powerpoint powerpoint

Page 1

1

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 1.กาเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มนุษย์เป็ นสัตว์สงั คมที่มีการตั้งถิ่นฐานอยูก่ นั เป็ นหมู่เหล่าตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว หน่วย เล็กที่สุดของสังคมคือครอบครัวขนาดใหญ่ข้ ึนมาเป็ นหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ จนในที่สุดเป็ นเมือง และเป็ นประเทศตามลาดับ มนุษย์แต่ล่ะหมู่เหล่ามีการติดต่อสื่ อสารพบปะกัน เพื่อแลกเปลี่ยน อาหาร สิ่ งของเครื่ องใช้ ยารักษาโรคที่ชุมชนของตนไม่สามารถผลิตได้ไม่เพียงพอ ฯลฯ จนเกิด เป็ นการค้าขายระหว่าง หมู่บา้ น ตาบล เมือง และประเทศขึ้น การติดต่อในยุคแรกๆ เป็ นการบอก กันปากต่อปาก ต่อมามีการสื่ อสารกันด้วยตัวอักษรที่จารึ กบนวัสดุต่างๆ ซึ่งกลายมาเป็ นการส่ ง จดหมายถึงกัน จากนั้นมีการสื่ อสารกันด้วยวิธีการที่หลากหลายและมีความรวดเร็ วมากขึ้น ทาให้ เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งอาศัยหลักวิชาด้านวิศวกรรมไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์ เปลี่ยนคาพูด ข้อความหรื อภาพเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าส่ งไปตามสาย หรื อ เปลี่ยนเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เรี ยกว่าคลื่นวิทยุกระจายไปในอากาศ เมื่อถึงปลายทาง สัญญาณ หรื อคลื่นที่ส่งไปนั้นจะถูกคืนสภาพให้กลับไปเป็ นคาพูดข้อความหรื อภาพเหมือนกับสิ่ งที่ ส่ งออกไปจากต้นทาง พัฒนาการของเทคโนโลยี โทรคมนาคมนี้ ทาให้คนที่อยูค่ นล่ะซี กโลกกัน สามารถรับรู้ข่าวสารของกันและกัน ได้ภายในชัว่ พริ บตา เพราะอัตราความเร็ วของการเดินทาง ของสัญญาณไฟฟ้ าตามสาย หรื อของคลื่นวิทยุน้ นั อยูใ่ นระดับความเร็ วของแสง เช่นเหตุร้ายจาก การก่อวินาศกรรมโดยใช้เครื่ องบินโดยสารที่ถูกจี้บงั คับมาชนตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ที่นคร นิวยอร์ค เมื่อวันที่11กันยายน พ.ศ. 2544 นั้น คนทั้งโลกได้เห็นเหตุการณ์สดๆผ่านเครื อข่ายข่าว โทรทัศของซีเอ็นเอ็น เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่เพิง่ มีข้ ึนในช่วงเวลาประมาณ 20ปี ที่ผา่ นมานี่เอง เป็ นเทคโนโลยีที่เกิดจากการรวมเทคโนโลยี2ประเภทเข้าด้วยกันคือ เทคโนโลยีโทรคมนาคม กับเทคโนโลยีรวบรวม จัดเก็บ ปรับเปลี่ยนรู ปแบบของสารสนเทศ และใช้เทคโนโลยี โทรคมนาคมซึ่งพัฒนามาจากเครื อข่ายโทรทัศน์และเครื อข่ายวิทยุมาสร้างระบบเครื อข่าย


2

คอมพิวเตอร์ข้ ึน เป็ นการนาเอาความสามารถของคอมพิวเตอร์ (คานวณ ประมวลผล เปรี ยบเทียบ และตรวจสอบได้รวดเร็ ว ถูกต้องแม่นยา) มารวมกับความสามารถของระบบโทรคมนาคม (ติดต่อได้รวดเร็ วและกว้างไกล)ดังนั้น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ระบบ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มาจัดการเกี่ยวกับสารสนเทศนัน่ เอง ปัจจุบนั นี้ มีการใช้คาว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษ ว่าInformation and Communication Technology: ICT กันอย่างแพร่ หลาย เนื่องจากเทคโนโลยี สารสนเทศพัฒนาบนพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ซ้ ึงกาลังเจริ ญขึ้นอย่างรวดเร็ ว อีกด้านหนึ่ง คือ เทคโนโลยีการสื่ อสารโดยเฉพาะอย่างยิง่ การสื่ อสารไร้สายก็กาลังพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ ว เช่นกัน ทาให้เกิดการใช้งานรู ปแบบใหม่ๆมากขึ้น โดยไม่ตอ้ งอาศัยระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง เช่น การทาธุรกรรมต่างๆผ่านโทรศัพท์มือถือ ได้แก่ m-Shopping (การซื้อสิ นค้าผ่าน โทรศัพท์มือถือ)m-Banking(การสัง่ จ่ายเงินหรื อโอนเงินจากธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ)mcommerce(ธุรกิจผ่านมือถือ)เป็ นต้น นอกจากนี้บริ การสอบถามและแจ้งข้อมูลทางโทรศัพท์ซ่ ึง ทาได้ตลอด24ชัว่ โมงทุกวัน ที่เรี ยกว่าศูนย์ให้บริ การ(call center)เป็ นอีกตัวอย่างหนึ่ งของ พัฒนาการใหม่ดา้ นการสื่ อสาร ในกรณี ของ call center แม้วา่ จะต้องมีระบบคอมพิวเตอร์ติดต่อ อยูท่ างด้านผูใ้ ห้บริ การ แต่ทางผูใ้ ช้บริ การใช้เพียงโทรศัพท์ ก็สามารถรับบริ การได้ ซึ่งแตกต่าง จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอินเตอร์ เน็ตที่ผใู ้ ช้บริ การต้องมีระบบคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกับ เครื อข่าย อย่างไรก็ตาม ในอนาคตไม่ไกลนัก เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่ อสารมี แนวโน้มจะรวมเข้าด้วยกัน ดังจะเห็นได้จากโทรศัพท์มือถือรุ่ นใหม่ๆที่สามารถรับส่ งอีเมล์ได้ คอมพิวเตอร์พกพาบางรุ่ นก็สามารถใช้เป็ นโทรศัพท์มือถือได้ดว้ ย วิธีการผสมผสานเทคโนโลยี ทั้งสองด้านนี้เรี ยกว่าคอนเวอร์เจนซ์(Convergence) องค์ ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาคือ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม โดยมีรายละเอียดแต่ละเทคโนโลยีดงั ต่อไปนี้


