power point

Page 1

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร


สมาชิกในกลุ่ม นางสาวภัครมัย อินทิเดช รหัสนักศึกษา 544148050 ชื่อเล่น กอย


นายณัฐพล ทับทิมไสย์ รหัสนักศึกษา 544148068 ชื่อเล่น เบลล์


นางสาว กาญจนา ตาระคา รหัสนักศึกษา 544148075 ชื่อเล่น อุ้ม


1.กาเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งมีขึ ้นในช่วงเวลาประมาณ 20ปี ที่ผ่านมานี่เอง เป็ นเทคโนโลยีที่เกิดจากการรวมเทคโนโลยี2ประเภท เข้ าด้ วยกันคือ เทคโนโลยีโทรคมนาคม กับเทคโนโลยีรวบรวม จัดเก็บ ปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารสนเทศ และใช้ เทคโนโลยีโทรคมนาคมซึง่ พัฒนา มาจากเครื อข่ายโทรทัศน์และเครื อข่ายวิทยุมาสร้ างระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ขึ ้น เป็ นการนาเอาความสามารถของคอมพิวเตอร์ (คานวณ ประ มวนผล เปรี ยบเทียบ และตรวจสอบได้ รวดเร็ว ถูกต้ องแม่นยา) มารวมกับ ความสามารถของระบบโทรคมนาคม(ติดต่อได้ รวดเร็วและกว้ างไกล)ดังนัน้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มาจัดการเกี่ยวกับสารสนเทศนัน่ เอง


กาเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ


2.ประวัติโดยย่อของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร จากที่กล่าวมาแล้ วว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดจากการรวมกันของ เทคโนโลยี2ด้ าน คือ เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึง่ แต่ละด้ านมีประวัติหรื อพัฒนาการ ดังนี ้


เทคโนโลยีโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคมเริ่ มจากการประดิษฐ์ โทรเลขของ แซมวล มอร์ ส(Samual Morse)ในปี พ.ศ.2380 นับว่าเป็ นครัง้ แรกที่ ข่าวสารถูกแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายเป็ นระยะทางไกลๆ ได้ โดยอาศัยวิธีการเข้ ารหัสตัวอักษร เป็ นรหัสอื่นที่ประกอบด้ วยจุด (.) และขีด(-)เช่นสัญญาณขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน SOSจะเข้ ารหัสเป็ น …---…การรับส่งโทรเลขได้ ถกู นามาใช้ งานในเชิงการค้ าตังแต่ ้ พ.ศ.2387 เป็ นต้ นมา และในปี พ.ศ.2401 ได้ มีการวางสายเคเบิล ใต้ มหาสมุทรแอตแลนติก ทาให้ เกิดการสื่อสารข้ ามทวีประหว่าทวีป อเมริ กากับทวีปยุโรปขึ ้นเป็ นครัง้ แรก



• ในปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์(Alexander Graham Bell)ได้ ประดิษฐ์ โทรศัพท์และได้ ตงชุ ั ้ มสายโทรศัพท์แห่ง แรกที่เมืองนิวเฮเวน รัฐคอนเนตทิคตั สหรัฐอเมริ กา จากนันโทรศั ้ พท์ได้ ขยายตัวออกไปอย่างรวดเร็ว จนในปั จจุบนั สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ด้ วยระบบโทรศัพท์ทางไกลอัตโนมัติ นับเป็ นการพัฒนาอันยิ่งใหญ่ด้าน เทคโนโลยีเครื อข่ายโทรคมนาคม • ด้ านการสื่อสารไร้ สาย ได้ มีการพัฒนาการค้ นพบคลื่นวิทยุในปี พ.ศ.2430 โดย ไฮน์ริช แฮตน์(เฮิร์ต)(Heinrich Herth)


• และต่อมาปี พ.ศ. 2437 ถูกลิกอลโม มาร์ โคนี(Gugliemo Marconi) สามารถประดิษฐ์ เครื่ องรับส่งวิทยุเครื่ องแรกได้ สาเร็จ จากนันได้ ้ มีการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่สาคัญหลายอย่างดังต่อไปนี ้ • ในปี พ.ศ. 2477-2479 จอห์น เฟลมมิง(John Flemming)และ ลี เดอ ฟอเรสต์ (Lee De Forest) ได้ ประดิษฐ์ หลอดสุญญากาศ ซึง่ เป็ นจุดเริ่ มต้ นของการขยายการแปรรูปสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์


