รายงานภาวะฯ จังหวัดชัยภูมิ ครึ่งแรกของปี 2559 และแนวโน้ม ปี 2559

Page 1

รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดชัยภูมิ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559

ROAE Outlook ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร หน้า 1. ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัดชัยภูมิ…………. 2 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตภาคเกษตร 2.1 ราคาน้ามัน……………...…….......……...2 2.2 สถานการณ์น้า ……………………..…...3 3. เครื่องชีทางด้านเศรษฐกิจการเกษตร…....3 4.ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558………...4 สาขาพืช………………………………..............4 สาขาปศุสัตว์……………………………….…...6 สาขาประมง……………………………...........8 สาขาป่าไม้……………..…….………........... 10 สาขาบริการทางการเกษตร....…….……...11 5.แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรปี 2559 ปัจจัยบวก-ลบ...............………...……..….11 สาขาพืช…………………………………………12 สาขาปศุสัตว์……………………………….….12 สาขาประมง…………………………………...13 สาขาป่าไม้……………………………………...13 สาขาบริการทางการเกษตร………….......13 6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการเกษตร......13 ตารางที่ 1อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเกษตร จ.ชัยภูมิ...................13 ตารางที่ 2 ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ส้าคัญ ปีปฏิทิน)…………………………………….........14 ตารางที่ 3 ราคาที่เกษตรกรขายได้ของสินค้า เกษตรที่ส้าคัญ……………………………...…...14

จังหวัดชัยภูมิ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 มีการหดตัวร้อยละ 1.7 เมื่ อเที ย บกับ ปี ที่ผ่ านมา โดยสาขาพื ชหดตัวร้ อยละ 2.4 ในขณะที่ สาขาปศุ สั ต ว์ ขยายตัวร้อยละ 1.8 สาขาประมงขยายตัวร้ อยละ 2.1 สาขาป่าไม้ห ดตั วร้อยละ 42.3 และสาขาบริการทางการเกษตรขยายตั วร้ อยละ 0.6 โดยมีปั จจั ยส าคั ญ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาคการเกษตร ได้ แ ก่ ปริ ม าณน าฝนในช่ ว งต้ น ปี แ ละสภาพ ภูมิอากาศที่ร้อนจัด ไม่เอืออานวยต่อการเจริญเติบโตของภาคเกษตร ส่งผลให้ดัชนี ผลผลิตสินค้าเกษตรในช่วงครึ่งแรกของปี 2559 ลดลงร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยสาขาพืชที่มีผลผลิตเสียหาย สาขาปศุสัตว์ที่ผลผลิตโคเนือและไข่ไก่ลดลง และสาขาป่าไม้ที่มีผลผลิตลดลง ในขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึนถึงร้อยละ 13.5 จึงส่งผลให้ดัชนีรายได้ภาคเกษตรเพิ่มขึนร้อยละ 11.9 แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรปี 2559 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วง ร้อยละ 0.5 – 1.5 โดยสาขาพืชคาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.6 – 1.6 และ สาขาปศุสัตว์ขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ -0.8 – 0.8 สาขาประมงขยายตัวอยู่ในช่วง ร้อยละ 0.7 – 1.7 สาขาบริการทางการเกษตรขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1 – 1.0 ในขณะที่ สาขาป่ าไม้ คาดว่าจะหดตัวอยู่ ในช่ วงร้ อยละ 22.4 – 23.4 โดยมีปั จจั ย สาคัญที่ค าดว่าจะส่งผลกระทบต่ อภาคเกษตร ได้แก่ ปริมาณนาฝนที่เพิ่ มมากขึ น สภาพภูมิอากาศที่มีแนวโน้มกลับสู่ภาวะปกติ ประกอบกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคการเกษตรที่ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และโครงการพัฒนาระบบ บริหารจัดการนาเพื่อการเกษตรที่มีประสิทธิภาพมากขึน เป็นต้น

จัดท้าโดย ส่วนแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 เลขที่ 95 หมู่ 10 ต้าบลโคกกรวด อ้าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ 30280 โทรศัพท์ 044-465079 โทรสาร 044-465120 http://www3.oae.go.th/zone/zone5


