รายงานภาวะฯ จังหวัดสุรินทร์ ปี 58 และแนวโน้ม ปี 59

Page 1

รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร

จังหวัดสุรินทร์

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559

ROAE Outlook ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร หน้า 1. ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัด ………………...…….… 2 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตภาคเกษตร 2.1 ราคาน้​้ามัน……………………………………….. 3 2.2 สถานการณ์น้า …………………..…….……... 3 3. เครื่องชี้ทางด้านเศรษฐกิจการเกษตร..….……... 4 4. ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของปี 2558………... 4 สาขาพืช…………………………………….……….….. 5 สาขาปศุสัตว์……………………………..……..….…. 8 สาขาประมง………………………………..……....… 11 สาขาป่าไม้…………………………………..……..…. 12 สาขาบริการทางการเกษตร………………..….… 13 5. แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรปี 2559 ปัจจัยบวก-ลบ...............…………………………. 13 สาขาพืช………………………………….….………… 13 สาขาปศุสัตว์…………………………….………..…. 14 สาขาประมง………………………………...……..… 15 สาขาป่าไม้…………………………….….…….….... 15 สาขาบริการทางการเกษตร………….…….….… 15 6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการเกษตร.............. 15 ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเกษตร จ.สุรินทร์............................15 ตารางที่ 2 ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ส้าคัญ (ปีปฏิทิน)……………………………..………...…..….… 16 ตารางที่ 3 ราคาที่เกษตรกรขายได้ของสินค้า เกษตรที่ส้าคัญ …………………………….……....….... 16

จังหวัดสุรินทร์ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ของ ปี 255 8 มีการ หดตัว ร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยสาขาพืช หดตัวร้อยละ 2.0 สาขาป่าไม้หดตัวร้อยละ 15.8 และสาขาการบริการทางการเกษตรหดตัวร้อยละ 1.8 ส่วนสาขาปศุสัตว์ ขยายตัวร้อยละ 28.8 และสาขาประมงขยายตัวร้อยละ 6.8โดยมีปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตร ได้แก่ ปริมาณน้าฝนที่ลดลง การงดทานาปรังตามนโยบายของรัฐ รวมไปจนถึงแรงงานภาค เกษตรมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ของปี 2558 ลดลง ร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ในขณะที่ดัชนี ราคาสินค้าเกษตร ก็ลดลงร้อยละ1.0 จึงส่งผลให้ดัชนีรายได้ภาคเกษตรลดลงร้อยละ 2.7 ตามไปด้วย

แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรปี 2559 คาดว่าจะหดตัวอยู่ในช่วง ร้อยละ (-1.1) - (-0.1) โดยสาขาปศุสัตว์หด ตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-4.9) - (-3.9) สาขา ประมงหดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-14.4) - (-13.4) ส่วนสาขาป่าไม้ หดตัว อยู่ในช่วงร้อยละ (-11.3) - (-10.3) และสาขา การบริการทางการเกษตร หดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.6) (-0.4) ส่วนสาขาพืชขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.4) – 0.6 โดยยังมีปัจจัยสาคัญ ที่คาดว่า จะส่งผลกระทบต่อภาคเกษตร ได้แก่ ปริมาณน้าฝน ภาวะฝนทิ้งช่วง ภาวะแห้งแล้ง ในช่วง ปี 2559 ที่อาจเกิดขึ้นเร็วกว่าปกติ รวมถึงปัญหาโรคระบาดต่างๆ ของพืชที่ตามมา

จัดท้าโดย ส่วนแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 เลขที่ 95 หมู่ 10 ต้าบลโคกกรวด อ้าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ 30280 โทรศัพท์ 044-465079 โทรสาร 044-465120 http://www3.oae.go.th/zone/zone5


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 1. ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจาปี ของจังหวัดสุรินทร์ ปี 2556 มีมูลค่า 100,532 ล้านบาท ประกอบด้วย ภาคเกษตร มีมูลค่า 13,032 ล้านบาท และภาคนอกเกษตรมีมูลค่า 87,500 ล้านบาท ซึ่งภาคเกษตรประกอบไปด้วย เกษตรกรรม ล่าสัตว์ ป่าไม้ และการประมง มีสัดส่วนร้อยละ 12.96 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ส่วนภาคนอกเกษตร มีสาขาการขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน เป็นสัดส่วนมากที่สุดร้อยละ 39.41 รองลงมาเป็นสาขา การศึกษา มีสัดส่วนร้อยละ 8.40 อันดับ 3 สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ มีสัดส่วนร้อยละ 8.12 อันดับ 4 สาขาการก่อสร้าง มีสัดส่วนร้อยละ 6.75 อันดับ 5 สาขาตัวกลางทางการเงิน มีสัดส่วนร้อยละ 6.65 และสาขาอื่นๆ มีสัดส่วนรวมกันร้อยละ 17.70

