การใช้ยา v.1

Page 1

เรื่อง การใช้ยา


กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีเด็กสาวจิตใจดี มีเมตตานามว่าใบหม่อน คนต่างชอบเธอ ถึงแม้รูปลักษณ์ภายนอกของเธอจะไม่ได้งดงามเหมือนจิตใ แต่เธอก็ยังคงเป็นที่ของเพือ่ นๆของเธอ เธอมีเพื่อนสนิทที่คบกันมาตั้งแต่สม อนุบาลอยู่สองคนชื่อฝนและฝ้าย ฝ้าย : เป็นยังไงบ้างพวกแก ปิดเทอมนี้ไปเที่ยวที่ไหนมาบ้าง ฝน : เราไปเที่ยวต่างจังหวัดกับครอบครัวมา สนุกมากๆ


วันหนึ่งฝ้ายก็แน่นท้องมาก ใบหม่อนและฝนต่างก็เป็นห่วง จึงจะพาฝ ไปห้องพยาบาลแต่ ฝ้ายเดินไม่ไหว ใบหม่อนจึงอาสาไปขอยาที่ห้องพยาบา ใบหม่อน : ฝ้ายเป็นอะไรมากไหม? ฝ้าย : ฉันเดินไม่ไหวแล้ว รู้สึกแน่นท้องมาก ฝน : งั้นใบหม่อนแกรีบวิ่งไปห้องพยาบาลขอยาครูมา ฉันจะอยู่ดูแล เอง


ด้วยความเป็นห่วงเพื่อน ใบหม่อนจึงวิ่งไปเอายาให้เร็วที่สุด ด้วยความประมาทจึงทาให้ใบหม่อนวิ่งไปชนกับเด็กชายคนหนึ่งชื่อ ต้นไม้ ผู้เป็นที่ชื่นชอบของเด็กสาวทั้งโรงเรียน ซึ่งก็ทาให้หัวใจขอ หม่อนนั้นเต้นไม่เป็นจังหวะเลยทีเดียว ใบหม่อน : ขอโทษคะ พอดีรีบไปหน่อย


ใบหม่อน : มาแล้วช้าไปหน่อย โทษทีนะพอดีเกิดอุบัติเหตุนิดหน่อยน ฝน : อ้าว! นั่นมันยาธาตุน้าขาวนิ แก้แน่นท้องได้ด้วยหรอ ใบหม่อน : ได้ สิ แก้ ป วดท้ อ ง ท้ อ งเสี ย ท้ อ งอื ด ท้ องเฟ้อ จุ ก เ แน่นท้อง แก้ได้หลายอาการเลยแหละ ครูห้องพยาบาลบอกว่าให้ฝ้าย 1-2 ช้อนโต๊ะ ประมาณ 15-30 มิลลิลิตรนะ แล้วก็บอกว่าให้อ่านฉ ก่อนทานด้วย


ฝ้าย : ขอบใจนะพวกแกที่ช่วยฉันนะ แต่ทาไมแกดูแปลกๆนะ มีอะไร เกิดขึ้นรึเปล่า ใบหม่อน : อืม ก็นิดหน่อย พอดีไปเผลอวิ่งชนต้นไม้มานะ ฝน : เฮ้ย!! แกเพี้ยนขนาดนี้เลยหรอวิ่งไปชนต้นไม้เนี่ย ใบหม่อน : ไม่ใช่ต้นไม้ที่เป็นพืช แต่เป็นคน เขาเท่ห์ดีนะ


ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ เพื่อให้ต้นไม้หันมามองตนบ้าง ใบหม่อนจึงเริ่มพ ตนเอง ให้ดูดีขึ้น หลังจากวันนั้น ใบหม่อนเริ่มด้วยการดูแลตนเอง คอย กาลังกาย ควบคุมปริมาณอาหาร แต่มันก็ยังไม่ได้ผลทันใจ ใบหม่อนจึงค ข้อมูลต่างๆในอินเทอร์เน็ต จึงเห็นรีวิว การกินยาลดน้าหนัก อาหารเสริมต ทาให้ ผอม ขาวได้ภายใน 1 เดือน ใบหม่อนจึงได้ตัดสินใจเลือกเส้นทางนี้


