Aw 178 p01 100 pages for web

Page 1



รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท แหลมทองสหการ จำ�กัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำ�กัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำ�กัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำ�กัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำ�กัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำ�กัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำ�กัด บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำ�กัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จำ�กัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท ซันฟีด จำ�กัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด

28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53.

บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท ยู่สูง จำ�กัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำ�กัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำ�กัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำ�กัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำ�กัด บริษัท บุญพิศาล จำ�กัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำ�กัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จำ�กัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำ�กัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำ�กัด บริษัท เจบีเอฟ จำ�กัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด

ร า ก นา

ัน ภนิ


คณะกรรมการบริ ห าร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำ�ปี 2560-2561

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นางสาวสุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจำ�ลอง เติมกลิ่นจันทน์

นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำ�กัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำ�กัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จำ�กัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำ�กัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำ�กัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท ซันฟีด จำ�กัด


บรรณาธิการ

แถลง

ลุ้นกันทุกปี ล่วงเลยมา 2 เดือน ภาษีกากถั่วเหลือง 2% ก็ยังไม่ประกาศออกมา ทัง้ ๆ ทีป่ ระกาศนโยบายน�ำเข้าของกระทรวงพาณิชย์กอ็ อกมาเมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม 2560 การท�ำงานแยกกันต่างกระทรวงต่างมีภาระหน้าที่ ขบวนการออกประกาศ ระเบียบต่างๆ ที่หลากหลายวิธีการ ท�ำให้เรื่องง่ายๆ ต้องดูยุ่งยากและเป็นอุปสรรคในการท�ำงานของ ภาคเอกชน ที่ต้องการความชัดเจนและรวดเร็วในการวางแผน ทั้งๆ ที่เรื่องการออก ระเบียบน�ำเข้ากากถั่วเหลืองก็เป็นเรื่องที่ท�ำมานานมาก และมติคณะรัฐมนตรีก็มีมติ ให้ด�ำเนินการตามระเบียบเดิมที่เคยปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่อง ไม่มีอะไรที่แตกต่างไปเลย แต่ทำ� ไมฝ่ายปฏิบตั งิ านจะต้องท�ำให้เรือ่ งง่ายๆ จะต้องล่าช้าเนิน่ นานล่วงเลยเวลา ท�ำให้ การท�ำธุรกิจต้องมาเสียหายจากภาระภาษีที่จะต้องจ่ายในอัตราที่สูงไว้ก่อน แล้วจะต้อง มาท�ำเรือ่ งขอคืน ซึง่ ก็ตอ้ งใช้เวลานานมากร่วม 7 - 8 เดือน ท�ำให้ภาระเงินทุน หรือวงเงิน ที่ธุรกิจต้องส�ำรองไว้ต้องเป็นภาระต้นทุนที่ไม่ควรจะเกิดขึ้นเลย (บ่น บ่น บ่น) คนเลีย้ งสัตว์เดือดร้อนจากต้นทุนทีส่ งู ขึน้ ผูบ้ ริโภคก็ไม่มกี ำ� ลังซือ้ ปริมาณสัตว์ทเี่ ลีย้ ง ก็มีมาก ราคาก็ตก เดือดร้อนกันไปทั่วทุกชนิดสัตว์ ใครจะมาช่วยได้ ก็คงต้องช่วยตัวเอง ไปก่อน แต่นอกเหนืออื่นใด สิ่งส�ำคัญที่จะต้องอยู่ให้ได้ คือ มาตรฐานสินค้า คุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ที่จะต้องท�ำให้ได้อย่างมีเสถียรภาพ มั่นคง ยั่งยืน และความมั่งคั่งจะตามมา เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสมและผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดผู้บริโภค และที่จะลืมไม่ได้ ที่จะต้องใส่ใจดูแลโลกของเราคือ การรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นจุดขายที่ดี และเป็นที่ ต้องการของผูบ้ ริโภคจากทัว่ โลก และถ้าท�ำได้ดกี อ่ น ย่อมจะท�ำให้ธรุ กิจปศุสตั ว์ เจริญก้าวหน้า เป็นผู้น�ำตลาดแน่นอน บก.


ธุรกิจอาหารสัตว์

วารสาร

ปีที่ 35  เล่มที่ 178  ประจำ�เดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

Contents

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

 Thailand

Focus สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ และแนวโน้ม ปี 2561----------------------------------------------------------------5

 Food

Feed Fuel อาหารสัตว์แพง ถึงเวลารัฐแก้ปัญหาจริงจัง----------------------------------------------------------------------------------------- 42 ผุดแผนเลี้ยงปู่ย่าพันธุ์ไก่ไข่ หนุนปลดระวางแม่ไก่ 2 ล.ตัว------------------------------------------------------------------ 44 หมู-ไก่-ไข่ราคาตก... วัตถุดิบอาหารสัตว์แพง ปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข------------------------------------------------------- 45 ราคาข้าวโพดแพง หลังมาตรการ 1 : 3 จริงหรือ?------------------------------------------------------------------------------ 48

 Market

Leader 2 ทางแก้ ปม ‘หมูสหรัฐฯ′’ เกษตรตรวจรับรองฟาร์ม - ติดฉลาก----------------------------------------------------------- 50 ยกมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ หวังส่งออก 2.2 แสนล.---------------------------------------------------------------------------- 54 นายก ส.กุ้งไทย ชี้อุตฯ กุ้งไทย ปี 60 สามารถแก้ปัญหาโรคได้ ด้วยแนวทางการจัดการการเลี้ยงที่ได้ผล การเลี้ยงโดยรวมประสบความส�ำเร็จ แนวโน้มการผลิตกุ้งดีขึ้นเรื่อยๆ----------------------------------------------------------------------------------------------------56

 Around

the World การฟื้นฟูและการจัดการฟาร์ม หลังสภาวะน�ำ้ ท่วม------------------------------------------------------------------------------- 62 ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัสเชื้อซัลโมเนลลา สปีชี่ อี.โคไล และเคลบเซลลา สปีชี่ ที่ดื้อยาต้านจุลชีพจากอาหารสุกรที่รางอาหาร------------------------------------------------------------------------ 65 ขอบคุณ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 80

  ดำ�เนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย   : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร     รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล     กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล  นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์     บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ    กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง  นางสาวกรดา พูลพิเศษ  นายธีรพงษ์ ศิริวิทย์ภักดีกุล  

   ประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษา

สำ�นักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265   Email: tfma44@yahoo.com   Website: www.thaifeedmill.com




Thailand Focus

1. สถานการณ์ ปี 2560

กอบ : ภาพป ระ

» ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

AJFAM

สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ และแนวโน้ม ปี 2561

1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ปี 2555/56 - 2559/60 การผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 872.63 ล้านตัน ในปี 2555/56 เป็น 1,075.33 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.01 ต่อปี ปี 2559/60 การผลิตมีปริมาณ 1,075.33 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 972.36 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 10.59 โดยสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกผลิตได้เพิ่มขึ้นจาก 345.51 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 384.78 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.37 นอกจากนี้ บราซิล สหภาพยุโรป อาร์เจนตินา ยูเครน เม็กซิโก และอินเดีย ผลิตได้เพิ่มขึ้น 1.1.2 การตลาด

(1) ความต้องการใช้

ปี 2555/56 - 2559/60 ความต้องการใช้มแี นวโน้มเพิม่ ขึน้ จาก 867.45 ล้านตัน ในปี 2555/56 เป็น 1,062.33 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.28 ต่อปี ปี 2559/60 ความต้องการใช้มปี ริมาณ 1,062.33 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 967.92 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 9.75 โดยสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้น จาก 298.79 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 313.81 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.03 นอกจากนี้ จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย และอียิปต์ มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น

ที่มา : สำ�นักงิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

5


Thailand Focus

(2) การค้า

ปี 2555/56 - 2559/60 การค้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 100.75 ล้านตัน ใน ปี 2555/56 เป็น 141.87 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.18 ต่อปี ปี 2559/60 การค้ า มี ปริมาณ 141.87 ล้านตัน ลดลงจาก 144.86 ล้าน ตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 2.06 โดยบราซิล ลดการส่งออกลงจาก 35.38 ล้านตัน ในปี 2558/ 59 เหลือ 19.76 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือ ลดลงร้อยละ 44.15 ต่อปี ส�ำหรับสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ส่งออกส�ำคัญส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 51.16 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 55.50 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.48 ส่วนการ น�ำเข้าประเทศผูน้ ำ� เข้า เช่น สหภาพยุโรป เม็กซิโก อียิปต์ และอิหร่าน มีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้น

(3) ราคา

ปี 2555/56 - 2559/60 ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์อเมริกนั ชัน้ 2 ตลาดชิคาโก มีแนวโน้มลดลงจากตันละ 8,933 บาท ในปี 2555/ 56 เหลือตันละ 4,935 บาท ในปี 2559/60 หรือลดลงร้อยละ 12.90 ต่อปี เนือ่ งจากสถานการณ์ การผลิตโลกกลับเข้าสู่สภาวะปกติ หลังจากที่ ผลผลิตได้รบั ความเสียหายจ�ำนวนมากจากภัยแล้ง ที่คุกคามทั่วโลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาในปี 2555/56 ประกอบกับผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ราคาปรับตัวลดลง ปี 2559/60 ราคาข้าวโพด เลีย้ งสัตว์อเมริกนั ชัน้ 2 ตลาดชิคาโก ตันละ 4,935 บาท ลดลงจากตันละ 5,313 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 7.11 เนื่องจากสถานการณ์การ

6

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

ผลิตในภาพรวมของโลกผลิตได้เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ ราคาลดลง

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2555/56 - 2559/60 เนื้อที่ เพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงจาก 7.53 ล้านไร่ ในปี 2555/56 เหลือ 6.44 ล้านไร่ ในปี 2559/60 หรือลดลงร้อยละ 4.23 ต่อปี เนื่องจากราคาที่ เกษตรกรขายได้ไม่จูงใจ เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยน พื้นที่ไปปลูกพืชที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า เช่น มันส�ำปะหลัง และอ้อยโรงงาน ประกอบกับภาคเอกชน มีมาตรการไม่รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ปลูกใน พืน้ ทีไ่ ม่มเี อกสารสิทธิ/พืน้ ทีป่ า่ ส�ำหรับผลผลิตต่อ ไร่มีแนวโน้มลดลงโดยเฉพาะในช่วงปี 2558/59 โดยในปี 2555/56 ผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 657 กิโลกรัม ในปี 2555/56 เหลือ 612 กิโลกรัมใน ปี 2558/59 ส่งผลให้ผลผลิตรวมลดลงจาก 4.95 ล้านตัน ในปี 2555/56 เหลือ 4.34 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือลดลงร้อยละ 4.44 ตามการลดลง ของเนื้อที่เพาะปลูก ปี 2559/60 เนื้อที่เพาะปลูก มี 6.44 ล้านไร่ ลดลงจาก 6.59 ล้านไร่ ในปี 2558/59 ร้อยละ 2.28 เนื่องจากปี 2557/58 ฝนทิง้ ช่วงและกระทบแล้ง เกษตรกรจึงปรับเปลีย่ น พืน้ ทีไ่ ปปลูกอ้อยโรงงาน และมันส�ำปะหลัง ซึง่ เป็น พืชที่ทนแล้งและดูแลรักษาง่าย ส�ำหรับผลผลิต ต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 612 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น 674 กิโลกรัม ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.13 เนื่องจากไม่กระทบแล้งในช่วงออก ดอก ส่งผลให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.03 ล้าน ตัน ในปี 2558/59 เป็น 4.34 ล้านตัน ในปี 2559/60


Thailand Focus 1.2.2 การตลาด

(1) ความต้องการใช้

ปี 2555/56 - 2559/60 ความต้องการใช้มแี นวโน้มเพิม่ ขึน้ จาก 6.22 ล้าน ตัน ในปี 2555/56 เป็น 7.82 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.49 ต่อปี เนื่อง จากความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์มีมากขึ้น ตามการขยายตัวของ การเลี้ยงปศุสัตว์ ปี 2559/60 ความต้องการ ใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 7.82 ล้านตัน เพิ่ม ขึ้น จาก 7.59 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 3.03

(2) การส่งออก

ปี 2555/56 - 2559/60 การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.04 ล้านตัน มูลค่า 391.10 ล้านบาท ในปี 2555/56 เป็นปริมาณ 0.63 ล้านตัน มูลค่า 4,863.14 ล้าน บาท ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 49.33 และร้อยละ 44.13 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากปี 2556/57 มีการผลักดันการส่งออกข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ตามมาตรการแทรกแซงตลาดข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ ปี 2556/57 ส�ำหรับตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไต้หวัน และมาเลเซีย ปี 2559/60 การส่งออก มีปริมาณ 0.63 ล้านตัน มูลค่า 4,863.14 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจาก 0.22 ล้านตัน มูลค่า 1,875.35 ล้านบาท ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้น 2.86 และ 2.59 เท่า ตามล�ำดับ เนือ่ งจากฟิลปิ ปินส์ เวียดนาม ไต้หวัน และมาเลเซีย มีการน�ำเข้าข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ จากประเทศไทยเพิ่มขึ้น

(3) การน�ำเข้า

ปี 2555/56 - 2559/60 ปริมาณการน�ำเข้ามีแนวโน้มลดลงจาก 0.10 ล้าน ตัน มูลค่า 410.47 ล้านบาท ในปี 2555/56 เหลือ 0.06 ล้านตัน มูลค่า 309.92 ล้านบาท ในปี 2559/ 60 หรือลดลงร้อยละ 9.71 และร้อยละ 3.64 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากมีการน�ำเข้าวัตถุดิบอื่น เช่น ข้าวสาลี และ DDGS (กากข้าวโพดที่เหลือจาก ขบวนการผลิตเอทานอล) มาใช้ทดแทนข้าวโพด เลีย้ งสัตว์ในสูตรอาหารสัตว์บางส่วน และส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการบริหารจัดการช่วงเวลาน�ำเข้า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส�ำหรับผู้น�ำเข้าทั่วไปที่น�ำเข้า ภายใต้กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) และโครงการ ลงทุนเกษตรแบบมีสัญญากับประเทศเพื่อนบ้าน (Contract Farming) ภายใต้ยุทธศาสตร์ความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategies: ACMECS) น�ำเข้าได้ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - สิงหาคม ของทุกปี ปี 2559/60 การน�ำเข้า มีปริมาณ 0.06 ล้านตัน มูลค่า 309.92 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 0.14 ล้านตัน มูลค่า 691.49 ล้านบาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 57.14 และร้อยละ 55.18 ตามล�ำดับ เนื่องจากมีการ น�ำเข้าวัตถุดิบอื่นมาใช้ทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ ประกอบกับ ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับ ตัวลดลง

(4) ราคา

ราคาปี 2555/56 - 2559/ 60 มีแนวโน้มลดลงในทุกตลาด ดังนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

7


Thailand Focus 1) ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ (ความชื้นไม่เกิน 14.5%) ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.34 บาท ในปี 2555/56 เหลือกิโลกรัมละ 6.86 บาท ในปี 2559/60 หรือลดลงร้อยละ 5.06 ต่อปี 2) ร าคาขายส่ ง ในตลาด กรุงเทพฯ ราคาโรงงานอาหารสัตว์รบั ซือ้ ลดลงจาก กิโลกรัมละ 10.39 บาท ในปี 2555/56 เหลือ กิโลกรัมละ 8.27 บาท ในปี 2559/60 หรือลดลง ร้อยละ 4.12 ต่อปี และราคาไซโลรับซือ้ ลดลงจาก กิโลกรัมละ 8.35 บาท ในปี 2555/56 เหลือ กิโลกรัมละ 7.08 บาท ในปี 2559/60 หรือลดลง ร้อยละ 2.37 ต่อปี 3) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี ลดลงจากตันละ 10,679 บาท ในปี 2555/56 เหลือตันละ 8,543 บาท ในปี 2559/60 หรือ ลดลงร้อยละ 3.85 ต่อปี ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2559/60 ปรับตัวลดลงทุกตลาดเมื่อเทียบกับปี 2558/59 เนือ่ งจากราคาในตลาดโลกปรับตัวลดลง ส�ำหรับราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ ลดลงจากปี 2558/59 เนื่องจากมีการน�ำเข้า วั ต ถุ ดิ บ อื่ น มาใช้ ท ดแทนข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ใ น อุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ ประกอบกับ ภาคเอกชนมีมาตรการไม่รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ/พื้นที่ป่า

2. แนวโน้ม ปี 2561 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2560/61 คาดว่าการผลิตมี ปริมาณ 1,038.80 ล้านตัน ลดลงจาก 1,075.33 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 3.40 โดย

8

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

สหรัฐอเมริกาผลิตได้ลดลงจาก 384.78 ล้านตัน ในปี 2559/60 เหลือ 362.73 ล้านตัน ในปี 2560/61 หรือลดลงร้อยละ 5.73 นอกจากนี้ จีน บราซิล สหภาพยุโรป ยูเครน เม็กซิโก และอินเดีย ผลิตได้ลดลง ส่งผลให้ผลผลิตในภาพรวมของโลก ลดลง 2.1.2 การตลาด (1) ความต้องการใช้ ปี 2560/61 คาดว่าความ ต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 1,064.83 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,062.33 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 0.24 เนื่องจากสหรัฐอเมริกา มีความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้นจาก 313.81 ล้านตัน ในปี 2559/60 เป็น 315.86 ล้านตัน ในปี 2560/61 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.65 นอกจากนี้ จีน สหภาพยุโรป บราซิล เม็กซิโก และอินเดีย มีความต้องการใช้เพิม่ ขึน้ ประกอบกับ สหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ เพือ่ ผลิตเอทานอลเพิม่ ขึน้ จาก 132.08 ล้านตัน ใน ปี 2559/60 เป็น 133.99 ล้านตัน ในปี 2560/61 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.44 ต่อปี (2) การค้า ปี 2560/61 คาดว่าปริมาณ การค้าของโลกมี 150.92 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 141.87 ล้านตัน ของปี 2559/60 ร้อยละ 6.38 โดย ประเทศผู้ส่งออก ได้แก่ บราซิล และอาร์เจนตินา มีการส่งออกเพิ่มขึ้น และประเทศผู้น�ำเข้า ได้แก่ สหภาพยุโรป เม็กซิโก เกาหลีใต้ อียิปต์ และ อิหร่าน มีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้น (3) ราคา ปี 2560/61 คาดว่าราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก มี


Thailand Focus แนวโน้มลดลงจากปี 2559/60 เนือ่ งจากคาดการณ์ ว่า ภาวะราคาในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง

2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปี 2560/61 คาดว่าเนื้อที่เพาะ ปลูกมี 6.46 ล้านไร่ ลดลงจาก 6.44 ล้านไร่ ในปี 2559/60 ร้อยละ 0.31 เนือ่ งจากราคาทีเ่ กษตรกร ขายได้มีแนวโน้มลดลง ประกอบกับภาคเอกชนมี มาตรการไม่รบั ซือ้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ทป่ี ลูกในพืน้ ที่ ไม่มีเอกสารสิทธิ/พื้นที่ป่า ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นจาก 674 กิโลกรัม ในปี 2559/60 เป็น 694 กิ โ ลกรั ม ในปี 2560/61 หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 2.97 ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตรวมเพิม่ ขึน้ จาก 4.34 ล้านตัน ในปี 2559/60 เป็น 4.49 ล้านตัน ในปี 2560/61 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.46 2.2.2 การตลาด (1) ความต้องการใช้ ปี 2560/61 คาดว่าความ ต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 8.10 ล้าน ตัน เพิ่มขึ้นจาก 7.82 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 3.58 เนื่องจากการขยายตัวของภาค อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ ท�ำให้ความต้องการ ใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพิ่มขึ้น (2) การส่งออก ปี 2560/61 คาดว่าการ ส่งออกมีแนวโน้มลดลงจากปี 2559/60 เนือ่ งจาก ความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ภายในประเทศมีเพิม่ ขึน้ การส่งออกข้าวโพดเลีย้ ง สัตว์ไปยังตลาดอาเซียน ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าของ ไทย ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไต้หวัน และ มาเลเซีย จึงลดลง

(3) การน�ำเข้า ปี 2560/61 คาดว่าการ น�ำเข้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2559/60 เนื่อง จากปริมาณผลผลิตภายในประเทศมีไม่เพียงพอ กับความต้องการใช้ ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบาย ผลักดันการน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายใต้เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อป้องกันการลักลอบ น�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยผิดกฎหมายจาก ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ มี แ นวชายแดนติ ด ต่ อ กั บ ประเทศไทย (4) ราคา ปี 2560/61 คาดว่าราคาจะมี แนวโน้มสูงกว่า ปี 2559/60 เนื่องจากรัฐบาลมี มาตรการในการช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ลูกข้าวโพด เลีย้ งสัตว์ ปี 2560/61 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 31 ตุลาคม 2560 เห็นชอบโครงการสินเชื่อ เพือ่ รวบรวมข้าวโพดเลีย้ งสัตว์และสร้างมูลค่าเพิม่ โดยสถาบันเกษตรกร ปี 2560/61 โดยมีเป้าหมาย สนับสนุนสินเชื่อแก่สถาบันเกษตรกร เพื่อให้มี เงินทุนหมุนเวียนในการรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ตลอดจนช่วยในการดูดซับผลผลิตส่วนเกินในช่วง ที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก ซึ่งจะส่งผลให้ราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม อีกทัง้ ยังช่วยให้เกษตรกรมีแหล่งรับซือ้ ที่หลากหลาย วงเงินงบประมาณจ�ำนวน 45 ล้าน บาท ด�ำเนินการโดยธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ระยะเวลาด�ำเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2562

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณ การผลิต การตลาด และการส่งออก 2.3.1 ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อปริมาณ การผลิต และการตลาด ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

