งโดยเร็ว รวมทั้งรายงานให้

คณะกรรมการตรวจสอบทราบด้วย และมีการสรุปผลการดำ�เนินงาน ของคณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ สนอต่ อ คณะกรรมการ บริษัทปีละสองครั้ง

2. การตรวจสอบภายใน

สำ�นักตรวจสอบภายในกลุม ่ เป็นผูม ้ ส ี ว ่ นร่วมในการประเมิน

เพื่อให้ความเชื่อมั่นและให้คำ�แนะนำ�ปรึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ

กำ�กับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน

โดยมีการประเมินการควบคุมภายในร่วมกับฝ่ายจัดการของบริษัท เป็นรายครึ่งปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประเมินความเสี่ยงที่รายงาน

ทางการเงินของบริษัทอาจไม่ถูกต้อง เนื่องจากการทุจริต หรือใช้

สินทรัพย์โดยไม่สมควร (Risk Factors Relating to Misstatements

3. การประเมินความเข้าใจและการปฏิบัติตาม จริยธรรมธุรกิจและจริยธรรมของพนักงาน

เมื่ อ เดื อ นธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ได้ สำ�รวจความเข้ า ใจ

และการปฏิ บั ติ ต ามประมวลจริ ย ธรม (Code of Conduct) ของ

บริ ษั ท ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ และจริ ย ธรรมพนั ก งาน ของบริ ษั ท โดยให้ พ นั ก งานตอบแบบประเมิ น เพื่ อ สํ า รวจตนเอง ในเรื่องการรับรู้และความรู้ความเข้าใจใน Code of Conduct รวมถึง สำ�รวจการรั บ ทราบและความเข้ า ใจถึ ง นโยบายและแนวปฏิ บั ติ คณะกรรมการบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

เพื่ อ นํ า ข้ อ มู ล ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการพั ฒ นาช่ อ งทางการรั บ รู้ แ ละ สร้างความรู้ความเข้าใจ ในหัวข้อดังกล่าว ตลอดจนเพื่อติดตาม

และประเมินผลการปฏิบัติตาม Code of Conduct และแนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นดังกล่าวด้วย

นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนา

บริษัทมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรม เหล็ก ผ่านงานด้านวิจัยและพัฒนาเพื่อก่อให้เกิดองค์ความรู้อย่าง

ยั่ ง ยื น โดยแสดงให้ เ ห็ น ได้ จ ากการที่ บ ริ ษั ท ได้ มี ส่ ว นร่ ว มโดยมี การสร้างสรรค์ผลงานวิจย ั เพือ ่ ขอรับรองเพิม ่ ขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ ง โดยตัง้ แต่

ปี 2549 จนถึงปัจจุบน ั มีผลงานการวิจย ั และพัฒนาของบริษท ั ทีไ่ ด้รบ ั การรับรองเป็นจำ�นวนทัง้ สิน ้ 90 โครงการ คิดเป็นมูลค่าโครงการวิจย ั

กว่า 64.2 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากภายหลังจากปี 2558

ทีผ ่ า ่ นมาทางสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้มีการปรับระเบียบวิธีการในการรับโครงการวิจัยเพื่อขอ

รับรอง ประกอบกับทางบริษัทประสบกับปัญหาทางการเงิน ทำ�ให้ ตั้งแต่ปี 2558 ที่ผ่านมาบริษัทจึงยังไม่มีการขอรับรองผลงานวิจัย

แต่ ก ระนั้ น ทางบริ ษั ท ยั ง คงสนั บ สนุ น ให้ ห น่ ว ยงานวิ จั ย และ พัฒนาทำ�โครงการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพ

ในการแข่งขันในอุตสาหกรรมต่อไป ผ่านวิธก ี ารสนับสนุนทุนการศึกษา

ในระดับปริญญาเอก ซึ่งในปี 2559 ที่ผ่านมาผลงานวิจัยของผู้ได้รับ

ทุนการศึกษา ในหัวข้อเรื่อง” “EFFECT OF STRIP THICKNESS

ON MECHANICAL ADHESION OF THERMAL OXIDE SCALE OF HOT ROLLED LOW CARBON STEEL STRIP” ได้รับเกียรติให้ไป นำ�เสนอผลงานวิจย ั ในเวทีระดับโลก HTCPM 2016 (9th International

Symposium on High-Temperature Corrosion and Protection of Materials) นอกจากนี้ ในปี 2560 ผลงานวิจย ั ของผูไ้ ด้รบ ั ทุนการศึกษา


107

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ในหัวข้อเรื่อง “Effects of carbon and coiling temperature on the adhesion of thermal oxide scales to hot-rolled carbon steels” ได้รับ

การตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ Corrosion Science ซึ่งเป็นวารสารที่มีการนำ�ไปใช้ในการอ้างอิงสำ�หรับงานวิจัยเป็นอย่างมาก สำ�หรับสาขาวัสดุศาสตร์

นอกจากนี้ ในปี 2560 บริษัทได้มอบทุนวิจัยปริญญานิพนธ์ เรื่องเหล็กโครงสร้างจำ�นวน 7 ทุน ทุนละ 10,000 บาท ภายใต้โครงการ

“Structural Steel Improvement (SSI) for Young Engineers Program 2017” ให้แก่นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

โดยโครงการดังกล่าวเกิดขึ้นเพื่อผลักดันนิสิตนักศึกษาที่จะก้าวไปเป็นวิศวกร ผู้ประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมก่อสร้างในอนาคต ให้มี

การพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ในด้านการใช้โครงสร้างเหล็กให้เกิดประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อันก่อให้เกิดการพัฒนา ของอุตสาหกรรมเหล็กและอุตสาหกรรมก่อสร้าง และส่งผลต่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ

การดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน

บริษัทยังคงมุ่งมั่นในการสร้างความตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ในการดูแลบุคลากรในองค์กร

ตลอดจนผู้รับเหมาที่เข้ามาทำ�งานในพื้นที่โรงงานอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งหวังการป้องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่วยจากการทำ�งานให้พนักงาน

ทุกคนมีความปลอดภัยทั้งด้านการปฏิบัติงานและด้านสุขภาพอนามัย โดยมีการดำ�เนินงานตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม (OHSAS 18001) ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมี ก ารพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง จึ ง ทำ�ให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล สถานประกอบการต้นแบบดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน (ระดับประเทศ) 6 ปี ต่อเนื่อง

บริษัทมุ่งเน้นการดำ�เนินการและพัฒนางานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน โดยต้องการให้พนักงาน

เกิดตระหนักและเห็นถึงความสำ�คัญในการดูแลตนเองและเพื่อนร่วมงานให้ทำ�งานอย่างปลอดภัยไม่เกิดอุบัติเหตุจากการทำ�งานผ่านโครงการ

ต่างๆ เช่น การรณรงค์ลดอุบต ั เิ หตุจากการทำ�งาน (Zero Accident Campaign) โครงการปรับเปลีย ่ นพฤติกรรมการปฏิบต ั งิ านด้วยความปลอดภัย (BBS) การตรวจสอบพื้นที่การปฏิบัติงาน (Safety Patrol) โดยมีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน

กำ�กับดูแล ตรวจสอบความปลอดภัย และเสนอแนะมาตรการในการปรับปรุงด้านความปลอดภัยในทุกพื้นที่ ภายใต้การสนับสนุนอย่างดี จากฝ่ายบริหาร ทำ�ให้ค่าอัตราความถี่การบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงานต่อหนึ่งล้านชั่วโมงการทำ�งานน้อยกว่า 1 ซึ่งบริษัทยังคงมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินการ

หามาตรการต่างๆ ทีจ ่ ะช่วยทำ�ให้มีคา ่ อัตราความถีก ่ ารบาดเจ็บถึงขัน ้ หยุดงานต่อหนึง่ ล้านชัว ่ โมงการทำ�งาน ลดต่ำ�ลงให้เข้าใกล้ศน ู ย์หรือเท่ากับ ศูนย์อย่างต่อเนื่อง

ค่าอัตราความถี่การบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงานต่อหนึ่งล้านชั่วโมงการทำ�งาน

บริษัท

2558

2559

2560

SSI

0.76

0.35

0.66

TCRSS

0.52

0.00

0.00

WCE

2.12

0.77

0.00

PPC

0.00

0.00

3.71

SSI Group

1.55

0.31

0.46

LTIFR = (จ�ำนวนรายที่บาดเจ็บถึงขั้นหยุดงานหนึ่งวันขึ้นไป x 1,000,000) / ชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมด * ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

นอกจากนี้ บริษท ั ยังได้จด ั ให้มก ี ารฝึกอบรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การจัดการความปลอดภัยในการขนส่ง รวมถึงการป้องกัน

อัคคีภัยและกู้ภัยฉุกเฉิน ส่งผลให้อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2560 จำ�นวน 1 ครั้ง สามารถระงับเหตุได้ทันท่วงที ไม่มีพนักงานได้รับบาดเจ็บจาก อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น


108

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง

ความเห็นของคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัท

คณะกรรมการบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการรายงานว่า บริษัทมีระบบ

ได้ให้ความสำ�คัญต่อการที่บริษัทจัดให้มีระบบการควบคุมภายใน

การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม กล่าวคือ

ในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท เพราะมีความเชื่อว่า

ของบริ ษั ท สำ�หรั บ ปี 2560 ตามแบบประเมิ น ของสำ�นั ก งาน

ความเสี ย หายจากการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และทำ�ให้ บ ริ ษั ท

กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 ซึ่ ง ปรากฏผลการประเมิ น อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี ม าก

ของบริ ษั ท ได้ จึ ง ได้ มี ก ารมอบหมายให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ

การควบคุ ม ภายในที่ เ ป็ น สากลของ COSO (The Committee of

การควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบ

ปรับปรุง Framework ใหม่ นอกจากนี้ บริษัทยังสามารถปฏิบัติตาม

บริษัท เรื่อง ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท

ภายในของบริษัท ซึ่งกล่าวโดยสรุปว่า คณะกรรมการตรวจสอบ

เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท

การจัดทำ�รายงานทางการเงินของบริษัทที่ถูกต้อง

ที่ ดี แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล โดยประกาศอย่ า งแจ้ ง ชั ด ถึ ง เรื่ อ งดั ง กล่ า ว

จากผลการประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน

การมีระบบการควบคุมภายในที่ดี จะช่วยลดความเสี่ยงและป้องกัน

คณะกรรมการ ก.ล.ต. ฉบั บ ล่ า สุ ด ที่ ไ ด้ เ ผยแพร่ เ มื่ อ วั น ที่ 19

สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และเป้าหมาย

โดยแบบประเมิ น ดั ง กล่ า วได้ พั ฒ นามาจากกรอบแนวทางระบบ

มีอำ�นาจหน้าที่ และความรับผิดชอบในการสอบทานให้บริษท ั มีระบบ

Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ที่ได้

ภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล ตามประกาศ

หลั ก เกณฑ์ ใ นแบบประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม

(ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งมีการทบทวนครั้งล่าสุด

มี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ พี ย งพอใน

ครั้งที่ 9/2560 เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2560 ได้มีมติเห็นชอบกำ�หนด

ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายใน

ได้ยด ึ ถือเป็นกรอบในการปฏิบต ั งิ าน ซึง่ เป็นไปตามประมวลจรรยาบรรณ และมาตรฐานสากลการปฏิบต ั งิ านวิชาชีพการตรวจสอบภายในด้วย


109

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

บริษท ั ได้จด ั ตัง้ สำ�นักตรวจสอบภายในขึน ้ เป็นหน่วยงานภายใน

รายละเอียดของหัวหน้างาน

แนวทางปฏิ บั ติ ง าน และการรายงาน ตามประกาศบริ ษั ท เรื่ อ ง

ของบริ ษั ท ตั้ ง แต่ ปี 2541 มี ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ข้อกำ�หนดเกีย ่ วกับสำ�นักตรวจสอบภายใน และการตรวจสอบภายใน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 20 มกราคม 2560 (Internal Audit Charter)

ซึ่ ง เป็ น ฉบั บ ที่ ใ ช้ อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น สำ�หรั บ ขอบเขตการปฏิ บั ติ ง าน ตรวจสอบภายในครอบคลุ ม ทุ ก สายงาน ทุ ก ฝ่ า ย และทุ ก สำ�นั ก

ของบริ ษั ท รวมทั้ ง บริ ษั ท อื่ น ๆ ในกลุ่ ม บริ ษั ท (SSI Group) และ เมื่อเดือนธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติ การจั ด ตั้ ง สำ�นั ก ตรวจสอบภายในกลุ่ ม (Group Internal Audit) ตามผังโครงสร้างองค์กรใหม่ของบริษัทที่จัดในรูปแบบของ Group

Function ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจ ิ ารณาและให้ความเห็นชอบ แ ล้ ว โ ด ย สำ� นั ก ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ก ลุ่ ม ยั ง ค ง ขึ้ น ต ร ง ต่ อ

คณะกรรมการตรวจสอบ นับตั้งแต่คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบเมื่ อ ปี 2542 เป็ น ต้ น มา นอกจากนี้ ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมา คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น ผู้ ใ ห้ ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบแม่บท และแผนการตรวจสอบ

ประจำ�ปี ของสำ�นักตรวจสอบภายใน ที่ได้จัดทำ�ในแนวทางที่คำ�นึง ถึงความเสี่ยง (Risk-based Approach) รวมทั้งรับทราบรายงาน

ผลการตรวจสอบของสำ�นักตรวจสอบภายใน อีกทั้งหัวหน้าสำ�นัก ตรวจสอบภายในยังสามารถขอเข้าพบ หรือขอคำ�ปรึกษาหารือจาก ประธานกรรมการตรวจสอบทางโทรศัพท์ได้ เมือ ่ มีประเด็นตรวจพบ ที่สำ�คัญหรือมีข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานใดๆ

คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาเห็นชอบตามรายงานของ

กรรมการตรวจสอบที่รายงานว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม

1. ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ของบริษัท

ผู้ ดำ�รงตำ�แหน่ ง หั ว หน้ า งานตรวจสอบภายในกลุ่ ม ของ

บริษัท ในปี 2560 คือ นางสาวปัทมวรรณ บุญทั่ง ซึ่งเป็นผู้บริหาร

สูงสุดของสำ�นักตรวจสอบภายใน โดยทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2559 ได้มีมติให้แต่งตั้งนางสาว

ปัทมวรรณ บุญทั่ง ดำ�รงตำ�แหน่งผู้จัดการทั่วไป สำ�นักตรวจสอบ ภายในกลุ่ม

2. ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่มีต่อหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้า

สำ�นักตรวจสอบภายในกลุ่มของบริษัท ที่ปฏิบัติหน้าที่ในปี 2560 มีความรู้ ความสามารถ เหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบต ั งิ านในหน้าที่

3. แนวปฏิบัติการแต่งตั้ง ถอดถอน และโยกย้าย ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ของบริษัท

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ มี อำ� น า จ ห น้ า ที่ แ ล ะ ความรับผิดชอบครอบคลุมการให้ความเห็นชอบในการพิจารณา

แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างผู้บริหารสูงสุดของสำ�นักตรวจสอบภายใน


110

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

รายการระหว่างกันในปี 2560 (ล้านบาท)

รายการคงค้าง (ล้านบาท)

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย

เป็นนิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้น

รายได้อื่นๆ

0.55

รายได้ค้างรับ

-

จำ�กัด

ร้อยละ 3.7 และมีกรรมการร่วมกัน

ให้บริการซ่อมบำ�รุง

0.32

ลูกหนี้การค้า

0.23

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย

เป็นนิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้น

ขายเหล็กแผ่นรีดร้อน

2,251.01

ลูกหนี้การค้า

41.96

จำ�กัด (มหาชน)

ร้อยละ 35.19 โดยมีการควบคุม

ให้บริการท่าเทียบเรือน้ำ�ลึก

23.89

รายได้ค้างรับ

2.00

ร่วมกัน

ให้บริการซ่อมบำ�รุง

73.07

เจ้าหนี้อื่น

2.87

ให้บริการรีดเหล็ก รายได้อื่นๆ

-

17.31

บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำ�กัด เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ให้บริการท่าเทียบเรือน้ำ�ลึก

1.36

ลูกหนี้การค้า

-

(มหาชน)

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

ให้บริการซ่อมบำ�รุง

0.04

รายได้ค้างรับ

5.04

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

รายได้อื่นๆ

0.64

ลูกหนี้อื่น

บริษัท บี.เอส.เมทัล จำ�กัด

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ขายเหล็กม้วน/เศษเหล็ก

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

ให้บริการซ่อมบำ�รุง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

ค่าบริการตัดเหล็ก

11.81

รายได้ค้างรับ

0.14

เจ้าหนี้การค้า

0.04

เจ้าหนี้อื่น

-

ลูกหนี้การค้า

-

1,118.85 -

1.47

ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น

1,838.31 -

บริษัท สหวิริยาเพลทมิล จำ�กัด

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ขาย Slab

(มหาชน)

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

ให้บริการท่าเทียบเรือน้ำ�ลึก

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

ใช้บริการซ่อมบำ�รุง

บริษัท ทรัพย์สินอาคาร

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

เช่าพื้นที่สำ�นักงานกรุงเทพ

ประภาวิทย์ จำ�กัด

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

ให้บริการซ่อมบำ�รุง

-

เจ้าหนี้การค้า

0.03

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

เจ้าหนี้อื่น

0.34

บริษัท อาคารเวสเทิร์น จำ�กัด

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ไม่มี

-

เจ้าหนี้การค้า

-

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

1.04 23.21

ลูกหนี้อื่น

-

ลูกหนี้อื่น

-

บริษัท บริการจัดการสหวิริยา

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ไม่มี

- ไม่มี

-

จำ�กัด

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

บริษัท สหวิริยาพาณิชย์

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ขายเหล็กแผ่นรีดร้อน

คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

2,312.49 ลูกหนี้การค้า

1,837.56


111

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

รายการระหว่างกันในปี 2560 (ล้านบาท)

บริษัท ไลน์ ทรานสปอร์ต จำ�กัด เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการบริษัท

ให้บริการท่าเทียบเรือน้ำ�ลึก

ถือหุ้นทางตรงและ/หรือทางอ้อม

ให้บริการซ่อมบำ�รุง

เกินกว่าร้อยละ 10

รายได้อื่นๆ ใช้บริการขนส่งในประเทศ

รายการคงค้าง (ล้านบาท)

7.26 1.78 -

ลูกหนี้การค้า

1.05

ลูกหนี้อื่น

0.22

เจ้าหนี้การค้า

-

เจ้าหนี้อื่น

-

บริษัท เรือลำ�เลียง บางปะกง

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการบริษัท

ให้บริการท่าเทียบเรือน้ำ�ลึก

0.54

ลูกหนี้การค้า

0.08

จำ�กัด

ถือหุ้นทางตรงและ/หรือทางอ้อม

รายได้อื่นๆ

0.23

ลูกหนี้อื่น

0.04

เกินกว่าร้อยละ 10

ใช้บริการขนส่งทางน้ำ�

-

เจ้าหนี้การค้า

-

ต้นทุนทางการเงิน

-

เจ้าหนี้อื่น

-

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการบริษัท

ให้บริการรีดเหล็ก

-

ไม่มี

-

ถือหุ้นทางตรงและ/หรือทางอ้อม

รายได้อื่นๆ

-

เกินกว่าร้อยละ 10

ใช้บริการขนส่งในประเทศ

-

แท่งแบน

-

บริษัท ท่าเรือบางปะกง จำ�กัด

ขาดทุนจากการขายเหล็ก บริษัท ประจวบพัฒนา

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ไม่มี

- ไม่มี

-

ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

บริษัท โรงถลุงเหล็กสหวิริยา

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ไม่มี

- ไม่มี

-

จำ�กัด

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

บริษัท สหวิริยา อินเตอร์ สตีล

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน

ไม่มี

- ไม่มี

-

โฮลดิ้งส์ จำ�กัด

และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางตรง

และ/หรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 10

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการบริษัท

ไม่มี

-

ไม่มี

-

บริษัท ซี.เอ.อาร์.เซอร์วิส จำ�กัด

ถือหุ้นทางอ้อม บริษัท ประจวบ สตีล จำ�กัด

เป็นนิติบุคคลที่มีกรรมการร่วมกัน และกรรมการบริษัทถือหุ้นทางอ้อม

ไม่มี

-

ไม่มี


112

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

Redcar Bulk Terminal Limited เป็นนิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นทางอ้อม

รายการระหว่างกันในปี 2560 (ล้านบาท) ไม่มี

รายการคงค้าง (ล้านบาท) -

ไม่มี

ร้อยละ 50 โดยมีการควบคุมร่วมกัน Vanomet AG

มีผู้ถือหุ้นร่วมกันและมีกรรมการร่วมกัน

ซื้อเหล็กแท่งแบน

-

เงินล่วงหน้า

ในบริษัทย่อย

ต้นทุนทางการเงิน

-

ค่าสินค้า

267.19

เจ้าหนี้การค้า Sahaviriya Shipping UK

มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน

Limited

และมีกรรมการบริษัทถือหุ้นทางอ้อม

บริษัท ไทยสตีลเซลส์ จำ�กัด

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการระหว่างกัน

ไม่มี

-

ไม่มี

ขายเหล็กแผ่นรีดร้อน

140.81

เจ้าหนี้อื่น

283.93

ทัง้ นี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อยเกิดขึน ้

กั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษท ั จะนำ�เสนอ

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัทกับบุคคลที่อาจมี

ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทที่มีกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ให้

ตามเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไปของบริษัท ซึ่งเป็นไปตามความจำ�เป็น

โดยกรรมการผู้มีส่วนได้เสียไม่มีสิทธิออกเสียงในรายการดังกล่าว

บริ ษั ท มี น โยบายการกำ�หนดราคาสำ�หรั บ รายการระหว่ า งกั น กั บ

รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะได้ให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระ

บุคคลภายนอก

ดังกล่าว เพื่อนำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือ

มาตรการการอนุมัติการทำ�รายการ ระหว่างกัน

ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบ

ความขัดแย้ง เป็นการทำ�รายการเพื่อการดำ�เนินธุรกิจตามปกติและ

ความเห็นเกี่ยวกับความจำ�เป็นและความเหมาะสมของรายการนั้น

ทางธุรกิจ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดอันก่อให้เกิดแก่บริษัท ทั้งนี้

ในกรณีทค ี่ ณะกรรมการตรวจสอบไม่มค ี วามชำ�นาญในการพิจารณา

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในราคาหรือเงื่อนไขที่ไม่แตกต่างจาก

หรือผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั เป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย ่ วกับรายการระหว่างกัน ผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ บัญชีของบริษัท

ให้เป็นผู้อนุมัติการดำ�เนินธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน หรือบุคคล

นโยบายการทำ�รายการระหว่างกัน ในอนาคต

ปกติและเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป โดยจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตาม

นโยบายการทำ�รายการระหว่ า งกั น อาจเปลี่ ย นแปลงได้

ประกาศ คำ�สัง่ หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ของบริษัท และต้นทุนการให้บริการของผู้ให้บริการ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ได้รับมอบอำ�นาจจากกรรมการบริษัท ที่มีผลประโยชน์ร่วม ภายใต้เงื่อนไขปฏิบัติในการดำ�เนินธุรกิจตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และข้ อ บั ง คั บ

รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล

การทำ�รายการเกีย ่ วโยง และการได้มาหรือจำ�หน่ายทรัพย์สน ิ ทีส ่ ำ�คัญ ของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ กำ�หนดโดย สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์

ในอนาคต ขึ้ น อยู่ กั บ อุ ป สงค์ แ ละอุ ป ทานรวมถึ ง ราคาขายสิ น ค้ า


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

113

ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ

สรุปรายงานการสอบบัญชี

ผู้สอบบัญชีสำ�หรับงบการเงินของบริษัท งบการเงินของบริษัทย่อย และงบการเงินรวม สำ�หรับปี 2560

• สุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2982

บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด

ในปี 2558 รายงานตรวจสอบของผู้สอบบัญชีเป็นแบบไม่แสดงความเห็น และมีข้อสังเกต

ในปี 2560 รายงานตรวจสอบของผู้สอบบัญชีเป็นแบบไม่แสดงความเห็น และมีข้อสังเกต

ในปี 2559 รายงานตรวจสอบของผู้สอบบัญชีเป็นแบบไม่แสดงความเห็น และมีข้อสังเกต

โดยสามารถสรุปเกณฑ์ในการไม่แสดงความเห็น และข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับงบการเงินของบริษัท บริษัทย่อย และการร่วมค้า

สำ�หรับปี 2561 รวมถึงคำ�อธิบายสาเหตุหรือการดำ�เนินการเกี่ยวกับข้อสังเกตในเรื่องต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้

เกณฑ์ ในการไม่แสดงความเห็น การถูกจำ�กัดขอบเขตการตรวจสอบโดยสถานการณ์

ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 และ 20 บริษัทมีเจ้าหนี้ที่ยื่นคำ�ขอรับชำ�ระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ โดยบริษัท

มีการโต้แย้งในมูลหนี้กับเจ้าหนี้บางรายอันเนื่องมาจากมูลหนี้ไม่ถูกต้อง มูลหนี้ซ้ำ�ซ้อนหรือไม่มีมูลหนี้ ทั้งนี้ ณ วันที่ในรายงานฉบับนี้ยังมีเจ้าหนี้ 2 ราย ที่ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่มีคำ�สั่งถึงที่สุดให้ได้รับชำ�ระหนี้โดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ซึ่งมียอดหนี้รวมเงินต้นและดอกเบี้ย

ตามแผนฟื้นฟูกิจการจำ�นวน 3,113.8 ล้านบาท นอกจากนี้ มีเจ้าหนี้ 2 ราย ซึ่งมียอดหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการจำ�นวนเงินรวม 641.3 ล้านบาท

ซึ่งได้มีคำ�สั่งถึงที่สุดให้ได้รับชำ�ระหนี้ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้วแต่เจ้าหนี้ได้ยื่นอุทธรณ์คำ�สั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และคดียังอยู่ ในระหว่างการพิจารณาของศาล


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

114

กลุ่มบริษัทและบริษัทบันทึกยอดหนี้ที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหนี้ทั้ง 4 รายดังกล่าวเป็นจำ�นวนเงินรวม 4.3 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและ

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดยมีผลแตกต่างในยอดหนี้อันเนื่องมาจากยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของเจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์หรืออยู่ในระหว่างอุทธรณ์ เป็นจำ�นวนเงินรวม 3,750.8 ล้านบาท

ในปี 2558 ตามที่บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ได้แสดงความจำ�นงเพื่อเลิกกิจการและผู้ชำ�ระบัญชีได้ถูกแต่งตั้งและเข้ามา

ควบคุ ม บริ ษั ท ย่ อ ยดั ง กล่ า ว เป็ น เหตุ ใ ห้ ผู้ ใ ห้ กู้ ร ายใหญ่ ข องบริ ษั ท สหวิ ริ ย าสตี ล อิ น ดั ส ตรี ยู เ ค จำ�กั ด ได้ เ รี ย กร้ อ งให้ ชำ�ระเงิ น กู้ ยื ม ในทั น ที

ซึ่งเงินกู้ยืมดังกล่าวมีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด เป็นหลักประกันและค้ำ�ประกันโดยบริษัท ซึ่งผู้ให้กู้

รายใหญ่ดังกล่าวได้เรียกร้องขอให้บริษัทรับผิดชอบต่อมูลหนี้ในฐานะผู้คำ� ้ ประกันเงินกู้ยืมในเวลาเดียวกัน บริษัทได้บันทึกประมาณการหนี้สิน ภายใต้สัญญาค้ำ�ประกัน เงินกู้ยืมของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ทั้งจำ�นวนในปี 2558 เป็นจำ�นวนเงิน 29,976 ล้านบาท ปัจจุบัน

บริษัทย่อยดังกล่าวยังอยู่ระหว่างกระบวนการชำ�ระบัญชี ทั้งนี้ ผู้ให้กู้อาจจะได้รับชำ�ระคืนหนี้บางส่วนในอนาคตจากกระบวนการชำ�ระบัญชี ซึ่งจำ�นวนเงินดังกล่าวจะถูกนำ�มาหักจากประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญาค้ำ�ประกันที่บริษัทได้บันทึกบัญชีไว้

เนื่องจากเรื่องที่กล่าวข้างต้นทำ�ให้บริษัทไม่สามารถหามูลค่าหนี้สินที่ต้องจ่ายในอนาคตเพื่อรับรู้รายการ ตามมาตรฐานการบัญชี ดังนั้น

ข้าพเจ้าจึงไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับมูลค่าของหนี้สินตามแผนฟื้นฟูกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ข้าพเจ้าจึงไม่สามารถระบุได้ว่าอาจมีรายการปรับปรุงใดๆ ที่จำ�เป็นต่อบัญชีหนี้สินภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ

คำ�อธิบายเพิ่มเติมของบริษัท

บริษัทใคร่ขอเรียนชี้แจงโดยแยกเป็น 2 ประเด็น ดังนี้

1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทมีเจ้าหนี้ 2 ราย (รายที่ 1 และรายที่ 2) อยู่ในระหว่างสอบทานโดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์

โดยมียอดหนี้รวมเงินต้นและดอกเบี้ยตามแผนฟื้นฟูกิจการ จำ�นวน 3,113.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.85 ของยอดหนี้ทั้งหมดตามแผนฟื้นฟู กิจการ ซึ่งบริษัทยังไม่ได้บันทึกเป็นหนี้สิน เนื่องจากบริษัทพิจารณาว่ายังมีความไม่แน่นอนและขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคต ทั้งนี้ เมื่อมีคำ�สั่ง ถึงที่สุดเป็นประการใดแล้ว บริษัทจะได้ดำ�เนินการบันทึกบัญชีตามคำ�สั่งนั้นและชำ�ระหนี้ด้วยแนวทางที่กำ�หนดไว้แล้วในแผนฟื้นฟูกิจการต่อไป

สำ�หรับเจ้าหนี้อีก 2 ราย (รายที่ 3 และรายที่ 4) ซึ่งมียอดหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการจำ�นวนเงินรวม 641.3 ล้านบาท โดยเจ้าหนี้รายที่ 3

ได้ทำ�หนังสือสัญญาโอนสิทธิเรียกร้องหนี้ให้กับเจ้าหนี้รายที่ 4 จากนั้นเจ้าหนี้รายที่ 4 ขอหักกลบกับภาระหนี้สินที่ตนมีต่อบริษัทเมื่อหักกลบแล้ว บริษัทยังคงเหลือยอดหนี้ที่ต้องจ่ายคืนเจ้าหนี้รายที่ 4 จำ�นวน 4.3 ล้านบาท โดยหนี้จำ�นวนนี้เป็นหนี้ที่ศาลล้มละลายกลางมีคำ�สั่งถึงที่สุด ให้เจ้าหนีไ้ ด้รบ ั ชำ�ระหนีแ ้ ล้ว แต่ได้มผ ี ค ู้ ด ั ค้านยืน ่ อุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์คดีชำ�นัญพิเศษ และอยูร่ ะหว่างพิจารณาคดีของศาล ทัง้ นี้ ในแผนฟืน ้ ฟู กิจการฯ ได้ระบุแนวทางการชำ�ระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ทั้งสองรายข้างต้นเอาไว้ด้วยแล้วไม่ว่าคำ�สั่งศาลจะออกมาเป็นประการใด

2) ตามที่บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด (SSI UK) ได้เข้าสู่กระบวนการชำ�ระบัญชี บริษัทในฐานะของผู้คำ� ้ ประกันหนี้ของ

SSI UK ได้รับรู้รายการทางบัญชีดังต่อไปนี้แล้ว ดังนี้

2.1) ส่วนหนี้สิน : ได้บันทึกเป็นหนี้สินภายใต้สัญญาค้ำ�ประกันเต็มทั้งจำ�นวน ซึ่งได้นำ�ไปปรับโครงสร้างหนี้ในแผนฟื้นฟูกิจการ

2.2) ส่วนทรัพย์สิน : ได้ตั้งการด้อยมูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียในบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด (SSI UK) ณ วันที่

ของบริษัทและได้ปฏิบัติตามแผนฯ ด้วยการทยอยชำ�ระคืนหนี้ไปแล้วบางส่วน 31 ธันวาคม 2558 แล้ว เต็มทั้งจำ�นวนในเชิงอนุรักษ์นิยม

บริษัทขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมว่าได้พิจารณาในเบื้องต้นถึงมูลค่าของทรัพย์สินที่จะได้รับคืนจากกระบวนการชำ�ระบัญชีโดย (1) อ้างอิง

จากมูลค่าตามคำ�เสนอซื้อทรัพย์สินของ SSI UK ที่ทางบริษัทรับทราบว่าธนาคารเจ้าหนี้ของ SSI UK ได้รับจากบุคคลภายนอก อย่างไรก็ดี

เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีโอกาสที่จะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายและภาระอื่นใดที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการดูแลและจำ�หน่ายทรัพย์สินซึ่งเป็นไปตาม

กฎหมายล้มละลายของสหราชอาณาจักร บริษัทประเมินจากข้อมูลข้างต้นว่าเมื่อหักค่าใช้จ่ายดังกล่าวแล้วจะทำ�ให้มูลค่าที่จะได้รับคืนสุทธิ มีโอกาสคงเหลือเท่ากับศูนย์ และ (2) บริษท ั ยังได้รบ ั ทราบจากสือ ่ สาธารณะทีร่ ายงานแผนการของรัฐบาลสหราชอาณาจักรเกีย ่ วกับการปรับปรุง

พื้นที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของทรัพย์สินของ SSI UK เพื่อพัฒนาการใช้ประโยชน์ใหม่ โดยที่หน่วยงานผู้แทนของรัฐบาลมีอำ�นาจในการเวนคืนทรัพย์สิน เหล่านั้นด้วยงบประมาณจำ�นวนไม่มากที่จะสนับสนุนการเข้าถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินดังกล่าว และมีการประมาณการว่าการปรับปรุงพื้นที่

เพื่อนำ�มาพัฒนาการใช้ประโยชน์ข้างต้นนั้นจะมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก จากเหตุที่กล่าวมาข้างต้นทั้งสองกรณี ณ วันที่รายงานนี้บริษัทจึงพิจารณา

จากข้อมูลเท่าทีท ่ ราบและเห็นควรประมาณการมูลค่าทีค ่ าดว่าจะได้รบ ั คืนหลังสิน ้ สุดกระบวนการชำ�ระบัญชีของบริษท ั ย่อยดังกล่าวในเชิงอนุรก ั ษ์ นิยมให้มีค่าเป็นศูนย์และจะไม่มีผลเปลี่ยนแปลงต่อการรับรู้รายการทางบัญชีในหัวข้อ 2.1) และ 2.2) ข้างต้น


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

115

ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานต่อเนื่อง

ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 (จ) กลุ่มบริษัทและบริษัทมีกำ�ไรสุทธิ สำ�หรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เป็นจำ�นวนเงิน 4,556.9 ล้านบาท และ 4,475.7 ล้านบาท ตามลำ�ดับ และ ณ วันเดียวกันมีขาดทุนสะสมเป็นจำ�นวนเงิน 40,667.2 ล้านบาท และ 40,683.2 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

ตามที่แสดงไว้ในแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทจำ�เป็นต้องมีกระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานที่เพียงพอต่อความต้องการเงินทุนหมุนเวียน และ

เพือ ่ ให้สามารถจ่ายชำ�ระหนีส ้ น ิ จากการดำ�เนินงาน โดยวิธก ี ารออกหุน ้ ทุนใหม่ การแปลงหนีเ้ ป็นทุน จัดหาแหล่งเงินทุนใหม่ และการปรับโครงสร้าง หนี้กับเจ้าหนี้ บริษัทอธิบายความคืบหน้าในการดำ�เนินการเหล่านี้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20

อย่างไรก็ตาม การฟื้นฟูกิจการจะถือว่าได้ดำ�เนินการเป็นผลสำ�เร็จตามแผน จะต้องมีเหตุการณ์ดังต่อไปนี้เกิดขึ้นคือ (1) บริษัทได้ชำ�ระหนี้

เงินต้นคงค้างให้แก่เจ้าหนีท ้ ก ุ รายตามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การในจำ�นวนไม่นอ ้ ยกว่าร้อยละ 25 ของภาระหนีเ้ งินต้นคงค้างทีบ ่ ริษท ั ต้องจ่ายชำ�ระตามแผน และเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึง่ ระหว่าง (2) บริษท ั ได้รบ ั เงินลงทุนใหม่จากผูร้ ว ่ มลงทุนมาชำ�ระหนีเ้ ป็นผลให้สว ่ นของผูถ ้ อ ื หุน ้ ในงบการเงินเป็นบวก หรือ (3) มีการแปลงหนี้เป็นทุนตามแผนฟื้นฟูกิจการและทำ�ให้ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการเงินเป็นบวก

เนื่องจากแผนฟื้นฟูกิจการเพิ่งเริ่มต้นในปลายปี 2559 และในปี 2560 บริษัทยังสามารถปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูกิจการได้ และมีการชำ�ระหนี้

ก่อนกำ�หนดได้ส่วนหนึ่ง อย่างไรก็ตาม แผนฟื้นฟูกิจการกำ�หนดระยะเวลาชำ�ระหนี้คืนไว้ 12 ปี จึงยังไม่สามารถสรุปได้ว่าการดำ�เนินการตาม แผนฟื้นฟูจะสำ�เร็จลงได้ สถานการณ์ดังกล่าวได้แสดงให้เห็นถึงความไม่แน่นอนของการดำ�เนินงานต่อเนื่องอย่างมีนัยสำ�คัญของกลุ่มบริษัท

และบริษัท ทั้งนี้ มูลค่าที่จะได้รับจากสินทรัพย์อาจจะน้อยกว่ามูลค่าตามบัญชีอย่างมีนัยสำ�คัญ หากกลุ่มบริษัทและบริษัทไม่สามารถดำ�เนินงาน ต่อเนื่องต่อไปได้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการนี้ไม่ได้รวมการจัดประเภทรายการใหม่หรือรายการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สิน ที่จำ�เป็น หากกลุ่มบริษัทและบริษัทไม่สามารถจัดหากระแสเงินสดและเงินทุนเพิ่มจากแหล่งอื่นอย่างเพียงพอ

ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น

รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ข้าพเจ้าขอให้สังเกตเรื่องในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริษัทและบริษัทได้ขาย

สินค้าตามปกติธุรกิจให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและการร่วมค้าเป็นจำ�นวนเงินรวม 5,823.1 ล้านบาท และ 5,823.1 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 23 ของยอดขายสิ น ค้ า รวมของกลุ่ ม บริ ษั ท และบริ ษั ท ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 ยอดค้ า งชำ�ระของลู ก หนี้ ก ารค้ า จาก กิจการที่เกี่ยวข้องกันสุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของกลุ่มบริษัทและของบริษัทมีจำ�นวนเงินรวม 982.6 ล้านบาท และ 961.5 ล้านบาท

ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทและบริษัทได้ซื้อสินค้าและบริการตามปกติธุรกิจจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันเป็นจำ�นวนรวม 131.2 ล้านบาท และ 561.2 ล้านบาท ตามลำ�ดับ


116

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ตารางสรุปงบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท

2559 ร้อยละ

บาท

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

1,558,770,463

6.1

425,055,579

1.8

156,508,506

0.7

ลูกหนี้การค้า

1,205,026,297

4.7

1,504,398,854

6.2

4,590,821,162

19.7

ลูกหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

270,308,689

1.1

267,707,207

1.1

532,521,538

2.3

7,368,319,367

28.9

6,509,746,594

26.9

2,948,556,284

12.6

910,982,488

3.6

987,973,667

4.1

197,564,544

0.8

11,313,407,304

44.3

9,694,881,901

40.0

8,425,972,034

36.1

56,807,634

0.2

4,683,334

0.0

12,720,143

0.1

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจำ�กัด ในการใช้ เงินลงทุนในการร่วมค้า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

2,709,650,450

10.6

2,706,332,473

11.2

2,529,084,209

10.8

11,302,042,288

44.3

11,634,087,178

48.0

12,163,780,946

52.1

128,555,280

0.5

142,487,575

0.6

158,975,157

0.7

17,853,344

0.1

25,666,845

0.1

48,070,060

0.2

9,437,209

0.0

19,735,808

0.1

12,107,442

0.1

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

14,224,346,205

55.7

14,532,993,213

60.0

14,924,737,957

63.9

รวมสินทรัพย์

25,537,753,509

100.0

24,227,875,114

100.0

23,350,709,991

100.0


117

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท

2559 ร้อยละ

บาท

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงินและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