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] 1. ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจาปีของจังหวัดชัยภูมิปี 2556มีมูลค่า 67,279 ล้านบาทประกอบด้วย ภาคเกษตร มีมูลค่า 24,398ล้านบาทและภาคนอกเกษตรมีมูลค่า 42,881 ล้านบาทโดยมีสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ เป็นสาขา การผลิตหลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัด มีสัดส่วนร้อยละ 35.69 สาขาอุตสาหกรรมมีสัดส่วนร้อยละ 11.84 สาขาการขายส่ง การขายปลี ก การซ่ อมแซมยานยนต์ ของใช้ ส่ วนบุ ค คลและบริการทางธุ รกิ จ มี สัด ส่ วนร้ อยละ 8.45 สาขาตั วกลางทางการเงิ น มีสัดส่วนร้อยละ 7.51 และสาขาอื่นๆ มีสัดส่วนรวมกันร้อยละ 24.77 โครงสร้างการผลิตหลักของจังหวัดชัยภูมิประกอบด้วย สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่ง การขายปลีก สาขาการศึกษา เป็นสาคัญ โดยสาขาเกษตรกรรมมีสินค้าหลักในการขั บเคลื่อนเศรษฐกิจ คือ ข้าวนาปี มันส าปะหลั ง อ้ อยโรงงาน ข้ าวโพดเลี ยงสั ต ว์ และยางพารา อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วเนื่ องกั บ มั นส าปะหลั ง แสดงให้ เ ห็ นว่ าสาขา เกษตรกรรมมี ค วามส าคั ญ ต่ อการเจริ ญ เติ บ โตทางด้ านเศรษฐกิ จเป็ นอย่ างมาก จั ง หวั ด ชั ย ภู มิจึง ให้ ค วามส าคั ญ กั บ ภาคเกษ ตร โดยเฉพาะการปลูกข้าวนาปี ปลูกมันสาปะหลัง และอุตสาหกรรมต่อเนื่องตังแต่ต้นนา กลางนา และปลายนา เพื่อพัฒนาอย่างครบ วงจรและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตภาคเกษตร 2.1 ราคาน้ามัน ราคานามันในช่วงครึ่งปี 2559 ของจังหวัดชัยภูมิ นามันแก๊สโซฮอล์ 95 เฉลี่ยอยู่ที่ 24.11 บาทต่อลิตร ลดลงจากปี 2558 ซึ่งอยู่ที่ 30.22 บาทต่อลิตร หรือลดลงร้อยละ 20.21 ขณะที่ราคานามันดีเซลเฉลี่ยอยู่ที่ 22.27 บาทต่อลิตร ลดลงจากปี 2558 ซึ่งอยู่ ที่ 29.31 บาทต่ อลิต ร หรือลดลงร้อยละ 24.01 เนื่องจากปริ มาณนามั นดิบ ในตลาดโลกเพิ่มขึน กลุ่มประเทศผู้ส่ง ออกนามั นโลก (โอเปค) ยังไม่ประกาศลดกาลังการผลิต จึงทาให้ราคานามันอยู่ในทิศทางขาลง รวมไปถึงผลจากการผลิตพลังงานทางเลือกขึนมาใช้ เองแทนการนาเข้านามันของสหรัฐอเมริกา ทาให้อุปทานนามั นล้ นตลาดและส่ งผลให้ ราคานามั นมี แนวโน้ มลดลง โดยกระทรวง พลังงานได้ปรับราคาให้สอดคล้องกับสถานการณ์นามัน ในตลาดโลก ประกอบกับนโยบายของรัฐที่ต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจในเรื่อง ของการท่องเที่ยวภายในประเทศ ราคาน้ามัน

บาท/ลิตร

43.57

45.00 35.00

33.10 29.31

25.00

30.22 22.27

24.11

15.00

H1/58

H2/58

H1/59

ดีเซล แก๊สโซฮอล์ 95 ที่มา: ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดชัยภูมิ

2


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] 2.2 สถานการณ์น้า จานวนวันฝนตกในจังหวัดชัยภูมิ ช่วงครึ่งแรกของปี 2559 มีจานวน 22 วัน เพิ่มขึนจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ซึ่งอยู่ ที่ 21 วัน ส่วนปริมาณนาฝนก็เพิ่มขึนตามไปด้วย คือปริมาณ 271.20 มิลลิเมตร มากกว่าช่วงเดียวกันของปี 2558 ซึ่งมีปริมาณ 114.60 มิลลิเมตร จึงส่งให้เกษตรกรเริ่มขยายการเพาะปลูกพืชตามไปด้วย

ปริมาณน้าฝนและวันฝนตก 271.20

300 250 200 150 100 50 0

114.60 21

22

H1/58

H1/59

ปริมาณน้าฝน

จ้านวนวันฝนตก

ที่มา : สถานีตรวจอากาศจังหวัดชัยภูมิ

3. เครื่องชีทางด้านเศรษฐกิจการเกษตร อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ภาคเกษตร

20 10 ร้อยละ

0 -10 -20

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้ภาคเกษตร

H1/57 11.6 -9.9 5.9

H2/57 -7.5 -10.5 -17.2

H1/58 -3.1 -9.1 -11.9

H2/58 3.9 -13.7 -10.3

H1/59 -1.4 13.5 11.9

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร จากกราฟแสดงให้เห็นว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรจังหวัดชัยภูมิในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2559 หดตัวร้อยละ 1.4 ในขณะที่ ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ของเกษตรกรขยายตัวร้อยละ 13.5 จากราคาข้าวนาปี ราคาปศุสัตว์ ได้แก่ โคเนือ และไข่ไก่ เพิ่ มขึ น รวมทังราคาการเพาะเลียงสัตว์นาเพิ่มขึนเช่นกัน ส่งผลให้ดัชนีรายได้ภาคเกษตรขยายตัวถึงร้อยละ 11.9