3

1. คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจาข้อมูลต่างๆ และปฏิบตั ิตาว คาสัง่ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย อุปกรณ์ต่างๆ ต่อเชื่อมกันเรี ยกว่า “ฮาร์ดแวร์ ” (Hardware) และฮาร์ดแวร์ น้ ีจะต้องทางาน ร่ วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรื เรี ยกว่า”ซอฟต์แวร์ ”(Software) 1.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ประกอบด้วย 5 ส่ วน คือ 1. อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แป้ นพิมพ์ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) เครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) จอภาพสัมผัส (Touch Screen) ปากกาแสง (Light Pen) เครื่ องอ่านแถบบัตร แม่เหล็ก(Magnetic Strip Reader) และเครื่ องอ่านรหัสแท่ง (Barcode Reader) 2.อุปกรณ์แสดงผล (Output) เช่น จอภาพ (Monitor) เครื่ องพิมพ์ (Printer) และ เทอร์มินลั 3.หน่วยประมวลผลกลาง จะทางานร่ วมกับหน่วยความจาหลักในขณะประมวลผลโดย ปฏิบตั ิหน้าที่ตามคาสัง่ คอมพิวเตอร์ 4.หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่มาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณ และผลลัพธ์ของการคานวรก่อนที่จะนาไปยังอุปกรณ์แสดงผล 5.ซอฟต์แวร์ (software) 5.1 ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ภายในคอมพิวเตอร์และเป็ นตัวกลาง ระหว่างผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์หรื อฮาร์ตแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งเป็ น 3 ชนิดคือ 1) โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ ใช้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง กับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น - โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์ (UNIS) -โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ (DOS) -โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ Windows XP 2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ ใช้ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในระหว่างการประมวลผลข้อมูล


4

หรื อในระหว่างที่ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น WinZip ใช้บีบอัดไฟล์ Anti virus ใช้สแกนและฆ่าไวรัส เป็ นต้น 3) โปรแกรมแปลภาษา เป็ นโปรแกรมที่ใช้แปลความหมายของคาสั่งที่เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยูใ่ นรู ปแบบที่ เครื่ องคอมพิวเตอร์เข้าใจ และทางานตามที่ผใู้ ช้ตอ้ งการ 1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่องานทัว่ ไป เป็ นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้งานทัว่ ไปไม่เจาะจง ประเภทธุรกิจ ตัวอย่างเช่น Microsoft Word , Adobe Photoshop เป็ นต้น 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงานเป็ นซอฟต์แวร์ ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในธุรกิจเฉพาะตามแต่ วัตถุประสงค์ของการนาไปใช้ เช่น โปรแกรมบัญชี เป็ นต้น 3. ซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่นๆ เป็ นซอฟต์แวร์ ที่เขียนขึ้นเพื่อความบันเทิงและอื่นๆ เช่น โปรแกรม Hypertext เป็ นต้น 2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมใช้ในการติดต่อสื่ อสาร รับส่ งข้อมูลไกลๆ เป็ นการส่ ง ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ซึ่งรู ปแบบข้อมูลที่รับอาจส่ งเป็ น ตัวเลข (Numeric data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสี ยง (Voice) นอกจากนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็ น 6 รู ปแบบ คือ 1. เทคโนโลยีใช้เก็บข้อมูล 2. เทคโนโลยีใช้ในการบันทึกข้อมูล 3. เทคโนโลยีใช้ในการประมวลผลข้อมูล 4. เทคโนโลยีใช้ในการแสดงผลข้อมูล 5. เทคโนโลยีใช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร 6. เทคโนโลยีใช้ในการถ่ายทอดหรื อสื่ อสารข้อมูล . เทคโนโลยีใช้เก็บข้อมูล


5

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ปัจจุบันเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารมี บทบาทต่อชี วิ ต ประจาวัน เป็ นอย่างมาก เช่น มีการใช้ คอมพิวเตอร์ในการทางาน ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสื บค้นข้อมูลหรื อรับ - ส่ ง ข้อมูล ระหว่างกัน ตลอดจนใช้โทรศัพท์ เคลื่อนที่ (Mobile Phone) หรื อโทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่ อสารองค์กร ทั้งภาครัฐ แ ล ะ เอกชนได้ นาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารเข้ามาใช้งานในทุก ระดับชั้นขององค์กร เช่น งานด้านบริ หาร การจัดการ และการปฏิบตั ิการ รัฐบาลได้เห็น ความสาคัญของระบบเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่ อสาร จึงประกาศให้ปี พ.ศ. 2538 เป็ นชีวติ ความเป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ต่างๆมากมาย ปี แห่งเทคโนโลยีสารสนเทศไทยมีการลงทุนเกี่ยวกับโครงการพื้นฐานทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารเป็ นจานวนมาก เช่น มีการขยายระบบโทรศัพท์ และขยาย เครื อข่ายการสื่ อสาร มี การสร้างระบบฐานข้อมูล ทะเบียนราษฎร์ และการสร้างระบบจัดเก็บ ภาษีอากรด้วยคอมพิวเตอร์ การเรี ยนทางไกลผ่านทางเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การสัง่ ซื้ อสิ นค้าและชาระเงินด้วยบัตรเครดิตผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การเบิกเงินด้วยบัตร เอทีเอ็มจากตูเ้ อทีเอ็มของธนาคารต่างๆ คาว่า "เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) เรี ยกย่อว่า "ไอที" ประกอบด้วยคาว่า "เทคโนโลยี" และคาว่า "สารสนเทศ" นามารวมกันเป็ น "เทคโนโลยีสารสนเทศ" คาว่าเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication Technology : ICT) หรื อเรี ยกย่อ ว่า "ไอซีที" ประกอบด้วยคาที่มีความหมายดังนี้ - เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนา ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนาเครื่ องมือ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ วิธีการหรื อ กระบวนการ เพื่อช่วยในการหรื อแก้ปัญหาต่างๆทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรื อองค์กร - สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนาข้อมูลมาผ่าน กระบวนการต่างๆอย่างมีระบบ จนได้สิ่งที่เป็ นประโยชน์ มีคุณค่าและสาระ หรื อมีเนื้อหาและ รู ปแบบที่เหมาะสมตามความต้องการของผูใ้ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนาความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรื อจัดการกับ สารสนเทศอย่างเป็ นระบบและ


