ความสำคัญของการตรวจแนท และการติดเชื้อระยะเฉียบพลัน

Page 1

! การติดเชื้อเอชไอวีในระยะเฉียบพลัน


เนื้อหา •  •  •  •

การติดเชื้อระยะเฉียบพลันสำคัญอยางไร= การวินิจฉัยการติดเชื้อระยะเฉียบพลันทำไดอยางไร= อาการของการติดเชื้อระยะเฉียบพลัน= ผูใหคำปรึกษามีบทบาทสำคัญอยางไร=


ความสำคัญ 4 ขอของการศึกษา! การติดเชื้อเอชไอวีในระยะเฉียบพลัน ! •  ปริมาณเม็ดเลือดขาวซีดีสี่สวนใหญถูกทำลายใน 3 สัปดาหแรกของการติดเชื้อ เอชไอวี เม็ดเลือดขาวเหลานี้จะมีโอกาสกลับมาเพียงบางสวนเมื่อไดรับยา ตานในภายหลังM –  การรักษาเร็วอาจชวยปองกันการทำลายเม็ดเลือดขาวเหลานี้!

!

•  เชื้อเอชไอวีมีการแพรกระจายไปยังเม็ดเลือดขาวอื่นและเซลลของอวัยวะตางๆ ซึ่งเมื่อเขาไปแลว อาจอยูนิ่งๆ เปนเวลานาน ทำใหรักษาไมหายขาดและยาตาน เขาไปทำลายไมไดM –  การรักษาเร็วและดวยยาสูตรใหมๆ อาจชวยลดการแพรกระจายของ เชื้อและนำไปสูโอกาสในการกำจัดเชื้อที่หลบซอนอยู!


ความสำคัญ 4 ขอของการศึกษา! การติดเชื้อเอชไอวีในระยะเฉียบพลัน! •  การวิจัยวัคซีนปองกันเอดสที่ผานมาไมไดผลหรือไดผลไมดีนักเพราะเรายังไมทราบ แนชัดวารางกายมีปฎิกริยาในการตอบสนองตอเชื้อเอชไอวีอยางไรในระยะที่เพิ่งติด เชื้อใหมM –  การศึกษาปฎิกริยาตอบสนองทางภูมิคุมกันตอเชื้อเอชไอวีในเลือดและ อวัยวะตางๆ ในผูติดเชื้อเฉียบพลันอาจไดความรูที่เปนประโยชนในการ คิดคนวัคซีนปองกันโรคเอดสและการรักษาใหมๆ ในการปองกันและรักษา โรคเอดส! ! •  ผูที่ติดเชื้อระยะเฉียบพลันมีปริมาณเชื้อเอชไอวีสูงมาก มีโอกาสแพรเชื้อมากกวาคนที่ ติดเชื้อมานานแลวถึง 20 เทา และเปนแหลงสำคัญในการแพรเชื้อเอชไอวีสูผูอื่นM –  การวินิจฉัยผูติดเชื้อเฉียบพลันอาจลดการแพรของเชื้อในชุมชนโดยการ ติดตาม ใหคำแนะนำ ตรวจเลือดผูที่สัมผัสเชื้อ ทำใหสามารถลดอัตราการ ติดเชื้อใหม!


Brenchley JM, J Exp Med 2004


HIV-1 RNA in Plasma (copies/ml)

ปริมาณเชื้อไวรัสและโอกาสเปนโรคเอดสใน 5 ปM 106

62%

105

49% 104

26% 8%

103

Detection Threshold 0

0.5

1.0

Years After Infection

1.5

2.0 Mellors et al, Science 1996


การรายงานอื่นๆเกี่ยวกับการรักษาผูติดเชื้อระยะเฉียบพลัน •  เกณฑการรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีของไทยไมไดพูดถึงเรื่องนี้M •  เกณฑการรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีของสหรัฐM –  ควรมีคำนึงถึงภาวะการติดเชื้อระยะเฉียบพลันในผูที่มีอาการจากโรค และ/หรือมีความ เสี่ยงM –  ควรตรวจหาเชื้อดื้อยาในผูติดเชื้อใหม ไมวาจะพิจารณาเริ่มยาตานทันทีหรือไมก็ตามM –  การเริ่มยาตานควรคำนึงผลดีและผลเสีย ยังไมมีการวิจัยพอที่จะแนะนำวิธีการรักษาที่ เหมาะสมM •  การวิจัยในสหรัฐ โครงการ A5217 ที่สุมกลุมใหเริ่มยาทันทีหรือรอในกลุมผูที่ติดเชื้อใหมในชวง 1-6 เดือน M –  กลุมที่เริ่มยาทันทีไดยา 9 เดือนแลวหยุด อีกกลุมหนึ่งไมไดยาตานM –  เปรียบเทียบ 2 กลุมที่ 1ปครึ่ง พบวากลุมที่รักษาทันทีมีไวรัสโหลดต่ำกวาอยางมีนัย สำคัญทางสถิติM –  คณะกรรมการตรวจสอบการวิจัยแนะนำใหหยุดโครงการกอนกำหนดM