3


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] 4. ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 สาขาการผลิตทางการเกษตรที่สาคัญของจังหวัดชัยภูมิ ในครึ่งแรกปี 2559 ได้แก่ สาขาพืช ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 78.7 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคเกษตร หรือ GPP ภาคเกษตร รองลงมาคือ สาขาปศุสัตว์ สาขาการบริการทางการเกษตร สาขาประมง และสาขาป่าไม้ คิดเป็นร้อยละ 11.0 7.6 2.7 และ 0.1 ตามลาดับ สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดภาคเกษตร พืช, 78.7%

บริการทางการ เกษตร, 2.7%

ป่าไม้, 0.1%

ปศุสัตว์, 11.0% ประมง, 7.6%

การประมาณการอัตราการหดตัวของภาวะเศรษฐกิจการเกษตรจังหวัดชัยภูมิได้พิจารณาจากปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตภาคเกษตรดัง กล่าวข้างต้ น กล่ าวคือ จานวนวันฝนตกและปริมาณนาฝนที่มีน้อยในช่ วงต้นปี ประกอบสภาพภูมิอากาศที่ แปรปรวน อากาศร้ อนจั ด ส่ง ผลให้ ผ ลผลิ ตทางการเกษตรได้ รั บ ความเสี ย หาย โดยเฉพาะผลผลิ ตพื ช ส่ ง ผลให้ ภาวะเศรษฐกิ จ การเกษตรของจังหวัดในครึ่งแรก ปี 2559 หดตัวร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับครึ่งแรกปี 2558 โดยเกิดการหดตัวในสาขาพืช และสาขา ป่าไม้ ในขณะที่สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาการบริการทางการเกษตรขยายตัวเพียงเล็กน้อย สาหรับรายละเอียดในแต่ ละ สาขา มีดังนี สาขาพืช ผลผลิตพืชในครึ่งแรกปี 2559 มีการหดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปี 2558 โดยดัชนีผลผลิตอยู่ที่ 87.02 ลดลงร้อยละ 2.4 จากปี 2558 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.12 ขณะที่ดัชนีราคาพืชที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 125.6 ลดลงร้อยละ 7.1 ส่งผลให้ ดัชนีรายได้เกษตรกรสาขาพืชลดลงมาอยู่ที่ระดับ 109.3 หรือลดลงร้อยละ 9.2 อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ สาขาพืช

ร้อยละ

35 25 15 5 -5 -15

ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้

H1/57 22.2 -10.7 9.2

H2/57 -8.6 0.4 -8.2

H1/58 11.3 0.4 11.8

H2/58 6.7 -28.9 -24.1

H1/59 -2.4 -7.1 -9.2

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

4


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] การผลิตสาขาพืชในครึ่งแรกปี 2559 มีผลผลิตพืชที่สาคัญ ได้แก่ มันสาปะหลัง และอ้อยโรงงาน โดยผลผลิตมันสาปะหลัง ลดลงเนื่องจากปั ญหาการขาดแคลนนาในช่วงต้นปี และเกษตรกรสลับไปปลูกอายุสันชนิดอื่นทดแทน อย่างไรก็ต ามอ้อยโรงงานมี ผลผลิตเพิ่มขึนเพียงเล็กน้อย ส่งผลให้สาขาพืชในครึ่งแรกปี 2559 หดตัวร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับปี 2558 อัตราการเติบโตของสาขาพืช ร้อยละ 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0 -5.0 -10.0 -15.0

21.8 11.3

6.7 -2.4

-8.9 H1/57

H2/57

H1/58

H2/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

 มันส้าปะหลัง ภาวะการผลิต ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังที่ออกสู่ตลาดในครึ่ง แรกปี 2559 มีป ระมาณ 1,401,364 ตั น ต่ ากว่ าปริ มาณ ผลผลิตในช่วงเดียวกันของปี 2558 ซึ่งมีปริมาณ 1,484,704 หรือลดลงร้อยละ 5.6 เนื่องมาจากปัญหาภัยแล้งและราคา มันสาปะหลังตกต่า ส่งผลให้ผลผลิตลดลง ระดับราคา ช่วงครึ่งแรกปี 2559 หัวมันสดคละที่เกษตรกร ขายได้มีร าคาเฉลี่ ยกิโลกรัมละ 1.98 ต่ากว่าปี 2558 ซึ่ง มี ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.18 บาท หรือลดลงร้อยละ 9.2