6

รวดเร็ ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่ม บุคคล หรื อองค์กร ทั้งนี้เทคโนโลยีสารสนเทศยังต้องพึ่งพาเทคโนโลยีดา้ นการสื่ อสารและโทร คมนาคม ซึ่ งเป็ นวิธีการที่จะส่ งข้อมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เพื่อการแลกเปลี่ยนหรื อเผยแพร่ ข้อมูล และสารสนเทศได้ อย่างรวดเร็ วทันต่อ การใช้ ประโยชน์ ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เช่น วิทยุ โทรศัพท์ เครื่ องโทรสาร คอมพิวเตอร์ คลื่นวิทยุ และดาวเทียม เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสาร ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545 - 2549 หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล และการสื่ อสารนับตั้งแต่การสร้าง การนามา วิเคราะห์หรื อการประมวลผล การรับและการส่ งข้อมูล การจัดเก็บ และการนาข้อมูลกลับไปใช้ งานใหม่ ระบบการสื่ อสารและโทรคมนาคมที่เชื่อมโยงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทวั่ มุมโลก 2.ประวัติโดยย่อของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร จากที่กล่าวมาแล้วว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดจากการรวมกันของเทคโนโลยี2ด้าน คือ เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งแต่ละด้านมีประวัติหรื อพัฒนาการ ดังนี้ เทคโนโลยีโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคมเริ่ มจากการประดิษฐ์โทรเลขของ แซมวล มอร์ ส(Samual Morse) ในปี พ.ศ.2380 นับว่าเป็ นครั้งแรกที่ข่าวสารถูกแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าส่ งไปตามสายเป็ นระยะ ทางไกลๆได้โดยอาศัยวิธีการเข้ารหัสตัวอักษร เป็ นรหัสอื่นที่ประกอบด้วยจุด (.)และขีด(-)เช่น สัญญาณขอความช่วยเหลือฉุกเฉิ น SOSจะเข้ารหัสเป็ น…---…การรับส่ งโทรเลขได้ถกู นามาใช้ งานในเชิงการค้าตั้งแต่ พ.ศ.2387 เป็ นต้นมา และในปี พ.ศ.2401 ได้มีการวางสายเคเบิลใต้ มหาสมุทรแอตแลนติก ทาให้เกิดการสื่ อสารข้ามทวีประหว่าทวีปอเมริ กากับทวีปยุโรปขึ้นเป็ น ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์(Alexander Graham Bell)ได้ประดิษฐ์ โทรศัพท์และได้ต้ งั ชุมสายโทรศัพท์แห่งแรกที่เมืองนิวเฮเวน รัฐคอนเนตทิคตั สหรัฐอเมริ กา จากนั้นโทรศัพท์ได้ขยายตัวออกไปอย่างรวดเร็ ว จนในปั จจุบนั สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ดว้ ย


7

ระบบโทรศัพท์ทางไกลอัตโนมัติ นับเป็ นการพัฒนาอันยิง่ ใหญ่ดา้ นเทคโนโลยีเครื อข่าย โทรคมนาคม ด้านการสื่ อสารไร้สาย ได้มีการพัฒนาการค้นพบคลื่นวิทยุในปี พ.ศ.2430 โดย ไฮน์ริช แฮตน์(เฮิร์ต)(Heinrich Herth) และต่อมาปี พ.ศ. 2437 ถูกลิกอลโม มาร์โคนี (Gugliemo Marconi) สามารถประดิษฐ์เครื่ องรับส่ ง วิทยุเครื่ องแรกได้สาเร็ จ จากนั้นได้มีการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่สาคัญหลายอย่างดังต่อไปนี้ ในปี พ.ศ. 2477-2479 จอห์น เฟลมมิง(John Flemming)และ ลี เดอ ฟอเรสต์ (Lee De Forest) ได้ประดิษฐ์หลอดสุ ญญากาศ ซึ่ งเป็ นจุดเริ่ มต้นของการขยายการแปรรู ปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ในปี พ.ศ.2497 วลาดิเมียร์ สวอริ คิน (Vladimir Zworykin) ได้ประดิษฐ์หลอดภาพโทรทัศน์ ซึ่ง เป็ นที่มาของจอภาพคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั ในปี พ.ศ. 2490ชอกลีย ์ บาร์ดีน และ แบรตเทน (Schockley, Bardeen and Brattain)ได้ประดิษฐ์ ทรานซิสเตอร์ ซึ่งเป็ นที่มาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ แบบสารกึ่งตัวนาไอซี และซี พียใู น คอมพิวเตอร์ ในปี พ.ศ.2500 คิลบี และ นอยส์(Jack Kilby, Robert Noyce)ได้ประดิษฐ์วงจรรวมหรื อไอซี ซึ่ง เป็ นเทคโนโลยียอ่ ส่ วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั มีสมรรถนะสูงและ มีขนาดเล็ก ในปี พ.ศ.2504บริ ษทั เอทีแอนด์ที ได้สร้างดาวเทียมสื่ อสาร เทลสตาร์ 1 เป็ นดาวเทียมสื่ อสารดวง แรกของโลก


8

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ใน ปัจจุบัน ในปัจจุบนั เทคโนโลยีต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทเป็ นอย่างมากต่อการใช้ชีวติ ประจาวัน ของมนุษย์ เพื่อช่วยอานวยความสะดวกสบายและถ้าเราจะพูดถึงเทคโนโลยีที่เรี ยกกันทัว่ ไป ว่า คอมพิวเตอร์กค็ งจะไม่มีใครปฏิเสธได้วา่ ไม่รู้จกั เนื่ องจากการทางานทุกอย่างต้องขึ้นอยูก่ บั คอมพิวเตอร์เป็ นส่ วนใหญ่

ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์น้ นั เป็ นคาที่มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรื อ การ คานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ ไว้วา่ “เครื่ องอิ เล็กทรอนิ กส์ แบบอัตโนมัติ ทาหน้ าที่ เหมื อนสมองกล ใช้ สาหรั บแก้ ปัญหาต่ างๆ ที่ ง่ ายและซั บซ้ อนโดยวิธีทางคณิ ตศาสตร์​์” คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ในการจัดเก็บ คานวณ ประมวลผลหรื องานต่าง ๆ ตามคาสัง่ ที่จดั ทาขึ้น แล้วบันทึกเก็บไว้ในหน่วยความจาของอุปกรณ์น้ นั คอมพิวเตอร์ มีอยู่ ด้วยกัน 3 ประเภทหลัก คือ ดิ จิทัลคอมพิ วเตอร์ (Digital Computer) มีการทางานโดยการนาค่าที่เป็ นเลขโดด เช่น เลขฐานสอง มาใช้ในการคานวณ