72,110,249

0.3

335,635,980

1.4

12,796,099,840

54.8

3,033,056,160

11.9

2,244,304,200

9.3

2,804,253,376

12.0

41,722,401

0.2

36,169,356

0.1

21,836,192

0.1

1,038,619,703

4.1

1,013,618,655

4.2

7,033,461,665

30.1

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวที่จัดประเภทเป็นหนี้สิน หมุนเวียน

-

-

-

-

6,629,284,761

28.4

หุ้นกู้แปลงสภาพด้อยสิทธิ

-

-

-

-

-

-

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำ�หนด ชำ�ระภายในหนึ่งปี

15,935,722

0.1

48,705,245

0.2

68,763,059

0.3

1,000,281

0.0

3,629,691

0.0

หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายในหนึ่งปี

-

-

ประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญา ค้ำ�ประกันและอื่นๆ

498,484,800

2.0

455,667,455

1.9

30,533,752,034

130.8

691,131

0.0

19,152,118

0.1

-

-

60,632,780

0.2

73,450,343

0.3

-

-

ประมาณการหนี้สินจากสัญญา ที่สร้างภาระ เจ้าหนี้อื่นภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ดอกเบี้ยค้างจ่ายภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี

-

-

4,403,967

0.0

-

-

ภาษีเงินได้ค้างจ่าย

-

-

4,501,994

0.0

-

-

หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

513,048,746

2.0

506,801,307

2.1

3,695,264,102

15.8

5,274,301,692

20.7

4,743,410,901

19.6

63,586,344,720

272.3


118

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท

2559 ร้อยละ

บาท

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้อื่นภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ

23,319,835,439

91.3

24,599,428,069

101.5

-

-

1,853,026,021

7.3

1,910,854,059

7.9

-

-

25,476,910,040

99.8

28,489,627,803

117.6

-

-

8,277,827,269

32.4

7,617,098,251

31.4

-

-

17,739,839

0.1

37,111,357

0.2

ประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญา ค้ำ�ประกันและอื่นๆ ดอกเบี้ยค้างจ่ายภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

192,018,776

0.8

178,571,581

0.7

72,005,250

0.3

1,003,263

0.0

211,276,457

0.9

ประมาณการหนี้สินเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

61,403,631

0.2

90,429,591

0.4

1,161,437,602

0.5

823,876

0.0

823,876

0.0

917,315

0.0

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

59,199,584,891

231.8

62,923,944,587

259.7

404,724,169

1.7

รวมหนี้สิน

64,473,886,583

252.5

67,667,355,488

279.3

63,991,068,889

274.0


119

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท

2559 ร้อยละ

บาท

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว

11,113,018,280

50,263,663,124

4.4

32,166,262,124

132.8

32,166,262,124

137.8

-

-

(5,678,076,131)

(23.4)

(5,678,076,131)

(24.3)

ด้อยสิทธิจากผู้ถือหุ้น

-

-

สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ

-

-

-

-

-

-

- กลุ่มบริษัท

-

-

-

-

-

-

- การร่วมค้า

-

-

-

-

-

-

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน

-

-

-

-

-

-

-

-

(40,667,235,140)

(159.2)

ส่วนต่ำ�กว่ามูลค่าหุ้นสามัญ

1,113,018,280

50,263,663,124

ทุนที่ได้รับจากการซื้อคืนหุ้นกู้แปลงสภาพ 366,207,178

1.5

366,207,178

1.6

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์

กำ�ไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม) รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ขาดทุนเกินทุน/รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

(39,554,216,860) (154.9) 618,083,786

2.4

(38,936,133,074) (152.5) 25,537,753,509

100.0

530,226,819 (71,473,832,280)

2.2 (295.0)

530,226,819 (68,655,132,557)

2.3 (294.0)

(44,089,212,290) (182.0) (41,270,512,567) (176.7) 649,731,916

2.7

630,153,669

2.7

(43,439,480,374) (179.3) (40,640,358,898) (174.0) 24,227,875,114

100.0

23,350,709,991

100.0


120

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประจ�ำปีสิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท

2559 ร้อยละ

บาท

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการ กำ�ไรจากการขายเงินลงทุนในการร่วมค้า กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น

24,976,384,730

87.8

19,109,985,667

94.1

19,255,060,580

93.9

355,188,684

1.2

714,173,740

3.5

917,943,960

4.5

-

-

2,952,224,033

10.4

447,598,236

2.2

260,027,046

1.3

168,231,952

0.6

33,216,887

0.2

62,427,611

0.3

28,452,029,399

100.0

20,304,974,530

100.0

20,495,459,197

100.0

21,602,249,736

75.9

14,776,298,610

72.8

18,735,991,216

91.4

ต้นทุนการให้บริการ

238,490,835

0.8

419,125,217

2.1

653,214,153

3.2

ค่าใช้จ่ายในการขาย

437,308,141

1.5

378,604,730

1.9

344,813,924

1.7

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

537,471,935

1.9

3,314,930,434

16.3

1,168,987,281

5.7

87,512,203

0.3

74,278,600

0.4

74,710,653

0.4

1,690,605,583

8.3

19,152,118

0.1

รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย

ค่าตอบแทนผู้บริหาร ประมาณการภาระดอกเบี้ย จากการดำ�เนินงานที่ยกเลิก

-

-

-

-

ขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ (กลับรายการ) ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย

(18,460,987)

(0.1)

(83,048,422)

(0.4)

1,034,740,671

3.6

2,633,202,252

13.0

2,517,562,861

12.3

23,919,312,534

84.1

23,306,197,544

114.8

23,412,231,666

114.2


121

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประจ�ำปีสิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท

2559 ร้อยละ

บาท

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) ในตราสารทุน การบัญชีด้านผู้ลงทุน การร่วมค้า

2,987,371

0.0

167,809,290

(0.8)

(70,274,830)

(0.3)

4,535,704,236

15.9

(2,833,413,724)

(14.0)

(2,987,047,299)

(14.6)

21,212,459

0.0

(1,068,483)

4,556,916,695

16.0

(2,834,482,207)

(14.0)

(2,979,192,104)

(14.5)

-

-

-

-

(38,036,616,825)

(185.6)

4,556,916,695

16.0

(2,834,482,207)

4,534,664,825

15.9

(2,869,108,143)

กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ จากการดำ�เนินงานต่อเนื่อง กลับรายการภาษีเงินได้

0.0

7,855,195

0.0

ขาดทุนสำ�หรับปีจากการดำ�เนินงาน ต่อเนื่อง การดำ�เนินงานที่ยกเลิก ขาดทุนจากการดำ�เนินงานที่ยกเลิกสุทธิ จากภาษี กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี

(14.0) (41,015,808,929) (200.1)

การแบ่งปันกำ�ไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่

(14.0)

(40,959,314,579)

(199.8)

(56,494,350)

(0.3)

ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจ ควบคุม กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี

22,251,870

0.1

4,556,916,695

16.0

34,625,936 (2,834,482,207)

0.2 14.0

(41,015,808,929) (200.1)

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

4.07

(0.09)

(1.27)

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด (บาท)

4.07

(0.09)

(1.27)

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

4.07

(0.09)

(0.09)

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด (บาท)

4.07

(0.09)

(0.09)

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น - การดำ�เนินงาน ต่อเนื่อง


122

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประจ�ำปีสิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม

2560 บาท กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี

4,556,916,695

2559 ร้อยละ 16

บาท (2,834,482,207)

2558 (ปรับปรุงใหม่) ร้อยละ

บาท

ร้อยละ

(14.0) (41,015,808,929) (200.1)

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ถูกจัดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุน ขาดทุนจากการตีมูลค่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ใหม่

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(2,600,611,457)

(12.7)

-

-

-

-

2,045,056,070

10.0

- กลุ่มบริษัท

-

-

- การร่วมค้า

330,605

0.0

-

-

ค่าเสื่อมราคาของส่วนเกินทุนจาก การตีราคา ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบ ของกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่อาจถูกจัดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุน ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน จากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ จัดประเภทรายการผลต่างจากอัตรา แลกเปลีย ่ นจากการชำ�ระบัญชีบริษท ั ย่อย กำ�ไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย สำ�หรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน 46,787,246

0.2

-

-

9,438,975

0.0

-

-

(6,165,491)

(0.0)

-

-

ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบ ของกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำ�หรับปี-สุทธิ จากภาษี กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

330,605

0.2

50,060,731

4,557,247,300

16.0

(2,784,421,476)

4,534,995,430

15.9

(2,818,699,723)

0.2

(555,555,387)

(2.7)

(13.7) (41,571,364,316) (202.8)

การแบ่งปันกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่

(13.9)

(41,514,869,966)

(202.6)

(56,494,350)

(0.3)

ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจ ควบคุม กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี

22,251,870

0.1

4,557,247,300

16.0

34,278,247 (2,784,421,476)

0.2

(13.7) (41,571,364,316) (202.8)


123

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประจ�ำปีสิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

บาท

บาท

บาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิสำ�หรับปี

4,556,916,695

(2,834,482,207)

(41,015,808,929)

รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุน (กำ�ไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ขาดทุนจากมูลค่าสินค้าคงเหลือลดลง (กลับรายการ) ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ (กลับรายการ) ขาดทุน (กำ�ไร) จากการจำ�หน่ายที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ตัดจำ�หน่ายภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย

742,126,121

694,309,453

559,307,088

1,034,740,671

2,633,202,252

2,517,562,861

(2,770,243,458) 8,032,163 (74,163,700)

(336,749,218)

20,545,454

24,074,656

(239,138,758) 26,131,059 (83,048,421)

(172,731)

(1,194,130)

3,292,889

6,929,493 -

ตัดจำ�หน่ายอุปกรณ์และเครื่องจักร

45,281,366

ส่วนแบ่ง (กำ�ไร) ขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า (สุทธิจากภาษีเงินได้)

(2,987,371)

กลับรายการภาษีเงินได้

34,938,353

19,152,118

ประมาณการขาดทุนจากการชำ�ระบัญชีของบริษัทย่อย

อื่นๆ

(141,662,752)

(18,460,987)

กลับรายการจากการด้อยค่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

ประมาณการภาระดอกเบี้ยจากการดำ�เนินงานที่ยกเลิก

(224,695,796) 2,677,309,056

19,000,000

13,421,974

-

38,036,616,825

-

-

(167,809,290)

70,274,830

-

1,690,605,583

-

-

-

-

(21,212,459) 3,527,331,257

1,068,483 4,193,790,960

(7,855,195) (225,968,176)


124

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประจ�ำปีสิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

บาท

บาท

บาท

การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน ลูกหนี้การค้า

76,297,349

313,953,547

ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

(2,601,482)

(49,668,160)

(784,409,073)

(3,224,441,092)

6,602,480,927

(5,179,534)

(776,386,067)

105,485,400

สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า

10,298,599

(6,825,856)

27,553,133 (1,338,310,060)

19,741,111

809,027,343

314,269,689

(5,463,541,420)

5,553,045

15,226,092

(6,990,886)

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

21,975,896

(70,096,385)

468,791,698

ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ

(7,098,259)

(9,992,286)

(10,163,134)

(93,439)

(300,215)

(26,910,748)

(39,424,638)

เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน

(24,957,381) 3,626,237,760

672,826,255

139,353,740

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในการร่วมค้า เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจำ�กัดในการใช้ลดลง ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(52,124,300)

8,036,809

-

(367,390,842)

(158,675,781)

(44,222,194)

(2,124,750)

(1,201,055)

(15,995,747)

ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

194,006

ขายเครื่องจักรและอุปกรณ์สำ�หรับสัญญาขายและเช่ากลับ

-

-

-

เงินปันผลรับ

-

-

-

ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ

-

-

-

เงินจ่ายสุทธิใช้ไปในการดำ�เนินงานที่ยกเลิก เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน

(421,445,886)

1,143,171

(150,696,856)

640,654

(164,964,557) (224,541,844)


125

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประจ�ำปีสิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

บาท

บาท

บาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายชำ�ระหนี้เจ้าหนี้อื่นตามแผนฟื้นฟูกิจการ

(70,645,601)

-

-

จ่ายชำ�ระหนี้ภายใต้สัญญาค้ำ�ประกันและอื่นๆ

(492,703,170)

-

-

จ่ายต้นทุนทางการเงิน

(105,843,889)

(22,231,661)

(556,952,839)

(40,251,426)

(158,066,285)

(6,556,814)

จ่ายเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

929,000,000

จ่ายชำ�ระหนี้เงินกู้ยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

(377,792,064)

เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว

-

-

จ่ายชำ�ระหนี้เงินกู้ยืมระยะยาว

(1,254,591,582)

จ่ายชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าทางการเงิน

(53,141,322)

(58,584,380)

ขายเครื่องจักรและอุปกรณ์สำ�หรับสัญญาขายและเช่ากลับ

-

-

ซื้อคืนหุ้นกู้แปลงสภาพด้อยสิทธิ

-

-

เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

(8,870,090) (118,014,755) 59,156,845 (274,488)

(53,900,000)

(14,700,000)

(29,400,000)

(2,071,076,990)

(253,582,326)

(109,704,205)

1,133,714,884

(268,547,073)

(194,892,309)

ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

-

425,055,579

156,508,506

163,098,186

1,558,770,463

425,055,579

156,508,506


126

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

อัตราส่วนทางการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

อัตราส่วนสภาพคล่อง (LIQUIDITY RATIO) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

2.15

2.04

0.13

อัตราส่วนสภาพคล่อง ไม่รวมเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถูกจัดประเภท (เท่า)

2.37

2.26

0.32

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)

0.52

0.41

0.07

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว ไม่รวมเงินกูย ้ ม ื ระยะยาวทีถ ่ ก ู จัดประเภท (เท่า)

0.52

0.41

0.08

อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า)

0.72

0.02

0.00

อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)

9.39

6.50

4.07

39

84

92

3.11

3.12

2.34

32.48

20.44

27.84

8.28

6.02

2.85

ระยะเวลาชำ�ระหนี้ (วัน)1)

44

61

128

Cash Cycle (วัน)

27

61

8

13.78%

23.35%

3.89%

9.66%

4.25%

(3.58%)

10.97%

2.37%

1.57%

1.48

0.80

(0.19)

17.90%

(14.47%)

(203.04%)

N/A

N/A

N/A

22.30%

(0.99%)

(80.94%)

48.38%

(1.97%)

(133.18%)

1.14

0.85

0.43

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)1) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) 1)

ระยะเวลาการขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)

1)

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) 1)

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำ�ไร (PROFITABILITY RATIO) อัตรากำ�ไรขั้นต้น อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงาน อัตรากำ�ไรอื่น อัตราส่วนเงินสดต่อการทำ�กำ�ไร (เท่า) อัตรากำ�ไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (EFFICIENCY RATIO) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์2) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร

3)

อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) หมายเหตุ :

แก้ไขสูตรในการค�ำนวณตาม SET Manual Version 2.0 โดยปรับจ�ำนวนวันในการค�ำนวณจากเดิม 360 วัน เป็น 365 วัน

1)

แก้ไขสูตรในการค�ำนวณตาม SET Manual Version 2.0 จากก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่หารด้วยสินทรัพย์เฉลี่ยปีนี้และปีก่อนหน้า เป็นก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่

2)

ก่อนดอกเบี้ยและภาษีหารด้วยสินทรัพย์เฉลี่ยปีนี้และปีก่อนหน้า

แก้ไขสูตรในการค�ำนวณตาม SET Manual Version 2.0 จากก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่หารด้วยสินทรัพย์ถาวรเฉลี่ยปีนี้และปีก่อนหน้า เป็นก�ำไรส่วนที่เป็นของ

3)

บริษัทใหญ่ก่อนดอกเบี้ยและภาษีหารด้วยสินทรัพย์ถาวรเฉลี่ยปีนี้และปีก่อนหน้า


127

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

อัตราส่วนทางการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

2560

2559

N/A

N/A

2558 (ปรับปรุงใหม่)

อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (FINANCIAL POLICY RATIO) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่ายต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

N/A

N/A

N/A

N/A

อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย (เท่า)1)

5.36

(0.09)

(15.27)

อัตราส่วนความสามารถชำ�ระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เท่า)

2.15

3.85

1.41

-

-

-

อัตราการจ่ายเงินปันผล หมายเหตุ :

แก้ไขสูตรในการค�ำนวณตาม SET Manual Version 2.0 โดยปรับจากเงินสดสุทธิจากการด�ำเนินงานหารด้วยเงินจ่ายต้นทุนทางการเงิน เป็นการค�ำนวณจากก�ำไรส่วนที่เป็น

1)

ของบริษัทใหญ่ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้หารด้วยดอกเบี้ยจ่าย

ข้อมูลต่อหุ้นและอัตราการเติบโต บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)

(35.54)

(1.37)

(1.28)

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท)

4.07

(2.58)

(37)

เงินปันผลต่อหุ้น

-

1)

-

-

อัตราการเติบโต สินทรัพย์รวม

5.41%

3.76%

(67.41%)

หนี้สินรวม

(4.72%)

5.74%

(9.48%)

รายได้จากการขายและรายได้จากการให้บริการ

27.78%

(1.73%)

(39.04%)

ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน

(72.44%)

151.55%

25.93%

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

258.05%

93.00%

(735.39%)

หมายเหตุ :

ปี 2558 และปี 2559 ถูกค�ำนวณขึ้นใหม่โดยถือเสมือนว่ามีการลดทุนหุ้นสามัญเกิดขึ้นตั้งแต่วันเริ่มต้นของงวดแรกที่เสนอรายงาน

1)


128

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน ปี 2560

คณะกรรมการบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) มีหน้าที่และให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทให้เป็นไป

ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดทำ�รายงานทางการเงินของบริษัท

ซึ่งได้แก่ งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัท บริษัทย่อย และการร่วมค้า สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 รวมทั้งข้อมูล สารสนเทศทางการเงินที่เปิดเผยในรายงานประจำ�ปี 2560 ของบริษัท ซึ่งรายงานทางการเงินของบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี

และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น โดยบริ ษั ท เลื อ กใช้ น โยบายการบั ญ ชี และ/หรื อ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท างบั ญ ชี ที่ เ หมาะสมและถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า ง สม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและรอบคอบในการประมาณทางการบัญชีเพื่อให้สมเหตุสมผล รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญ

อย่างเพียงพอ และได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่เป็นอิสระและได้รับความเห็นชอบจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่เสนอผู้ถือหุ้นของบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 แบบไม่แสดงความเห็นนั้น บริษัทได้จัดทำ�หนังสือชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แล้ว

คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน โดยมีคณะกรรมการ

บริหารความเสีย ่ ง และคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ประกอบด้วยกรรมการบริษท ั ทีเ่ ป็นอิสระ ทำ�หน้าทีก ่ ำ�กับดูแลการขับเคลือ ่ นของระบบดังกล่าว ให้มป ี ระสิทธิผล เพือ ่ ให้เชือ ่ มัน ่ ว่า รายงานทางการเงินของบริษท ั มีความถูกต้อง เป็นทีเ่ ชือ ่ ถือได้ ซึง่ สะท้อนถึงผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงิน ที่แท้จริงของบริษัท อันเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนตลอดจนผู้สนใจทั่วไป

คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม รวมทั้งรายงานทางการเงิน

ของบริษัทมีความถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป เป็นที่เชื่อถือได้ และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

นายสมชาย สกุลสุรรัตน์

นายวิน วิริยประไพกิจ

ประธานกรรมการ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการฯ

และกรรมการผู้จัดการใหญ่


129

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การวิเคราะห์และค�ำอธิบาย ของฝ่ายจัดการ

ตาราง 1 : สรุปผลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย หน่วย : ล้านบาท

2560 ม.ค. - ธ.ค.

2559 ม.ค. - ธ.ค.

รายได้จากการขายและการให้บริการ

25,332

19,824

+28%

ต้นทุนขายและให้บริการ

21,841

15,195

+44%

กำ�ไร (ขาดทุน) ขั้นต้น

3,491

4,629

-25%

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

1,059

3,768

-72%

19

-196%

ขาดทุน (กำ�ไร) จากสัญญาที่สร้างภาระ (กลับรายการ)

(18)

% YoY

EBITDA

6,115

2,143

+185%

ดอกเบี้ยจ่าย

1,035

4,317

-76%

ค่าเสื่อมราคาและตัดจำ�หน่าย

563

694

-19%

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (กลับรายการ)

(18)

1

-1,788%

กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง

137

672

-80%

กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง

2,816

(225)

+1,353%

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

4,535

(2,869)

+258%

4.07

(2.58)

+258%

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) EBITDA = ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ + ดอกเบี้ยจ่าย + ภาษีเงินได้ + ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี


130

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ตาราง 2 : ผลการดำ�เนินงานแยกตามธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท

2560 ม.ค. - ธ.ค.

2559 ม.ค. - ธ.ค.

% YoY

25,332

19,824

+28%

24,976

19,454

+28%

ธุรกิจท่าเรือ

178

216

-17%

ธุรกิจวิศวกรรม

103

113

-9%

งบการเงินรวม

6,115

2,143

+185%

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน

5,878

1,826

+222%

146

180

-19%

ธุรกิจวิศวกรรม

58

42

+37%

ตัดรายการระหว่างกัน

33

94

รายได้จากการขายและให้บริการ งบการเงินรวม1) ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน

EBITDA

ธุรกิจท่าเรือ

กำ�ไร/(ขาดทุน) สุทธิ งบการเงินรวม

4,535

(2,869)

+258%

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน

4,476

(3,029)

+248%

ธุรกิจท่าเรือ

52

78

ธุรกิจวิศวกรรม

76

(6)

(91)

53

22

35

ตัดรายการระหว่างกัน ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รายได้ของแต่ละธุรกิจเป็นรายได้หลังหักรายการระหว่างกันแล้ว

1)

-33% +1,281%


131

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ตาราง 3 : สรุปตัวเลขสำ�คัญของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน (บริษัท) หน่วย : เหรียฐสหรัฐต่อตัน

2560 ม.ค. - ธ.ค.

2559 ม.ค. - ธ.ค.

% YoY

ราคาขายเฉลี่ย

570

463

+23%

ต้นทุนขายเฉลี่ย

496

366

+36%

ค่าการรีด (HRC Spread)1)

140

143

-3%

24.5%

31.0%

HRC EBITDA3)

136.0

43.4

+213%

ปริมาณขาย (พันตัน)

1,285

1,232

+4%

ปริมาณการผลิต (พันตัน)

1,297

1,269

+2%

HRC Rolling Margin2)

ไม่รวมการตั้งหรือการกลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ

1)

HRC Rolling Margin = HRC Spread/ราคาขายเฉลี่ย

2)

HRC EBITDA รวมการตั้งค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือและการตั้งส�ำรองจากภาระผูกพันตามสัญญาซื้อวัตถุดิบสุทธิ (กลับรายการ)

3)

แผนภาพ 1 : รายได้จากการขายและให้บริการของบริษัท บริษัทย่อย

25,332 19,824

4,782

Q1/16

3,938

Q2/16

5,075

6,029

5,711

5,731

Q3/16

Q4/16

Q1/17

Q2/17

รายได้จากการขายและให้บริการ (ล้านบาท)

7,531

6,359

Q3/17

Q4/17

2016

2017


132

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน

ในปี 2560 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายและให้บริการรวม 25,332 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28 YoY จากราคาขายที่เพิ่มขึ้น

ของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อนตามภาวะราคาเหล็กในตลาดโลกที่ยังคงปรับตัวสูงขึ้น โดยมีปริมาณขายเหล็กรวม 1,285 พันตัน มี EBITDA

6,115 ล้านบาท ดีขึ้นร้อยละ 4 และร้อยละ 185 YoY มีผลกำ�ไรสุทธิ 4,535 ล้านบาท กำ�ไรเพิ่มขึ้นจากขาดทุนสุทธิ 2,869 ล้านบาท ในปี 2559

มีผลประกอบการโดยรวมดีขึ้นเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการขายและการให้บริการที่ลดลงจากที่ไม่ต้องตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเหมือน ในปี 2559 ค่าใช้จา ่ ยดอกเบีย ้ ทีล ่ ดลงจากการปรับอัตราดอกเบีย ้ Default Rate เป็นอัตราดอกเบีย ้ ตามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ และมีกำ�ไรจากอัตราแลกเลีย ่ น

อัตราส่วนการทำ�กำ�ไร

2560

2559

อัตรากำ�ไรสุทธิ (%)

17.90

(14.47)

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)

22.30

(0.99)

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)

N.A.

N.A.

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท)

4.07

(2.58)

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน (บริษัท)

รายได้ ในปี 2560 บริษท ั มีรายได้จากการขายและให้บริการรวม 24,976 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 28 YoY จากราคาขายทีป ่ รับตัวสูงขึน ้ ตาม

ราคาเหล็กในตลาดโลก โดยมีปริมาณการส่งมอบ HRC 1,285 พันตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 YoY โดยบริษัทสามารถรักษาส่วนต่างระหว่างราคาขาย กับวัตถุดิบของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อนไว้ได้ แม้ราคาวัตถุดิบจะปรับตัวขึ้นตามราคาตลาดโลก ทั้งนี้ ราคาขายเฉลี่ยอยู่ 19,197 บาทต่อตัน

หรือประมาณ 570 เหรียญสหรัฐต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 23 YoY ตามภาวะราคาเหล็กในตลาดโลก โดยเป็นการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม พิเศษ (Premium Value Products) ร้อยละ 51 ของปริมาณขายรวม

ค่าใช้จ่าย ในปี 2560 บริษัทมีต้นทุนขายและให้บริการ 21,699 ล้านบาท แยกเป็นต้นทุนขายและบริการจำ�นวน 21,773 ล้านบาท

และการกลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือจำ�นวน 74 ล้านบาท โดยต้นทุนขายและให้บริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 42 YoY จากต้นทุน วัตถุดิบและต้นทุนผลิตที่สูงขึ้น มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 955 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 74 YoY เนื่องจากในปี 2559 มีการตั้งสำ�รอง

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,677 ล้านบาท ทั้งนี้ หากไม่รวมการตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในปี 2559 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ลดลงร้อยละ 3 YoY

ค่าการรีด (HRC Spread) ในปี 2560 บริษัทมีค่าการรีด (HRC Spread) 140 เหรียญสหรัฐต่อตัน ลดลงจาก 143 เหรียญสหรัฐต่อตัน

กำ�ไร ในปี 2560 บริษัทมีกำ�ไรขั้นต้น 3,277 ล้านบาท มี EBITDA 5,878 ล้านบาท (ทั้งนี้ หากไม่รวมการกลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่า

ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 3 YoY คิดเป็น HRC Rolling Margin ประมาณร้อยละ 24.5 ลดจากร้อยละ 31 ในปี 2559

ของสินค้าคงเหลือ 74 ล้านบาท การกลับรายการภาระผูกพันตามสัญญาซื้อวัตถุดิบ 18 ล้านบาท และการตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

8 ล้านบาท และกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 2,952 ล้านบาท จะมี Core EBITDA 2,842 ล้านบาท) และมีผลกำ�ไรสุทธิ 4,476 ล้านบาท โดยผลประกอบการดีขึ้นเมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปี 2559 จากผลกำ�ไรขั้นต้น 4,431 ล้านบาท EBITDA 1,826 ล้านบาท และผลขาดทุน

สุทธิ 3,029 ล้านบาท เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการขายและการให้บริการที่ลดลงจากที่ไม่ต้องตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเหมือนในปี 2559

ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยที่ลดลงจากการปรับอัตราดอกเบี้ย Default Rate เป็นอัตราดอกเบี้ยตามแผนฟื้นฟูกิจการ และมีกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ส่งผลให้มี HRC EBITDA 136 เหรียญสหรัฐต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 213 YoY


133

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

แผนภาพ 2 : รายได้และ EBITDA Margin ของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน

37%

36%

33%

29% 23%

23.15%

18% 10%

8%

23.6%

24,976 19,454

4,696

3,850

Q1/16

Q2/16

4,997

5,911

5,632

5,650

Q3/16

Q4/16

Q1/17

Q2/17

7,449

Q3/17

รายได้จากการขายและให้บริการ (ล้านบาท)

6,245

Q4/17

2016

2017

EBITDA Margin (%)

ธุรกิจท่าเรือ (PPC)

รายได้ ในปี 2560 PPC มีรายได้จากการขายและให้บริการรวม 238 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 16 YoY ตามปริมาณสินค้าผ่านท่าที่

2,069,956 ตัน ลดลงร้อยละ 25 YoY โดยรายได้หลักจาก SSI มีมูลค่ารวม 60 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10 YoY และมีรายได้ยกเว้น SSI เท่ากับ 178 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 17 YoY ในขณะที่ปริมาณสินค้าที่ยกเว้น SSI มีปริมาณลดลงร้อยละ 23

กำ�ไร ในปี 2560 PPC มีกำ�ไรขั้นต้น 105 ล้านบาท มี EBITDA 146 ล้านบาท และมีกำ�ไรสุทธิ 52.1 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 33, ร้อยละ 19

และร้อยละ 33 ตามลำ�ดับ เนื่องจากรายได้จากการขนยกเว้น SSI ลดลงร้อยละ 17 และรายได้รวมลดลงร้อยละ 15 YoY

แผนภาพ 3 : รายได้และ EBITDA Margin ของธุรกิจท่าเรือ

65%

52

Q1/16

76%

84

Q2/16

66%

56

Q3/16

49%

90

Q4/16

รายได้จากการให้บริการ (ล้านบาท)

67%

84% 42%

54

62

Q1/17

Q2/17

59%

64% 282

61% 238

77

46

Q3/17

Q4/17

EBITDA Margin (%)

2016

2017


134

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจวิศวกรรม (WCE)

รายได้ ในปี 2560 WCE มีรายได้จากการขายและให้บริการรวม 548 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 59 YoY เนื่องจากบริษัทได้ขยายธุรกิจไปยัง

อุตสาหกรรมใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งภาครัฐได้มีการขยายการลงทุนและยังให้การสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจ ทำ�ให้ผู้ประกอบการมีความมั่นใจ ในการลงทุนมากขึ้น ทำ�ให้บริษัทมีโอกาสได้รับงานโครงการใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น

กำ�ไร ในปี 2560 WCE มีกำ�ไรขั้นต้น 102 ล้านบาท มี EBITDA เป็นบวก 58 ล้านบาท และมีผลกำ�ไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ 22 ล้านบาท

เมือ ่ เทียบกับงวดเดียวกันในปี 2559 โดยกำ�ไรขัน ้ ต้น, EBITDA และผลกำ�ไรสุทธิกอ ่ นรายการพิเศษ เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 74, ร้อยละ 37 และร้อยละ 435 YoY ตามลำ�ดับ เนื่องจากมียอดรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการขยายฐานการบริการลูกค้ารวมทั้งการควบคุมและลดต้นทุนคงที่ลง

แผนภาพ 4 : รายได้และ EBITDA Margin ของธุรกิจวิศวกรรม

548 20%

18%

17%

12%

13%

17%

346

2% -6%

85

71

Q1/16

Q2/16

87

103

Q3/16

Q4/16

135

145

145

Q1/17

Q2/17

Q3/17

รายได้จากการขายและให้บริการ (ล้านบาท)

12%

11%

2016

2017

123

Q4/17

EBITDA Margin (%)


135

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจเหล็กแผ่นรีดเย็น (TCRSS) รายได้ ปี 2560 TCRSS มี ร ายได้ จ ากการขายรวม 12,682 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 26 YoY โดยมี ป ริ ม าณการขาย 553 พั น ตั น เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 และราคาขายเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 18

กำ�ไร ปี 2560 TCRSS มีผลกำ�ไรขั้นต้น 370 ล้านบาท มี EBITDA 565 ล้านบาท และมีผลกำ�ไรสุทธิ 40 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกันกับปีก่อนพบว่าลดลงร้อยละ 59, ร้อยละ 51 และร้อยละ 91 ตามลำ�ดับ

ทั้งนี้ ผลขาดทุนก่อนภาษีเงินได้ปี 2560 ได้รับผลกระทบจากรายการพิเศษเนื่องจากเหตุการณ์น้ำ�ท่วมโรงงานจำ�นวน 85 ล้านบาท

แผนภาพ 5 : รายได้และ EBITDA Margin ของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดเย็น 16% 13% 9%

11% 8%

7% 5% 3%

3%

12,682 10,073 4%

2,386

2,411

2,520

2,756

2,759

3,391

3,312

3,220

Q1/16

Q2/16

Q3/16

Q4/16

Q1/17

Q2/17

Q3/17

Q4/17

รายได้จากการขายและให้บริการ (ล้านบาท)

EBITDA Margin (%)

2016

2017


136

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ฐานะการเงิน สินทรัพย์

บริษท ั และบริษท ั ย่อยมีสน ิ ทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำ�นวน 25,538 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ 1,310 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 YoY เนื่องจากมูลค่าสินค้าคงเหลือที่เพิ่มขึ้นของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน โดยมีรายละเอียดสัดส่วนของสินทรัพย์ ดังนี้

สินทรัพย์

31 ธ.ค. 2560 ล้านบาท

31 ธ.ค. 2559

ร้อยละ

ล้านบาท

31 ธ.ค. 2558

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

1,559

6

425

2

157

1

ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้า - สุทธิ

1,205

5

1,504

6

4,591

20

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

7,368

29

6,510

27

2,949

13

11,302

44

11,634

48

12,164

52

เงินลงทุนในการร่วมค้า

2,710

11

2,706

11

2,529

11

สินทรัพย์อื่นๆ

1,394

5

1,448

6

962

4

สินทรัพย์รวม

25,538

100

24,228

100

23,351

100

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ

ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้าสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีมูลค่าสุทธิเท่ากับ 1,205 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 20 จาก 1,504 ล้านบาท

สินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีมูลค่าสุทธิ 7,368 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 13 เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2559 เนื่องจากการเพิ่มขึ้น

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีมูลค่าสุทธิ 11,302 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3 จาก ณ สิ้นปี 2559

เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2559

ของราคาและปริมาณวัตถุดิบ รวมถึงปริมาณสินค้าคงเหลือของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อน


137

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หนี้สินและแหล่งที่มาของเงินทุน สัดส่วนของหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อยประกอบด้วย

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

31 ธ.ค. 2560 ล้านบาท

31 ธ.ค. 2559

ร้อยละ

ล้านบาท

31 ธ.ค. 2558

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่หมุนเวียน สถาบันการเงิน

1,152

5

1,199

5

26,531

114

498

2

456

2

30,534

131

3,033

12

2,244

9

2,804

12

50,345

197

55,150

228

73

0

61

0

90

0

120

0

9,385

37

8,528

35

3,929

17

(39,554)

(155)

(44,089)

(182)

(41,271)

(177)

ประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญาค้ำ�ประกัน และอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่ไม่หมุนเวียน หนี้สินภาษีจากการตีมูลค่าสินทรัพย์ หนี้สินอื่นๆ ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม

618

2

650

3

630

3

ส่วนของผู้ถือหุ้น

(38,936)

(152)

(43,439)

(179)

(40,640)

(174)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

25,538

100

24,228

100

23,351

100

บริษัทและบริษัทย่อยมีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำ�นวน 64,474 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 5 จาก 67,667 ล้านบาท

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 จากการชำ�ระหนี้ ต ามแผนฟื้ น ฟู กิ จ การ และผลจากการเปลี่ ย นแปลงอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ ในส่วนของหนี้ภาระค้ำ�ประกัน โดยมียอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่ายรวม 51,996 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกู้ยืมระยะสั้นและหนี้สินที่มีภาระ

ดอกเบี้ ย ที่ ถึ ง กำ�หนดชำ�ระใน 1 ปี จำ�นวน 1,651 ล้ า นบาท ในขณะที่ ห นี้ สิ น ระยะยาวที่ มี ภ าระดอกเบี้ ย ที่ ยั ง ไม่ ถึ ง กำ�หนดชำ�ระมี จำ�นวน 50,345 ล้านบาท โดยหนี้สินสุทธิที่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย (Net Debt) เท่ากับ 50,437 ล้านบาท

สืบเนื่องจากแผนฟื้นฟูกิจการที่ได้รับอนุมัติจากศาลล้มละลายกลางเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 เงินกู้ยืมระยะยาวทั้งหมดจากสถาบัน

การเงิน ประมาณการหนีส ้ น ิ จากการเป็นผูค ้ ้ำ�ประกัน และเจ้าหนีอ ้ น ื่ ภายใต้แผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การทีม ่ ภ ี าระดอกเบีย ้ รวมเป็นส่วนหนึง่ ของแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การ

ทัง้ นี้ การจัดประเภทของเงินกูย ้ ม ื ประมาณการหนีส ้ น ิ และเจ้าหนีอ ้ น ื่ ภายใต้แผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การทีม ่ ภ ี าระดอกเบีย ้ ดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เป็นไปตามแผนการชำ�ระหนี้ที่ระบุในแผนฟื้นฟูกิจการ

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ติดลบ 39,554 ล้านบาท ติดลบลดลงจาก 44,089 ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โดยส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทติดลบลดลง เนื่องจากผลกำ�ไรจากการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท


138

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

สภาพคล่อง 1. กระแสเงินสด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทและบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิ จำ�นวน 1,559 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 425 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559

โดยมีส่วนประกอบหลักมาจาก

• เงิ น สดสุ ท ธิ ไ ด้ ม าจากกิ จ กรรมดำ � เนิ น งาน 3,626 ล้ า นบาท ประกอบด้ ว ย (1) เงิ น สดรั บ จากกิ จ กรรมดำ�เนิ น งานจำ�นวน 3,527 ล้านบาท และ (2) เงินสดรับจากการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงานสุทธิจำ�นวน 99 ล้านบาท

• เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมลงทุ น 421 ล้ า นบาท ประกอบด้ ว ย (1) เงิ น ฝากสถาบั น การเงิ น ที่ มี ข้ อ จำ�กั ด ในการใช้ เ พิ่ ม ขึ้ น 52 ล้านบาท (2) กระแสเงินสดจ่ายเพื่อการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรเพิ่มเติมระหว่างปี 367 ล้านบาท และ (3) กระแสเงินสดจ่ายจากกิจกรรมอื่นๆ 2 ล้านบาท

• เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน 2,071 ล้านบาท มีส่วนประกอบที่สำ�คัญ คือ (1) เงินสดจ่ายชำ�ระต้นทุนทางการเงิน

106 ล้านบาท (2) เงินสดจ่ายชำ�ระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินสุทธิ 40 ล้านบาท และ (3) เงินสดจ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว 1,818 ล้านบาท (4) เงินสดจ่ายจากกิจกรรมจัดหาเงินอื่น 107 ล้านบาท

2. อัตราส่วนสภาพคล่อง

บริษัทและบริษัทย่อยมีสภาพคล่องเพิ่มขึ้น ณ สิ้นปี 2560 เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ สิ้นปี 2559 โดยมีอัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียน

ต่อหนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยลดลง และระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ดังนี้

อัตราส่วนสภาพคล่อง

2560

2559

2558 (ปรับปรุงใหม่)

อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน (เท่า)

2.15

2.04

0.13

อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย (เท่า) ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

N.A.

N.A.

N.A.