ผลจากการกินยาลดความอ้วน และยาผิวขาวของใบหม่อนนั้น เร เห็นผลอย่างไม่เหลือเชื่อ ใบหม่อนนั้นสวยขึ้นมากกว่าปกติ หลายเท คนที่โรงเรียนต่างจากันเกือบไม่ได้ เพราะเธอเปลี่ยนไปเป็นคนละค กันเลยและทุกคนก็ชื่นชมในความพยายามของเธอ และได้เตือนเธอว่า หยุดกินไม่งั้นมันอาจเกิดอันตรายได้ แต่ใบหม่อนก็ไม่สนใจคาเตือนใด


เมื่อเวลาผ่านไป อาการของใบหม่อนก็เริ่มหนักขึ้นเรื่อยๆ เ อาการที่เปลี่ยนไปอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีอาการเหนื่อยมากกว่าป ไม่หิว ข้า ว หงุด หงิด ง่า ย คอแห้ง ปากแห้ง มี อาการนอนไม่ห เพื่อนๆและพ่อแม่ต่างก็เป็นห่วงเธอ


แม่ : ใบหม่อน มากินข้าวสิลูก ใบหม่อน : ไม่กินค่ะแม่ เดี๋ยวจะอ้วน พ่อ : ลูกลงมาข้างล่างบ้าง อยู่แต่บนห้องตลอดเลย ช่วงนี้พ่อไม่เห็น ออกกาลังกายเลยนะ แม่ : เป็นอะไรรึเปล่าลูก ลูกดูหงุดหงิดผิดปกตินะ มีปัญหาอะไรหร เปล่าปรึกษาแม่ได้นะ


ค าพู ด ที่ ดู ผิ ด ปกติ ข องลู ก สาวซึ่ ง เมื่ อ ก่ อ นนั้ น เคยอ่ อ นหว อ่อนโยนกลับหายไปกลายเป็นคนละคน ทาให้ใจของพ่อแม่ข ใบหม่อนนั้นเหมือนสูญเสียสิ่งที่มีค่ามากที่สุดไป พ่อและแม่ของเ จึงต้องรับประทานยานอนหลับตามที่แพทย์แนะนา เพื่อให้ตนน


วันแล้ววันเล่าผ่านไป จนกระทั่งถึงวันที่ใบหม่อนเป็นลมหมด ไปที่ โ รงเรี ย น ฝ้ า ย ฝนและครู ไ ด้ รี บ ส่ ง น าตั ว ใบหม่ อ นส โรงพยาบาล เมื่อทุกคนรู้เรื่องตกใจมาก และทราบสาเหตุได้ทัน ว่าเป็นเพราะ ใบหม่อนทานยาที่ไม่ได้รับรองมาตรฐานจากอย. อยู่ในการดูแลของแพทย์หรือเภสัชกร ไม่ตรวจสอบข้อมูลให้แน่ชัด


เมื่อพ่อแม่ของใบหม่อนทราบเรื่องจากฝ้ายและฝนต่าง กลับเข่าทรุด แต่ด้วยความรักและเป็นห่วง กลัวลูกสาวเพ คนเดียวของตนจะเป็นอะไรไป ทั้งสองจึงรีบไปโรงพยาบ ทันทีและภาวนาอย่าให้ลูกสุดที่รักต้องจากตนไป


พ่อ : คุณหมอ ลูกผมเป็นยังไงบ้างครับ หมอ: คนไข้อ ยู่ใ นอาการปลอดภัยแล้ วนะครับ คงต้องพัก ผ่อนซัก และควรเลิกกินยาด้วยนะครับ ไม่งั้นอาจเกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตไ ครับ แม่ : เป็นยังไงบ้างลูกพ่อกับแม่เป็นห่วงลูกมากนะรู้ไหม อย่าทาอีกน


หลังจากวันนั้น ใบหม่อนก็เลิกกินยา และหันมาทากิจกรรม ออกกาลังกายให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงแทน เมื่อใบหม่อนกล เป็นคนเดิม พ่อ แม่ของใบหม่อนก็หายจากความเครียด วิตกก และครอบครัวก็ได้กลับมามีความสุขดังเดิม