9


Thailand Focus

ภาพป

ระกอบ

: AJFA

M

(1) พื้นที่ปลูกไม่เหมาะสม พื้นที่ปลูกข้าวโพด เลีย้ งสัตว์ประมาณร้อยละ 43 อยูใ่ นพืน้ ทีป่ า่ และประมาณ ร้อยละ 26 อยู่ในเขตไม่เหมาะสมและเหมาะสมน้อย ส่งผลท�ำให้ปริมาณผลผลิตต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต�่ำ ปัจจุบนั ภาครัฐมีนโยบายทวงคืนพืน้ ทีป่ า่ และภาค เอกชนมีมาตรการไม่รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ใน พื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ/พื้นที่ป่า อาจส่งผลให้การ ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ดังกล่าวมีแนวโน้ม ลดลง ดังนั้น หากไม่มีการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต หรือส่งเสริมการปลูกในพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมอืน่ ๆ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อาจมีความขาดแคลนเพิ่มขึ้น ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของไทย (2) ปัญหาภัยธรรมชาติ พืน้ ทีป่ ลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากกว่าร้อยละ 90 ของพื้นที่ปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งประเทศ อยู่นอกเขตชลประทาน และ อาศัยน�้ำฝนในการเพาะปลูกเพียงอย่างเดียว การเกิดปัญหาภัยแล้ง และภาวะฝนทิ้งช่วง อาจส่งผลต่อ ปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

(3) ความต้องการใช้ของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปริมาณผลผลิตมากกว่าร้อยละ 90 ของผลผลิตทั้งหมด ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์เป็นหลัก การเพิ่มขึ้น หรือลดลงของความต้องการใช้ จะส่งผลต่อราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายในประเทศ (4) การน�ำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน อาจส่งผลกระทบต่อราคาภายในประเทศ โดย เฉพาะช่วงที่ผลผลิตภายในประเทศออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม ของทุกปี (5) การน�ำเข้าพืชทดแทน การน�ำข้าวสาลีราคาถูกมาใช้ทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ บางส่วนในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ 2.3.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก ได้แก่ ปริมาณผลผลิตภายในประเทศ ความ ต้องการใช้ และราคาผลผลิตภายในประเทศ

10 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Thailand Focus ตารางที่ 1 บัญชีสมดุลข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2555/56 - 2560/61 ปี 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560/61* ผลต่าง 2559/60 และ 2560/61 (ร้อยละ)

สต็อกต้นปี

ผลผลิต

128.33 133.16 174.18 209.54 213.98 15.90 226.99

872.63 996.09 1,023.18 972.36 1,075.33 4.01 1,038.80

6.08

-3.40

ปริมาณการค้า น�ำเข้า ส่งออก 100.75 100.75 130.83 130.83 128.39 128.39 144.86 144.86 141.87 141.87 8.18 8.18 150.92 150.92 6.38

6.38

หน่วย : ล้านตัน

การใช้

สต็อกปลายปี

867.45 954.86 987.82 967.92 1,062.33 4.28 1,064.83

133.16 174.18 209.54 213.98 226.99 13.57 200.96

0.24

-11.47

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 2 ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2555/56 - 2560/61 ประเทศ สหรัฐอเมริกา จีน บราซิล สหภาพยุโรป อาร์เจนตินา ยูเครน เม็กซิโก อินเดีย อื่นๆ รวม

หน่วย : ล้านตัน

อัตราเพิ่ม 2560/61* ผลต่างร้อยละ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 (1) (ร้อยละ) (2) (2)-(1) 273.19 351.27 361.09 345.51 384.78 6.91 362.73 -5.73 205.61 218.49 215.65 224.63 219.55 1.60 215.00 -2.07 81.50 80.00 85.00 67.00 98.50 2.04 95.00 -3.55 59.14 64.93 75.73 58.75 61.09 -0.35 59.39 -2.78 27.00 26.00 29.75 29.00 41.00 9.91 42.00 2.44 20.92 30.90 28.45 23.33 28.00 3.07 27.00 -3.57 21.59 22.88 25.48 25.97 27.57 6.35 26.20 -4.97 22.26 24.26 24.17 22.57 26.26 2.62 25.00 -4.80 161.42 177.36 177.86 175.60 188.58 3.06 186.48 -1.11 872.63 996.09 1,023.18 972.36 1,075.33 4.01 1,038.80 -3.40

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

11


Thailand Focus ตารางที่ 3 ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2555/56 - 2560/61 ประเทศ สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป บราซิล เม็กซิโก อินเดีย อียิปต์ ญี่ปุ่น อื่นๆ รวม

หน่วย : ล้านตัน

อัตราเพิ่ม 2560/61* ผลต่างร้อยละ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 (1) (ร้อยละ) (2) (2)-(1) 262.97 292.96 301.79 298.79 313.81 3.80 315.86 0.65 200.00 208.00 202.00 217.50 232.00 3.47 240.00 3.45 69.85 76.80 77.88 73.50 73.50 0.58 74.70 1.63 52.50 55.00 57.00 57.50 60.50 3.34 61.50 1.65 27.00 31.70 34.55 37.30 40.40 10.17 41.20 1.98 17.50 19.60 22.35 23.55 25.00 9.38 25.80 3.20 12.00 13.20 13.90 14.85 15.10 5.94 15.90 5.30 14.30 15.00 14.60 15.20 15.10 1.23 15.10 211.33 242.60 263.75 229.73 286.92 5.73 274.77 -4.23 867.45 954.86 987.82 967.92 1,062.33 4.28 1,064.83 0.24

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 4 ปริมาณการส่งออกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2555/56 - 2560/61 ประเทศ สหรัฐอเมริกา บราซิล อาร์เจนตินา ยูเครน รัสเซีย อื่นๆ รวม

หน่วย : ล้านตัน

อัตราเพิ่ม 2560/61* ผลต่างร้อยละ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 (1) (ร้อยละ) (2) (2)-(1) 18.26 50.69 46.83 51.16 55.50 25.01 47.00 -15.32 26.04 22.04 21.91 35.38 19.76 1.90 36.00 82.19 22.79 12.85 18.45 21.68 23.50 3.23 27.00 14.89 12.73 20.00 19.66 16.60 21.50 9.00 21.50 1.92 4.19 3.21 4.69 5.50 24.83 5.50 19.01 21.06 18.33 15.35 16.11 -6.27 13.92 -13.59 100.75 130.83 128.39 144.86 141.87 8.18 150.92 6.38

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

12 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Thailand Focus ตารางที่ 5 ปริมาณการนำ�เข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2555/56 - 2560/61 ประเทศ สหภาพยุโรป เม็กซิโก ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อียิปต์ อิหร่าน อื่นๆ รวม

หน่วย : ล้านตัน

อัตราเพิ่ม 2560/61* ผลต่างร้อยละ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 (1) (ร้อยละ) (2) (2)-(1) 11.36 16.01 8.91 13.77 14.80 3.86 16.00 8.11 5.68 10.95 11.34 14.01 14.50 23.63 15.50 6.90 14.41 15.12 14.66 15.20 15.00 0.86 15.00 8.17 10.41 10.17 10.12 9.30 2.34 10.20 9.68 5.06 8.73 7.84 8.78 9.00 12.27 10.00 11.11 3.70 5.50 6.10 6.60 8.50 20.27 10.00 17.65 52.37 64.11 69.37 76.38 70.77 8.08 74.22 4.87 100.75 130.83 128.39 144.86 141.87 8.18 150.92 6.38

หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 6 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก ปี 2555/56 - 2559/60 ปี 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)

ราคาตลาดชิคาโก (บาท/ตัน) 8,933 6,451 4,925 5,313 4,935 -12.90

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 7 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2555/56 - 2560/61 ปี 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560/61* ผลต่าง 2559/60 และ 2560/61 (ร้อยละ)

เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) 7.53 7.43 7.23 6.59 6.44 -4.23 6.46 0.31

ผลผลิต (ล้านตัน) 4.95 4.88 4.73 4.03 4.34 -4.44 4.49 3.46

ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 657 657 654 612 674 -0.20 694 2.97

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

13


Thailand Focus ตารางที่ 8 การใช้ในประเทศ การส่งออก และการนำ�เข้าของไทย ปี 2555/56 - 2560/61 การใช้ใน ประเทศ1/ (ล้านตัน)

ปี

2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560/61* หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : 1/ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 2/ กรมศุลกากร

6.22 6.40 7.03 7.59 7.82 6.49 8.10

การส่งออก2/ ปริมาณ มูลค่า (ล้านตัน) (ล้านบาท) 0.04 391.10 0.99 7,493.01 0.25 2,221.69 0.22 1,875.35 0.63 4,863.14 49.33 44.13 0.50 0.12

การน�ำเข้า2/ ปริมาณ มูลค่า (ล้านตัน) (ล้านบาท) 0.10 410.47 0.14 570.89 0.15 702.53 0.14 691.49 0.06 309.92 -9.71 -3.64

ตารางที่ 9 ราคาเกษตรกรขายได้ ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ และส่งออก เอฟ.โอ.บี. ปี 2555/56 - 2559/60 ปี

เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.)

2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)

9.34 7.01 7.31 7.73 6.86 -5.06

ขายส่งในตลาดกรุงเทพ ส่งออก เอฟ.โอ.บี. โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ ไซโลรับซื้อ (บาท/ตัน) (บาท/กก.) (บาท/กก.) 10.39 8.35 10,679 8.70 7.57 8,941 9.39 8.51 9,675 9.02 8.28 9,437 8.27 7.08 8,543 -4.12 -2.37 -3.85

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561




Thailand Focus

» ถั่วเหลือง 1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ปี 2555/56 - 2559/60 ผลผลิตถั่วเหลืองของโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.63 ต่อปี โดย ในปี 2559/60 มีผลผลิตรวม 351.25 ล้านตัน สูงขึน้ จาก 313.71 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 11.97 ประเทศผู้ผลิตส�ำคัญ 3 ล�ำดับแรกของผลผลิตโลก ผลิตได้รวม 288.82 ล้านตัน ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล และอาร์เจนตินา คิดเป็นร้อยละ 82.23 1.1.2 การตลาด (1) ความต้องการใช้ ปี 2555/56 - 2559/60 ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อสกัดน�้ำมันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.79 ต่อปี ในปี 2559/60 มีปริมาณ 288.40 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 274.93 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 4.90 ประเทศที่มีความต้องการใช้มากที่สุด คือ จีน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา โดยทั้ง 2 ประเทศ มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558/59 ส�ำหรับสต็อกสิ้นปี 2555/56 2559/60 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 14.00 ต่อปี โดยในปี 2559/60 มีปริมาณ 94.86 ล้านตัน สูงขึน้ จาก 77.74 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 22.02 (2) การส่งออก ปี 2555/56 - 2559/60 การส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.96 ต่อปี ในปี 2559/60 มีการส่งออก 147.46 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 132.46 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 11.32 ประเทศส่งออกส�ำคัญอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ และใต้ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา และ อาร์เจนตินา โดยทั้ง 3 ประเทศ มีปริมาณส่งออกรวม 129.19 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 87.61 ของ ปริมาณส่งออกโลก (3) การน�ำเข้า ปี 2555/56 - 2559/60 การน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.92 ต่อปี ในปี 2559/60 มีปริมาณการน�ำเข้า 143.61 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 133.33 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 7.71 โดยจีนมีการน�ำเข้ามากที่สุดเท่ากับ 92.50 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 64.42 ของปริมาณ น�ำเข้าโลก เนื่องจากผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ภายในประเทศ ส�ำหรับประเทศไทยน�ำเข้า เมล็ดถั่วเหลืองเป็นอันดับ 5 ของโลก ปี 2559/60 น�ำเข้าปริมาณ 3.08 ล้านตัน หรือร้อยละ 2.14 ของปริมาณน�ำเข้าของโลก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

15


Thailand Focus

(4) ราคา

ปี 2555/56 - 2559/60 ราคาเมล็ดถั่วเหลืองในตลาดส�ำคัญทุกตลาด มี แนวโน้มลดลง แต่ในปี 2559/2560 ราคาปรับ ตัวสูงขึ้นจากปี 2558/59 เล็กน้อย โดยตลาด สหรัฐอเมริกามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนือ่ งร้อยละ 11.24 ต่อปี แต่ในปี 2559/60 มีราคา 351 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน สูงขึ้นจาก 346 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 1.45 ส�ำหรับตลาด บราซิล ราคาเมล็ดถัว่ เหลืองมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 9.21 ต่อปี เมื่อเปรียบเทียบปี 2559/60 กับปี 2558/59 ราคาสูงขึน้ ไม่มากนัก ร้อยละ 0.79 จาก 382 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 385 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ทั้งนี้ เนื่องจากปริมาณผลผลิต และสต็อกสิ้นปีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อ กดดันให้ราคาอ่อนตัวลง

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2556/57 - 2560/61 เนื้อที่ เพาะปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองมีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 8.56 ต่อปี และร้อยละ 8.01 ต่อปี ตาม ล�ำดับ ในปี 2560/61 มีเนื้อที่เพาะปลูก 0.152 ล้านไร่ และผลผลิต 41,377 ตัน ลดลงจาก 0.161 ล้านไร่ และผลผลิต 42,080 ตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 5.59 และร้อยละ 1.67 ตามล�ำดับ การลดลง ของเนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตมีสาเหตุส�ำคัญ คือ ผลตอบแทนต�่ำกว่าพืชแข่งขัน และขาดแคลน แรงงาน ส่วนผลผลิตต่อไร่ในปี 2556/57 - 2560/ 61 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.52 ต่อปี เนื่องจากปัญหา ภัยแล้งที่เกิดขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ในปี 2560/61 ผลผลิตต่อไร่ 272 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น จาก 261 กิโลกรัม ในปี 2559/60 ร้อยละ 4.21

16 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

1.2.2 การตลาด

(1) ความต้องการใช้ในประเทศ

ปี 2556 - 2560 ความ ต้องการเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนือ่ ง ร้อยละ 15.91 โดยปี 2560 ความต้องการ ใช้ในประเทศมีปริมาณ 2.94 ล้านตัน ลดลงจาก 2.99 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 1.67 ซึ่งความ ต้องการเมล็ดถั่วเหลืองในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาเพิ่ม ขึ้นตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมการสกัด น�ำ้ มันแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร คิดเป็นร้อยละ 6.78 ร้อยละ 50.38 ของความต้องการใช้เมล็ดถัว่ เหลือง ทั้งหมดตามล�ำดับ ส่วนความต้องการเพื่อท�ำพันธุ์ ลดลงตามเนื้อที่เพาะปลูก

(2) การส่งออก

การส่ ง ออกของไทยส่ ว น ใหญ่ เ ป็ น การส่ ง ออกเมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งสายพั น ธุ ์ ธรรมชาติ (Non - GMO) ทีผ่ ลิตได้ภายในประเทศ โดยในช่วงปี 2556 - 2560 ปริมาณส่งออกอยู่ ระหว่าง 1,989 - 11,595 ตัน โดยในปี 2560 คาดว่า ส่งออก 6,500 ตัน ตลาดส่งออกส่วนใหญ่อยู่ใน ทวีปเอเชีย และไนจีเรีย

(3) การน�ำเข้า

ไทยพึ่งพาการน�ำเข้าเมล็ด ถั่วเหลืองร้อยละ 98.57 ของความต้องการใช้ ทั้งหมด โดยปี 2556 - 2560 ปริมาณการน�ำเข้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.61 ต่อปี ในปี 2560 คาดว่า จะน�ำเข้า 2.90 ล้านตัน แหล่งน�ำเข้าส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และแคนาดา

(4) ราคา

ปี 2559 - 2560 ราคา เมล็ดถัว่ เหลืองและน�ำ้ มันถัว่ เหลืองภายในประเทศ


Thailand Focus เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับราคาตลาดโลก โดย ราคามีการเคลื่อนไหว ดังนี้ 1) ราคาเมล็ ด ถั่ ว เหลื อ ง เกรดคละที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลงร้อย ละ 6.33 ส�ำหรับปี 2560 ราคากิโลกรัมละ 14.70 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 14.47 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 1.59 2) ร าคาน� ำ เข้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลือง ณ ท่าเรือเกาะสีชงั มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 6.58 ส�ำหรับปี 2560 กิโลกรัมละ 15.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 14.57 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 3.64 3) ร าคาขายส่ ง น�้ ำ มั น ถั่ ว เหลืองบริสทุ ธิม์ แี นวโน้มลดลงร้อยละ 7.53 ส�ำหรับ ปี 2560 กิโลกรัมละ 38.38 บาท ลดลงจากกิโลกรัม ละ 38.98 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 1.54

2. แนวโน้ม ปี 2561 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2560/61 คาดว่าผลผลิต เมล็ดถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 347.88 ล้านตัน ลดลงจาก 351.25 ล้านตัน ของปี 2559/60 ร้อย ละ 0.96 เนื่องจากผลผลิตถั่วเหลืองของประเทศ ผู้ผลิตที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล และ อาร์เจนตินา ลดลง โดยในปี 2560/61 คาดว่า บราซิล และ อาร์เจนตินา สามารถผลิตถั่วเหลืองได้ 107.00 ล้านตัน และ 57.00 ล้านตัน ลดลงจาก 114.10 และ 57.80 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 6.22 และ 1.38 ตามล�ำดับ

2.1.2 การตลาด

(1) ความต้องการใช้

ปี 2560/61 คาดว่าความ ต้องการใช้เมล็ดถัว่ เหลืองเพือ่ สกัดน�ำ้ มัน มีปริมาณ 301.25 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 288.40 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 4.46 เนื่องจากความ ต้องการใช้น้�ำมันถั่วเหลืองเพื่อการอุปโภค และ บริโภคของโลกยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ จีนซึ่งเป็นผู้ใช้เมล็ดถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลก มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และ ภาคปศุสัตว์ จึงมีความต้องการเมล็ดถั่วเหลือง เพือ่ สกัดน�ำ้ มันและน�ำกากถัว่ เหลืองไปใช้ในอาหาร สัตว์

(2) การส่งออก

ปี 2560/61 คาดว่าการ ส่งออกถั่วเหลืองของโลกมีปริมาณ 150.97 ล้าน ตัน เพิม่ ขึน้ จาก 147.46 ล้านตัน ในปี 2559/2560 ร้อยละ 2.38 โดยประเทศผูส้ ง่ ออกรายใหญ่ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา และอาร์เจนตินา และสต็อก ถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 96.05 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 94.86 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 1.25

(3) การน�ำเข้า

ปี 2560/61 คาดว่าการ น�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 148.64 ล้าน ตัน เพิ่มขึ้นจาก 143.61 ล้านตัน ในปี 2559/60 ร้อยละ 3.50 โดยจีนน�ำเข้ามากที่สุดปริมาณ 95.00 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 63.93 ของปริมาณ การน�ำเข้าโลก

(4) ราคา

ปี 2560/61 คาดว่าราคา เมล็ดถัว่ เหลืองในตลาดโลกจะใกล้เคียงกับปีทผี่ า่ น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

17


Thailand Focus มาโดยตลาดบราซิล และอาร์เจนตินา ปรับตัวสูงขึน้ เล็กน้อย เนื่องจากผลผลิตของทั้งสองประเทศ ลดลง ส่วนในตลาดสหรัฐอเมริกา ปรับตัวลดลง เล็กน้อย เนื่องจากผลผลิตของสหรัฐอเมริกามี เพิ่มขึ้น

2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต เนื้ อ ที่ เ พาะปลู ก และผลผลิ ต ถั่วเหลืองยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้มีสาเหตุ จากการดูแลรักษายุง่ ยาก ต้องใช้แรงงานมาก และ เมื่อเปรียบเทียบผลตอบแทนการปลูกถั่วเหลือง จะมีรายได้ต�่ำกว่าพืชแข่งขันอื่นๆ เช่น ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ข้าวโพดหวาน เป็นต้น โดยคาดว่าปี 2561/62 จะมีเนื้อที่เพาะปลูก 0.150 ล้านไร่ ผลผลิต 40,994 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 274 กิโลกรัม 2.2.2 ตลาด

(1) ความต้องการใช้ในประเทศ

ปี 2561 คาดว่าความต้อง การใช้เมล็ดถัว่ เหลืองมีปริมาณ 2.93 ล้านตัน โดย ในปี 2561 คาดว่ามีสัดส่วนการใช้ผลผลิตภายใน ประเทศ ร้อยละ 1.02 และน�ำเข้าร้อยละ 98.98 ของปริมาณความต้องการใช้ทั้งหมด

(2) การส่งออก

ปี 2561 คาดว่าปริมาณ การส่ ง ออกเมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งของไทยมี ป ริ ม าณ 8,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 6,500 ตัน ในปี 2560 ร้อยละ 23.08 โดยเป็นการส่งออกเมล็ดถัว่ เหลือง สายพันธุ์ธรรมชาติ ไม่มีการดัดแปลงพันธุกรรม (Non-GMO) ที่ผลิตได้ภายในประเทศ และตลาด ส่งออกส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย

18 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

(3) การน�ำเข้า

การน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง ค่อนข้างทรงตัวตามราคาเมล็ดถัว่ เหลือง และความ ต้องการใช้ของอุตสาหกรรมในประเทศ คาดว่าปี 2561 การน�ำเข้ามีปริมาณ 2.90 ล้านตัน เนือ่ งจาก ราคาปรับตัวสูงขึ้น (4) ราคา ปี 2561 คาดว่าราคาเมล็ด ถัว่ เหลืองทีเ่ กษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึน้ เล็กน้อย

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต ถั่วเหลือง ภาครั ฐ มี ก ารส่ ง เสริ ม การผลิ ต ถั่ ว เหลือง โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มี การอนุมัติงบประมาณจากเงินกองทุนเพื่อพัฒนา การผลิตถั่วเหลืองจ�ำนวน 23.699 ล้านบาท ใน โครงการส่งเสริมการปลูกถัว่ หลังนา เพือ่ ส่งเสริมให้ เกษตรกรปลูกถัว่ เหลืองในช่วงฤดูแล้งทดแทนการ ท�ำนา ช่วยปรับปรุงบ�ำรุงดิน และยกระดับคุณภาพ ผลผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด นอกจากนี้ หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ได้ ร่วมกันด�ำเนินการส่งเสริมการปลูกถั่วเหลืองหลัง นา เพือ่ เพิม่ ผลผลิตในโครงการ โครงการถัว่ เหลือง หลังนาประชารัฐเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ในพืน้ ที่ แปลงใหญ่ขา้ วจังหวัดอุดรธานี ศรีสะเกษ โดยได้รบั ความร่วมมือจากภาคเอกชน เช่น บริษัท บางซื่อ โรงสีไฟ เจีย่ เม้ง จ�ำกัด บริษทั สยามคูโบต้า จ�ำกัด เป็นต้น ซึง่ จากโครงการดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลให้ ต้นทุนการผลิตลดลง คุณภาพผลผลิตและผลผลิต ต่อไร่ของถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น


Thailand Focus ตารางที่ 1 สมดุลเมล็ดถั่วเหลืองโลก ปี 2555/56 - 2560/61

หน่วย : ล้านตัน

่ม คาดการณ์ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2560/61 1. ผลผลิต 268.45 282.75 320.01 313.71 351.25 6.63 347.88 2. น�ำเข้า 97.19 113.07 124.36 133.33 143.61 9.92 148.64 3. ส่งออก 100.80 112.78 126.13 132.46 147.46 9.96 150.97 4. ความต้องการใช้เพื่อสกัดน�้ำมัน 231.52 242.92 264.35 274.93 288.40 5.79 301.25 5. สต็อกสิ้นปี 55.35 61.59 77.52 77.74 94.86 14.00 96.05 รายการ

ที่มา : Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 2 ราคาเมล็ดถั่วเหลืองตลาดโลก ปี 2555/56 - 2559/60 รายการ 1. สหรัฐอเมริกา 2. บราซิล (เอฟ.โอ.บี.) 3. อาร์เจนตินา (เอฟ.โอ.บี.) 4. รอตเตอร์ดัม (ซี.ไอ.เอฟ.)

หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน

่ม คาดการณ์ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2560/61 537 487 356 346 351 -11.24 343 538 514 388 382 385 -9.21 386 543 517 401 375 376 -10.02 378 592 542 407 396 404 -10.22 399

ที่มา : Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

ตารางที่ 3 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2556/57 - 2561/62 รายการ 1. เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) 2. ผลผลิตทั้งหมด (ตัน) 3. ผลผลิตต่อไร่ (กก.)

่ม คาดการณ์ 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 2560/61 อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2561/62 0.196 0.237 0.169 0.161 0.152 -8.56 0.150 53,358 58,295 42,395 42,080 41,377 -8.01 40,994 273 246 254 261 272 0.52 274

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

19


Thailand Focus ตารางที่ 4 สมดุลเมล็ดถั่วเหลืองของไทย ปี 2556 - 2561 ปี

ผลิต

น�ำเข้า

2556 2557 2558 2559 25601/ อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 25612/

65,112 56,565 53,439 42,302 41,898

1,678,678 1,898,295 2,557,384 2,957,729 2,900,000

รวม (Supply) 1,743,790 1,954,860 2,610,823 3,000,031 2,941,898

-11.06

16.61

15.89

หน่วย : ตัน

ความต้องการใช้ภายในประเทศ รวม ส่งออก (Demand) สกัดน�้ำมัน ท�ำพันธุ์ แปรรูปฯ 1,517,133 4,418 220,250 1,989 1,743,790 1,524,088 3,745 415,432 11,595 1,954,860 1,718,168 4,055 879,283 9,317 2,610,823 1,970,155 2,987 1,021,412 5,477 3,000,031 1,852,520 2,841 1,080,037 6,500 2,941,898 6.78

40,994 2,900,000 2,940,994 1,852,826

-10.05

50.38

2,647 1,077,521

17.57

15.89

8,000 2,940,994

หมายเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น  ประมาณการ ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1/

2/

ตารางที่ 5 ราคาถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ของไทย ปี 2556 - 2560 รายการ 1. ราคาเมล็ดถั่วเหลืองเกษตรกรขายได้ 2. ราคาน�ำเข้า ท่าเรือเกาะสีชัง 3. ราคาซื้อขายล่วงหน้า ณ ตลาดชิคาโก 4. ราคาขายส่งน�้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ 1/

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

2556

2557

2558

2559

2560

18.24 18.60 15.93 50.08

18.08 18.44 14.91 50.08

15.46 15.00 11.92 44.52

14.47 14.57 12.90 38.98

14.70 15.10 11.97 38.38

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -6.33 -6.58 -6.91 -7.53

หมายเหตุ : 1/ รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่รวมภาชนะบรรจุ ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 ความต้องการใช้ในประเทศเมล็ดถั่วเหลืองของไทย ปี 2556 - 2561 รายการ ความต้องการใช้ 1. สกัดน�้ำมัน 2. แปรรูปฯ 3. ท�ำพันธุ์

2556

2557

2558

2559

2560

1,741,801 1,943,265 2,601,501 2,994,514 2,935,398 1,517,133 1,524,088 1,718,168 1,970,115 1,852,520 220,250 415,432 879,283 1,021,412 1,080,037 4,418 3,745 4,055 2,987 2,841

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

หน่วย : ตัน

อัตราเพิ่ม คาดการณ์ (ร้อยละ) 2561 15.91 2,932,994 6.78 1,852,826 50.38 1,077,521 -10.50 2,647




Thailand Focus

» ไก่เนื้อ 1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ปี 2556 - 2560 การผลิตเนือ้ ไก่ของโลกมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 1.60 ต่อปี ซึ่งรัสเซียมีอัตราการขยายตัวสูงที่สุด คือ ร้อยละ 6.58 เป็นผลจากมาตรการสนับสนุนการเลี้ยงไก่ของ ภาครัฐ โดยปี 2560 การผลิตเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 90.18 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 89.10 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 1.21 ซึ่งสหรัฐอเมริกายังคงเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด มีปริมาณการผลิต 18.60 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ บราซิล 13.25 ล้านตัน สหภาพยุโรป 11.70 ล้านตัน และจีน 11.60 ล้านตัน 1.1.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2556 - 2560 การบริโภคเนื้อไก่ของโลก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.50 ต่อปี โดยในปี 2560 การบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 88.14 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 87.37 ล้านตันของปี 2559 ร้อยละ 0.88 ซึ่งสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีการบริโภคเนื้อไก่มากที่สุด คือ 15.58 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 11.65 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 11.17 ล้านตัน (2) การส่งออก ปี 2556 - 2560 การส่งออกเนื้อไก่ของโลกขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.72 ต่อปี โดยในปี 2560 การส่งออกเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 11.08 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 10.69 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 3.69 ผลจากการระบาดของโรคไข้หวัดนกตั้งแต่ปี 2547 ท�ำให้บราซิลซึ่งเป็น ประเทศปลอดไข้หวัดนก ก้าวขึ้นมาเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลกแทนสหรัฐอเมริกา โดยในปี 2560 บราซิลสามารถส่งออกเนื้อไก่ได้ปริมาณ 4.00 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 3.09 ล้านตัน สหภาพยุโรป 1.25 ล้านตัน และไทย 0.77 ล้านตัน ซึ่งไทยได้ก้าวมาเป็นประเทศผู้ส่งออกเนื้อไก่ อันดับที่ 4 ของโลกตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา (3) การน�ำเข้า ปี 2556 - 2560 การน�ำเข้าเนื้อไก่ของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.85 ต่อปี โดยในปี 2560 การน�ำเข้าเนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 9.05 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 8.94 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 2.39 โดยญีป่ นุ่ เป็นประเทศทีน่ ำ� เข้าเนือ้ ไก่มากเป็นอันดับ 1 ของโลก คือ 1.00 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ซาอุดอิ าระเบีย 0.78 ล้านตัน เม็กซิโก 0.75 ล้านตัน สหภาพยุโรป 0.72 ล้านตัน อิรัก 0.61 ล้านตัน และแอฟริกาใต้ 0.50 ล้านตัน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

21


Thailand Focus

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2556 - 2560 การผลิตไก่เนือ้ ของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.19 ต่อปี โดย ในปี 2560 มีการผลิตไก่เนื้อ 1,470.26 ล้านตัว หรือ 2.08 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 1,405.49 ล้านตัว หรือ 2.03 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 4.61 เนื่องจากมีการขยายการผลิตเพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการบริโภค และการส่งออกที่เพิ่มขึ้น เพราะการผลิตไก่เนือ้ ของไทยมีการจัดการฟาร์มที่ ได้มาตรฐาน และมีระบบการผลิตปลอดภัย เป็น ที่ยอมรับของผู้บริโภค 1.2.2 การตลาด

(1) ความต้องการบริโภค

ปี 2556 - 2560 การบริโภค เนื้อไก่ของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.77 ต่อปี โดยในปี 2560 มีปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ 1.36 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.34 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 1.31 โดยปริมาณการบริโภคมีสัดส่วน ร้อยละ 65.39 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด

(2) การส่งออก

ปี 2556 - 2560 ปริมาณการ ส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 9.93 ต่อปี โดยในปี 2560 ไทยส่งออกเนื้อไก่รวมปริมาณ 720,000 ตัน มูลค่า 92,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 690,109 ตัน มูลค่า 89,202 ล้านบาท ของปี 2559 ร้อยละ 4.33 และร้อยละ 3.14 ตามล�ำดับ ตามความต้องการบริโภคของประเทศคูค่ า้ ทีข่ ยาย ตัวเพิ่มขึ้น ทั้งตลาดญี่ปุ่นและสหภาพยุโรป ซึ่ง ถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย รวมทัง้ เกาหลีใต้

22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

อนุญาตให้ไทยส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งไปได้ ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 หลังจากที่ ระงับการส่งออกตั้งแต่ไทยมีการระบาดของโรค ไข้หวัดนกในปี 2547 ท�ำให้ไทยส่งออกไก่สดไปยัง เกาหลีใต้ได้ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ของปี 2560 โดย ตลาดส่งออกเนือ้ ไก่และผลิตภัณฑ์ทสี่ ำ� คัญของไทย ได้แก่ ญีป่ นุ่ (ร้อยละ 57.18) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 26.87) กลุ่มประเทศในอาเซียน (ร้อยละ 8.22) และประเทศอื่นๆ (ร้อยละ 7.73) การส่งออกไก่สดแช่แข็ง ใน ปี 2560 ส่งออกปริมาณ 220,000 ตัน มูลค่า 18,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 213,032 ตัน มูลค่า 17,522 ล้านบาท ของปี 2559 ร้อยละ 3.27 และร้อยละ 5.58 ตามล�ำดับ โดยตลาด ส่งออกไก่สดแช่แข็งทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ญีป่ นุ่ (ร้อยละ 63.73) กลุม่ ประเทศในอาเซียน (ร้อยละ 26.57 ซึง่ ส่วนใหญ่สง่ ไปยังประเทศ สปป.ลาว และมาเลเซีย) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 3.47) และประเทศอื่นๆ (ร้อยละ 6.23) การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ส่งออกปริมาณ 500,000 ตัน มูลค่า 73,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปริมาณ 477,077 ตัน มูลค่า 71,680 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 4.80 และร้อยละ 2.54 ตามล�ำดับ ตลาดส่งออกไก่แปรรูป ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ญีป่ นุ่ (ร้อยละ 55.47) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 32.89) กลุม่ ประเทศในอาเซียน (ร้อยละ 3.42) และประเทศอื่นๆ (ร้อยละ 8.22)

(3) ราคา

1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2556 - 2560 ราคา ไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลงในอัตรา ร้อยละ 3.73 ต่อปี โดยในปี 2560 ราคาไก่เนื้อที่


Thailand Focus เกษตรกรขายได้เฉลีย่ กิโลกรัมละ 37.70 บาท สูงขึน้ จากกิโลกรัมละ 37.36 บาท ในปี 2559 ร้อยละ 0.91 เนื่องจากปริมาณไก่เนื้อออกสู่ตลาดสอดรับ กับความต้องการบริโภค

2) ราคาส่งออก

ปี 2560 ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.09 บาท ปรับ ตัวสูงขึน้ จากกิโลกรัมละ 82.25 บาท ในปี 2559 ร้อยละ 2.24 ส่วนราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปในปี 2560 เฉลีย่ กิโลกรัมละ 147.00 บาท ปรับตัวลดลง จากกิโลกรัมละ 150.25 บาท ในปี 2559 ร้อยละ 2.16

2. แนวโน้ม ปี 2561 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2561 คาดว่าการผลิตเนือ้ ไก่ ของโลกจะมีปริมาณ 91.28 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 90.18 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 1.22 การผลิต เนื้อไก่ของโลกขยายตัวตามความต้องการบริโภค ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประเทศผู้ผลิต ที่ส�ำคัญทั้งสหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยุโรป และอินเดียขยายการผลิตเพิ่มขึ้น ในขณะที่การ ผลิตไก่เนื้อของจีนคาดว่าจะลดลง เนื่องจากจีนยัง ประสบปัญหาการระบาดของโรคไข้หวัดนก 2.1.2 การตลาด

(1) ความต้องการบริโภค

ปี 2561 คาดว่าการบริโภค เนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 89.09 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 88.14 ล้านตัน ในปี 2560 ร้อยละ 1.08 ผู้บริโภครายใหญ่ที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา คาดว่า จะมีการบริโภคปริมาณ 15.84 ล้านตัน รองลงมา

ได้แก่ สหภาพยุโรป 11.32 ล้านตัน และจีน 11.10 ล้านตัน (2) การส่งออก ปี 2561 คาดว่าการส่งออก เนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 11.44 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 11.08 ล้านตัน ในปี 2560 ร้อยละ 3.29 ผู้ผลิต รายเดิม (บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป) ยังคง เป็นผู้ครองตลาด โดยบราซิลยังคงเป็นประเทศที่ ส่งออกเนือ้ ไก่มากทีส่ ดุ คือ 4.15 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 4.00 ล้านตัน ในปี 2560 ร้อยละ 3.75 รองลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตาม ล�ำดับ โดยไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของ โลก

(3) การน�ำเข้า

ปี 2561 คาดว่าการน�ำเข้า เนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 9.27 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 9.05 ล้านตันในปี 2560 ร้อยละ 6.67 ประเทศ ผูน้ ำ� เข้าเนือ้ ไก่ 5 อันดับแรก ได้แก่ ญีป่ นุ่ เม็กซิโก ซาอุดิอาระเบีย สหภาพยุโรป และอิรัก โดยในปี 2561 คาดว่าประเทศดังกล่าวจะมีปริมาณการ น�ำเข้าเนื้อไก่ 0.99 0.78 0.74 0.72 และ 0.64 ล้านตัน ตามล�ำดับ

2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปี 2561 คาดว่าการผลิตไก่เนือ้ ของไทย ยั ง คงขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ตามจ� ำ นวน ประชากร และความต้องการบริโภคที่ขยายตัว เพิ่มขึ้น ทั้งตลาดภายในประเทศ และตลาดต่าง ประเทศ โดยคาดว่าไทยจะผลิตไก่เนื้อปริมาณ 1,501.53 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 1,470.26 ล้านตัว ในปี 2560 ร้อยละ 2.13 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

23


Thailand Focus 2.2.2 การตลาด

(1) ความต้องการบริโภค

ปี 2561 คาดว่าการบริโภค เนือ้ ไก่ของไทยมีปริมาณ 1.42 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 1.36 ล้านตัน ในปี 2560 ร้อยละ 4.52 เนือ่ งจาก เนื้อไก่ยังเป็นอาหารที่จ�ำเป็นเพื่อการบริโภค และ มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ โดยการบริโภค ในประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65.46 ของ ปริมาณการผลิตทั้งหมด

(2) การส่งออก

การส่งออกเนื้อไก่ของไทย ในปี 2561 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับ ปริมาณความต้องการบริโภคของตลาด โดยเฉพาะ ตลาดญีป่ นุ่ สหภาพยุโรป และตลาดอืน่ ๆ ทีม่ แี นว โน้มน�ำเข้าเนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจาก มาตรการควบคุมป้องกัน และเฝ้าระวังโรคระบาด สัตว์ที่เข้มงวด และการรักษามาตรฐานการผลิต และคุณภาพสินค้า จนเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และประเทศคู่ค้า ท�ำให้ไทยสามารถขยายการ ส่งออกเนื้อไก่ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2561 คาดว่ า การ ส่งออกเนื้อไก่รวมมีปริมาณ 750,000 ตัน มูลค่า 96,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 720,000 ตัน มูลค่า 92,000 ล้านบาท ในปี 2560 ร้อยละ 4.17 และร้อยละ 4.35 ตามล�ำดับ โดยแยกเป็น การส่งออกไก่สดแช่แข็งปริมาณ 230,000 ตัน มูลค่า 19,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 220,000 ตัน มูลค่า 18,500 ล้านบาท ในปี 2560 ร้อยละ 4.55 และร้อยละ 5.41 ตามล�ำดับ และ เป็นการส่งออกเนื้อไก่แปรรูปปริมาณ 520,000 ตัน มูลค่า 76,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ

24 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

500,000 ตัน มูลค่า 73,500 ล้านบาท ในปี 2560 ร้อยละ 4.00 และร้อยละ 4.08 ตามล�ำดับ (3) ราคา 1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561 คาดว่าราคา ไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2560 เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้สอด คล้องกับความต้องการของตลาด 2) ราคาส่งออก ปี 2561 คาดว่าราคา ส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูป จะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2560

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณ การผลิต หรือการส่งออกของไทย 2.3.1 ปัจจัยด้านบวก (1) การเพิ่ ม ขึ้ น ของจ� ำ นวน ประชากรโลก ท�ำให้ความต้องการบริโภคอาหาร จากเนือ้ สัตว์โดยเฉพาะเนือ้ ไก่ปรับตัวเพิม่ ขึน้ เนือ่ ง จากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มีไขมันต�่ำ รวมทั้ง ยังมีราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่นๆ (2) การส่ ง ออกเนื้ อ ไก่ แ ละ ผลิตภัณฑ์ไปยังไปญี่ปุ่นขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่องหลังจากญี่ปุ่นได้อนุญาตให้ไทยส่งออกไก่สด แช่เย็นแช่แข็งอีกครั้ง ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม 2556 เนือ่ งจากสินค้าอาหารจากไทยมีภาพลักษณ์ ทีด่ ที งั้ ในด้านคุณภาพและราคา และไทยมีระยะทาง ที่ใกล้กว่าประเทศคู่แข่งอย่างสหรัฐอเมริกา และ บราซิล รวมทั้งแรงงานไทยมีฝีมือและประณีต ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ไก่สดของไทยสามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ดกี ว่าคูแ่ ข่ง ประกอบกับ


Thailand Focus การที่จีนมีปัญหาเรื่องความไม่ปลอดภัยทางด้านอาหาร ท�ำให้ญี่ปุ่นเพิ่มการน�ำเข้า เนื้อไก่แปรรูปจากไทยเพื่อไปทดแทน (3) การด�ำเนินการเรื่อง Compartment และ Traceability สามารถสร้างความเชือ่ มัน่ ในคุณภาพการผลิตเนือ้ ไก่ของไทยให้ประเทศคูค่ า้ ยอมรับ ซึง่ เป็นผลจากมาตรการควบคุมป้องกัน และเฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ทเี่ ข้มงวด ท�ำให้ ไทยไม่มีรายงานการพบโรคไข้หวัดนกในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 9 ปี นับจาก วันที่ท�ำลายสัตว์ปีกตัวสุดท้าย เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 ในขณะที่ประเทศ คู่แข่งต่างๆ มีการระบาดของโรคไข้หวัดนก อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา และจีน จึงเป็นโอกาสที่ท�ำให้ไทยมีส่วนแบ่งการตลาดส่งออกเนื้อไก่ไปยังตลาดโลกเพิ่มขึ้น 2.3.2 ปัจจัยด้านลบ (1) ประเทศไทยต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศ เช่น พันธุ์สัตว์ เคมีภัณฑ์ เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ (2) ต้ น ทุ น การผลิ ต ไก่ เ นื้ อ ของไทย โดยเปรี ย บเที ย บสู ง กว่ า ประเทศคู่แข่ง อาทิ บราซิล สหรัฐอเมริกา และจีน (3) ประเทศต่างๆ มีการน�ำมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) มาใช้มากขึน้ โดยน�ำประเด็นทางสังคมต่างๆ มาก�ำหนดเป็นมาตรฐานทางการค้าระหว่างประเทศ เช่น มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งประเทศคู่ค้าอาจน�ำประเด็นดังกล่าวมาใช้กีดกัน การค้าระหว่างกัน หากไทยไม่ได้มีการเตรียมการป้องกันและแก้ไขอย่างจริงจัง ก็ อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกเนื้อไก่ของไทยได้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

25


Thailand Focus ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำ�คัญ ประเทศ สหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยุโรป จีน อินเดีย รัสเซีย ไทย ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด

หน่วย : พันตัน

2556

2557

2558

2559

25601/

16,976 12,308 10,050 13,350 3,450 3,010 1,500 23,763 84,407

17,306 12,692 10,450 13,000 3,725 3,260 1,570 24,762 86,765

17,971 13,146 10,890 13,400 3,900 3,600 1,700 24,519 89,126

18,261 12,910 11,533 12,300 4,200 3,730 1,780 24,384 89,098

18,596 13,250 11,700 11,600 4,400 3,870 1,900 24,859 90,175

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.39 1.66 4.11 -3.31 6.25 6.58 6.17 0.75 1.60

25612/ 18,970 13,550 11,880 11,000 4,600 3,910 1,990 25,378 91,278

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำ�คัญ ประเทศ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน บราซิล รวมทั้งหมด