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)1)

39

84

92

ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)1)

32

20

28

ปรับสูตรการค�ำนวณตามคู่มือของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0 ค�ำนวณโดยใช้จ�ำนวนวัน 365 วัน จากเดิม 360 วัน

1)

อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 2.15 เท่า เพิ่มขึ้นจาก 2.04 เท่า ณ สิ้นปี 2559 เนื่องจาก

ทั้งนี้ บริษัทได้เปิดเผยรายละเอียดเหตุการณ์สำ�คัญเกี่ยวกับการยกเลิกการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย การยื่นความจำ�นงขอฟื้นฟูกิจการ

การเพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้าคงเหลือของธุรกิจเหล็กแผ่นรีดร้อนดังกล่าวข้างต้น

ซึ่งมีผลต่อการดำ�เนินงานและฐานะการเงินในบริษัท และแนวทางของบริษัทในอนาคตไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 (จ) ภายในหัวข้อ

การดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทยังได้สรุปสาระสำ�คัญของแผนฟื้นฟูกิจการที่ศาลล้มละลายกลางเห็นชอบเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20 ด้วย


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

139

รายจ่ายเพื่อทำ�การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมตามแนวทางของสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ในปี 2560 บริษัทมีรายจ่ายเพื่อทำ�การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเป็นการทำ�การวิจัยและพัฒนาเพื่อการปรับปรุง

คุณภาพผลิตภัณฑ์เหล็กแผ่นรีดร้อนและพัฒนาขีดความสามารถการนำ�เอาผลิตภัณฑ์เหล็กแผ่นรีดร้อนไปใช้งานต่อ เป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 10,825,635.34 บาท

ราคาหุ้น

จากการที่บริษัทได้ยื่นคำ�ร้องขอฟื้นฟูกิจการต่อศาลล้มละลายกลางในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 และอยู่ระหว่างกระบวนการฟื้นฟูกิจการ

ภายใต้พระราชบัญญัติล้มละลายตามคำ�สั่งศาลให้บริษัทฟื้นฟูกิจการ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ขึ้น

เครื่องหมาย SP, NP และ NC ต่อหลักทรัพย์ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และหยุดทำ�การซื้อขายตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2559 เพื่อปรับปรุง ฐานะการเงินของบริษัท จึงไม่มีการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดปี 2560 โดยราคาปิดตลาด ณ วันที่ 26 เมษายน 2559 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ฯ เท่ากับ 0.05 บาทต่อหุ้น

ความคืบหน้าของการแก้ ไขการดำ�เนินงานหรือฐานะการเงิน (การฟื้นฟูกิจการ)

1. การชำ�ระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ

1.1 บริษัทชำ�ระหนี้ตามกำ�หนดแก่เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ ในปี 2560 เป็นเงินต้น 1,538,882,372.18 บาท และดอกเบี้ย

1.2 บริษัทมียอดชำ�ระหนี้เงินต้นก่อนกำ�หนดจากกระแสเงินสดส่วนเกิน สำ�หรับงบการเงินปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

95,230,004.72 บาท โดยรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,634,112,376.90 บาท ซึ่งเป็นการชำ�ระหนี้ได้ตามที่กำ�หนดในแผนฟื้นฟูกิจการ

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,144,405,000 บาท โดยเป็นการชำ�ระหนี้เงินต้นก่อนกำ�หนดสำ�หรับงวด 6 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2560 จำ�นวน 279,505,000 บาท และสำ�หรับงวด 6 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จำ�นวน 864,900,000 บาท

รวมการชำ�ระหนี้แก่เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการในปี 2560 และยอดชำ�ระหนี้ก่อนกำ�หนดจากกระแสเงินสดส่วนเกินสำ�หรับ

งบการเงินปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เป็นเงินทั้งสิ้น 2,778,517,376.90 บาท

2. การดำ�เนินการปรับโครงสร้างทุนตามข้อ 7.3 ของแผนฟื้นฟูกิจการ

2.1 เมื่ อ วั น ที่ 1 มีน าคม 2560 บริ ษั ท ได้ ดำ�เนิ น การจดทะเบีย นลดทุ น ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ จั ด สรรของบริ ษั ท โดยวิ ธีก ารตั ด หุ้ น ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้

เรียกชำ�ระจำ�นวน 18,097,401,000 หุ้น ต่อนายทะเบียนบริษัทมหาชนจำ�กัด กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์เป็นที่เรียบร้อย ทำ�ให้ มีทน ุ จดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 32,166,262,124 บาท แบ่งออกเป็นหุน ้ สามัญจำ�นวน 32,166,262,124 หุน ้ มูลค่าทีต ่ ราไว้หน ุ้ ละ 1 บาท

2.2 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560 บริษัทได้ดำ�เนินการจดทะเบียนลดทุนโดยการลดจำ�นวนหุ้นของบริษัทจำ�นวน 31,053,243,844

บาท ต่อนายทะเบียนบริษัทมหาชนจำ�กัด กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ทำ�ให้บริษัทมีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 1,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,113,018,280 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

2.3 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 บริษัทได้จดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุน

จดทะเบี ย น โดยการออกหุ้ น สามั ญ จำ�นวน 10,000,000,000 หุ้ น มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ หุ้ น ละ 1 บาท จากทุ น จดทะเบี ย นเดิ ม จำ�นวน 1,113,018,280 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่ จำ�นวน 11,113,018,280 บาท เพื่อรองรับการแปลงหนี้เป็นทุนให้กับเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ ในราคาแปลงหนี้เป็นทุนหุ้นละ 0.05 บาท

ต่ อ มา วั น ที่ 28 มี น าคม 2561 บริ ษั ท จดทะเบี ย นเพิ่ ม ทุ น ชำ�ระแล้ ว ในส่ ว นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จำ�นวน 10,000,000,000 บาท

ต่ อ นายทะเบี ย นบริ ษั ท มหาชนจำ�กั ด กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ ทำ�ให้ บ ริ ษั ท มี ทุ น จดทะเบี ย นและทุ น ชำ�ระแล้ ว จำ�นวน 11,113,018,280 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 11,113,018,280 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท



บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

142

รายงาน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) การไม่แสดงความเห็น

ข้าพเจ้าได้รับการว่าจ้างให้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน)

และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และของเฉพาะบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) (บริษัท) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม และงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 งบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกำ�ไร

ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลง

ส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันและหมายเหตุประกอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ

ข้าพเจ้าไม่สามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่มบริษัทและบริษัทที่กล่าวข้างต้นได้ เนื่องจาก

เรื่องที่กล่าวไว้ในวรรคเกณฑ์ในการไม่แสดงความเห็นมีนัยสำ�คัญ ข้าพเจ้าไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ เพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าว


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

143

เกณฑ์ ในการไม่แสดงความเห็น การถูกจำ�กัดขอบเขตการตรวจสอบโดยสถานการณ์

ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 และ 20 บริษัทมีเจ้าหนี้ที่ยื่นคำ�ขอรับชำ�ระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการ โดยบริษัท

มีการโต้แย้งในมูลหนี้กับเจ้าหนี้บางรายอันเนื่องมาจากมูลหนี้ไม่ถูกต้อง มูลหนี้ซ้ำ�ซ้อนหรือไม่มีมูลหนี้ ทั้งนี้ ณ วันที่ในรายงานฉบับนี้ยังมีเจ้าหนี้ 2 ราย ที่ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่มีคำ�สั่งถึงที่สุดให้ได้รับชำ�ระหนี้โดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ซึ่งมียอดหนี้รวมเงินต้นและดอกเบี้ย

ตามแผนฟื้นฟูกิจการจำ�นวน 3,113.8 ล้านบาท นอกจากนี้ มีเจ้าหนี้ 2 ราย ซึ่งมียอดหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการจำ�นวนเงินรวม 641.3 ล้านบาท

ซึ่งได้มีคำ�สั่งถึงที่สุดให้ได้รับชำ�ระหนี้ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้วแต่เจ้าหนี้ได้ยื่นอุทธรณ์คำ�สั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และคดียังอยู่ ในระหว่างการพิจารณาของศาล

กลุ่ ม บริ ษั ท และบริ ษั ท บั น ทึ ก ยอดหนี้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เจ้ า หนี้ ทั้ ง 4 รายดั ง กล่ า วเป็ น จำ � นวนเงิ น รวม 4.3 ล้ า นบาท ในงบการเงิ น รวม

และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยมีผลแตกต่างในยอดหนี้อันเนื่องมาจากยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรืออยู่ในระหว่างอุทธรณ์ เป็นจำ�นวนเงินรวม 3,750.8 ล้านบาท

ในปี 2558 ตามที่บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ได้แสดงความจำ�นงเพื่อเลิกกิจการและผู้ชำ�ระบัญชีได้ถูกแต่งตั้งและเข้ามา

ควบคุมบริษัทย่อยดังกล่าว เป็นเหตุให้ผู้ให้กู้รายใหญ่ของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ได้เรียกร้องให้ชำ�ระเงินกู้ยืมในทันที ซึ่งเงินกู้

ยืมดังกล่าวมีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด เป็นหลักประกันและค้ำ�ประกันโดยบริษัท ซึ่งผู้ให้กู้รายใหญ่ ดังกล่าวได้เรียกร้องขอให้บริษัทรับผิดชอบต่อมูลหนี้ในฐานะผู้ค้ำ�ประกันเงินกู้ยืมในเวลาเดียวกัน บริษัทได้บันทึกประมาณการหนี้สินภายใต้

สัญญาค้ำ�ประกัน เงินกู้ยืมของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จำ�กัด ทั้งจำ�นวนในปี 2558 เป็นจำ�นวนเงิน 29,976 ล้านบาท ปัจจุบัน บริษัทย่อยดังกล่าวยังอยู่ระหว่างกระบวนการชำ�ระบัญชี ทั้งนี้ ผู้ให้กู้อาจจะได้รับชำ�ระคืนหนี้บางส่วนในอนาคตจากกระบวนการชำ�ระบัญชี ซึ่งจำ�นวนเงินดังกล่าวจะถูกนำ�มาหักจากประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญาค้ำ�ประกันที่บริษัทได้บันทึกบัญชีไว้

เนื่องจากเรื่องที่กล่าวข้างต้นทำ�ให้บริษัทไม่สามารถหามูลค่าหนี้สินที่ต้องจ่ายในอนาคตเพื่อรับรู้รายการ ตามมาตรฐานการบัญชี ดังนั้น

ข้าพเจ้าจึงไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับมูลค่าของหนี้สินตามแผนฟื้นฟูกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ข้าพเจ้าจึงไม่สามารถระบุได้ว่าอาจมีรายการปรับปรุงใดๆ ที่จำ�เป็นต่อบัญชีหนี้สินภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ

ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานต่อเนื่อง

ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 (จ) กลุ่มบริษัทและบริษัทมีกำ�ไรสุทธิ สำ�หรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เป็นจำ�นวนเงิน 4,556.9 ล้านบาท และ 4,475.7 ล้านบาท ตามลำ�ดับ และ ณ วันเดียวกันมีขาดทุนสะสมเป็นจำ�นวนเงิน 40,667.2 ล้านบาท และ 40,683.2 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

ตามที่แสดงไว้ในแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทจำ�เป็นต้องมีกระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานที่เพียงพอต่อความต้องการเงินทุนหมุนเวียน

และเพื่อให้สามารถจ่ายชำ�ระหนี้สินจากการดำ�เนินงาน โดยวิธีการออกหุ้นทุนใหม่ การแปลงหนี้เป็นทุน จัดหาแหล่งเงินทุนใหม่ และการปรับ โครงสร้างหนี้กับเจ้าหนี้ บริษัทอธิบายความคืบหน้าในการดำ�เนินการเหล่านี้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

144

อย่างไรก็ตาม การฟื้นฟูกิจการจะถือว่าได้ดำ�เนินการเป็นผลสำ�เร็จตามแผน จะต้องมีเหตุการณ์ดังต่อไปนี้เกิดขึ้นคือ 1) บริษัทได้ชำ�ระหนี้

เงินต้นคงค้างให้แก่เจ้าหนี้ทุกรายตามแผนฟื้นฟูกิจการในจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของภาระหนี้เงินต้นคงค้างที่บริษัทต้องจ่ายชำ�ระ

ตามแผน และเหตุ ก ารณ์ ใ ดเหตุ ก ารณ์ ห นึ่ ง ระหว่ า ง 2) บริ ษั ท ได้ รั บ เงิ น ลงทุ น ใหม่ จ ากผู้ ร่ ว มลงทุ น มาชำ � ระหนี้ เ ป็ น ผลให้ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ในงบการเงินเป็นบวก หรือ 3) มีการแปลงหนี้เป็นทุนตามแผนฟื้นฟูกิจการและทำ�ให้ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการเงินเป็นบวก

เนื่องจากแผนฟื้นฟูกิจการเพิ่งเริ่มต้นในปลายปี 2559 และในปี 2560 บริษัทยังสามารถปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูกิจการได้ และมีการชำ�ระหนี้

ก่อนกำ�หนดได้สว ่ นหนึง่ อย่างไรก็ตามแผนฟืน ้ ฟูกจ ิ การกำ�หนดระยะเวลาชำ�ระหนีค ้ น ื ไว้ 12 ปี จึงยังไม่สามารถสรุปได้วา ่ การดำ�เนินการตามแผน

ฟื้ น ฟู จ ะสำ � เร็ จ ลงได้ สถานการณ์ ดั ง กล่ า วได้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความไม่ แ น่ น อนของการดำ � เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ของกลุ่ ม บริ ษั ท

และบริษัท ทั้งนี้ มูลค่าที่จะได้รับจากสินทรัพย์อาจจะน้อยกว่ามูลค่าตามบัญชีอย่างมีนัยสำ�คัญ หากกลุ่มบริษัทและบริษัทไม่สามารถดำ�เนินงาน ต่อเนื่องต่อไปได้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการนี้ไม่ได้รวมการจัดประเภทรายการใหม่หรือรายการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สิน ที่จำ�เป็น หากกลุ่มบริษัทและบริษัทไม่สามารถจัดหากระแสเงินสดและเงินทุนเพิ่มจากแหล่งอื่นอย่างเพียงพอ

ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ข้าพเจ้าขอให้สังเกตเรื่องในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 กลุ่มบริษัทและบริษัท

ได้ขายสินค้าตามปกติธุรกิจให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและการร่วมค้าเป็นจำ�นวนเงินรวม 5,823.1 ล้านบาท และ 5,823.1 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 23 ของยอดขายสินค้ารวมของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ยอดค้างชำ�ระของลูกหนี้การค้าจากกิจการ

ที่เกี่ยวข้องกันสุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของกลุ่มบริษัทและของบริษัทมีจำ�นวนเงินรวม 982.6 ล้านบาท และ 961.5 ล้านบาท ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ กลุม ่ บริษท ั และบริษท ั ได้ซอ ื้ สินค้าและบริการตามปกติธรุ กิจจากบริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกันเป็นจำ�นวนรวม 131.2 ล้านบาท และ 561.2 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

เรื่องอื่น

งบการเงินของกลุ่มบริษัทและของบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีท่านอื่น ซึ่งไม่แสดง

ความเห็นไว้ตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 เนื่องจาก 1) ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญเกี่ยวกับการดำ�เนินงานต่อเนื่อง และความสำ�เร็จของแผนฟื้นฟูกิจการ 2) ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญเกี่ยวกับยอดคงเหลือของบัญชีเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่นและหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 3) การถูกจำ�กัดขอบเขตการตรวจสอบ ของข้อมูลเปรียบเทียบ


145

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ทำ � และการนำ � เสนองบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การเหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วร ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในที่ ผู้ บ ริ ห ารพิ จ ารณาว่ า จำ � เป็ น เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด ทำ � งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด

ในการจัดทำ�งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริษัทและบริษัท

ในการดำ�เนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดำ�เนินงานต่อเนื่องตามความเหมาะสม และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ�หรับการดำ�เนินงาน ต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทหรือหยุดดำ�เนินงานหรือไม่สามารถดำ�เนินงานต่อเนื่องต่อไปได้

ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทำ�รายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัท

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

การตรวจสอบของข้ า พเจ้ า มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเชื่ อ มั่ น อย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ

โดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกัน ว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และถือว่ามีสาระสำ�คัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัด

ต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จากการใช้งบการเงินเหล่านี้

นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561


146

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

สินทรัพย์

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

5

1,558,770,463

425,055,579

1,472,841,805

356,536,202

ลูกหนี้การค้า

6

1,205,026,297

1,504,398,854

1,169,968,722

1,475,555,532

ลูกหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

4

270,308,689

267,707,207

305,068,943

281,248,152

สินค้าคงเหลือ

7

7,368,319,367

6,509,746,594

7,357,377,713

6,496,264,617

910,982,488

987,973,667

852,194,922

944,096,520

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ที่ถือไว้จ�ำหน่ายจากการช�ำระบัญชี ของบริษัทย่อย

2 (ฉ)

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

-

-

11,313,407,304

9,694,881,901

56,807,634

4,683,334

11,157,452,105

9,553,701,023

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจ�ำกัดในการใช้

8

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

9

-

-

เงินลงทุนในการร่วมค้า

11

2,709,650,450

เงินลงทุนระยะยาวอื่น

12

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

13

35,784,832

-

278,999,930

278,999,930

2,706,332,473

3,159,668,346

3,159,668,346

-

-

-

-

11,302,042,288

11,634,087,178

9,902,762,583

10,153,951,005

128,555,280

142,487,575

122,571,280

133,042,950

17,853,344

25,666,845

9,437,209

19,735,808

7,975,849

17,810,487

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

14,224,346,205

14,532,993,213

13,507,762,820

13,743,472,718

รวมสินทรัพย์

25,537,753,509

24,227,875,114

24,665,214,925

23,297,173,741

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

14

-

-


147

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

15

72,110,249

112,361,675

เจ้าหนี้การค้า

16

3,033,056,160

4

เจ้าหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

2,244,304,200

3,002,207,617

2,204,976,301

41,722,401

36,169,356

44,819,133

45,066,594

15,935,722

48,705,245

-

-

1,000,281

-

840,129

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

-

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี

18

1,038,619,703

1,013,618,655

1,038,619,703

1,013,618,655

ประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญาค�้ำประกันและอื่นๆ

18

498,484,800

455,667,455

498,484,800

455,667,455

18

60,632,780

73,450,343

60,632,780

73,450,343

เจ้าหนี้อื่นภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี ดอกเบี้ยค้างจ่ายภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

18

-

4,403,967

4

-

223,274,305

7,990,859

231,265,164

19,152,118

691,131

19,152,118

ประมาณการหนี้สินจากสัญญาที่สร้างภาระ

691,131

ภาษีเงินได้ค้างจ่าย

-

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

17

รวมหนี้สินหมุนเวียน

4,501,994

-

-

4,403,967

-

513,048,746

506,801,307

463,209,163

466,211,632

5,274,301,692

4,743,410,901

5,116,655,186

4,514,652,358

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

18

23,319,835,439

24,599,428,069

23,319,835,439

24,599,428,069

เจ้าหนี้อื่นภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ

18

1,853,026,021

1,910,854,059

1,853,026,021

1,910,854,059

ประมาณการหนี้สินภายใต้สัญญาค�้ำประกันและอื่นๆ

18

25,476,910,040

28,489,627,803

25,476,910,040

28,489,627,803

ดอกเบี้ยค้างจ่ายภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ

18

8,277,827,269

7,617,098,251

8,277,827,269

7,617,098,251

17,739,839

37,111,357

-

-

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ประมาณการหนี้สินไม่หมุนเวียนส�ำหรับผลประโยชน์ พนักงาน

19

192,018,776

178,571,581

159,047,386

147,464,628

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

14

61,403,631

90,429,591

31,280,295

63,139,293

823,876

823,876

823,876

823,877

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

59,199,584,891

62,923,944,587

59,118,750,326

62,828,435,980

รวมหนี้สิน

64,473,886,583

67,667,355,488

64,235,405,512

67,343,088,338

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


148

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น

21

ทุนจดทะเบียน

11,113,018,280

50,263,663,124

11,113,018,280

50,263,663,124

1,113,018,280

32,166,262,124

1,113,018,280

32,166,262,124

21

-

(5,678,076,131)

-

(5,678,076,131)

21

-

366,207,178

-

366,207,178

-

530,226,819

-

530,226,819

ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนต�่ำกว่ามูลค่าหุ้นสามัญ ทุนที่ได้รับจากการซื้อคืนหุ้นกู้แปลงสภาพด้อยสิทธิ จากผู้ถือหุ้น ก�ำไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว ส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม)

(40,667,235,140)

รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ขาดทุนเกินทุน/รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(71,473,832,280)

(40,683,208,867)

(71,430,534,587)

(39,554,216,860) (44,089,212,290) (39,570,190,587) (44,045,914,597) 10

618,083,786

649,731,916

-

-

(38,936,133,074) (43,439,480,374) (39,570,190,587) (44,045,914,597) 25,537,753,509

24,227,875,114

24,665,214,925

23,297,173,741


149

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้เงินปันผล ผลกระทบจากอุทกภัยสุทธิ

24,976,384,730

19,109,985,667

355,188,684

714,173,740

-

352,039,068

2,952,224,033

447,598,236

2,951,627,200

447,445,411

-

56,100,000

15,300,000

-

88,093,705

24

รายได้อื่น

142,551,415

24,975,851,521

19,102,407,550

-

25,680,537

33,216,887

32,896,926

38,290,423

28,452,029,399

20,304,974,530

28,104,569,352

19,955,482,452

21,602,249,736

14,776,298,610

21,698,627,852

14,837,519,543

ต้นทุนการให้บริการ

238,490,835

419,125,217

ค่าใช้จ่ายในการขาย

437,308,141

378,604,730

428,442,617

372,999,191

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

537,471,935

3,314,930,434

452,773,321

3,231,181,415

รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย

ประมาณการภาระดอกเบี้ยจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ค่าตอบแทนผู้บริหาร

4

ขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ (กลับรายการ) ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย

1,690,605,583

-

185,540,695

-

1,690,605,583

87,512,203

74,278,600

73,992,517

61,067,179

(18,460,987)

19,152,118

(18,460,987)

19,152,116

1,034,740,671

2,633,202,252

1,025,329,020

2,614,082,566

23,919,312,534

23,306,197,544

23,660,704,340

23,012,148,288

ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) ในตราสารทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย การร่วมค้า

11

ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ (ค่าใช้จ่าย) ผลประโยชน์ภาษีเงินได้

25

ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี

-

-

4,535,704,236

2,987,371

(2,833,413,724)

167,809,290

4,443,865,012

(3,056,665,836)

21,212,459

(1,068,483)

31,858,998

4,556,916,695

(2,834,482,207)

4,475,724,010

(3,028,825,985)

4,534,664,825

(2,869,108,143)

4,475,724,010

(3,028,825,985)

-

-

27,839,851

การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาควบคุม

10

ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

26

22,251,870

34,625,936

4,556,916,695

(2,834,482,207)

4,475,724,010

(3,028,825,985)

4.07

(2.58)

4.02

(2.72)


150

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

หมายเหตุ ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี

งบการเงินรวม 2560 2559 4,556,916,695

(2,834,482,207)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 4,475,724,010

(3,028,825,985)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ถูกจัดประเภทใหม่ไว้ในก�ำไร หรือขาดทุนภายหลัง: ก�ำไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ พนักงานที่ก�ำหนดไว้ - กลุ่มบริษัท - การร่วมค้า

11

330,605

46,787,247

-

9,438,975

-

(6,165,491)

-

29,679,535 -

ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - สุทธิจากภาษี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

330,605

50,060,731

-

(2,743,949) 26,935,586

4,557,247,300

(2,784,421,476)

4,475,724,010

(3,001,890,399)

4,534,995,430

(2,818,699,723)

4,475,724,010

(3,001,890,399)

-

-

4,475,724,010

(3,001,890,399)

การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

22,251,870 4,557,247,300

34,278,247 (2,784,421,476)


1,113,018,280

-

-

5,678,076,131

-

-

-

-

(31,053,243,844)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

เงินปันผลจ่ายในส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอ ี �ำนาจควบคุม

ลดทุน

รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

ก�ำไร (ขาดทุน)

(5,678,076,131)

(5,678,076,131)

-

-

-

-

(5,678,076,131)

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

-

32,166,262,124

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

32,166,262,124

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

-

เงินปันผลจ่ายในส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอ ี �ำนาจควบคุม

-

รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

-

32,166,262,124

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

21

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว

ก�ำไร (ขาดทุน)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

-

-

(366,207,178)

-

-

-

366,207,178

366,207,178

-

-

-

-

366,207,178

ทุนที่ ได้รับจาก การซื้อคืนหุ้นกู้ แปลงสภาพ ด้อยสิทธิ จากผู้ถือหุ้น

-

-

(530,226,819)

-

-

-

530,226,819

530,226,819

-

-

-

-

530,226,819

ส�ำรอง ตามกฎหมาย

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น ของบริษัท

-

(2,818,699,723)

50,408,420

(2,869,108,143)

-

-

4,534,995,430

330,605

4,534,664,825

(40,667,235,140) (39,554,216,860)

-

26,271,601,710

4,534,995,430

330,605

4,534,664,825

(71,473,832,280) (44,089,212,290)

(71,473,832,280) (44,089,212,290)

-

(2,818,699,723)

50,408,420

(2,869,108,143)

(68,655,132,557) (41,270,512,567)

ยังไม่ ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม)

ก�ำไร (ขาดทุน) สะสม

งบการเงินรวม

(53,900,000)

-

4,557,247,300

330,605

4,556,916,695

(43,439,480,374)

(43,439,480,374)

(14,700,000)

(2,784,421,476)

50,060,731

(2,834,482,207)

(40,640,358,898)

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น

618,083,786 (38,936,133,074)

(53,900,000)

-

22,251,870

-

22,251,870

649,731,916

649,731,916

(14,700,000)

34,278,247

(347,689)

34,625,936

630,153,669

ส่วนของส่วนได้เสีย ที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

หน่วย : บาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

151


32,166,262,124

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ลดทุน

1,113,018,280

(31,053,243,844)

-

-

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

-

ก�ำไร (ขาดทุน)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

32,166,262,124

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

-

-

รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

-

32,166,262,124

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

21

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว

ก�ำไร (ขาดทุน)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

-

5,678,076,131

-

-

-

(5,678,076,131)

(5,678,076,131)

-

-

-

(5,678,076,131)

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

-

(366,207,178)

-

-

-

366,207,178

366,207,178

-

-

-

366,207,178

ทุนที่ ได้รับจาก การซื้อคืนหุ้นกู้ แปลงสภาพ ด้อยสิทธิ จากผู้ถือหุ้น

-

(530,226,819)

-

-

-

530,226,819

530,226,819

-

-

-

530,226,819

ส�ำรอง ตามกฎหมาย

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น

(3,001,890,399)

26,935,586

(3,028,825,985)

-

4,475,724,010

-

4,475,724,010

(40,683,208,867) (39,570,190,587)

26,271,601,710

4,475,724,010

-

4,475,724,010

(71,430,534,587) (44,045,914,597)

(71,430,534,587) (44,045,914,597)

(3,001,890,399)

26,935,586

(3,028,825,985)

(68,428,644,188) (41,044,024,198)

ยังไม่ ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม)

ก�ำไร (ขาดทุน) สะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หน่วย : บาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

152


153

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี

4,556,916,695

(2,834,482,207)

4,475,724,010

(3,028,825,985)

รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี ต้นทุนทางการเงิน ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ขาดทุนจากมูลค่าสินค้าคงเหลือลดลง (กลับรายการ) ตัดจ�ำหน่ายภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากสัญญาที่สร้างภาระ (กลับรายการ) ขาดทุน (ก�ำไร) จากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ตัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์และเครื่องจักร ประมาณการภาระดอกเบี้ยจากการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า (สุทธิจากภาษีเงินได้) เงินปันผลรับ ค่าใช้จ่าย (รายได้) กลับรายการภาษีเงินได้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

742,126,121

694,309,453

1,034,740,671

2,633,202,252

(2,770,243,458) 8,032,163 (74,163,700) 6,929,493

(224,695,796) 2,677,309,056 (336,749,218) -

636,506,294

585,252,922

1,025,329,020

2,614,082,566

(2,769,857,183) 8,032,163 (74,067,097) 6,929,493

(224,844,107) 2,677,309,056 (336,749,218) -

20,545,454

24,074,656

16,698,008

19,688,687

(18,460,987)

19,152,118

(18,460,987)

19,152,118

(172,731) 45,281,366 (2,987,371) (21,212,459)

(1,194,130) 19,000,000 1,690,605,583 (167,809,290) 1,068,483

(149,170) 16,341,998 -

(844,499) 1,690,605,583 -

(56,100,000)

(15,300,000)

(31,858,998)

(27,839,851)


154

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

ก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน

3,527,331,257

4,193,790,960

3,235,067,551

3,971,687,272

76,297,349

313,953,547

82,311,832

261,715,984

การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

(2,601,482)

(49,668,160)

(23,820,790)

(19,422,744)

(784,409,073)

(3,224,441,092)

(787,045,999)

(3,220,112,941)

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(5,179,534)

(776,386,067)

19,112,283

(795,305,983)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

10,298,599

(6,825,856)

9,834,639

(9,996,767)

สินค้าคงเหลือ

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

809,027,343

314,269,689

5,553,045

15,226,092

21,975,896

(70,096,385)

3,658,293,400

(93,439) 709,729,289

817,320,194 (247,461) (18,730,931) 3,333,801,318

282,748,023 8,382,026 (37,753,363) 441,941,507

(7,098,259)

(9,992,286)

(5,115,250)

(2,939,400)

(24,957,381)

(26,910,748)

(1,300,303)

(12,555,431)

3,626,237,760

672,826,255

3,327,385,765

426,446,676


155

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(52,124,300)

(35,784,832)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจ�ำกัดในการใช้ (เพิ่มขึ้น) ลดลง ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

-

(367,390,842)

(158,675,781)

(315,893,966)

(120,716,277)

(2,124,750)

(1,201,055)

(859,860)

(1,201,055)

ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

194,006

เงินปันผลรับ

-

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

8,036,809

1,143,171 -

168,329

887,851

56,100,000

15,300,000

(421,445,886)

(150,696,856)

(296,270,329)

(105,729,481)

(105,843,889)

(22,231,661)

(96,029,351)

(5,803,377)

(40,251,426)

(158,066,285)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) จ่ายช�ำระหนี้เงินกู้ยืมระยะยาว จ่ายช�ำระหนี้เจ้าหนี้อื่นตามแผนฟื้นฟูกิจการ จ่ายช�ำระหนี้ภายใต้สัญญาค�้ำประกันและอื่นๆ จ่ายช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

(1,254,591,582)

-

(1,254,591,582)

-

(70,645,600)

-

(70,645,600)

-

(492,703,170)

-

(492,703,170)

-

(53,141,323) (53,900,000) (2,071,076,990) 1,133,714,884

(58,584,380) (14,700,000)

(840,130) -

(253,582,326) (1,914,809,833) 268,547,073

1,116,305,603

(2,914,598) (8,717,975) 311,999,220

425,055,579

156,508,506

356,536,202

44,536,982

1,558,770,463

425,055,579

1,472,841,805

356,536,202

17,085,984

1,535,627

17,085,984

1,357,526

รายการไม่เป็นเงินสดที่ส�ำคัญ เจ้าหนี้อื่นที่ดิน อาคาร อุปกรณ์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


156

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุ

สารบัญ

หน้า

1

ข้อมูลทั่วไป

157

2

เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน

157

3

นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ

162

4

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

175

5

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

186

6

ลูกหนี้การค้า

186

7

สินค้าคงเหลือ

188

8

เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจำ�กัดในการใช้

188

9

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

189

10

ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม

190

11

เงินลงทุนในการร่วมค้า

192

12

เงินลงทุนระยะยาวอื่น

196

13

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

197

14

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

201

15

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

203

16

เจ้าหนี้การค้า

204

17

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

204

18

หนี้สินภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ

205

19

ประมาณการหนี้สินไม่หมุนเวียนสำ�หรับผลประโยชน์พนักงาน

207

20

แผนฟื้นฟูกิจการ

210

21

ทุนเรือนหุ้น

222

22

ส่วนงานดำ�เนินงาน

223

23

ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

226

24

ผลกระทบจากเหตุอุทกภัย

227

25

ภาษีเงินได้

228

26

กำ�ไรต่อหุ้น

230

27

สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน

231

28

เครื่องมือทางการเงิน

233

29

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

241

30

การจัดประเภทรายการใหม่

245

31

การอนุมัติงบการเงิน

245


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

157

หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จากัด (มหาชน) (“บริ ษัท”) เป็ นนิติบุคคลที่จดั ตังขึ ้ ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตังอยู ้ ่เลขที่ 28/1 อาคารประภาวิทย์ ชัน้ 2-3 ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย และโรงงานตังอยู ้ ่เลขที่ 9 หมู่ 7 ตาบลแม่ราพึง อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ประเทศไทย บริ ษัท บริ ษัทย่อยและการร่ วมค้ าซึง่ ต่อไปนี ้รวมเรี ยกว่า “กลุ่ม บริ ษัท” บริ ษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือนกันยายน 2537 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ได้ แก่ บริ ษัท เครื อ สหวิริ ยา จากัด (ถือ หุ้นร้ อยละ 13.18 เป็ นนิติบุคคลที่จดั ตังขึ ้ ้นในประเทศไทย) Vanomet Holding AG (ถือหุ้นร้ อยละ 16.56 เป็ นนิติบุคคลที่จดั ตังขึ ้ ้นในประเทศสวิตเซอร์ แลนด์) และ บริ ษัท สหวิริยา อินเตอร์ สตีล โฮลดิ ้งส์ จากัด (ถือหุ้น ร้ อยละ 4.86 เป็ นนิตบิ คุ คลที่จดั ตังขึ ้ ้นในประเทศไทย) บริ ษัทดาเนินธุรกิจหลัก เกี่ ยวกับการผลิต และจาหน่ายแผ่นเหล็กรี ดร้ อนชนิดม้ วน รายละเอียดของบริ ษัทย่อยและการร่ วมค้ า ได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 9 และ 11

2

เกณฑ์ การจัดทางบการเงิน

(ก)

เกณฑ์ การถือปฏิบัติ งบการเงินนี ้ได้ จดั ทาขึ ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีที่ประกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระ บรมราชูปถัมภ์ (“สภาวิชาชี พบัญชี ”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พย์ ลงวันที่ 22 มกราคม 2544 เรื่ องการจัดทาและส่งงบการเงินและรายการเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัทจดทะเบียน พ.ศ. 2544 โดยรู ปแบบการนาเสนองบการเงินไม่แตกต่างอย่างมีสาระสาคัญจากประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้ าลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 เรื่ อง กาหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559

(ข)

เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี ้จัดทาขึ ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้ นที่กล่าวไว้ ในนโยบายการบัญชี


158

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(ค)

สกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานและนาเสนองบการเงิน งบการเงินนี ้จัดทาและแสดงหน่วยเงินตราเป็ นเงินบาทซึง่ เป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานของบริ ษัท ข้ อมูลทางการเงินทังหมดมี ้ การปั ด เศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้ แสดงเป็ นหลักพัน ยกเว้ นที่ระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น

(ง)

การใช้ วจิ ารณญาณและการประมาณการ ในการจัดทางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริ หารต้ องใช้ วจิ ารณญาณ การประมาณและข้ อสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกาหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรั พย์ หนีส้ ิน รายได้ และ ค่าใช้ จ่าย ผลที่เกิดขึ ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที่ใช้ ในการจัดทางบการเงินจะได้ รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรั บประมาณการทางบัญชีจะ บันทึกโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็ นต้ นไป ข้อสมมติ และความไม่แน่นอนของการประมาณการ ข้ อมูลเกี่ยวกับข้ อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการที่สาคัญซึง่ มีความเสี่ยงอย่างมีนยั สาคัญที่เป็ นเหตุให้ ต้องมี การ ปรับปรุ งจานวนเงินที่รับรู้ ในงบการเงิน ซึง่ ได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี ้ หมายเหตุข้อ 2 (จ) หมายเหตุข้อ 9, 11 และ 13 หมายเหตุข้อ 14 หมายเหตุข้อ 19 หมายเหตุข้อ 29

การดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง การทดสอบการด้ อยค่าเกี่ยวกับการใช้ ข้อสมมติที่สาคัญในการประมาณการมูล ค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน การรับรู้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้ การคาดการณ์กาไรทางภาษีในอนาคตที่จะนา ขาดทุนทางภาษีไปใช้ ประโยชน์ การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ที่กาหนดไว้ เกี่ยวกับข้ อ สมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย การรับรู้ รายการและการประเมินหนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้น เกี่ยวกับข้ อสมมติสาคัญ ของความเป็ นไปได้ ที่จะสูญเสียทรัพยากรและความน่าจะเป็ นของมูลค่าความ เสียหาย


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

159

การวัดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัท/กลุ่มบริ ษัทหลายข้ อกาหนดให้ มีการวัดมูลค่ายุติธรรมทังสิ ้ นทรั พย์และหนีส้ ิน ทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน บริ ษัท/กลุ่มบริ ษัทกาหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรม กรอบแนวคิดนี ้รวมถึงกลุ่มผู้ประเมินมูลค่าซึง่ มี ความรับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุตธิ รรมที่มีนยั สาคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 และรายงานโดยตรงต่อผู้บริ หาร สูงสุดทางด้ านการเงิน กลุ่มผู้ประเมินมูลค่ามีการทบทวนข้ อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ และปรับปรุ งการวัดมูลค่าที่มีนยั สาคัญอย่างสม่าเสมอ หากมีการใช้ ข้ อมูลจากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลค่ายุตธิ รรม เช่น ราคาจากนายหน้ า หรื อการตังราคา ้ กลุ่มผู้ประเมินได้ ประเมินหลักฐานที่ได้ มาจาก บุคคลที่สามที่สนับสนุนข้ อสรุ ปเกี่ยวกับการวัดมูลค่ารวมถึงการจัดระดับชันของมู ้ ลค่ายุติธ รรมว่าเป็ นไปตามที่กาหนดไว้ ในมาตรฐาน การรายงานทางการเงินอย่างเหมาะสม ประเด็นปัญหาของการวัดมูลค่าที่มีนยั สาคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท/กลุ่มบริ ษัท เมื่อ วัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรั พย์หรื อหนีส้ ิน บริ ษัท/กลุ่มบริ ษัทได้ ใช้ ข้ อมูลที่สามารถสังเกตได้ ให้ มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ มูลค่า ยุตธิ รรมเหล่านี ้ถูกจัดประเภทในแต่ละลาดับชันของมู ้ ลค่ายุตธิ รรมตามข้ อมูลที่ใช้ ในการประเมินมูลค่า ดังนี ้  ข้ อมูลระดับ 1 เป็ นราคาเสนอซื ้อขาย (ไม่ต้องปรับปรุ ง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสินทรัพย์หรื อหนี ้สินอย่างเดียวกัน  ข้ อมูลระดับ 2 เป็ นข้ อมูลอื่นที่สงั เกตได้ โดยตรง (เช่น ราคาขาย) หรื อโดยอ้ อม (เช่น ได้ มาจากราคา) สาหรับสินทรัพย์นนหรื ั้ อ หนี ้สินนันนอกเหนื ้ อจากราคาเสนอซื ้อขายซึง่ รวมอยู่ในข้ อมูลระดับ 1  ข้ อมูลระดับ 3 เป็ นข้ อมูลสาหรับสินทรัพย์หรื อหนี ้สินที่ไม่ได้ มาจากข้ อมูลที่สงั เกตได้ (ข้ อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ ) หากข้ อมูลที่นามาใช้ ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์หรื อหนี ้สินถูกจัดประเภทลาดับชันของมู ้ ลค่ายุติธรรมที่แตกต่างกัน การวัด มูลค่ายุตธิ รรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามลาดับชันของมู ้ ลค่ายุติธรรมของข้ อมูลที่อยู่ในระดับต่าสุดที่ มีนยั สาคัญสาหรับการวัดมูลค่ายุตธิ รรมโดยรวม บริ ษัท/กลุ่มบริ ษัทรับรู้ การโอนระหว่างลาดับชันของมู ้ ลค่ายุตธิ รรม ณ วันสิ ้นรอบระยะเวลารายงานที่เกิดการโอนขึ ้น ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้ อสมมติฐานที่ใช้ ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรม อยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดังต่อไปนี ้  หมายเหตุข้อ 28 เครื่ องมือทางการเงิน


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(จ)

160

การดาเนินงานอย่ างต่ อเนื่อง สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทมีกาไรสุทธิเป็ นจานวนเงิน 4,556.9 ล้ านบาท (2559 : ขาดทุนสุทธิจานวนเงิน 2,834.5 ล้ านบาท) และ ณ วันเดียวกัน กลุ่มบริ ษัทมีขาดทุนสะสมเป็ นจานวนเงิน 40,667.2 ล้ านบาท (2559: จานวนเงิน 71,473.8 ล้ านบาท) สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษัทมีกาไรสุทธิเป็ นจานวนเงิน4,475.7 ล้ านบาท (2559 : ขาดทุนสุทธิจานวนเงิน 3,028.8 ล้ านบาท) และ ณ วันเดียวกัน บริ ษัทมีขาดทุนสะสมเป็ นจานวนเงิน 40,683.2 ล้ านบาท (2559: จานวนเงิน 71,430.5 ล้ านบาท) เนื่องจากในปี 2558 บริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ได้ หยุดการผลิตเหล็กแท่งแบน และผู้ชาระบัญชีได้ ถูกแต่งตังและเข้ ้ ามา ควบคุมและถูกเรี ยกให้ ชาระเงินคืนเงินกู้ยืม โดยบริ ษัทถูกเรี ยกร้ องให้ รับผิดชอบในฐานะผู้ค ้าประกันเงินกู้ยืม นอกจากนี ผ้ ้ ใู ห้ ก้ ขู อง บริ ษัทเรี ยกร้ องการชาระเงินกู้ยืม ทังหมดของบริ ้ ษัทในทันที เหตุการณ์ ดงั กล่าวเป็ นเหตุให้ คณะกรรมการบริ ษัทอนุมัติให้ บริ ษัทยื่น ความจานงเพื่อขอฟื ้นฟูกิจการต่อศาลล้ มละลายกลางเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 และเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 ศาลล้ มละลาย กลางได้ มีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนฟื น้ ฟูกิจการ ซึง่ แผนกาหนดให้ บริ ษัทเป็ นผู้บ ริ หารแผน รายละเอียดของแผนฟื น้ ฟูกิจการได้ เปิ ดเผย ไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 20 งบการเงินรวมและงบเฉพาะกิจการได้ จดั ทาขึ ้นโดยผู้บริ หารตามเกณฑ์การดาเนินงานอย่างต่อเนื่องบนข้ อสมมติที่ว่าการฟื น้ ฟูกิจการจะ ประสบผลสาเร็ จ และกิจการจะมีเงินทุนและวงเงินสินเชื่อเพียงพอเพื่อใช้ ในการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริ ษัทและบริ ษัท อย่างไรก็ตาม ความเหมาะสมของข้ อสมมตินีข้ ึน้ อยู่กับการประสบความสาเร็ จของแผนฟื ้นฟูกิจการ รวมทัง้ การดาเนินมาตรการในการปรั บปรุ ง ความสามารถในการทากาไรและกระแสเงินสด ความสาเร็ จในการปรับโครงสร้ างทุน ความสามารถในการจ่ายชาระหนี ้ตามกาหนดและ ความสามารถในการจัดหาเงินทุนจากแหล่งอื่นเพื่อให้ มีเงินทุนเพียงพอ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ได้ รวมการจัดประเภทรายการใหม่หรื อรายการปรับปรุ งสินทรัพย์และหนี ้สิน ซึง่ อาจ จาเป็ นหากกลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทไม่สามารถดาเนินงานต่อ เนื่องต่อไปได้ ทังนี ้ ้มูลค่าที่จะได้ รับจากสินทรั พย์อาจจะน้ อยกว่ามูลค่า ตามบัญชีอย่างมีนยั สาคัญ และอาจจะมีหนี ้สินที่อาจจะเกิดขึ ้นเพิ่มเติม หากกลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทไม่สามารถดาเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้