9

แอนล็อกคอมพิ วเตอร์ (Analog Computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ที่ทางานโดย การนาค่าตัวแปรที่ ต่อเนื่อง เช่น ค่าแรงดันไฟฟ้ าในวงจรมาใช้ในการคานวณ

ไฮบริ ดคอมพิ วเตอร์ (Hybrid Computer) ซึ่ งเป็ นคอมพิวเตอร์ ลูกผสมระหว่างคอมพิวเตอร์สอง แบบแรก

แต่ ในปั จจุบนั นี้ เมื่อกล่าวถึงคอมพิวเตอร์ เฉยๆ จะหมายถึง ดิจิทลั คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ น คอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้กนั สาเหตุที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งานในปัจจุบนั คือ • คอมพิวเตอร์สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ ว • คอมพิวเตอร์ สามารถเก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ไว้ในฐานข้อมูลและเรี ยกเพื่อนามาใช้งานได้ ทันที ตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน • คอมพิวเตอร์ สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภทจัดกลุ่มทารายงาน ลักษณะต่างๆ ได้โดยระบบประมวลผล ที่มีความถูกต้อง • คอมพิวเตอร์ สามารถส่ งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ ว


10

และตลอดเวลา • คอมพิวเตอร์สามารถจัดทาเอกสารต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ ว โดยอาศัยระบบประมวลคา ซึ่งเป็ น ส่ วนหนึ่งของระบบสานักงานอัตโนมัติ สร้างความสะดวกและ ประหยัดเวลาในการจัดทาเอกสารแต่ละชนิด คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 อยูร่ ะหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลอดสุ ญญากาศซึ่งใช้กาลังไฟฟ้ า สู ง จึงมีปัญหาเรื่ องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสัง่ งานใช้ภาษาเครื่ องซึ่งเป็ นรหัสตัวเลขที่ยงุ่ ยากซับซ้อน เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของยุคนี้มีขนาด ใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC) มาร์ค วัน


11

อินิแอค

ยูนิแวค คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2 คอมพิวเตอร์ ยคุ ที่สอง อยูร่ ะหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็ นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ ไรท์เป็ นหน่วยความจา มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองในรู ปของสื่ อ บันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่ วนทางด้านซอฟต์แวร์ กม็ ีการพัฒนาดีข้ ึน โดยสามารถเขียน โปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่ งเป็ นภาษาที่เขียนเป็ นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษา ฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็ นต้น ภาษาระดับสู งนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ ยคุ ที่สาม อยูร่ ะหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็ นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิ สเตอร์ บรรจุอยูภ่ ายในมากมายทาให้


12

เครื่ องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็ นโปรแกรมย่อย ๆ ในการ กาหนดชุดคาสัง่ ต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ กม็ ีระบบควบคุมที่มีความสามารถสู งทั้งในรู ประบบ แบ่งเวลาการทางานให้กบั งานหลาย ๆ อย่าง

คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4 คอมพิวเตอร์ ยคุ ที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบนั เป็ นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม ความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ ที่บรรจุ ทรานซิ สเตอร์นบั หมื่นนับแสนตัว ทาให้ขนาดเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบน โต๊ะในสานักงานหรื อพกพาเหมือนกระเป๋ าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ ก็ ได้พฒั นาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสาเร็ จให้เลือกใช้กนั มากทาให้เกิดความสะดวก ในการใช้งานอย่างกว้างขวาง


13

คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ ยคุ ที่หา้ เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มนุษย์พยายามนามาเพื่อช่วยในการตัดสิ นใจและ แก้ปัญหาให้ดียงิ่ ขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่ อง สามารถเรี ยกค้นและดึง ความรู ้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็ นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ ยคุ นี้ เป็ นผลจากวิชาการด้าน ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกไม่วา่ จะเป็ นสหรัฐอเมริ กา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกาลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กนั อย่างจริ งจัง


14

ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร คาว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบคา2คาได้แก่ เทคโนโลยี และ สารสนเทศ ซึ่ งแต่ละคามี ความหมายดังนี้ เทคโนโลยี(Technology ) เป็ นคาที่มาจากรากศัพท์ละตินว่า Texere มีความหมายตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า to Weave แปลว่าสาน เรี ยบเรี ยง ถักทอ ปะติดปะต่อ และ construct แปลว่า สร้าง ผูกเรื่ อง ความรู้สึกนึกคิดที่ก่อให้เกิด ส่ วนเทคโนโลยีรากศัพท์ภาษากรี กมาจากคาว่า Techonologia แปลว่าการทางานอย่างเป็ นระบบ (Systematic Treatment) คาร์ เตอร์ วี กู๊ด (Good,1973) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีวา่ หมายถึง การนาเอา วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในวงการต่างๆ โดยทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน เอดการ์ เดล (Dale,1965)กล่าวว่า เทคโนโลยีไม่ใช่เครื่ องมือแต่เป็ นแผนการ วิธีการทางาน อย่างเป็ นระบบที่ให้ผลบรรลุตามแผนการ ไฮนิช และ คนอื่นๆ (Heinech and Others, 1989) ได้อธิ บายว่าเทคโนโลยีแยกออกเป็ น 3 ลักษณะคือ เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ(Process) เป็ นการใช้วทิ ยาศาสตร์ และความรู้ต่างๆ ที่ รวบรวมไว้อย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ผลในทางปฏิบตั ิ โดยเชื่อว่าเป็ นกระบวนการที่เชื่อมและ นาไปสู่ การแก้ปัญหาต่างๆได้ เทคโนโลยีลกั ษณะของผลผลิต (Product and Product) หมายถึงวัสดุและอุปกรณ์ที่เป็ นผลมาจาก การใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี เช่น ฟิ ล์มภาพยนตร์ เป็ นผลผลิตของวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีเช่นเดียวกับเครื่ องฉายภาพยนตร์ หรื อหนังสื อเป็ นผลผลิตของเทคโนโลยีเช่นเดียวกับ แท่นพิมพ์หนังสื อ เป็ นต้น เทคโนโลยีลกั ษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (Process and product) ซึ่ งใช้ร่วมกันสอง ลักษณะ เช่น เทคโนโลยีช่วยให้ระบบการรับส่ งข้อมูลเป็ นไปได้อย่างรวดเร็ ว ทั้งนี้เป็ นผลมาจาก