สัดส่วน GPP จังหวัด ณ ราคาประจ้าปี อื่นๆ 17.70%

ภาคเกษตร 12.96%

ตัวกลางทางการเงิน 6.65%

การก่อสร้าง 6.75% อสังหาริมทรัพย์ 8.12%

การศึกษา 8.40%

การขายส่งขายปลีก 39.41%

โครงสร้างการผลิตหลักของจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาขายส่ง ขายปลีก สาขาเกษตรกรรมและประมง สาขาการศึกษา สาขาอสังหาริมทรัพย์ สาขาการก่อสร้าง และสาขาตัวกลางทางการเงินเป็นสาคัญ โดยสาขาเกษตรกรรมมีสินค้าหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ คือ ข้าว อ้อย และยางพารา ส่วนปศุสัตว์ คือ ไก่เนื้อ สุกร โค และภาคบริการทางการเกษตรรองลงมา แสดงให้เห็นว่าสาขาเกษตรกรรมมี ความสาคัญต่อการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก จังหวัดสุรินทร์ จึงให้ความสาคัญกับภาคเกษตร โดยเฉพาะ การปลูกข้าว ตั้งแต่ ต้นน้า กลางน้า ป ลายน้า เพื่อพัฒนาอย่า งครบวงจรเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และเป็นส่วนสาคัญที่ส่งผลต่อ การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของจังหวัด

2


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตภาคเกษตร 2.1 ราคาน้​้ามัน ราคาน้ามันของปี 2558 จังหวัดสุรินทร์ ราคาราคาน้ามันดีเซลเฉลี่ยอยู่ที่ 25.19 บาท/ลิตร ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งอยู่ ที่ 30.32 บาท/ลิตร หรือลดลงร้อยละ 16.9 ขณะที่ราคาแก๊สโซฮอล์ 95 เฉลี่ยอยู่ที่ 28.32 บาท/ลิตร ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งอยู่ ที่ 39.75 บาท/ลิตร หรือลดลงร้อยละ 28.8 สาเหตุเนื่องจากราคาน้ามันในตลาดโลกปรับ ตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ต้นทุน การผลิตสินค้า ทางการเกษตรหลาย ชนิดลดลง ซึ่งเป็นทางเลือก ให้เกษตรกรสามารถนาเงิน ทุนที่เหลือ ไปปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร หรือไป ลงทุนเพิ่มเพื่อการผลิตสินค้าและบริการต่อไป

ราคาน้​้ามัน 39.50

39.75

30.44

บาท/ลิตร

30.32 25.19

2556

2557

28.32

2558

ดีเซล

แก๊สโซฮอล์ 95

ที่มา: ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดสุรินทร์ 2.2 สถานการณ์น้า จานวนวันฝนตก จังหวัดสุรินทร์ ปี 2558 เฉลี่ย 114 วัน ลดลงจากปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ 123 วัน ในขณะที่ ปริมาณน้าฝนในปี 2558 มีจานวน1,263.00 มม.ลดลงจากปีที่ผ่านมาที่มีปริมาณ 1,753.90 มม. ซึ่งส่งผลเสียต่อพื้นที่การเกษตร ทาให้ผลผลิตข้าวนาปี และอ้อยโรงงาน ลดลง ปริมาณน้​้าฝนและวันฝนตก 123

125

116 114

120 115

1,608.30

1,753.90

1,263.00

2556

2557

2558

ปริมาณน้​้าฝน (มม.)

110 105

จ้านวนวันฝนตก (วัน)

ที่มา : สถานีตรวจอากาศจังหวัดสุรินทร์

3


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 3. เครื่องชี้ทางด้านเศรษฐกิจการเกษตร อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ภาคเกษตร 12 10 8 6 4 ร้อยละ 20 -2 -4 -6 -8 ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้ภาคเกษตร

2554

2555

2556

2557

2558

5.0 4.1 9.2

-6.9 8.8 1.3

3.3 0.4 3.8

2.8 -7.1 -4.5

-1.7 -1.0 -2.7

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร จากกราฟแสดงให้เห็นว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร จังหวัดสุรินทร์ ในปี 2558 หดตัวร้อยละ 1.7 ส่วนดัชนีราคาที่เกษตรกรขายไ ด้ หดตัวร้อยละ 1.0 จากราคาพืชสาคัญหลายชนิด ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา ส่งผลให้ดัชนีรายได้ภคเกษตรหดตั า วร้อยละ 2.7 ตามไปด้วย 4. ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของปี 2558 สาขาการผลิตทางการเกษตรที่สาคัญของจังหวัดสุรินทร์ ในปี 2558 ได้แก่ สาขาพืช ซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 79.9 ของผลิตภัณฑ์มวล รวมจังหวัดภาคเกษตร หรือ GPP ภาคเกษตร รองลงมาคือ บริการทางการเกษตร สาขาปศุสัตว์ ประมง และป่าไม้ หรือคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 10.4 6.6 1.7 และ 1.5 ตามลาดับ สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดภาคเกษตร

พืช 79.9%

ปศุสัตว์ 6.6% บริการทางการเกษตร 10.4%

ป่าไม้ 1.5%

ประมง 1.7%

4


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 การประมาณการอัตราการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจการเกษตรจังหวัดสุรินทร์ ได้พิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ภาคเกษตรดังกล่าวข้างต้น กล่าวคือ ต้นทุนในการผลิตไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ประกอบกับ ตั้งแต่ช่วงต้นปีที่ผ่านมาประสบกับความแปรปรวน ของสภาพภูมิอากาศ ที่มีทั้งสภาพอากาศร้อนจัด จนเกิดภัยแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล สลับกับความหนาวเย็นของอากาศ ซึ่งทาให้ไม่ว่าจะเป็น คนหรือพืชแทบจะปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศดังกล่าว ส่งผลให้ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของจังหวัด สุรินทร์ ในปี 2558 หดตัวลงร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับปี 2557 โดยสาขาพืชหดตัวร้อยละ 2.0 สาขาป่าไม้หดตัวร้อยละ15.8 และสาขาการบริการทางการเกษตรหดตัว ร้อยละ 1.8 ส่วนสาขาปศุสัตว์ขยายตัวร้อยละ 28.8 และสาขาประมงขยายตัวร้อยละ 6.8 สาหรับรายละเอียดในแต่ละสาขา มีดังนี้ สาขาพืช การผลิตพืชในปี 2558 มีปริมาณลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 โดยดัชนีผลผลิตอยู่ที่ระดับ 138.02 ลดลงร้อยละ 2.0 จากปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 140.87 ขณะที่ดัชนีราคาพืชที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 147.30 ลดลงร้อยละ 1.8 ส่งผลให้ดัชนีรายได้ ของสาขาพืชลดลงอยู่ที่ระดับ 203.30 หรือลดลงร้อยละ 3.7 อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ สาขาพืช 15 10 5 ร้อยละ 0 -5 -10 -15 2554 2555 2556 2557 2558 ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้

6.4 3.4 10.0

-5.5 8.0 2.1

2.8 0.6 3.5

3.4 -12.3 -9.3

-2.0 -1.8 -3.7

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร การผลิตสาขาพืชในปี 2558 มีผลผลิตพืชที่สาคัญ ได้แก่ ข้าวนาปี มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา โดยผลผลิต ข้าวนาปี และ อ้อยโรงงาน ลดลง เนื่องจากปริมาณน้าฝน ไม่เพียงพอ ส่วนมันสาปะหลัง และยางพารา กลับมีผลผลิตอยู่ในระดับที่น่าพอใจ เพราะเป็นพืช ที่ไม่ต้องการน้ามากนัก และเกษตรกรมีการดูแลเอาใจใส่ดี แต่โดยรวมยังส่งผลกระทบทาให้ GPP สาขาพืชหดตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.0 ร้อยละ 20.0 10.0 0.0 -10.0 -20.0 -30.0

อัตราการเติบโตของสาขาพืช 15.6

13.7

-2.0 -13.1

2554

2555

-17.3

2556

2557

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร 5


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559

 ข้าวนาปี ภาวะการผลิต ในปี 2558 ปริมาณผลผลิต ข้าวนาปี มีประมาณ 1,136,234 ตัน ลดลงจาก ปีที่ผ่านมา ซึ่งผลิตได้ 1,176 ,400 ตัน หรือ ลดลงร้อยล ะ 3.4 เนื่องจากสถานการณ์ภัยธรรมชาติช่วงต้นปี ที่ประสบ ปัญหาแห้งแล้ง ประกอบกับปลายปีที่มีอุทกภัยน้า ท่วม ทาให้ผลผลิตเสียหาย

ปริมาณผลผลิตข้าวนาปี ตัน 1,200,000 1,150,000 1,100,000 1,050,000 1,000,000

1,176,400 1,136,234

2557

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

ระดับราคา ในปี 2558 ราคาอยู่ในเกณฑ์ ต่า โดยราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 13,511 บาท โดย ลดลงจากปีที่แล้ว ร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับปีที่แล้วที่ขายได้เฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 13,691 บาท

 มันส้าปะหลัง ภาวะการผลิต ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง ปี 2558 มีประมาณ 200,528 ตัน เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา ซึ่งผลิตได้ 169,687 ตัน หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 18 .2 เนื่องจาก เกษตรกรหันมาปลูก มันสาปะหลังเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตโดยรวม เพิ่มขึ้น ถึงแม้จะมีโรคระบาด ได้แก่ โ รคแมงมุม หรือไรแดง แต่ก็สามารถควบคุมได้ จึงไม่ส่งผลกระทบ กับผลผลิตมากนัก

ปริมาณผลผลิตมันส้าปะหลัง ตัน 300,000 200,000

169,687

200,528

100,000 2557

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

ระดับราคา ในปี 2558 ราคามันสาปะหลัง ที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ย สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา เล็กน้อย เนื่องจาก มีความต้องการ ปริมาณมันสาปะหลังเพิ่มมากขึ้น โดยมีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.11 บาท ซึ่งไม่ต่างจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ กิโลกรัมละ 2.10 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2