161

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(ฉ)

การชาระบัญชีและการสิ้นสุดการจัดทางบการเงินรวมของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด และงบการเงินของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด บริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด เป็ นผู้ผลิตเหล็กและเหล็กแท่งแบนครบวงจร จากผลการดาเนินงานขาดทุนที่ผ่านมาและ การลดลงของราคาเหล็กโลกอย่างต่อเนื่องทาให้ ในปี 2558 บริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ได้ หยุดการผลิตเหล็กแท่งแบน และผู้ชาระบัญชีได้ ถกู แต่งตังและเข้ ้ ามาควบคุม ส่งผลให้ บริ ษัทไม่มีอานาจในการควบคุมต่อธุรกิจหรื อการดาเนินงานของ บริ ษัท สห วิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด อีกต่อไป ด้ วยเหตุดงั กล่าวสินทรัพย์และหนี ้สินของบริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ถูกตัด รายการออกจากงบการเงินรวมและถูกแทนที่ด้วยการรั บรู้ รายการเงินลงทุนในบริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ซึ่งถูกตัด จาหน่ายเต็มจานวนด้ วยมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน ในระหว่างปี ส่วนได้ เสียสุทธิและมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ได้ จดั ประเภทเป็ นสินทรัพย์ที่ถือไว้ เพื่ อ จาหน่ายในงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม และ 2560 และ 2559 ดังต่อไปนี ้ หน่วย : พันบาท สัดส่วนความ เป็ นเจ้ าของ

ราคาทุน

การด้ อยค่า

ราคาทุน-สุทธิ

(ร้อยละ) เงินลงทุนบริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด (ช)

100

27,481,792

27,481,792

-

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นทีเ่ ริ่ มมี ผลบังคับใช้ในปี ปัจจุบนั ในระหว่างปี บริ ษัทได้ นามาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2559) รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญ ชี ฉบับใหม่ ซึ่งมี ผลบังคับใช้ สาหรั บงบการเงินที่มีร อบระยะเวลาบัญ ชี ที่เริ่ มในหรื อ หลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้ รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้ มีขึ ้นเพื่อให้ มีเนื ้อหาเท่าเทียมกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่ เป็ นการปรั บปรุ งถ้ อยคาและคาศัพท์ การตีความและการให้ แนว ปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผู้ใช้ มาตรฐาน การนามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบตั นิ ี ้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงินของกลุ่มบริ ษัทและ บริ ษัท


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

162

มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นทีจ่ ะมี ผลบังคับใช้ในอนาคต ในระหว่างปี ปัจจุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ ประกาศใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2560) จานวนหลายฉบับ ซึง่ มีผลบังคับใช้ สาหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2561 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้ รั บการปรั บปรุ งหรื อ จัดให้ มีขึน้ เพื่ อ ให้ มีเนือ้ หาเท่าเทียมกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งและอธิบายให้ ชดั เจนเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทเชื่อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง จะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญ ต่องบการเงินเมื่อนามาถือปฏิบตั ิ 3

นโยบายการบัญชีท่ สี าคัญ นโยบายการบัญชีที่นาเสนอดังต่อไปนี ้ได้ ถือปฏิบตั โิ ดยสม่าเสมอสาหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

(ก)

เกณฑ์ ในการจัดทางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้ วยงบการเงินของบริ ษัท บริ ษัทย่อย (รวมกันเรี ยกว่า“กลุ่มบริ ษัท”) และการร่ วมค้ า และส่วนได้ เสียของกลุ่ม บริ ษัทในการร่ วมค้ า การรวมธุรกิ จ กลุ่มบริ ษัทบันทึกบัญชีสาหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื ้อ เมื่อการควบคุมถูกโอนไปยังกลุ่มบริ ษัท ยกเว้ นในกรณีที่เป็ นการรวมธุรกิจ ภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การควบคุมเกิดขึ ้นเมื่อกลุ่มบริ ษัทเปิ ดรับหรื อมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวข้ องกับกิจการนันและมี ้ ความสามารถในการ ใช้ อานาจเหนือกิจการนันท ้ าให้ เกิดผลกระทบต่อจานวนเงินผลตอบแทนของกลุ่มบริ ษัท วันที่ซื ้อกิจการคือวันที่อานาจในการควบคุม นันได้ ้ ถกู โอนไปยังผู้ซื ้อ การกาหนดวันที่ซื ้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการโอนอานาจควบคุมจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่งต้ องใช้ ดุลยพินิจเข้ ามาเกี่ยวข้ อง ค่าความนิยมถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื ้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ ซงึ่ รวมถึงการรับรู้ จานวนส่วนได้ เสียที่ไม่มี อานาจควบคุมในผู้ถกู ซื ้อหักด้ วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุตธิ รรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ ที่ได้ มาและหนี ้สินที่รับมาซึง่ วัดมูลค่า ณ วันที่ซื ้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ ต้องวัดด้ วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี ้สินที่กลุ่มบริ ษัทก่อขึ ้นเพื่อจ่ายชาระให้ แก่เจ้ าของเดิม และ ส่วนได้ เสียในส่วนของเจ้ าของที่ออกโดยกลุ่มบริ ษัท ทังนี ้ ้ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ ยงั รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของหนี ้สินที่อาจเกิดขึน้ และ มูล ค่า ของโครงการจ่ า ยโดยใช้ ห้ ุน เป็ น เกณฑ์ ที่ อ อกแทนโครงการของผู้ถูก ซื อ้ เมื่ อ รวมธุ ร กิ จ หากการรวมธุ ร กิ จ มี ผ ลให้ สิ น้ สุ ด ความสัมพันธ์ของโครงการเดิมระหว่างกลุ่มบริ ษัทและผู้ถูกซื ้อให้ ใช้ ราคาที่ต่ากว่าระหว่างมูลค่าจากการยกเลิกสัญญาตามที่ระบุใน สัญญาและมูลค่าองค์ประกอบนอกตลาดไปหักจากสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายอื่น


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

163

หากมี การออกโครงการจ่ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ น เกณฑ์ (โครงการทดแทน) เพื่ อ แลกเปลี่ ยนกับโครงการที่พนัก งานของผู้ถูกซือ้ ถื อ อยู่ (โครงการผู้ถกู ซื ้อ) ขึ ้นอยู่กบั ต้ นทุนบริ การในอดีต ผู้ซื ้อต้ องวัดส่วนของโครงการทดแทนด้ วยมูลค่าตามราคาตลาดซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของ สิ่งตอบแทนที่โอน หากมีข้อกาหนดเกี่ยวกับการทางานในอนาคต ผลต่างระหว่างมูลค่าซึ่งรวมอยู่ในสิ่งตอบแทนที่โอนไปและราคา ตลาดของโครงการทดแทน รับรู้ เป็ นผลตอบแทนพนักงานภายหลังการรวมธุรกิจ หนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้นของบริ ษัทที่ถูกซื ้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรู้ เป็ นหนี ้สินหากมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึง่ เกิดขึ ้นจากเหตุการณ์ ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุตธิ รรมได้ อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริ ษัทวัดมูลค่าส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมตามอัตราส่วนได้ เสียในสินทรั พย์สทุ ธิที่ได้ มาจากผู้ถกู ซื ้อ ต้ นทุนที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อของกลุ่มบริ ษัทที่เกิดขึ ้นซึง่ เป็ นผลมาจากการรวมธุรกิจ เช่น ค่าที่ปรึ กษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ และค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อเกิดขึ ้น บริ ษทั ย่อย บริ ษัทย่อยเป็ นกิจการที่อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มบริ ษัท การควบคุมเกิดขึ ้นเมื่อกลุ่มบริ ษัทเปิ ดรับหรื อมีสิทธิในผลตอบแทนผัน แปรจากการเกี่ ย วข้ อ งกับ กิจ การนัน้ และมี ค วามสามารถในการใช้ อ านาจเหนื อ กิ จการนัน้ ท าให้ เกิ ด ผลกระทบต่อ จ านวนเงิ น ผลตอบแทนของกลุ่มบริ ษัท งบการเงิ นของบริ ษัทย่อยได้ รวมอยู่ในงบการเงินรวมนับแต่วนั ที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุม สิ ้นสุดลง ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มีอานาจควบคุม ณ วันที่ซื ้อธุรกิจ กลุ่มบริ ษัทวัดมูลค่าส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมตามอัตราส่วนได้ เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้ มาจากผู้ถกู ซื ้อ การเปลี่ยนแปลงส่วนได้ เสียในบริ ษัทย่อยของกลุ่มบริ ษัทที่ไม่ทาให้ กลุ่มบริ ษัทสูญเสียอานาจการควบคุมจะบันทึกบัญชีโดยถือเป็ น รายการในส่วนของเจ้ าของ การสูญเสียการควบคุม เมื่อกลุ่มบริ ษัทสูญเสียการควบคุมในบริ ษัทย่อย กลุ่มบริ ษัทตัดรายการสินทรัพย์และหนี ้สินของบริ ษัทย่ อยนันออก ้ รวมถึงส่วนได้ เสีย ที่ไม่มีอานาจการควบคุมและส่วนประกอบอื่นในส่วนของเจ้ าของที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทย่อยนัน้ กาไรหรื อขาดทุนที่เกิดขึน้ จากการ สูญเสียการควบคุมในบริ ษัทย่อยรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน ส่วนได้ เสียในบริ ษัทย่อยเดิมที่ยงั คงเหลืออยู่ให้ วดั มูลค่าด้ วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สญ ู เสียการควบคุม


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

164

ส่วนได้เสียในเงิ นลงทุนทีบ่ นั ทึกตามวิ ธีส่วนได้เสี ย ส่วนได้ เสียของกลุ่มบริ ษัทในเงินลงทุนที่บนั ทึกตามวิธีส่วนได้ เสีย ประกอบด้ วยส่วนได้ เสียในการร่ วมค้ า การร่ วมค้ าเป็ นการร่ วมการงานที่กลุ่มบริ ษัทมีการควบคุมร่ วมในการงานนัน้ โดยมี สิทธิ ในสินทรั พย์สุทธิ ของการร่ วมการงานนัน้ มากกว่าการมีสิทธิในสินทรัพย์และภาระผูกพันในหนี ้สินที่เกี่ยวข้ องกับการร่ วมการงานนัน้ ส่วนได้ เสียในการร่ วมค้ าบันทึกบัญชีตามวิธีส่วนได้ เสีย โดยรั บรู้ รายการเมื่อ เริ่ มแรกด้ วยราคาทุนซึ่งรวมถึงต้ นทุนการทารายการ ภายหลังการรับรู้ รายการเริ่ มแรก ส่วนแบ่งกาไรหรื อขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นของเงินลงทุนที่บนั ทึกตามวิธีส่วนได้ เสียของกลุ่มบริ ษัท จะถูก บันทึกในงบการเงินรวมจนถึงวันที่กลุ่มบริ ษัทสูญเสียความมีอิทธิพลอย่างมี นยั สาคัญ หรื อการควบคุมร่ วม การตัดรายการในงบการเงิ นรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจริ งซึง่ เป็ นผลมาจากรายการระหว่าง กิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดทางบการเงินรวม กาไรที่ยังไม่เกิดขึน้ จริ งซึ่ง เป็ นผลมาจากรายการกับการร่ วมค้ าถูกตัด รายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริ ษัทมีส่วนได้ เสี ยในกิจการที่ถูกลงทุนนัน้ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึน้ จริ งถูกตัดรายการในลักษณะ เดียวกับกาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจริ ง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้ อยค่าเกิดขึ ้น (ข)

เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีทีเ่ ป็ นเงิ นตราต่างประเทศ รายการบัญ ชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าแต่ละสกุลเงินเป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษัท โดยใช้ อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรั พย์และหนีส้ ินที่เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนัน้ สินทรัพย์และหนี ้สินที่ไม่เป็ นตัวเงินซึง่ เกิดจากรายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศซึง่ บันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็ น สกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ

(ค)

เครื่องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพันธ์ เครื่ องมื อทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพันธ์ ได้ ถูกนามาใช้ เพื่อจัดการความเสี่ ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ อัตราดอกเบี ้ยและความเสี่ยงจากราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงินและ กิจกรรมลงทุน เครื่ อ งมือ ทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพันธ์ ไม่ได้ มีไว้ เพื่อ ค้ า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ ที่ไม่เข้ าเงื่ อนไขการ กาหนดให้ เป็ นเครื่ องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็ นรายการเพื่อค้ า


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(ง)

165

การป้ องกันความเสี่ยง การป้องกันความเสีย่ งจากรายการทีเ่ ป็ นเงิ นตราต่างประเทศที ่จะมี ในอนาคต กาไรหรื อขาดทุนจากสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าและสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ถูกใช้ ในการป้องกัน ความเสี่ยงของรายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศที่คาดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคต จะถูกบันทึกรอไว้ ในบัญชีจนกว่ารายการที่คาดไว้ เกิดขึ ้น หากรายการที่ได้ รับการป้องกันความเสี่ยงได้ รับการรับรู้ เป็ นสินทรัพย์หรื อหนี ้สิน รายการดังกล่าวจะได้ รับการแปลงค่าโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้ าตามสัญญา สินทรัพย์หรื อหนี ้สินที่มีค่าเป็ นเงินตราต่างประเทศ และได้ รับการป้องกันความเสี่ยงด้ วยสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า บันทึกเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยนล่วงหน้ าตามสัญญา การป้องกันความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ผลต่ า งที่ เ กิ ด จากสั ญ ญาแลกเปลี่ ย นอั ต ราดอกเบี ย้ รั บ รู้ และบั น ทึ ก โดยปรั บ ปรุ งกั บ ดอกเบี ย้ จ่ า ยของเงิ น กู้ ยื ม ที่ ไ ด้ รั บ การป้องกันความเสี่ยงนัน้ ในกรณีของสัญญาซื ้อขายอัตราดอกเบี ้ยล่วงหน้ า จานวนเงินที่ได้ รับหรื อจ่ายเมื่อชาระด้ วยเงินสด ซึง่ เป็ น กาไรหรื อขาดทุนจะถูกบันทึกรอไว้ ในบัญชีและรับรู้ ตลอดช่วงอายุของสินทรัพย์หรื อหนี ้สินที่เป็ นตัวเงินโดยการปรับปรุ งกับดอกเบี ้ยรับ หรื อดอกเบี ้ยจ่าย ในกรณีของสัญญาซื ้ออัตราดอกเบี ้ยชนิดสามารถเลือกใช้ สิทธิ ค่าธรรมเนียมหรื อส่วนลดตามสัญญาจะรวมเป็ น สินทรัพย์อื่นหรื อหนี ้สินอื่นในงบแสดงฐานะการเงิน และจะตัดบัญชีเป็ นดอกเบี ้ยรับหรื อดอกเบี ้ยจ่ายตลอดอายุของสัญญา

(จ)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้ วย เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสันที ้ ่มีสภาพคล่องสูง และไม่มีข้อจากัด ในการเบิกใช้

(ฉ)

ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อ่ืน ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี ้หักค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชาระหนี ้ และการคาดการณ์ เกี่ยวกับการชาระหนีใ้ นอนาคตของลูกค้ า ลูกหนี ้จะถูกตัดจาหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี ้สูญ


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(ช)

166

สินค้ าคงเหลือ สินค้ าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุทธิที่จะได้ รับแล้ วแต่ราคาใดจะต่ากว่า ต้ นทุนของวัตถุดบิ ประเภทเหล็กแท่งแบนคานวณโดยใช้ วธิ ีถวั เฉลี่ยถ่วงน ้าหนัก ต้ นทุนของวัตถุดิบประเภทสินแร่ คานวณโดยใช้ วิธีเข้ า ก่อนออกก่อน สินค้ าสาเร็ จรู ป คานวณโดยใช้ วิธีเฉพาะเจาะจง ต้ นทุนสินค้ าประกอบด้ วยต้ นทุนที่ซื ้อ ต้ นทุนในการดัดแปลงหรื อ ต้ นทุนอื่นเพื่อให้ สินค้ าอยู่ในสถานที่และสภาพปั จจุบนั ในกรณี ของสินค้ าสาเร็ จรู ปและสินค้ าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้ นทุนสินค้ า รวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงระดับกาลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้ รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้ จากการดาเนินธุรกิจปกติหกั ด้ วยค่าใช้ จ่ายที่จาเป็ นโดยประมาณในการขาย

(ซ)

สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนที่ถือไว้ เพื่อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (หรื อกลุ่มสินทรัพย์ที่ยกเลิกซึง่ ประกอบด้ วยสินทรัพย์และหนี ้สิน) ที่คาดว่ามูลค่าตามบัญชีที่จะได้ รับคืนส่วน ใหญ่มาจากการขายมากกว่ามาจากการใช้ สินทรัพย์นนต่ ั ้ อไป จัดประเภทเป็ นสินทรัพย์ที่ถือไว้ เพื่อขาย สินทรัพย์ (หรื อส่วนประกอบ ของกลุ่มสินทรัพย์ที่ยกเลิก) วัดมูลค่าด้ วยจานวนที่ต่ากว่าระหว่างมูลค่าตามบัญชีกบั มูลค่ายุติธรรมหักต้ นทุนในการขาย ผลขาดทุน จากการด้ อยค่าสาหรับกลุ่มสินทรัพย์ที่ยกเลิกนาไปปั นส่วนให้ กบั ค่าความนิยมเป็ นอันดับแรก แล้ วจึงปั นส่วนให้ กบั ยอดคงเหลือของ สินทรัพย์และหนี ้สินตามสัดส่วน ยกเว้ นไม่ปันส่วนรายการขาดทุนให้ กบั สินค้ าคงเหลือและสินทรัพย์ทางการเงิน ผลขาดทุนจากการ ด้ อยค่าสาหรับการลดมูลค่าในครัง้ แรก และผลกาไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าในภายหลังรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน ผลกาไรรับรู้ ไม่เกินยอดผลขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสมที่เคยรับรู้

(ฌ) เงินลงทุน เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยและการร่ วมค้า เงิ น ลงทุน ในบริ ษั ท ย่ อ ยและการร่ วมค้ า ในงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การของบริ ษั ท บัน ทึก บัญ ชี โ ดยใช้ วิธีราคาทุน ส่วนการบันทึก บัญชีเงินลงทุนในการร่ วมค้ าในงบการเงินรวมใช้ วิธีส่วนได้ เสีย การจาหน่ายเงิ นลงทุน เมื่อมีการจาหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจานวนเงินสุทธิที่ได้ รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกาไรหรื อขาดทุนสะสมจากการตี ราคาหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้ องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริ ษัทจาหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคานวณต้ นทุนสาหรับเงินลงทุนที่จาหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยงั ถืออยู่ ใช้ วธิ ีถวั เฉลี่ยถ่วงน ้าหนัก ปรับใช้ กบั มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยู่ทงหมด ั้


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

167

(ญ) สัญญาเช่ าการเงิน กลุ่มบริ ษัทได้ ทาสัญญาขายเครื่ องจักรและอุปกรณ์และเช่ากลับคืนซึง่ เข้ าลักษณะเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สิ่งตอบแทนจากการขายที่ สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่ได้ ถูกรับรู้ เป็ นรายได้ โดยทันที แต่กลุ่มบริ ษัทบันทึกรับรู้ เป็ นรายการรอตัดบัญชีและทยอยตัด ตลอดอายุของสัญญาเช่า กลุ่มบริ ษัทบันทึกสัญญาเช่าทางการเงินเป็ นสินทรัพย์และหนีส้ ินในงบแสดงฐานะการเงินรวมด้ วยจานวนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของ สินทรั พย์ที่เช่า ณ วันเริ่ มต้ นของสัญญาเช่า ค่าเช่าที่จ่ายชาระจะปั นส่วนเป็ นส่วนของค่าใช้ จ่ายทางการเงินและส่วนที่ไปลดเงินต้ น ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะปั นส่วนไปสู่งวดต่างๆ ตลอดอายุสญ ั ญาเช่าเพื่อให้ อตั ราดอกเบี ้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี ้ที่คงเหลืออยู่ในแต่ละ งวดมีอตั ราคงที่ (ฎ)

ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สิ นทรัพย์ทีเ่ ป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกิ จการ ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์แสดงด้ วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้ นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้ องกับการได้ มาของสินทรั พย์ ต้ นทุนของการก่อสร้ างสินทรั พย์ที่กิจการก่อสร้ างเอง รวมถึง ต้ นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้ นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้ สินทรัพย์นนอยู ั ้ ่ในสภาพที่พร้ อมจะ ใช้ งานได้ ตามความประสงค์ ต้ นทุนในการรื อ้ ถอน การขนย้ าย การบูรณะสถานที่ตงของสิ ั้ นทรั พย์และต้ นทุนการกู้ยืม สาหรั บ เครื่ องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ซงึ่ ไม่สามารถทางานได้ โดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ นนให้ ั ้ ถือว่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ดงั กล่าว เป็ นส่วนหนึง่ ของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ ประโยชน์ไม่เท่ากันต้ องบันทึกแต่ละส่วนประกอบที่มี นัยสาคัญแยกต่างหากจากกัน กาไรหรื อขาดทุนจากการจาหน่ายที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้ รับจากการจาหน่ายกับมูลค่าตาม บัญชีของที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู้ สทุ ธิเป็ นรายได้ อื่นในกาไรหรื อขาดทุน สิ นทรัพย์ทีเ่ ช่า การเช่าซึง่ กลุ่มบริ ษัทได้ รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านันๆ ้ ให้ จดั ประเภทเป็ นสัญญา เช่าการเงิน ส่วนที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ที่ได้ มาโดยทาสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขันต ้ ่าที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้ วแต่จานวนใดจะต่า กว่า หักด้ วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อย ค่า ค่าเช่าที่ชาระจะแยกเป็ นส่วนที่เป็ นค่าใช้ จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจากหนี ้ตามสัญญา เพื่อทาให้ อตั ราดอกเบี ้ยแต่ละ งวดเป็ นอัตราคงที่สาหรับยอดคงเหลือของหนี ้สิน ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกาไรหรื อขาดทุน


168

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ต้นทุนทีเ่ กิ ดขึ้นในภายหลัง ต้ นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรั บรู้ เป็ นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ ามีความ เป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่ที่กลุ่มบริ ษัทจะได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนัน้ และสามารถวัดมูลค่าต้ นทุนของรายการ นันได้ ้ อย่างน่าเชื่อถือ ชิ ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจาหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้ นทุนที่เกิดขึ ้นในการซ่อมบารุ งที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่เกิดขึ ้นเป็ นประจาจะรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น ค่าเสือ่ มราคา ค่าเสื่อมราคาคานวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึง่ ประกอบด้ วยราคาทุนของสินทรัพย์หรื อต้ นทุนในการ เปลี่ยนแทนอื่น หักด้ วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายในงบกาไรขาดทุนคานวณ โดยวิธีเส้ นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้ งานโดยประมาณของส่วนประกอบ ของสินทรัพย์แต่ละรายการหรื อตามหน่วยของผลผลิต ประมาณการอายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ ดงั นี ้ ส่วนปรับปรุ งที่ดนิ สิทธิการเช่าและส่วนปรับปรุ งสิทธิการเช่า อาคารและสิ่งปลูกสร้ างอื่น เครื่ องจักร เครื่ องมือและอุปกรณ์ - ส่วนการผลิต - ส่วนงานผลิตเหล็ก - ส่วนการบริ การ - เครื่ องมือและอุปกรณ์อื่น เครื่ องตกแต่ง ติดตังและเครื ้ ่ องใช้ สานักงาน ยานพาหนะ ถนน ท่าเทียบเรื อและสาธารณูปโภค เรื อลากจูง โรงพักสินค้ าและคลังสินค้ าทัณฑ์บน

5 ปี 5 และ 10 ปี 20 ปี ตามหน่วยของผลผลิต 20 ปี 5 - 10 ปี 3 - 10 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี 5, 20 และ 27 ปี 5 และ 30 ปี 5 - 17 ปี 5 ปี

กลุ่มบริ ษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสาหรับที่ดนิ และสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้ างและติดตัง้ วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้ อยที่สดุ ทุกสิ ้นรอบปี บญ ั ชี และปรับปรุ ง ตามความเหมาะสม


169

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(ฏ)

สินทรัพย์ ไม่ มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่กลุ่มบริ ษัทซื ้อมาและมีอายุการใช้ งานจากัดแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมและผลขาดทุนจากการ ด้ อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้ รายการจะรับรู้ เป็ นสินทรัพย์เมื่อก่อให้ เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็ นสินทรัพย์ที่สามารถ ระบุได้ ที่เกี่ยวข้ องนัน้ ค่าใช้ จ่ายอื่นรวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ ้นภายในรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น ค่าตัดจาหน่าย ค่าตัดจาหน่ายคานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรื อจานวนอื่นที่ใช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจาหน่ายรั บรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงซึ่งโดยส่วนใหญ่จะสะท้ อนรู ปแบบที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ในอนาคตจาก สินทรัพย์นนตามระยะเวลาที ั้ ่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึง่ ไม่รวมค่าความนิยม โดยเริ่ มตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่ มีตวั ตนเมื่อสินทรัพย์นนพร้ ั ้ อมที่จะให้ ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์สาหรับปี ปัจจุบนั และปี เปรี ยบเทียบแสดงได้ ดงั นี ้ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์

3 - 10 ปี

วิธีการตัดจาหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์และมูลค่าคงเหลือ จะได้ รับการทบทวนทุกสิ ้นรอบปี บญ ั ชีและปรับปรุ งตาม ความเหมาะสม (ฐ)

การด้ อยค่ า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริ ษัทได้ รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี ้เรื่ องการด้ อยค่าหรื อไม่ในกรณีที่มีข้อบ่งชี ้จะ ทาการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้ รับคืน สาหรั บค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ ประโยชน์ไม่ทราบ แน่นอน หรื อยังไม่พร้ อมใช้ งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้ อยค่ารับรู้ เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะ ได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรั พย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้ บนั ทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรั พย์ ดังกล่าวมีการด้ อยค่า ยอดขาดทุนซึง่ เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่ าว ยอดขาดทุนที่บนั ทึกในกาไรหรื อ ขาดทุนเป็ นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซือ้ กับมูลค่ายุติธรรมในปั จจุบันของ สินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนันๆ ้ ซึง่ เคยรับรู้ แล้ วในกาไรหรื อขาดทุน


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

170

การคานวณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รับคื น มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของหลักทรัพย์ที่ถือไว้ จนกว่าจะครบกาหนดที่บนั ทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย คานวณโดยการหามูลค่า ปัจจุบนั ของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้ รับในอนาคต คิดลดด้ วยอัตราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินสาหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย คานวณโดยอ้ างอิงถึงมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรั พย์ทางการเงินหมายถึง มูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์หรื อมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์หกั ต้ นทุนในการขายแล้ วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่ จะได้ รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคานึงภาษี เงินได้ เพื่อให้ สะท้ อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ ในตลาด ปัจจุบนั ซึง่ แปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอ่ สินทรัพย์สาหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้ เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นนเกี ั ้ ่ยวข้ องด้ วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนเพิ่มขึ ้นในภายหลังและการเพิ่มขึ ้น นันสั ้ มพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้ อยค่าที่เคยรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน สาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บนั ทึกโดยวิธีราคาทุนตัด จาหน่ายและตราสารหนี ้ที่จดั ประเภทเป็ นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการ เงินที่เป็ นตราสารทุนที่จดั ประเภทเป็ นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้ โดยตรงในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่า มีข้อบ่งชี ้เรื่ องการด้ อยค่าหรื อไม่ ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ ในการคานวณ มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตาม บัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรื อค่าตัดจาหน่าย เสมือนหนึง่ ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้ อยค่ามาก่อน (ฑ)

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี ส้ ินที่มีภ าระดอกเบี ้ยบันทึกเริ่ มแรกในราคาทุนหักค่าใช้ จ่ายที่เกี่ ยวกับการเกิดหนี ส้ ิน ภายหลังจากการบันทึกหนีส้ ินที่มีภาระ ดอกเบี ้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี ้เริ่ มแรกและยอดหนี ้เมื่อครบกาหนดไถ่ถอนจะบันทึกใน กาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้ วธิ ีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง

(ฒ) เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้อื่น เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่นแสดงในราคาทุน


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

171

(ณ) ผลประโยชน์ พนักงาน โครงการสมทบเงิ น ภาระผูกพันในการสมทบเข้ าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายพนักงานในกาไรหรื อขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ ทางานให้ กบั กิจการ การสมทบเงินล่วงหน้ าจะถูกรับรู้ เป็ นสินทรัพย์หากได้ รับคืนเป็ นเงินสดหรื อหักจากการจ่ายในอนาคต โครงการผลประโยชน์ทีก่ าหนดไว้ ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริ ษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ ถูกคานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจากการประมาณ ผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทางานของพนักงานในงวดปั จจุบนั และงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ มีการคิดลดกระแส เงินสดเพื่อให้ เป็ นมูลค่าปัจจุบนั การคานวณภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ นนจั ั ้ ดทาโดยนักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่ได้ รับอนุญาตเป็ นประจาทุกปี โดยวิธีคดิ ลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ผลจากการคานวณอาจทาให้ กลุ่มบริ ษัทมีสินทรัพย์เกิดขึ ้น ซึง่ การรับรู้ เป็ นสินทรัพย์จะใช้ มูลค่าปั จจุบนั ของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มีในรู ปของการได้ รับคืนในอนาคตจากโครงการหรื อการหักการสมทบเข้ าโครงการใน อนาคตในการคานวณมูลค่าปั จจุบนั ของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ได้ มีการพิจารณาถึงความต้ องการเงินทุนขัน้ ต่าสาหรับโครงการ ต่าง ๆ ของกลุ่มบริ ษัท ในการวัดมูลค่าใหม่ของหนีส้ ินผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ สุทธิ กาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยจะ ถูกรับรู้ รายการในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นทันที กลุ่มบริ ษัทกาหนดดอกเบี ้ยจ่ายของหนี ้สินผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ สุทธิโดยใช้ อตั ราคิด ลดที่ใช้ วดั มูลค่าภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ ต้ นปี โดยคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในหนี ้สินผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ สุทธิ ซึง่ เป็ นผลมาจากการสมทบเงินและการจ่ายชาระผลประโยชน์ ดอกเบีย้ จ่ายสุทธิและค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับโครงการผลประโยชน์ รับรู้ รายการในกาไรหรื อขาดทุน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ของโครงการหรื อการลดขนาดโครงการ การเปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้ องกับการบริ การ ในอดีต หรื อ กาไรหรื อขาดทุนจากการลดขนาดโครงการต้ องรั บรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนทันที กลุ่มบริ ษัทรับรู้ กาไรและขาดทุนจากการ จ่ายชาระผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกิดขึ ้น ผลประโยชน์ระยะยาวอื ่น ภาระผูกพันสุทธิ ข องกลุ่มบริ ษัทที่เป็ นผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนักงานเป็ นผลประโยชน์ ในอนาคตที่เกิดจากการทางานของ พนักงานในงวดปัจจุบนั และงวดก่อนๆ ซึง่ ผลประโยชน์นี ้ได้ คิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้ เป็ นมูลค่าปั จจุบนั การวัดมูลค่าใหม่จะรับรู้ ใน กาไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

172

ผลประโยชน์เมื ่อเลิ กจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้ างจะรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อวันใดวันหนึง่ ต่อไปนี ้เกิดขึ ้นก่อน เมื่อกลุ่มบริ ษัทไม่สามารถยกเลิกข้ อเสนอการให้ ผล ประโยชน์ดงั กล่าวได้ อีกต่อไป หรื อเมื่อกลุ่มบริ ษัทรับรู้ ต้ นทุนสาหรับการปรับโครงสร้ าง หากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันสิ ้นรอบระยะเวลารายงาน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้ างจะถูกคิดลดกระแสเงินสด ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงานรั บรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อพนักงานทางานให้ หนี ้สินรั บรู้ ด้ วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชาระ หากกลุ่ม บริ ษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้ องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่พนักงานได้ ทางานให้ ในอดีตและ ภาระผูกพันนี ้สามารถประมาณได้ อย่างสมเหตุสมผล (ด)

ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี ้สินจะรับรู้ ก็ตอ่ เมื่อกลุ่มบริ ษัทมีภาระหนี ้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั หรื อที่ก่อตัวขึ ้นอันเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีต และมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้ องถูกจ่ายไปเพื่อชาระภาระหนีส้ ินดังกล่าว ประมาณการ หนี ส้ ินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้ อัตราคิดลดในตลาดปั จจุบันก่อนคานึงถึงภาษี เงินได้ เพื่ อให้ สะท้ อนจานวนที่อาจประเมิ นได้ ในตลาดปั จจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อหนี ส้ ิน ประมาณการหนี ส้ ินส่วนที่เพิ่มขึน้ เนื่องจากเวลาที่ผ่านไปรับรู้ เป็ นต้ นทุนทางการเงิน ประมาณการค่าใช้จ่ายจากสัญญาทีเ่ สียเปรี ยบหรื อก่อให้เกิ ดภาระ ประมาณการค่าใช้ จ่ายของสัญญาที่เสียเปรี ยบหรื อก่อให้ เกิดภาระแก่กลุ่มบริ ษัทจะบันทึกเมื่อประโยชน์ที่กลุ่มบริ ษัทพึงได้ รับน้ อย กว่าต้ นทุนที่จาเป็ นในการดาเนินการตามข้ อผูกพันในสัญญา การประมาณค่าใช้ จ่ายรั บรู้ ด้ วยมูลค่าปั จจุบนั ของต้ นทุนที่คาดว่าจะ เกิดขึน้ เมื่อ สิ น้ สุดสัญ ญาหรื อต้ นทุนสุทธิ ที่คาดว่าจะเกิดขึน้ เมื่ อ ดาเนินสัญญาต่อ แล้ วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า กลุ่มบริ ษัทรั บรู้ ผล ขาดทุนจากการด้ อยค่าที่เกิดขึ ้นจากสินทรัพย์ที่ระบุไว้ ในสัญญาก่อนที่จะรั บรู้ และวัดมูลค่าประมาณการหนี ้สิน

(ต)

รายได้ รายได้ ที่รับรู้ ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้ า การขายสิ นค้าและให้บริ การ รายได้ รับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อได้ โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ าของสินค้ าที่มีนยั สาคัญไปให้ กบั ผู้ซื ้อแล้ ว และ จะไม่รับรู้ รายได้ ถ้าฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสินค้ าที่ขายไปแล้ วนัน้ หรื อมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสาคัญในการได้ รั บ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้ าหรื อให้ บริ การนัน้ ไม่อาจวัดมูลค่าของจานวนรายได้ และต้ นทุนที่เกิดขึ ้นได้ อย่างน่าเชื่อถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่นอนที่จะต้ องรับคืนสินค้ า รายได้ จากการให้ บริ การรับรู้ เมื่อมีการให้ บริ การ


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

173

เงิ นปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนในวันที่กลุ่มบริ ษัทมีสิทธิได้ รับเงินปั นผล ดอกเบีย้ รับและรายได้อื่น ดอกเบี ้ยรับและรายได้ อื่นบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์คงค้ าง ค่านายหน้า สาหรับรายการค้ าที่กลุ่มบริ ษัทเข้ าลักษณะการเป็ นตัวแทนมากกว่าการเป็ นตัวการ กลุ่มบริ ษัทจะรับรู้ รายได้ ด้วยจานวนเงินสุทธิเป็ น ค่านายหน้ า (ถ)

ต้ นทุนทางการเงิน ต้ นทุนทางการเงินบันทึกโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ งและประกอบด้ วยดอกเบี ้ยจ่ายของเงินกู้ยืมและประมาณการหนี ้สินส่วนที่ เพิ่มขึ ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่านไป และสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้ องจ่าย ขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ทางการเงินที่ถือไว้ เพื่อขาย ขาดทุนจากมูลค่ายุ ติธรรมของสินทรั พย์ ทางการเงินที่รับรู้ ในกาไรหรื อ ขาดทุน ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรั พย์ทางการเงิน (นอกเหนือลูกหนี ้การค้ า) และขาดทุนจากเครื่ องมือป้องกันความเสี่ยงรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน ต้ นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้ เกี่ยวกับการได้ มา การก่อสร้ างหรื อการผลิตสินทรัพย์ ที่เข้ าเงื่อนไขรั บรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน โดยใช้ วิธีอัตรา ดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง

(ท)

สัญญาเช่ าดาเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดาเนินงานบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ที่ได้ รับตามสัญญาเช่า จะรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนเป็ นส่วนหนึง่ ของค่าเช่าทังสิ ้ ้นตามสัญญาตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ ้นต้ องนามารวมคานวณจานวนเงินขันต ้ ่าที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้ รับการยืนยันการ ปรับค่าเช่า การจาแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่ มต้ นข้ อตกลง กลุ่มบริ ษัทจะพิจารณาว่าข้ อตกลงดังกล่าวประกอบด้ วยสัญญาเช่าหรื อมีสญ ั ญาเช่าเป็ นส่วนประกอบหรื อไม่ กลุ่ ม พิ จ ารณาจากสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ลัก ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้ าการปฏิ บัติ ต ามข้ อตกลงนัน้ ขึ น้ อยู่ กับ การใช้ สิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ลัก ษณะ เฉพาะเจาะจง และข้ อตกลงนันจะน ้ าไปสู่สิทธิในการใช้ สินทรัพย์ ถ้ าทาให้ กลุ่มบริ ษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้ สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่ มต้ นข้ อตกลง หรื อมีการประเมินข้ อตกลงใหม่ กลุ่มบริ ษัทแยกค่าตอบแทนสาหรับสัญญาเช่าและส่วนที่เป็ นองค์ประกอบอื่น โดยใช้ มลู ค่ายุติธรรมเป็ นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริ ษัทสรุ ปว่าเป็ นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจานวนดังกล่าวได้ อย่างน่าเชื่อถือ ให้ รับรู้ สินทรัพย์และหนี ้สินในจานวนที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงนัน้ หลังจากนั น้ จานวนหนี ้สินจะลดลงตามจานวนที่จ่าย และต้ นทุนทางการเงิน ตามนัยจากหนี ้สินจะรับรู้ โดยใช้ อตั ราดอกเบี ้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่มของ กลุ่มบริ ษัท


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(ธ)