วันวาเลนไทน์ก็มาถึง ใบหม่อนได้รวบรวมความกล้า ใบหม่อน : ต้นไม้ เราชอบนายนะ ต้นไม้ : ... เรื่องแบบนี้ต้องให้ผู้ชายเขาบอกสิ ยัยบ้า จริงๆเรา เธอตั้งแต่ครั้งแรกที่เจอแล้วล่ะ เราว่าเธอน่ารักดี ดูเป็นตัวของตัวเ ใบหม่อน :จริงหรอ ดีจัง เอ๋ ! แล้วฉันจะเปลี่ยนแปลงตัวเองท



ความรู้ เกีย่ วกับการใช้ ยา เป้าหมายการใช้ ยา 1.ใช้ ในการรักษาโรคให้ หายขาด 2.ใช้ ในการควบคุมโรคหรื อบรรเทาอาการ 3.ใช้ ในการป้องกันโรค ความหมายความเสี่ ยงต่ อการใช้ ยา

ความเสี่ ยงต่ อการใช้ ยา หมายถึง โอกาสทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ กบั ผู้ที่ใช้ ยา แต่ เกิดอ อื่นๆทีอ่ าจเป็ นอันตรายต่ อร่ างกายผู้ใช้ ยา อาการเหล่ านี้ เรียกว่ า อาการอันไม่ พงึ

ประสงค์ หรื อผลข้ างเคียงของยา เช่ น คลื่นไส้ อาเจียน นอนไม่ หลับ อาการผื่นลมพ แน่ นหน้ าอก หายใจไม่ ออก ช็อก(shock)หรื อหมดสติ ซึ่งพฤติกรรมการใช้ ยาทีไ่ ม่ ถูกต้ อง อาจมาจากการขาดความรู้ ความเข้ าใจเรื่ องการใช้ ยา


แนวปฏิบัติในการใช้ ยาทีถ่ ูกต้ อง 1. ใช้ ยาให้ ถูกโรค 2. ใช้ ยาให้ ถูกขนาด ขนาดของยามักกาหนดไม่ แน่ นอน ขึน้ อยู่กบั อายุ นา้ หนักตัว

รุ นแรงของโรค ภาวการณ์ ดือ้ ยาของผู้ป่วย ปัญหาการใช้ ยาไม่ ถูกขนาด มักจะเป็ น ทีก่ าหนดให้ รับประทานเป็ นช้ อนชา หรื อ ช้ อนโต๊ ะ ชาวบ้ านมักเข้ าใจว่ าช้ อนชา

หมายถึงช้ อนที่คนกาแฟหรื อชา ส่ วนช้ อนโต๊ ะ หมายถึง ช้ อนที่ใช้ ตักข้ ารับประทา ทีจ่ ริง ช้ อนชาและช้ อนโต๊ ะ มีมาตรฐานขนาดเทียบกับมาตราตวงวัดดังนี้ 1 ช้ อนชา = 5 มิลลิลติ ร (ประมาณ) 1 ช้ อนแกง = 10 มิลลิลติ ร (ประมาณ) 1 ช้ อนโต๊ ะ = 15 มิลลิลติ ร (ประมาณ)

3. ใช้ ยาให้ ถูกเวลา

+ ยาก่ อนอาหาร ควรทานก่ อนอาหารอย่ างน้ อย 30 นาที เพราะยาจะถูกดูดซึมได้ ด


+ ยาหลังอาหาร ให้ รับประทายหลังอาหารทันที หรื อประมาณ 15-20 นาที + ยาก่ อนนอน ให้ รับประทานหลังจากรับประทานอาหารเย็นไม่ ต่ากว่ า 4 ชั่วโมง

4. ใช้ ยาให้ ถูกบุคคล หมายถึง การใช้ ยาจะต้ องให้ เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วยแต

คน เนื่องจากยาชนิดเดียวกันอาจมีฤทธิ์ที่ทาให้ เกิดผลแตกต่ างกัน และผู้ป่วยแต่ ละ การตอบสนองต่ อยาแตกต่ างกัน 5. ใช้ ยาให้ ถูกทางและวิธี + ยาอม ไม่ ควรเคีย้ วหรื อกลืนเพราะยาอมจะออกฤทธิ์อย่างช้ าๆได้ ดใี นช่ องปาก