6


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559

 อ้อยโรงงาน

ปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงาน

ตัน ภาวะการผลิต 3,000,000 ปริมาณผลผลิต อ้อยโรงงาน ปี 2558 2,372,504 2,277,176 มีประมาณ 2,277,176 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีที่ ผ่านมา ซึ่งผลิตได้ 2,372,504 ตัน ลดลงร้อยละ 4.0 ทั้งนี้ 2,000,000 เป็นผลมาจากพื้นที่การเพาะปลูกลดลง เนื่องจากการผลิตมี ต้นทุนสูงไม่คุ้มกับการลงทุนเช่น ค่าขนส่ง ค่าตัด ค่าดูแล 1,000,000 รักษา ซึ่งล่าสุดคณะกรรมการอ้อยและน้ตา าลทราย(กอน.) 2557 ได้มีมาตรการช่วยเหลือให้ชาวไร่อ้อยได้รับค่าอ้อยคุ้มกับ 2558 ต้นทุนการผลิตที่คานวณไว้ระดับ1,126 บาทต่อตัน อีกทั้ง ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นปีนี้ ถือว่ามีความรุนแรงกว่าทุกปีที่ ผ่านมา เนื่องจากฝนทิ้งช่วงเดือน เมษายน – พฤษภาคม เป็นช่วงเวลาที่ตออ้อยต้องการน้า เพื่อการเจริญเติบโต แต่ปีนี้กลับพบปัญหาฝนทิ้งช่วง ประกอบกับพื้นที่เพาะปลูกหลายแห่งประสบปัญหาน้าไม่ เพียงพอต่อการนาไปหล่อเลี้ยงให้ตออ้อยสามารถเติบโตได้ ส่งผลต่ การเจริ อ ญเติบโตและคุณภาพของอ้อยสาหรับการเปิดหีบอ้อยฤดูกาลผลิต58/59 ทั่ว ประเทศ ที่เริ่มทยอยตั้งแต่25 พ.ย. ที่ผ่านมานั้น ได้มีการคาดการณ์ผลผลิตอ้อยจะอยู่ที่ประมาณ 109 ล้านตัน แต่จากแนวโน้มที่ชาวไร่ส่วนใหญ่ติดตาม ผลผลิตแต่ละภาคแล้วคาดว่าผลผลิตอ้อยปีนี้จะอยู่ในระดับเฉลี104-105 ่ย ล้านตัน ซึ่งต่ากว่าปีที่แล้วที่ผลผลิตอ้อยอยู่ในระดับ106 ล้านตัน เนื่องจาก พบว่าอ้อยในช่วงต้นปีถึงกลางปีประสบปัญหาภัยแล้งแม้ฝนจะมาช่วงปลายปีแต่ยังไม่นสะสมความหวานมากนั ได้ทั กก็ต้องเปิดหีบ ระดับราคา ในปี 255 8 ราคา อ้อยโรงงาน เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจาก ราคาน้าตาลทราย ตลาดโลก เริ่มไต่ระดับสูงขึ้น โดยมีราคาเฉลี่ย ตัน ละ 950 บาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ทตี่ ันละ 929 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2

 ยางพารา

ปริมาณผลผลิตยางพารา

ตัน ภาวะการผลิต ปริมาณผลผลิตยางพาราในปี 255 8 17,500 17,161 มีประมาณ 17,161 ตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาซึ่งผลิต 17,000 ได้ 16,343 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 เนื่องจากยาง 16,343 16,500 ถึงช่วงตามอายุของการเปิดกรีด จึงส่งผลให้ได้ ผลผลิต 16,000 เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง จังหวัดสุ รินทร์ มีพื้นที่ปลูกยางพารา 15,500 ประมาณ 160,000 ไร่ โดยเกษตรกรปลูกยางพารา ส่วนใหญ่จะเป็นเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่อาเภอติดแนว 2557 ชายแดนไทย- กัมพูชา ประกอบด้วย อ.พนมดงรัก 2558 อ.กาบเชิง และอ.สังขะ ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ระดับราคา ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ที่เกษตรกรขายได้ในปี 2558 เฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัม ละ 41.55 บาท โดยลดลงมากถึง ร้อยละ 20.2 เมื่อเทียบ กับช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งมีราคาเฉลี่ย อยู่ที่ กิโลกรัม ละ 52.06 บาท ทั้งนี้เนื่องจาก ภาวะเศรษฐกิจโลก ที่อยู่ในช่วงชะลอตัว ทาให้ความ ต้องการยางพาราและผลิตภัณฑ์ของ ประเทศคู่ค้า ต่างๆ ชะลอตัว ลง ส่งผลให้ราคาเฉลี่ย อยู่ในระดับ ต่ากว่าปีที่ผ่านมา แต่อย่างไรก็ตาม ทาง การยางแห่งประเทศไทย (กยท.)ได้เตรียมทดลองนาระบบแบ่งปันรายได้มาใช้กับยางพารา เหมือนอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทราย ที่ประสบผลสาเร็จในการใช้ระบบนี้มาแล้ว โดยในเบื้องต้นจะนาร่องใช้กับสหกรณ์กองทุนสวนยางนครพนม และผู้ประกอบการโรงงานแปรรูป ยางคุณภาพสูงส่งออก ทั้งนี้ทางโรงงานจะรับซื้อยางที่เป็นวัตถุดิบในราคาตลาดจากเกษตรกรผ่านทางสหกรณ์ แล้วนาไปแปรรูป เพิ่มมูลค่า เมื่อขายได้กาไรเท่าไร ก็นามาแบ่งปันกาไรตามสัดส่วนการลงทุนต่อไป