174

ภาษีเงินได้ ค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ สาหรับปี ประกอบด้ วยภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีรับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุนเว้ นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้ องในการรวมธุรกิจ หรื อ รายการที่รับรู้ โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้นหรื อกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ภาษีเงินได้ ของงวดปั จจุบนั ได้ แก่ภาษี ที่คาดว่าจะจ่า ยชาระหรื อได้ รับชาระ โดยคานวณจากกาไรหรื อขาดทุนประจาปี ที่ต้องเสียภาษี โดยใช้ อตั ราภาษีที่ประกาศใช้ หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อนๆ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่เกิดขึ ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี ้สินและ จานวนที่ใช้ เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้ เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวต่อไปนี ้ การรับรู้ ค่ า ความนิยมในครัง้ แรก การรับรู้ สินทรัพย์หรื อหนีส้ ินในครัง้ แรกซึง่ เป็ นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนันไม่ ้ มีผลกระทบต่อ กาไรขาดทุนทางบัญชีหรื อทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้ องกับเงินลงทุนในบริ ษัทย่อยและการร่ วมค้ าหากเป็ นไปได้ ว่าจะไม่มีการ กลับรายการในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีต้องสะท้ อนถึงผลกระทบทางภาษี ที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุ่มบริ ษัทคาดว่าจะ ได้ รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์หรื อจะจ่ายชาระหนี ้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที่คาดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใช้ อัตราภาษี ที่ ประกาศใช้ หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก าหนดมูล ค่า ของภาษี เ งิ น ได้ ข องงวดปั จ จุบัน และภาษี เ งิ น ได้ ร อการตัด บัญ ชี กลุ่ม บริ ษั ท ต้ อ งค านึงถึง ผลกระทบของ สถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจทาให้ จานวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ ้น และมีดอกเบี ้ยที่ต้องชาระ กลุ่มบริ ษัทเชื่อว่าได้ ตงภาษี ั้ เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสาหรับภาษี เงินได้ ที่จะจ่ายในอนาคต ซึง่ เกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความ ทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ ในอดีต การประเมินนี อ้ ยู่บนพืน้ ฐานการประมาณการและข้ อสมมติฐาน และอาจจะ เกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ๆอาจจะทาให้ กลุ่มบริ ษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ ้นอยู่กบั ความ เพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษี เงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที่เกิดการ เปลี่ยนแปลง สินทรั พย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะนา สินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี ้สินภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ นี ้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บ ภาษี หน่วยงานเดียวกันสาหรั บหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษี ต่างกัน สาหรั บหน่วยภาษี ต่างกันนัน้ กิจการมีความตังใจจะจ่ ้ าย ชาระหนี ้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั ด้ วยยอดสุทธิหรื อตังใจจะรั ้ บคืนสินทรัพย์และจ่ายชาระหนี ้สินในเวลาเดียวกัน สินทรั พย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่นอนว่ากาไรเพื่อเสียภาษี ในอนาคตจะมีจานวน เพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงาน และจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้ จริ ง


175

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(น)

การดาเนินงานที่ยกเลิก การดาเนินงานที่ยกเลิกเป็ นส่วนประกอบของธุรกิจ ของกลุ่มบริ ษัท เป็ นสายงานธุรกิจที่สาคัญหรื อเขตภูมิศาสตร์ ที่แยกต่างหากที่ ยกเลิกหรื อถือไว้ เพื่อขาย หรื อเป็ นบริ ษัทย่อยที่ซื ้อมาเพื่อขายต่อ โดยจัดประเภทเป็ นการดาเนินงานที่ยกเลิกเมื่อมีการขาย หรื อ เมื่อ เข้ าเงื่อนไขของการถือไว้ เพื่อขาย แล้ วแต่เวลาใดจะเกิดขึน้ ก่อน เมื่อมีการจัดประเภทเป็ นการดาเนินงานที่ยกเลิก งบกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จที่แสดงเปรี ยบเทียบจะถูกปรับปรุ งใหม่เสมือนว่าส่วนงานนันได้ ้ ถกู ยกเลิกตังแต่ ้ ต้นงวดที่นามาเปรี ยบเทียบ

(บ)

กาไรต่ อหุ้น กลุ่มบริ ษัทแสดงกาไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานและกาไรต่อหุ้นปรับลดสาหรับหุ้นสามัญ กาไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานคานวณโดยการหารกาไรหรื อ ขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุ่มบริ ษัท ด้ วยจานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนา้ หนักที่ออกจาหน่ายระหว่างปี กาไรต่อหุ้นปรั บลด คานวณโดยการหารกาไรหรื อขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญที่ปรั บปรุ งด้ วยจานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนา้ หนักที่ออกจาหน่ายและ ปรับปรุ งด้ วยจานวนหุ้นสามัญที่ซื ้อคืน และผลกระทบของตราสารที่อาจเปลี่ยนเป็ นหุ้นสามัญปรับลดทังหมด ้

(ป)

รายงานทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน ผลการดาเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของกลุ่มบริ ษัท (ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดาเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ ้นจากส่วนงานดาเนินงานนันโดยตรงรวมถึ ้ งรายการที่ได้ รับการปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล

4

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงิน บุคคลหรื อกิจการเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ ยวข้ องกันกับกลุ่มบริ ษัท หากกลุ่มบริ ษัทมี อานาจควบคุมหรื อควบคุมร่ วมกันทังทางตรงและทางอ้ ้ อมหรื อมีอิทธิพลอย่างมีสาระสาคัญต่อบุคคลหรื อกิจการในการตัดสินใจทาง การเงินและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน โดยที่กลุ่มบริ ษัทมีควบคุมเดียวกันหรื อการมีอิทธิพลอย่างมีสาระสาคัญเดียวกัน การ เกี่ยวข้ องกันนี ้อาจเป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ

ชื่อกิจการ บริ ษัท ท่าเรื อประจวบ จากัด บริ ษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) บริ ษัท เครื อสหวิริยา จากัด Vanomet Holding AG

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ ลักษณะความสัมพันธ์ ไทย เป็ นบริ ษัทย่อย บริ ษัทถือหุ้นร้ อยละ 51.00 กรรมการร่ วมกัน ไทย เป็ นบริ ษัทย่อย บริ ษัทถือหุ้นร้ อยละ 99.99 กรรมการ ร่ วมกัน ไทย เป็ นการร่ วมค้ า บริ ษัทถือหุ้นร้ อยละ 35.19 กรรมการร่ วมกัน ไทย ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ถือหุ้นในบริ ษัทร้ อยละ 13.18 และมี กรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้ อม สวิตเซอร์ แลนด์ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ถือหุ้นในบริ ษัทร้ อยละ 16.56 และมี กรรมการร่ วมกันในบริ ษัทย่อย


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ชื่อกิจการ บริ ษัท สหวิริยา อินเตอร์ สตีล โฮลดิ ้งส์ จากัด

บริ ษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จากัด บริ ษัท บางสะพานบาร์ มิล จากัด (มหาชน) บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด บริ ษัท สหวิริยาเพลทมิล จากัด (มหาชน) บริ ษัท ทรัพย์สิน อาคารประภาวิทย์ จากัด บริ ษัท อาคารเวสเทิร์น จากัด บริ ษัท บริ การจัดการสหวิริยา จากัด บริ ษัท ซี. เอ. อาร์ . เซอร์ วสิ จากัด บริ ษัท สหวิริยาพาณิชย์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด บริ ษัท ไลน์ทรานสปอร์ ต จากัด บริ ษัท สห สเปเชียล สตีล จากัด บริ ษัท เรื อลาเลียงบางปะกง จากัด บริ ษัท ท่าเรื อบางปะกง จากัด บริ ษัท เอบีซี เทรดดิ ้ง จากัด บริ ษัท สหวิริยา สตีล คอร์ ปอเรชัน่ จากัด(เดิม ชื่อ บริ ษัท โรงถลุงเหล็กสหวิริยา จากัด) บริ ษัท ไทยสตีลเซลล์ จากัด บริ ษัท ประจวบพัฒนาดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด บริ ษัท เอส วี แอล คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (เดิมชื่อ บริ ษัท สหวิริยา โลจิสติกส์ จากัด)

176

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ ลักษณะความสัมพันธ์ ไทย ผู้ถื อ หุ้น รายใหญ่ ถื อ หุ้น ในบริ ษั ท ร้ อยละ 4.86 และมี กรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย บริ ษัทเป็ นผู้ถือหุ้นและมีกรรมการร่ วมกัน ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม มี ก รรมการบริ ษั ท ย่ อ ยเป็ นกรรมการร่ วมกั น และมี ไทย กรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้ อม ไทย มีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีผ้ ถู ือหุ้นและกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือ หุ้นทางตรงและทางอ้ อม


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ชื่อกิจการ Sahaviriya Shipping Limited Vanomet AG Vanomet Finance AG Vanomet International AG Atlantic Steel AG บริ ษัท บางปะกงเชพสตีล จากัด บริ ษัท สตีลโพรเซสโฮลดิ ้งส์ จากัด บริ ษัท สหวิริยาแคปปิ ตอลโฮลดิ ้งส์ จากัด บริ ษัท ทรัพย์สิน บางนา 26 จากัด บริ ษัท พระราม 3 ท่าทราย จากัด บริ ษัท เคพี แคปปิ ตอล จากัด บริ ษัท พิชยั เกษตรและที่ดิน จากัด บริ ษัท ลอง สตีล เทรดดิ ้ง จากัด บริ ษัท เครดิตฟองซิเอร์ สหวิริยา จากัด บริ ษัท สหวิริยาออร์ คดิ จากัด บริ ษัท ทรัพย์สิน สุรศักดิเ์ มืองชล จากัด บริ ษัท บางสะพาน สตีล เทรดดิ ้ง จากัด บริ ษัท ซีบีเอส คอนซัลแทนท์ จากัด บริ ษัท บางปะกง สตีล โฮลดิ ้งส์ จากัด บริ ษัท ทองเรี ยลเอสเตท จากัด บริ ษัท กฤษณา เรสซิเดนท์ จากัด บริ ษัท โกรว์ท วอเตอร์ ว้ ดู ส์ จากัด

177

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ ลักษณะความสัมพันธ์ ฮ่องกง มีผ้ ถู ือหุ้นและกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือ หุ้นทางตรงและทางอ้ อม สวิตเซอร์ แลนด์ มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกันและมีกรรมการร่ วมกันในบริ ษัทย่อย สวิตเซอร์ แลนด์ มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกันและมีกรรมการร่ วมกันในบริ ษัทย่อย สวิตเซอร์ แลนด์ มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกันและมีกรรมการร่ วมกันในบริ ษัทย่อย สวิตเซอร์ แลนด์ มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกันและมีกรรมการร่ วมกันในบริ ษัทย่อย ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ชื่อกิจการ บริ ษัท ทรัพย์สิน ช่องลม จากัด บริ ษัท ทรัพย์สิน ชุมพรธานี จากัด บริ ษัท ทรัพย์สิน ซอยไฮแลนด์ จากัด บริ ษัท ทรัพย์สิน ลานพระราม 3 จากัด บริ ษัท ประจวบ สตีล จากัด บริ ษัท ป้อมพระจุลสตีล จากัด บริ ษัท บางปลากดสตีล จากัด บริ ษัท พาณิชย์โฮลดิ ้งส์ จากัด บริ ษัท เอส เอส พี แอสเซท จากัด บริ ษัท เอสวี นิททัน จากัด บริ ษัท พระประแดงเชฟสตีล จากัด บริ ษัท อัมริ นทร์ สตีล จากัด บริ ษัท กิมเฮ่งเซ้ งเหล็กกล้ า จากัด บริ ษัท สหแลนด์พร็ อพเพอตี ้โฮลดิ ้งส์ จากัด บริ ษัท เอส ซี เจ แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จากัด บริ ษัท สินทรัพย์ ที ซี เอช จากัด บริ ษัท ธนารมย์ พร็ อพเพอร์ ตี ้ เซลล์ จากัด บริ ษัท ทิพยสมบัติ จากัด ผู้บริ หารสาคัญ

178

ประเทศที่จัดตัง้ / สัญชาติ ลักษณะความสัมพันธ์ ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางตรง และทางอ้ อม ไทย มีกรรมการร่ วมกันและมีกรรมการบริ ษัทถือหุ้นทางอ้ อม ไทย บุคคลที่ มีอ านาจและความรั บผิด ชอบการวางแผนสั่ง การและควบคุ ม กิ จ กรรมต่ า งๆ ของกิ จ การไม่ ว่ า ทางตรงหรื อทางอ้ อม ทังนี ้ ้ รวมถึงกรรมการของกลุ่ม บริ ษัท (ไม่วา่ จะทาหน้ าที่ในระดับบริ หารหรื อไม่)


179

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

นโยบายการกาหนดราคาสาหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ ดงั ต่อไปนี ้ รายการธุรกิจ

นโยบายการกาหนดราคากับบริษัทย่ อยและการร่ วมค้ า

นโยบายการกาหนดราคากับบริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน

ขายสินค้ าและวัตถุดบิ

ราคาเดี ย วกั น กั บ ที่ ข ายให้ บุ ค คลภายนอกซึ่ ง ขึ น้ อยู่ กั บ ราคาเดี ย วกั น กั บ ที่ ข ายให้ บุ ค คลภายนอกซึ่ง ขึ น้ อยู่ กั บ ปริ มาณการสัง่ ซื ้อและปั จจัยการตลาดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง ปริ มาณการสัง่ ซื ้อและปั จจัยการตลาดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง

การให้ บริ การท่าเรื อ

รายได้ จากการให้ บริ การท่าเทียบเรื อกาหนดราคาตามอัตรา รายได้ จากการให้ บ ริ ก ารท่าเที ย บเรื อก าหนดราคาตาม ที่กาหนดโดยกระทรวงคมนาคม และขึน้ อยู่กับปริ มาณ อัตราที่กาหนด โดยกระทรวงคมนาคม และขึน้ อยู่กับ การให้ บริ การและปั จจัยการตลาดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง ปริ ม าณการให้ บริ ก ารและปั จ จั ย การตลาดอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้ อง

การให้ บริ การอื่น

รายได้ จากการให้ บริ การและการให้ บริ การงานซ่อมบารุ ง รายได้ จากการให้ บริ การและการให้ บริ การงานซ่อมบารุ ง กาหนดราคาตามสัญญา และเงื่อนไขทางการค้ าทัว่ ไป กาหนดราคาตามสัญญา และเงื่อนไขทางการค้ าทัว่ ไป

รายได้ เงินปั นผล

ตามสิทธิที่จะได้ รับเงินปั นผล

รายได้ อื่น

รายได้ จากการขายเศษวัสดุกาหนดราคาขายตามน ้าหนัก รายได้ จากขายเศษวัสดุกาหนดราคาขายตามน ้าหนักของ ของเศษวัสดุตามอัตราที่บริ ษัทกาหนด เศษวัสดุตามอัตราที่บริ ษัทกาหนด

ตามสิทธิที่จะได้ รับเงินปั นผล

รายได้ จากการส่งเจ้ าหน้ าที่ บริ หารไปปฏิบัติงานในบริ ษั ท รายได้ จากการส่งเจ้ าหน้ าที่บริ หารไปปฏิบตั งิ านในบริ ษัทที่ ย่อยและการร่ วมค้ าเป็ นไปตามสัญญาที่ตกลงร่ วมกัน เกี่ยวข้ องกันเป็ นไปตามสัญญาที่ตกลงร่ วมกัน ซื ้อสินค้ า

รายการซื ้อสินค้ าเพื่อใช้ ในการผลิตกาหนดราคาตามราคา รายการซื ้อสินค้ าเพื่อใช้ ในการผลิตกาหนดราคาตามราคา และเงื่ อนไขทางการค้ าเช่นเดียวกันลูกค้ า ทัว่ ไปสาหรั บ ตลาด รายการประเภทเดียวกัน รายการซื ้อเหล็กแท่งแบนระหว่างบริ ษัทและบริ ษัทย่อย ส่วน หนึง่ ถูกกาหนดโดยสูตรคานวณราคาที่ได้ ตกลงกันไว้ แล้ ว ซื ้อลูกรี ด กาหนดราคาตามที่ตกลงร่ วมกัน

รับบริ การอื่น

ค่าบริ การงานซ่อมบารุ งกาหนดราคาตามสัญญาซ่อมบารุ ง ค่า ขนส่ง สินค้ า กาหนดราคาตามนา้ หนัก ของสินค้ า และ ระยะทางตามอัตราที่กาหนดไว้ ในสัญญาขนส่ง ระยะยาวซึง่ อาจมีการปรับเปลี่ยนได้ ตามความเหมาะสม ของสภาพธุรกิจ ค่าเช่าคลังสินค้ ากาหนดราคาตามสัญญาเช่า ค่าบริ การตัดเหล็กกาหนดราคาตามสัญญา

รับบริ การท่าเรื อ

ค่าบริ การท่าเทียบเรื อกาหนดราคาตามอัตราที่กาหนดโดย กระทรวงคมนาคม และขึน้ อยู่กับปริ มาณการให้ บริ การ และปั จจัยการตลาดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง

ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หาร

ค่าบริ การท่าเทียบเรื อกาหนดราคาตามอัตราที่กาหนดโดย ค่าขนส่งในประเทศกาหนดราคาตามนา้ หนัก ของสินค้ า กระทรวงคมนาคม และขึน้ อยู่กับปริ มาณการให้ บริ การ และระยะทางตามอัตราที่กาหนดไว้ ในสัญญาขนส่ง และปั จจัยการตลาดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง ค่าเช่าสานักงานกาหนดราคาตามสัญญาเช่า ค่าคอมมิชชัน่ กาหนดราคาตามสัญญา

ดอกเบี ้ยรับและค่าใช้ จ่ายทางการเงิน

ดอกเบี ย้ รับและค่าใช้ จ่ายทางการเงินกาหนดตามอัตราที่ ตกลงกันซึง่ ใกล้ เคียงกับอัตราตามท้ องตลาด


180

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายการที่สาคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ ดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2560 บริษัทย่ อย ซื ้อสินค้ าและบริ การ รายได้ เงินปั นผล รายได้ อื่น ต้ นทุนทางการเงิน การร่ วมค้ า ขายสินค้ า รายได้ จากการให้ บริ การ ซื ้อสินค้ าและบริ การ รายได้ อื่น ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หาร บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน ขายสินค้ า รายได้ จากการให้ บริ การ ซื ้อสินค้ าและบริ การ (รวมค่าใช้ จ่ายอื่นที่ เกี่ยวข้ อง) รายได้ อื่น ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน

2559

2560

2559

-

-

430,694 56,100 18,901 -

257,576 15,300 14,129 587

2,251,010 96,962 3,062 17,306 462

722,573 103,408 10,030 1,799

2,251,010 3,062 17,306 455

722,573 34,005 10,030 1,798

3,572,147 11,493

4,611,667 342,257

3,572,147 -

4,611,284 319,682

128,165

1,079,787

127,412

1,079,405

7,299 393,949 -

15,626 369,192 61

4,998 386,576 -

14,045 362,467 61


181

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ค่ าตอบแทนผู้บริหารสาคัญ ผลประโยชน์ระยะสัน้ เงินชดเชยตามกฎหมาย ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวมค่ าตอบแทนผู้บริหารสาคัญ

งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

85,066 2,430 16 87,512

71,547 2,430 16 73,993

72,351 1,914 14 74,279

59,139 1,914 14 61,067

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั นี ้ งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

ลูกหนี้การค้ า - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน การร่ วมค้ า บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด บริ ษัท สหวิริยาพาณิชย์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด อื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ

41,954

18,710

22,266

10,895

1,838,312 1,837,557 1,425

2,236,547 1,960,782 2,077

1,838,312 1,837,558 -

2,236,476 1,960,782 -

3,719,248 (2,736,667) 982,581

4,218,116 (2,736,667) 1,481,449

3,698,136 (2,736,667) 961,469

4,208,153 (2,736,667) 1,471,486


182

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 ลูกหนี้อื่น - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด

-

-

36,904

13,541

1,731

42

23

42

267,190

267,190

267,190

267,190

-

-

-

-

อื่นๆ

1,388

475

952

475

รวม

270,309

267,707

305,069

281,248

การร่ วมค้ า บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน Vanomet AG (เป็ นเงินจ่ายล่วงหน้ าค่าสินค้ า) บริ ษัท สหวิริยาเพลทมิล จากัด (มหาชน) สุทธิจาก สารองหนี ้สงสัยจะสูญจานวน 48 ล้ านบาท บริ ษัท ไลน์ทรานสปอร์ ต จากัด บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด สุทธิจากสารองหนี ้สงสัย จะสูญ จานวน 13 ล้ านบาท


183

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 รายได้ ค้างรับ บริษัทย่ อย บริ ษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด การร่ วมค้ า บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย จากัด บริ ษัท บางสะพานบาร์ มิล จากัด (มหาชน) บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด อื่นๆ รวม

-

-

459

382

290

1,395

290

556

4,625 5,036 136 10,087

3,824 5,658 219 949 12,045

4,625 5,036 136 10,546

3,824 5,658 219 10,639

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 เจ้ าหนี้การค้ า - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด บริ ษัท ท่าเรื อประจวบ จากัด บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด บริ ษัท รักษาความปลอดภัย เวสเทิร์น จากัด บริ ษัท เอส วี แอล คอเปอร์ เรชัน่ จากัด อื่นๆ รวม

-

-

9,210 11,849

3,400 7,588

37 217 43,410 73 43,737

1,145 208 34,828 40 36,221

37 43,392 40 64,528

1,145 34,810 40 46,983


184

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 เจ้ าหนี้อื่น - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษัท ท่าเรื อประจวบ จากัด บริ ษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด

-

-

2,209 1,601

7,451 2,206

การร่ วมค้ า บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน)

-

303

-

8

335 35,289 4,300 1,798 41,722

310 11,319 18,877 4,724 636 36,169

335 35,281 4,300 1,093 44,819

270 11,319 18,885 4,300 628 45,067

บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท ทรัพย์สินอาคารประภาวิทย์ จากัด บริ ษัท ไทยสตีลเซลส์ จากัด บริ ษัท เอส วี แอล คอเปอร์ เรชัน่ จากัด บริ ษัท สหวิริยาเพลทมิล จากัด (มหาชน) อื่นๆ รวม

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 เงินกู้ยมื ระยะสั้น - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริษัทย่ อย บริ ษัท ท่าเรื อประจวบ จากัด บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน กรรมการบริ ษัท รวม

-

-

7,991

7,991

-

223,274

-

223,274

-

223,274

7,991

231,265


185

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายการเคลื่อนไหวระหว่างปี สาหรับเงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันมีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 บริษัทย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม ลดลง

-

-

7,991 -

8,000 (9)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

7,991

7,991

223,274 (223,274)

637,000 (413,726)

223,274 (223,274)

637,000 (413,726)

-

223,274

-

223,274

บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวข้ องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

กรรมการบริ ษัทซึง่ เป็ นเจ้ าหนี ้ตามสัญญาเงินกู้ จานวน 637 ล้ านบาทได้ ทาหนังสือสัญญาซื ้อขายและโอนสิทธิเรี ยกร้ อง เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ให้ แก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน 2 แห่งคือ บริ ษัท สหวิริยาเพลทมิล จากัด (มหาชน) จานวน 413.7 ล้ านบาท และ บริ ษัท บี เอส เมทัล จากัด จานวน 223.3 ล้ านบาท โดยในปี 2558 ทางบริ ษัท สหวิริยาเพลทมิล จากัด(มหาชน) นายอดหนี ้ที่ได้ รับโอนสิทธิ เรี ยกร้ องมาหักกลบลบหนี ้กับยอดลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นที่มีกับบริ ษัท และทาให้ บริ ษัทต้ องบันทึกยอดเจ้ าหนี ้ที่ต้องจ่ายคืนบริ ษั ท สหวิริยาเพลทมิล จากัด (มหาชน) จานวน 4.3 ล้ านบาท และในปี 2560 ทางบริ ษัท บี เอส เมทัล จากัด นายอดหนี ้ที่ได้ รับโอนสิทธิ เรี ยกร้ องมาหักกลบลบหนี ้กับยอดลูกหนี ้การค้ าที่มีกบั บริ ษัท จานวน 223.3 ล้ านบาท สัญญาที่มีสาระสาคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน สัญญาการร่ วมค้า เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 บริ ษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ ทาสัญญาการร่ วมค้ าร่ วมกับบริ ษัทในประเทศแห่งหนึ่ง เพื่อการร่ วมค้ าสาหรับรับ งานจากการรถไฟแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 การร่ วมค้ าดังกล่าวยังมิได้ ดาเนินงานเชิงพาณิชย์


186

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม 2560 2559 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร รวม

6

702 1,558,068 1,558,770

686 424,369 425,055

ลูกหนีก้ ารค้ า งบการเงินรวม 2560 2559 กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 600 1,472,242 1,472,842

600 355,936 356,536

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

3,719,248 507,323

4,218,116 307,809

3,698,136 492,309

4,208,153 287,879

4,226,571 (3,021,545) 1,205,026

4,525,925 (3,021,526) 1,504,399

4,190,445 (3,020,476) 1,169,969

4,496,032 (3,020,476) 1,475,556

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี ้การค้ ามีดงั นี ้

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ยังไม่ครบกาหนดชาระ เกินวันครบกาหนดชาระ น้ อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ

งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

234,491

1,476,186

216,546

1,471,486

519,390 1,433,105 1,532,262 -

941,810 966,847 833,273 -

516,233 1,433,095 1,532,262 -

936,667 966,793 833,207 -

3,719,248 (2,736,667) 982,581

4,218,116 (2,736,667) 1,481,449

3,698,136 (2,736,667) 961,469

4,208,153 (2,736,667) 1,471,486


187

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

บุคคลหรือกิจการอื่นๆ ยังไม่ครบกาหนดชาระ เกินวันครบกาหนดชาระ น้ อยกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน มากกว่า 12 เดือน

185,166

19,823

176,263

4,070

2,157 32,237 2,617 285,146

2,860 285,126

32,237 283,809

283,809

หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ

507,323 (284,878)

307,809 (284,859)

492,309 (283,809)

287,879 (283,809)

222,445 1,205,026

22,950 1,504,399

208,500 1,169,969

4,070 1,475,556

สุทธิ

โดยปกติระยะเวลาการให้ สินเชื่อแก่ลกู ค้ าของกลุ่มบริ ษัทมีระยะเวลาตังแต่ ้ 5 ถึง 90 วัน


188

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

7

สินค้ าคงเหลือ งบการเงินรวม 2560 2559 สินค้ าสาเร็ จรู ป สินค้ าระหว่างผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงานและอะไหล่ สินค้ าภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายและการส่งมอบกรรมสิทธิ สินค้ าและการบริ หาร (หมายเหตุ 16) สินค้ าระหว่างทาง

2,189,583 6,876 2,541,168 752,806

1,654,806 26,192 2,515,451 778,511

2,189,583 2,537,102 752,806

1,666,492 2,522,113 772,777

982,316 1,309,923

29,175 1,994,128

982,316 1,309,924

29,175 1,994,128

หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง รวม

7,782,672 (414,353) 7,368,319

6,998,263 (488,517) 6,509,746

7,771,731 (414,353) 7,357,378

6,984,685 (488,420) 6,496,265

-

3,902,128

-

3,894,381

มูลค่าตามบัญชีของสินค้ าคงเหลือ ที่ดารงตามคาสัง่ หรื อจานองเพื่อ ค ้าประกันหนี ้สิน

8

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจากัดในการใช้ บริ ษัทได้ นาเงินฝากสถาบันการเงินเป็ นวางเป็ นหลักประกัน สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า (forword Contract) ตาม สัญญาดังกล่าว บริ ษัทไม่สามารถนาเงินฝากธนาคารในบัญชีไปใช้ ได้ ตามอัตราที่กาหนดของอายุสญ ั ญาฯ บริ ษัทย่อยแห่งหนึ่งจานวนได้ นาเงินฝากประจา ได้ นาไปค ้าประกันวงเงินสินเชื่อที่ได้ รับจากสถาบันการเงินและหนังสือค ้าประกันที่ ออกโดยธนาคาร


9

ลักษณะธุรกิจ

รวม

-

75,000 75,000 279,000 279,000

99.99

99.99 75,000 75,000

-

การด้ อยค่า 2560 2559

51.00 400,000 400,000 204,000 204,000

ราคาทุน 2560 2559

51.00

สัดส่วน ความเป็ นเจ้ าของ ทุนชาระแล้ ว 2560 2559 2560 2559 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

- 75,000 75,000 - 279,000 279,000

- 204,000 204,000

ราคาทุน-สุทธิ 2560 2559

56,100 15,300

56,100 15,300

เงินปันผลรับ สาหรับปี 2560 2559

หน่วย : พันบาท

อัตราคิดลด ประมาณการอัตราการเติบโตของกาไร EBITDA (อัตราถัวเฉลี่ย 4 ปี ข้างหน้ า)

ข้ อสมมติสาคัญที่ใช้ ในการประมาณการมูลค่าจากการใช้ มีดงั นี ้

16.25

9.35

2560 (ร้อยละ)

17.00

9.86

2559

ผู้บริ หารได้ ทดสอบการด้ อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย_โดยพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนจากมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์ซงึ่ วัดมูลค่าโดยการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่า จะได้ รับจากการดาเนินงานต่อเนื่องของบริ ษัทย่อย โดยมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนสูงกว่ามูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษัท ท่าเรื อประจวบ จากัด บริ การท่าเรื อน ้าลึกและ บริ การขนถ่ายสินค้ า สาหรับเรื อเดินทะเล บริ ษัท เวสท์โคสท์ บริ การซ่อมบารุ ง เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด

ชื่อบริ ษัท

เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั นี ้

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

189


190

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

10

ส่ วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่ มีอานาจควบคุม ตารางต่อไปนี ้สรุ ปข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัทย่อยแต่ละรายของกลุ่มบริ ษัทที่มีส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมที่มีสาระสาคัญก่อนการตัด รายการระหว่างกัน หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม 2560 บริษัทย่ อยอื่น ตัดรายการ บริษัท ท่ าเรือ ที่ไม่ มี รวม ระหว่ างกัน ประจวบ จากัด สาระสาคัญ ร้ อยละของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม 49 สินทรัพย์หมุนเวียน 102,376 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 1,290,265 หนี ้สินหมุนเวียน (17,025) หนี ้สินไม่หมุนเวียน (42,296) สินทรัพย์ สุทธิ 1,333,320 653,327 มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม 9 (35,252) 618,084 รายได้ กาไร กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม กาไรที่แบ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กระแสเงินสดได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (เงินปันผลที่จ่ายให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม: 53.9 ล้ านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดลดลงสุทธิ

238,387 52,122 52,122 25,540 144,200 (8,839)

(129,005) 6,355

8

(3,297)

22,251


191

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หน่วย : พัน บาท

ร้ อยละของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี ้สินหมุนเวียน หนี ้สินไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ สุทธิ มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม รายได้ กาไร กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม กาไรที่แบ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นที่แบ่งให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มี อานาจควบคุม กระแสเงินสดได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (เงินปันผลที่จ่ายให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม: 14.7 ล้ านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดลดลงสุทธิ

31 ธันวาคม 2559 บริษัทย่ อยอื่น บริษัท ท่ าเรือ ตัดรายการ ที่ไม่ มี ประจวบ จากัด สาระสาคัญ ระหว่ างกัน 49 96,939 1,366,584 (33,946) (38,379) 1,391,198 681,687 8,887 (40,842)

รวม

649,732

282,386 78,337 (710) 77,627 38,385

(96)

(3,663)

34,626

(348)

143

(143)

(348)

224,118 (13,224)

(239,028) (28,134)


ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

รวม

ทุนชาระแล้ ว 2560 2559

-

3,817,962 3,817,962 2,709,650 2,706,332

ส่วนได้ เสีย 2560 2559

การด้ อย ค่า 2560 2559

3,817,962 3,817,962 2,709,650 2,706,332

ราคาทุน 2560 2559

งบการเงินรวม

- 2,709,650 2,706,332

- 2,709,650 2,706,332

ส่วนได้ เสีย-สุทธิ 2560 2559

-

-

เงินปั นผลรับ สาหรับปี 2560 2559

หน่วย : พันบาท

กลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทได้ จานาหุ้นสามัญ จานวน 150,176,007 หุ้น ในการร่ วมค้ า บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) ไว้ กบั บริ ษัท มารู เบนี -อิโตชู สตีล อินคอร์ เปอเรชัน่ สาหรับ วงเงินสินเชื่อการค้ าที่บริ ษัท มารู เบนี-อิโตชู สตีล อินคอร์ เปอเรชัน่ ให้ แก่ บริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด และบริ ษัทได้ ตงประมาณการหนี ั้ ้สินจากการนาหุ้นสามัญในการร่ วมค้ า บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) ไปค ้าประกันกับบริ ษัท มารู เบนี-อิโตชู สตีล อินคอร์ เปอเรชัน่ เป็ นจานวนเงิน 513 ล้ านบาท

บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย จากัด (มหาชน) ดาเนินธุรกิจในประเทศไทย

35.19 4,816,350 4,816,350

สัดส่วน ความเป็ นเจ้ าของ 2560 2559 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

เงินลงทุนในการร่ วมค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั นี ้

เงินลงทุนในการร่ วมค้ า

บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย ผลิตและจาหน่าย จากัด (มหาชน) เหล็กแผ่นรีดเย็น ชนิดม้ วน 35.19

11

-

-

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

192


ลักษณะธุรกิจ

รวม

บริ ษัท เหล็กแผ่นรี ดเย็นไทย ผลิตและจาหน่าย จากัด (มหาชน) เหล็กแผ่นรี ดเย็น ชนิดม้ วน

ชื่อบริ ษัท

35.19

ทุนชาระแล้ ว 2560 2559

ราคาทุน 2560 2559

การด้ อยค่า 2560 2559

ราคาทุน-สุทธิ 2560 2559

35.19 4,816,350 4,816,350 3,817,962 3,817,962 658,294 658,294 3,159,668 3,159,668 3,817,962 3,817,962 658,294 658,294 3,159,668 3,159,668

สัดส่วน ความเป็ นเจ้ าของ 2560 2559 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

เงินปันผลรับ สาหรับปี 2560 2559

หน่วย : พันบาท

-

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

193


194

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การร่ วมค้า ตารางต่อไปนี ้สรุ ปข้ อมูลทางการเงินของการร่ วมค้ าที่รวมอยู่ในงบการเงินของการร่ วมค้ า ปรับปรุ งด้ วยการปรับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื อ้ การกระทบยอดรายการระหว่างข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ปดังกล่าวกับมูลค่าตามบัญชีของส่วนได้ เสียของกลุ่มบริ ษัทในกิจการเหล่านี ้ 2560

หน่วย : พันบาท 2559

รายได้ กาไรจากการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของผู้ถกู ลงทุน

12,773,280 40,401 939 41,340 26,792 14,548

10,095,781 475,062 26,823 501,885 325,272 176,613

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี ้สินหมุนเวียน หนี ้สินไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ สุทธิ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของผู้ถกู ลงทุน

3,857,403 3,702,885 (2,218,314) (53,151) 5,288,823 3,427,686 1,861,137

2,942,233 3,809,570 (1,446,965) (57,354) 5,247,484 3,400,894 1,846,590

ส่วนได้ เสียของกลุ่มบริ ษัทในสินทรัพย์สทุ ธิของผู้ถกู ลงทุน ณ วันที่ 1 มกราคม กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมส่วนที่เป็ นของกลุ่มบริ ษัท มูลค่ าตามบัญชีของส่ วนได้ เสียในผู้ถูกลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2,706,332 3,318 2,709,650

2,529,084 177,248 2,706,332


195

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

หนีส้ ินที่อาจเกิดขึน้ และภาระผูกพันที่เกี่ยวกับการร่ วมค้ า

หนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิ ดขึ้นซึ่งเกิ ดขึ้นโดยตรงกับกลุ่มบริ ษทั ส่วนแบ่งของกลุ่มบริ ษัทในหนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้นของ การร่ วมค้ า ภาระผูกพันเกี ่ยวกับการลงทุนของกลุ่มบริ ษัทตามส่วนได้เสี ยที ่มีใน การร่ วมค้า ส่วนแบ่งในภาระผูกพันของกลุ่มบริ ษัทในการร่ วมค้ า - จากรายจ่ายฝ่ ายทุน

- จากสัญญาเช่าดาเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ - จากสัญญาซื ้อวัตถุดบิ และสารเคมี

- จากสัญญาอื่นๆ

2560

2559

9 ล้ านบาท

20 ล้ านบาท

87 ล้ านบาท 65 ล้ านบาท 0.18 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ 0.21 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ 0.25 ล้ านเยนญี่ปนุ่ 43 ล้ านเยนญี่ปนุ่ 0.11 ล้ านปอนด์ 0.11 ล้ านปอนด์ และ 0.07 ล้ านยูโร และ 0.11 ล้ านยูโร 7 ล้ านบาท 1 ล้ านบาท 103 ล้ านบาท 228 ล้ านบาท และ 13.51 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ และ 8.55 ล้ านเหรี ยญ สหรัฐ 11 ล้ านบาท 1 ล้ านบาท และ 11 ล้ านเยนญี่ปนุ่ และ 11 ล้ านเยนญี่ปนุ่

ผู้บริ หารได้ ทดสอบการด้ อยค่าของเงินลงทุนในการร่ วมค้ า_โดยพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนจากมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์ซงึ่ วัด มูลค่าโดยการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะได้ รับจากการดาเนินงานต่อเนื่องของการร่ วมค้ า โดยมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนสูง กว่ามูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ข้ อสมมติสาคัญที่ใช้ ในการประมาณการมูลค่าจากการใช้ มีดงั นี ้ 2559

2560 (ร้อยละ) อัตราคิดลด ประมาณการอัตราการเติบโตของกาไร EBITDA (อัตราถัวเฉลี่ย 5 ปี ข้างหน้ า)

7.02 4.90

10.23 11.00


ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

รวม

3.70

3.70

สัดส่วน ความเป็ นเจ้ าของ 2560 2559 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

เงินลงทุนระยะยาวอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั นี ้

เงินลงทุนระยะยาวอื่น

บริษัท เหล็กแผ่นเคลือบไทย ผลิ ต และจ าหน่ า ยเหล็ ก แผ่ น จากัด เคลือ บสังกะสี ด้ ว ยกรรมวิ ธี ทางไฟฟ้าชนิดม้ วน

12

294,000 294,000

ราคาทุน 2560 2559

2,206,990 2,206,990 294,000 294,000

ทุนชาระแล้ ว 2560 2559

294,000 294,000

294,000 294,000

การด้ อยค่า 2560 2559

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

-

-

เงินปั นผลรับ ราคาทุน-สุทธิ สาหรับปี 2560 2559 2560 2559

หน่วย : พันบาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

196


13

2,059,556

1,628,319

โอนเป็ นต้ นทุนสินค้ าคงเหลือ จาหน่าย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

334

615 745 -

2,058,477

1,627,704

6,400 -

187

-

2,051,890

อาคารโรงงาน และสานักงาน

1,627,704

ที่ดนิ และส่วน ปรับปรุ งที่ดนิ

-

โอน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่มขึ ้น

โอนเป็ นต้ นทุนสินค้ าคงเหลือ จาหน่าย

โอน

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ ้น

ราคาทุน

ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์

19,019,052

105,705 (94,417)

76,873

18,930,891

86,094 (2,648)

8,403

18,839,042

เครื่ องจักร เครื่ องมือ และ อุปกรณ์โรงงาน

210,166

1,143 (22,325)

28,194

203,154

3,049 (6,191)

5,366

200,930

เครื่ องตกแต่ง ติดตังและ ้ เครื่ องใช้ สานักงาน

งบการเงินรวม

98,699

(514)

52

99,161

(5,585)

100

104,646

ยานพาหนะ

481,034

(107,593) (186,709) -

274,535

500,801

(95,543) (187,349) -

146,073

637,620

สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ างและติดตัง้

23,496,826

(186,709) (117,256)

380,603

23,420,188

(187,349) (14,424)

160,129

23,461,832

รวม

หน่วย : พันบาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

197


มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินและสัญญาเช่าซื ้อ รวม

ค่ าเสื่อมราคาและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี จาหน่าย การด้ อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินและสัญญาเช่าซื ้อ

หมายเหตุ

339,942 339,942

381,646 381,646

972,067 972,067 972,319 972,319

1,627,245 49,586 1,676,831 42,783 1,719,614

อาคารโรงงาน และสานักงาน

655,125 512 655,637 363 656,000

ที่ดนิ และส่วน ปรับปรุ งที่ดนิ

9,475,224 9,383 9,484,607

9,519,386 246,030 9,765,416

8,754,733 413,375 (2,633) 9,165,475 418,692 (49,722) 9,534,445

เครื่ องจักร เครื่ องมือ และ อุปกรณ์โรงงาน

38,180 38,180

22,086 22,086

175,436 11,785 (6,153) 181,068 12,646 (21,728) 171,986

งบการเงินรวม เครื่ องตกแต่ง ติดตังและ ้ เครื่ องใช้ สานักงาน

4,960 4,960

8,017 3,054 11,071

85,512 8,163 (5,585) 88,090 6,152 (503) 93,739

ยานพาหนะ

462,034 462,034

481,801 481,801

19,000 19,000 19,000

สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ างและติดตัง้

11,292,659 9,383 11,302,042

11,385,003 249,084 11,634,087

11,298,051 483,421 (14,371) 19,000 11,786,101 480,636 (71,953) 12,194,784

รวม

หน่วย : พันบาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

198


187 6,400 1,897,172 264 745 1,898,181

-

1,004,896 -

1,004,896

โอนเป็ นต้ นทุนสินค้ าคงเหลือ จาหน่าย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่มขึ ้น