ทำไมเพิ่งมีการศึกษาการติดเชื้อเฉียบพลัน •  ปจจุบันมีวิธีการตรวจที่ไวมาก คือตรวจหาเชื้อไวรัสโดยตรงซึ่งทำได เร็วกวา เรียกวา แนท (NAT, nucleic acid testing) ซึ่งตรวจพบตั้งแต ติดได 5 วันขึ้นไป เมื่อเปรียบเทียบกับการตรวจหาภูมิตานทาน แอนติบอดีตอเชื้อ ซึ่งตรวจพบตั้งแตติดได 14-28 วันขึ้นไปM •  การตรวจหาการติดเชื้อเฉียบพลันยังมีราคาแพง ยังไมไดเปนที่ใช ทั่วไปM


การตรวจหาผูที่ติดเชื้อเอชไอวีระยะเฉียบพลัน! ตรวจแอนติบอดีดวยวิธีที่ใชในคลีนิคนิรนามซึ่งมีความไวสูง! ลบ!

บวก!

ตรวจหาไวรัสเอชไอวี! ดวยวิธีแนท! ลบ! ไมติดเชื้อเอชไอวี!

ตรวจแอนติบอดีดวยวิธีที่ไวนอยกวา! วิธีของคลีนิคนิรนาม! ลบ!

บวก! ติดเชื้อเอชไอวี! ระยะเฉียบพลัน!

บวก! ติดเชื้อเอชไอวีระยะเรื้อรัง!


!

การตรวจ แนท ในคลีนิคนิรนามM •  ทำการตรวจเลือดของผูรับบริการตรวจเอชไอวีในคลีนิคนิรนามโดยใชวิธีการ ตรวจหาเชื้อไวรัส (ในคนที่ผลตรวจเบื้องตนเปนลบ) และวิธีการตรวจหา แอนติบอดีที่มีความไวต่ำ (ในคนที่ผลตรวจเบื้องตนเปนบวก)! ! •  ทราบผลใน 2-3 วัน ถาพบวาติดเชื้อระยะเฉียบพลันจะมีพยาบาลโทรไปแจงให กลับมาฟงผลที่คลีนิคนิรนาม (ผูรับการตรวจจะตองใหเบอรโทรศัพทที่ติดตอได)! ! •  ติดตามผูที่ติดเชื้อระยะเฉียบพลันกลับมาที่คลีนิคนิรนามเพื่อใหคำปรึกษาเพิ่ม เติม เกี่ยวกับการปฎิบัติตัว การติดตามอาการและซีดีสี่ การรับการรักษาดวยยา ตานไวรัสในและนอกระบบประกันสุขภาพแหงชาติ! ! •  อาสาสมัครที่ติดเชื้อระยะเฉียบพลันจะไดรับขอมูลเกี่ยวกับโครงการเซิรช 010 ซึ่ง จะมีการติดตามเปนเวลา 2 ป และมีการใหยาสูตร 5 ตัวใน 6 เดือนแรกตามดวย สูตรมาตรฐาน!


กลไกการออกฤทธิ์ของยาตานไวรัสเอชไอวี! T20 CCR5(MVC) CXCR4

Fusion

Protease

Co-Receptors RNA

Reverse transcriptase ZDV, ddI, ddC, d4T, 3TC, ABC, TDF, FTC NVP, EFV

RNA

Proteins

RT RNA RNA DNA RT DNA DNA

SQV RTV IDV NFV APV LPV FOS TPV TMC114

Provirus

Integrase

RAL


Timing of HIV Diagnosis ไวรัสโหลดM

แอนติบอดีM


การตรวจหาเชื้อเอชไอวี ไวรัสโหลด (HIV RNA)M M M พี 24 (p24 antigen)M M M แอนติบอดีชนิดไวมาก (sensitive or 4th generation EIA)M M M แอนติบอดีชนิดไวนอย (less sensitive or 2nd generation EIA)M