2556

2557

2558

2559

25601/

13,691 9,638 13,174 46,389 82,892

14,043 10,029 12,830 48,252 85,154

15,094 10,441 13,267 48,547 87,349

15,331 11,018 12,344 48,675 87,368

15,576 11,170 11,650 49,739 88,135

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 3.52 3.97 -2.81 1.49 1.50

หน่วย : พันตัน

25612/ 15,838 11,320 11,095 50,838 89,091

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 3 ปริมาณการส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำ�คัญ ประเทศ บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ไทย จีน ตุรกี ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด

2556

2557

2558

2559

3,482 3,332 1,083 504 420 337 1,117 10,275

3,558 3,310 1,133 546 430 378 1,123 10,478

3,841 2,867 1,179 622 401 321 1,028 10,259

3,889 3,014 1,276 690 386 296 1,134 10,685

25601/ 4,000 3,091 1,250 770 400 360 1,208 11,079

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 3.73 -2.41 4.14 11.42 -2.03 -1.12 1.68 1.72

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

26 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

หน่วย : พันตัน

25612/ 4,150 3,189 1,280 800 385 375 1,265 11,444


Thailand Focus ตารางที่ 4 ปริมาณการนำ�เข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำ�คัญ ประเทศ ญี่ปุ่น เม็กซิโก ซาอุดิอาระเบีย สหภาพยุโรป อิรัก แอฟริกาใต้ จีน ฮ่องกง สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คิวบา ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด

2556 854 682 838 671 673 355 244 272 217 182 3,706 8,694

2557

2558

888 722 762 712 698 369 260 299 225 186 3,781 8,902

2559

936 790 863 730 625 436 268 312 277 224 3,131 8,592

หน่วย : พันตัน

25601/

973 791 886 761 661 504 430 344 296 233 3,060 8,939

995 750 780 720 610 500 450 390 340 300 3,215 9,050

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 4.05 2.85 0.07 2.10 -2.48 10.48 18.85 8.99 12.44 13.03 -4.84 0.85

25612/ 990 775 740 720 635 510 480 400 335 320 3,369 9,274

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 5 การผลิต การบริโภค และส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของไทย ปี 2556 2557 2558 2559 25601/ อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 25612/

ผลผลิต (ล้านตัว)

ผลผลิต (ตัน)

1,189.04 1,629,916 1,295.56 1,775,928 1,337.87 1,846,264 1,405.49 2,032,676 1,470.26 2,080,120 5.19 5.19 1,501.53 2,171,5693/

บริโภค (ตัน) 1,125,510 1,230,370 1,224,490 1,342,567 1,360,120 4.77 1,421,569

ไก่สด 91,242 146,543 175,758 213,032 220,000 23.79 230,000

ส่งออก (ตัน) ไก่แปรรูป 413,164 399,016 446,016 477,077 500,000 5.76 520,000

รวม 504,406 545,559 621,774 690,109 720,000 9.93 750,000

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน  3/ ตั้งแต่ 2561 ปรับน�้ำหนักไก่เฉลี่ยที่ใช้ในการค�ำนวณเพิ่มขึ้นจาก 2.25 เป็น 2.30 ก.ก./ตัว ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

27


Thailand Focus ตารางที่ 6 ปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูป ประเทศ

2556

ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) เนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) รวมทั้งหมด ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  ที่มา : กรมศุลกากร

2/

2557

91,242 146,543 6,330 12,648 413,164 399,016 60,476 61,315 504,406 545,559 66,805 73,963

2558

2559

25601/

175,758 14,320 446,016 64,500 621,774 78,820

213,032 220,000 17,522 18,500 477,077 500,000 71,680 73,500 690,109 720,000 89,202 92,000

อัตราเพิ่ม 25612/ (ร้อยละ) 23.79 230,000 28.03 19,500 5.76 520,000 5.61 76,500 9.93 750,000 8.63 96,000

คาดคะเน

ตารางที่ 7 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูป รายการ

2556

2557

2558

2559

อัตราเพิ่ม 25612/ (ร้อยละ) 37.70 -3.92 37.75

25601/

ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 43.25 42.34 39.61 37.36 ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) 69.37 86.31 81.48 82.25 84.09 เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) 146.37 153.67 144.61 150.25 147.00 หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

3.42 84.78 -0.14 147.12




Thailand Focus

» ไข่ไก่ 1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 การผลิต ปี 2556 - 2560 การผลิตไข่ไก่ของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.74 ต่อปี ตาม ความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2560 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 14,037.23 ล้านฟอง เพิ่มขึ้น จาก 13,280.30 ล้านฟองของปี 2559 ร้อยละ 5.70 เนื่องจากเกษตรกรมีการจัดการเลี้ยงไก่ไข่ที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

1.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2556 - 2560 การบริโภคไข่ไก่เฉลีย่ ทัง้ ประเทศมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 3.94 ต่อปี โดยในปี 2560 มีปริมาณการบริโภคไข่ไก่ 13,932.72 ล้านฟอง เพิม่ ขึน้ จาก 13,190.30 ล้านฟอง ของปี 2559 ร้อยละ 5.63 เนื่องจากไข่ไก่มีราคาถูกเมื่อเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น และสามารถ ปรุงอาหารได้งา่ ย ประกอบกับภาครัฐ และภาคเอกชน มีการรณรงค์สง่ เสริมการบริโภคไข่ไก่เพือ่ กระตุน้ การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น (2) การส่งออก การส่งออกไข่ไก่แบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด และผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ 1) การส่งออกไข่ไก่สด ปี 2556 - 2560 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้มลดลงในอัตรา ร้อยละ 14.20 ต่อปี และร้อยละ 9.92 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยในปี 2560 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 104.51 ล้านฟอง มูลค่า 328.70 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปริมาณ 90.01 ล้านฟอง มูลค่า 309.29 ล้านบาท ของปี 2559 ร้อยละ 16.11 และร้อยละ 6.27 ตามล�ำดับ เนื่องจากเกษตรกรและผู้ประกอบการส่งออก ไข่ไก่ไปต่างประเทศเพื่อระบายผลผลิตในประเทศ ประกอบกับประเทศเกาหลีใต้เปิดตลาดไขไก่สด ให้กับไทย ซึ่งเป็นผลจากความต้องการบริโภคไข่ไก่ภายในประเทศเกาหลีใต้ที่เพิ่มสูงขึ้นจากการระบาด ของไข้หวัดนก โดยตลาดส่งออกที่ส�ำคัญของไทย คือ ฮ่องกง (ร้อยละ 94.38) และเกาหลีใต้ (ร้อยละ 3.65) 2) การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ปี 2556 - 2560 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 3.16 ต่อปี และร้อยละ 9.37 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยในปี 2560 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

29


Thailand Focus จากไข่ไก่ปริมาณ 4,365.00 ตัน มูลค่า 456.00 ล้านบาท ปริมาณลดลงจาก 4,607.38 ตัน ของปี 2559 ร้อยละ 5.26 แต่มลู ค่าเพิม่ ขึน้ จาก 446.74 ล้านบาท ของปี 2559 ร้อยละ 2.07 ผลิตภัณฑ์ ที่ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออก ทีส่ ำ� คัญ คือ ญีป่ นุ่ ซึง่ มีสดั ส่วนการส่งออกร้อยละ 57.74 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมทัง้ หมด (3) การน�ำเข้า ปี 2556 - 2560 ปริมาณ และ มูลค่าการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 15.99 ต่อปี และร้อยละ 3.99 ต่อปีตามล�ำดับ โดยในปี 2560 มีการน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 3,387.21 ตัน มูลค่า 589.98 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 2,614.71 ตัน ของปี 2559 ร้อยละ 29.54 แต่มูลค่าลดลง จาก 670.90 ล้านบาท ของปี 2559 ร้อยละ 12.06 โดยผลิตภัณฑ์ที่น�ำเข้าจะใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เพือ่ ใช้ในประเทศ และ ส่งออก ผลิตภัณฑ์ที่น�ำเข้ามากที่สุดคือ ไข่ขาวผง โดยน�ำเข้าจากประเทศเนเธอร์แลนด์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30.16 ของปริมาณน�ำเข้าไข่ขาวผง ทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อิตาลี และฝรั่งเศส (4) ราคา 1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2556 - 2560 ราคาไข่ไก่ที่ เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 3.14 ต่อปี โดยในปี 2560 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกร ขายได้เฉลี่ยฟองละ 2.70 บาท ลดลงจากฟองละ 2.95 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 9.49 เนื่องจาก ผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดมีปริมาณมาก 2) ราคาส่งออก ปี 2556 - 2560 ราคาส่งออก

30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

ไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มแี นวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 4.96 ต่อปี และร้อยละ 6.09 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยในปี 2560 ราคาส่งออกไข่ไก่ สดเฉลี่ยฟองละ 3.14 บาท ลดลงจากฟองละ 3.45 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 8.99 และราคา ส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 104,421 บาท เพิม่ ขึน้ จากตันละ 97,641 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 6.99 3) ราคาน�ำเข้า ปี 2556 - 2560 ราคาน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อย ละ 9.68 ต่อปี โดยในปี 2560 ราคาน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ เฉลี่ยตันละ 174,719 บาท ลดลงจากตันละ 274,543 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 36.36

2. แนวโน้ม ปี 2561 2.1 การผลิต ปี 2561 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิต ไข่ไก่ 14,355.17 ล้านฟอง เพิม่ ขึน้ จาก 14,037.23 ล้านฟอง ในปี 2560 ร้อยละ 2.26 เนื่องจากมี การขยายการผลิตตามความต้องการบริโภคทีเ่ พิม่ ขึ้นตามจ�ำนวนประชากร ประกอบกับเกษตรกร มีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

2.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2561 คาดว่าปริมาณการบริโภค ไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นจากปี 2560 เนื่องจากภาครัฐ และภาคเอกชน มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภค ไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับคุณประโยชน์ ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่เหมาะกับ ทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง


Thailand Focus (2) การส่งออก ปี 2561 คาดว่าการส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย เมือ่ เทียบ กับปี 2560 เนื่องจากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาดส่งออก (3) การน�ำเข้า ปี 2561 คาดว่าการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัว หรือเพิ่มขึน้ เล็กน้อย เนื่องจาก โรงงานแปรรูปไข่ไก่ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่างๆ ได้อย่าง เพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ จากกลุ่มประเทศ ที่สหภาพยุโรปให้การรับรองให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้ (4) ราคา ปี 2561 คาดว่าราคาไข่ไก่ทเี่ กษตรกรขายได้เฉลีย่ ทัง้ ประเทศจะสูงขึน้ จากปี 2560 เนือ่ งจาก มีการจัดท�ำแผนการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้งมีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ ท�ำให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด (1) สภาพอากาศที่แปรปรวน มีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจท�ำให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และ เป็นโรคได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้ (2) หน่วยงานจากภาครัฐ และภาคเอกชนได้มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่อย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการจัดกิจกรรมที่ส�ำคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ ของไข่ไก่และรณรงค์สง่ เสริมการบริโภคไข่ไก่ให้เพิม่ ขึน้ ซึง่ จะส่งผลให้ผบู้ ริโภคหันมาบริโภคไข่ไก่มากขึน้ อย่างไรก็ตาม เกษตรกรควรมีการจัดการฟาร์มทีด่ ี รวมทัง้ มีการวางแผนการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนการผลิต และแก้ไขปัญหาผลผลิตเกินความต้องการบริโภค ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคไข่ไก่ของไทย ปี 2556 - 2561 รายการ ปริมาณการผลิต1/ (ล้านฟอง) ปริมาณการส่งออก2/ (ล้านฟอง) ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านฟอง)

อัตราเพิ่ม 2561** (ร้อยละ) 12,033.39 12,520.42 12,733.16 13,280.30 14,037.23 3.74 14,355.17 177.91 143.59 186.77 90.01 95.00 -15.82 n.a. 11,855.48 12,376.83 12,546.39 13,190.30 13,932.72 3.94 n.a. 2556

2557

2558

2559

2560*

หมายเหตุ : *ข้อมูลเบื้องต้น **ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : 1/, 3/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2/ กรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

31


Thailand Focus ตารางที่ 2 การส่งออกไข่ไก่ และผลิตภัณฑ์ ปี 2556 - 2560 รายการ

2556

ไข่ไก่สด ปริมาณ (ล้านฟอง) มูลค่า (ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)

2557

2558

2559

2560*

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)

177.91 461.73

143.59 445.62

189.45 587.70

90.01 309.29

104.51 328.70

-14.20 -9.92

3,971.14 322.39

4,077.74 364.80

4,564.13 411.28

4,607.38 446.74

4,365.00 456.00

3.16 9.37

หมายเหตุ : *คาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางที่ 3 การนำ�เข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปี 2556 - 2560 รายการ ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)

2556

2557

2558

2559

2560*

1,927.25 528.54

1,831.80 565.08

2,453.31 739.98

2,614.71 670.90

3,387.21 589.98

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 15.99 3.99

หมายเหตุ : *คาดคะเน ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางที่ 4 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคานำ�เข้า ปี 2556 - 2560 รายการ

2556

ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/ฟอง)1/ ราคาส่งออก2/ (เอฟ.โอ.บี.) ไข่ไก่สด (บาท/ฟอง) ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ (บาท/ตัน) ราคาน�ำเข้า2/ (ซี.ไอ.เอฟ.) ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ (บาท/ตัน) หมายเหตุ : *คาดคะเน ที่มา : 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2/

2557

2558

2559

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.67 -3.14

2560*

3.06

3.09

2.69

2.95

2.60 81,183

3.10 89,461

3.10 90,112

3.45 97,641

3.14 104,421

4.96 6.09

274,246 308,483 301,624 274,543

174,719

-9.68

กรมศุลกากร

32 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561




Thailand Focus

» สุกร 1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ปี 2556 - 2560 การผลิตเนื้อสุกรของประเทศต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.34 ต่อปี ในปี 2560 การผลิตเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 111.03 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ซึ่งมี ปริมาณ 109.97 ล้านตัน ร้อยละ 0.97 เนื่องจากประเทศส่วนใหญ่ผลิตเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประเทศ ผูผ้ ลิตทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย เวียดนาม แคนาดา และฟิลปิ ปินส์ ผลิตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.96 ร้อยละ 3.55 ร้อยละ 0.68 ร้อยละ 3.14 ร้อยละ 1.81 ร้อยละ 2.40 และร้อยละ 2.92 ตามล�ำดับ ส่วนสหภาพยุโรปผลิตลดลงร้อยละ 0.52 1.1.2 การตลาด

1) ความต้องการบริโภค

ปี 2556 - 2560 ความต้องการบริโภคเนือ้ สุกรของประเทศต่างๆ เพิม่ ขึน้ ในอัตรา ร้อยละ 0.36 ต่อปี ในปี 2560 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 110.59 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จากปี 2559 ซึ่งมีปริมาณ 109.67 ล้านตัน ร้อยละ 0.84 เนื่องจากประเทศต่างๆ มีการบริโภคเพิ่มขึ้น โดยสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา รัสเซีย บราซิล เวียดนาม ญี่ปุ่น และเม็กซิโก มีการบริโภคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.99 ร้อยละ1.29 ร้อยละ 2.13 ร้อยละ 1.64 ร้อยละ 1.57 ร้อยละ 3.01 และร้อยละ 6.16 ตามล�ำดับ ส่วนจีน มีการบริโภคลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 0.08

2) การส่งออก

ปี 2556 - 2560 การส่งออกเนื้อสุกรของประเทศต่างๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.18 ต่อปี ในปี 2560 การส่งออกเนื้อสุกรมีปริมาณรวม 8.27 ล้านตัน ลดลงจากปี 2559 ซึ่งมี ปริมาณ 8.32 ล้านตัน ร้อยละ 0.59 ประเทศที่ส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา จีน ชิลี เม็กซิโก ออสเตรเลีย และเวียดนาม มีการส่งออกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.92 ร้อยละ 0.76 ร้อยละ 12.57 ร้อยละ 4.05 ร้อยละ 13.48 ร้อยละ 10.53 และร้อยละ 14.29 ตามล�ำดับ เนือ่ งจากความต้องการในตลาดโลก เพิ่มขึ้น ส�ำหรับประเทศที่ส่งออกลดลง ได้แก่ สหภาพยุโรป และบราซิล ส่งออกลดลงร้อยละ 10.40 และร้อยละ 2.64 ตามล�ำดับ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

33


Thailand Focus

3) การน�ำเข้า

ปี 2556 - 2560 การน�ำเข้า เนือ้ สุกรของประเทศต่างๆ เพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 5.97 ต่อปี ในปี 2560 การน�ำเข้าเนื้อสุกรของ ประเทศผูน้ ำ� เข้าทีส่ ำ� คัญมีปริมาณรวม 7.88 ล้าน ตัน ลดลงจากปี 2559 ซึง่ มีปริมาณ 7.97 ล้านตัน ร้อยละ 1.78 ประเทศทีน่ ำ� เข้าเพิม่ ขึน้ ได้แก่ ญีป่ นุ่ เม็กซิโก เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และฟิลิปปินส์ มีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.80 ร้อยละ 10.19 ร้อยละ 10.57 ร้อยละ 2.22 และร้อยละ 28.21 ตามล�ำดับ ส�ำหรับประเทศทีน่ ำ� เข้าลดลง ได้แก่ จีน ฮ่องกง และรัสเซีย น�ำเข้าลดลงร้อยละ 24.35 ร้อยละ 4.43 และร้อยละ 6.34 ตามล�ำดับ

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2556 - 2560 การผลิตสุกร ของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 9.42 ต่อปี ในปี 2560 มีปริมาณการผลิตสุกร 19.252 ล้านตัว เพิม่ ขึน้ จาก 18.870 ล้านตัว ของปี 2559 ร้อยละ 2.02 เนื่องจากตลาดภายในประเทศยังคงมีความ ต้องการบริโภคอย่างต่อเนือ่ ง และผูผ้ ลิตรายกลาง และรายใหญ่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยสามารถ จัดการฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ และป้องกัน โรคได้ดี ท�ำให้อตั ราการรอดของสุกรเพิม่ ขึน้ ส่งผล ให้มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น 1.2.2 การตลาด

(1) ความต้องการบริโภค

ปี 2556 - 2560 ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรของไทย เพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 8.03 ต่อปี สุกรทีผ่ ลิตได้ใช้บริโภคภายใน ประเทศเป็นหลักประมาณร้อยละ 97 ของปริมาณ

34 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

การผลิตทั้งหมด ปี 2560 มีปริมาณการบริโภค สุกร 18.71 ล้านตัว หรือ 1.403 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จากปี 2559 ร้อยละ 10.30

(2) การส่งออก

การส่งออกสุกรมีปริมาณ เพียงร้อยละ 3.17 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด โดยเป็นการส่งออกเนื้อสุกรและเนื้อสุกรแปรรูป ร้อยละ 0.72 และสุกรมีชวี ติ ร้อยละ 2.45 เนือ้ สุกร ส่งออกไปยัง สปป.ลาว มาเลเซีย กัมพูชา ฮ่องกง และสหรัฐอเมริกา ส่วนเนื้อสุกรแปรรูปส่งออกไป ยังญี่ปุ่น ฮ่องกง กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ เนเธอร์แลนด์ และเยอรมัน ส�ำหรับสุกรมีชีวิต ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ และเวียดนาม ปี 2556 - 2560 ปริมาณการส่งออกเนือ้ สุกรช�ำแหละ ลดลงในอัตรา ร้อยละ 8.44 ต่อปี โดยในปี 2560 ส่งออกเนือ้ สุกร ช�ำแหละปริมาณ 2,200 ตัน มูลค่า 130 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 ซึ่งส่งออกปริมาณ 3,324 ตัน มูลค่า 169.26 ล้านบาท ร้อยละ 33.81 และร้อยละ 23.20 ตามล�ำดับ ปี 2556 - 2560 ปริมาณการ ส่งออกเนือ้ สุกรแปรรูป ลดลงในอัตราร้อยละ 10.65 ต่อปี โดยในปี 2560 ส่งออกเนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ 8,200 ตัน มูลค่า 1,900 ล้านบาท ลดลง จากปี 2559 ซึง่ ส่งออกปริมาณ 10,336 ตัน มูลค่า 2,183.60 ล้านบาท ร้อยละ 20.67 และร้อยละ 12.99 ตามล� ำ ดั บ ส� ำ หรั บ สุ ก รมี ชี วิ ต ส่ ง ออก ปริมาณ 359,500 ตัว มูลค่า 1,707 ล้านบาท เป็น สุกรพันธุ์ 44,500 ตัว มูลค่า 207.00 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 ซึง่ ส่งออกปริมาณ 126,704 ตัว มูลค่า 662.56 ล้านบาท ร้อยละ 64.88 และ ร้อยละ 68.76 ตามล�ำดับ และเป็นสุกรมีชวี ติ อืน่ ๆ ปริมาณ 315,000 ตัว มูลค่า 1,500 ล้านบาท ลดลง จากปี 2559 ซึ่งส่งออกปริมาณ 920,481 ตัว


Thailand Focus มูลค่า 4,60340 ล้านบาท ร้อยละ 65.78 และ ร้อยละ 67.42 ตามล�ำดับ เนื่องจากราคาสุกร มีชีวิตในเวียดนามมีราคาลดลงอยู่ที่กิโลกรัมละ 35 - 40 บาท ท�ำให้กัมพูชา และสปป.ลาว หันไป น�ำเข้าสุกรมีชีวิตจากเวียดนามแทน ส่งผลให้การ ส่งออกไปยังกัมพูชา และสปป.ลาว ลดลง รวมทัง้ ที่ สปป.ลาว มีการส่งออกต่อไปยังจีนลดลงด้วย นอกจากนี ้ จีนมีการผลิตสุกรเพือ่ บริโภคในประเทศ จ�ำนวนมาก ท�ำให้จนี ลดปริมาณการน�ำเข้าลง ส่งผล กระทบต่อการส่งออกสุกรของไทย