ปริมาณผลผลิตมันส้าปะหลัง ตัน 1,500,000 1,450,000 1,400,000 1,350,000

1,484,704 1,401,364

H1/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

 อ้อยโรงงาน ภาวะการผลิต ปริมาณผลผลิตอ้ อยโรงงานในครึ่ง แรกปี 2559 รวม 4,804,690 ตัน มากกว่าช่วงเดียวกันของปี 2558 ซึ่ง มีปริมาณผลผลิต 4,780,993 ตัน หรือเพิ่มขึนร้อยละ 0.5 เนื่ องจากนโยบายการส่ ง เสริ มการปรั บ เปลี่ ย นพื นที่ ที่ ไ ม่ เหมาะสมกั บการปลูกข้ าวเป็ นอ้อย แต่มีการเพิ่มขึนเพีย ง เล็กน้อย ระดับราคา ราคาอ้อยโรงงานที่เกษตรกรขายได้ครึ่งแรกปี 2559 เฉลี่ ย ตั นละ 780 บาท ต่ ากว่ าช่ วงเดี ย วกั นของปี 2558 ซึ่งมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 930 บาท หรือลดลงร้อยละ 16.1

ปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงาน ตัน 4,850,000

4,800,000

4,780,993 4,804,690

4,750,000 H1/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

5


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] สาขาปศุสัตว์ ปริมาณผลผลิตปศุสัตว์ในครึ่งแรกปี 2559 ขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 โดยดัชนีผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 115.4 เพิ่มขึนร้อยละ 1.0 ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าปศุสัตว์ที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 195.7 ลดลงร้อยละ 2.1 ส่งผลให้ดัชนี รายได้เกษตรกรสาขาปศุสัตว์ลดลงร้อยละ 1.7 อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ สาขาปศุสัตว์ 40 35 30 25 20 ร้ อยละ 15 10 5 0 -5

H1/5 7 4.0 5.1 9.4

ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้

H2/5 7 3.7 6.5 10.4

H1/5 8 2.7 30.9 34.4

H2/5 8 3.9 31.8 36.9

H1/5 9 1.0 -2.1 -1.7

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร การผลิตปศุสัตว์ในครึ่งแรกปี 2559 ขยายตัวร้อยละ 1.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 เนื่องจากผู้เลียงมีการปรับ ระบบการเลียงให้มีมาตรฐานมากขึน มีระบบการดูแลรักษาที่ดีขึน รวมทังเกษตรกรมีการขยายปริมาณการผลิตไก่เนือและสุกรมากขึน เพื่อรองรับความต้องการของตลาดที่เพิ่มมากขึน

ร้อยละ 35.0 30.0 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0

อัตราการเติบโตของสาขาปศุสัตว์ 28.5

7.5

H1/57

28.1

7.1

H2/57

1.7 H1/58

H2/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

6


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559]  ไก่เนือ ภาวะการผลิต สถานการณ์การผลิตไก่เนือในครึ่งแรกปี 2559 มีการขยายตัวขึนเมื่อเทีย บกั บปี 2558 มีการผลิต ไก่ เนื อ ประมาณ 13.25 ล้านตัว เพิ่ มขึนจากช่ วงเดี ยวกั นของปี 2558 ที่มีผลผลิต 12.81 ล้านตัว หรือเพิ่มขึนร้อยละ 3.4 เนื่ องจากเกษตรกรผู้ เ ลี ยง มี การพั ฒนาระบบมาตรฐาน ฟาร์มที่ดี วางระบบการผลิต ที่ป ลอดภั ยส่ งผลให้ป ริมาณ การผลิตไก่เนือเพิ่มขึน ระดับราคา ราคาไก่รุ่นพันธุ์เนือที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยครึ่ง แรกปี 2559 อยู่ที่ 41.00 บาทต่อกิโลกรั ม เพิ่มขึนจากปี 2558 ที่ มี ร าคาเฉลี่ย 40.34 บาทต่ อกิ โ ลกรัม เนื่องจาก ความต้องการของตลาด และการส่งออกทาให้ราคาปรับตัวเพิ่มขึน

 สุกร ภาวะการผลิต สถานการณ์ ก ารผลิ ต สุ ก รขยายตั ว ตามความ ต้องการบริ โ ภคภายในจั ง หวั ด ที่ เ พิ่ มขึ น โดยในครึ่ ง แรกปี 2559 จั ง หวั ด ชั ย ภู มิมีป ริ มาณการผลิ ต สุ กร 109,462 ตั ว เพิ่ มขึนจากช่ วงเดี ย วกั นของปี 2558 ที่ มีป ริ มาณการผลิ ต 105,230 ตัว หรือเพิ่มขึนร้อยละ 4.0 ระดับราคา ราคาในครึ่งแรกปี 2559 ราคาสุกรนาหนัก 100 กิโลกรัม ขึนไป ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 59.8 บาทต่ อ กิโลกรัม ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ที่มีราคาเฉลี่ย 66.4 บาทต่อกิโลกรัม หรือลดลงร้อยละ 9.9