• ในปี พ.ศ.2497 วลาดิเมียร์ สวอริ คิน (Vladimir Zworykin) ได้ ประดิษฐ์ หลอดภาพโทรทัศน์ ซึง่ เป็ นที่มาของจอภาพคอมพิวเตอร์ ใน ปั จจุบนั • ในปี พ.ศ. 2490ชอกลีย์ บาร์ ดีน และ แบรตเทน (Schockley, Bardeen and Brattain)ได้ ประดิษฐ์ ทรานซิสเตอร์ ซึง่ เป็ นที่มา ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิแบบสารกึง่ ตัวนาไอซีและซีพียใู นคอมพิวเตอร์


• ในปี พ.ศ.2500 คิลบี และ นอยส์(Jack Kilby, Robert Noyce)ได้ ประดิษฐ์ วงจรรวมหรื อไอซี ซึง่ เป็ นเทคโนโลยียอ่ ส่วน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั มีสมรรถนะสูงและ มีขนาดเล็ก • ในปี พ.ศ.2504บริ ษัทเอทีแอนด์ที ได้ สร้ างดาวเทียมสื่อสาร เทลสตาร์ 1 เป็ นดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของโลก




เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ที่เราใช้ กนั อยูท่ กุ วันนี ้เป็ นผลมาจากการประดิษฐ์ คิดค้ น เครื่ องมือในการคานวณซึง่ มีวิวฒ ั นาการนานมาแล้ ว เริ่ มจากเครื่ องมือใน การคานวณเครื่ องแรกคือ”ลูกคิด”เมื่อประมาณ2,000-3,000ปี มาแล้ ว

ลูกคิด (Abacus)


จนกะทัง่ พ.ศ.2376นักคณิตศาสตร์ ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ ล แบบ เบจ ได้ ประดิษฐ์ เครื่ องวิเคราะห์สามารถคานวณค่าของตรี โกณมิติ ฟั งก์ชนั ต่างๆทางคณิตศาสตร์ การทางาของเครื่ องนี ้แบ่งเป็ น3ส่วน คือ ส่วนเก็บข้ อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ ระบบพลังเครื่ องยนต์ไอ น ้าหมุนฟั นเฟื อง มีข้อมูลอยูใ่ นบัตรเจาะรู คานวณได้ โดยอัตโนมัติ และ เก็บข้ อมูลในหน่วยความจา ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจได้ ถกู นามาพัฒนาสร้ างเครื่ องคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่เราจึงยกย่องให้ แบบเบจเป็ นบิดาแห่งเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลังจากนันได้ ้ มีผ้ ปู ระดิษฐ์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ขึ ้นมากมายทาให้ เป็ นการ เริ่ มยุคของคอมพิวเตอร์ อย่างแท้ จริ ง โดยแบ่งคอมพิวเตอร์ ออกเป็ น5ยุค


ยุคที่1 พ.ศ. 2489-2501 เมาช์ลีและเอ็กเคอร์ ตได้ ประดิษฐ์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ ในการ สารวจสามะโนประชากรประจาปี


ยุคที่2 พ.ศ. 2502-2506 มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ จงึ ทาให้ เครื่ องมี ขนาดเล็กลงและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้ มีความรวดเร็ว แม่นยามากยิ่งขึ ้น ในยุคนี ้ยังมีการคิดภาษาเพื่อใช้ กบั เครื่ อง คอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาฟอร์ แทน

ทรานซิสเตอร์


ยุคที่3พ.ศ.2507-2512 คอมพิวเตอร์ ในยุคนี ้เริ่ มต้ นภายหลังจากการใช้ ทรานซีสเตอร์ ได้ เพียง 5 ปี เนื่องจากได้ มีการประดิษฐ์ คิดค้ นเกี่ยวกับวงจรรวม (integrated-circuit)หรื อเรี ยกกันย่อๆว่า”ไอซี”(ic)ซึง่ ไอซีนี ้ทาให้ ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้ บนแผ่นชิป(chip)เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้ แทนทรานซิสเตอร์ ทาให้ ประหยัดเนื ้อที่ได้ มาก


ยุคที่4พ.ศ.2513-2532 เป็ นยุคที่นาสารกึง่ ตัวนามาสร้ างเป็ นวงจรรวมความจุสงู มาก ซึง่ สามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ ามาในวงจร เดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโคร โพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ ้น ทาให้ เครื่ องมีขนาด เล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทางานสูงและ รวดเร็ วมาก จึงทาให้ มีคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิดขึ ้นมาในยุคนี ้


เครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล(PC)