+ ยาอมใต้ ลนิ้ เป็ นยาทีจ่ ะถูกดูดซึมในปาก เพื่อให้ ผลในทันที หากกลืนลงไปจะไม ได้ ผล เช่ น ยาไนโตรกลีเซอรีนที่ใช้ รักษาโรคหัวใจขาดเลือด

+ ยาเหน็บ เช่ น เหน็บทีช่ ่ องคลอดหรื อทวารหนัก หากนาไปกิน หรื อเหน็บผิดช่ อง ก็จะไม่ ได้ ผล

+ ยาทา เช่ น ยาหม่ องเป็ นยาทีใ่ ช้ ทาภายนอก แต่ บางคนนาไปใช้ รับประทานแก้ ปว ท้ องซึ่งไม่ ใช่ วิธีการรักษาทีถ่ ูกต้ อง


คาแนะนาในการใช้ ยาบางประเภท

1. ยาปฏิชีวนะหรื อยาแก้อกั เสบ (Antibiotics) มีระยะเวลาของการใช้ ยาที่ต่อเนื่องแ อาการของโรคจะทุเลาหรื อหายแล้ วก็ตาม จะต้ องรับประทานยาต่ อไปอีกจนครบ ระยะเวลาตามที่แพทย์สั่ง

2. ไม่ ควรรับประทานยาปฏิชีวนะประเภทเตตราซัยคลีน (Tetracycline)พร้ อมกับน

อาหารที่ทาจากนม หรื ออาหารทีม่ แี ร่ ธาตุๆสู ง เนื่องจากนมจะจับกับธาตุแคลเซียม ธาตุอื่นๆในนมและอาหาร ทาให้ ยาถูกดูดซึมน้ อยลง จึงควรรับประทานยานีก้ ่ อน อาหาร 1 ชั่วโมง หรื อหลังอาหาร 1 ชั่วโมง

3. ยาซัลฟา(Sulfonamide)ชนิดต่ างๆ จะถูกขับถ่ ายทางปัสสาวะได้ ดเี มื่อปัสสาวะมีค

เป็ นด่ าง จึงควรดื่มนา้ ตามมากๆ ห้ ามดื่มเครื่ องดื่มที่ทาให้ ปัสสาวะเป็ นกรดเช่ น น นา้ มะนาว

3.1 ยาหยอดหู เช่ น ยาหยอดหูไนโตรฟูราโซน ใช้ รักษาหูอกั เสบ ควรเช็ดหนองให ก่อน แล้วหยอดยา 2-3 หยด วันละ 3-4 ครั้ง


3.2 ยาแก้ ผดผื่นคัน เช่ น คาลาไมน์ โลชั่น ใช้ บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ การใช เขย่าขวดก่อนใช้ ทาบริเวณทีต่ ้ องการ

3.3 ครีมเพรดนิโซโลน ใช้ ทาแก้ผดผื่นคัน แพ้ ยุงหรื อแมลง ถูกแมงกุพรุ นไฟ บรร อาการปวดแสบปวดร้ อนจากไฟไหม้ นา้ ร้ อนลวก ทาวันละ 2-3 ครั้ง

3.4 ครีมไมโคนาโซล ใช้ รักษากลากเกลือ้ น ทาบริเวณที่เป็ น วันละ 2-3 ครั้ง นาน 3 สั ปดาห์ ยานีอ้ าจจะระคายผิวหนังและแพ้ได้ 3.5 นา้ ยาโพวิโดนไอโอดี ใช้ ใส่ แผลถลอก หรื อแผลสด 3.6 นา้ เกลือ ใช้ ล้างแผล 3.7 ไฮโดรเจนเพอร์ ออกไซด์ ใช้ ชะล้างแผลมีหนอง 3.8 แอลกอฮอล์ ใช้ เช็ดล้างรอบแผล ฆ่ าเชื้อโรค 3.9 ครีมนา้ มันระกา ใช้ ทาแก้ ปวด บวม เคล็ด ยอก อาการอันไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา


การใช้ ยาในแต่ ละครั้ง นอกเหนือจากผลของการรักษาที่เราต้ องการแล้ว ยาแต

อย่างยังอาจส่ งผลให้ เกิดอาการอันไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยาด้ วย ซึ่งมีสาเหตุมา หลายปัจจัย เช่ น - การรับยาติดต่ อกันเป็ นเวลานาน เป็ นอาการที่ไม่ พงึ ประสงค์ ซึ่งเป็ นผลสื บ