7


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 สาขาปศุสัตว์ ปริมาณ ผลผลิตปศุสัตว์ ปี 2558 เพิ่มขึ้นเมื่อเ ทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยดัช นีผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 86.22 เพิ่มขึ้น จากระดับ 82.77 หรือ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.2 ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าปศุสัตว์ที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยอยู่ ที่ระดับ 162.97 เพิ่มขึ้น จากระดับ 162.23 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 ส่งผลให้ดัชนีรายได้สาขาปศุสัตว์เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557

อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ สาขาปศุสัตว์ 16 14 12 10 8 6 ร้อยละ 42 0 -2 -4 -6 ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้

2554

2555

2556

2557

2558

-2.9 10.2 7.0

-3.2 14.6 10.9

-0.8 14.7 13.8

-0.2 11.4 11.1

4.2 0.5 4.6

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

การผลิตสาขาปศุสัตว์ปี 2558 ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 เป็นผลมาจากผลผลิตปศุสัตว์ที่ สาคัญของจังหวัดสุรินทร์ เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะ สุกร แ ละ โคเนื้อ ซึ่งโคเนื้อมี ราคาสูงขึ้น จึงจูงใจให้เกษตรกรหันมาเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับนโยบายการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่วนไก่เนื้อ และไข่ไก่ ยังมีปริมาณเพิ่มอยู่เล็กน้อย ใน ด้าน ราคาสินค้าปศุสัตว์โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี

ร้อยละ 100.0 50.0 0.0 -50.0 -100.0 -150.0 -200.0 -250.0

อัตราการเติบโตของสาขาปศุสัตว์ 82.5 -10.6

28.8

-103.8

2554

2555

-200.5 2556

2557

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร 8


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559

ปริมาณผลผลิตไก่เนื้อ

 ไก่เนื้อ ภาวะการผลิต ปริมาณการผลิตไก่เนื้อ ปี 2558 มีการขยายตัวเมื่อ เทียบกับ ช่วงเดียวกันของ ปี 2557 โดยเพิ่มขึ้นจาก 919,699 ตัว เป็น 922,521 ตัว หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 เนื่องจาก เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ มีการดูแลเอาใจใส่การเลี้ยง มากขึ้น มีการวางระบบการจัดการฟาร์มที่ดี และสานักงานปศุสัตว์ จังหวัดมีการดูแลแบบครบวงจร ทาให้ได้ผลผลิตมากขึ้น

ตัว 924,000 922,000 920,000

922,521 919,699

918,000

2557 2558 ระดับราคา ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ในปี 2558 ราคาไก่รุ่นพันธุ์เนื้อที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยอยู่ที่ กิโลกรัมละ 41.84 บาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกัน ของปี 2557 ที่มีราคาเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 41.59 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ซึ่งเป็นผลมาจากปริมาณความต้องการสูงขึ้นในช่วงเทศกาล

ปริมาณผลผลิตสุกร

 สุกร ภาวะการผลิต การผลิตสุกรมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามความต้องการ บริโภค ที่เพิ่มขึ้น ทาให้ มี ผลผลิตลูกสุกรออกสู่ตลาดอย่าง สม่าเสมอ ซึ่งในปี 2558 มีปริมาณการผลิตสุกรมีชีวิต 146,038 ตัว เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ที่มีปริมาณการผลิต 139,476 ตัว หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7

ตัว

150,000 145,000 140,000

146,038 139,476

135,000

2557

2558

ระดับราคา ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ในปี 2558 ราคา สุกรน้าหนัก 100 กก. ขึ้นไปที่ เกษตรกรขายได้เฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 65.77 บาท ลดลงร้อยละ 14.1 จากปี 2557 ที่มีราคาเฉลี่ย กิโลกรัมละ 76.55 บาท ทั้งนี้ เนื่องจาก ปริมาณและน้าหนักสุกรขุนในภาคอีสานยังอยู่ในเกณฑ์ทรงตัว ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวลง โดยในช่วงปิดภาคเรียน และเทศกาลกินเจ 2558 ที่ประชาชนส่วนหนึ่งเริ่มงดการบริโภคเนื้อหมู ส่งผล ให้ราคาสุกรปรับตัวลดลง

9


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559

 โคเนื้อ ภาวะการผลิต ปริมาณการผลิต โคเนื้อในปี 2558 มีการขยาย ตัว ขึ้น โดยในปี 2558 มีปริมาณการผลิตโค 24,606 ตัว เพิ่มขึ้น จากช่วง เดียวกันของปี 2557 ที่มีปริมาณการผลิต 23,668 ตัว หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.0 เป็นผลมาจากมาตรการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อตาม ความต้องการของตลาด ระดับราคา ในปี 2558 ราคาโคเนื้อเฉลี่ยอยู่ที่ ตัวละ 21,333 บาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.8 จากช่วงเดียวกันของปี 2557 ที่มีราคาเฉลี่ย ตัว ละ 19,075 บาท ทั้งนี้ เนื่องจาก ประเทศเพื่อนบ้านมีความ ต้องการนาเข้าจานวนมาก เช่นเดียวกับตลาดเนื้อโคคุณภาพใน ประเทศมีความต้องการสูง ส่งผลให้ราคาขายโดยเฉลี่ยปรับตัวสูงขึ้น