ปริมาณผลผลิตไก่เนือ ตัน 13,400,000 13,200,000 13,000,000 12,800,000 12,600,000 12,400,000

ระดับราคา ในครึ่ ง แรกปี 2559 ราคาโคเนื อขนาดกลาง เกษตรกรขายได้เฉลี่ยอยู่ที่ตัวละ 29,375.00 บาท ลดลงร้อย ละ 6.6 จากช่วงเดียวกันปี 2558 ที่มีราคาเฉลี่ ยอยู่ที่ตัวละ 31,466.67 บาท ทังนีเนื่องจากความผันผวนของราคาในตลาด

12,806,776

H1/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

ปริมาณผลผลิตสุกร

ตัน

109,462

110,000

105,230 105,000 100,000

H1/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

 โคเนือ ภาวะการผลิต การผลิตโคเนือครึ่งแรกปี 2559 มีปริมาณโคเนือ จานวน 14,287 ตั ว ลดลงจากช่ ว งเดี ย วกั น ปี 2558 ที่ มี ปริ มาณโคเนื อจานวน 14,447 ตั ว หรื อลดลงร้ อยละ 1.1 เนื่องจากความผันผวนทางด้านราคา และเกษตรกรนาพืนที่ เลียงสัตว์ไปปลูกพืชเศรษฐกิจทดแทน

13,246,457

ปริมาณผลผลิตโคเนือ ตัว 14,500

14,447 14,287

14,000

H1/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

7


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559]  ไข่ไก่ ภาวะการผลิต การผลิ ต ไข่ ไ ก่ ค รึ่ ง แรกปี 2559 มี จ านวน 3,858,748 ฟอง ลดลงจากช่วงเดียวกันปี 2558 ที่มีจานวน 3,889,120 ฟอง หรือลดลงร้อยละ 0.8 เนื่องจากช่วงเวลาที่ ผ่านมาสภาพภูมิอากาศมีความผันผวน อากาศร้อนจัดในบาง ช่วง ไก่จึงให้ผลผลิตน้อยลง

ปริมาณผลผลิตไข่ไก่ ฟอง 4,000,000

3,889,120

3,858,748

2,000,000 0 H1/58

H1/59 ระดับราคา ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ในครึ่งแรกปี 2559 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยอยู่ที่ฟองละ 4.0 บาท เพิ่มขึนร้อยละ 8.6 จากช่วงเวลา เดียวกันปี 2558 ที่มีราคาเฉลี่ยฟองละ 3.7 บาท เนื่องจากปริมาณผลผลิตลดลง และความต้องการการบริโภคที่เพิ่มขึน ซึ่งไข่ไก่เป็น อาหารโปรตีนที่มีราคาถูกกว่าสินค้าโปรตีนชนิดอื่นๆ เช่น เนือโค เนือสุกร เป็นต้น สาขาประมง ผลผลิตประมงครึ่งแรกปี 2559 ขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 โดยดัชนีผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 179.8 เพิ่มขึนร้อยละ 2.2 ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าประมงที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 128.3 เพิ่มขึนร้อยละ 7.9 ส่งผลให้ดัช นี รายได้เกษตรกรสาขาประมงเพิ่มขึนร้อยละ 10.2 อัตราการขยายตัวของดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ และดัชนีรายได้ สาขาประมง

ร้อยละ

30 25 20 15 10 5 0 -5 -10

ดัชนีผลผลิต ดัชนีราคาที่เกษตรกรขายได้ ดัชนีรายได้

H1/57 5.2 -6.3 -1.5

H1/57 5.6 -7.3 -2.1

H1/58 -5.6 9.4 3.3

H2/58 -6.0 25.0 17.5

H1/59 2.2 7.9 10.2

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

ภาวการณ์ผลิตสาขาประมงครึ่งแรกปี 2559 มีการขยายตัวร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 โดยมีการ จับสัตว์นาจืดจากแหล่งนาธรรมชาติ ประมาณ 1,148,890 ตัน เพิ่มขึนจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ที่มีการจับสัตว์นาจืดจากแหล่งนา ธรรมชาติ 1,081,648 ตัน เนื่องจากมีหน่วยงานภาครัฐมีการปล่อยพันธุ์ลงในแหล่งนาธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง และมีผลผลิตจากการ เพาะเลียงสัตว์นาจืดประมาณ 5,958,555 ตัน เพิ่มขึนจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ที่มีผลผลิต 5,891,506 ตัน เนื่องจากโครงการ บริหารจัดการนาเพื่อการเกษตรที่มีการสนับสนุนให้มีก ารเพาะเลียงสัตว์นาเพิ่มมากขึน ทาให้การผลิตสาขาประมงเพิ่มขึน