15

ความก้าวหน้าของการประดิษฐ์วสั ดุอุปกรณ์เพื่อการรับส่ งข้อมูล ตลอดจนเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้ระบบส่ งข้อมูลเป็ นไปได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ วและในลักษณะของกระบวนการซึ่ง แยกออกจากผลผลิตได้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งมีการทางานเป็ นปฏิสมั พันธ์กนั ระหว่าง ตัวเครื่ องกับโปรแกรม เป็ นต้น ชัยยงค์ พรหมวงศ์(2520) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้วา่ ตามรู ปศัพท์ภาษาอังกฤษคาว่า Technology ซึ่งหมายถึงการปฏิบตั ิการ และสิ่ งประดิษฐ์ที่อยูใ่ นรู ปแบบของการจัดระบบงานอัน ประกอบด้วยองค์สาม คือ ข้อมูลที่ใส่ เข้าไป ได้แก่ การกาหนดปัญหาหรื อการความต้องการ การตั้งวัตถุประสงค์ การ รวบรวมข้อมูลหรื อวัตถุดิบที่เกี่ยวข้องทุกแง่ทุกมุม กระบวนการ ได้แก่ การลงมือปฏิบตั ิการ การแก้ปัญหา การจาแนกแจกแจง การวิเคราะห์และ การสังเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์ ผลลัพธ์ คือ ผลที่ได้จากการแก้ปัญหาหรื อการดาเนินงาน สามารถวัดและประเมินผลได้ นอกจากนี้ยงั สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ทุกขั้นตอน ทัศนะเกีย่ วกับเทคโนโลยี จากความหมายของเทคโนโลยีดงั กล่าวมาแล้วทาให้ทีทศั นะหรื อความคิดเห็นเกี่ยวกับ เทคโนโลยีแตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็ น 2 ทัศนะคือ 1.

ทัศนะด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ (Science Technology) มุ่งเน้นการพัฒนาด้านวัสดุ อุปกรณ์ให้เจริ ญก้าวหน้าด้วยความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อสามารถ นามาประยุกต์ใช้กบั การดาเนินงานสาขาต่างๆ ให้มีปะสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น โดยทัว่ ไปวัสดุ อุปกรณ์เทคโนโลยีมีองค์ประกอบสาคัญคือ เครื่ องยนต์ กลไก ไฟฟ้ า อิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม เครื่ องมือหรื อวัสดุอุปกรณ์เหล่านี้ให้ความเห็นว่าเป็ นเทคโนโลยีประเภท เครื่ องมือ (Tools Technology)


16

2.

ทัศนะด้านพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Technology) เป็ นเทคโนโลยีที่มุ่งเน้น กระบวนการคิดและกระบวนการทางานอย่างเป็ นระบบ โดยอาศัยการผสมผสานความรู้ จากศาสตร์หลายๆด้านเข้าด้วยกัน เช่น มนุษยศาสตร์ จิตวิทยาสังคม จิตวิทยาการเรี ยน การสอน ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ลักษณะสาคัญของแต่ละงาน ในบางสถานการณ์อาจนาวัสดุอุปกรณ์เข้ามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในการ ดาเนินงาน แต่เป็ นเพียงเครื่ องมือสนับสนุนเท่านั้น

จากความหมายและลักษณะของเทคโนโลยีดงั กล่าวมาแล้วพอสรุ ปได้วา่ เทคโนโลยี หมายถึง วิธีการหรื อกระบวนการในการนาความรู้สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานมาประยุกต์ใช้อย่างเป็ น ระบบ เพื่อให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้นการดาเนินงานที่มีระบบและ วิธีการที่กา้ วหน้าจึงนิยมใช้คาว่าเทคโนโลยีนาหน้าเสมอ เช่น เทคโนโลยีการสื่ อสาร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นต้น สารสนเทศ(Information) ปัจจุบนั คาว่าสารสนเทศเข้ามามีบทบาทกับวงการต่างๆในสังคมกว้างขวาง และนิยมใช้ ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีและเรี ยกเป็ นคาเดียวกันว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อมาเพิ่มเติมเป็ น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ซึ่งแต่ละคามีพฒั นาการที่มีความหมาย ดังนี้ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ(2543) ได้ให้นิยามของสารสนเทศว่า หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ไม่วา่ จะปรากฏในรู ปแบบตัวอักษร ตัวเลข เสี ยงและภาพ หรื อในรู ปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายได้ และยังให้ความเห็นว่า สารสนเทศ เป็ นปั จจัยที่มี ความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการก่อให้เกิดสังคมแห่งปั ญญา และช่วยเกื้อหนุนการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้รับการตีความ การจาแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่ หรื อ ประมวลผลจนมีสาระอยูใ่ นตัวมันเอง สามารถสื่ อความหมายให้เกิดความเข้าใจกับผูท้ ี่ตอ้ งการ ใช้ขอ้ มูลนั้น และสามารถที่จะนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ โดยข้อมูลที่นามาประมวลผลนั้น อาจจะมาจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในหรื อภายนอกองค์กร


17

เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology) เมื่อเนื้อหาความรู ้มีปริ มาณเพิ่มขึ้นอย่างมากมายมหาศาลจึงนาคอมพิวเตอร์ มาใช้เพื่อ อานวยความสะดวกในการจาแนก จัดหมวดหมู่ จัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ ให้มีประสิ ทธิ ภาพ สู งขึ้น จึงเรี ยกวิธีการดาเนินงานเช่นนี้วา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology : IT) คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ(2543) ได้ให้ความหมายเทคโนโลยี สารสนเทศว่า หมายถึง ความรู้ในผลิตภัณฑ์หรื อในกระบวนการดาเนินงานใดๆ ที่อาศัย เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ ฮาร์ ดแวร์ การติดต่อสื่ อสาร การรวบรวมข้อมูลมาใช้ทนั การเพื่อก่อให้เกิด ประสิ ทธิภาพทั้งทางด้านการผลิต การบริ การ การบริ หาร และการดาเนินการ รวมทั้งเพื่อ การศึกษาและการเรี ยนรู้ ซึ่ งจะส่ งผลต่อความได้เปรี ยบทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการพัฒนา คุณภาพชีวติ และคุณภาพของประชาชนในสังคม ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ นการนา วิทยาการที่กา้ วหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ มาผสมผสานกับการสื่ อสารทาให้สารสนเทศมี ประโยชน์ในการใช้งานได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication Technology) ปัจจุบนั กระแสโลกาภิวตั น์แผ่อิทธิ พล ไปสู่สงั คมโลกทาให้ขอ้ มูลข่าวสารสามารถ เชื่อมโยงกันแบบเครื อข่ายหรื อใยแมงมุมได้ทวั่ ทุกมุมโลกโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีการสื่ อสาร เช่น โทรศัพท์ ดาวเทียม เส้นใยแก้วนาแสง ไมโครเวฟ ผสมผสานกัน เพื่อให้สื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็ วมากขึ้น เราจึงเรี ยกกระบวนการนี้วา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร (Information and Communication Technology : ICT ) ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบนั เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทอย่างแพร่ หลายเป็ นที่สนใจของคนทุกมุมโลกทุกสาขา สามารถนามาใช้ในการดาเนินงานและชีวติ ประจาวันได้อย่างกว้างขวาง การจัดการเรี ยนรู ้และ การศึกษาในสมัยนี้จึงมีหลักสู ตรที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเข้าไปด้วย เทคโนโลยีมีความสาคัญและ


