a day BULLETIN LIFE issue 58

Page 3

STUFF

DRUMS คุณเคยรู้สึกไหมว่า หลายครั้งจังหวะของช่วงชีวิตช่างไม่พอดิบพอดีกับสิ่งที่เราวาดฝันเอาไว้เสียเลย จนบางทีเราก็นึกอยากจะมี เครื่องเคาะจังหวะให้ชีวิตสักชิ้น เผื่อว่าทิศทางและจุดหมายจะชัดเจนขึ้น แต่ถ้าพูดถึงจังหวะในเพลงแล้วละก็ สิ่งแรกที่เรานึกถึงคงต้องเป็นกลอง เครื่องดนตรีให้จังหวะที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ที่คอยส่งเสียงดังตึงๆ ให้เราสามารถควบคุมจังหวะในเพลงที่เล่น แม้จะไม่สามารถควบคุมมันได้ในชีวิตจริงก็ตาม

มีการค้นพบกลองแทมบูรีน มาตั้งแต่ในวัฒนธรรมสมัย โบราณ อาทิเช่น โรม, อินเดีย, จีน, กรีซ และเมโสโปเตเมีย แต่กลองแทมบูรีนเริ่มเข้ามา มี บ ทบาทและเป็ น ที่ นิ ย มใน แวดวงดนตรี โ ฟล์ ก ในยุ ค 1960s ซึง่ บ๊อบ ดีแลน ศิลปิน ชาวอเมริกนั ถึงกับแต่งเพลง ทีม่ ชี อื่ ว่า ‘Mr. Tambourine Man’ ขึ้น

ก ่ อ น จ ะ มี ก า ร สื่ อ ส า ร ผ่ า นวิ ท ยุ แ ละอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ในกองทัพ ของสหรั ฐ อเมริ ก าใช้ กลองแต๊กเป็นเครือ่ งมือใน การสื่อสารกับพลทหาร ยกตัวอย่างเช่น การเล่น ขลุ่ยและตีกลองเป็นเพลง ที่ มี ค วามยาว 5 นาที เป็นสัญญาณปลุกทหาร ตอนเช้า

กลองชุดเริ่มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีสไตล์ร็อกแอนด์โรลอย่างสมบูรณ์ ในช่วงปี ค.ศ. 1962-1964 เมื่อ Surfaris วงดนตรีสัญชาติอเมริกัน ออกเพลงที่มีชื่อว่า Wipe out ในเวลาเดียวกับที่ ริงโก สตาร์ มือกลอง ชาวอังกฤษจากวง The Beatles เล่นกลองชุดของเขาในรายการโทรทัศน์ของอเมริกา ตั้งแต่นั้นมาผู้คน ก็ให้ความสนใจในกลองชุดมากขึ้น

เนื่องจากว่าชาวคิวบา สามารถเข้ามาท่องเทีย่ ว ในสหรัฐอเมริกาได้อย่าง เ ส รี ใ น ยุ ค 1 9 0 0 s จังหวะดนตรีแบบคิวบา จึงเข้ามามีบทบาทและเป็น ที่นิยมในสหรัฐอเมริกา พร้อมๆ กับกลองคองกา ที่ เ รามั ก เห็ น ตามงาน กีฬาโรงเรียนในปัจจุบนั

มี ก ารน� า กลองเข้ า มาใช้ ในกองทั พ แถบทวี ป ยุ โ รป ในศตวรรษที่ 13 โดยมี วัตถุประสงค์ในการข่มขู่ศัตรู และเป็ น สั ญ ญาณให้ กั บ เหล่าทหารในกองทัพ

ก่อนทีก่ ลองจะกลายมาเป็นเครือ่ งดนตรีประกอบจังหวะ ย้อนไปประมาณ 2,500 ปีกอ่ น ตามประวัติศาสตร์ศรีลังกา มีการใช้กลองเป็นเครื่องมือการสื่อสารระหว่างเมือง และชุมชน เช่นเดียวกันกับวัฒนธรรมในแอฟริกาด้วย

ในยุค 1920s เป็นยุคที่ภาพยนตร์เงียบได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เครื่องเคาะจังหวะจ�าพวกระนาดฝรั่ง และกลองทิมปานี จึงเป็นที่นิยมไปด้วย แต่เมื่อภาพยนตร์มีการพัฒนาจนมีเสียงประกอบ การใช้เครือ่ งเคาะจังหวะดังกล่าวก็หมดความนิยมอย่างรวดเร็ว โดยพบว่าภายในปี ค.ศ. 1930 มีนกั เคาะจังหวะมากกว่า 20,000 คน ตกงาน และมีตา� แหน่งงานทีช่ อื่ ว่า ‘ผูเ้ ล่นกลองชุด’ แทนทีจ่ นมาถึงปัจจุบนั


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.