8


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] อัตราการเติบโตของสาขาประมง ร้อยละ 8.0 6.0 4.0 2.0 0.0 -2.0 -4.0 -6.0 -8.0

5.4

6.1 2.1

H1/57

H2/57

-5.5

-5.9

H1/58

H2/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สาขาป่าไม้ ในครึ่งแรกปี 2559 สาขาป่าไม้มีการหดตัวร้อยละ 42.3 เนื่องจากเกษตรกรลดพืนที่การปลูกลง เพราะการปลูกป่าต้องใช้ ระยะเวลานานกว่าจะให้ผลผลิต โดยเกษตรกรหันไปปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน เช่น อ้อยโรงงาน เป็นต้น อัตราการเติบโตของสาขาป่าไม้ ร้อยละ 0.0 -5.0 -10.0 -15.0 -20.0 -25.0 -30.0 -35.0 -40.0 -45.0

-3.9

-3.4

-17.9 -25.2 -42.3 H1/57

H2/57

H1/58

H2/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สาขาบริการทางการเกษตร ในครึ่งแรกปี 2559 สาขาบริการทางการเกษตรมีการขยายตัวร้อยละ 0.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 เนื่องจากมี การขยายพืนที่ปลูกอ้อยโรงงานเพิ่มมากขึน อีกทังปัญหาการขาดแคลนแรงงานและค่าจ้างแรงงานที่สูงขึนทาให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนมาใช้ เครื่องจักรกลทางการเกษตรทังการบริการเตรียมดินและบริการเก็บเกี่ยวเพิ่มมากขึน

9


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] อัตราการเติบโตของสาขาการบริการทางการเกษตร ร้อยละ 9.0 8.0 7.0 6.0 5.0 4.0 3.0 2.0 1.0 0.0

8.0 6.7

6.6

6.6

0.6 H1/57

H2/57

H1/58

H2/58

H1/59

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

5.แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตร ปี2559 ปัจจัยบวก-ลบ ปัจจัยบวก

ภายใน จ.ชัยภูมิ

ภายนอก จ.ชัยภูมิ

o ผลผลิตสินค้าเกษตรออกมาอย่างต่อเนื่อง o นโยบาย/ยุทธศาสตร์จังหวัดให้ความสาคัญกับ สินค้าเกษตร ตังแต่ต้นนา กลางนา และปลายนา o นโยบายแผนบูรณาการพัฒนาการเกษตรภายใต้ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการนาเพื่อการเกษตร o พืชเศรษฐกิจของจังหวัดส่วนใหญ่เป็นพืชไร่ การ เพาะปลูกใช้นาน้อย o ปริมาณนาฝนเพิ่มมากขึนกว่าปี 2558 o ราคาส่ ง ออกสิ นค้ าเกษตรที่ ส าคั ญ ขยายตั ว ตาม ความต้ อ งการตลาดโลก ท าให้ ร าคาสิ น ค้ า เกษตร โดยรวมมีแนวโน้มสูงขึน o นโยบายของรัฐบาลในการลดต้นทุนการผลิต เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต การจัดทาฐานข้อมูลเกษตรกรที่ ครอบคลุมสามารถนาไปแก้ ปั ญหาต่ างๆ รวมถึ งการ สนับสนุนเกษตรแบบอินทรีย์ o ผู้ส่ง ออกสินค้ าเกษตรยังคงมีค วามต้องการสินค้ า เกษตรที่สาคัญสูงตามความต้องการจากต่างประเทศ

ปัจจัยลบ o แรงงานภาคเกษตรมีแนวโน้มลดลงอย่าง ต่อเนื่อง และแรงงานมีแนวโน้มอายุสูงขึน ทาให้ขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตร o ปัญหาโรค – แมลงระบาด o การทาการเกษตรส่วนใหญ่อาศัยนาฝน ขาดระบบชลประทานที่ดี o ปริ มาณนาในเขื่อนและอ่างเก็บ นาธรรมชาติ ลดลง o ปัญ หาภัย ธรรมชาติมีแนวโน้ มรุ นแรงมากขึ น ทังอุทกภัย ภัยแล้ง ศัตรูพืช o ราคาสินค้าเกษตรมีความผันผวนไม่แน่นอน o ราคาปั จ จั ย การผลิ ต เช่ น ปุ๋ ย -สารปราบ ศัตรูพืช และแรงงานมีการปรับตัวสูงขึน o ทรัพยากรการผลิตถูกแย่งชิงจากภาคการผลิต อื่น ทังที่ดิน นา และแรงงาน