18

เจริ ญรุ ดหน้าไปอย่างรวดเร็ วในปั จจุบนั ได้แก่เทคโนโลยีสารสนเทศ เพระปั จจุบนั อุปกรณ์หลาย ชนิดก็ตอ้ งพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ นคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ มือถือ อินเทอร์ เน็ต PDA,GPS ดาวเทียม และเมื่อไม่นานมานี้มีการออกพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็ นการบ่งบอกว่าสังคมให้ความสาคัญแก่คอมพิวเตอร์ มากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆเป็ นอย่างมาก เช่น ด้านวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัดผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าวิจยั การดารงชีวติ ประจาวัน ช่วยให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรม ต่างๆ สามารถทางานได้หลายอย่างเวลาเดียวกัน ช่วยให้การทางานใช้เวลาน้อยลง การดาเนินธุรกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุรกิจมากขึ้น ทาให้มีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูต่ ลอดเวลา ซึ่ งส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง ด้านการติดต่อสื่ อสาร ความเจริ ญก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ และปรากฏการณ์โลกไร้ พรหมแดนทาให้ผคู ้ นในสังคมมีการติดต่อสื่ อสารซึ่ งกันและกันได้อย่างรวดเร็ วและ กว้างขวาง ด้านผลผลิต ระบบการทางานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือจะช่วยให้ทางานได้มากขึ้น หรื อช่วยลดความเสี่ ยงในงานบางอย่างโดยใช้คอมพิวเตอร์ ทางานแทนซึ่งได้ผลถูกต้อง รวดเร็ ว

ลักษณะสารสนเทศที่ดี สารสนเทศที่ดีและเป็ นประโยชน์ในการใช้งานควรมีลกั ษณะดังนี้ ด้านเนื้อหา(Content)


19

-ความสมบูรณ์ควบคุม (Completeness) -ความสัมพันธ์กบั เรื่ อง (Relevance) -ความถูกต้อง (Accuracy) -ความเชื่อถือได้ (Reliability) -การตรวจสอบได้ (Verifiability) ด้านรู ปแบบ(Format) -ชัดเจน (Clarity) -ระดับรายละเอียด(Level of Detail) - รู ปแบบการนาเสนอ (Presentation) - สื่ อการนาเสนอ (Media) -ความยืดหยุน่ (Flexibility) ด้านประสิ ทธิภาพ(Efficiency) -ประหยัด (Economy) -เวลา(Time) - ความรวดเร็ วและทันต่อเหตุการณ์ (Timely) - การปรับปรุ งให้ทนั สมัย(Up-to Date) - มีระยะเวลา (Time Period) ด้านกระบวนการ(Process)


20

-ความสามารถในการเข้าถึง(Accessibility) - การมีส่วนร่ วม (Participation) - การเชื่อมโยง(Connectivity) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารทีใ่ ช้ ในชีวติ ประจาวัน ในสังคมปัจจุบนั ไม่วา่ ใครจะอยูท่ ี่ใด แม้ในเมืองหรื อชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่ อสารกับ บุคคลหรื อสังคมอื่นอยูเ่ สมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด หรื อการรับรู้ ข้อมูลข่าวสารในชีวติ ประจาวันด้วยการสื่ อสารต่างๆ เช่น หนังสื อพิมพ์ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็ นเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้ น นอกจากนี้ยงั ใช้เครื่ องมือ หรื อเทคโนโลยีกลไกเพื่ออานวยความสะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่ องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM : Automatic Teller/Technology Machine) การแสกนลายนิ้วมือในการเข้าปฏิบตั ิงานใน สานักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้ าโดยผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็ นต้น เหล่านี้เป็ นตัวอย่างการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวติ ประจาวัน ยิง่ ไปกว่านั้น ความเจริ ญก้าวหน้าของวิทยาการใหม่ๆ ก่อให้เกิด เครื่ องมือหรื อวิธีการในการอานวยความสะดวกในการใช้บริ การอย่างรวดเร็ ว เช่น การ ทาบัตรประจาตัวประชาชน สามารถให้บริ การโดยเชื่อมต่อ ระบบออนไลน์ (Online System) ซึ่ง เป็ นระบบสายตรงที่มีประโยชน์มาก และเป็ นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จาเป็ น กรณี ตวั อย่างเช่น การรับบริ การตามโรงพยาบาล ปั จจุบนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริ หาร จัดการ โดยผูป้ ่ วยสามารถบอกชื่อนามสกุลที่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่กส็ ามารถเรี ยกเวชระเบียนออกมา ได้อย่างรวดเร็ ว เพระโรงพยาบาลมีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงกันอย่างทัว่ ถึง ทาให้ เวชระเบียนที่อยูใ่ นรู ปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ถูกส่ งจากคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายไปปรากฏบน จอคอมพิวเตอร์ในห้องตรวจของแพทย์ได้ทนั ที เมื่อแพทย์ทาการตรวจวินิจฉัยโรค สามารถสัง่ การรักษาหรื อสัง่ ยา จากห้องแพทย์ไปสู่แผนกเอ็กซเรย์ แผนกจ่ายยา ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ กระแสโลกาภิวตั น์ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร


21

กระแสโลกาภิวตั น์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในปั จจุบนั ช่วยให้การเป็ นอยู่ ในชีวติ ประจาวันของเราสะดวกสบายขึ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับยุคก่อน การเดินทางและ ติดต่อสื่ อสารระหว่างกันสามารถทาได้ง่ายขึ้น มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาใช้งานใน ทุกสาขาอาชีพ เช่น การสื่ อสาร การธนาคาร การบิน วิศวกรรม สถาปั ตยกรรม การแพทย์ การศึกษาหรื อการเรี ยนการสอนซึ่งส่ งผลให้วทิ ยาการต่างๆเจริ ญก้าวหน้าและทันสมัยอย่าง รวดเร็ ว การติดตามข่าวสารที่เกิดขึ้นในส่ วนต่างๆของโลกได้ทนั เหตุการณ์ สามารถรับรู ้ขอ้ มูล ข่าวสารได้ในเวลาเดียวกันได้ท้ งั ที่อยูห่ ่างไกลกันคนละสถานที่ เช่น การถ่ายทอดสด การเสนอ ข่าวเหตุการณ์สาคัญ รายการแข่งขันกีฬา การถ่ายทอดสัญญาณผ่านระบบดาวเทียมจากประทศ ต่างๆ การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์พิมพ์รายงาน สร้างภาพกราฟิ ก เก็บข้อมูล สื บค้นข้อมูล ฟังเพลง รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการเรี ยนการสอน จึงนับได้วา่ คอมพิวเตอร์ เป็ นองค์ประกอบหนึ่งที่ สาคัญต่อการดารงชีวติ การศึกษาและการเรี ยนรู้เรื่ องเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยให้สามารถใช้ งานคอมพิวเตอร์ ให้เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาในทุกด้าน ช่วยส่ งเสริ มทักษะและสร้างความ สนุกสนานเพลิดเพลินไปพร้อมๆกัน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารจะอาศัยองค์ประกอบต่างๆ มากมาย เช่น การ ใช้โทรศัพท์ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เปลี่ยนคลื่นเสี ยงเป็ นคลื่นสัญญาณไฟฟ้ า และจะถูก เปลี่ยนให้เป็ นสัญญาณเสี ยงที่เครื่ องโทรศัพท์ปลายทาง ส่ วนการใช้โทรศัพท์มือถือในการ สื่ อสารคลื่นเสี ยงจะถูกเปลี่ยนเป็ นคลื่นสัญญาณไฟฟ้ าวิ่งผ่านอากาศไปยังสถานีแม่ข่ายหรื อ ดาวเทียมเพื่อส่ งต่อคลื่นสัญญาณไฟฟ้ าไปยังเครื่ องโทรศัพท์ปลายทาง ดังนั้นเครื่ อง โทรศัพท์มือถือทัว่ ไปจะต้องมีเครื่ องรับส่ งสัญญาณคลื่นเสี ยงที่เราพูดคุยกัน และในปั จจุบนั เรา สามารถสื่ อสารระหว่างกันโดยการใช้โทรศัพท์มือถือรุ่ นที่สามหรื อ 3G ส่ งสัญญาณเสี ยงและ ภาพพร้อมกัน โดยใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารและคอมพิวเตอร์ ทาให้เราสามารถเห็นภาพของคู่ สนทนาไปพร้อมๆกัน


22

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารทีม่ ีต่อสั งคม ในปั จจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีบทบาทที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการ พัฒนาสังคมในหลายด้าน ซึ่งสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ -

ช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึนจากการสื่ อสารที่รวดเร็ วและกว้างไกล

-

ช่วยทาให้วทิ ยาการต่างๆเจริ ญก้าวหน้าและทันสมัยอย่างรวดเร็ ว

-

การรับรู้และแลกเปลี่ยนข่าวสารของโลกเป็ นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ ว

-

สามารถเข้าถึงคลังข้อมูลข่าวสารจานวนมาก ซึ่ งสามารถนามาประยุกต์ในการพัฒนา อาชีพและคุณภาพชีวิต

-

สนับสนุนการทางานและกระบวนการผลิต เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ ในการวางแผน การ ออกแบบและการควบคุมระบบการทางาน

-

ส่ งเสริ มระบบบริ หารการจัดการในรู ปแบบใหม่ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการบริ หาร จัดการหน่วยงานหรื อองค์กร

-

กระจายโอกาสด้านการศึกษา ให้ผเู ้ รี ยนที่อยูห่ ่างไกล สามารถเรี ยนผ่านระบบการสอน ผ่านทางไกลหรื อผ่านดาวเทียมได้

-

สามารถเผยแพร่ สารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ สงั คมโลกได้โดยง่าย เช่น การ เผยแพร่ งานในอินเตอร์เน็ตตาบล เป็ นต้น

-

ช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง

เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สงั คมเปลี่ยนมาเป็ นสังคมสารสนเทศ ซึ่งในอดีตสังคมโลกได้ เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง ครั้งแรกจากสังคมความเป็ นอยูแ่ บบเร่ ร่อนมาเป็ นสังคมเกษตรที่ รู้จกั กับการเพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางการเกษตร ทาให้มีการสร้างบ้านเรื อนเป็ นหลักแหล่ง ต่อมามีความจาเป็ นต้องผลิตสิ นค้าให้ได้ปริ มาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมาผลิตแบบ อุตสาหกรรม ทาให้สภาพความเป็ นอยูข่ องมนุษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็ นสังคมเมือง มีการรวมกลุ่ม อยูอ่ าศัยเป็ นเมือง มีอุตสาหกรรมเป็ นฐานการผลิต จนมาถึงปัจจุบนั ซึ่งกาลังเปลี่ยนแปลงเข้าสู่


23

สังคมสารสนเทศ โดยคอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารมีบทบาทมากขึ้น มีการใช้เครื อข่าย เช่น อินเทอร์ เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่าง ๆ เกิดคาใหม่วา่ “ไซเบอร์สเปซ (Cyberspace)” มีการดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ใน ไซเบอร์สเปซ เช่น การพูดคุย การซื้อสิ นค้าและบริ การ การทางานผ่าน เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดสภาพเสมือนจริ งมากมาย อาทิ ห้องสมุดเสมือนจริ ง ห้องเรี ยน เสมือนจริ ง ที่ทางานเสมือนจริ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีแบบสุนทรี ยสัมผัสและตอบสนองตามความต้องการ ซึ่ งแต่เดิมการใช้เทคโนโลยีเป็ นแบบบังคับ เช่น การดูโทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเปิ ดเครื่ องรับโทรทัศน์ จะไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้ ถ้าสถานีส่งสัญญาณใดมาก็จะต้องชม หากไม่พอใจก็ทา ได้เพียงเลือกสถานีใหม่ แนวโน้มจากนี้ไปจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรี ยกว่า on demand เช่น เมื่อต้องการชมภาพยนตร์เรื่ องใดก็สามารถเลือกชมและดูได้ต้ งั แต่ตน้ รายการ หาก จะศึกษาหรื อเรี ยนรู ้กม็ ี education on demand คือสามารถเลือกเรี ยนตามต้องการได้ การ ตอบสนองตามความต้องการเป็ นหนทางที่เป็ นไปได้เพราะเทคโนโลยีมีพฒั นาการที่กา้ วหน้าจน สามารถนาระบบสื่ อสารมาตอบสนองตามความต้องการของมนุษย์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา โดยการ โต้ตอบผ่านระบบเครื อข่าย อาทิ วีดีโอคอนเฟอเรนซ์ ระบบประชุมบนเครื อข่าย ระบบ Teleeducation ระบบการค้าบนเครื อข่าย (E-commerce) ลักษณะของการดาเนิ นกิจกรรมเหล่านี้ทาให้ ขยายขอบเขตการทางานไปทุกหนทุกแห่งและดาเนินการได้ตลอด 24 ชัว่ โมง เห็นได้จาก ตัวอย่างที่มีมานานแล้ว เช่น ระบบเอทีเอ็ม ทาให้การเบิกจ่ายได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไป ใกล้ตวั ผูร้ ับบริ การมากขึ้น แต่ดว้ ยเทคโนโลยีที่กา้ วหน้ายิง่ ขึ้น การบริ การจะกระจายมากยิง่ ขึ้น จนถึงที่บา้ น ในอนาคตสังคมการทางานจะกระจายจนงานบางงานอาจนัง่ ทาที่บา้ นหรื อที่ใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็ นเศรษฐกิจโลก ความเกี่ยวโยงของเครื อข่ายสารสนเทศทาให้เกิดสังคมโลกาภิวตั น์ ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมี ขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็ นเศรษฐกิจโลก ทัว่ โลกจะมีกระแสการหมุนเวียน