ปริมาณผลผลิตโคเนื้อ ตัว 25,000 24,000 23,000 22,000 21,000 20,000

2557

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

ปริมาณผลผลิตโค

 ไข่ไก่ ภาวะการผลิต ปริมาณการผลิตไข่ไก่ในช่วงปี 2558 มีการขยายตัว มี ปริมาณการผลิตไข่ไก่ 10,507,931 ฟอง เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปี 2557 ที่มีปริมาณการผลิต 10,388,092 ฟอง หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.2 เนื่องจากเกษตรกรหันมาสนใจเลี้ยงไก่ไข่เพิ่มมากขึ้น เพราะให้ผลตอบแทนสูง พร้อมทั้งมีบริษัทเอกชนมาส่งเสริมให้ เลี้ยงเพื่อเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้เพิ่มเติมให้กับครัวเรือน

24,606

23,668

ตัว

15,020,000 10,020,000

10,388,092

10,507,931

5,020,000 20,000

2557 2558 ระดับราคา ในปี 2558 ราคาไข่ไก่เฉลี่ยอยู่ที่ 3.25 บาท/ฟอง ลดลง ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ร้อยละ 9.5 จากช่วงเดียวกันของปี 2557 ที่มีราคาเฉลี่ย 3.59 บาท/ฟอง เนื่องจาก ราคาไข่ไก่มีการปรับตัวขึ้นลงอยู่ตลอด ขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดและปริมาณผลผลิต ซึ่งเป็นไปตามกลไกราคา โดยมีปัจจัยด้านต้นทุนการผลิต ภาวะโรค ปริมาณแม่พันธุ์ไก่ไข่ ฯลฯ ที่เป็นตัวกาหนดราคาในแต่ละช่วง สาหรับปัญหาไข่ไก่ส่วนเกินที่มีมากกว่า การบริโภค ส่งผลให้ราคาไข่ไก่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง

10


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 สาขาประมง ผลผลิตประมง ในปี 2558 ขยายตัว เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของ ปี 2557 โดยดัชนีผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 84.79 เพิ่มขึ้น จากปี 2557 ร้อยละ 7.6 ขณะที่ดัชนีราคาสินค้า ประมงที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 142.88 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.8 ส่งผลให้ดัชนีรายได้ เกษตรกรสาขาประมงอยู่ที่ระดับ 121.14 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ สาขาประมง

ร้อยละ

100 80 60 40 20 0 -20 -40

ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้

2554

2555

2556

2557

2558

-15.9 18.4 -0.5

57.2 16.7 83.5

-16.3 -17.9 -31.2

-1.5 10.5 8.8

7.6 2.8 10.7

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร การผลิตสาขาประมง ในปี 2558 มีการขยายตัวร้อยละ 6.8 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของ ปี 2557 เนื่องมาจาก เกษตรกรหันมา เลี้ยงปลา เพื่อทาการเกษตรแบบผสมผสานมากขึ้น ส่งผลทาให้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นไปด้วย อัตราการเติบโตของสาขาประมง ร้อยละ 60.0 40.0 20.0 0.0 -20.0 -40.0 -60.0

53.7

-34.2

2554

2555

14.0

6.8

2557

2558

-23.0

2556

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

11


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 สาขาป่าไม้ ในปี 2558 สาขาป่าไม้มีการหดตัวร้อยละ 15.8 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน เนื่องจากเพิ่งผ่านการตัดผลผลิตไม้ยูคาลิปตัสในปีที่ผ่านมาทา ให้ยอดผลผลิตในปีนี้ต่าลง อัตราการเติบโตของสาขาป่าไม้ ร้อยละ 80.0 60.0 40.0 20.0 0.0 -20.0 -40.0 -60.0 -80.0

68.8 15.8 -6.5 -59.1 2555

2554

2556

2557

-15.8

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สาขาบริการทางการเกษตร ในปี 2558 สาขาบริการทางการเกษตรมีการหดตัวเล็กน้อยเพียงร้อยละ 1.8 เนื่องจากผลผลิต ลดน้อยลง ปัจจัยราคาน้ามันที่สูงขึ้น และจากนโยบายของรัฐที่มีมาตรการการควบคุมราคาค่าจ้างรถเกี่ยวข้าว ซึ่งในบางพื้นที่มีการเก็บเกี่ยวด้วยแรงงานคนแทนเครื่องจักร อัตราการเติบโตของสาขาบริการทางการเกษตร ร้อยละ 8.0 6.0 4.0 2.0 0.0 -2.0 -4.0 -6.0

6.9

0.9

0.4 -1.8 -3.8

2554

2555

2556

2557

2558

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

12


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 5. แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2559 ปัจจัยบวก-ลบ

ปัจจัยบวก

ปัจจัยลบ

ภายใน จ.สุรินทร์

 ผลผลิตข้าวเปลือกออกมาอย่างต่อเนื่อง  ราคาสินค้าเกษตรโดยรวมมีแนวโน้มสูงขึ้น  นโยบาย/ยุทธศาสตร์จังหวัดให้ความส้าคัญกับสินค้า เกษตร ตั้งแต่ต้นน้​้า กลางน้​้า และปลายน้​้า  นโยบายแผนบูรณาการพัฒนาการเกษตรภายใต้ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการน้​้าเพื่อการเกษตร