เนื่องมาจากการทีผ่ ้ ูป่วยได้ รับยาติดต่ อกันมาเป็ นเวลานาน ลักษณะอาการอาจ

แตกต่ างจากผลข้ างเคียงจากการใช้ ยาและพิษของยา เช่ น ยากลุ่มสเตียรอยด์ อ ให้ เกิดความผิดปกติทางจิตใจ หรื อทาให้ กล้ ามเนื้อลีบ และกระดูกผุ

- การดือ้ ยา เป็ นการที่ใช้ ยาแล้ วไม่ สามารถทาลายเชื้อโรคได้ เนื่องจากเชื้อโรคดือ้

พบมากทีส่ ุ ดมักเนื่องมาจากการใช้ ยาปฏิชีวนะไม่ ตรงกับชนิดของเชื้อโรค ใช้ ไม ขนาด หรื อใช้ ในระยะเวลาที่น้อยไป หรื อไม่ เพียงพอต่ อการทาลายเชื้อโรค

- การติดยา ยาบางชนิดถ้ าใช้ ไม่ ถูกต้ อง หรื อใช้ ต่อเนื่องกันไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง จ

ให้ ติดยาชนิดนั้นได้ เช่ น มอร์ ฟีน ยากล่ อมประสาท ยาแก้ไอบางชนิด เป็ นต้ น

- อันตรายจากพิษของยา มักเกิดจากการใช้ ยาเกินขนาดโดยอาจรู้ เท่ าไม่ ถึงการณ

รับประทานเกินขนาดด้ วยความตั้งใจ เมื่อพบเห็นต้ องรีบนาส่ งแพทย์ทันที


- การเสื่ อมและการหมดอายุของยา ยาทุกชนิดจะมีการเสื่ อมและหมดอายุได้ กา

เสื่ อมสภาพของยาอาจเกิดก่ อนการหมดอายุของยา ซึ่งโดยมากมักเกิดจากการเ

ไม่ ถูกวิธี เช่ น ถูกความร้ อน ความชื้น หรื อแสงแดดทาให้ ยามีลกั ษณะทีเ่ ปลีย่ นไ

จากเดิม เช่ น ยาเม็ดจะแตกร่ วน หรื อสี เปลีย่ นไป ยานา้ จะตกตะกอนแน่ นเขย่ าไ

กระจาย หรื อแยกชั้น สี กลิน่ และรสเปลีย่ น ยาแคปซู ลจะมีลกั ษณะเยิม้ หรื อขึน้ ยาที่มีลกั ษณะเช่ นนีไ้ ม่ ควรนามาใช้ เพราะอาจทาให้ เกิดอันตรายจนถึงตายได้ ตามปกติแล้ วยาทีม่ อี ายุส้ั นหรื อเสื่ อมสภาพง่ าย กฎหมายจะกาหนดให้ บอกวัน หมดอายุไว้ บนภาชนะบรรจุ เช่ น กล่ อง หรื อหลอด โดยใช้ คาว่ า Expiry Date หรื อ

Expiration Date หรื อใช้ ย่ อว่ า Exp. หรื อใช้ คาว่ า Used before แล้ วตามด้ วยวันเดือนป

หมดอายุ

สาหรับยาทีม่ อี ายุยาว หรื อเสื่ อมสภาพช้ า แม้ ว่ากฎหมายจะไม่ บังคับให้ บอกวัน

หมดอายุไว้ กไ็ ม่ ควรเก็บไว้ นานเกิน5ปี นับจากวันทีผ่ ลิต ซึ่งมักจะเขียนต่ อท้ ายคาว

Manufacturing Date หรื อใช้ ย่อว่ า Mfg. Date หรื อ Mfd. เพราะยาจะเสื่ อมคุณภาพ แล

ต้ องดูลกั ษณะของสี กลิน่ รส ประกอบด้ วยว่ าเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมหรื อไม่


การแพ้ ยา

การแพ้ ยาเป็ นอาการที่ไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยาในลักษณะหนึ่ง ทีไ่ ม่ สามา