(3) การน�ำเข้า

ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การน� ำ เข้ า ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และ เครือ่ งในอืน่ ๆ) และผลิตภัณฑ์เนือ้ สุกร ปี 2556 2560 ปริมาณการน�ำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 28.80 ต่อปี โดยในปี 2560 น�ำเข้าส่วนอืน่ ๆ ทีบ่ ริโภคได้ปริมาณ 36,200 ตัน มูลค่า 770.00 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 ซึง่ น�ำเข้าปริมาณ 40,680 ตัน มูลค่า 887.87 ล้าน บาท ร้อยละ 11.01 และร้อยละ 13.28 ตามล�ำดับ โดยน�ำเข้าส่วนอืน่ ๆ ทีบ่ ริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ เครื่องในอื่นๆ) จาก เยอรมัน อิตาลี และเนเธอร์แลนด์ ส่วนปริมาณการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปี 2556-2560 ลดลงในอัตราร้อยละ 4.27 ต่อปี โดยในปี 2560 น�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนือ้ สุกรปริมาณ 530 ตัน มูลค่า 104 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 ซึง่ น�ำเข้าปริมาณ 139.20 บาท มูลค่า 1,497 ล้าน บาท ร้อยละ 64.60 และร้อยละ 25.29 ตามล�ำดับ โดยน�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรจาก จีน อิตาลี และ ฮ่องกง

(4) ราคา

1) ราคาที่เกษตรกรขายได้

ปี 2556 - 2560 ราคาที่ เกษตรกรขายได้ลดลงในอัตราร้อยละ 4.84 ต่อ ปี ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ปี 2560 เฉลี่ย กิโลกรัมละ 54.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัม ละ 66.96 บาท ของปี 2559 ร้อยละ 19.35 ถึง แม้ว่าความต้องการบริโภคภายในประเทศจะมีอยู่ อย่างต่อเนือ่ ง แต่เพิม่ ขึน้ ในอัตราทีล่ ดลง ทัง้ ทีร่ าคา สุกรมีชวี ติ ทีเ่ กษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง แต่ราคา ขายปลีก ณ ตลาด กรุงเทพมหานคร (เนื้อแดง ไหล่ สะโพก) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 126 บาท ลดลง ร้อยละ 10 จากปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ไม่ได้ปรับลดตามราคา สุกรมีชีวิตมากนัก จึงไม่สามารถกระตุ้นให้การ บริโภคเนือ้ สุกรเพิม่ ขึน้ ได้ ประกอบกับปริมาณการ ส่งออกสุกรมีชีวิตลดลง ท�ำให้จ�ำนวนสุกรมีชีวิต ในประเทศคงเหลือเป็นจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ราคา สุกรมีชีวิตลดลง

2) ราคาส่งออก

ปี 2556 - 2560 ราคา ส่งออกเนือ้ สุกรช�ำแหละลดลงในอัตราร้อยละ 1.23 ต่อปี โดยในปี 2560 ราคาส่งออกเนือ้ สุกรช�ำแหละ เฉลีย่ กิโลกรัมละ 59.00 บาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2559 ร้อยละ 15.87 ส่วนราคาเนือ้ สุกรแปรรูป ปี 2556 2560 เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.25 ต่อปี โดยปี 2560 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัม ละ 230.00 บาท สูงขึน้ จากปี 2559 ร้อยละ 8.87

3) ราคาน�ำเข้า

ปี 2556 - 2560 ราคา น�ำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวมสูงขึ้น ในอัตราร้อยละ 10.50 ต่อปี และราคาน�ำเข้าตับ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

35


Thailand Focus ลดลงเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.36 ต่อปี โดยในปี 2560 ราคาน�ำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร รวม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.00 บาท ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 3.80 ส่วนราคาน�ำเข้าตับ เฉลี่ย กิโลกรัมละ 25.00 บาท ลดลงจากปี 2559 ร้อย ละ 2.00

2. แนวโน้ม ปี 2561 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2561 คาดว่าการผลิตเนือ้ สุกร จะมีปริมาณรวม 113.07 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 1.83 โดยคาดว่าประเทศผู้ผลิตที่ ส�ำคัญหลายประเทศ ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย เวียดนาม แคนาดา และฟิลปิ ปินส์ จะผลิตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.34 ร้อยละ 3.98 ร้อยละ 0.81 ร้อยละ 1.35 ร้อยละ 0.91 ร้อยละ 2.04 และร้อยละ 3.15 ตามล�ำดับ ประเทศจีนมีผลผลิต เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้ผลิตในประเทศ ได้รับผลตอบแทนที่ดี จึงจูงใจให้ขยายการผลิต ประกอบกับน�ำ้ หนักซากทีเ่ พิม่ ขึน้ ท�ำให้มผี ลผลิตมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น และความต้องการบริโภคภายใน ประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่งผลให้ปริมาณการผลิตเพิม่ ขึน้ ในประเทศรัสเซีย ฟิลิปปินส์ และเม็กซิโก ส่วน สหภาพยุโรป มีการผลิตลดลงร้อยละ 0.21 ซึง่ เป็น ผลจากภาวะซบเซาของความต้องการของตลาด ภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ 2.1.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2561 คาดว่ า ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรจะมีปริมาณรวม 112.58 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 1.80 โดย คาดว่า จีน สหรัฐอเมริกา รัสเซีย บราซิล เวียดนาม

36 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

และเม็กซิโก บริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.15 ร้อยละ 2.82 ร้อยละ 0.46 ร้อยละ 0.34 ร้อยละ 0.81 และร้อยละ 4.80 ตามล�ำดับ เนื่องจากผลผลิต ภายในประเทศเพิ่มขึ้น ส่วนสหภาพยุโรปมีการ บริโภคลดลงร้อยละ 0.24 ส�ำหรับญี่ปุ่นมีการ บริโภคทรงตัว

(2) การส่งออก

ปี 2561 คาดว่าการส่งออก เนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 8.48 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 2.58 เนื่องจาก มี ค วามต้ อ งการบริ โ ภคเนื้ อ สุ ก รอย่ า งมากจาก ประเทศเม็กซิโก ฟิลปิ ปินส์ อาร์เจนตินา่ ชิลี และ โคลอมเบีย โดยคาดว่าสหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล จีน ชิลี เม็กซิโก ออสเตรเลีย และเวียดนาม จะส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.52 ร้อยละ 1.50 ร้อยละ 2.47 ร้อยละ 9.30 ร้อยละ 8.33 ร้อยละ 6.25 ร้อยละ 7.14 และร้อยละ 7.5 ตามล�ำดับ โดยที่สหรัฐอเมริกามีปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง จึงคาดว่าจะส่งผลให้ราคาสุกรลดลง ซึ่ ง เป็ น ผลดี ต ่ อ การส่ ง ออกเนื้ อ สุ ก รของสหรั ฐ อเมริกา ส่วนสหภาพยุโรปการส่งออกคาดว่าจะ ทรงตัวแม้วา่ จะเป็นประเทศผูส้ ง่ ออกรายใหญ่ทสี่ ดุ เนื่องจากการส่งออกไปจีนโดยทางเรือลดลง และ การแข็งตัวของค่าเงินยูโร (3) การน�ำเข้า ปี 2561 คาดว่าการน�ำเข้า มีปริมาณรวม 8.05 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จากปี 2560 ร้อยละ 2.14 โดยคาดว่าเม็กซิโก ฮ่องกง และ ฟิลิปปินส์ น�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.67 ร้อยละ 3.66 และร้อยละ 14.00 ตามล�ำดับ ส่วนจีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และรัสเซีย น�ำเข้าลดลง ร้อยละ 3.03 ร้อยละ 0.35 ร้อยละ 3.68 ร้อยละ 10.28 และร้อยละ 7.69 ตามล�ำดับ


Thailand Focus

2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปี 2561 คาดว่าการผลิตสุกร มีปริมาณ 19.884 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 19.252 ล้านตัว ของปี 2560 ร้อยละ 3.28 เนื่องจาก ปริมาณการผลิตขยายตัวตามจ�ำนวนประชากร และความต้องการบริโภคจากตลาดภายในประเทศ ที่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเกษตรกร มีการบริหารจัดการจัดการฟาร์มและป้องกันโรค ระบาดได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ประสิทธิภาพในการ เลีย้ งสุกรเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้ปริมาณการผลิตเพิม่ ขึน้ 2.2.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2561 คาดว่าการบริโภค สุกรจะเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2560 เนื่องจาก ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมีปริมาณ การบริโภคสุกร 19.39 ล้านตัว หรือ 1.454 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 3.64 (2) การส่งออก ปี 2561 คาดว่าการส่งออก เนือ้ สุกรช�ำแหละและเนือ้ สุกรแปรรูป จะใกล้เคียง กับปี 2560 เนื่องจากปริมาณการส่งออกไปยัง ประเทศเพื่อนบ้านจะทรงตัว หรือลดลงเล็กน้อย และประเทศจีนยังคงมีปริมาณการผลิตเพือ่ บริโภค ภายในประเทศอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ จีนยังมีความ เข้มงวดในการน�ำเข้าท�ำให้การส่งออกสุกรมีชีวิต ไปจีนโดยผ่าน สปป.ลาว ชะลอตัวลง (3) การน�ำเข้า ปี 2561 คาดว่าการน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรและส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของ สุกร (หนัง ตับ และเครือ่ งในอืน่ ๆ) จะใกล้เคียงกับ ปี 2560

(4) ราคา

ปี 2561 คาดว่าราคาสุกรที่ เกษตรกรขายได้โดยเฉลีย่ จะใกล้เคียงกับปี 2560 หรือลดลงเล็กน้อย เนื่องจากปริมาณการผลิตยัง คงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ ปริมาณการส่งออก ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ส่วนราคาส่งออก เนือ้ สุกรช�ำแหละและเนือ้ สุกรแปรรูป คาดว่าจะใกล้ เคียงกับปี 2560

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต หรือการส่งออก 2.3.1 โรคระบาด และความแปรปรวนของสภาพภูมอิ ากาศ แม้วา่ การจัดการฟาร์ม สุกรในปัจจุบันจะมีประสิทธิภาพและควบคุมโรค ระบาดได้ดีขึ้น แต่ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรค ระบาดในสุกร เนื่องจากสภาพอากาศในปัจจุบัน มีความแปรปรวนจึงท�ำให้สกุ รมีภมู ติ า้ นทานต�ำ่ โดย ในปี 2560 ทีป่ ระเทศไทยได้ประสบสภาวะทีม่ ฝี น ตกชุก ท�ำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคระบาด ซึ่ง ปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิต สุกร โดยส่งผลให้ปริมาณการผลิตลดลง และ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ซึ่งฟาร์มสุกรของเกษตรกร รายย่อย และฟาร์มขนาดเล็กทีม่ กี ารจัดฟาร์มทีย่ งั ไม่ได้มาตรฐาน มีความเสีย่ งสูงทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ จากโรคระบาด รวมทัง้ ปี 2561 มีความเป็นไปได้ที่ สภาพภูมอิ ากาศจะมีความแปรปรวนอย่างต่อเนือ่ ง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสุกร 2.3.2 ภาวะเศรษฐกิ จ เป็ น ปั จ จั ย ส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการบริโภคและ การส่งออกสุกร โดยคาดว่าปี 2561 อัตราการ ขยายตัวของเศรษฐกิจไทยจะยังคงชะลอตัวตาม การส่งออกสินค้า เนื่องจากเศรษฐกิจโลกมีภาวะ ชะลอตัว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

37


Thailand Focus เกษตรของไทย และส่งผลกระทบต่อก�ำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศ นอกจากนี้ หากภาวะเศรษฐกิจ ยังคงมีการชะลอตัวอย่างต่อเนือ่ ง ผูบ้ ริโภคอาจหันมาบริโภคสินค้าโปรตีนอืน่ ทีม่ รี าคาต�ำ่ กว่าเพือ่ ทดแทน เนื้อสุกร เช่น เนื้อไก่ ไข่ไก่ เป็นต้น ส่งผลให้การบริโภคเนื้อสุกรลดลง 2.3.3 ประเทศคู่ค้าสุกร จากการคาดการณ์ในปี 2561 ประเทศจีนจะมีการขยายปริมาณ การผลิตสุกรเพื่อการบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้น รวมทั้งราคาสุกรในประเทศเวียดนามมีราคาลดลง เหลือกิโลกรัมละ 35 - 40 บาท ท�ำให้ประเทศจีนหันมาน�ำเข้าสุกรจากประเทศเวียดนามมากขึน้ ส่งผลให้ การค้าสุกรมีชีวิตที่ชายแดนของไทยลดลง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการส่งออกสุกรมีชีวิตของประเทศไทย ท�ำให้ปริมาณอุปทานของสุกรของตลาดในประเทศเพิม่ มากขึน้ ในขณะทีอ่ ปุ สงค์ภายในประเทศมีปริมาณ ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ซึ่งส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตลดลง 2.3.4 ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสุกร - ความผันผวนของราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์มีความผันผวน ตลอดเวลา หากวัตถุดบิ อาหารสัตว์มรี าคาสูงขึน้ ก็จะส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตของสุกร โดยเฉพาะ ฟาร์มขนาดเล็ก เนื่องจากมีต้นทุนเฉลี่ยสูงกว่าฟาร์มขนาดใหญ่ ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อสุกรของประเทศที่สำ�คัญ ปี 2556 - 2561 ประเทศ จีน สหภาพยุโรป* สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย เวียดนาม แคนาดา ฟิลิปปินส์ อื่นๆ รวม

2556

2557

2558

2559

25601/

54,930 22,359 10,525 3,335 2,400 2,357 1,822 1,388 9,734 108,850

56,710 22,540 10,368 3,400 2,510 2,431 1,805 1,402 9,486 110,652

54,870 23,249 11,121 3,519 2,615 2,572 1,899 1,463 9,310 110,618

52,990 23,523 11,320 3,700 2,870 2,701 1,914 1,540 9,411 109,969

53,500 23,400 11,722 3,725 2,960 2,750 1,960 1,585 9,309 111,034

หน่วย : พันตันน�้ำหนักซาก

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -1.20 1.35 3.08 3.11 5.69 4.22 2.07 3.66 -0.97 0.34

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

38 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

25612/ 54,750 23,350 12,188 3,755 3,000 2,775 2,000 1,635 9,617 113,070


Thailand Focus ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศที่สำ�คัญ ปี 2556 - 2561 ประเทศ จีน สหภาพยุโรป* สหรัฐอเมริกา รัสเซีย บราซิล เวียดนาม ญี่ปุ่น เม็กซิโก อื่นๆ รวม

2556

2557

2558

25591/

25601/

55,456 20,147 8,665 3,282 2,751 2,341 2,549 1,956 11,319 108,466

57,194 20,390 8,544 3,021 2,846 2,414 2,543 1,991 11,021 109,964

55,668 20,873 9,341 3,016 2,893 2,550 2,568 2,176 11,063 110,148

54,980 20,410 9,475 3,192 2,870 2,676 2,626 2,256 11,182 109,667

54,935 20,613 9,597 3,260 2,917 2,718 2,705 2,395 11,448 110,588

หน่วย : พันตันน�้ำหนักซาก

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -0.58 0.47 3.13 0.42 1.26 4.10 1.52 5.44 0.37 0.36

25612/ 56,115 20,563 9,868 3,275 2,927 2,740 2,705 2,510 11,881 112,584

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 3 ปริมาณส่งออกเนื้อสุกรของประเทศที่สำ�คัญ ปี 2556 - 2561 ประเทศ สหภาพยุโรป* สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล จีน ชิลี เม็กซิโก ออสเตรเลีย เวียดนาม อื่นๆ รวม

2556 2,227 2,262 1,246 585 244 164 111 36 22 114 7,011

2557 2,164 2,310 1,220 556 277 163 117 37 21 123 6,988

2558 2,388 2,272 1,239 627 231 178 128 36 30 105 7,235

2559 3,125 2,377 1,320 832 191 173 141 38 35 88 8,320

หน่วย : พันตันน�้ำหนักซาก

25601/ 2,800 2,589 1,330 810 215 180 160 42 40 105 8,271

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 8.60 3.03 2.12 11.11 -6.06 2.49 9.61 3.41 18.61 -4.87 5.18

25612/ 2,800 2,706 1,350 830 235 195 170 45 43 110 8,484

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

39


Thailand Focus ตารางที่ 4 ปริมาณนำ�เข้าเนื้อสุกรของประเทศที่สำ�คัญ ปี 2556 - 2561 ประเทศ

2556

จีน ญี่ปุ่น เม็กซิโก เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง รัสเซีย ฟิลิปปินส์ อื่นๆ รวม

2557

770 1,223 783 388 399 399 883 172 1,593 6,610

2558

761 1,332 818 480 459 347 516 199 1,429 6,341

2559

1,029 1,270 981 599 506 397 408 175 1,353 6,718

2,181 1,361 1,021 615 495 429 347 195 1,329 7,973

หน่วย : พันตันน�้ำหนักซาก

25601/ 1,650 1,440 1,125 680 506 410 325 250 1,493 7,879

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 29.40 3.54 9.93 14.68 5.66 2.70 -21.30 7.55 -2.00 5.97

25612/ 1,600 1,435 1,200 655 454 425 300 285 1,694 8,048

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น  2/ คาดคะเน ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2017

ตารางที่ 5 ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร ปี 2556 - 2561 รายการ ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) 2/ ปริมาณส่งออก (ตัน) ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน)

2556

2557

2558

2559

2560*

14.139 1.060 15,957 1.070

14.216 1.066 17,227 1.010

16.040 1.203 17,078 1.140

18.870 1.415 13,660 1.272

19.252 1.444 10,400 1.403

อัตราเพิ่ม 2561** (ร้อยละ) 9.42 19.884 9.42 1.491 -10.31 n.a. 8.03 1.454

หมายเหตุ : *ข้อมูลเบื้องต้น **คาดคะเน ที่มา : 1/, 3/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2/ กรมศุลกากร

ตารางที่ 6 การส่งออกเนื้อสุกรชำ�แหละ เนื้อสุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต ปี 2556 - 2560 รายการ เนื้อสุกรช�ำแหละ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า: ล้านบาท เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ (ตัน) มูลค่า: ล้านบาท สุกรพันธุ์ ปริมาณ (ตัว) มูลค่า: ล้านบาท สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ (ตัว) มูลค่า: ล้านบาท

2556

2557

2558

2559

2560*

3,840 2,635 3,189 3,324 2,200 226.07 152.49 193.99 169.26 130.00 12,117 14,592 13,889 10,336 8,200 2,437.61 2,657.87 2,551.71 2,183.60 1,900.00 17,988 25,168 312,200 126,704 44,500 66.34 141.91 1,427.49 662.56 207.00 243,261 388,846 560,350 920,481 315,000 925.68 1,765.06 2,538.73 4,603.40 1,500.00

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร

40 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -8.44 -9.54 -10.65 -6.71 40.89 46.47 14.78 21.22


Thailand Focus ตารางที่ 7 การนำ�เข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร และส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่นๆ) ปี 2556-2560 รายการ ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร

2556

2557

2558

2559

2560*

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)

801 65.20

1,014 81.26

1,046 125.50

1,497 139.20

530 104.00

-4.27 15.86

12,548 161.90

26,956 574.59

36,758 803.42

40,680 887.87

36,200 770.00

28.80 42.68

ตารางที่ 8 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคานำ�เข้า ปี 2556 - 2560 รายการ ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ราคาส่งออก (บาท/กก.) เนื้อสุกรช�ำแหละ เนื้อสุกรแปรรูป ราคาน�ำเข้า (บาท/กก.) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม ตับ

หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร

2556

2557

2558

2559

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 54.00 -4.84

2560*

65.35

75.08

66.08

66.96

58.87 201.17

57.88 182.14

60.83 183.72

50.92 211.26

59.00 230.00

-1.23 4.25

12.90 24.32

21.32 27.94

12.00 21.86

21.83 25.51

21.00 25.00

10.50 -0.36

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

41


Food Feed Fuel

อาหารสัตว์แพง ถึงเวลารัฐแก้ปัญหาจริงจัง ๏ ชูศักดิ์ รัตนวนิชย์โรจน์ กรรมการสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ๏

ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ได้ ร ายงานภาวะเศรษฐกิ จ การเกษตร จากดัชนีราคาสินค้าเกษตร ในเดือน พ.ย. 2560 ที่ผ่านมา พบว่า ราคาสินค้าลดลงร้อยละ 4.89 จาก ช่วงเดียวกันของปี 2559 ส่วนสินค้าที่ ปรับตัวลดลงประกอบด้วย ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน ไข่ไก่ และสุกร ขณะที่สินค้าที่ราคาเพิ่มขึ้นคือ ข้าวเปลือกเจ้า (ความชื้น 15%) มัน ส�ำปะหลัง และกุ้งขาวแวนนาไม ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ลดลงร้อยละ 2.67 ยิ่งเมื่อพิจารณาถึงรายได้ เกษตรกรในแต่ละหมวดสินค้า พบว่าหมวดพืชผลเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.96 หมวดประมง (กุง้ ขาวแวนนาไม) เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.29 ส่วนเกษตรกรที่มีภาวะรายได้เข้าข่ายน่าเป็นห่วงคือ เกษตรกรในหมวดปศุสัตว์ ที่รายได้ลดลงร้อยละ 4.06 เนื่องจากผลผลิตสินค้าปศุสัตว์หลักทั้งไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่ และน�้ำนมดิบ ออกสู่ตลาดมากไม่สมดุลกับความต้องการบริโภคที่ชะลอตัว ท�ำให้ราคาส่วนใหญ่อ่อนตัวลง ตัวเลขทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกษตรกรภาคปศุสัตว์ก�ำลังเผชิญอยู่ และเป็นภาวะขาดทุน ที่เกษตรกรต่างทนแบกรับปัญหามานานตลอดทั้งปีนี้ โดยเฉพาะผู้เลี้ยงไก่ไข่ที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะราคาตกต�่ำทั่วประเทศ ปัจจุบันปริมาณผลผลิตไข่ไก่เฉลี่ยอยู่ที่ 42.90 ล้านฟอง/วันนั้น สวนทางกับการบริโภคของ คนไทยที่มีเพียง 40.42 ล้านฟอง/วัน ท�ำให้ไข่ไก่ล้นตลาดถึงวันละ 2.48 ล้านฟอง ปริมาณการผลิต และการบริโภคทีไ่ ม่สมดุลกันเช่นนี้ ท�ำให้ราคาไข่ไก่รว่ งลงต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ชว่ งกลางปี ราคาขายไข่คละ หน้าฟาร์มปัจจุบันอยู่ที่ฟองละ 1.80-2.00 บาทเท่านั้น ขณะทีต่ น้ ทุนการผลิตไข่ไก่ที่ สศก. ระบุไว้นนั้ พุง่ สูงไปถึงฟองละ 2.80 - 2.90 บาทแล้ว ภาวะขาดทุน สะสมนี้ กระทบต่อเกษตรกรทั้งหมด โดยเฉพาะผู้เลี้ยงรายย่อยขาดทุนมานานหลายเดือน เกษตรกร ตัดสินใจปลดไก่และพักเล้า และหลายรายจ�ำต้องเลิกกิจการเพราะแบกรับต้นทุนไม่ไหว ที่มา : โพสต์ทูเดย์ ฉบับวันที่ 06 มกราคม พ.ศ. 2561