CPUในคอมพิวเตอร์


ยุคที่5 พ.ศ.2533-ปั จจุบนั • ในยุคนี ้ ได้ ม่งุ เน้ นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้ งานเครื่ อง คอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้ างเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบ พกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ ้นใช้ งาน ในยุคนี ้ • โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ ใช้ งานง่าย และมีความสามารถ สูงขึ ้น รวมทังโครงการวิ ้ จยั และพัฒนา เกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ในยุคนี ้ โดยหวังให้ ระบบ คอมพิวเตอร์ มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้ วยเหตุผล


องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. ระบบหุน่ ยนต์ หรื อแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือหุน่ จาลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้ วยเครื่ อง คอมพิวเตอร์ มีจดุ ประสงค์เพื่อให้ ทางานแทนมนุษย์ในงานที่ ต้ องการความเร็ ว หรื อเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงาน อุตสาหกรรม หรื อหุน่ ยนต์ก้ รู ะเบิด เป็ นต้ น


2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) • คือ การพัฒนาให้ ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถสังเคราะห์เสียงที่มี อยูใ่ นธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่ องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรื อ นาฬิกาปลุกพูดได้ (Talking Clock) เป็ นต้ น


3. การรู ้จาเสี ยงพูด (Speech Recognition System) • คือ การพัฒนาให้ ระบบคอมพิวเตอร์ เข้ าใจภาษามนุษย์ และ สามารถจดจาคาพูดของมนุษย์ได้ อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็ น การพัฒนาให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางานได้ ด้วยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผู้พิการ เป็ นต้ น


4. ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System) • คือ การพัฒนาให้ ระบบคอมพิวเตอร์ มีความรู้ รู้จกั ใช้ เหตุผลในการ วิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ ความรู้ที่มี หรื อจากประสบการณ์ในการ แก้ ปัญหาหนึง่ ไปแก้ ไขปั ญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี ้จาเป็ นต้ อง อาศัยฐานข้ อมูล (Database) ซึง่ มนุษย์ผ้ มู ีความรู้ความสามารถ เป็ นผู้กาหนดองค์ความรู้ไว้ ในฐานข้ อมูลดังกล่าว เพื่อให้ ระบบ คอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้ จากฐานความรู้นนั ้ เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์โรค หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทานาย โชคชะตา เป็ นต้ น


ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสาร • คาว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบคา2คาได้ แก่ เทคโนโลยี และ สารสนเทศ ซึง่ แต่ละคามีความหมายดังนี ้ • เทคโนโลยี(Technology )เป็ นคาที่มาจากรากศัพท์ละตินว่า Texere มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่า to Weave แปลว่า สาน เรี ยบเรี ยง ถักทอ ปะติดปะต่อ และ construct แปลว่า สร้ าง ผูกเรื่ อง ความรู้สกึ นึกคิดที่ก่อให้ เกิด ส่วนเทคโนโลยีรากศัพท์ภาษากรี ก มาจากคาว่า Techonologia แปลว่าการทางานอย่างเป็ นระบบ (Systematic Treatment)


คาร์ เตอร์ วี กู๊ด (Good,1973) ได้ ให้ ความหมายของ เทคโนโลยีวา่ หมายถึง การนาเอาวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ ในวงการ ต่างๆ โดยทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ ้น เอดการ์ เดล (Dale,1965)กล่าวว่า เทคโนโลยีไม่ใช่เครื่ องมือ แต่เป็ นแผนการ วิธีการทางานอย่างเป็ นระบบที่ให้ ผลบรรลุตามแผนการ


• ไฮนิช และ คนอื่นๆ (Heinech and Others, 1989) ได้ อธิบายว่าเทคโนโลยีแยกออกเป็ น 3 ลักษณะคือ • เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ(Process)เป็ นการใช้ วิทยาศาสตร์ และความรู้ตา่ งๆ ที่รวบรวมไว้ อย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ ผลในทางปฏิบตั ิ โดยเชื่อว่าเป็ นกระบวนการที่เชื่อมและนาไปสูก่ าร แก้ ปัญหาต่างๆได้


• เทคโนโลยีลกั ษณะของผลผลิต (Product and Product) หมายถึงวัสดุและอุปกรณ์ที่เป็ นผลมาจากการใช้ กระบวนการทาง เทคโนโลยี เช่น ฟิ ล์มภาพยนตร์ เป็ นผลผลิตของวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีเช่นเดียวกับเครื่ องฉายภาพยนตร์ หรื อหนังสือเป็ นผลผลิต ของเทคโนโลยีเช่นเดียวกับแท่นพิมพ์หนังสือ เป็ นต้ น