เศรษฐกิจการเกษตรจังหวัดชัยภูมิในปี 2559 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5 – 1.5 โดยสาขาพืชขยายตัวในช่วง ร้อยละ 0.6 – 1.6 สาขาปศุสัตว์ขยายตัวในช่วงร้อยละ (-0.8) – 0.8 สาขาประมงขยายตัวในช่วงร้อยละ 0.7 – 1.7 สาขาป่าไม้หดตัว ในช่วงร้อยละ (-23.4) – (-22.4) ส่วนสาขาการบริการทางการเกษตรขยายตัวในช่วงร้อยละ 0.1 – 1.1 ทังนีสถานการณ์ภัยแล้งมี แนวโน้มคลี่ค ลายไปในทางที่ดีขึน ปริมาณนาฝนเพิ่มขึน ในขณะที่ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกยังทรงตั วอยู่ในระดั บค่อนข้างสู ง ส่ง ผลให้ เ กษตรกรในพืนที่ จัง หวั ด ชัย ภู มิข ยายการผลิ ต สิ นค้ าเกษตรมากขึ น แต่ ก็มีปั จจั ย ที่ ไม่ ส ามารถคาดการณ์ ห รือควบคุ มได้ โดยเฉพาะปริมาณนาฝนและสภาพอากาศซึ่งอาจส่งผลต่อปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตร

10


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] สาขาพืช การผลิตสาขาพืช ปี 2559 คาดว่าจะมีผลผลิตที่เก็บเกี่ยวและออกสู่ตลาดในช่วงปี 2559 มากกว่าในปี 2558 เนื่องจากมี หลายปัจจัยในเชิงบวกต่อภาคเกษตร เช่น สภาพภูมิอากาศที่มีแนวโน้มกลับสู่ภาวะปกติ จานวนวันฝนตกและปริมาณนาฝนที่คาดว่า จะเพิ่มขึนในช่วงฤดูฝน ซึ่งจูงใจให้เกษตรกรขยายการผลิตและดูแลบารุงรักษาผลผลิตมากขึน ประกอบกับภาครัฐได้มีนโยบายการ ปรับโครงสร้างสินค้าเกษตร อีกทังมียุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรของจังหวัด โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต ปรับลดพืนที่สินค้าเกษตรที่มีปัญหา คงพืนที่ที่มีศักยภาพ และขยายพืนที่สินค้าที่มีลู่ทางการตลาดดี อย่างไรก็ตามยังคงมีปัจจัยลบที่ อาจส่งผลต่อการผลิตพืชในปี 2559 ซึ่งส่วนใหญ่ยังคงเป็นปัจจัยที่ต่อเนื่องมาจากช่วงปีที่ผ่านมา ได้แก่ ปัญหาโรคพืชและแมลงระบาด ราคาปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาจัดวั ชพืชและศัตรูพืช อาหารสัตว์ มีราคาแพง และภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ ในขณะที่ราคาสินค้าเกษตรคาดว่าจะมีการปรับตัวเพิ่มขึนหรือลดลงเพียงเล็กน้อย ทาให้คาดการณ์ได้ว่าสาขาพืชจะมีการขยายตัว เพียงเล็กน้อยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.6 – 1.6

ปริมาณผลผลิตพืชที่ส้าคัญ ตัน 10,000,000 1,000,000 100,000 10,000 1,000 100 10 1

1,841,029

490,149 500,640

ข้าว

2558 6,057,613

6,125,645

1,793,412

มันส้าปะหลัง

2559

อ้อยโรงงาน

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สาขาปศุสัตว์ ภาวการณ์ผลิตสาขาปศุสัตว์ปี 2559 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.8) – 0.8 จากปี 2558 เนื่องจากการผลิตปศุ สัตว์โดยเฉพาะไก่เนือ สุกร มีแนวโน้มเพิ่มขึน เนื่องจากมีการพัฒนาระบบมาตรฐานฟาร์มและการบริหารจัดการที่สามารถควบคุม โรคติดต่อได้อย่างปลอดภัย

11


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] ปริมาณผลผลิตปศุสัตว์ที่ส้าคัญ ตัว/ฟอง

100,000,000 10,000,000 1,000,000 100,000 10,000 1,000 100 10 1

2558

25,748,972 26,569,405

8,122,200 213,641

8,034,018 29,134

223,493

ไก่เนือ

2559

สุกร

28,829

ไข่ไก่

โค

ที่มา : จากการค้านวณ โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สาขาประมง ภาวการณ์ผลิตสาขาประมงปี 2559 คาดว่าจะขยายตัวในช่ วงร้อยละ 0.7 – 1.7 เนื่องจากเกษตรกรสามารถปรับและ วางแผนการผลิตให้เข้ากับสถานการณ์ที่ปริมาณนาได้ และจากโครงการบริหารจัดการนาเพื่อการเกษตรที่ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ เพาะเลียงสัตว์นาจืดเพิ่มมากขึน สาขาป่าไม้ ปี 2559 สาขาป่าไม้มีแนวโน้มหดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 22.4 – 23.4 จากปี 2558 เนื่องจากเกษตรกรลดพืนที่การปลูกลง เพราะต้องใช้เวลานานในรอบระยะเวลาการผลิต ซึ่งเกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกอ้อยโรงงานทดแทน สาขาบริการทางการเกษตร การบริการทางการเกษตรปี 2559 มีแนวโน้มขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1 – 1.1 เนื่องจากมีการขยายพืนที่ทานาและ ปลูกอ้อยโรงงานเพิ่มมากขึน 6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการเกษตร 1) 2 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10)