 ความไม่แน่นอนของราคาสินค้าเกษตร โดยเฉพาะ ราคาข้าว  ปัญหาโรค – แมลงระบาด  ปัญหาโรคระบาดในกระบือ  ปัญหาอุทกภัย  ปัญหาน้​้าเค็มไม่สามารถท้านาได้ในฤดูกาล  แรงงานภาคเกษตรมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง

ภายนอก จ.สุรินทร์

 ราคาส่งออกสินค้าเกษตรที่ส้าคัญขยายตัวตามความ ต้องการตลาดโลก  ได้รับการสนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาล  ผู้ส่งออกสิน ค้าเกษตรยังคงมีความต้องการสินค้า เกษตรที่ส้าคัญสูงตามความต้องการจากต่างประเทศ

 ปริมาณน้​้าในเขื่อนลดลงทั้งเขื่อน-อ่างเก็บน้​้า  ฝนทิ้งช่วงเกิดภัยแล้งที่รุนแรง  คาดว่าราคาปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย -สารปราบ ศัตรูพืชมีการปรับตัวสูงขึ้น

สาขาพืช ภาวะการผลิตสาขาพืช ปี 2559 คาดว่าจะมีผลผลิตที่เก็บเกี่ยวและออกสู่ตลาดในช่วงปี 2559 น้อยกว่าปี 2558 เนื่องจากมีหลาย ปัจจัยมีผลในเชิง ลบต่อภาคเกษตร ซึ่งส่วนใหญ่ยังคงเป็นปัจจัยที่ต่อเนื่องมาจากช่วงปีที่ผ่านมา ได้แก่ ปัญหาโรคพืชและแมลงระบาด ราคา ปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย-สารปราบศัตรูพืชมีการปรับตัวสูงขึ้น และภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ โดยคาดว่าผลผลิตข้าวรวมทั้ งนาปีและ นาปรังจะลดลงจากปี 2558 เนื่องจากภัยแล้งและปริมาณน้าในพื้นที่ลดลงจึงไม่สามารถทานาได้ แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ภาครัฐ ก็ได้มีนโยบายการ ปรับโครงสร้างสินค้าเกษตร อีกทั้งมียุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัด โดยการปรับลดพื้นที่สินค้าเกษตรที่มีปัญหา คงพื้นที่ สินค้าที่ มีศักยภาพ และขยายพื้นที่สินค้าที่มีลู่ทางการตลาดที่ดี รวมทั้งเพิ่มผลิตภาพการผลิต (Productivity) และพัฒนาระบบโ ลจิสติก (Logistics) ของสินค้าเกษตรเชื่อมโยงกับจังหวัดอื่นๆ ในขณะที่ราคาผลผลิตพืชในปี 2559 โดยส่วนใหญ่คาดว่าจะอยู่ในเกณฑ์ดี ทาให้เกษตรกร ขยายการผลิต แต่โดยรวมยังส่งผลทาให้การผลิตของสาขาพืชโดยรวมมีการหดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.4) – 0.6

13


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559

ปริมาณผลผลิตพืชที่ส้าคัญ 2558

ตัน 5,000,000

2,277,176

1,136,234

2,293,072

1,147,617

500,000

2559

200,528 200,591

50,000

17,161 15,989

5,000

ข้าวนาปี

มันส้าปะหลัง

อ้อยโรงงาน

ยางพารา

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สาขาปศุสัตว์ ภาวะการผลิตสาขาปศุสัตว์ปี 2559 คาดว่าจะ หดตัว อยู่ในช่วง ร้อยละ (-4.9) – (-3.9) จากปี 2558 เนื่องจาก ปริมาณผลผลิต ที่คาดว่าจะลดลงในปี 2559 ประกอบกับมีปัจจัยเสี่ยงจากสภาพอากาศแปรปรวน ภัยธรรมชาติ และโรคระบาด รวมถึงต้นทุนวัตถุดิบอาหาร สัตว์ที่อยู่ในระดับสูง อาจส่งผลกระทบต่อการผลิตสินค้าปศุสัตว์ได้