• เทคโนโลยีลกั ษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (Process and product) ซึง่ ใช้ ร่วมกันสองลักษณะ เช่น เทคโนโลยีช่วยให้ ระบบการรับส่งข้ อมูลเป็ นไปได้ อย่างรวดเร็ว ทังนี ้ ้เป็ นผลมาจาก ความก้ าวหน้ าของการประดิษฐ์ วสั ดุอปุ กรณ์เพื่อการรับส่งข้ อมูล ตลอดจนเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้ ระบบส่งข้ อมูลเป็ นไปได้ อย่าง กว้ างขวางและรวดเร็วและในลักษณะของกระบวนการซึง่ แยกออกจาก ผลผลิตได้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ ซงึ่ มีการทางานเป็ นปฏิสมั พันธ์กนั ระหว่างตัวเครื่ องกับโปรแกรม เป็ นต้ น


ชัยยงค์ พรหมวงศ์(2520) ได้ ให้ ความหมายของเทคโนโลยีไว้ วา่ ตามรูปศัพท์ภาษาอังกฤษคาว่า Technology ซึง่ หมายถึงการ ปฏิบตั ิการ และสิ่งประดิษฐ์ ที่อยูใ่ นรูปแบบของการจัดระบบงานอัน ประกอบด้ วยองค์สาม คือ 1.ข้ อมูลที่ใส่เข้ าไป ได้ แก่ การกาหนดปั ญหาหรื อการความต้ องการ การตัง้ วัตถุประสงค์ การรวบรวมข้ อมูลหรื อวัตถุดิบที่เกี่ยวข้ องทุกแง่ทกุ มุม


2.กระบวนการ ได้ แก่ การลงมือปฏิบตั ิการ การแก้ ปัญหา การจาแนกแจก แจง การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ การดาเนินงานบรรลุ วัตถุประสงค์ 3.ผลลัพธ์ คือ ผลที่ได้ จากการแก้ ปัญหาหรื อการดาเนินงาน สามารถวัด และประเมินผลได้ นอกจากนี ้ยังสามารถตรวจสอบย้ อนกลับได้ ทกุ ขันตอน ้


ทัศนะเกี่ยวกับเทคโนโลยี จากความหมายของเทคโนโลยีดงั กล่าวมาแล้ วทาให้ ทีทศั นะหรื อความ คิดเห็นเกี่ยวกับเทคโนโลยีแตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็ น 2 ทัศนะคือ ทัศนะด้ านวิทยาศาสตร์ กายภาพ (Science Technology) ทัศนะด้ านพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Technology)


สารสนเทศ(Information) สารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูลที่ได้ รับการตีความ การจาแนกแจก แจง จัดหมวดหมู่ หรื อประมวลผลจนมีสาระอยูใ่ นตัวมันเอง สามารถสื่อ ความหมายให้ เกิดความเข้ าใจกับผู้ที่ต้องการใช้ ข้อมูลนัน้ และสามารถ ที่จะนาไปใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปได้ โดยข้ อมูลที่นามาประมวลผลนันอาจจะ ้ มาจากแหล่งต่างๆ ทังภายในหรื ้ อภายนอกองค์กร


เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology) คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ(2543) ได้ ให้ ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศว่า หมายถึง ความรู้ในผลิตภัณฑ์หรื อ ในกระบวนการดาเนินงานใดๆ ที่อาศัยเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ ฮาร์ ดแวร์ การติดต่อสื่อสาร การรวบรวมข้ อมูลมาใช้ ทนั การเพื่อก่อให้ เกิด ประสิทธิภาพทังทางด้ ้ านการผลิต การบริ การ การบริ หาร และการ ดาเนินการ รวมทังเพื ้ ่อการศึกษาและการเรี ยนรู้ ซึง่ จะส่งผลต่อความ ได้ เปรี ยบทางด้ านเศรษฐกิจ การค้ า และการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ คุณภาพของประชาชนในสังคม ดังนันเทคโนโลยี ้ สารสนเทศจึงเป็ นการ นาวิทยาการที่ก้าวหน้ าทางด้ านคอมพิวเตอร์ มาผสมผสานกับการ สื่อสารทาให้ สารสนเทศมีประโยชน์ในการ ใช้ งานได้ อย่างกว้ างขวางมากขึ ้น


เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication Technology) ปั จจุบนั กระแสโลกาภิวตั น์แผ่อิทธิพล ไปสูส่ งั คมโลกทาให้ ข้อมูล ข่าวสารสามารถเชื่อมโยงกันแบบเครื อข่ายหรื อใยแมงมุมได้ ทวั่ ทุกมุม โลกโดยใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ ดาวเทียม เส้ นใยแก้ วนาแสง ไมโครเวฟ ผสมผสานกันเพื่อให้ สื่อสารกันได้ สะดวกรวดเร็วมากขึ ้น เราจึงเรี ยกกระบวนการนี ้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT )


ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ปั จจุบนั เทคโนโลยีได้ เข้ ามามีบทบาทอย่างแพร่หลายเป็ นที่สนใจ ของคนทุกมุมโลกทุกสาขาสามารถนามาใช้ ในการดาเนินงานและ ชีวิตประจาวันได้ อย่างกว้ างขวาง การจัดการเรี ยนรู้และการศึกษาใน สมัยนี ้จึงมีหลักสูตรที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเข้ าไปด้ วย เทคโนโลยีมี ความสาคัญและเจริ ญรุดหน้ าไปอย่างรวดเร็วในปั จจุบนั ได้ แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพระปั จจุบนั อุปกรณ์หลายชนิดก็ต้องพึง่ พา เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็ นคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ มือถือ อินเทอร์ เน็ต PDA,GPS ดาวเทียม และเมื่อไม่นานมานี ้มีการออก พระราชบัญญัติว่าด้ วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็ น การบ่งบอกว่าสังคมให้ ความสาคัญแก่คอมพิวเตอร์ มากขึ ้น


ลักษณะสารสนเทศที่ดี สารสนเทศที่ดีและเป็ นประโยชน์ในการใช้ งานควรมีลกั ษณะดังนี ้ • ด้ านเนื ้อหา(Content) • ด้ านรูปแบบ(Format) • ด้ านประสิทธิภาพ(Efficiency) • ด้ านกระบวนการ(Process)


เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ในสังคมปั จจุบนั ไม่วา่ ใครจะอยูท่ ี่ใด แม้ ในเมืองหรื อชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรื อสังคมอื่นอยูเ่ สมอไม่ทางใดก็ทาง หนึง่ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด หรื อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารใน ชีวิตประจาวันด้ วยการสื่อสารต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้ วนเป็ นเทคโนโลยีสารสนเทศทังสิ ้ ้น


กระแสโลกาภิวตั น์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร กระแสโลกาภิวตั น์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ปั จจุบนั ช่วยให้ การเป็ นอยูใ่ นชีวิตประจาวันของเราสะดวกสบายขึ ้นเมื่อ เปรี ยบเทียบกับยุคก่อน การเดินทางและติดต่อสื่อสารระหว่างกัน สามารถทาได้ ง่ายขึ ้น มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ ามาใช้ งานใน ทุกสาขาอาชีพ เช่น การสื่อสาร การธนาคาร การบิน วิศวกรรม สถาปั ตยกรรม การแพทย์ การศึกษาหรื อการเรี ยนการสอนซึง่ ส่งผลให้ วิทยาการต่างๆเจริ ญก้ าวหน้ าและทันสมัยอย่างรวดเร็ว การติดตาม ข่าวสารที่เกิดขึ ้นในส่วนต่างๆของโลกได้ ทนั เหตุการณ์


บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารที่มีต่อสังคม • ในปั จจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีบทบาทที่ก่อให้ เกิด ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสังคมในหลายด้ าน ซึง่ สามารถสรุปได้ ดงั นี ้ • ช่วยให้ ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้นจากการสื่อสารที่รวดเร็วและ กว้ างไกล • ช่วยทาให้ วิทยาการต่างๆเจริ ญก้ าวหน้ าและทันสมัยอย่างรวดเร็ว • การรับรู้และแลกเปลี่ยนข่าวสารของโลกเป็ นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว • สามารถเข้ าถึงคลังข้ อมูลข่าวสารจานวนมาก ซึง่ สามารถนามาประยุกต์ ในการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต


สรุ ป เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร หมายถึง เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกันข้อมูลข่าวสาร และได้ผนวกเอาเทคโนโลยีหลัก สองสาขาไว้ดว้ ยกัน คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สื่ อสารคมนาคม และอาจรวมถึงระบบอัตโนมัติระบบงานพิมพ์ และระบบโทรทัศน์ที่มีแนวโน้มจะผนวกเข้ากันด้วย


คาถาม 1.ให้ ความหมายของคาว่าเทคโนโลยีและคาว่าสารสนเทศ 2.ยกตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ ในชีวิตประจาวัน

3.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีกี่ยคุ สมัย



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.