42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Food Feed Fuel ล่าสุดกระทรวงพาณิชย์เตรียมหารือกับ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ หรือเอ้กบอร์ด (Egg Board) เพื่อร่วมกันแก้ ปัญหาแบบครบวงจรที่จะช่วยลดความเดือดร้อน ของเกษตรกร เบื้องต้นกระทรวงจะออกประกาศ ควบคุมการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม และการกระจายไข่ไก่ออกสู่ตลาดให้ มากที่สุด ด้วยการน�ำผลผลิตเข้าจ�ำหน่ายที่ร้าน ธงฟ้าประชารัฐทัว่ ประเทศ ซึง่ คาดว่าจะช่วยดูดซับ ปริมาณผลผลิตเกษตรกรได้ในระดับหนึ่ง

วันนี้ปัญหาใหญ่ที่ก�ำลังเผชิญอยู่ไม่ใช่เพียง ราคาที่ตกต�่ำ แต่ต้นทุนที่สูงขึ้นจากราคาวัตถุดิบ อย่างข้าวโพดที่ใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์มาก ทีส่ ดุ กลับปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ๆ ทีต่ อนนี้ เป็นฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวโพด ซึ่งปกติ ปริมาณสินค้าที่เข้าสู่ตลาดต้องมีมาก และราคา จะลดลงตามกลไก แต่ตอนนีผ้ ลผลิตในตลาดกลับ ขาด ส่งผลต่อราคาที่สูงอย่างไม่สมเหตุสมผล ซึ่ง อยากสะท้อนปัญหานี้ให้ภาครัฐทราบ และลงมา จัดการอย่างจริงจัง

ด้านผู้เลี้ยงหมูที่ได้รับผลกระทบจากภาวะ ราคาสินค้าตกต�่ำต่อเนื่องไม่ต่างกัน โดยขณะนี้ ราคาประกาศหมูเป็นหน้าฟาร์มลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ร่วม 10 สัปดาห์ติดต่อกัน ปัจจุบันราคาขายหมู ในเขตภาคอีสานตกต�ำ่ มาอยูท่ ี่ 38 - 45 บาท ขณะที่ ต้นทุนเฉลีย่ พุง่ สูงขึน้ ไปถึง 58 - 60 บาท/กิโลกรัม (กก.) แล้ว ทั้งหมดเกิดจากผลกระทบของหลาย ปั จ จั ย ทั้ ง ก� ำ ลั ง ซื้ อ ของผู ้ บ ริ โ ภคถดถอยลงไป มาก การบริโภคทีต่ กต�ำ่ ภาวะผลผลิตมากกว่าการ บริโภคเช่นนี้ท�ำให้หมูล้นตลาด มีปริมาณสะสม มาก เกษตรกรจึงเลือกทีจ่ ะระบายหมูออกสูต่ ลาด เพื่อลดความเสี่ยงเกี่ยวกับภาวะตลาดที่ถดถอย

ราคาข้าวโพดที่สูงขึ้น ซึ่งกระทบเป็นลูกโซ่ ต่อต้นทุนราคาวัตถุดบิ อาหารสัตว์ กลายเป็นปัญหา ร่ ว มของเกษตรกรทุ ก ภาคส่ ว น ท� ำ ให้ ส มาคม ผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้ผลิตผู้ค้าและ ส่งออกไข่ไก่ สมาคมส่งเสริมผู้ใช้วัตถุดิบอาหาร สัตว์ สมาคมผูเ้ ลีย้ งเป็ดเพือ่ การค้าและการส่งออก สมาคมกุ้งไทย และสมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย ต้องออกมายื่นหนังสือร้องเรียนกระทรวงพาณิชย์ เพือ่ ขอให้ยกเลิกมาตรการก�ำหนดสัดส่วนให้ผผู้ ลิต อาหารต้องซื้อข้าวโพดในประเทศ 3 ส่วน ต่อการ น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน ทีห่ วังช่วยพยุงราคาข้าวโพด และชะลอการน� ำ เข้ า ข้ า วสาลี ที่ ใ ช้ ท ดแทนการ ขาดแคลนข้าวโพด เนื่องจากตอนนี้มาตรการถูก บิดเบือนโดยพ่อค้าคนกลาง

หลายฟาร์มยอมขายหมูถูกอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ เพราะโดนกดดันด้าน ราคาจากพ่อค้า คนกลาง วันนี้เกษตรกรยอมแบกรับภาระขาดทุน ตัวละ 1,500 - 2,000 บาท เพื่อประคับประคอง อาชีพนี้ต่อไป และเพื่อไม่กระทบกับผู้บริโภคหาก ต้องทิ้งอาชีพนี้ แล้วอนาคตปริมาณหมูที่ลดลงจะ ผลักดันราคาขายในประเทศให้ขยับขึ้น

อย่างไรก็ตาม สินค้าปศุสตั ว์ราคาตกต�ำ่ สวน ทางกับต้นทุนที่ต้องแบกรับ น่าเห็นใจเกษตรกร และถ้าไม่สามารถสู้กับสถานการณ์ราคาเช่นนี้ได้ คนที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดในล�ำดับต่อไป คงหนีไม่พ้นผู้บริโภค ถึงเวลาที่ภาครัฐ และทุก ภาคส่วนต้องหันมาร่วมกันแก้ปญ ั หานีอ้ ย่างจริงจัง เสียที

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

43


Food Feed Fuel

ผุดแผนเลี้ยงปู่ย่าพันธุ์ไก่ไข่ หนุนปลดระวางแม่ไก่ 2 ล.ตัว นายลักษณ์ วจนานวัช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังประชุมคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์วา่ ทีป่ ระชุมฯ ได้มกี ารพิจารณาแผนการเลีย้ ง ปู่ย่าพันธุ์ไก่ไข่ (G.P.) และพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ (P.S.) ปี 2561 โดยพิจารณาให้มีแผน การเลีย้ งไก่ไข่พนั ธุ์ ปี 2561 คือ 1. ปู่ ย่าพันธุ์ (G.P.) จ�ำนวน 5,500 ตัว 2. พ่อแม่ พันธุ์ไก่ไข่ (P.S.) จ�ำนวน 550,000 ตัว และ 3. ให้ส�ำรองพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ (P.S.) ไว้ทกี่ รมปศุสตั ว์ จ�ำนวน 50,000 ตัว นอกจากนี้ ยังได้มกี ารพิจารณาโครงการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ ปีงบประมาณ 2561 ซึง่ ทีป่ ระชุมฯ เห็นชอบในการปลดระวาง แม่ไก่อายุไม่เกิน 72 สัปดาห์ จ�ำนวน 2 ล้านตัว แบ่งเป็น 4 เฟส เฟสละ 500,000 ตัว โดยให้ใช้เงินชดเชยจากผู้ประกอบการเลี้ยงไก่ไข่รายใหญ่ ทั้งนี้ ให้อธิบดีกรม ปศุสตั ว์หารือผูป้ ระกอบการรายใหญ่ จ�ำนวน 40 ราย ภายในสัปดาห์แรกของเดือน มกราคม 2561 นายลักษณ์ กล่าวว่า ส�ำหรับสถานการณ์ไก่ไข่ และไข่ไก่ปัจจุบัน มีจ�ำนวน ไก่ไข่พันธุ์ ไก่ไข่ และผลผลิตไข่ไก่ ปี 2560 มีแม่ไก่ไข่ยืนกรงจ�ำนวน 55.64 ล้านตัว และมีไข่ไก่จ�ำนวน 45.10 ล้านฟอง/วัน มีปริมาณการน�ำไก่ไข่เข้าเลี้ยง ปี 2560 ซึง่ เป็นข้อมูลจากเกษตรกรแจ้งเคลือ่ นย้ายไก่ไข่ (Layer) เข้าเลีย้ งผ่านระบบ E-movement จ�ำนวน 609,246 ตัว มีต้นทุนการผลิตไข่ไก่เฉลี่ย 2.87 บาท/ฟอง อีกทั้งมีปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด ปี 2560 (มกราคม-ตุลาคม) จ�ำนวน 109.69 ล้านฟอง มูลค่า 364.95 ล้านบาท ราคาส่งออกไข่ไก่เฉลี่ยฟองละ 3.33 บาท มี ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญคือประเทศฮ่องกง ร้อยละ 93 และประเทศอื่นๆ ร้อยละ 7

ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 09 มกราคม พ.ศ. 2561

44 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561




Food Feed Fuel

หมู-ไก่-ไข่ราคาตก... วัตถุดิบอาหารสัตว์แพง

ปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข และน�ำ้ นมดิบ ออกสูต่ ลาดมาก ไม่สมดุลกับความ ต้องการบริโภคที่ชะลอตัว ท�ำให้ราคาส่วนใหญ่ อ่อนตัวลง

ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจการเกษตร จากดัชนีราคา สินค้าเกษตรในเดือนพฤศจิกายน 2560 ทีผ่ า่ นมา พบว่า ราคาสินค้าลดลงร้อยละ 4.89 จากช่วง เดียวกันของปี 2559 ส่วนสินค้าที่ปรับตัวลดลง ประกอบด้วยยางพารา ปาล์มน�้ำมัน ไข่ไก่ และ สุกร ขณะทีส่ นิ ค้าทีร่ าคาเพิม่ ขึน้ คือ ข้าวเปลือกเจ้า (ความชื้น 15%) มันส�ำปะหลัง และกุ้งขาว แวนนาไม ด้านดัชนีราคาสินค้าเกษตรทีเ่ กษตรกรขาย ได้ลดลงร้อยละ 2.67 ยิ่งเมื่อพิจารณาถึงรายได้ เกษตรกรในแต่ละหมวดสินค้า พบว่า หมวดพืชผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.96 หมวดประมง (กุ้งขาวแวนนาไม) เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.29 ส่วนเกษตรกรทีม่ ภี าวะ รายได้เข้าข่ายน่าเป็นห่วงคือ เกษตรกรในหมวด ปศุสัตว์ ที่รายได้ลดลงร้อยละ 4.06 เนื่องจาก ผลผลิต สินค้าปศุสัตว์หลักทั้งไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่

ตั ว เลขทั้ ง หมดนี้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ปั ญ หาที่ เกษตรกรภาคปศุสัตว์ก�ำลังเผชิญอยู่ และเป็น ภาวะขาดทุนที่เกษตรกรต่างทนแบกรับปัญหา มานานตลอดทัง้ ปีนี้ โดยเฉพาะผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่ทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากภาวะราคาตกต�ำ่ ทัว่ ประเทศ เรือ่ งนี้ ยศพงศ์ ถิระวุฒิ กรรมการสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ ภาคใต้ บอกว่า ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยที่ 42.90 ล้านฟองต่อวันนั้น สวนทางกับการบริโภคของ คนไทยที่มีเพียง 40.42 ล้านฟองต่อวัน ท�ำให้ ไข่ไก่ล้นตลาดถึงวันละ 2.48 ล้านฟอง ปริมาณ การผลิตและการบริโภคทีไ่ ม่สมดุลกันเช่นนี้ ท�ำให้ ราคาไข่ไก่รว่ งลงต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ชว่ งกลางปี ราคา ขายไข่คละหน้าฟาร์มปัจจุบันอยู่ที่ฟองละ 1.80 2.00 บาทเท่านั้น ขณะที่ต้นทุนการผลิตไขไก่ที่ สศก. ระบุไว้นั้น พุ่งสูงไปถึงฟองละ 2.80 - 2.90 บาทแล้ว ภาวะขาดทุนสะสมนีก้ ระทบต่อเกษตรกร ทัง้ หมด โดยเฉพาะผูเ้ ลีย้ งรายย่อยขาดทุนมานาน หลายเดือน เกษตรกรตัดสินใจปลดไก่ และพักเล้า และหลายรายจ�ำต้องเลิกกิจการเพราะแบกรับ ต้นทุนไม่ไหว

ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

45


Food Feed Fuel “ขอฝากถึงภาครัฐว่า วันนี้เกษตรกรก�ำลัง เดือดร้อนหนัก และต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วย ดูแลให้ครบวงจร เหมือนกับตอนทีร่ าคาไข่ไก่ปรับ สูงขึน้ ภาครัฐก็จะคอยควบคุมราคาไม่ให้กระทบกับ ผูบ้ ริโภค เรือ่ งหนึง่ ทีจ่ ะช่วยเราได้คอื การเร่งพิจารณา มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเรื่องการ ลดภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ หรือการน�ำเข้า วัตถุดิบทดแทนเพื่อให้ต้นทุนค่าอาหารสัตว์ต�่ำลง รวมถึงการเร่งรัดโครงการไข่โรงเรียนที่สมาคม ผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่เสนอไปก่อนหน้านี้ ให้สามารถด�ำเนิน การได้โดยเร็วเพื่อช่วยบรรเทาปัญหา”

มากกว่าการบริโภคเช่นนี้ท�ำให้หมูล้นตลาด มี ปริมาณสะสมมาก เกษตรกรจึงเลือกที่จะระบาย หมูออกสู่ตลาด เพื่อลดความเสี่ยงเกี่ยวกับภาวะ ตลาดที่ถดถอย หลายฟาร์มยอมขายหมูถูกอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้เพราะโดนกดดันด้านราคาจาก พ่อค้าคนกลาง วันนี้เกษตรกรยอมแบกรับภาระ ขาดทุนตัวละ 1,500 - 2,000 บาท เพื่อประคับ ประคองอาชี พ นี้ ต ่ อ ไป และเพื่ อ ไม่ ก ระทบกั บ ผู้บริโภคหากต้องทิ้งอาชีพนี้ แล้วอนาคต ปริมาณ หมูที่ลดลงจะผลักดันราคาขายในประเทศให้ขยับ ขึ้น

ล่าสุดกระทรวงพาณิชย์ เตรียมหารือกับ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ หรือเอ้กบอร์ด (Egg Board) เพื่อร่วมกันแก้ ปัญหาแบบครบวงจรที่จะช่วยลดความเดือดร้อน ของเกษตรกร เบื้องต้นกระทรวงจะออกประกาศ ควบคุมการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสม และการกระจายไข่ไก่ออกสู่ตลาด ให้มากทีส่ ดุ ด้วยการน�ำผลผลิตเข้าจ�ำหน่ายทีร่ า้ น ธงฟ้าประชารัฐทัว่ ประเทศ ซึง่ คาดว่าจะช่วยดูดซับ ปริมาณผลผลิตเกษตรกรได้ในระดับหนึ่ง

“วันนี้ปัญหาใหญ่ที่เราก�ำลังเผชิญอยู่ไม่ใช่ เพียงราคาที่ตกต�่ำ แต่ต้นทุนที่สูงขึ้นจากราคา วัตถุดิบอย่างข้าวโพดที่ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร สัตว์มากที่สุด กลับปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทัง้ ๆ ทีต่ อนนีเ้ ป็นฤดูกาลเก็บเกีย่ วผลผลิตข้าวโพด ซึง่ ปกติปริมาณสินค้าทีเ่ ข้าสูต่ ลาดต้องมีมาก และ ราคาจะลดลงตามกลไก แต่ตอนนีผ้ ลผลิตในตลาด กลับขาด ส่งผลต่อราคาทีส่ งู อย่างไม่สมเหตุสมผล เราอยากสะท้อนปัญหานีใ้ ห้ภาครัฐทราบ และลงมา จัดการอย่างจริงจัง”

ด้านผู้เลี้ยงหมูที่ได้รับผลกระทบจากภาวะ ราคาสินค้าตกต�่ำต่อเนื่องไม่ต่างกัน ชูศักดิ์ รัตนวนิชย์โรจน์ กรรมการสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ และนายกสมาคมผูเ้ ลีย้ ง สุกรภาคตะวันออกเฉียง เหนือ บอกว่า ขณะนี้ราคาประกาศหมูเป็นหน้า ฟาร์มลดลงอย่างต่อเนือ่ งร่วม 10 สัปดาห์ตดิ ต่อกัน ปัจจุบนั ราคาขายหมูในเขตภาคอีสานตกต�ำ่ มาอยูท่ ี่ 38 - 45 บาท ขณะที่ต้นทุนเฉลี่ยพุ่งสูงขึ้นไปถึง 58 - 60 บาทต่อกิโลกรัมแล้ว ทั้งหมดเกิดจากผล กระทบของหลายปัจจัย ทั้งก�ำลังซื้อของผู้บริโภค ถดถอยลงไปมาก การบริโภคทีต่ กต�ำ่ ภาวะผลผลิต

ราคาข้าวโพดที่สูงขึ้น ซึ่งกระทบเป็นลูกโซ่ ต่อต้นทุนราคาวัตถุดบิ อาหารสัตว์กลายเป็นปัญหา ร่วมของเกษตรกรทุกภาคส่วนท�ำให้สมาคมผูผ้ ลิต ไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้ผลิตผู้ค้าและส่งออก ไข่ไก่ สมาคมส่งเสริมผูใ้ ช้วตั ถุดบิ อาหารสัตว์ สมาคม ผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก สมาคม กุง้ ไทย และสมาคมผูเ้ พาะเลีย้ งปลาไทย ต้องออก มายืน่ หนังสือร้องเรียนกระทรวงพาณิชย์ เพือ่ ขอให้ ยกเลิกมาตรการก�ำหนดสัดส่วนให้ผู้ผลิตอาหาร ต้องซื้อข้าวโพดในประเทศ 3 ส่วน ต่อการน�ำเข้า ข้าวสาลี 1 ส่วน ทีห่ วังช่วยพยุงราคาข้าวโพด และ

46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Food Feed Fuel ชะลอการน�ำเข้าข้าวสาลีที่ใช้ทดแทนการขาดแคลนข้าวโพด เนื่องจากตอนนี้ มาตรการถูกบิดเบือนโดยพ่อค้าคนกลาง เรื่องนี้ พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล เลขาธิการสมาพันธ์ปศุสัตว์และ เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ให้เหตุผลว่า การที่ภาคปศุสัตว์ต้องรวมตัวกันยื่นหนังสือถึง กระทรวงพาณิชย์ ก็เพื่อเรียกร้องให้ยกเลิกมาตรการควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลี เพราะส่งผลให้ราคาข้าวโพดในประเทศสูงกว่าราคาตลาดโลก ซึง่ กระทบโดยตรง ต่อต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ รวมถึงต้นทุนการเลีย้ งสัตว์ทงั้ วงจรทีจ่ ำ� ต้องสูงขึน้ ตามไปด้วย โดยเฉพาะผู้เลี้ยงไก่เนื้อ ไก่ไข่ และหมู ที่วันนี้ต้องประสบภาวะ ขาดทุน และส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของสินค้าปศุสัตว์ไทย และ จะกระทบต่อเนือ่ งเป็นวงกว้างไปถึงการส่งออกเนือ้ ไก่มลู ค่า 1 แสนล้านบาทต่อปี ขณะนี้ราคาข้าวโพดปรับตัวสูงขึ้นเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.30 - 9.70 บาท ซึ่งเป็นราคาที่สูงกว่าราคาตลาดโลกที่ซื้อขายกันอยู่ที่กิโลกรัมละ 4 - 5 บาท เท่านั้น ที่ส�ำคัญผู้ผลิตอาหารสัตว์ไม่สามารถน�ำเข้าข้าวสาลีมาทดแทนข้าวโพด ได้เพราะมาตรการดังกล่าว ส่วนราคาข้าวโพดในประเทศก็ตกอยู่ในมือพ่อค้า คนกลาง ทีว่ นั นีต้ อ้ งการขายในราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 10 บาท เท่ากับว่าในช่วงที่ ราคาปรับขึน้ เช่นนี้ แต่เกษตรกรกลับไม่ได้รบั ประโยชน์อะไรเลย เพราะเกษตรกร ขายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้กับพ่อค้าไปหมดแล้ว เรื่องสินค้าปศุสัตว์ราคาตกต�่ำสวนทางกับต้นทุนที่ต้องแบกรับ นับว่า น่าเห็นใจเกษตรกร และหากพวกเขาไม่อาจทนสู้กับสถานการณ์ราคาเช่นนี้ได้ คนที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดในล�ำดับต่อไปคงหนีไม่พ้นผู้บริโภคอย่างเราๆ ท่านๆ วันนีจ้ งึ ถึงเวลาแล้วทีภ่ าครัฐ และทุกภาคส่วนต้องหันมาร่วมกันแก้ปญ ั หานี้ อย่างจริงจังเสียที

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

47


Food Feed Fuel

ราคาข้าวโพดแพง

หลังมาตรการ 1 : 3 จริงหรือ? ๏ ประกายดาว แบ่งสันเทียะ ๏ ภาพประกอบ : AJFAM

ย้อนกลับไปตั้งแต่ปี 2557 ไทยเริ่มเพิ่ม ปริมาณการน�ำเข้าข้าวสาลี มาผลิตอาหารสัตว์ ทดแทนข้าวโพดที่ผลิตได้ในประเทศ เพราะราคา ข้าวสาลีต�่ำกว่าราคาข้าวโพด ส่งผลท�ำให้ราคา ข้าวโพดในประเทศตกต�่ำลงเรื่อยๆ