ระยะการติดเชื้อเฉียบพลัน ระยะติด เชื้อ เฉียบพลันM 1M 2M 3M 4*M

ไวรัสโหลดM พี 24M

+M +M +M +M

-M +M +M +/-M

แอนติบอดีไว มาก (วิธีของ คลีนิคนิรนาม)M -M -M +M +M

แอนติบอดี ไวนอยM

ติดมาแลวเฉลี่ย กี่วัน (ชวงเวลา)M

-M -M -M -M

5 (3.1-8.1)M 10.3 (7.1-13.5)M 13.5 (10-17)M 19.1 (15.3-22.9)M

*เริ่มเห็นผลบวกจากการตรวจแอนติบอดีอีกวิธีหนึ่งคือเวสเทิรน บลอท (Western Blot) M

Fiebig EW, AIDS 2003, 17:1871–1879


การติดเชื้อระยะเฉียบพลันที่คลีนิคนิรนาม •  ณ เดือนกันยายน 2552 พบ 8 คนจากการตรวจตัวอยางเลือดประมาณ 4000 ตัวอยางM •  พบประมาณ 1 ใน 500M •  5 ชายรักชาย, 2 หญิง, 1 ชายรักตางเพศM •  6 คนมีอาการจากการติดเชื้อระยะเฉียบพลัน และ แพทยโรงพยาบาล ทั่วไปรักษาแบบอาการไขหวัดM •  7 คนเขาโครงการเซิรช 010M M •  1 คนที่เพิ่งพบวาติดเชื้อระยะเฉียบพลันเปนชาวตางประเทศM


การเกิดอาการจากการติดเชื้อเอชไอวีระยะเฉียบพลัน •  ในตางประเทศมีรายงานการเกิดอาการใน 40%–90% ของผูติดเชื้อ เอชไอวีระยะเฉียบพลัน เรียกวา เอ อาร เอส (ARS, acute retroviral syndrome)M •  อาการที่พบไดคือ ไข ตอมน้ำเหลืองโต แผลในปาก เจ็บคอ ผื่น ทอง เสีย ปวดเมื่อยตามตัวM •  มักไดรับการวินิจฉัยวาเปนไขหวัด และมักไมไดรับการตรวจเลือดเอช ไอวีM •  ในประเทศไทยไมมีรายงานอาการเหลานี้ และมักเชื่อกันวาไมคอยเกิด ในคนไทยM



ผูใหคำปรึกษามีบทบาทอยางไรM •  ผูใหคำปรึกษามีบทบาทสำคัญมากในโครงการนี้ M –  ใหคำแนะนำผูรับบริการตรวจเอชไอวีในคลีนิคนิรนาม ทุกคน เกี่ยวกับ วิธี การตรวจหาเชื้อระยะเฉียบพลัน ! •  คนที่ผล แอนติบอดีชนิดไวมาก เปนลบ สามารถเปนผูติดเชื้อระยะเฉียบพลันได ถาผลการตรวจหาตัวเชื้อเอชไอวี เปนบวก! •  คนที่ผล แอนติบอดีชนิดไวมาก เปนบวก สามารถเปนผูติดเชื้อระยะเฉียบพลัน ได ถาผลการตรวจหาแอนติบอดีดวยวิธีที่ไวนอยกวา เปนลบ !

–  ใหคำแนะนำผูรับบริการตรวจเอชไอวีในคลีนิคนิรนาม ทุกคน เกี่ยวกับ ประโยชนที่ผูรับบริการจะไดรับจากการทราบวาตัวเองเปนผูติดเชื้อระยะ เฉียบพลันหรือไมM

M

•  การรักษาเร็วอาจชวยปองกันการทำลายเม็ดเลือดขาวอยางรุนแรงในชวงเดือน แรกของการติดเชื้อ! •  การรักษาเร็วและดวยยาสูตรใหมๆ อาจชวยลดการแพรกระจายของเชื้อไปทั่ว รางกาย และอาจนำไปสูโอกาสในการกำจัดเชื้อที่หลบซอนอยู!


ผูใหคำปรึกษามีบทบาทอยางไรในโครงการนี้M •  ผูใหคำปรึกษามีบทบาทสำคัญมากในโครงการนี้ M –  ใหขอมูลแกผูรับบริการ ทุกคน M •  โอกาสพบการติดเชื้อระยะเฉียบพลันมีเพียง 2 ใน 1000M •  ถาผูรับบริการติดเชื้อระยะเฉียบพลัน ทางคลีนิคจะขอติดตอผูรับบริการเพื่อแจงผลและ ใหคำปรึกษาเพิ่มเติมM •  ประโยชนที่ผูรับบริการจะไดรับM •  ทางคลีนิคมีโครงการวิจัยซึ่งรับผูติดเชื้อระยะเฉียบพลันซึ่งจะทำการตรวจหลายอยาง อยางละเอียดและมีการรักษาดวยยาตานถาผูรับบริการตองการ ซึ่งจะมีพยาบาลวิจัย อธิบายอยางละเอียดในภายหลังM

–  ดังนั้นจึงมีความสำคัญอยางยิ่งที่จะขอใหผูรับบริการใหที่อยู หรือ หมายเลข โทรศัพท ที่เปนจริง เพื่อใหเจาหนาที่ติดตอกลับไปได หากเจาหนาที่ไมติดตอ ไปภายใน 1 สัปดาหถือวาไมไดติดเชื้อระยะเฉียบพลัน M


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.