คาดการณ์ ได้ ว่าผู้ใช้ ยาคนใดจะเกิดอาการเหล่ านีข้ นึ้ และอาการเหล่ านีพ้ บในผู้ใช้ ย

รายเท่ านั้น ไม่ ใช่ ทุกรายทีใ่ ช้ ยาดังกล่ าว ซึ่งส่ วนใหญ่ แล้ วมักเกิดจากการทีต่ วั ยาไป กระตุ้นภูมิต้านทานของร่ างกาย ทาให้ เกิดปฏิกริ ิยาตอบสนองเป็ นอาการแพ้ โดย

อาการเหล่ านีม้ รี ะดับความรุ นแรงแตกต่ างกันไป บางอย่ างมีความแรงมาก เช่ น ท

ผู้ใช้ ยาถึงขั้นช็อก หายใจไม่ ออก ในขณะทีอ่ าการแพ้ ยาบางชนิดอาจไม่ รุนแรงมาก

เช่ น อาการผื่นคันที่ผวิ หนังหรื ออาการอื่น ๆ นอกจากนีร้ ะยะเวลาแพ้ยาบางครั้งเก

อาการอย่างรวดเร็วภายหลังการได้ รับยาทันที แต่ บางรายอาการแพ้ยาภายหลังการ ได้ รับยาเป็ นเวลานานหลายสั ปดาห์ หรื อเป็ นเดือน ผลข้ างเคียงของยา ผลข้ างเคียงของยา เป็ นอาการทีไ่ ม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยาอีกลักษณะหนึ่ง

สามารถระบุได้ ชัดเจนว่ าอาจจะเกิดขึน้ กับผู้ใช้ ยานีไ้ ด้ ทุกวัน เพราะเป็ นอาการทีเ่ ก

จากกลไกการออกฤทธิ์ของยาปกติ เช่ น ยาคลอร์ เฟนิรามีน ทาให้ เกิดอาการง่ วงซึม


อย่ างไรก็ตามอาการผลข้ างเคียงของยามีระดับความรุ นแรงแตกต่ างกัน ขึน้ อ

การตอบสนองของยากับผู้ใช้ ยาแต่ ละคน บางคนอาจตอบสนองต่ อยามากทาให้ เก

อาการข้ างเคียงเหล่ านีไ้ ด้ มากและอาจรุ นแรงจนผู้ป่วยไม่ สามารถยอมรับการใช้ ยา ได้ อกี กลุ่มทีม่ คี วามเสี่ ยงต่ อการแพ้ ยา หรื อผลข้ างเคียงของยา

อาการตอบสนองของยาขึน้ อยู่กบั ธรรมชาติของสภาวะร่ างกาย เพศ โรคหร อาการของผู้ป่วย พันธุกรรม หรื อปัจจัยอื่นๆ กลุ่มทีเ่ สี่ ยงต่ อการเกิดอาการแพ้ ยา - ผู้ตดิ เชื้อเอชไอวี - ผู้ป่วยทีม ่ ีการติดเชื้อไวรัสร่ วมด้ วย - ผู้ป่วยทีม ่ ีประวัตกิ ารแพ้ ยาทีม่ ีโครงสร้ างทางเคมีแบบเดียวกันมาก่ อน - ผู้ป่วยโรคหืดหอบ - ผู้ป่วยทีม ่ หี น่ วยพันธุกรรม หรื อยีน(gene) เฉพาะบางชนิด


กลุ่มทีเ่ สี่ ยงต่ อการเกิดอาการผลข้ างเคียงของยา - ผู้ที่มกี ารเจ็บป่ วยทีร่ ุ นแรง - ผู้ป่วยทีม ่ ีการทางานของไตน้ อยกว่ าปกติ เป็ นโรคตับ - ผู้ป่วยทีม ่ ีการใช้ ยาหลายชนิดร่ วมกัน - ผู้ตดิ เชื้อเอชไอวี - ผู้ตดิ เชื้อเฮอร์ ปีส (Herpes Infection) - ผู้ทตี่ ดิ แอลกอฮอล์ - ผู้ป่วยโรคเอสแอลอี(SLE)

แนวปฏิบัติเมื่อเกิดการแพ้ยา 1.