โอนเป็ นต้ นทุนสินค้ าคงเหลือ จาหน่าย/ตัดจาหน่าย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

โอน

โอน

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ ้น -

อาคารโรงงานและ สานักงาน 1,890,585

ที่ดนิ และส่วน ปรับปรุ งที่ดนิ

1,004,896

ราคาทุน

หมายเหตุ

16,565,585

(28,438)

96,571

16,462,576 34,876

56,300 (1,982)

3,527

16,404,731

เครื่ องจักร เครื่ องมือ และ อุปกรณ์โรงงาน

170,337

(16,160)

1,143

163,176 22,178

3,050 (5,226)

4,932

160,420

เครื่ องตกแต่ง ติดตังและเครื ้ ่ องใช้ สานักงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

69,528

(514)

-

69,990 52

(4,209)

14

74,185

ยานพาหนะ

469,670

(186,709) -

(98,459)

480,585 274,253

(65,750) (187,349) -

110,638

623,046

สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ างและติดตัง้

20,178,197

(186,709) (45,112)

-

20,078,395 331,623

(187,349) (11,417)

119,298

20,157,863

รวม

หน่วย : พันบาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

199


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินและสัญญาเช่าซื ้อ รวม มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินและสัญญาเช่าซื ้อ รวม

ค่ าเสื่อมราคาและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี จาหน่าย

หมายเหตุ อาคารโรงงานและ สานักงาน 1,536,627 43,590 1,580,217 39,295 1,619,512

316,955 316,955

278,669 278,669

ที่ดนิ และส่วน ปรับปรุ งที่ดนิ

339,925 372 340,297 98 340,395

664,599 664,599

664,501 664,501

8,456,099 8,456,099

8,668,143 8,668,143

7,477,860 318,541 (1,968) 7,794,433 327,341 (12,288) 8,109,486

30,809 30,809

17,270 17,270

141,967 9,135 (5,196) 145,906 9,582 (15,960) 139,528

3,015 3,015

3,345 3,054 6,399

62,433 5,367 (4,209) 63,591 3,425 (503) 66,513

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่ องจักร เครื่ องตกแต่ง เครื่ องมือ และ ติดตังและเครื ้ ่ องใช้ อุปกรณ์โรงงาน สานักงาน ยานพาหนะ

469,670 469,670

480,585 480,585

-

สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้ างและติดตัง้

9,902,763 9,902,763

10,150,897 3,054 10,153,951

9,558,812 377,005 (11,373) 9,924,444 379,741 (28,751) 10,275,434

รวม

หน่วย : พันบาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

200


201

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึง่ ได้ คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจานวนแล้ ว แต่ยงั คงใช้ งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจานวน 2,597.4 ล้ านบาท (2559: จานวน 2,514.1 ล้านบาท) ราคาทรัพย์สินของบริ ษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึง่ ได้ คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจานวนแล้ ว แต่ยงั คงใช้ งาน จนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจานวน 2,068 ล้ านบาท (2559: จานวน 1,972 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษัทได้ บนั ทึกผลขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์เป็ นจานวนเงิน 19 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทได้ จดจานอง/จานาสินทรัพย์จานวนประมาณ 9,428 ล้ านบาท และ 9,113 ล้ านบาท ตามลาดับ (31 ธันวาคม 2559: จานวน 9,733 ล้านบาท และ 9,418 ล้านบาท ตามลาดับ) เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี ธนาคารเงินกู้ยืมระยะสันและเงิ ้ นกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนังสือค ้าประกันเพื่อค ้าประกันไฟฟ้า จัดตังท ้ าเนียบท่าเรื อและ โรงพักสินค้ า ตามที่อธิบายไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 15, 18 และ 29 14

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี ้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม สินทรัพย์ รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนีส้ ิน) ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี

หนีส้ ิน

2560

2559

2560

2559

29,405 (11,552) 17,853

37,868 (12,201) 25,667

(72,955) 11,551 (61,404)

(102,631) 12,201 (90,430)

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ 2560 หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี

หนีส้ ิน 2559

-

-

2560

2559

(31,280)

(63,139)


202

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี ้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ ้นในระหว่างปี มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี ้การค้ า สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน ยอดขาดทุนสะสมทางภาษียกไป รวม หนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

หนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน รวม

บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ ใน กาไรหรื อ กาไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

210 19 22 13,600

4 (19) (22) (3,436)

-

214 10,164

9,789 14,228

(3,194) (1,796)

-

6,595 12,432

37,868

(8,463)

-

29,405

(312) (93,360)

55 28,723

-

(257) (64,637)

(6,342) (2,617)

3,598 (2,700)

-

(2,744) (5,317)

(102,631)

29,676

-

(72,955)

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ ใน กาไรหรื อ กาไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น

หน่วย : พันบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

(60,395)

31,859

(28,536)

(2,744)

-

-

(2,744)

(63,139)

31,859

-

(31,280)


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

203

สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีที่เกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่มิได้ รับรู้ ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มี รายละเอียดดังนี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ - ผลแตกต่างชัว่ คราว 7,673,301 7,779,268 7,673,301 7,725,190 - ยอดขาดทุนยกไป 561,592 1,692,146 561,592 1,692,146 สุทธิ 8,234,893 9,471,414 8,234,893 9,417,316

ขาดทุนทางภาษีของบริ ษัทในประเทศไทยจะสิ ้นอายุในปี 2561 - 2566 ผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้ หกั ภาษี ที่ยงั ไม่สิ ้นอายุตามกฎหมายเกี่ยวกับ ภาษี เงินได้ ปัจจุบนั นัน้ กลุ่มบริ ษัทยังมิได้ รับรู้ รายการดังกล่าวเป็ นสินทรั พย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเนื่องจากยังไม่มีความเป็ นได้ ค่อนข้ างแน่วา่ กลุ่มบริ ษัทจะมีกาไรทางภาษี เพียงพอที่จะใช้ ประโยชน์ทางภาษีหรื อมีการกลับรายการผลแตกต่างชัว่ คราวในอนาคต 15

เงินกู้ยมื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทมีวงเงินสินเชื่อซึง่ ยังไม่ได้ เบิกใช้ เป็ นจานวนเงินรวม 102.9 ล้ านบาท และไม่มีวงเงินสินเชื่อสาหรับ บริ ษัท (2559: สาหรับกลุ่มบริ ษทั มี 57 ล้านบาท และไม่มีวงเงิ นสิ นเชือ่ สาหรับบริ ษทั ) เงินกู้ยืมระยะสันของบริ ้ ษัท ท่าเรื อประจวบ จากัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยค ้าประกันโดยการจดจานองที่ดินพร้ อม สิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่แล้ ว และ/หรื อที่จะเกิดขึน้ ในอนาคตของบริ ษัทย่อย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสัน้ ของบริ ษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยค ้าประกันโดยการจานองที่ดินพร้ อมสิ่งปลูกสร้ างและการโอนสิทธิประโยชน์จากการเอาประกันภัยสินทรัพย์ ของบริ ษัทย่อยดังกล่าว เงินฝากประจาของบริ ษัทย่อย ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 8 และ 13


204

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

16

เจ้ าหนีก้ ารค้ า

งบการเงินรวม 2560 2559 กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่นๆ รวม

43,737 2,989,319 3,033,056

36,221 2,208,083 2,244,304

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 64,528 2,937,680 3,002,208

46,983 2,157,993 2,204,976

สินค้ าคงเหลือภายใต้ สัญญาซื้อขายและการส่ งมอบกรรมสิทธิ์สินค้ าและการบริหาร (Collateral Management Agreement) บริ ษัทได้ ทาสัญญาซื ้อสินค้ าคงเหลือภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายและการส่งมอบกรรมสิทธิ์สินค้ าและการบริ หารกับบริ ษัทสองแห่งในประเทศ สิงคโปร์ และญี่ปนุ่ ภายใต้ เงื่อนไขของสัญญาบริ ษัทจะต้ องชาระเงินมัดจาบางส่วน และจะชาระเงินเต็มจานวนเมื่อมีการเบิกสินค้ าจาก บริ ษัทตัวแทนบริ ษัทยังคงเหลื อความเสี่ยงและผลตอบแทนทังหมดหรื ้ อบางส่วนที่มีสาระสาคัญเกี่ ยวกับสินค้ าที่อยู่ภายใต้ สัญญา ดังกล่าว สินค้ าคงเหลือจะถูกเก็บรั กษา บริ หารจัดการ ภายใต้ การดูแลของบริ ษัทตัวแทนที่ได้ รับมอบหมายหน้ าที่จากบริ ษัทผู้ขาย บริ ษัทบันทึกรายการซื ้อในบัญชีสินค้ าคงเหลือภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายและการส่งมอบกรรมสิทธิ์สินค้ าและการบริ หาร และเจ้ าหนี ้การค้ า ภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายและการส่งมอบกรรมสิทธิ์สินค้ าและการบริ หารแสดงไว้ ในงบแสดงฐานะการเงิน 17

หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น

ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่าย เจ้ าหนี ้อื่น เงินรับล่วงหน้ าจากการขายสินค้ า อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

118,470 50,541 291,195 52,843 513,049

110,809 34,855 283,929 33,616 463,209

170,620 30,865 271,370 33,946 506,801

156,598 24,681 262,696 22,236 466,211


205

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

18

หนีส้ ินภายใต้ แผนฟื ้ นฟูกิจการ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

ส่ วนที่ถงึ กาหนดชาระใน 1 ปี เจ้ าหนี ้อื่น

60,632

73,450

60,632

73,450

1,038,619

1,013,619

1,038,619

1,013,619

498,485

455,667

498,485

455,667

1,597,736

1,542,736

1,597,736

1,542,736

1,853,026

1,910,854

1,853,026

1,910,854

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

23,319,835

24,599,427

23,319,835

24,599,427

ประมาณการหนี ้สินภายใต้ สญ ั ญาค ้าประกัน

25,476,910

28,489,629

25,476,910

28,489,629

50,649,771

54,999,910

50,649,771

54,999,910

52,247,507

56,542,646

52,247,507

56,542,646

8,277,827

7,617,098

8,277,827

7,617,098

60,525,334

64,159,744

60,525,334

64,159,744

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ประมาณการหนี ้สินภายใต้ สญ ั ญาค ้าประกัน ส่ วนที่ไม่ หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่น

ดอกเบี ้ยค้ างจ่าย รวมหนีส้ ินภายใต้ แผนฟื ้ นฟูกิจการ

รายการเคลื่อนไหวของหนี ้สินภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน จ่ายชาระคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

56,542,646 (2,477,199) (1,817,940) 52,247,507

หนี ้สินภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการส่วนที่มีหลักประกัน รายละเอียดของหลักประกันที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ตามที่กล่า วไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้ อ 13


206

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ในปี 2558 ผู้ให้ ก้ ยู ืมรายใหญ่ได้ เรี ยกร้ องการชาระเงินโดยทันทีจากยอดเงินกู้ยืมคงเหลือจานวน 788 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ และ 1 ล้ านปอนด์ สเตอร์ ลิง ตามลาดับ (เทียบเท่ากับ 28,384 ล้ านบาท และ 46 ล้ านบาท ตามลาดับ) และยอดเงินบาทจานวน 1.6 ล้ านบาทกับบริ ษัทสหวิริ ยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด และในเวลาต่อมาผู้ให้ ก้ ยู ืมรายใหญ่ยงั ขอให้ บริ ษัทรับผิดชอบต่อมูลหนี ้ในฐานะผู้ค ้าประกันเงินกู้ยืม มีผลให้ บริ ษัทไม่สามารถดารงอัตราส่วนทางการเงิน และไม่ได้ จ่ายชาระคืนเงินต้ นและดอกเบี ้ยที่ถึงกาหนดจ่ายชาระกับธนาคาร โดยผู้ให้ กู้รายใหญ่ของบริ ษัทได้ เรี ยกร้ องการชาระเงินกู้ยืมทังหมดในทั ้ นที เหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ นเหตุให้ คณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิให้ บริ ษัทยื่ น ความจานงเพื่อขอฟื น้ ฟูกิจการต่อศาลล้ มละลายกลางเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 อันเป็ นผลมาจากแผนฟื น้ ฟูกิจการที่ได้ รับอนุมัติจากศาล ล้ มละลายกลางเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559 เงินกู้ยืมระยะยาวทังหมดจากสถาบั ้ นการเงิน ประมาณการหนี ้สินจากการเป็ นผู้ค ้าประกัน และเจ้ าหนีอ้ ื่นภายใต้ แผนฟื ้นฟูกิจการรวมเป็ นส่วนหนึ่งของแผนฟื ้นฟูกิจการ (ดูหมายเหตุข้อ 20) ทังนี ้ ก้ ารจัดประเภทของเงินกู้ยืม ประมาณการหนี ้สิน เจ้ าหนี ้อื่นและดอกเบี ้ยค้ างจ่ายภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ เป็ นไปตามแผนการชาระหนี ้ที่ระบุในแผนฟื น้ ฟูกิจการ ยอดหนี ้สินตามแผนฟื น้ ฟูกิจการ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได้ ดงั นี ้

งบการเงินรวม 2560 2559 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินปอนด์สเตอร์ ลิง รวม

26,731,983 25,515,524 52,247,507

25,070,775 31,425,634 46,237 56,542,646

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 26,731,983 25,515,524 52,247,507

25,070,775 31,425,634 46,237 56,542,646


207

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

19

ประมาณการหนีส้ ินไม่ หมุนเวียนสาหรับผลประโยชน์ พนักงาน

งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

179,590 12,429 192,019

169,738 8,834 178,572

150,452 8,595 159,047

138,405 9,060 147,465

15,371 5,174 20,545

21,699 2,376 24,075

11,969 4,729 16,698

17,972 1,717 19,689

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประมาณการหนีส้ ินในงบแสดงฐานะการเงินสาหรับ เงินชดเชยตามกฎหมาย ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวม สาหรับปี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน เงินชดเชยตามกฎหมาย ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวม รับรู้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กาไรจากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ พนักงานที่กาหนดไว้

-

(46,787)

-

(29,680)

เงินชดเชยตามกฎหมาย กลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทจัดการโครงการบาเหน็จบานาญพนักงานตามข้ อกาหนดของพระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ใน การให้ ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน


208

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปั จจุบนั ของประมาณการหนี ้สินสาหรับผลประโยชน์พนักงานสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงดังตารางได้ ดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2560 2559 2560 2559 ประมาณการหนี ้สินสาหรับผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 178,572 211,276 147,465 160,395 รับรู้ในกาไรขาดทุน ต้ นทุนบริ การปั จจุบนั และดอกเบี ้ย 20,545 24,075 16,698 19,689 รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กาไรจากการประมาณตามหลัก คณิตศาสตร์ ประกันภัยที่รับรู้ ในระหว่างปี อื่นๆ ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ

-

(46,787)

-

(29,680)

(7,098)

(9,992)

(5,116)

(2,939)

ประมาณการหนีส้ ินสาหรับผลประโยชน์ พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

192,019

178,572

159,047

147,465

กาไรและขาดทุนจากการกาไรจากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์พนักงานที่กาหนดไว้ ที่รับรู้ ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น เกิดขึน้ จาก หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2560 2559 2560 2559 สมมติฐานประชากร สมมติฐานทางการเงิน การปรับปรุ งจากประสบการณ์ รวม

-

(52,553) 21,298 (15,532)

-

(50,958) 21,368 (90)

-

(46,787)

-

(29,680)


209

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ข้ อสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ข้ อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน ้าหนัก)ได้ แก่ งบการเงินรวม 2560 2559 อัตราคิดลด (ร้อยละ) การเพิ่มขึ ้นของเงินเดือนในอนาคต (ร้อยละ)

3.03 - 3.20 5.59 - 6.64

3.03 - 3.20 5.59 - 6.64

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 3.03 6.59

3.03 6.59

ข้ อสมมติฐานเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้ อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ ทวั่ ไปและตารางมรณะ การวิเคราะห์ ความอ่ อนไหว การเปลี่ ยนแปลงในแต่ละข้ อ สมมติฐานที่เ กี่ ยวข้ อ งในการประมาณการตามหลักคณิ ต ศาสตร์ ป ระกันภัย ที่อ าจเป็ นไปได้ อ ย่า ง สมเหตุสมผล ณ วันที่รายงาน โดยถือว่าข้ อสมมติฐานอื่นๆ คงที่ จะมีผลกระทบต่อ ประมาณการหนี ้สินสาหรับผลประโยชน์ที่กาหนด ไว้ เป็ นจานวนเงินดังต่อไปนี ้ งบการเงินรวม เพิ่มขึ ้น ลดลง ประมาณการหนีส้ ินสาหรับผลประโยชน์ พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้ อยละ 0.5) การเพิ่มขึ ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงร้ อยละ 0.5) อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน (เปลี่ยนแปลงร้ อยละ 1)

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ ้น ลดลง

(6,305)

6,696

(5,304)

5,629

6,356

(6,000)

5,306

(5,041)

(14,670)

16,556

(12,239)

13,794

แม้ ว่าการวิเคราะห์นีไ้ ม่ได้ คานึงการกระจายตัวแบบเต็มรู ปแบบของกระแสเงินสดที่คาดหวังภายใต้ โครงการดังกล่าว แต่ได้ แสดง ประมาณการความอ่อนไหวของข้ อสมมติฐานต่างๆ


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

20

210

แผนฟื ้ นฟูกิจการ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมตั ใิ ห้ บริ ษัทยื่นคาร้ องเพื่อขอฟื น้ ฟูกิจการต่อศาลล้ มละลายกลาง ต่อมาวันที่ 10 มีนาคม 2559 ศาลล้ มละลายกลางได้ มีคาสัง่ ให้ บริ ษัทฟื น้ ฟูกิจการและตังบริ ้ ษัทเป็ นผู้ทาแผนฟื น้ ฟูกิจการ (“ผู้ทาแผน”) โดยได้ มีการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ณ วันที่ 15 กันยายน 2559 เจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ได้ จดั ประชุมเจ้ าหนี ้เพื่อพิจารณาแผน และที่ประชุมเจ้ าหนี ้ได้ มีมติพิเศษยอมรับ แผนฟื น้ ฟูกิจการ (“แผน”) และมีมติตงเจ้ ั ้ าหนี ้จานวน 3 รายประกอบด้ วย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุ งไทยและธนาคารทิสโก้ เป็ นกรรมการเจ้ าหนี ้ ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2559 ศาลล้ มละลายกลางได้ มีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผน ซึง่ แผนกาหนดให้ บริ ษัทเป็ นผู้บริ หารแผน เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เจ้ าหนี ้รายหนึ่งได้ ยื่นอุทธรณ์ คาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนฟื น้ ฟูกิจการต่อศาลล้ มละลายกลาง โดยศาล ล้ มละลายกลางได้ นาส่งอุทธรณ์ต่อยังศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษเพื่อพิจารณารับอุทธรณ์หรื อไม่ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 ยัง ไม่ทราบผล สาระสาคัญของแผนฟื น้ ฟูกิจการที่ศาลล้ มละลายกลางได้ มีคาสัง่ เห็นชอบด้ วย มีดงั นี ้ 1. การจัดกลุ่มเจ้ าหนี ้ ในแผนฟื น้ ฟูกิจการได้ จดั แบ่งกลุ่มเจ้ าหนี ้ที่ยื่นคาร้ องขอรับชาระหนี ้ออกเป็ นกลุ่มรวม 13 กลุ่ม แบ่งเป็ นภาระหนี ้เงินบาทจานวน 33,849.9 ล้ านบาท และเป็ นเงินตราต่างประเทศสกุลเงินเหรี ยญสหรัฐจานวน 990.9 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ สกุลเงินปอนด์สเตอร์ ลิง จานวน 4.6 ล้ านปอนด์สเตอร์ ลิง และสกุลเงินยูโรจานวน 0.1 ล้ านยูโร (คิดคานวณเป็ นสกุลเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ศาลมีคาสัง่ ให้ ฟืน้ ฟูกิจการ วันที่ 10 มีนาคม 2559 ซึง่ ในวันดังกล่าวอัตราแลกเปลี่ยน 1 เหรี ยญสหรัฐ เท่ากับ 35.4546 บาท 1 ปอนด์สเตอร์ ลิง เท่ากับ 50.5173 บาท และ 1 ยูโร เท่ากับ 39.0923 บาท รวมเป็ นจานวน 69,220.2 ล้ านบาท) โดยมี รายละเอียด ดังนี ้


211

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

เจ้ าหนี ้

กลุ่มเจ้ าหนี ้

กลุ่มที่ 1

เจ้ าหนี ้มีประกัน

2

เจ้ าหนี ้สถาบันการเงิน ในภาระหนี ้ส่วนที่เกินกว่ามูลค่า

ยอดหนีร้ วมเทียบเท่ าสกุลเงินบาท (พันบาท) เงินต้ น

ดอกเบีย้

รวม

9,780,633

8,764

9,789,397

12,468,299

2,271,120

14,739,419

3,968,607

526,228

4,494,835

28,006,355

1,865,495

29,871,850

1,592,058

172,264

1,764,322

หลักประกัน 3

เจ้ าหนี ้สถาบันการเงินซึง่ เป็ นเจ้ าหนี ้ร่ วมตามสัญญาปรับ โครงสร้ างหนี ้

4

เจ้ าหนี ้ภาระค ้าประกันการชาระหนี ้เงินกู้

5

เจ้ าหนี ้ผู้จาหน่ายวัตถุดบิ หลัก

6

เจ้ าหนี ้หน่วยงานราชการและภาครัฐ

177,397

204,022

381,419

7

เจ้ าหนี ้ที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทฯ

872,574

587

873,161

8

เจ้ าหนี ้การค้ า

15,110

387

15,497

9

เจ้ าหนี ้ตามสัญญาค ้าประกันร่ วม

3,545,460

224,786

3,770,246

10

เจ้ าหนี ้ภาระค ้าประกันความเสียหายในอนาคต

1,185,026

-

1,185,026

11

เจ้ าหนี ้ค่าปรับและหรื อค่าเสียหายจากการไม่ปฏิบตั ติ าม

279,391

-

279,391

1,927,893

21,251

1,949,144

เจ้ าหนี ้ผู้ออกหนังสือค ้าประกัน

105,562

925

106,487

รวม

63,924,365

5,295,829

69,220,194

สัญญา 12

เจ้ าหนี ้ค่าธรรมเนียมในการให้ บริ การตามสัญญาว่าจ้ างที่ ปรึกษา

13

หมายเหตุ : เจ้ าหนี ้ทุกรายที่ยื่นขอรับชาระหนี ้ในการฟื น้ ฟูกิจการต่อเจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์จะได้ รับชาระหนี ้ตามแผนนี ้ภายใต้ ข้ อกาหนดและเงื่อนไขที่กาหนดไว้ ในแผนก็ต่อเมื่อเจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์หรื อศาลล้ มละลาย หรื อศาลฎีกา (แล้ วแต่กรณี) มี คาสัง่ ถึงที่สดุ ให้ ได้ รับชาระหนี ้ 2. การปรับโครงสร้ างทุน ณ วันที่ศาลมีคาสัง่ ให้ ฟืน้ ฟูกิจการ บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียนจานวน 50,263.7 ล้ านบาท แบ่งออกเป็ นหุ้นสามัญจานวน 50,263.7 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท โดยเป็ นทุนชาระแล้ วจานวน 32,166.3 ล้ านบาท และเป็ นทุนที่ยงั มิได้ เรี ยกชาระจานวน 18,097.4 ล้ านบาท ซึง่ ผู้บริ หารแผนจะดาเนินการปรับโครงสร้ างทุนดังกล่าวตามลาดับ ดังนี ้


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

212

2.1 การลดทุนจดทะเบียนทีย่ งั มิ ได้จดั สรร ภายใน 90 วันนับจากวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผน ดาเนินการลดทุนจดทะเบียนที่ยงั มิได้ จดั สรรของบริ ษัทโดยวิธีการ ลดหุ้นที่ยงั ไม่ได้ เรี ยกชาระจานวน 18,097.4 ล้ านหุ้น จะทาให้ บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียนและทุนชาระแล้ วจานวน 32,166.3 ล้ านบาท แบ่งออกเป็ นหุ้นสามัญจานวน 32,166.3 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท 2.2 การลดทุนจดทะเบียนโดยการลดจานวนหุน้ ภายใน 90 วันนับจากวันที่ศาลมีคาสั่งเห็นชอบด้ วยแผน ดาเนินการลดทุนจดทะเบียนของบริ ษัทจากทุนจดทะเบียน 32,166.3 ล้ านบาท เป็ นทุนจดทะเบียนจานวนประมาณ 1,109 ล้ านบาท โดยการลดจานวนหุ้นสามัญของบริ ษัทใน สัดส่วนจานวนหุ้นของผู้ถือหุ้นเดิมประมาณ 29 หุ้น เป็ น 1 หุ้น ภายหลังการดาเนินการดังกล่าว บริ ษัทจะมีทนุ จดทะเบียน และทุนชาระแล้ วจานวนประมาณ 1,109 ล้ านบาท แบ่งออกเป็ นหุ้นสามัญจานวนประมาณ 1,109 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท 2.3 การเพิ่มทุนจดทะเบียนเพือ่ ทาการแปลงหนีเ้ ป็ นทุน ครั้งที ่ 1 ภายใน 90 วันนับจากวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผน ดาเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนและเพิ่มทุนชาระแล้ วของบริ ษัทอีก จานวน 10,000 ล้ านบาทโดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนอีกจานวน 10,000 ล้ านหุ้น เพื่อรองรับการแปลงหนี ้เป็ นทุนให้ กบั เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2 และหรื อกลุ่มที่ 3 และหรื อกลุ่มที่ 4 ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ ในแผน ในราคาแปลงหนี ้เป็ นทุนหุ้นละ 0.05 บาท ต่อ 1 หุ้น ภายหลังการดาเนินการดังกล่าว บริ ษัทจะมีทนุ จดทะเบียนจานวนประมาณ 11,109 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้น สามัญ ที่อ อกและเรี ยกชาระแล้ วจานวนประมาณ 11,109 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ ุนละ 1 บาท ทัง้ นี ้ สามารถขยาย ระยะเวลาในการดาเนินการลดทุนจดทะเบียนที่ยงั มิได้ จดั สรร ลดทุนจดทะเบียนโดยลดจานวนหุ้น และเพิ่มทุนจดทะเบียน เพื่อทาการแปลงหนี ้เป็ นทุน ครัง้ ที่ 1 ดังกล่าวข้ างต้ นออกไปได้ อีกไม่เกิน 90 วัน 2.4 การเพิ่มทุนจดทะเบียนเพือ่ ทาการแปลงหนีเ้ ป็ นทุน ครั้งที ่ 2 ภายหลังจากดาเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อทาการแปลงหนี ้เป็ นทุน ครัง้ ที่ 1 แล้ วเสร็ จ ในกรณีที่เจ้ าหนี ้ที่อาจได้ รับการ แปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 จะได้ รับชาระหนี ้ด้ วยหุ้นสามัญของบริ ษัทตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ ในแผน ผู้บริ หารแผนมีหน้ าที่ ดาเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนและเพิ่มทุนชาระแล้ วของบริ ษัทโดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ในจานวนที่เพียงพอ เพื่อรองรับการแปลงหนี ้เป็ นทุนให้ กบั เจ้ าหนีท้ ี่อาจได้ รับการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ทุกราย โดยให้ ใช้ ราคาแปลงหนี ้เป็ นทุนที่ราคาตลาดต่อหุ้น (ราคาตลาดในวันที่เจ้ าหนี ้ได้ แจ้ งความประสงค์เสนอขอแปลงหนี ้เป็ นทุนดังกล่าว กรณีไม่มีราคาตลาดให้ ใช้ ราคาแปลงหนีเ้ ป็ นทุนที่ 0.05 บาท ต่อหุ้น) ในการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อชาระหนีใ้ ห้ แก่ เจ้ าหนี ้ดังกล่าวข้ างต้ น บริ ษัทสามารถพิจารณาจดทะเบียนเพิ่มทุนชาระแล้ วดังกล่าวภายในครัง้ เดียวหรื อหลายครัง้


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

213

2.5 การเพิ่มทุนจดทะเบียนเพือ่ ทาการแปลงหนีเ้ ป็ นทุนให้กบั เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 7 กลุ่มที ่ 9 และกลุ่มที ่ 12 ภายใต้ หลักการชาระหนี ้ของเจ้ าหนี ้ตามแผนนี ้ ผู้บริ หารแผนมีหน้ าที่ดาเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนและเพิ่มทุนชาระแล้ ว ของบริ ษัทโดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท เพื่อรองรับการแปลงหนี ้เป็ นทุนให้ กบั เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 9 และกลุ่มที่ 12 ของแผน ในราคาแปลงหนี ้เป็ นทุนหุ้นละ 0.05 บาท ต่อ 1 หุ้น ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ในแผน ในการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อชาระหนี ้ให้ แก่เจ้ าหนี ้ดังกล่าวข้ างต้ น บริ ษัทสามารถพิจารณาจดทะเบียนเพิ่มทุนชาระ แล้ วดังกล่าวภายในครัง้ เดียวหรื อหลายครัง้ 3. การชาระหนีต้ ามกลุ่มของเจ้ าหนี ้ 3.1 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 1 (เจ้าหนีม้ ี ประกัน) 3.1.1 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 9,780.6 ล้ านบาท จะได้ รับชาระจากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อ กระแสเงิน สดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับการผ่อนชาระหนี ้ดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาล มีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ นเดือนที่ 1) 3.1.2 (ก) นับถัดจากวัน ที่ศ าลมี ค าสั่งให้ ฟื้น ฟูกิ จการจนถึง วัน ที่ศ าลมี คาสั่ง เห็นชอบด้ ว ยแผน เจ้ าหนี ก้ ลุ่ม ที่ 1 จะได้ รั บ ดอกเบี ้ยระหว่างกาลจากเงินต้ นคงค้ างดังกล่าว ในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี โดยให้ ตงพั ั ้ กไว้ เพื่อรอการชาระในเดือนที่ 144 (ข) นับถัดจากวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ นต้ นไป จนกว่าจะได้ รับชาระหนี ้ครบถ้ วน เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 1 จะได้ รับ ดอกเบี ้ยใหม่จากเงินต้ นคงค้ างดังกล่าว ในอัตรา MLR ต่อปี โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับชาระดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 0.5 ต่อปี สาหรับดอกเบี ้ยตังพั ้ กซึง่ เป็ นส่วนต่างของดอกเบี ้ยใหม่และดอกเบี ้ยที่ชาระจริ งให้ รอการชาระในเดือนที่ 144 3.1.3 ในกรณีที่บริ ษัทได้ ทาการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ให้ กบั เจ้ าหนี ้ เจ้ าหนี ้กลุ่มนี ้จะได้ รับชาระดอกเบี ้ยนับถัดจากวันที่มีการ แปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 เป็ นต้ นไป จนกว่าจะได้ รับชาระหนี ้ครบถ้ วน ในอัตรา MLR ต่อปี 3.1.4 เมื่ อ เจ้ าหนี ก้ ลุ่มที่ 1 ได้ รั บชาระหนี เ้ งินต้ นครบถ้ วนตามที่กาหนดไว้ ในแผน รวมถึงกรณี ที่เจ้ าหนี ไ้ ด้ รั บชาระหนี ก้ ่ อน กาหนดทังจ ้ านวน หรื อบริ ษัทได้ ทาการแปลงหนี ้เป็ นทุน ครัง้ ที่ 2 ให้ กับเจ้ าหนี ้ที่อาจได้ รับการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 แล้ ว เจ้ าหนี ้กลุ่มนี ้ตกลงจะลดหนี ้ ดอกเบี ้ยระหว่างกาลและดอกเบี ้ยตังพั ้ กในอัตราร้ อยละ 50 ของดอกเบี ้ยระหว่างกาล และดอกเบี ้ยตังพั ้ กดังกล่าว 3.1.5 สาหรับดอกเบี ้ยคงค้ างจานวน 8.8 ล้ านบาท ดอกเบี ้ยระหว่างกาลส่วนที่เหลือ และดอกเบี ้ยตังพั ้ กส่วนที่เหลือจากข้ อ 3.1.4 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 1 จะได้ รับชาระคืนในเดือนที่ 144 เว้ นแต่ ในกรณีที่บริ ษัทได้ ชาระคืนหนี ้เงินต้ นให้ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 และกลุ่มที่ 5 ครบถ้ วนแล้ วในปี ใด บริ ษัทจะชาระหนี ้ดอกเบี ้ยคงค้ าง ดอกเบี ้ยระหว่างกาลส่วนที่เหลือ และดอกเบี ้ยตังพั ้ กส่วนที่เหลือ ให้ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 1 ภายในปี ดงั กล่าว


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

214

3.1.6 นอกจากนี ้ ในระหว่างการชาระหนี ้ตามแผน เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 1 ซึง่ มีห้ นุ ที่เป็ นกรรมสิทธิ์ของบริ ษัทเป็ นหลักประกัน สามารถ เลือ กรั บชาระหนี ด้ ้ วยวิธีการโอนหุ้นชาระหนีเ้ งินต้ นคงค้ างและดอกเบี ้ยคงค้ างทังจ ้ านวนได้ โดยเจ้ าหนีร้ ายดังกล่าว ยินยอมลดหนี ้ดอกเบี ้ยระหว่างกาล และดอกเบี ้ยตังพั ้ ก ทังจ ้ านวนให้ ทนั ทีในวันที่ได้ ทาการโอนหุ้นชาระหนี ้ให้ กบั เจ้ าหนี ้ แล้ ว 3.2 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 2, 3, 4 และ 5 3.2.1 เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 2 (เจ้ าหนีส้ ถาบันการเงิน ในภาระหนี ้ส่วนที่เกินกว่ามูลค่าหลักประกัน) ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 2,319.2 ล้ านบาท จะได้ รับชาระจากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อ กระแสเงินสดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับ การผ่อนชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผน เป็ นเดือนที่ 1) และหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 10,149.1 ล้ านบาท จะได้ รับชาระภายในเดือนที่ 144 จากเงินเพิ่มทุนและ หรื อเงินกู้ใหม่ (Refinance) และหรื อกระแสเงินสดส่วนเกิน 3.2.2 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 3 (เจ้ าหนี ้สถาบันการเงินซึง่ เป็ นเจ้ าหนี ้ร่ วมตามสัญญาปรับโครงสร้ างหนี ้) ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 722.6 ล้ านบาท จะได้ รับชาระจากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อ กระแสเงินสดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับ การผ่อนชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผน เป็ นเดือนที่ 1) และหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 3,246.0 ล้ านบาท จะได้ รับชาระภายในเดือนที่ 144 จากเงินเพิ่มทุนและ หรื อเงินกู้ใหม่ (Refinance) และหรื อกระแสเงินสดส่วนเกิน 3.2.3 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 4 (เจ้ าหนี ้ภาระค ้าประกันการชาระหนีเ้ งินกู้)ภาระหนีเ้ งินต้ นคงค้ างจานวน 5,209.4 ล้ านบาท จะได้ รั บ ชาระจากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อ กระแสเงินสดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับการผ่อนชาระหนี ้เงินต้ น ดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ นเดือนที่ 1) และหนี ้ เงินต้ นคงค้ างจานวน 22,796.9 ล้ านบาท จะได้ รับชาระภายในเดือ นที่ 144 จากเงิน เพิ่มทุนและหรื อ เงินกู้ใหม่ (Refinance) และหรื อกระแสเงินสดส่วนเกิน 3.2.4 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 5 (เจ้ าหนี ้ผู้จาหน่ายวัตถุดบิ หลัก)ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 291.7 ล้ านบาท จะได้ รับชาระจากกระแส เงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อ กระแสเงินสดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนีจ้ ะได้ รับการผ่อนชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวเป็ นราย เดือน รวม 144 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ นเดือนที่ 1) และหนีเ้ งินต้ นคงค้ าง จานวน 1,300.3 ล้ านบาท จะได้ รับชาระภายในเดือนที่ 144 จากเงินเพิ่มทุนและหรื อเงินกู้ใหม่ (Refinance) และหรื อ กระแสเงินสดส่วนเกิน ทังนี ้ ้ หากเจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 5 มีภาระหนีค้ ้ างชาระอยู่กับบริ ษัทให้ ผ้ ูบริ หารแผนหักกลบลบหนีก้ ับ จานวนหนี ้ดังกล่าวก่อนทาการชาระหนี ้ 3.2.5 นับถัดจากวันที่ศาลมีคาสัง่ ให้ ฟืน้ ฟูกิจการจนถึงวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผน เจ้ าหนี ้กลุ่ม ที่ 2, 3, 4 และ 5 จะได้ รับ ดอกเบี ้ยระหว่างกาลจากเงินต้ นคงค้ างดังกล่าว โดยดอกเบี ้ยดังกล่าว ให้ ตงพั ั ้ กไว้ เพื่อรอการชาระในเดือนที่ 144 และนับ ถัดจากวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ นต้ นไป จนกว่าจะได้ รับชาระหนี ้ครบถ้ วน เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2, 3, 4 และ 5 จะ ได้ รับดอกเบี ้ย ใหม่จากเงินต้ นคงค้ างดังกล่าว ดังนี ้


215

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

เดือนที่ 1 – เดือนที่ 60 เดือนที่ 61 – เดือนที่ 84 เดือนที่ 85 – เดือนที่ 96 เดือนที่ 97 – เดือนที่ 108 เดือนที่ 109 – เดือนที่ 120 เดือนที่ 121 – เดือนที่ 144

ร้ อยละ 1.00 ต่อปี ร้ อยละ 1.75 ต่อปี ร้ อยละ 2.00 ต่อปี ร้ อยละ 2.25 ต่อปี ร้ อยละ 2.50 ต่อปี ร้ อยละ 2.75 ต่อปี

ทังนี ้ ้ เจ้ าหนี ้จะได้ รับชาระดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 0.1 ต่อปี สาหรับดอกเบี ้ยตังพั ้ กซึง่ เป็ นส่วนต่างของดอกเบี ้ยใหม่และ ดอกเบี ้ยที่ชาระจริ งให้ รอการชาระในเดือนที่ 144 3.2.6 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2 และ 4 จะได้ รับชาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างบางส่วนด้ วยหุ้นสามัญของบริ ษัท และเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 3 มีสิทธิที่จะ เลือกรับชาระหนี ้เงินต้ นบางส่วนด้ วยหุ้นสามัญของบริ ษัทด้ วยการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 1 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กาหนดไว้ ในแผน 3.2.7 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2, 3, 4 และ 5 มีสิทธิแจ้ งให้ บริ ษัททราบว่าประสงค์จะรับชาระหนี ้เงินต้ น ด้ วยหุ้นสามัญของบริ ษัทโดยการ แปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ ในแผน 3.2.8 ในกรณี ที่บริ ษัทได้ ทาการแปลงหนี เ้ ป็ นทุนครั ง้ ที่ 2 ให้ กับเจ้ าหนี แ้ ล้ ว หากยังมี เงินต้ นคงค้ างเหลื อ อยู่ ให้ คิดคานวณ ดอกเบี ้ยและจ่ายชาระดอกเบี ้ย นับถัดจากวันที่มีการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 เป็ นต้ นไป ในอัตรา MLR ต่อปี สาหรั บ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2, 3 และ 5 และในอัตรา LIBOR บวก 4.5 ต่อปี สาหรับเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 4 จนกว่าเจ้ าหนี ้จะได้ รับชาระหนี ้เงิน ต้ นครบถ้ วน 3.2.9 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 2, 3, 4 และ 5 ยินยอมลดหนี ้ดอกเบี ้ยคงค้ างจานวน 2,271.1 ล้ านบาท 526.2 ล้ านบาท 1,865.5 ล้ าน บาท และ 172.3 ล้ านบาท ตามลาดับ รวมถึงดอกเบี ้ยระหว่างกาล และดอกเบี ้ยตังพั ้ ก ทังจ ้ านวน ในกรณีที่ได้ รับชาระ หนีเ้ งินต้ นครบถ้ วนตามที่กาหนดไว้ ในแผน รวมถึงกรณี ที่เจ้ าหนีไ้ ด้ รับชาระหนีก้ ่อนกาหนดทังจ ้ านวน หรื อ ได้ รั บการ แปลงหนี ้เป็ น ทุนครัง้ ที่ 2 ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ ในแผนแล้ ว 3.2.10 เนื่องจากภาระหนี ้ในเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 4 ใช้ สิทธิเรี ยกร้ องต่อบริ ษัทในฐานะผู้ค ้าประกันการชาระหนี ้ของบริ ษัท สหวิริยาสตีล อินดัสตรี ยูเค จากัด ดังนัน้ ในกรณีที่เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 4 ได้ รับชาระหนี ้จากกระบวนการชาระบัญชีของบริ ษัท สหวิริยาสตีล อินดัสตรี ยูเค จากัด ในประเทศอังกฤษเป็ นจานวนเงินเท่าใด ให้ สิทธิของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 4 ที่จะได้ รับชาระหนี ้จากบริ ษัท ตามแผนฟื น้ ฟูกิจการฉบับนีล้ ดลงเพียงนัน้ โดยให้ นาเงินที่เจ้ าหนีร้ ายนันได้ ้ รับชาระมาลดจานวนการผ่อนชาระหนี ้เงิน ต้ นของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 4 ในงวดท้ ายสุดย้ อนขึ ้นมาตามลาดับ (Inverse Order) 3.3 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 6 (เจ้าหนีห้ น่วยงานราชการและภาครัฐ) 3.3.1 ภาระหนี ้เงินต้ นของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 6 จานวน 177.4 ล้ านบาท จะได้ รับชาระหนี ้จากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้เป็ นราย เดือน รวม 60 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ นเดือนที่ 1)