24

แลกเปลี่ยนสิ นค้าบริ การอย่างกว้างขวางและรวดเร็ ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนเอื้ออานวยให้ การดาเนินการมีขอบเขตกว้างขวางมากยิง่ ขึ้น ระบบเศรษฐกิจของโลกจึงผูกพันกับทุกประเทศ และเชื่อมโยงกันแนบแน่นขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลกั ษณะผูกพัน หน่วยงานภายในเป็ นแบบเครื อข่าย มากขึ้น แต่เดิมการจัดองค์กรมีการวางเป็ นลาดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อ การสื่ อสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีข้ ึน มีการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในองค์กร ผูกพันกันเป็ นกลุ่มงาน มีการเพิ่มคุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้าง ขององค์กรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมีแนวโน้มที่จะสร้างองค์กรเป็ นเครื อข่ายที่มีลกั ษณะการ บังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลงและเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจ อื่นเป็ นเครื อข่ายสถานะภาพขององค์กรจึงต้องแปรเปลี่ยนไปตามกระแสของเทคโนโลยีเพราะ การดาเนินธุรกิจต้องใช้ระบบสื่ อสารที่มีความรวดเร็ ว ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและ รวดเร็ ว เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้ การตัดสิ นใจหรื อเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น แต่เดิมการตัดสิ นปั ญหาอาจมีหนทางให้เลือกได้ น้อย เช่น มีคาตอบเดียว ใช่และไม่ใช่ แต่ดว้ ยข้อมูลข่าวสารที่สนับสนุนการตัดสิ นใจ ทาให้วถิ ี ความคิดในการตัดสิ นปัญหาเปลี่ยนไป ผูต้ ดั สิ นใจมีทางเลือกได้มากขึ้น มีความละเอียดอ่อนใน การตัดสิ นปัญหาได้ดีข้ ึน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในปัจจุบนั ทาให้การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทัว่ โลกทาได้สะดวกมาก ขึ้น ดังจะเห็นได้จากการรับชมข่าวสาร รายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศ ต่าง ๆ ได้ทวั่ โลก สามารถรับรู ้ข่าวสารได้ทนั ทีที่ใช้เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตในการสื่ อสารระหว่าง กันและติดต่อกับคนได้ทวั่ โลก จึงเป็ นที่แน่ชดั ว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลกั ษณะเป็ นสังคมโลกมากขึ้น


25

สรุ ป เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกันข้อมูล ข่าวสาร และได้ผนวกเอาเทคโนโลยีหลักสองสาขาไว้ดว้ ยกัน คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสารคมนาคม และอาจรวมถึงระบบอัตโนมัติระบบงานพิมพ์ และระบบโทรทัศน์ ที่มีแนวโน้มจะผนวกเข้ากันด้วย วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมีความเป็ นมาที่ยาวนาน มากกว่าที่จะมาเป็ นเทคโนโลยีที่ใช้งานกันอยูใ่ นปั จจุบนั นี้ หากสังเกตจะเห็นว่าในปั จจุบนั การ ค้นคิดเทคโนโลยีเหล่านี้เปลี่ยนไปอย่างเร็ วมากจนผูใ้ ช้แทบจะตามไม่ทนั ซึ่งความรู ้ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารจะมีส่วนช่วยทาให้มองภาพใน อนาคตของเทคโนโลยีเหล่านี้ได้ คือ วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ และวิวฒั นาการสรุ ป ผูค้ นที่มีชีวติ อยูใ่ นปั จจุบนั และต่อไปในอนาคตจาเป็ นที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมเทคโนโลยีสองด้านคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่ อสารได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตผูค้ นทุกๆ ด้านไม่วา่ จะเรื่ อง การเมือง เศรษฐกิจการศึกษา การทางาน การรักษาโรค และการบันเทิง เป็ นต้น ซึ่งความสามารถ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารของผูค้ นในประเทศใดๆ ก็ตามสามารถใช้เป็ นตัวชื้วดั ความเจริ ญก้าวหน้าของประเทศ ส่ วนการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมา ประยุกต์ใช้ในองค์กรต้องกระทาอย่างรอบคอบ เพราะต้องลงทุนสู งและไม่ใช่ทุกองค์กรที่จะ ประสบความสาเร็ จในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาใช้ สาหรับใน ระดับประเทศภาครัฐต้องทาหน้าที่เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกในการส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารอย่างปลอดภัย เพื่อให้สามารถแข่งขันกับประเทศต่างๆของ เทคโนโลยีการสื่ อสารโทรคมนาคม


26

บรรณานุกรม http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_02.htm วันที่ 20มกราคม 2556 http://www.slideshare.net/piyadanaiw/ss-13467386

วันที่20มกราคม2556

http://my-teamz-1.blogspot.com/2011/12/blog-post.html วันที่20มกราคม2556 http://nattachaigun.blogspot.com/2009/05/1.html

วันที่20มกราคม2556

http://paungchompu.wordpress.com/2010/03/30/information-computer/ วันที่20มกราคม2556 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารสาหรับครู คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง 2554 วันที่15ธันวาคม 2555


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.