เมื่อเกิดการแพ้ ยาอย่ างรุ นแรง ผู้ป่วยควรหยุดการใช้ ยาแล้ วแจ้ งแพทย์ ทันทีเพ

ตรวจสอบ และรับการแก้ไขอาการที่เกิดจากการใช้ ยาที่เกิดขึน้ ซึ่งหากพบว่ าเ

การแพ้ ยาจนเกิดอาการผิดปกติรุนแรงจริง ก็ไม่ ควรใช้ ยานั้นอีกเด็ดขาดตลอด 2.

เมื่อเกิดการแพ้ ยาอย่ างไม่ รุนแรง ผู้ป่วยควรสั งเกตดูว่าอาการนั้น เกิดจากการ

ยาหรื อไม่ และต้ องมีการเฝ้าระวังเนื่องจากอาการดังกล่ าวอาจเกิดความรุ นแร


แนวปฏิบัติเมื่อเกิดผลข้ างเคียงของยา 1.

เมื่อเกิดผลข้ างเคียงของยาที่มอี าการรุ นแรง โดยทัว่ ไปแพทย์ หรื อเภสั ชกรจะ

แจ้ งผลข้ างเคียงของยาให้ ผ้ ูป่วยทราบโดยให้ ข้อมูลไว้ บนฉลากยาทีจ่ ่ ายให้ ผ้ ูป่

เพื่อเตือนให้ ผ้ ปู ่ วยระมัดระวังตนเอง พร้ อมแนะนาวิธีปฏิบัติตนทีจ่ ะช่ วยลด อาการข้ างเคียงเหล่านั้น 2.

เมื่อเกิดผลข้ างเคียงของยาทีม่ ีอาการไม่ รุนแรง โดยทัว่ ไปผลข้ างเคียงทีไ่ ม่ รุน

มักจะไม่ เป็ นปัญหาใด กับการใช้ ยา ซึ่งหากอาการข้ างเคียงนั้น ผู้ป่วยสามาร

ได้ โดยไม่ รบกวนการใช้ ชีวติ ประจาวันของผู้ป่วยก็มิต้องดาเนินการใด ๆ แต่ ห อาการนั้นมีการพัฒนาความรุ นแรงมากขึน้ หรื อเกิดอาการอย่ างต่ อเนื่องจน

รบกวนการใช้ ชีวติ ปกติ ผู้ทใี่ ช้ ยาก็อาจขอคาปรึกษาจากเภสั ชกรหรื อแพทย์ ใ แนะนาวิธีการปฏิบัตติ ัวที่จะสามารถลดอาการข้ างเคียงได้

แนวทางปฏิบัติตนเพื่อการใช้ ยาอย่างปลอดภัย

การใช้ ยาอย่างปลอดภัย หมายถึง การทาให้ ความเสี่ ยงจากการใช้ ยาลดลง แล


1. คุยกับแพทย์ หรื อเภสั ชกร โดยบอกรายละเอียดเกีย่ วกับผู้ป่วยในเรื่ องทีเ่ กีย่ วข้ อ อาการป่ วยให้ มากทีส่ ุ ด ในประเด็นต่ อไปนี้ 1.1 ประวัตกิ ารแพ้ ยาของผู้ป่วย 1.2 ข้ อจากัดของผู้ป่วยบางประการต่ อการใช้ ยา เช่ น ปัญหาการกลืนยา

1.3 ภาวะของร่ างกายในขณะนั้น เช่ น อยู่ในระหว่ างการตั้งครรภ์ หรื อให้ นม 1.4 สอบถามข้ อสงสั ยอย่างละเอียดเพื่อหลีกเลีย่ งการใช้ ยาอย่างผิด ๆ 2. ทาความรู้ จักยาทีใ่ ช้ ทั้งยาทีแ่ พทย์ สั่งจ่ าย หรื อซื้อเองจากร้ านขายยา เช่ น 2.1 ชื่ อสามัญทางยา เพื่อหลีกเลีย่ งการใช้ ยาซ้าซ้ อน หรื อได้ รับยาเกินขนาด 2.2 ชื่ อทางการค้ าของยา