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

216

3.3.2 ภาระหนี ้อื่นใดของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 6 รวมทังหนี ้ ้เบี ้ยปรับเงินเพิ่ม จานวน 204.0 ล้ านบาท หนี ้ ดอกเบี ้ยคงค้ าง ดอกเบี ้ยผิด นัด ค่าปรับ ค่าฤชาธรรมเนียม ค่าใช้ จ่ายและเงินอื่นใดที่เกิดขึ ้นตามสัญญา และหรื อตามกฎหมายที่มิได้ กาหนดวิธีการ ชาระหนีไ้ ว้ ในแผนฉบับนี ้ ถือว่าได้ รับการลดหนีท้ งจ ั ้ านวนทันทีที่มีการชาระหนีต้ ามแผนฟื ้นฟูกิจการให้ แก่เจ้ าหนีร้ าย ดังกล่าวครบถ้ วน 3.4 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 7 (เจ้าหนีท้ ีเ่ กี ่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ) 3.4.1 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 872.6 ล้ านบาท จะได้ รับชาระหนี ้ด้ วยหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทในราคาแปลงหนี ้เป็ น ทุนที่ 0.05 บาท ต่อหุ้น ภายในวันทาการสุดท้ ายของเดือนที่ 84 (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วย แผนเป็ นเดือนที่ 1) หากภายในกาหนดระยะเวลาดังกล่าว เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 7 รายใด ยังไม่มีคาสัง่ ถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้ ให้ ผ้ บู ริ หารแผนดาเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อรองรับการแปลงหนี ้เป็ นทุนให้ กบั เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 7 ดังกล่าวไว้ ก่อน โดย จะดาเนินการเพิ่มทุนชาระแล้ วภายหลังจากที่มีคาสัง่ ถึงที่สดุ ให้ ได้ รับชาระหนี ้ 3.4.2 ภาระหนี ้อื่นใดของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 7 รวมทังหนี ้ ้ดอกเบี ้ยคงค้ างจานวน 0.6 ล้ านบาท ดอกเบี ้ยผิดนัด ค่าปรับ เบี ้ยปรับ เงิน เพิ่ม ค่าฤชาธรรมเนียม ค่าใช้ จ่ายและเงินอื่นใดที่เกิดขึ ้นตามสัญญา และหรื อตามกฎหมายที่มิได้ กาหนดวิธีการชาระหนี ้ ไว้ ในแผนฉบับนี ้ ถือว่าได้ รับการลดหนีท้ งจ ั ้ านวนทันทีที่มีการชาระหนีต้ ามแผนฟื ้นฟูกิจการให้ แก่เจ้ าหนีร้ ายดังกล่าว ครบถ้ วน 3.5 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 8 (เจ้าหนีก้ ารค้า) ภาระหนีข้ องเจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 8 ประกอบด้ วยหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 15.1 ล้ านบาท โดยเจ้ าหนีแ้ ต่ละรายจะได้ รับการ ชาระหนี ้จากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ ภายใต้ เงื่อนไขธุรกิจการค้ าตามปกติ 3.6 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 9 (เจ้าหนีต้ ามสัญญาค้าประกันร่ วม) 3.6.1 ภาระหนี ้ของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 9 ประกอบด้ วยหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 3,545.5 ล้ านบาท และหนี ้ ดอกเบี ้ยคงค้ างจานวน 224.8 ล้ านบาท จะได้ รับชาระหนีต้ ามแผนฟื น้ ฟูกิจการเมื่อเจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 9 ในฐานะผู้ค ้าประกันร่ วมได้ ชาระหนี ้ชันต้ ้ น แทนบริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ให้ กบั เจ้ าหนี ้ชันต้ ้ น และเจ้ าหนี ้ชันต้ ้ นดังกล่าวจะต้ องได้ รับชาระหนี ้ชันต้ ้ น ตามสัญญา Senior Facilities Agreement ลงวันที่ 16 มีนาคม 2554 (ตามที่ได้ มีการแก้ ไขเป็ นครัง้ คราว) ครบถ้ วนแล้ ว 3.6.2 เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 9 ได้ ชาระหนี ้ในฐานะผู้ค ้าประกันร่ วมให้ กับเจ้ าหนีช้ นต้ ั ้ นไปเป็ นจานวนเท่าไร ให้ เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 9 มีสิทธิ เรี ยกร้ องต่อบริ ษัทเท่ากับจานวนกึง่ หนึง่ ของภาระหนี ้ที่เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 9 ได้ ชาระ 3.6.3 ในกรณี ที่เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 9 และบริ ษัทในฐานะผู้ค ้าประกันร่ วม ต่างก็ได้ ชาระหนีใ้ ห้ แก่เจ้ าหนีช้ นต้ ั ้ นไปตามสัญญาค ้า ประกันร่ วมดังกล่าว ให้ ผ้ ูบริ หารแผนหักกลบลบหนีร้ ะหว่างกันดังกล่าว ก่อนที่จะดาเนินการแปลงหนีเ้ ป็ นทุนให้ กับ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 9


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

217

3.6.4 ภาระหนี ้เงินต้ นคงเหลือหลังจากการหักกลบลบหนี ้ จะได้ รับชาระหนี ้ด้ วยหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทในราคาแปลงหนี ้ เป็ นทุนที่ 0.05 บาทต่อหุ้น โดยจะได้ รับชาระภายใน 180 วันนับแต่วนั ที่ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 9 ได้ นาเอกสารหลักฐานการชาระ หนี ้มาแสดงต่อผู้บริ หารแผน 3.6.5 ให้ ผ้ บู ริ หารแผนเจรจากับเจ้ าหนี ้กลุ่มนี ้เพื่อทาข้ อตกลงระหว่างบริ ษัทฯ กับเจ้ าหนี ้กลุ่มนี ้ ในการลดภาระหนี ้และหรื อไม่ใช้ สิทธิเรี ยกร้ องที่มีหรื ออาจจะมีซงึ่ กันและกัน เพื่อลดภาระหนี ้ลงหรื อ ไม่ต้องชาระหนี ้ให้ แก่กนั และกัน 3.6.6 ภาระหนี ้อื่นใดของเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 9 รวมทังหนี ้ ้ดอกเบี ้ยคงค้ าง ดอกเบี ้ยผิดนัด ค่าปรับ เบี ้ยปรับเงินเพิ่ม ค่าฤชาธรรมเนียม ค่าใช้ จ่ายและเงินอื่นใดที่เกิดขึ ้นตามสัญญา และหรื อตามกฎหมายที่มิได้ กาหนดวิธีการชาระหนี ้ไว้ ในแผนฉบับนี ้ ถือว่า ได้ รับการลดหนี ้ทังจ ้ านวนทันทีที่มีการชาระหนี ้ตามแผนฟื น้ ฟูกิจการให้ แก่เจ้ าหนี ้รายดังกล่าวครบถ้ วน 3.7 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 10 (เจ้าหนีภ้ าระค้าประกันความเสียหายในอนาคต) 3.7.1 ภาระหนีข้ องเจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 10 ประกอบด้ วยหนี เ้ งินต้ นคงค้ างจานวน 1,185.0 ล้ านบาท เป็ นภาระหนีใ้ นอนาคตที่มี เงื่อนไขและยังไม่เกิดขึ ้น อันเนื่องมาจากการที่บริ ษัทได้ เข้ าค ้าประกันบริ ษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จากัด ในความ เสี ยหายที่เจ้ าหนี ก้ ลุ่มที่ 10 อาจได้ รั บหรื อ ถูกเรี ยกร้ องจากบุคคลที่ 3 ให้ รั บผิดชอบในความเสี ยหายที่เกิดขึน้ กับ สิ่งแวดล้ อมตามสัญญาซื ้อขายกิจการ และความเสียหายจากการส่งสินค้ าตามสัญญาที่เกี่ยวข้ อง ดังนัน้ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 จะได้ รับชาระหนี ้ตามแผนฟื น้ ฟูกิจการก็ต่อเมื่อได้ มีคาสัง่ ถึงที่สุดให้ เจ้ าหนี ้ได้ รับชาระหนี ้ ประกอบกับบุคคลที่ 3 เช่น หน่วยงานของรัฐที่ประเทศอังกฤษ หรื อบุคคลที่มีสิทธิที่เกี่ยวข้ อง ได้ เรี ยกร้ องให้ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 ชาระค่าเสียหาย เมื่อ เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 ได้ ชาระค่าเสียหายดังกล่าวไปแล้ ว และได้ นาเอกสารหลักฐานอันเป็ นที่น่าเชื่อถือ และเอกสารประกอบ อื่นใดที่เกี่ยวข้ องอย่างชัดเจนมาแสดงเพื่อยืนยันต่อผู้บริ หารแผนว่าตนได้ มีการชาระเงินค่าเสียหายดังกล่าวไปแล้ วจริ ง เมื่อครบเงื่อนไขดังกล่าว เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 จึงจะได้ รับชาระหนี ้ตามแผน 3.7.2 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 220.4 ล้ านบาท จะได้ รับชาระหนี ้จากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อกระแสเงิน สดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับการผ่อนชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน เริ่ มชาระหนี ้เงินต้ นเดือน แรกภายในวันทาการสุดท้ ายของเดือนถัดจากเดือนที่มีคาสั่งถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้ (เริ่ มนับเดือนที่ชาระหนี ้ในเดือน แรกนี ้เป็ นเดือน 1) และหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 964.6 ล้ านบาท จะได้ รับชาระภายในเดือนที่ 144 จากเงินเพิ่มทุนและ หรื อเงินกู้ใหม่ (Refinance) และหรื อกระแสเงินสดส่วนเกิน 3.7.3 นับถัดจากวันที่มีคาสั่งถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี แ้ ละเจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 10 ได้ ชาระค่าเสียหายดังกล่าวไปแล้ ว และได้ นา เอกสารหลักฐานอันเป็ นที่น่าเชื่อถือ และเอกสารประกอบอื่นใดที่เกี่ยวข้ องอย่าชัดเจนมาแสดงเพื่อยืนยันต่อผู้บริ หาร แผนว่าตนได้ มีการชาระเงินค่าเสียหายดังกล่าวไป แล้ วจริ งเป็ นต้ นไปจนกว่าจะได้ รับชาระหนี ้ครบถ้ วน เจ้ าหนี ้ กลุ่ม ที่ 10 จะได้ รับดอกเบี ้ยใหม่ จากเงินต้ นคงค้ างดังกล่าว ตามอัตราที่กาหนดในข้ อ 3.2.5 ทังนี ้ ้ เจ้ าหนี ้จะได้ รับชาระดอกเบี ้ย ใน อัตราร้ อยละ 0.1 ต่อปี สาหรับดอกเบี ้ยตังพั ้ กซึง่ เป็ นส่วนต่างของดอกเบี ้ยใหม่และดอกเบี ้ยที่ชาระจริ งให้ รอการชาระ ในเดือนที่ 144 3.7.4 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 มีสิทธิแจ้ งให้ บริ ษัททราบว่าประสงค์จะรับชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวด้ วยหุ้นสามัญของบริ ษัทได้ โดยการ แปลงหนีเ้ ป็ นทุนครั ง้ ที่ 2 ตามหลักเกณฑ์แ ละวิธีการที่กาหนดไว้ ในแผนหากบริ ษัทได้ มีการแปลงหนี เ้ ป็ นทุนครั ง้ ที่ 2


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

218

ให้ กบั เจ้ าหนี ้ทุกรายไปก่อนที่เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 จะมีคาสัง่ ถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้และได้ ชาระค่าเสียหายตามสัญญาซื ้อ กิจการและสัญญาที่เกี่ยวข้ องให้ กับบุคคลที่ 3 ดังกล่าว ให้ ผ้ ูบริ หารแผนมี อานาจเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่ อรองรั บการ แปลงหนีเ้ ป็ นทุนให้ กบั เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 10 ดังกล่าวไว้ ก่อน โดยจะดาเนินการเพิ่ มทุนชาระแล้ วภายหลังจากที่มีคาสั่งถึง ที่สดุ ให้ ได้ รับชาระหนี ้ และเจ้ าหนี ้ได้ นาเอกสารหลักฐานอันเป็ นที่น่าเชื่อถือ และเอกสารประกอบอื่นใดที่เกี่ยวข้ องอย่าง ชัดเจนมาแสดงเพื่อยืนยันต่อผู้บริ หารแผนว่าตนได้ มีการชาระเงินค่าเสียหายดังกล่าวไปแล้ วจริ ง 3.7.5 ในกรณีที่เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 ได้ รับหุ้นสามัญจากการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 แล้ ว หากยังมีเงินต้ นคงค้ างเหลืออยู่ ให้ คิด คานวณดอกเบี ้ยและจ่ายชาระดอกเบี ้ย นับถัดจากวันดังกล่าวเป็ นต้ นไป ในอัตรา LIBOR บวก 4.5 ต่อปี จนกว่าเจ้ าหนี ้ จะได้ รับชาระหนี ้เงินต้ นครบถ้ วน 3.7.6 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 ยินยอมลดหนี ้ดอกเบี ้ยตังพั ้ กทังจ ้ านวน ในกรณีที่ได้ รับชาระหนี ้เงินต้ นครบถ้ วนตามที่กาหนดไว้ ในแผน รวมถึงกรณีที่เจ้ าหนี ้ได้ รับชาระหนี ้ก่อนกาหนดทังจ ้ านวนหรื อเจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 10 ได้ รับการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ ในแผนแล้ ว 3.8 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 11 (เจ้าหนีค้ ่าปรับและหรื อค่าเสียหายจากการไม่ปฏิ บตั ิ ตามสัญญา) 3.8.1 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 52.0 ล้ านบาท จะได้ รับชาระหนี ้จากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ และ/หรื อกระแสเงิน สดส่วนเกิน โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับการผ่อนชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน เริ่ มชาระหนี ้เงินต้ นเดือน แรกภายในวันทาการสุดท้ ายของเดือนถัดจากเดือนที่มีคาสั่งถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้ (เริ่ มนับเดือนที่ชาระหนีใ้ นเดือน แรกนี ้เป็ นเดือนที่ 1) และหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 227.4 ล้ านบาท จะได้ รับชาระภายในเดือนที่ 144 จากเงินเพิ่มทุนและ หรื อเงินกู้ใหม่ (Refinance) และหรื อกระแสเงินสดส่วนเกิน 3.8.2 นับถัดจากวันที่ได้ มีคาสัง่ ถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้ จนกว่าจะได้ รับชาระหนี ้ครบถ้ วน เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 11 จะได้ รับดอกเบี ้ย ใหม่จากเงินต้ นคงค้ างดังกล่าว ตามอัตราที่กาหนดในข้ อ 3.2.5 ทังนี ้ ้ เจ้ าหนี ้จะได้ รับชาระดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 0.1 ต่อปี สาหรับดอกเบี ้ยตังพั ้ กซึง่ เป็ นส่วนต่างของดอกเบี ้ยใหม่และดอกเบี ้ยที่ชาระจริ งให้ รอการชาระในเดือนที่ 144 3.8.3 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 11 มีสิทธิแจ้ งให้ บริ ษัททราบว่าประสงค์จะรับชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวด้ วยหุ้นสามัญของบริ ษัทได้ โดยการ แปลงหนีเ้ ป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ ในแผน หากบริ ษัทฯ ได้ มีการแปลงหนีเ้ ป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ให้ กบั เจ้ าหนีท้ กุ รายไปก่อนที่เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 11 จะมีคาสั่งถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้ ให้ ผ้ ูบริ หารแผนมีอานาจเพิ่มทุนจด ทะเบียนเพื่อ รองรั บการแปลงหนีเ้ ป็ นทุนให้ กับเจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 11 ดังกล่าวไว้ ก่อน โดยจะดาเนินการเพิ่มทุนชาระแล้ ว ภายหลังจากที่มีคาสัง่ ถึงที่สดุ ให้ ได้ รับชาระหนี ้ 3.8.4 ในกรณีที่เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 11 ได้ รับหุ้นสามัญจากการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 แล้ ว หากยังมีเงินต้ นคงค้ างเหลืออยู่ ให้ คิด คานวณดอกเบี ้ยและจ่ายชาระดอกเบี ้ยจริ งนับถัดจากวันดังกล่าวเป็ นต้ นไป ในอัตรา MLR ต่อปี จนกว่าเจ้ าหนี ้จะได้ รับ ชาระหนี ้เงินต้ นครบถ้ วน 3.8.5 เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 11 ยินยอมลดหนี ้ดอกเบี ้ยตังพั ้ กทังจ ้ านวน ในกรณีที่ได้ รับชาระหนี ้เงินต้ นครบถ้ วนตามที่กาหนดไว้ ในแผน รวมถึงกรณีที่เจ้ าหนี ้ได้ รับชาระหนี ้ก่อนกาหนดทังจ ้ านวน หรื อได้ รับการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 2 ตามที่กาหนดไว้ ในแผน แล้ ว


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

219

3.9 เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 12 (เจ้าหนีค้ ่าธรรมเนียมในการให้บริ การตามสัญญาว่าจ้างทีป่ รึ กษา) 3.9.1 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 188.0 ล้ านบาท จะได้ รับชาระจากกระแสเงินสดเพื่อการชาระหนี ้ โดยเจ้ าหนี ้จะได้ รับการ ผ่อนชาระหนี ้เงินต้ นดังกล่าวเป็ นรายเดือน รวม 144 เดือน (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วยแผนเป็ น เดือนที่ 1) แต่ทงนี ั ้ ้ บริ ษัทจะจ่ายชาระเงินให้ กบั เจ้ าหนี ้ในกลุ่มที่ 12 รายใดก็ต่อเมื่อเจ้ าหนี ้รายดังกล่าวได้ มีคาสัง่ ถึงที่สุด ให้ ได้ รับชาระหนี ้แล้ ว 3.9.2 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างจานวน 776.0 ล้ านบาท จะได้ รับชาระหนี ้ด้ วยหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษัทในราคาแปลงหนี ้เป็ น ทุนที่ 0.05 บาท ต่อหุ้น ภายในวันทาการสุดท้ ายของเดือนที่ 84 (เริ่ มนับเดือนถัดจากเดือนที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้ วย แผนเป็ นเดือนที่ 1) หากภายในกาหนดระยะเวลาดังกล่าว เจ้ าหนี ้กลุ่มที่ 12 รายใด ยังไม่มีคาสัง่ ถึงที่สุดให้ ได้ รับชาระหนี ้ ให้ ผ้ ูบริ หารแผนดาเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อรองรั บการแปลงหนี ้เป็ นทุนให้ กบั เจ้ าหนีก้ ลุ่มที่ 12 ดังกล่าวไว้ ก่อน โดยจะดาเนินการเพิ่มทุนชาระแล้ วภายหลังจากที่มีคาสัง่ ถึงที่สดุ ให้ ได้ รับชาระหนี ้ 3.9.3 ภาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างส่วนที่เหลือจานวน 963.9 ล้ านบาท รวมทังภาระหนี ้ ้ดอกเบี ้ยคงค้ างจานวน 21.3 ล้ านบาท หนี ้ ดอกเบี ้ยผิดนัด ค่าปรับ เบี ้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าฤชาธรรมเนียม ค่าใช้ จ่ายและเงินอื่นใดที่เกิดขึ ้นตามสัญญา และหรื อตาม กฎหมายที่มิได้ กาหนดวิธีการชาระหนีไ้ ว้ ในแผนฉบับนี ้ ถือว่าได้ รับการลดหนีท้ งจ ั ้ านวนทันทีที่มีการชาระหนีต้ ามแผน ฟื น้ ฟูกิจการให้ แก่เจ้ าหนี ้รายดังกล่าวครบถ้ วน 3.10

เจ้าหนีก้ ลุ่มที ่ 13 (เจ้าหนีผ้ ูอ้ อกหนังสือค้าประกัน) เจ้ าหนี ้กลุ่มนี ้เป็ นเจ้ าหนี ้ที่ออกหนังสือค ้าประกันให้ แก่บริ ษัทเพื่อเป็ นประกันหนี ้ของบริ ษัทโดยเจ้ าหนี ้ในกลุ่มนี ้จะไม่ได้ รับ ผลกระทบจากการปรับโครงสร้ างหนี ้ตามแผนนี ้ เนื่องจากเป็ นเจ้ าหนี ้ที่เกิดจากภาระผูกพันตามหนังสือค ้าประกันที่ยงั ไม่ ถึงกาหนดชาระ ทังนี ้ ้ เจ้ าหนี ้ยังคงได้ รับการจ่ายชาระค่าธรรมเนียมและค่าใช้ จ่ายต่าง ๆ ตามสัญญาและข้ อตกลงที่มีอยู่ เดิม

4. การจัดเก็บเงินจากลูกหนีซ้ ่งึ เป็ นบริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน โดยที่บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด และ บริ ษัท สหวิริยาพาณิชย์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด มีภาระหนี ้คงค้ างอยู่กบั บริ ษัทและเงินที่ บริ ษัทจะเรี ยกเก็บเงินจากลูกหนีท้ งสองรายดั ั้ งกล่าว เป็ นส่วนหนึ่งของกระแสเงินสดที่จะนามาชาระหนีใ้ ห้ กบั เจ้ าหนี ้ตามแผน ฟื น้ ฟูกิจการ ดังนัน้ ในระหว่างดาเนิน การตามแผนฟื น้ ฟูกิจการ ให้ บริ ษัท ทาการค้ ากับ บริ ษัท บี.เอส. เมทัล จากัด และ บริ ษัท สหวิริยาพาณิชย์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังนี ้ 4.1

หากลูกหนี ้ทังสองรายยั ้ งคงทาการค้ าขายอยู่กบั บริ ษัท ให้ บริ ษัททยอยลดยอดหนี ้การค้ าหมุนเวียนที่บริ ษัทฯ ให้ แก่ลูกหนี ้ ทังสองรายโดยในการสั ้ ่งซื ้อสินค้ าจากบริ ษัท บริ ษัทจะส่งสินค้ าใหม่ มูลค่าไม่สูงกว่าร้ อยละ 95 ของเงินที่ชาระในงวด นันๆ ้ และบริ ษัทจะต้ องนาเงินค่าสินค้ าดังกล่าวที่ได้ รับทังหมดมาช ้ าระหนี ้เดิม

4.2

จากการดาเนินการตามข้ อ 4.1 ลูกหนี ้ทังสองรายจ ้ าต้ องชาระหนี ้เดิมหรื อค่าสินค้ าที่สงั่ ในแต่ละคราวทังหมดเป็ ้ นเงินสด ล่วงหน้ าก่อนวันส่งสินค้ า


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

220

4.3

บริ ษัทจะต้ องติดตามทวงถามให้ ลูกหนี ้ทังสองรายช ้ าระหนี ้ โดยคานวณจานวนเงินจากส่วนต่างๆระหว่างมูลค่าสินค้ า ใหม่กบั ราคาสินค้ าที่นาไปชาระหนี ้เดิม และหรื อจานวนเงินที่ลกู หนี ้ทังสองรายทยอยช ้ าระหนี ้ (กรณีไม่ได้ ทาการซื ้อขาย)

4.4

จานวนเงินที่ลูกหนี ้ทังสองรายช ้ าระหนีค้ ิดคานวณตามหลักเกณฑ์ข้อ 4.3 ดังกล่าว เมื่อรวมกันจะต้ องไม่ต่ากว่า 300 ล้ านบาทต่อปี และลูกหนี ้ทังสองรายจะต้ ้ องชาระหนี ้คงค้ างทังหมด ้ (ทังหนี ้ ้เดิมและหนี ้ใหม่) แก่บริ ษัทให้ เสร็ จสิ ้นภายใน 7 ปี นับตัง้ แต่ 2560 เป็ นต้ นไป โดยภายในสิ น้ ปี 2562 จะต้ อ งมีจานวนหนีค้ งเหลื อ (ทัง้ หนี เ้ ดิมและหนี ใ้ หม่) รวมกัน ไม่เกินกว่า 2,640.0 ล้ านบาท และภายในสิน้ ปี 2564 จะต้ องมีจานวนหนีค้ งเหลือ (ทังหนี ้ เ้ ดิมและหนีใ้ หม่) รวมกัน ไม่เกินกว่า 1,760.0 ล้ านบาท

4.5

หากคราวใดลูกหนี ้ไม่ชาระเงินตามกาหนด เวลาดังกล่าวในข้ อ 4.2 ต้ องระงับการส่งสินค้ าให้ แก่ลกู หนี ้

4.6

หากบริ ษัทไม่สามารถเรี ยกเก็บหนีค้ งค้ างจากบริ ษัท บี .เอส. เมทัล จากัด และ บริ ษัท สหวิริยาพาณิชย์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด ได้ ตามที่กาหนดในข้ อ 4.4 ข้ างต้ นและคณะกรรมการเจ้ าหนี ้ได้ มีหนังสือแจ้ งถึงการผิดนัดดังกล่าวแก่บริ ษัทแล้ ว ถือเป็ นเหตุผิดนัดตามที่กาหนดไว้ ในแผนฟื น้ ฟู

5. ผลสาเร็จของแผน เมื่อมีเหตุการณ์ในข้ อ 5.1 และข้ อ 5.2 หรื อมีเหตุการณ์ในข้ อ 5.1 และข้ อ 5.3 เกิดขึ ้นและได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ เจ้ าหนี ้ ให้ ถือว่าการฟื น้ ฟูกิจการได้ ดาเนินการเป็ นผลสาเร็ จตามแผนแล้ ว 5.1 บริ ษัทได้ ชาระหนี ้เงินต้ นคงค้ างให้ แก่เจ้ าหนี ้ทุกรายตามแผนฟื น้ ฟูกิจการ ในจานวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 25 ของภาระหนี ้ เงินต้ นคงค้ างที่บริ ษัทต้ องจ่ายชาระตามแผน และ 5.2 บริ ษัทได้ รับเงินลงทุนใหม่จากผู้ร่วมลงทุนมาชาระหนี ้ เป็ นผลให้ ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการเงินเป็ นบวก หรื อ 5.3 มีการแปลงหนี ้เป็ นทุนตามแผนฟื น้ ฟูกิจการ และทาให้ ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการเงินเป็ นบวก ความคืบหน้ าในการดาเนินการตามแผนฟื้ นฟูกิจการ การปรับโครงสร้ างทุน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 บริ ษัทได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลล้ มละลายกลางขอแก้ ไขหนังสือบริ คณฑ์สนธิของบริ ษัทสาหรับการลดทุนจด ทะเบียนโดยการยกเลิกหุ้นที่ยงั ไม่ได้ ออกจาหน่าย และเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ บริ ษัทแก้ ไขหนังสือ บริ คณห์สนธิ เป็ นการยกเลิกหุ้นที่ยงั ไม่ได้ ออกจาหน่าย 18,097,401,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท การลดทุนทาให้ ทนุ จด ทะเบียนของบริ ษัทลดลงจาก 50,263.7 ล้ านบาท เป็ น 32,166.3 ล้ านบาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อ วันที่ 1 มีนาคม 2560 เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2560 บริ ษัทได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลล้ มละลายกลางขอแก้ ไขหนังสือบริ คณฑ์สนธิของบริ ษัทสาหรับการลดทุนโดย การลดจานวนหุ้นของบริ ษัท และเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2560 ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ บริ ษัทแก้ ไขหนังสือบริ คณห์สนธิ เป็ น การลด หุ้นสามัญ 31,053,243,844 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท การลดทุนทาให้ ทนุ จดทะเบียนของบริ ษัทลดลงจาก 32,166.3 ล้ านบาท เป็ น 1,113.0 ล้ านบาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2560


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

221

เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 บริ ษัทยื่นคาร้ องต่อศาลล้ มละลายกลางขอแก้ ไขหนังสือบริ คณฑ์สนธิของบริ ษัท สาหรับการเพิ่มทุนจด ทะเบียนเพื่อทาการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 1 และเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ บริ ษัทแก้ ไขหนังสือบริ คณห์ สนธิ เป็ นการเพิ่มทุนจดทะเบียน10,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท การเพิ่มทุนทาให้ ทนุ จดทะเบียนของบริ ษัทเพิ่มขึ ้น จาก 1,113.0 ล้ านบาท เป็ น 11,113.0 ล้ านบาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เจ้ าหนี ท้ ี่ ได้ รั บการจัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่ มทุนเพื่ อ แปลงหนี เ้ ป็ นทุนอยู่ร ะหว่างการดาเนินการตาม กระบวนการตามกฎหมายซึง่ ยังไม่แล้ วเสร็ จ การขอรับชาระหนี้ของเจ้ าหนี้ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 มีคาขอรับชาระหนี ้ที่อยู่ระหว่างรอคาสัง่ โดยเจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์อีก 2 ราย โดยยอดหนี ้จานวน 3,113.8 ล้ านบาท ทังนี ้ ้บริ ษัทยังไม่ได้ บนั ทึกหนี ้สินจากเจ้ าหนี ้ทังสองราย ้ (เจ้ าหนี ้ในกลุ่มที่ 10 และกลุ่มที่ 12) รายละเอียดความคืบหน้ าของการรับชาระหนี ้ของเจ้ าหนี ้ที่ยงั ไม่มีคาสัง่ เป็ นที่สิ ้นสุด ณ วันที่ในรายงานฉบับนี ้ มีดงั นี ้ เจ้ าหนี ้รายหนึง่ ในกลุ่ม 7 ได้ ยื่นอุทธรณ์การยกคาร้ องของศาลล้ มละลายต่อศาลคดีชานัญพิเศษ โดยเป็ นหนี ้ที่กรรมการบริ ษัทซึง่ เป็ น เจ้ าหนี ้เงินให้ ก้ ยู ืมบริ ษัทจานวน 641.3 ล้ านบาท ทาหนังสือสัญญาซื ้อขายและโอนสิทธิเรี ยกร้ องหนี ้ดังกล่าวให้ กบั เจ้ าหนี ้ 2 ราย โดย เจ้ าหนี ร้ ายหนึ่งมีจานวน 413.7 ล้ านบาท และเจ้ าหนีด้ งั กล่าวขอหักกลบลบหนีก้ ับลูกหนีข้ องบริ ษัท ซึ่งหลังจากหักกลบแล้ ว ทาให้ บริ ษัทต้ องบันทึกยอดเจ้ าหนี ้ที่ต้องจ่ายคืนเจ้ าหนี ้รายนี ้ จานวน 4.3 ล้ านบาท เจ้ าหนีร้ ายหนึ่งในกลุ่มที่ 10 อยู่ระหว่างการรอคาสั่งโดยเจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรั พย์ รวมเป็ นเงินต้ นเทียบเท่าสกุลเงินบาทจานวน 1,185.1 ล้ านบาท ซึง่ บริ ษัทยังไม่ได้ บนั ทึกเป็ นหนี ้สิน เนื่องจากผู้บริ หารพิจารณาว่าเป็ นหนี ้ที่มีเงื่อนไขขึ ้นอยู่กบั เหตุการณ์ในอนาคต ซึง่ ยังมีความไม่แน่นอนและไม่มีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่ที่บริ ษัทจะสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื่อจ่ายชาระภาระ ผูกพัน เจ้ าหนี ้รายหนึ่งในกลุ่มที่ 12 อยู่ระหว่างการรอคาสัง่ โดยเจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์ รวมเป็ นเงินต้ นและดอกเบี ้ยสกุลเงินบาทจานวน 1,907.7 ล้ านบาท และ 21 ล้ านบาท ตามลาดับ ซึง่ บริ ษัทยังไม่ได้ บนั ทึกหนีส้ ิน เนื่องจากผู้บริ หารพิจารณาว่ายังมีความไม่แน่นอน และไม่มีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่ที่บริ ษัทจะสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื่อจ่ายชาระหนี ้ดังกล่าว ปี 2560 บริ ษัทได้ ชาระหนี ้แก่เจ้ าหนี ้ตามแผนฟื น้ ฟูกิจการ เป็ นเงินต้ นตามแผนฟื น้ ฟูจานวน 1,538.4 ล้ านบาท และจากกระแสเงินสด ส่วนเกินจานวน 279.5 ล้ านบาท รวมชาระเงินต้ นตามแผนทังสิ ้ ้น 1,817.9 ล้ านบาท และดอกเบี ้ยรวม 94.3 ล้ านบาท รวมเป็ นเงิน ทังสิ ้ ้น 1,912.2 ล้ านบาท


222

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

21

ทุนเรือนหุ้น รายการเคลื่อนไหวของทุนเรื อนหุ้นสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั นี ้

ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ ณ วันที่ 1 มกราคม - ลดทุน - ครัง้ ที่ 1 - ลดทุน - ครัง้ ที่ 2 - เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ทุนที่ออกและชาระแล้ ว หุ้นสามัญ ณ วันที่ 1 มกราคม - ลดทุน ครัง้ ที่ 2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2559

2560

มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น (บาท)

จานวนหุ้น (พันหุน้ )

จานวนเงิน (พันบาท)

จานวนหุ้น (พันหุน้ )

จานวนเงิน (พันบาท)

1 1 1 1 1

50,263,663 (18,097,401) (31,053,243) 10,000,000 11,113,019

50,263,663 (18,097,401) (31,053,243) 10,000,000 11,113,019

50,263,663 50,263,663

50,263,663 50,263,663

1 1

32,166,262 (31,053,243) 1,113,019

32,166,262 (31,053,243) 1,113,019

32,166,262 32,166,262

32,166,262 32,166,262

การลดทุนจดทะเบียนทีย่ งั ไม่จดั สรร เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 บริ ษัทได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลล้ มละลายกลางขอแก้ ไขหนังสือบริ คณฑ์สนธิของบริ ษัทสาหรับการลดทุนจด ทะเบียนโดยการยกเลิกหุ้นที่ยงั ไม่ได้ ออกจาหน่าย และเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ บริ ษัทแก้ ไขหนังสือ บริ คณห์สนธิ เป็ นหุ้นที่ยงั ไม่ได้ ออกจาหน่าย 18,097,401,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท การลดทุนทาให้ ทนุ จดทะเบียนของ บริ ษัทลดลงจาก 50,263.7 ล้ านบาท เป็ น 32,166.3 ล้ านบาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อ วันที่ 1 มีนาคม 2560 การลดทุนหุน้ สามัญ เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2560 บริ ษัทได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลล้ มละลายกลางขอแก้ ไขหนังสือบริ คณฑ์สนธิของบริ ษัทสาหรับการลดทุนโดย การลดจานวนหุ้นของบริ ษัท และเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2560 ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ บริ ษัทแก้ ไขหนังสือบริ คณห์สนธิ เป็ นการลด หุ้นสามัญ 31,053,243,844 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท การลดทุนทาให้ ทนุ จดทะเบียนของบริ ษัทลดลงจาก 32,166.3 ล้ านบาท เป็ น 1,113.0 ล้ านบาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2560


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

223

การเพิ่มทุนหุน้ สามัญ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 บริ ษัทยื่นคาร้ องต่อศาลล้ มละลายกลางขอแก้ ไขหนังสือบริ คณฑ์สนธิของบริ ษัทสาหรับการเพิ่มทุนจด ทะเบียนเพื่อทาการแปลงหนี ้เป็ นทุนครัง้ ที่ 1 และเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 ศาลได้ มีคาสัง่ อนุญาตให้ บริ ษัทแก้ ไขหนังสือบริ คณห์ สนธิ เป็ นการเพิ่มทุนจดทะเบียน 10,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท การเพิ่มทุนทาให้ ทนุ จดทะเบียนของบริ ษัทเพิ่มขึ ้น จาก 1,113.0 ล้ านบาท เป็ น 11,113.0 ล้ านบาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 ทังนี ้ ้การลดทุนและการเพิ่มทุนข้ างต้ นเป็ นการปฏิบตั ติ ามระบุไว้ ในแผนฟื น้ ฟูกิจการ รายการบัญชีที่มีผลกระทบจากการลดทุน การเคลื่อนไหวในทุน และสารองนาเสนอในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น 22

ส่ วนงานดาเนินงาน กลุ่มบริ ษัทมี 3 ส่วนงานที่รายงาน ดังรายละเอียดข้ างล่าง ซึง่ เป็ นหน่วยงานธุรกิจที่สาคัญของกลุ่มบริ ษัท หน่วยงานธุรกิจที่สาคัญนี ้ ผลิตสินค้ าและให้ บริ การที่แตกต่างกัน และมีการบริ หารจัดการแยกต่างหาก เนื่องจากใช้ เทคโนโลยี และกลยุทธ์ ทางการตลาดที่ แตกต่างกัน ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดาเนินงานสอบทานรายงานการจัดการภายในของแต่ละหน่วยงานธุรกิจที่สาคัญ อย่างน้ อยทุกไตรมาส การดาเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานของกลุ่มบริ ษัทโดยสรุ ปมีดงั นี ้ ส่ วนงานธุรกิจ ส่วนงาน 1 การผลิตเหล็กแผ่นรี ดร้ อน ส่วนงาน 2 การบริ การซ่อมบารุ ง ส่วนงาน 3 การบริ การท่าเรื อน ้าลึก ข้ อมูลผลการดาเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานได้ รวมอยู่ดงั ข้ างล่างนี ้ ผลการดาเนินงานวัดโดยใช้ กาไรก่อนภาษี เงินได้ ของส่วนงาน ซึ่ง นาเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษัท ผู้บริ หารเชื่อว่าการใช้ กาไรก่อนภาษี เงินได้ ในการวัดผลการดาเนินงานนันเป็ ้ นข้ อมูลที่เหมาะสมในการประเมินผลการดาเนินงานของส่วนงานและสอดคล้ องกับ กิจการอื่นที่ดาเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน


87,044 335,255 247,047

(2,888,857)

22,843,838

67,343,088

370,679

177,338

4,443,865 ก่อนหักภาษี สินทรัพย์ตามส่วนงานที่รายงาน 24,665,215 ณ วันที่ 31 ธันวาคม หนี ้สินตามส่วนงานที่รายงาน 64,235,405 ณ วันที่ 31 ธันวาคม

19,454,447 -

24,975,852

295,320

307,478

6,808

191,687

153,974

การบริการซ่ อมบารุง 2560 2559

-

รายได้ ระหว่างส่วนงาน กาไร (ขาดทุน) ตามส่วนงาน

รายได้ จากลูกค้ าภายนอก

การผลิตเหล็กแผ่ นรี ดร้ อน 2559 2560

ข้ อมูลรายได้ และกาไรของส่วนงานสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั ต่อไปนี ้

ข้ อมูลเกี่ยวกับส่ วนงานที่รายงาน

59,321

1,392,641

54,955

60,003

178,383

72,325

1,463,523

88,441

66,648

215,738

การบริการท่ าเรือนา้ ลึก 2560 2559

(67,886)

(855,357)

(50,160)

(430,682)

-

(43,398)

(386,964)

(39,806)

(258,335)

-

ตัดรายการบัญชีระหว่ างกัน 2560 2559

64,473,887

25,537,754

4,535,704

-

25,331,573

2560

2559

67,667,335

24,227,875

(2,833,414)