จัดหาและฟื้นฟูแหล่งนาตลอดจนบริหารจัดการนาในพืนที่ชลประทานจังหวัดชัยภูมิ เพื่อให้สามารถทานาได้ เพิ่มประสิทธิภาพของระบบเตือนภัยทางการเกษตรเพื่อช่วยให้การบริหารจัดการนาในพืนที่การเกษตรจังหวัดชัยภูมิ ส่งเสริมในเรื่องการวิจัยและพัฒนาสาหรับสินค้าใหม่ๆหรือปรับปรุงพันธุ์พืชที่ใช้นาน้อย การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงานรวมทังการอนุรักษ์ระบบนิเวศน์สิ่งแวดล้อม ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการกระจายนาพัฒนาแหล่งนาขนาดเล็กเพื่อการเกษตร การส่งนาก่อสร้างระบบกระจายนาในแปลงนาเพื่อกระจายนาให้ทั่วถึงตามศักยภาพของพืนที่ การกระจายสินค้าเกษตรในพืนที่ไปสู่ผู้บริโภคจังหวัดหรือภาคอื่น รวมทังการสร้างเครือข่ายการผลิต การตลาด การวางระบบการผลิต การตลาดสินค้า โดยนาระบบโลจิสติกส์มาบริหารจัดการภายในจังหวัดชั ยภูมิ การส่งเสริมนวัตกรรมทางเทคโนโลยีด้านการผลิต การตลาดสินค้าเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าด้านคุณภาพ ความสด สะอาด การส่ง เสริมสร้างวั ฒนธรรมสิ นค้ าเกษตรเชิง การท่องเที่ย วในจัง หวั ดชั ยภูมิ และเป็นการเปิด แหล่ งท่ องเที่ ยวเชิง เกษตร ต้อนรับ AEC

12


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร จ.ชัยภูมิ สาขา

2558

2559 ครึ่งแรก

ทังปี

ภาคเกษตร

9.0

-1.7

0.5 - 1.5

พืช

8.1

-2.4

0.6 - 1.6

ปศุสัตว์

28.3

1.8

(-0.8) – 0.8

ประมง

-5.7

2.1

0.7 – 1.7

ป่าไม้

-22.1

-42.3

(-23.4) – (-22.4)

บริการทางการเกษตร

6.6

0.6

0.1 – 1.1

ที่มา : ประมาณการโดยสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 ตารางที่ 2 การเปลี่ยนแปลงผลผลิตสินค้าเกษตรที่ส้าคัญ(ปีปฏิทนิ ) สินค้า

2558

2559

การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)

ทังปี

ครึ่งแรก

ครึ่งแรก

มันสาปะหลัง (ตัน)

1,841,029

1,484,704

1,401,364

-5.6

อ้อยโรงงาน (ตัน)

6,057,613

4,780,993

4,804,690

0.5

ไก่เนือ (ตัว)

25,748,972

12,806,776

13,246,457

3.4

สุกร(ตัว)

213,641

105,230

109,462

4.0

โคเนือ (ตัว)

29,134

14,447

14,287

-1.1

ไข่ไก่ (ฟอง)

8,122,200

3,889,120

3,858,748

-0.8

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5

13


จังหวัดชัยภูมิ [รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรครึ่งแรกปี 2559 และแนวโน้มปี 2559] ตารางที่ 3 ราคาที่เกษตรกรขายได้ของสินค้าเกษตรที่ส้าคัญ 2558

2559

สินค้า

การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)

ทังปี

ครึ่งแรก

ครึ่งแรก

12.85

13.17

13.16

0.1

มันสาปะหลัง (บาท/กิโลกรัม)

2.2

2.18

1.98

-9.2

อ้อยโรงงาน(บาท/ตัน)

1.10

0.93

0.78

16.1

ไก่รุ่นพันธุ์เนือ(บาท/กิโลกรัม)

41.7

40.34

41.00

1.6

สุกรขุนพันธุ์ลูกผสมนน.100 กก.ขึนไป (บาท/กิโลกรัม)

63.8

66.4

59.8

-9.9

โคเนือ (บาท/ตัว)

32,181.25

31,466.67

29,375.00

-6.6

ไข่ไก่ (บาท/ฟอง)

339.25

368.26

400.00

8.6

ข้าวเปลือกเจ้านาปีพันธุ์ขาวดอกมะลิ 100% (บาท/ตัน)

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5

14


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.