สมาชิกสมาพันธ์ฯ ประกอบด้วย สมาคมปศุสัตว์ ไทย สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผูเ้ ลีย้ ง สุกรแห่งชาติ สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อ การส่ ง ออก สมาคมส่ ง เสริ ม การเลี้ ย งไก่ แ ห่ ง ประเทศไทย

กระทั่งคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติให้กรม การต่างประเทศ ออกประกาศก�ำหนดสัดส่วนการ น�ำเข้าข้าวสาลีตอ่ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในอัตรา 1 : 3 (น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ตัน จะต้องซือ้ ข้าวโพดในประเทศ 3 ตัน) เพื่อเป็นการชะลอการน�ำเข้าข้าวสาลี เป็น มาตรการชั่วคราวช่วยพยุงราคาข้าวโพด พร้อม กับมาตรการคู่ขนานจากคณะกรรมการกลาง ว่า ด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ออกประกาศ ก�ำหนดให้ผู้ประกอบการรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีปริมาณตั้งแต่ 50 ตันขึ้นไป ต้องแจ้งปริมาณ ราคา สถานที่ เ ก็ บ และจั ด ท� ำ บั ญ ชี คุ ม สิ น ค้ า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการ บริหารจัดการ

สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคม ผู้ผลิตผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ สมาคมส่งเสริมผู้ใช้ วัตถุดิบอาหารสัตว์ สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้า และการส่ ง ออก สมาคมกุ ้ ง ไทย และสมาคม ผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย ยื่นหนังสือร้องเรียนมายัง กระทรวงพาณิชย์ ขอให้ยกเลิกมาตรการ 1 : 3 จากราคาข้าวโพดที่สูงขึ้น กระทบเป็นลูกโซ่ต่อ ต้นทุนราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์

ล่าสุดในเดือนธ.ค.ปีนี้ ราคาข้าวโพด ขยับ ขึน้ ไปสูงอยูท่ ี่ 9.30 บาทต่อกิโลกรัม ส่งผลท�ำให้ 11 สมาคมปศุสัตว์ และสมาคมสัตวน�้ำ ที่เป็น

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560

48 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

พรศิ ล ป์ พั ช ริ น ทร์ ต นะกุ ล เลขาธิ ก าร สมาพันธ์ปศุสัตว์และเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ให้เหตุผล ถึงการยื่นหนังสือต่อนายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 15 ธ.ค. ทีผ่ า่ นมาว่า การเรียกร้องให้ยกเลิกมาตรการ ควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลีในสัดส่วน 1 : 3 เพราะ ส่งผลให้ราคาข้าวโพดในประเทศสูงกว่าราคาตลาด กระทบต่อต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ รวมถึง


Food Feed Fuel ต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ทั้งวงจรสูงขึ้น โดยเฉพาะ ผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ ไก่ไข่ และสุกร จนอาจต้องขาดทุน และแข่งขันล�ำบาก ผลกระทบยังเป็นวงกว้างไป ถึงการส่งออกเนือ้ ไก่มลู ค่าปีละ 1 แสนล้านบาท “ขณะนีร้ าคาข้าวโพดปรับตัวสูงขึน้ เฉลีย่ 9.10 - 9.50 บาท/กิโลกรัม ซึ่งเป็นราคาที่สูง กว่าราคาตลาดโลกทีซ่ อื้ ขายกันอยูท่ ี่ 4 - 5 บาท ต่ อ กิ โ ลกรั ม ที่ ส� ำ คั ญ ผู ้ ผ ลิ ต อาหารสั ต ว์ ไ ม่ สามารถน�ำเข้าข้าวสาลีได้เพราะราคาข้าวโพด ในประเทศอยูใ่ นมือพ่อค้าคนกลาง และต้องการ ขายในราคา 10 บาทต่อกิโลกรัม ในช่วงที่ราคาปรับขึ้น เกษตรกรไม่ได้รับประโยชน์เพราะเป็นช่วงที่ เกษตรกรขายผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไปหมดแล้ว” พรศิลป์ กล่าว ด้าน สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ มองว่า การก�ำหนดสัดส่วนการ น�ำเข้าข้าวสาลีในอัตรา 1 : 3 ส่งผลให้เกษตรกรจ�ำหน่ายข้าวโพดราคาสูงขึน้ ทีเ่ กิดประโยชน์ตอ่ เกษตรกร แต่ก็ขอศึกษาผลกระทบอย่างละเอียดอีกครั้ง เพื่อพิจารณาผลประโยชน์ที่อยู่บนพื้นฐาน ให้ความ เป็นธรรมกับทุกฝ่าย ซึง่ มาตรการ 1 : 3 ก็ถอื เป็นมาตรการชัว่ คราวทีก่ ระทรวงพาณิชย์นำ� มาใช้ชว่ ยบรรเทา ความเดือดร้อนของเกษตรกร ส่วนผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากต้นทุนทีส่ งู ขึน้ ส่งผลต่อผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ และ ผู้เลี้ยงสัตว์ก็ยินดีรับฟัง และพร้อมจะบริหารจัดการให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย บุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมการค้าภายใน ชี้แจงว่า ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา เกษตรกร ผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ประสบปัญหาภัยแล้ง น�้ำท่วม และราคาข้าวโพดปรับตัวลดต�่ำลง โดยมีสาเหตุ มาจากผลผลิตออกกระจุกตัวมากในช่วงเดือน ก.ย. - พ.ย. ซึ่งมีปริมาณมากกว่าความต้องการใช้ ส่งผล ให้โรงงานอาหารสัตว์ก�ำหนดโควตารับซื้อจากเกษตรกรและผู้รวบรวม และให้ผู้รวบรวมจัดเก็บปริมาณ ข้าวโพดส่วนที่เกินไว้ ประกอบกับราคาข้าวสาลีโลกปรับตัวลดลง โรงงานอาหารสัตว์จึงมีการน�ำเข้าข้าว สาลีเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ดังนัน้ ในปี 2560 เพือ่ ป้องกันปัญหาราคาข้าวโพดตกต�ำ่ รัฐบาลจึงได้กำ� หนดมาตรการช่วยเหลือ ตลอดทัง้ ห่วงโซ่อปุ ทาน โดยปัจจุบนั (ณ วันที่ 26 ธ.ค. 2560) ราคาข้าวโพดเมล็ดทีโ่ รงงานอาหารสัตว์ รับซือ้ ณ ความชืน้ 14.5% อยูท่ ี่ 9.50 - 9.60 บาท/กิโลกรัม ใกล้เคียงกับราคาข้าวโพดเฉลีย่ ในระหว่างปี 2556 - 2558 ซึ่งอยู่ที่ 9.07 - 9.40 บาท/กิโลกรัม ยกเว้นราคาเฉลี่ยของ ปี 2559 ซึ่งอยู่ที่ 8.49 บาท/ กิโลกรัม เนื่องจากมีการน�ำข้าวสาลีเข้ามาจ�ำนวนมาก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

49


Market Leader

2 ทางแก้ ปม ‘หมูสหรัฐฯ′’ เกษตรตรวจรับรองฟาร์ม - ติดฉลาก ประเด็นการเจรจาเปิดตลาดน�ำเข้าหมูที่มีสารเร่งเนื้อแดงจากสหรัฐอเมริกา ถือเป็นหนึ่งในประเด็นร้อนที่ค้างคามาจากปี 2560 หลังจากสมาคมผู้เลี้ยงสุกร แห่งชาติ น�ำบรรดาผู้เลี้ยงสุกรบุกล็อบบี้หารือกับผู้บริหารกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศมาหลายรอบ เพื่อไม่ให้รัฐบาลไทยไฟเขียวน�ำเข้าสุกร หรือหมูที่ปนเปื้อน สารเร่งเนือ้ แดง “แรกโตพามีน (Ractopamine)” แต่ดเู หมือนผูเ้ ลีย้ งหมู จะท�ำได้แค่ ประวิงเวลาเท่านั้น ก่อนหน้านี้ นางอภิรดี ตันตราภรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เคยเสนอเปิดให้นำ� เข้า แต่ตอ้ ง “ติดฉลาก” (label) ว่าใช้ หรือไม่ใช้สารเร่งเนือ้ แดง หรือไม่

๏ ไทยมุ่งกำ�จัดสารเร่งเนื้อแดง แต่ลา่ สุด น.ส.ชุตมิ า บุณยประภัศร รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ อดีตรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้มมุ มองใหม่วา่ ควรให้สหรัฐฯ น�ำเข้าเฉพาะ “หมูทไี่ ม่ใช้สารเร่งเนือ้ แดง” โดยเสนอให้ไทย และสหรัฐฯ หาทางออก ร่วมกันใน ประเด็นนี้ว่า “ในช่วงที่มีประเด็นการเจรจาเรื่องหมู เป็นช่วงที่อยู่กระทรวงเกษตรฯ พอดี ซึง่ ไม่เคยมีปญ ั หาเรือ่ งการเจรจาในประเด็นนี้ เพราะนโยบายของประเทศไทยชัดเจน มาก คือ “มุ่งก�ำจัดสารเร่งเนื้อแดง" ไม่ว่าจะมีการเจรจาหรือไม่ก็ตาม”

๏ นายกฯ ตู่ ให้รอบคอบ ทางกระทรวงเกษตรฯ ได้ด�ำเนินมาตรการปราบปรามอย่างต่อเนื่อง เพราะ ค้นพบแล้วว่า มีสิทธิ์ท�ำให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้จริง จึงต้องก�ำหนดให้มีจ�ำนวน ทีเ่ หมาะสม ฉะนัน้ ต้องแก้ไขทีต่ น้ ตอของปัญหา แต่ถงึ แม้วา่ จะมีการด�ำเนินการอย่าง จริงจัง อย่างไรก็ตาม ยังมีผู้ใช้สารเร่งเนื้อแดงอยู่ จึงมีการไล่จับกันตลอดเวลา ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2561

50 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Market Leader

ทาง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี ให้นโยบายว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องเทคนิค มี ความเกี่ยวข้องกับสารเคมีต่างๆ ต้องค่อยๆ หารือ และมีข้อมูลผลการตรวจสอบจากห้องปฏิบัติการ รองรับ ในปีที่ผ่านมามีการตั้งคณะท�ำงานแก้ไข ปัญหาที่นายกรัฐมนตรีตั้งขึ้นมา ทางกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ด�ำเนินการ อยู่ ผ่านคณะกรรมการนโยบายพัฒนาสุกรและ ผลิตภัณฑ์ (Pig Board) ส่วนการหารือระหว่างไทย - สหรัฐฯ ก่อน หน้านี้ สหรัฐฯ ท�ำหนังสือถึงกรมปศุสัตว์เพื่อขอ ทราบแนวทางว่า ไทยจะมีการตรวจสอบอย่างไร และสามารถจะเดินทางไปตรวจสอบได้หรือไม่ใน อีก 6 เดือนข้างหน้า (เดือนตุลาคม 2560) แต่ ทางกระทรวงเกษตรฯ ได้เลื่อนการนัดไป 1 ครั้ง และค้างอยูจ่ นถึงวันนี้ หากมีเวทีหารือระหว่างไทย สหรัฐฯ คงจะหยิบยกเรือ่ งนีม้ าหารือแน่นอน เพราะ ยืดเยื้อมายาวนาน

๏ 2 ทางแก้ปมสารเร่งเนื้อแดง หากมีการเจรจาอีกครัง้ ไทยจะอธิบายด้วย เหตุและผล หากสหรัฐฯ ต้องการให้ไทยน�ำเข้า และ ยืนยันว่าหมูของสหรัฐฯ มีสารเร่งเนื้อแดงจริง แต่ ไม่สงู กว่ามาตรฐานที่ CODEX ก�ำหนด จะต้องวาง แนวทางด�ำเนินการน�ำเข้าร่วมกัน เพือ่ ให้เกิดความ มั่นใจกับผู้บริโภค แนวทางแรก เห็นด้วยว่าควรให้มีการติด ฉลาก (label) บนบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ผู้บริโภครับ ทราบข้อมูล และสามารถตัดสินใจเลือกซือ้ สินค้าได้ ในช่องทางการค้าปลีกปกติ

๏ "ติดฉลาก" คุมไม่ทั่วถึง แต่ค�ำถามคือ ถ้าเป็นการน�ำเข้าในปริมาณ มากๆ เพื่ อ มาใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมอาหาร หรื อ ภัตตาคาร แนวทางแรกสามารถท�ำได้ครอบคลุม หรือไม่ หรือหากกระทรวงเกษตรฯ เข้าไปตรวจสอบ ในกระบวนการผลิตอาหาร แม้แต่ในครัวของทุก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

51


Market Leader ร้าน สามารถท�ำได้หรือไม่ ในทางปฏิบัติอาจท�ำ ไม่ได้ แนวทางทีส่ อง ให้นำ� เข้าเฉพาะ “หมูทไี่ ม่ใช้ สารเร่งเนื้อแดง” โดยไทยจะวางระบบตรวจสอบ ทุกฟาร์มทีต่ อ้ งการส่งออกมายังประเทศไทย และ ให้การรับรองฟาร์ม ก�ำหนดลิสต์ออกมา ก่อนจะ เปิดให้มีการน�ำเข้าว่า ไม่มีการใช้สารเร่งเนื้อแดง จริง ไม่ใช่อนุญาตทุกฟาร์ม เช่นเดียวกับทีส่ หภาพ ยุโรป และจีน ใช้ในการตรวจสอบโรงงานส่งออก ไก่ และฟาร์มเลี้ยงไก่ของไทย ประเด็นนี้เชื่อมโยงกับ “ความรับผิดชอบ ต่อผูบ้ ริโภค” หากไทยไม่สามารถตรวจสอบ หรือ ก�ำกับดูแลได้ ปรากฏว่ามีเนื้อหมูที่ใช้สารเร่งเนื้อ แดงหลุดออกไปจ�ำหน่ายในท้องตลาด อาจท�ำให้ ผู้บริโภคฟ้องหน่วยงานได้ “เรือ่ งนีต้ อ้ งหารือกับสหรัฐด้วย เหตุและผล ที่ส�ำคัญคือให้สังคมยอมรับ เพราะถ้าสหรัฐฯ ดัน ทุรงั ไม่ดกี บั ภาพลักษณ์ของสินค้าสหรัฐฯ เอง อาจ น�ำไปสู่กระแสความไม่ชอบสินค้าสหรัฐฯ แล้วจะ ฝืนกระแสท�ำไม หากวางมาตรการร่วมแล้วให้ ผู้บริโภคเป็น ผู้ตัดสิน เป็นทางเลือกที่ดีที่สุด” น.ส.ชุติมา กล่าวทิ้งท้าย

๏ มั่นใจสหรัฐฯ ยอมรับกติกาโลก อย่างไรก็ตาม หากสหรัฐฯ ไม่ยอมรับฟัง เหตุผล มีการใช้ประเด็นอื่นๆ มาพาดพิง เช่น ก�ำหนดมาตรการทางการค้ากับสินค้าอืน่ ๆ ของไทย นางสาวชุตมิ า มองว่า เชือ่ ว่าสหรัฐฯ จะไม่ทำ� อย่าง นั้น และทุกประเทศในโลกเป็นสมาชิกองค์การ การค้าโลก (WTO) มีการก�ำหนดกติการ่วมกัน เพือ่ ให้ความยุติธรรมกับสมาชิก

52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

๏ ผู้เลี้ยงหมูไทยผีซ้ำ�ด้ำ�พลอย ทางด้านนายนิพัฒน์ เนื้อนิ่ม อุปนายก สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า ในความ เป็นจริง ไทยไม่นำ� เข้าหมูจากสหรัฐอเมริกาก็ยำ�่ แย่ อยู่แล้ว ถ้ากระทรวงพาณิชย์จะเปิดให้น�ำเข้าหมู จากสหรัฐฯ โดยบินไปรับรองฟาร์มที่ไม่ใช้สารเร่ง เนื้อแดง ถือว่าเป็นการซ�้ำเติม และเป็นการแก้ไข ปัญหาแบบ “แก้ผ้าเอาหน้ารอด” ดังนั้น ผู้เลี้ยง หมูจะไปชุมนุมประท้วงที่หน้ากระทรวงพาณิชย์ หากจะน�ำเข้าหมูจากสหรัฐฯ รวมทั้งประท้วงที่ กระทรวงพาณิชย์ไม่ยอมแก้ราคาหมูตกต�่ำกว่า ต้นทุนการผลิต ที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงหมูประท้วงไม่ให้ น�ำเข้าหมูจากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากสหรัฐฯ เพราะหมูภายในประเทศล้นตลาด จึงหยิบเอาการ ใช้สารเร่งเนือ้ แดงของผูเ้ ลีย้ งหมูสหรัฐฯ มาคัดค้าน การน�ำเข้า ปัจจุบนั ราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มเหลือ กก. ละ 38 บาท ต้นทุนการเลี้ยง กก. ละ 55 - 60 บาท จึงขาดทุนตัวละ 1,700 - 2,200 บาท ขณะที่เขียง หมู ควรขายหมูเนื้อแดงที่ กก. ละ 80 - 90 บาท แต่ยงั ขายกันสูงถึง กก. ละ 110 - 120 บาท มีกำ� ไร จากการขายหมูช�ำแหละถึงตัวละ 3,000 - 4,000 บาท

๏ แนะพาณิชย์จัดการ “เขียง” ฉะนั้น กระทรวงพาณิชย์ควรไปจัดการกับ “เขียงหมู” ที่ขายเอาก�ำไรเกินควร เพื่อให้ราคา เนื้อหมูลดลง จะได้บริโภคเนื้อหมูกันมากขึ้น การ ที่กระทรวงพาณิชย์ ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย และผูเ้ ลีย้ งจัด “โครงการประชารัฐเฉพาะกิจ” ขาย เนื้อหมูช�ำแหละ กก. ละ 60 บาท โดยกระทรวง


Market Leader พาณิชย์ชดเชยต้นทุนที่ กก. ละ 75 บาท บวกค่าขนส่งอีก กก. ละ 3 บาท รวมเป็น กก. ละ 78 บาท ให้ผู้เลี้ยง แต่โครงการนี้ถือว่ายังช่วยผู้เลี้ยงหมูไม่ทั่วถึง ต้นเหตุราคาหมูเป็นในไทยตกต�่ำตั้งแต่ต้นปี 2560 จากที่เคยสูงสุด กก. ละ 65 - 70 บาท ลงมาเหลือ กก. ละ 38 บาท มาจากการขยายแม่พันธุ์ในฟาร์ม ทั่วประเทศสูงถึง 1.2 - 1.3 ล้านแม่ คิดเป็นหมูขุนมากกว่า 20 ล้านตัว ซึ่งมาก เกินไป มากกว่ากรมปศุสัตว์ที่รายงาน 1.069 ล้านแม่พันธุ์ สถานการณ์ขณะนี้ ควรมีไม่เกิน 1 ล้านแม่ คิดเป็นหมูขุนประมาณ 17 - 18 ล้านตัว ถือว่าก�ำลังพอดี

๏ ผู้เลี้ยงกระอัก จีนปิดประตูนำ�เข้า ในช่วง 4 - 5 ปีที่ผ่านมา อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนดี ท�ำให้ มีการบริโภคเนือ้ หมูคอ่ นข้างสูง ต่อมาจีนออกกฎหมายด้านสิง่ แวดล้อม ท�ำให้ฟาร์ม เลี้ยงหมูปรับตัวไม่ทัน ปิดกิจการลง ท�ำให้มีการน�ำเข้าหมูที่ไม่ค่อยถูกต้อง จาก เวียดนาม และไทยค่อนข้างสูง เวียดนามมีการขยายแม่พันธุ์หมูจาก 2 - 3 ล้านแม่ เป็น 4 ล้านแม่ ส่งหมูเป็นเข้าตลาดจีนภาคเหนือ ส่วนไทยส่งออกหมูเป็นในปี 2559 ถึง 1.6 ล้านตัว ส่วนใหญ่สง่ เข้าจีนภาคใต้ เนื่องจากราคาหมูเป็นในจีนสูงถึง กก. ละ 100 บาท แต่ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ฟาร์มหมูในจีนเริ่มปรับตัวได้ ขยายการเลี้ยงหมูอีกครั้งหนึ่ง และรัฐบาลจีนสั่งลด การน�ำเข้าอย่างรวดเร็ว เพือ่ ให้ผเู้ ลีย้ งหมูเป็นในจีนอยูไ่ ด้ที่ กก. ละ 70 บาท ท�ำให้ราคา หมูเป็นในเวียดนามตกต�ำ่ หนัก เหลือ กก. ละ 30 บาทเศษ และปัจจุบนั ราคาหมูเป็น เวียดนาม ใกล้เคียงกับไทยอยู่ที่ประมาณ กก. ละ 40 บาท และในส่วนของไทย คาดการณ์กันว่า ปี 2560 จะส่งออกไม่เกิน 3 แสนตัว ลดลงไปมากเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัญหาหมูลน้ ตลาด ราคาตกต�ำ่ ทีเ่ ป็นปัญหาเฉพาะหน้า และ ต้องเร่งแก้ไข มีกระแสข่าวล่าสุดว่า ตัวแทนสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติที่มาจาก ทุกภาคทั่วประเทศจะเข้าหารือ กับนายลักษณ์ วจนานวัช รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะผู้ดูแลคณะกรรมการนโยบายพัฒนาสุกร และผลิตภัณฑ์ (พิกบอร์ด) ในวันที่ 10 ม.ค. 2561 เพือ่ ร่วมหาทางแก้ไขแม่พนั ธุ์ หมูมีมากเกิน รวมทั้งการลดปริมาณหมูขุนลงอย่างเป็นรูปธรรมและครบวงจร ซึ่งการประชุมครั้งนี้น่าจะส่งผลต่อราคาหมูว่าจะขึ้น หรือด�ำดิ่งต่อไปอีก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

53


Market Leader

ยกมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ หวังส่งออก 2.2 แสนล. ปศุสัตว์ผนึกก�ำลังทั่วประเทศ เร่งยกระดับมาตรฐาน ต้น - ปลายน�้ำ สร้าง อาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภค หวังปี 2561 การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ 2.2 แสนล้าน นายสัตวแพทย์อภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่า กรมปศุสัตว์ เร่งเครื่องยกระดับมาตรฐานการผลิตสัตว์และแปรรูปผลิตภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับ นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเฉพาะการบูรณาการ ในการท�ำงานร่วมกันของกรมปศุสัตว์ และทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพื่อยกระดับมาตรฐานอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อุปทาน ช่วย สร้างความมั่นคงในอาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้ประกอบการที่จ�ำหน่ายสินค้า ปศุสัตว์ จากมาตรฐานการผลิตที่ดีและมีตลาดรองรับผลผลิต ควบคู่กับการสร้าง ความเชือ่ มัน่ แก่ผบู้ ริโภคอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะการทีก่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตรวจรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐาน Q แก่ผลิตภัณฑ์สินค้า อาหารที่ควบคุมความเย็นตลอดห่วงโซ่ โดยสินค้าปศุสัตว์ที่ได้มาตรฐาน Q รวม 78 แห่ง ขณะทีก่ รมปศุสตั ว์ประสบความส�ำเร็จ ในการผลักดันสถานทีจ่ ำ� หน่ายเนือ้ สัตว์ ปลอดภัย หรือปศุสัตว์ OK ทั้งร้านค้า และเขียง ร้านโมเดิร์นเทรด และตู้เย็น ชุมชนพอร์คชอป ที่เป็นปลายน�้ำของห่วงโซ่ ท�ำหน้าที่ส่งมอบผลิตภัณฑ์สู่ผู้บริโภค โดยตรง ปัจจุบนั สามารถพัฒนาสถานประกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการแล้วถึง 4,000 ราย เนื้อสัตว์ทั้งหมดมาจากโรงฆ่าสัตว์รวม 65 แห่ง จากต้นทางฟาร์มเลี้ยงสัตว์ GAP รวม 1,600 ฟาร์ม ซึ่งทั้งหมดสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ตลอดการผลิต โครงการนี้ท�ำให้แต่ละวันมีปริมาณเนื้อสัตว์ปลอดภัยกว่า 9 แสนกิโลกรัม เข้าถึง ผู้บริโภคมากกว่า 35 ล้านคน พร้อมทั้งรับรองสถานที่จ�ำหน่ายปศุสัตว์ OK ไข่ รวม 24 แห่ง และยังได้รบั รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ประเภทรางวัล การพัฒนาการบริการระดับดีเด่นจากส�ำนักงาน ก.พ.ร.