2.3 ลักษณะทางกายภาพของยา เมื่อสภาพของยาเปลีย่ นแปลงไปอาจก่อให้ เก อันตรายต่ อร่ างกายได้ 2.4 ข้ อกาหนดการใช้ ยา 2.5 ข้ อจากัดของยาภายใต้ สถานการณ์ ต่างๆ ที่กาหนดให้ หยุดใช้ ยาทันที 2.6 ผลข้ างเคียงของยาหรื อปฏิกริ ิยาของยาที่ควรระมัดระวัง


3. อ่านฉลากยาและปฏิบัติตามอย่างเคร่ งครัด 3.1 ทาความเข้ าใจรายละเอียดเกีย่ วกับยาจากฉลากยาให้ ชัดเจน 3.2 เก็บยาในเหมาะสมตามทีร่ ะบุในฉลากยา

3.3 ไม่ ควรเก็บยาต่ างชนิดกันในภาชนะเดียวกัน และไม่ ควรเก็บยาสาหรับใช ภายนอก และยาสาหรับใช้ ภายในไว้ ใกล้เคียงกัน 4. หลีกเลีย่ งการเพิม่ ความเสี่ ยงต่ อการเกิดปฏิกริ ิยาระหว่ างยา 4.1 ระลึกถึงและหลีกเลีย่ งอย่างเคร่ งครัดต่ อการรับประทานยา อาหาร หรื อ เครื่ องดื่มที่ทาให้ เกิดปฏิกริ ิยากับยาที่รับประทาน 4.2 ทุกครั้งที่ผ้ ปู ่ วยจะต้ องรับยาใหม่ เพิม่ เติม ควรนายาเดิมทีร่ ับประทานอย่ แสดงให้ แพทย์ หรื อเภสั ชกรได้ ตรวจสอบด้ วยว่ ามียาใดทีซ่ ้าซ้ อน 5. สั งเกตตัวเองต่ อผลของยาและอาการข้ างเคียงจากการใช้ ยา

5.1 สั งเกตตนเองหรื อผู้ป่วยว่ าผลของการใช้ ยาเป็ นไปตามแผนการใช้ ยาหรื อ หากไม่ เป็ นเช่ นนั้น ควรไปพบแพทย์หรื อเภสั ชกรอีกครั้ง

5.2 ให้ ความสาคัญกับอาการต่ างๆ ของร่ างกายผู้ป่วย หากพบสิ่ งผิดปกติ คว


5.3 สอบถามแพทย์ หรื อเภสั ชกรล่วงหน้ าว่ า ควรปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดอ ข้ างเคียงทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ หลังการใช้ ยา

ทีส่ าคัญคือผู้ป่วย หรื อญาติผ้ ูป่วยควรระลึกอยู่เสมอว่ า การใช้ ยาอาจก่ อให้ เกิด

อันตรายต่ อร่ างกายได้ ดังนั้นการมีส่วนร่ วมกับแพทย์ หรื อเภสั ชกร และผู้เชี่ยวชา

การปฏิบัติตามวิธีการใช้ ยาอย่ างถูกต้ องเหมาะสมกับตัวท่ านเอง หรื อผู้ป่วย จะทา ความปลอดภัยจากการใช้ ยามากขึน้ กิจกรรมการมีส่วนร่ วมป้องกันความเสี่ ยงต่ อการใช้ ยา 1.

อ่ านฉลากยาทุกครั้งก่อนใช้ และใช้ ยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่ งครัด หากมีข้อ สงสั ยให้ ปรึกษาเภสั ชกร หรื อแพทย์ ก่อนใช้ ทุกครั้ง

2.

ดูแลให้ คนในครอบครัวใช้ ยาตามทีแ่ พทย์ สั่งอย่ างเคร่ งครัด ถ้ าเกิดผู้ใช้ ยามีอา แพ้ยา หรื ออาการผิดปกติให้ นาส่ งแพทย์ทนั ที

3.

เข้ าร่ วมกิจกรรมการประชาสั มพันธ์ เรื่ องเกีย่ วกับยา เพื่อลดความเสี่ ยงทีเ่ กิดข จากการใช้ ยา ซึ่งจัดโดยหน่ วยงานทางสาธารณสุ ขในท้ องถิ่น

4.

ร่ วมมือกับเพื่อนนักเรียนจัดกิจกรรมกลุ่มอาสาสมัครทั้งในสถานศึกษา และใ


THE END


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.