-

19,824,159

รวม

หน่วย : พันบาท

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

224


225

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ส่ วนงานภูมิศาสตร์ ส่วนงานที่ 1 มีการจัดการ การผลิต และสานักงานในประเทศไทย ส่วนงานที่ 2 และ 3 มีการดาเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศไทยเท่านัน้ ไม่มีรายได้ จากต่างประเทศหรื อสินทรัพย์ในต่างประเทศที่มี สาระสาคัญ ในการนาเสนอการจาแนกส่วนงานภูมิศาสตร์ รายได้ ตามส่วนงานแยกตามที่ตงทางภู ั้ มิศาสตร์ ของลูกค้ า สินทรัพย์ตามส่วนงานแยก ตามสถานที่ตงทางภู ั้ มิศาสตร์ ของสินทรัพย์ ข้ อมูลเกี่ยวกับส่ วนงานภูมิศาสตร์

รายได้ ไทย ต่างประเทศ รวม

2560

หน่วย : พันบาท 2559

25,286,629 44,945 25,331,574

19,786,704 37,455 19,824,159

ลูกค้ ารายใหญ่ รายได้ จากลูกค้ า 3 รายจากส่วนงานที่ 1 ของกลุ่มบริ ษัทเป็ นเงินประมาณ 10,319 ล้ านบาท (2559: 2 ราย จานวน 6,368 ล้านบาท)


226

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

23

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ

งบการเงินรวม 2560 2559 การเปลี่ยนแปลงในสินค้ าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทา วัตถุดิบและวัสดุสิ ้นเปลืองใช้ ไป ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าน ้ามันเชื ้อเพลิงและพลังงานไฟฟ้า ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าซ่อมบารุ ง ค่าขนส่ง กลับรายการขาดทุนจากมูลค่าสินค้ าคงเหลือลดลง ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ค่าใช้ จ่ายขันต ้ ่าที่ต้องจ่ายตามสัญญา เช่าดาเนินงาน หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ค่าเบี ้ยปรับ

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(515,461) 20,421,843 835,814 597,271 502,705 240,036 380,449 (74,163) 150,787

(259,240) 13,933,384 722,914 591,598 490,260 188,245 335,829 (336,749) 160,473

(523,091) 20,645,898 625,754 592,614 401,219 240,506 380,449 (74,067) 127,671

(237,544) 14,083,206 613,226 585,168 394,502 184,869 335,829 (336,749) 151,435

28,034 8,032 6,400 12,414

23,794 2,677,309 4,329 16,297

25,486 8,032 6,400 12,414

23,794 2,677,309 3,933 16,297


227

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

24

ผลกระทบจากเหตุอุทกภัย การดาเนินการของกลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทที่อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ได้ รับผลกระทบจากสถานการณ์น ้าท่วมใหญ่ ทางภาคใต้ ของไทย โดยน ้าได้ เข้ าท่วมโรงงานในระหว่างวันที่ 9 - 13 มกราคม 2560 ส่งผลให้ การผลิตที่โรงงานดังกล่าวต้ อง หยุดชะงักลงชัว่ คราว บริ ษัทได้ เริ่ มดาเนินการผลิตเป็ นปกติในวันที่ 23 มกราคม 2560 กลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทรับรู้ ค่าใช้ จ่ายและเงิน ชดเชยจากการประกันภัยอันเนื่องมาจากความเสียหายจากอุทกภัย สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2560 เงินชดเชยได้ รับจากบริ ษัทประกันภัย รายได้ จากการขายเศษซาก รวมรายได้ ท่ ีได้ รับรู้

2559

2560

2559

364,888 102 364,990

-

246,362 246,362

-

25,914 67,089

-

20,902 38,150

-

ค่าใช้ จ่ายอื่นซึง่ เกิดเนื่องจากอุทกภัย

129,435

-

99,216

-

รวมค่ าใช้ จ่ายที่เกี่ยวกับอุทกภัย

222,438

-

158,268

-

กาไรสุทธิอันเนื่องมาจากอุทกภัยที่รับรู้

142,551

-

88,094

-

ค่าชดเชยได้ รับจากบริ ษัทประกันภัย รับเงินค่าสินไหมระหว่างปี เงินชดเชยค้ างรับ

364,888 364,888

-

246,362 246,362

-

-

-

-

-

ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินค้ าคงเหลือ ขาดทุนจากการด้ อยค่าของเครื่ องจักร และอุปกรณ์


228

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

25

ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ที่รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน

งบการเงินรวม 2560 2559 ภาษีเงินได้ ของปี ปั จจุบัน สาหรับปี ปัจจุบนั ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชัว่ คราว รวม

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

-

13,924

-

-

21,212 21,212

(12,856) 1,068

31,859 31,859

(27,840) (27,840)

ภาษีเงินได้ ที่รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

งบการเงินรวม 2560 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการ ผลประโยชน์ พนักงาน ก่อนภาษีเงินได้ รายได้ (ค่าใช้ จ่าย) ภาษีเงินได้ สุทธิจากภาษีเงินได้

331 331

56,226 (6,165) 50,061

-

29,680 (2,744) 26,936


229

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้ จริง หน่วย : พันบาท 2560 อัตราภาษี

งบการเงินรวม

จานวนเงิน

(ร้อยละ) กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้

อัตราภาษี

20

รวม

-

จานวนเงิน

(ร้อยละ) 4,538,886

จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้ จ่ายต้ องห้ ามทางภาษี ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู้ เป็ นสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี ้สินภาษีเงินได้ ที่ไม่ได้ บนั ทึกระหว่างปี ภาษีงวดก่อนที่บนั ทึกต่าไป ขาดทุนทางภาษียกมา

2559

907,777 (74,268) 8,082

(2,833,413) 20

(566,683) (45,171) 14,096

27,851 (848,230) 21,212

106,057 480,665 12,104 -

1,068 หน่วย : พันบาท

2560 อัตราภาษี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

จานวนเงิน

(ร้อยละ) กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้

อัตราภาษี

20

รวม

-

จานวนเงิน

(ร้อยละ) 4,443,865

จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้ จ่ายต้ องห้ ามทางภาษี ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู้ เป็ นสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี ้สินภาษีเงินได้ ที่ไม่ได้ บนั ทึกระหว่างปี ขาดทุนทางภาษียกมา

2559

888,773 (61,813) 3,403

(3,056,665) 20

31,859 (830,363) 31,859

(611,333) (3,060) 4,616 106,057 475,880 -

-

(27,840)

การรับรู้ ภาษีเงินได้ ขึ ้นอยู่กบั การประมาณการที่ดีที่สดุ ของฝ่ ายบริ หารเกี่ยวกับอัตราภาษีเงินได้ ประจาปี ถวั เฉลี่ย ถ่วงน ้าหนักที่ คาดไว้ สาหรับงวดที่ใช้ กบั รายได้ ก่อนภาษีของงวดระหว่างกาล อัตราภาษีเงินได้ ที่แท้ จริ งของกลุ่มบริ ษัทได้ รับผลกระทบจากปัจจัยดังต่อไปนี ้


230

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

  

26

ขาดทุนทางภาษี และผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึน้ ในระหว่างงวด ซึ่งสินทรั พย์ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ไม่ได้ รั บการบันทึก เนื่องจากฝ่ ายบริ หารพิจารณาว่าไม่มีแนวโน้ มที่กาไรสุทธิทางภาษี ในอนาคตจะสามารถนามาใช้ ได้ กาไรสุทธิบางส่วนของกลุ่มบริ ษัท ซึ่งเกิดจากธุรกรรมที่ได้ รั บการส่งเสริ มการลงทุน โดยกาไรสุทธิของธุรกรรมดังกล่าวได้ รั บ ยกเว้ นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ ขาดทุนของบริ ษัทย่อยบางแห่งของกลุ่มบริ ษัท ซึ่งไม่สามารถจะนามาสุทธิกบั กาไรของบริ ษัทย่อยแห่งอื่นๆ ของกลุ่มบริ ษัทใน การคานวณภาษีเงินได้

กาไรต่ อหุ้น กาไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นขั้นพื้นฐาน กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขัน้ พืน้ ฐานสาหรั บปี คานวณจากกาไร (ขาดทุน) สาหรั บงวดที่เป็ นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัทและ จานวนหุ้นสามัญที่ออกจาหน่ายแล้ วระหว่างงวดโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน ้าหนัก ปี 2559 กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน ถูกคานวณขึน้ ใหม่ด้วยหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนา้ หนักจากการลดทุนหุ้นสามัญ โดยถื อ เสมือนว่ามีลดทุนหุ้นสามัญเกิดขึ ้นตังแต่ ้ วนั เริ่ มต้ นของงวดแรกที่เสนอรายงาน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงการคานวณดังนี ้ งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี ที่เป็ นส่วนของผู้ถือ หุ้นของบริ ษัท (พันบาท) จานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน ้าหนัก (ขันพื ้ ้นฐาน) (พันหุ้น)

4,534,665

(2,869,108)

4,475,724

(3,028,826)

1,113,018

1,113,018

1,113,018

1,113,018

กาไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน (บาท)

4.07

(2.58)

4.02

(2.72)


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

27

231

สิทธิประโยชน์ จากการส่ งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุนอนุมัติให้ กลุ่มบริ ษัทได้ รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนตาม พระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับ (1) ผลิตเหล็กแผ่นรี ดร้ อนและเหล็กแผ่นรี ดร้ อนเคลือบน ้ามัน (2) บริ การขน ถ่ายสินค้ าสาหรับเรื อเดินทะเล (3) บริ การเรื อกาลังสูง (4) ผลิตเครื่ องจักรและอุปกรณ์สาหรับงานอุตสาหกรรม ชิ ้นส่วนเครื่ องจักรกล การซ่อมแซมและปรับปรุ งอุปกรณ์เครื่ องจักรอุตสาหกรรม และโครงสร้ างโลหะสาหรับงานอุตสาหกรรม ซึง่ พอสรุ ปสาระสาคัญได้ ดงั นี ้ (ก) ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสาหรับเครื่ องจักรที่ได้ รับอนุมตั โิ ดยคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (ข) ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสาหรับวัตถุดบิ และวัสดุที่จาเป็ นที่นาเข้ ามา (ค) ได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการการจาหน่ายเหล็กแผ่นรี ดร้ อน และเหล็กแผ่นรี ด ร้ อนเคลือบนา้ มันรวมกันไม่เกิน 1.6 ล้ านตัน ต่อปี เป็ นระยะเวลา 8 ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ (วันที่ 13 พฤษภาคม 2547) (ง) ได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบุคคลสาหรั บกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มรวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ (14 พฤศจิกายน 2549) ภาษี เงินได้ นิติบุคคลที่ได้ รับยกเว้ นดังกล่าวมีจานวนไม่เกิน 1,146 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ จะปรับเปลี่ยนตาม จานวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนที่แท้ จริ งในวันเปิ ดดาเนินการตามโครงการที่ได้ รับการส่งเสริ มและได้ รับ ยกเว้ นอากรขาเข้ าสาหรับเครื่ องจักรตามที่คณะกรรมการอนุมตั ิ (จ) ได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มรวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของ เงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่มีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ (วันที่ 4 กรกฎาคม 2555) ภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลที่ได้ รับการยกเว้ นดังกล่าวมีจานวนไม่เกิน 300 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ จะปรับเปลี่ยนตามจานวน เงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดนิ และทุนหมุนเวียนที่แท้ จริ งในการเปิ ดดาเนินงานตามโครงการที่ได้ รับการส่งเสริ ม (ฉ) ได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มรวมกันไม่เกินร้ อยละ 100 ของ เงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดนิ และทุนหมุนเวียนเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ ภาษี เงินได้ นิตบิ คุ คลที่ได้ รับการยกเว้ นดังกล่าวมีจานวนไม่เกิน 167 ล้ านบาท ทังนี ้ ้จะปรับเปลี่ยนตามจานวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุนเวียนที่แท้ จริ งในวันเปิ ดดาเนินการตามโครงการที่ได้ รับการส่งเสริ ม เนื่องจากเป็ นกิจการที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุน กลุ่มบริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้ อกาหนดตามที่ระบุไว้ ในบัตรส่งเสริ ม การลงทุน


232

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

รายได้ ที่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนและที่ไม่ได้ รับการส่งเสริ มการลงทุนสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุ ปได้ ดงั นี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2559

2560 กิจการที่ได้ รับ กิจการที่ไม่ได้ รับ การส่งเสริ ม การส่งเสริ ม ขายและบริ การต่างประเทศ ขายและบริ การในประเทศ ตัดรายการระหว่างกัน รวมรายได้

รวม

กิจการที่ได้ รับ การส่งเสริ ม

กิจการที่ไม่ได้ รับ การส่งเสริ ม

รวม

2,084

44,945 25,715,239

44,945 25,717,323

1,227

37,455 20,043,812

37,455 20,045,039

-

(430,694)

(430,694)

-

(258,335)

(258,335)

2,084

25,329,490

25,331,574

1,227

19,822,932

19,824,159

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 กิจการที่ได้ รับ กิจการที่ไม่ได้ รับ การส่งเสริ ม การส่งเสริ ม ขายและบริ การต่างประเทศ ขายและบริ การในประเทศ รวมรายได้

2559 รวม

กิจการที่ได้ รับ การส่งเสริ ม

กิจการที่ไม่ได้ รับ การส่งเสริ ม

รวม

-

30,837 24,945,015

30,837 24,945,015

-

30,587 19,423,860

30,587 19,423,860

-

24,975,852

24,975,852

-

19,454,447

19,454,447


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

28

233

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน กลุ่มบริ ษัทมีความเสี่ยงจากการดาเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี ้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบัติตามข้ อกาหนดตามสัญ ญาของคู่สัญ ญา กลุ่มบริ ษัทไม่มีการถื อ หรื อ ออกเครื่ อ งมื อทางการที่เป็ นตราสาร อนุพนั ธ์ เพื่อการเก็งกาไรหรื อการค้ า การจัดการความเสี่ยงเป็ นส่วนที่สาคัญของธุรกิจของกลุ่มบริ ษัท กลุ่มบริ ษัทมีระบบในการควบคุมให้ มีความสมดุลของระดับความ เสี่ยงให้ เป็ นที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้ นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้ นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ ายบริ หารได้ มีการ ควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริ ษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการ ควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษัท คือ การรั กษาระดับเงินทุนให้ มั่นคงเพื่อ รั กษานักลงทุน เจ้ าหนีแ้ ละความเชื่ อมั่นของตลาดและ ก่อให้ เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้ มีการกากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึง่ กลุ่มบริ ษัทพิจารณาจาก สัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดาเนินงานต่อส่วนของเจ้ าของรวม ซึ่งไม่รวมส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม อีกทังยั ้ งกากับ ดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี ้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี ้ยในตลาด ซึง่ ส่งผล กระทบต่อการดาเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริ ษัท เนื่องจากดอกเบี ้ยของหลักทรัพย์ที่เป็ นตราสารหนี ้และเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มี อัตราคงที่ กลุ่มบริ ษัทมีความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี ้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 15 และ 18) กลุ่มบริ ษัท ได้ ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยทาให้ แน่ใจว่าดอกเบี ้ยที่เกิดจากหลักทรัพย์ที่เป็ นตราสารหนี ้และเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มีอตั ราคงที่ และใช้ เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพันธ์ซงึ่ ส่วนใหญ่เป็ นสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี ้ย เพื่อใช้ ในการจัดการความเสี่ยงที่เกิด จากความผันผวนของอัตราดอกเบี ้ยที่เกิดจากหลักทรัพย์ที่เป็ นตราสารหนี ้และเงินกู้ยืมเป็ นการเฉพาะ อัตราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ งของหนี ้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี ้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกาหนดชาระหรื อกาหนดอัตรา ใหม่มีดงั นี ้


234

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(หน่วย : พันบาท)

ปี 2560 หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ -ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน - ส่วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าซื ้อ ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน ไม่ หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ -ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน รวม

อัตราดอกเบี ้ย ที่แท้ จริ ง ภายใน 1 ปี (ร้อยละต่อปี )

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี

รวม

1.00

25,807

-

-

25,807

MOR, MLR

72,000

-

-

72,000

MLR 1.00 6.50-7.56 0.39-6.69

771,677 266,942 15,936 -

-

-

771,677 266,942

1.00

498,485

-

-

498,485

15,936 -

1.00

-

118,635

1,411,610

1,530,245

MLR 1.00 6.50-7.56

-

3,086,709 1,227,135 17,740

4,404,557 14,601,434 -

7,491,266 15,828,569 17,740

MLR

-

2,266,871

23,210,039

25,476,910

6,717,090

43,627,640

51,995,577

1,650,847


235

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ปี 2559 หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ - ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน - ส่วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าซื ้อ ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน ไม่ หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ - ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน รวม

อัตราดอกเบี ้ย ที่แท้ จริ ง ภายใน 1 ปี (ร้อยละต่อปี )

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี

(หน่วย : พันบาท) รวม

1.00-7.50

23,470

-

-

23,470

MOR

112,362

-

-

112,362

MLR 1.00-28.00 6.50-7.56 0.39-6.69

771,677 241,942 48,705 1,000

-

-

771,677 241,942

LIBOR+4.50

455,667

-

-

455,667

1.00-7.50

-

114,722

1,453,382

1,568,104

MLR 1.00-28.00 6.50-7.56

-

3,086,709 1,183,358 37,111

5,401,740 14,927,620 -

8,488,449 16,110,978 37,111

LIBOR+4.50

-

2,191,899

26,297,730

28,489,629

6,613,799

48,080,472

56,349,094

1,654,823

48,705 1,000


236

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(หน่วย : พันบาท)

ปี 2560 หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ -ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน ไม่ หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ -ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน รวม

ปี 2559 หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ -ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน หนี ้สินตามสัญญาเช่าซื ้อ ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน

อัตราดอกเบี ้ย ที่แท้ จริ ง ภายใน 1 ปี (ร้อยละต่อปี )

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี

รวม

1.00

25,807

-

-

25,807

MLR 1.00

771,677 266,942

-

-

771,677

MLR

498,485

-

-

498,485

1.00

-

118,635

1,411,610

1,530,245

MLR 1.00

-

3,086,709 1,227,135

4,404,557 14,601,434

7,491,266 15,828,569

MLR

-

2,266,871

23,210,039

25,476,910

6,699,350

43,627,640

51,889,901

1,562,911

อัตราดอกเบี ้ย ที่แท้ จริ ง (ร้อยละต่อปี )

ภายใน 1 ปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี

266,942

(หน่วย : พันบาท) รวม

1.00-7.50

23,470

-

-

23,470

MLR 1.00-28.00 4.76-6.69

771,677 241,942 840

-

-

771,677 241,942 840

LIBOR+4.50

455,667

-

-

455,667


237

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ไม่ หมุนเวียน เจ้ าหนี ้อื่นภายใต้ แผนฟื น้ ฟูกิจการ -ที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน -ที่มีหลักประกัน -ที่ไม่มีหลักประกัน ประมาณการหนี ้สินผลขาดทุนจากการ เป็ นผู้ค ้าประกัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี

(หน่วย : พันบาท)

อัตราดอกเบี ้ย ที่แท้ จริ ง

ภายใน 1 ปี

1.00-7.50

-

114,722

1,453,382

1,568,104

MLR 1.00-2.80

-

3,086,709 1,183,358

5,401,740 14,927,620

8,488,449 16,110,978

LIBOR+4.50

-

2,191,899

26,297,730

28,489,629

1,493,596

6,576,688

48,080,472

56,150,756

รวม

ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่ม บริ ษั ท มี ค วามเสี่ ย งจากอัต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่า งประเทศ ซึ่ง เกิ ด จากการซื อ้ สิ น ค้ า และการขายสิ น ค้ า ที่ เ ป็ น เงิ น ตรา ต่างประเทศ กลุ่มบริ ษัทได้ ทาสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ซึง่ รายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อป้องกันความ เสี่ยงของหนีส้ ินทางการเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ณ วันที่รายงานเป็ นรายการที่ เกี่ยวข้ องกับรายการซื ้อและขายสินค้ าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทและบริ ษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็ นผลมาจากการมี สินทรัพย์และหนี ้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศดังนี ้

งบการเงินรวม เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้การค้ า ประมาณการหนี ้สินภายใต้ สญ ั ญาค ้าประกัน และอื่นๆ หนี ้สินหมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

2560

2559

(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

120,446 186 (2,928,296)

23 (1,905,141)

120,446 (2,918,545)

23 (1,895,211)

(25,515,525) (1,386) (28,324,575) (503,966) (28,828,541)

(28,384,212) (30,289,330) (5,632) (30,283,698)

(25,515,525) (1,386) (28,315,010) (503,966) (28,818,976)

(28,384,212) (30,279,400) (30,279,400)


238

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2560

2559

2560

2559

เงินปอนด์ สเตอร์ ลิง ลูกหนี ้การค้ า หนี ้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี ้ย หนี ้สินหมุนเวียนอื่น

449 (7,312)

(46,237) (3,121)

449 (7,312)

(46,237) (3,121)

ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

(6,863) (6,863)

(49,358) (49,358)

(6,863) (6,863)

(49,358) (49,358)

เงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้การค้ า หนี ้สินหมุนเวียนอื่น

280,949 1,433 (7,081) (4,727)

449 (113,001) (5,721)

280,949 (7,081) (4,727)

(113,001) (5,721)

ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

(270,574) (270,574)

(118,273) (118,273)

(269,141) (269,141)

(118,722) (118,722)

เงินเยนญี่ปุ่น เจ้ าหนี ้การค้ า ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ

(310) (310) -

(328) (328) -

(282) (282) -

(299) (299) -

ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

(310)

(328)

(282)

(299)

เงินเหรียญออสเตรเลีย ลูกหนี ้การค้ า ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ

-

600 600 -

-

-

ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

-

600

-

-


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

239

ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ ความเสี่ ยงทางด้ านสินเชื่ อ คือ ความเสี่ ยงที่ลูกค้ าหรื อ คู่สัญญาไม่สามารถชาระหนีแ้ ก่กลุ่มบริ ษัทตามเงื่อ นไขที่ตกลงไว้ เมื่ อครบ กาหนด ฝ่ ายบริ หารได้ กาหนดนโยบายทางด้ านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อดังกล่าวอย่างสม่าเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะ ทางการเงินของลูกค้ าทุกรายที่ขอวงเงินสิน เชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็ นสาระสาคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้ านสินเชื่อแสดงไว้ ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการในงบดุล อย่างไรก็ตามเนื่องจาก กลุ่มบริ ษัทมีฐานลูกค้ าจานวนมาก ฝ่ ายบริ หารไม่ได้ คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระสาคัญจากการเก็บหนี ้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุ่มบริ ษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดให้ เพียงพอ ต่อการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษัท และเพื่อทาให้ ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การกาหนดมูลค่ ายุตธิ รรม นโยบายการบัญชีและการเปิ ดเผยของกลุ่มบริ ษัท กาหนดให้ มีการกาหนดมูลค่ายุติธรรมทังสิ ้ นทรัพย์และหนี ้สินทังทางการเงิ ้ นและ ไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผ้ ซู ื ้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรื อชาระหนี ้สินกัน ในขณะที่ทงั ้ สองฝ่ ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้ อย่างเป็ นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความ เกี่ยวข้ องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและหรื อการเปิ ดเผยมูลค่ ายุติธรรมถูกกาหนดโดยวิธีต่อไปนี ้ ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สมมติฐานในการกาหนดมูลค่ายุตธิ รรมถูกเปิ ดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้ องกับสินทรัพย์และหนี ้สินนันๆ ้ มูลค่ายุตธิ รรมของลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้ระยะสันอื ้ ่นๆ เป็ นมูลค่าที่ใกล้ เคียงกับมูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรั พย์ที่เป็ นตราสารทุนและตราสารหนีท้ ี่ถือไว้ เพื่อค้ า ที่จะถื อไว้ จนครบกาหนด และเผื่อขาย พิจารณาโดยอ้ างอิงกับราคาเสนอซื ้อ ณ วันที่ในรายงาน มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนที่จะถือไว้ จนครบกาหนดถูกพิจารณาเพื่อความ มุ่งหมายในการเปิ ดเผยในงบการเงินเท่านัน้ มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี ้ยถือตามราคาอ้ างอิงของนายหน้ า ราคาอ้ างอิงเหล่านันสามารถทดสอบหาความ ้ สมเหตุสมผลได้ ด้ วยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต้ ข้อกาหนดต่างๆ และวันสิ ้นสุดของแต่ละสัญญา และ โดยการใช้ อตั ราดอกเบี ้ยในท้ องตลาดของเครื่ องมือทางการเงินที่คล้ ายคลึงกัน ณ วันที่วดั มูลค่า หากมีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าถือตามราคาตลาดของวันที่ทาสัญญาล่วงหน้ า ใน กรณีที่ไม่มีราคาตลาด ให้ ประมาณมูลค่ายุตธิ รรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้ าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้ าของ สัญญาปัจจุบนั ณ วันที่รายงานที่ครบกาหนดในวันเดียวกัน โดยใช้ อตั ราดอกเบี ้ยประเภทที่ใช้ กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล มูลค่ายุติธรรมของหนีส้ ินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพนั ธุ์ ซึ่งพิจารณาเพื่อจุดประสงค์ในการเปิ ดเผยในงบการเงิน คานวณจาก มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้ นและดอกเบี ้ย ซึง่ คิดลดโดยใช้ อตั ราดอกเบี ้ยในท้ องตลาด ณ วันที่ในรายงาน ใน


240

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

กรณี ของหุ้นกู้แ ปลงสภาพ อัตราดอกเบีย้ ในท้ องตลาดพิจารณาจากหนี ส้ ินที่มีความคล้ ายคลึงกั นซึ่งไม่มีสิทธิ เลื อ กแปลงสภาพ สาหรับหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงิน อัตราดอกเบี ้ยในท้ องตลาดพิจารณาจากสัญญาเช่าที่มีความคล้ ายคลึงกัน มูลค่ายุติธรรมของสินทรั พย์ และหนี ส้ ินทางการเงินพร้ อมทัง้ มูลค่าตามบัญชีตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ งบการเงินรวม มูลค่ายุตธิ รรม มูลค่า ระดับ 2 ตามบัญชี ปี 2560 หมุนเวียน สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ – หนี ้สิน รวม ปี 2559 หมุนเวียน สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ – หนี ้สิน รวม

(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุตธิ รรม มูลค่า ระดับ 2 ตามบัญชี

503,966 503,966

508,108 508,108

503,966 503,966

508,108 508,108

5,551

5,632

-

-

5,551

5,632

-

-


241

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

29

ภาระผูกพันและหนีส้ ินที่อาจเกิดขึน้ หน่วย : ล้ านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน สัญญาทีย่ งั ไม่ได้รับรู้ เครื่ องจักรและอุปกรณ์

76

7

75

7

รวม

76

7

75

7

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทมีรายจ่ายฝ่ ายทุนจานวน 28.8 ล้ านบาท 0.1 ล้ านเหรี ยญสหรัฐและจานวน 1.1 ล้ านยูโร (2559 : จานวน 4.5 ล้านบาท จานวน 0.06 ล้านยูโร) ที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อและติดตังเครื ้ ่ องจักรและอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษัทมีรายจ่ายฝ่ ายทุนจานวน 27.6 ล้ านบาท 0.1 ล้ านเหรี ยญสหรัฐและจานวน 1.1 ล้ านยูโร (2559 : จานวน 4.5 ล้านบาท จานวน 0.06 ล้านยูโร) ที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อและติดตังเครื ้ ่ องจักรและอุปกรณ์ หน่วย : ล้ านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

งบการเงินรวม 2560 2559 ภาระผูกพันจากสัญญาเช่ าดาเนินงาน ที่ยกเลิกไม่ ได้ ภายในระยะเวลาหนึง่ ปี ระยะเวลามากกว่าหนึง่ ปี ถงึ ห้ าปี

9 9

8 1

8 8

5 1

18

9

16

6

ภาระผูกพันอื่นๆ สัญญาซื ้อวัตถุดบิ เลตเตอร์ ออฟเครดิต สัญญาอื่นๆ

3,247 10 481

1,493 97

3,247 453

1,493 90

รวม

3,738

1,590

3,700

1,583

รวม


242

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทมีภาระผูกพันอื่นจากการทาสัญญาซื ้ออะไหล่และวัสดุ อุปกรณ์ และสัญญาซ่อมบารุ งเป็ น จานวน 170 ล้ านบาท จานวน 4.8 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ จานวน 3.7 ล้ านยูโร และจานวน 11.3 ล้ านเยนญี่ปนุ่ (2559: จานวน 84 ล้าน บาท จานวน 0.3 ล้านเหรี ยญสหรัฐ จานวน 0.1 ล้านยูโร และจานวน 0.1 ล้านเยนญี ่ปน) ุ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษัทมีภาระผูกพันอื่นจากการทาสัญญาซื ้ออะไหล่และวัสดุอุปกรณ์และสัญญาซ่อมบารุ งเป็ นจานวน 142 ล้ านบาท จานวน 4.8 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ จานวน 3.7 ล้ านยูโร และจานวน 11.3 ล้ านเยนญี่ปนุ่ (2559: จานวน 77 ล้านบาท จานวน 0.3 ล้านเหรี ยญสหรัฐ จานวน 6.5 ล้านปอนด์สเตอร์ ลิง และจานวน 0.1 ล้านยูโร) หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษัทมีหนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้นจากการที่ธนาคารได้ ออกหนังสือค ้าประกัน ในเรื่ องดังต่อไปนี ้

งบการเงินรวม 2560 2559 การใช้ ไฟฟ้า การประกันผลงาน อื่นๆ รวม

107 42 16 165

107 31 12 150

หน่วย : ล้ านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 104 5 109

104 1 105

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทมีหนังสือค ้าประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริ ษัทและบริ ษัทย่อย ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระ ผูกพันทางปฏิบตั บิ างประการตามปกติธุรกิจของกลุ่มบริ ษัท ซึง่ ประกอบด้ วย หนังสือค ้าประกันเพื่อค ้าประกัน 

การจัดตังท ้ าเนียบท่าเทียบเรื อและโรงพักสินค้ าให้ ไว้ แก่กรมศุลกากรจานวน 11 ล้ านบาท (2559: จานวน 11 ล้านบาท)  การปฏิบตั งิ านตามสัญญาจานวน 42 ล้ านบาท (2559: จานวน 298 ล้านบาท จานวน 0.02 ล้านปอนด์สเตอร์ ลิง)  การใช้ ไฟฟ้าจานวน 107 ล้ านบาท (2559: จานวน 107 ล้านบาท)


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

243

ข้ อพิพาทและคดีความ ก) ที่ดนิ ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2553 สานักงานที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สาขาบางสะพานได้ เรี ยกให้ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยทาการส่ง หนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. 3 ก.) (“หนังสือรับรอง”) ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยแห่งหนึ่งจานวนหลายแปลง (มูลค่ารวม 123.1 ล้ านบาทของบริ ษัท และ 187.6 ล้ านบาทของบริ ษัทย่อย)เพื่อทาการยกเลิก ต่อมาสานักงานที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สาขาบางสะพานได้ ออกประกาศการดาเนินการออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. 3 ก.) บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ยื่นฟ้องเจ้ าพนักงานที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สาขาบางสะพาน ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ ศาลป กครองกลางมีคา พิพากษาเพิกถอนการออกประกาศ พร้ อมกันนี ้บริ ษัทและบริ ษัทย่อยยังได้ ยื่นคาร้ องขอให้ ศาลปกครองกลางกาหนดมาตรการ หรื อวิธีการคุ้มครองเพื่อบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวแก่ผ้ ฟู ้องคดีด้วย โดยศาลได้ รับคาฟ้องไว้ พิจารณาแล้ ว ซึง่ ปั จจุบนั อยู่ในระหว่างการ พิจารณาของศาล อย่างไรก็ตามในการจัดทางบการเงิน บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ บนั ทึกค่าเผื่อการด้ อยค่าของที่ดินและสินทรัพย์ ที่ตงอยู ั ้ ่บนที่ดนิ ดังกล่าวทังจ ้ านวนในปี 2550 และ 2551 แล้ วตามลาดับ วันที่ 1 กันยายน 2553 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ยื่นฟ้องอธิบดีกรมที่ดินและรองปลัดกระทรวงมหาดไทยต่ อศาลปกครองกลาง โดยขอให้ ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษาเพิกถอนคาสัง่ อธิบดีกรมที่ดนิ ลงวันที่ 5 มกราคม 2553 ที่ได้ มีคาสัง่ เพิกถอนและแก้ ไข รู ปแผนที่และเนื ้อที่ของหนังสือรับรอง และให้ เพิกถอนคาวินิจฉัยอุทธรณ์ของรองปลัดกระทรวงมหาดไทย รวมทังได้ ้ ขอให้ ศาลไต่ สวนคาร้ องขอทุเลาคาบังคับตามคาสัง่ ทางปกครองดังกล่าว ขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างศาลส่งคาให้ การของผู้ถกู ฟ้องให้ แก่บริ ษัท และ บริ ษัทย่อย นอกจากนันศาลได้ ้ มีคาสัง่ ให้ รวมการพิจารณาคดีนี ้ เข้ ากับคดีซงึ่ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ยื่นฟ้องเจ้ าพนักงานที่ดิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สาขาบางสะพาน ดังกล่าวข้ างต้ นแล้ ว เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2553 นายอาเภอบางสะพาน ในฐานะเจ้ าหน้ าที่ผ้ คู วบคุมและรักษาป่ าสงวนแห่งชาติ ป่ าคลองแม่ราพึง จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ได้ มีคาสัง่ เป็ นหนังสือแจ้ งแก่บริ ษัทและบริ ษัทย่อย ให้ ออกจากที่ดนิ และงดเว้ นการกระทาใดๆในเขตที่ดิน ซึง่ อธิบดีกรมที่ดนิ ได้ มีคาสัง่ ให้ เพิกถอนเอกสารสิทธิ์ที่ดนิ ตามหนังสือรับรอง และสานักงานที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ได้ ออกใบ แทนหนังสือรับรองภายในวันที่ 30 มกราคม 2554 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลาง โดยขอให้ เพิกถอนคาสัง่ นายอาเภอบางสะพาน ที่ มี ค าสั่ ง เมื่ อ วัน ที่ 20 ธั น วาคม 2553 ให้ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยออกจากป่ าสงวนแห่ ง ชาติ ป่ าคลองแม่ ร าพึ ง จั ง หวั ด ประจวบคีรีขนั ธ์และงดเว้ นการกระทาใดๆในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ ขณะนี ้อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 ศาลปกครองกลางมีคาสัง่ ทุเลาการบังคับคดีที่สั่งให้ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยออกจากป่ าสงวนแห่งชาติ ป่ าคลองแม่ราพึง จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ และงดเว้ นการกระทาใด ๆ ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ ต่อเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2557 ศาลปกครองสูงสุดมีคาสัง่ กลับเป็ นยกคาขอให้ ทเุ ลาการบังคับคดีที่สงั่ ให้ บริ ษัทและบริ ษัทย่อย ออกจากป่ าสงวนแห่งชาติ อย่างไรก็ตามฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยเชื่อว่าผลการพิจารณาจะไม่มีผลกระทบต่อการ ดาเนินงานในอนาคตของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2560 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกฟ้อง ต่อมาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2560 บริ ษัทและบริ ษัทย่อย ได้ ยื่นอุทธรณ์คดั ค้ านคาพิพากษาต่อศาลปกครองสูงสุด


ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

244

ข) สินค้ าระหว่ างทาง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559 บริ ษัทได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้ าระหว่างประเทศกลางให้ มีคาสัง่ กักเรื อ เอ็ม.วี. พานอร์ มิติส. เอวี. เนื่องจากบริ ษัท มีสิทธิฟ้องร้ องดาเนินคดีหลังจากเรื อไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่ในการส่งมอบเหล็กแท่งแบน จานวน 38,016.95 เมตริ กตัน อันเป็ นการผิดสัญญารับขนของทางทะเล แม้ ว่าบริ ษัทจะเป็ นผู้รับใบตราส่งและเป็ นผู้ทรงใบตรา ส่งมีสิทธิรับมอบเหล็กแท่งแบนดังกล่าว ซึง่ ได้ ขนมากับเรื อเอ็ม.วี. พานอร์ มิติส. เอวี. บริ ษัทประสงค์ให้ เรื อเอ็ม.วี. พานอร์ มิติส. เอวี. ส่งมอบสินค้ าให้ แก่บริ ษัท ณ ท่าเรื อประจวบ อาเภอบางสะพาน ประเทศไทย ซึง่ เป็ นท่าเรื อปลายทาง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559 ศาลได้ มีคาสั่งให้ กักเรื อเอ็ม.วี. พานอร์ มิติส. เอวี. โดยกาหนดเงื่อนไขให้ บริ ษัท วางเงินต่อศาล จานวน 10 ล้ านบาท เพื่อประกันความเสียหายหรื อความสูญเสียที่อาจเกิดขึ ้นจากการกักเรื อ ศาลอาจมีคาสัง่ ปล่อยเรื อ หากผู้มี ส่วนได้ เสียวางเงินจานวน 20 ล้ านบาท เพื่อเป็ นประกันการชาระหนี ้ต่อบริ ษัท ในวันที่ 19 สิงหาคม 2559 เจ้ าพนักงานบังคับคดี และตัวแทนบริ ษัทได้ ส่งหมายกักเรื อแก่นายเรื อของเรื อเอ็ม.วี. พานอร์ มิติส. เอวี. โดยเรื อดังกล่าวถูกศาลมีคาสัง่ ให้ กักไว้ และ จอดทอดสมออยู่กลางทะเล ด้ านหลังเกาะสีชงั อาเภอสีชงั จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2559 บริ ษัทได้ ยื่นฟ้องบริ ษัท เซาท์ เคป นาวิเกชั่น เอส.เอ. และบริ ษัท ยูนิบลั ค์ ชิปปิ ง้ เอ็นเตอร์ ไพร้ ส เอส.เอ. ซึง่ เป็ นเจ้ าของและผู้จดั การเรื อเอ็ม.วี. พานอร์ มิตสิ . เอวี. และในวันที่ 13 ตุลาคม 2559 บริ ษัทได้ ยื่นฟ้องนายโซริ น โลซิฟ โอโปรอิอู ซึง่ เป็ นนายเรื อรวมถึงเจ้ าหน้ าที่และลูกเรื อ เนื่องจากไม่ส่งมอบเหล็กแท่งแบนให้ กบั บริ ษัททังที ้ ่มีหน้ าที่ตามใบตราส่ง และผิดสัญญารับขนของทางทะเล เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2559 บริ ษัทได้ ยื่นคาร้ องขอให้ ศาลมีคาสัง่ คุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาในคดีที่บริ ษัทฟ้องเจ้ าของและ ผู้จดั การเรื อและศาลนัดไต่สวนคาร้ องในวันที่ 11 เมษายน 2560 ต่อมาเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2560 บริ ษัทและผู้ถูกฟ้องทังหมดสามารถเจรจาตกลงยุ ้ ติข้อพิพาทระหว่างกัน โดยได้ ทาสัญญา ประนอมยอมความต่อหน้ าศาล โดยผู้ถูกฟ้องตกลงส่งมอบสินค้ าเหล็กพิพาทให้ แก่บริ ษัทในทันทีเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2560 บริ ษัทได้ ดาเนินการขนถ่ายสินค้ าออกจากเรื อ เรื อเอ็ม.วี. พานอร์ มิตสิ . เอวี. เสร็ จสิ ้น


245

ร ายงานประจําปี 2560 บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

30

การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ได้ มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้ สอดคล้ องกับการ นาเสนอในงบการเงินปี 2560 ดังนี ้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม ก่อนจัดประเภทใหม่

จัดประเภทใหม่

หลังจัดประเภทใหม่

335,635,980 -

(335,635,980) 112,361,675 223,274,305

112,361,675

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ น การเงินและจากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ ้ จการที่เกี่ยวข้ องกัน

-

223,274,305

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ก่อนจัดประเภทใหม่

จัดประเภทใหม่

231,265,164

(231,265,164) 231,265,164

หลังจัดประเภทใหม่

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ น การเงินและจากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ ้ จการที่เกี่ยวข้ องกัน

-

31

การอนุมัตงิ บการเงิน งบการเงินนี ้ได้ รับอนุมตั ใิ ห้ ออกงบการเงินโดยคณะกรรมการบริ ษัท เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561

231,265,164




บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานใหญ่ 28/1 อาคารประภาวิทย์ ชั้น 2 - 3 ถนนสุรศักดิ์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : 0-2238-3063-82, 0-2630-0280-6 โทรสาร : 0-2236-8890, 0-2236-8892

สำ�นักงานโรงงาน : 9 หมู่ที่ 7 ตำ�บลแม่รำ�พึง อำ�เภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77140 โทรศัพท์ : 0-3269-1403-5, 0-3269-1412-5, 0-3269-1419-20 โทรสาร : 0-3269-1416, 0-3269-1421


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.