ปริมาณผลผลิตปศุสัตว์ที่ส้าคัญ 2558

ตัว/ฟอง 9,765,625 390,625 15,625

2559

10,507,931 922,521 917,081

146,038 141,315

625

10,375,329

24,606 24,057

25 1 ไก่เนื้อ

สุกร

โค

ไข่ไก่

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

14


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 สาขาประมง ภาวะการผลิตสาขา ประมง ปี 2559 คาดว่าจะ หดตัว อยู่ในช่วงร้อยละ (-14.4) – (-13.4) จากปี 2558 เนื่องจากสภาพอากาศ ที่แปรปรวน อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตของการเลี้ยงปลานิล ประกอบกับราคาอาหารปลาที่มีแนวโน้มจะสูงขึ้น ทาให้เกษตรกรขาดเงินลงทุน และเลิกเลี้ยงไปในที่สุด สาขาป่าไม้ ปี 2559 สาขาป่าไม้คาดว่ามีแนวโน้มหดตัวลงอยู่ในช่วงร้อยละ (-11.3) – (-10.3) จากปี 2558 เนื่องจากเพิ่งผ่านการตัดผลผลิตไม้ ยูคาลิปตัสในปีที่ผ่านมา อีกทั้งพื้นที่การเพาะปลูกลดลงส่งผลทาให้ยอดผลผลิตคาดว่าจะลดลงอย่างต่อเนื่อง สาขาบริการทางการเกษตร การบริการท างการเกษตรปี 2559 มีแนวโน้ม หดตัว ลงเล็กน้อย อยู่ในช่วง ร้อยละ (-0.6) – 0.4 เนื่ องจากเกษตรกรมีกาลังซื้อ เครื่องจักรกลทางการเกษตรเพิ่มมากขึ้น จึงคาดว่าจะทาให้การจ้างลดลง 6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการเกษตร 1) 2 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10)

จัดหา และฟื้นฟูแหล่งน้า ตลอดจนบริหารจัดการน้าในพื้นที่ชลประทานจังหวัดสุรินทร์ เพื่อให้สามารถทานาได้ในฤดูแล้ง เพิ่มประสิทธิภาพของระบบเตือนภัยทางการเกษตร ส่งเสริมในเรื่องการวิจัย และพัฒนา สาหรับสินค้าใหม่ๆ หรือปรับปรังพันธุ์พืชที่ใช้น้าน้อย การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้งการอนุรักษ์ระบบนิเวศน์สิ่งแวดล้อม ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการกระจายน้า พัฒนาแหล่งน้าขนาดเล็กเพื่อการเกษตร การส่งน้า ก่อสร้างระบบกระจายน้าในแปลงนา เพื่อกระจายน้าให้ทั่วถึงตามศักยภาพของพื้นที่ การกระจายสินค้าเกษตรในพื้นที่ไปสู่ผู้บริโภคภายในจังหวัด หรือภูมภิ าคอื่น รวมทั้งการสร้างเครือข่ายการผลิต การตลาด การวางระบบการผลิต การตลาดสินค้า โดยนาระบบโลจิสติกส์มาบริหารจัดการภายในจังหวัดสุรินทร์ การส่งเสริมนวัตกรรมทางเทคโนโลยีด้านการผลิต การตลาดสินค้าเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าด้านคุณภาพ ความสด สะอาด การส่งเสริมสร้างวัฒนธรรมสินค้าเกษตรเชิงการท่องเที่ยวในจังดสุ หวัรินทร์ เพื่อเปิดแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรต้อนรับAEC

ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร จ.สุรินทร์ หน่วย: ร้อยละ

สาขา

2558

2559

ภาคเกษตร

-0.5

(-1.1) – (-0.1)

พืช

-2.0

(-0.4) – 0.6

ปศุสัตว์

28.8

(-4.9) – (-3.9)

ประมง

6.8

(-14.4) – (-13.4)

ป่าไม้

-15.8

(-11.3) – (-10.3)

บริการทางการเกษตร

-1.8

(-0.6) – 0.4

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5

15


จังหวัดสุรินทร์ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 ตารางที่ 2 การเปลี่ยนแปลงผลผลิตสินค้าเกษตรที่ส้าคัญ (ปีปฏิทิน)

สินค้า

2558

ข้าวเปลือกเจ้านาปี (ตัน)

2559 *f

การเปลี่ยนแปลงปี 2558 (ร้อยละ)

1,136,234

1,147,617

1.0

มันสาปะหลัง (ตัน)

200,528

200,591

0.03

อ้อยโรงงาน (ตัน)

2,277,176

2,293,072

0.7

17,161

15,989

-6.8

ไก่เนื้อ (ตัว)

922,521

917,081

-0.6

สุกร (ตัว)

146,038

141,315

-3.2

โคเนื้อ (ตัว)

24,606

24,057

-2.2

ไข่ไก่ (ฟอง)

10,507,931

10,375,329

-1.3

ยางพารา (ตัน)

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 หมายเหตุ : f หมายถึง ตัวเลขประมาณการ

ตารางที่ 3 ราคาที่เกษตรกรขายได้ของสินค้าเกษตรที่ส้าคัญ

สินค้า

การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)

2557

2558

13,691.85

13,511.22

-1.3

2.10

2.11

0.2

929.65

950.00

2.2

ยางพาราแผ่นดิบ ชั้น 3 (บาท/กิโลกรัม)

52.06

41.55

-20.2

ไก่รุ่นพันธุ์เนื้อ (บาท/กิโลกรัม)

41.59

41.84

0.6

สุกรขุนพันธุ์ลูกผสม นน.100 กก. ขึ้นไป (บาท/กิโลกรัม)

76.55

65.77

-14.1

19,075.00

21,333.33

11.8

359.57

325.42

-9.5

ข้าวเปลือกเจ้านาปีพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ความชื้น 14-15% (บาท/ ตัน) มันสาปะหลัง (บาท/กิโลกรัม) อ้อยโรงงาน (บาท/ตัน)

โคเนื้อพันธุ์พื้นเมือง ขนาดกลาง (บาท/ตัว) ไข่ไก่ (บาท/ฟอง) ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5

16


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.