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ปีที่ 31 ฉบับที่ 10714 วันศุกร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2561

54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Market Leader นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ กล่าวว่า ที่ผ่านมากระทรวงเกษตรฯ กรมปศุสัตว์ และผู้ประกอบการ ได้ร่วมกันพัฒนาระบบมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ โรงงาน อาหารสัตว์ โรงฆ่าสัตว์ และโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ ระบบการป้องกันควบคุมโรค และระบบการตรวจสอบ ย้ อ นกลั บ ตั้ ง แต่ ฟ าร์ ม จนถึ ง ผู ้ บ ริ โ ภค จนมี คุ ณ ภาพ มาตรฐานระดับโลก ท�ำให้สามารถส่งออก สินค้าน�ำเงิน เข้าประเทศปีละ 2 แสนล้านบาท นอกจากนี้ ไทยยังเป็นผู้ส่งออกอาหาร สัตว์เลี้ยง อันดับ 1 ในเอเชีย เป็นผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์นม อันดับ 1 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ที่กรมปศุสัตว์ให้การรับรอง มาตรฐาน และออกใบรับรองสุขอนามัยเพื่อการส่งออก มีมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯ ได้เจรจากับประเทศ คู่ค้าที่ส�ำคัญ ท�ำให้ไทยมีโอกาสเปิดตลาดส่งออกสินค้าปศุสัตว์เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง คาดการณ์ว่าในปี 2561 การส่งออกสินค้าปศุสัตว์จะเพิ่มเป็น 2.2 แสนล้านบาท

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

55


Market Leader

นายก ส.กุ้งไทย ชี้อุตฯ กุ้งไทย ปี 60

สามารถแก้ปัญหาโรคได้ ด้วยแนวทางการจัดการการเลี้ยงที่ได้ผล การเลี้ยงโดยรวมประสบความส�ำเร็จ แนวโน้มการผลิตกุ้งดีขึ้นเรื่อยๆ

ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย

ท.พ.สุรพล ประเทืองธรรม นายบรรจง นิสภวาณิชย์ นายกกิตติมศักดิ์/ที่ปรึกษา อุปนายกสมาคมฯ และ สมาคมกุ้งไทย และนายก ปธ.สมาพันธ์เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งไทย สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย

นายปกครอง เกิดสุข นายสมชาย ฤกษ์โภคี นายโสภณ เอ็งสุวรรณ อุปนายกสมาคมฯ และ เลขาธิการสมาคมฯ และ กรรมการบริหารสมาคมฯ และนายกสมาคมกุ้ง ปธ.ชมรมเกษตรกร ปธ.ชมรมผูเ้ ลี้ยงกุ้ง สุราษฎร์ธานี ตะวันออกไทย ผู้เลี้ยงกุ้ง จ.กระบี่

ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 29 ฉบับที่ 353 เดือนธันวาคม 2560

56 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

เมื่ อ วั น ที่ 14 ธั น วาคม 2560 ที่ ผ ่ า นมา ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ สมาคม กุง้ ไทย น�ำทีมโดย ดร.สมศักดิ์ ปณีตธั ยาศัย นายกสมาคม กุง้ ไทย และคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ซึง่ ประกอบ ไปด้วย ท.พ.สุรพล ประเทืองธรรม นายกกิตติมศักดิ์ สมาคมกุ้งไทย และนายกสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย นายบรรจง นิสภวาณิชย์ ประธานสมาพันธ์เกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งกุง้ ไทย และอุปนายกสมาคมกุง้ ไทย นายสมชาย ฤกษ์โภคี เลขาธิการสมาคม และประธานชมรมผูเ้ ลีย้ งกุง้ สุราษฎร์ธานี นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคม กุ้งไทย และประธานชมรมเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัด กระบี่ นายโสภณ เอ็งสุวรรณ นายกสมาคมกุง้ ตะวันออก ไทย และกรรมการบริหารสมาคมกุ้งไทย เปิดเผยถึง สถานการณ์กุ้งของไทย ปี 2560 ว่า ผลผลิตกุ้งปี 2560 โดยรวมประมาณ 300,000 ตัน ใกล้เคียงกับปีที่แล้ว ทั้งนี้เป็นผลมาจากสภาพอากาศแปรปรวน ฝนตกชุก และน�ำ้ ท่วมในหลายพืน้ ที่ อย่างไรก็ตาม แนวทางการแก้ ปัญหาโรคตายด่วน หรืออีเอ็มเอส (EMS) โดยการ ปรับปรุงฟาร์ม และการจัดการการเลีย้ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ท�ำให้ลดความเสียหายจากโรคระบาด ท�ำให้ภาพรวม ผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น


Market Leader “ประมาณการผลผลิตปี 2560 ผลผลิต กุ ้ ง ไทยอยู ่ ที่ ป ระมาณ 300,000 ตั น (โดย ร้อยละ 30 เป็นผลผลิตกุ้งจากภาคใต้ตอนล่าง ร้อยละ 29 จากภาคตะวันออก ร้อยละ 26 จาก ภาคใต้ตอนบน และร้อยละ 15 จากภาคกลาง ตามล�ำดับ ดังแสดงในรูปที่ 1) ผลผลิตกุง้ ปีนี้ ผลิต ได้ใกล้เคียงกับปี 2559 ซึ่งต�่ำกว่าที่คาดการณ์ ไว้ เ ล็ ก น้ อ ย ทั้ ง นี้ เ ป็ น ผลมาจากสภาพอากาศ แปรปรวน อย่างไรก็ตาม ในปีนี้ถือว่าเกษตรกร ประสบความส�ำเร็จในการเลี้ยง ได้ผลผลิตต่อไร่ สูงขึน้ จากการพัฒนาระบบการเลีย้ งเพือ่ แก้ปญ ั หา โรคระบาด EMS ส่วนผลผลิตกุ้งทั่วโลก คาดว่า จะอยู่ที่ประมาณ 2.768 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ดังแสดงในตารางที่ 1 ด้านการส่งออก จากข้อมูลการส่งออกกุ้ง เดือน ม.ค. - ต.ค. ปีนี้ อยู่ที่ 167,418 ตัน มูลค่า 56,105 ล้านบาท เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2559 ปริมาณเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.03 มูลค่าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.98” นายกสมาคมกุ้งไทยกล่าว

นายบรรจง นิสภวาณิชย์ ประธานสมาพันธ์ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ไทย กล่าวถึงภาพรวมการเลีย้ ง กุ้งไทยปี 2560 ว่า “ผลผลิตปีนี้ใกล้เคียงกับปีที่ ผ่านมา แต่ถือว่าแนวทางการเลี้ยงที่เกษตรกรได้ มีการปรับตัวเพื่อแก้ปัญหาโรคระบาด EMS ได้ ผลดี บางจังหวัดได้ผลผลิตดีมาก แต่ในปีนี้ จาก ภาวะเอลนินโญ่ ท�ำให้ปริมาณฝนมาก หลายพืน้ ที่ ประสบปัญหาน�้ำท่วม ท�ำให้ผลผลิตต�่ำกว่าที่คาด การณ์เล็กน้อย” นายโสภณ เอ็งสุวรรณ นายกสมาคมกุ้ง ตะวันออกไทย และกรรมการบริหารสมาคมกุง้ ไทย กล่าวว่า “ปริมาณผลผลิตกุ้งภาคตะวันออกของ ปี 2560 เพิ่มขึ้นจากปี 2559 เล็กน้อย ถึงแม้ว่า เกษตรกรจะยังมีการปรับวิธีการเลี้ยงใหม่ ก็ยังมี ปัญหาโรคระบาด โดยเฉพาะขี้ขาว และตัวแดง” นายสมชาย ฤกษ์โภคี เลขาธิการสมาคมฯ และประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี กล่าว ว่า “สถานการณ์การเลีย้ งกุง้ ภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย ใน ภาพรวมถือว่าประสบความส�ำเร็จในระดับหนึ่ง

ตารางที่ 1 ผลผลิตกุ้งเลี้ยงโลก ปี 2555 - 2560* ประเทศ/ปี ไทย จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย อินเดีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อเมริกากลาง - ใต้ อื่นๆ รวม

2555 540 550 170 105 190 57 40 572 85 2,309

2556 250 650 240 180 270 46 52 555 65 2,308

2557 230 625 300 200 420 35 57 630 70 2,567

2558 260 600 210 220 280 35 48 628 100 2,481

2559 300 550 260 270 400 45 53 669 110 2,627

2560* 300 525 320 260 450 50 55 673 135 2,768

% แตกต่าง 59/60*  -   - 5% +34%  - 4%  - 13% +11% +4% +1% +23% +5%

ที่มา : สมาคมกุ้งไทย (TSA), *ประมาณการ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

57


Market Leader โดยเฉพาะในพื้นที่ความเค็มต�่ำ อย่างไรก็ตาม จากปัญหาน�้ำท่วมในบางพื้นที่ตอนต้นปี ท�ำให้ เกษตรกรหลายรายต้องใช้เวลาในการฟืน้ ฟูสภาพ บ่อเลี้ยง กอปรกับปรากฏการณ์เอลนินโญ่ ท�ำให้ ฝนตกชุกตลอดทัง้ ปี ท�ำให้ระบบการเลีย้ งค่อนข้าง มีปัญหา อย่างไรก็ตาม คาดว่าในปี 2561 สถานการณ์น่าจะดีขึ้น เพราะปัจจัยต่างๆ ทั้งเรื่องโรค และภูมอิ ากาศมีแนวโน้มไปในทางทีเ่ อือ้ ต่อสภาวะ การ” นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคม กุ้งไทย และประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ กล่ า วถึ ง สถานการณ์ ก ารเลี้ ย งกุ ้ ง ภาคใต้ ใ นฝั ่ ง อันดามันว่า “ประมาณการผลผลิตฝั่งอันดามัน ในปีนี้ประมาณ 60,000 ตัน เพราะจ�ำกัดเรื่อง พื้นที่เลี้ยงซึ่งมีไม่มากนัก อย่างไรก็ตาม คาดว่า ผลผลิตในอนาคตน่าจะเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการตืน่ ตัว ในการพัฒนาระบบการเลีย้ งทีม่ ตี วั อย่างให้เห็นใน หลายๆ พืน้ ที่ อีกทัง้ ปีน ี้ ราคากุง้ มีเสถียรภาพ ท�ำให้ ผู้เลี้ยงกุ้งยอมปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการ ท�ำระบบ การเลี้ยงให้มีประสิทธิภาพขึ้น ซึ่งก็จะลดความ เสียหายในการเลี้ยง ท�ำให้เกิดความมั่นคง และ ยั่งยืนของธุรกิจการเพาะเลี้ยงกุ้ง” ท.พ.สุ ร พล ประเทื อ งธรรม นายก กิตติมศักดิส์ มาคมกุง้ ไทย และนายกสมาคมผูเ้ ลีย้ ง กุง้ ทะเลไทย กล่าวว่า “จากปัญหาโรคระบาด EMS และพื้นที่การเลี้ยงที่ลดลง ส่งผลให้ไทยไม่ได้เป็น ประเทศผู้น�ำในด้านการผลิต และการตลาดใน ตลาดกุง้ โลกอีกแล้ว หลายประเทศมีศกั ยภาพ และ ได้รบั การส่งเสริมจากภาครัฐอย่างจริงจัง ทางรอด เดียวของอุตสาหกรรมกุ้งไทยคือ เราต้องพัฒนา คุณภาพของสินค้ากุ้งของไทยในแง่คุณภาพให้ โดดเด่นกว่าคูแ่ ข่ง ทัง้ คุณภาพสินค้า และคุณภาพ มาตรฐานในการผลิต”

58 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

“สถานการณ์เรื่องโรคในปีนี้ถือว่าเบาลง การแก้ปญ ั หาโดยแนวทางการเลีย้ งแบบ 3 สะอาด คือ ลูกกุง้ สะอาด บ่อสะอาด น�ำ้ สะอาด ถือว่าเป็น การแก้ปญ ั หาทีม่ าถูกทาง อย่างไรก็ตาม เกษตรกร ต้องปรับการเลี้ยงให้เข้ากับศักยภาพ และความ พร้อมของแต่ละพื้นที่” ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย กล่าว ด้านสถานการณ์การผลิตกุ้งของประเทศ ผู้ผลิตกุ้งรายส�ำคัญๆ และสถานการณ์การตลาด กุ้งโลก ปี 2560 มีดังต่อไปนี้ จี น การเลี้ ย งกุ ้ ง ของจี น มี ป ั ญ หาเรื่ อ ง ต้นทุนการเลี้ยงที่สูง การเลี้ยงไม่มีประสิทธิภาพ โรคระบาดต่างๆ เช่น โรคอีเอชพี (EHP) ขณะที่ การน�ำเข้ากุ้งจาก ตปท. มีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าผลิต เอง จึงเป็นโอกาสน�ำเข้าจากประเทศอืน่ กอปรกับ เศรษฐกิจดีขึ้น ก�ำลังซื้อและการบริโภคก็จะดีขึ้น ประเทศไทยก็จะได้รับอานิสงส์นี้ในปีต่อๆ ไป อินเดีย พื้นที่การเลี้ยงกุ้งขยายตัวเพิ่มขึ้น ผลผลิตกุง้ ทีจ่ บั ได้โดยเฉลีย่ มีขนาดเล็กลง จาก 40 ตัว/กก. มาที่ 50 ตัว/กก. เนื่องจากความเสียหาย ที่เกิดจากโรคและส่วนหนึ่งจากออเดอร์ที่ต้องการ กุ้งไซส์เล็กเพิ่มขึ้น ส�ำหรับราคาวัตถุดิบกุ้งปี 2560 ค่อนข้าง คงที่ ไม่ผันผวนมาก ราคาเฉลี่ยของกุ้งขนาด 40 ตัว/กก. ราคาประมาณ 205 บาท/กก. ลดลงจาก ปีที่ผ่านมาร้อยละ 7 อัตราแลกเปลี่ยนของรูปี อ่อนค่า ท�ำให้ได้เปรียบในการแข่งขันเรื่องราคา ด้านรัฐบาลอินเดีย รณรงค์ส่งเสริมเกษตรกรให้ เลี้ยงกุ้งแบบโปรไบโอติกฟาร์ม เน้นเรื่องความ ปลอดภัย เรื่องยาปฏิชีวนะตกค้างในกุ้ง ด้าน โรงงานอาหารกุง้ มีผปู้ ระกอบการโรงงานอาหารกุง้ รายใหม่เข้ามาในตลาดอินเดียมากขึ้น ทั้งบริษัท


Market Leader รูปที่ 1 สัดส่วนผลผลิตกุ้งเลี้ยงไทย ปี 2560* ในพื้นที่การเลี้ยงต่างๆ**

ที่มา : สมาคมกุ้งไทย, *ประมาณการ ** ภาคตะวันออก : ตราด จันทบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชลบุรี และนครนายก ** ภาคกลาง : นครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ เพชรบุรี ** ภาคใต้ตอนบน : ชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี ระนอง ** ภาคใต้ตอนล่าง : ภูเก็ต สตูล พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ปัตตานี นราธิวาส

ต่างชาติ และผูป้ ระกอบการห้องเย็น และโรงเพาะ ฟักลูกกุ้งของอินเดียที่เข้ามาลงทุนสร้างโรงงาน อาหาร รัฐบาลอินเดียยังคงไม่อนุญาตให้มีการ น�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์จากประเทศที่ประสบปัญหาโรค อีเอ็มเอส เวียดนาม ปี 2560 การเลี้ยงกุ้งค่อนข้าง ประสบความส�ำเร็จ โรคระบาดน้อย รวมทั้งราคา กุ้งดี ท�ำให้มีการขยายการเลี้ยง โดยเฉพาะเขต ภาคใต้ทยี่ งั มีศกั ยภาพ คาดว่าปี 2561 จะยังมีการ ขยายการเลี้ ย งเพิ่ ม เติ ม อี ก เนื่ อ งจากราคาที่ ดี อย่างต่อเนือ่ ง และการสนับสนุนนโยบายจากภาค รัฐ จากนโยบายของท่านนายกฯ ให้ทางราชการ ทุกจังหวัด จัดการส่งเสริมการเลีย้ งกุง้ โดยใช้เทคโนโลยี ขั้ น สู ง จั ด อบรมสั ม มนาแก่ เ กษตรกร ให้ ธนาคารรัฐช่วยสนับสนุนสินเชื่อ เป็นต้น อินโดนีเซีย การเลี้ยงกุ้งในพื้นที่ดั้งเดิม อาทิ ลัมปุง และชวา อยูใ่ นสถานการณ์ทไี่ ม่สดู้ นี กั เนื่องจากต้นทุนการเลี้ยงที่สูง และโรคอีเอชพี แต่ สถานการณ์การเลี้ยงในพื้นที่พัฒนาใหม่ อาทิ

สุลาเวสี บาหลี ฯลฯ ก�ำลังไปได้ด้วยดี ปลอดโรค ด้วยราคาที่จูงใจปีนี้ ท�ำให้มีผู้เลี้ยงกุ้งหน้าใหม่เข้า มาในวงการ คาดผลผลิตอยูท่ ปี่ ระมาณ 260,000 ตัน ต้นปีประสบปัญหาโรคระบาดคือ ขีข้ าว ตัวแดง ดวงขาว และไอเอ็มเอ็น ช่วงปลายปี พบว่าโรค ไอเอ็มเอ็นลดลง เพราะรูว้ ธิ กี ารจัดการ และไม่เลีย้ ง กุง้ แน่น การส่งออกค่อนข้างดี ไม่ถกู กีดกันการค้า ต่างๆ คาดว่าปีหน้าผลผลิตจะลดลง อยูท่ ปี่ ระมาณ 220,000 ตัน เนือ่ งจากผูเ้ ลีย้ งหน้าใหม่ทไี่ ม่พร้อม อาจถอนตัวออกไป ฟิลปิ ปินส์ ผลผลิตกุง้ ปีนคี้ าดว่ามีประมาณ 55,000 ตัน โดยมาจากการเลี้ยงแบบพัฒนา 35,000 ตัน สถานการณ์การเลี้ยงปีนี้ค่อนข้างดี ราคาไม่แกว่งมาก แต่ผลผลิตส่วนใหญ่บริโภค ภายในประเทศ โรคระบาดมีบ้างประปราย กรม ประมงประกาศเป็นทางการว่า พบการระบาดของ อีเอชพีแล้ว แต่ไม่พบว่ารุนแรง ปีหน้าคาดว่าจะมี ผลผลิตอยู่ที่ 65,000 ตัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

59


Market Leader เอกวาดอร์ คาดว่าผลผลิตกุ้งเอกวาดอร์ จะลดลงในเดือนธันวาคม 2560 เดือนมกราคม และกุ ม ภาพั น ธ์ 2561 เนื่ อ งจากตั้ ง แต่ เ ดื อ น กันยายน 2560 จนถึงปัจจุบัน โรงเพาะฟักใน เอกวาดอร์ก�ำลังเผชิญกับโรคระบาด (อีเอ็มเอส ฯลฯ) ส่งผลถึงภาวะลูกกุ้งขาดแคลน คาดว่าในปี 2561 ปัญหาดังกล่าวจะยังคงอยู่ ท�ำให้คาดการณ์ ว่าปี 2561 ผลผลิตกุ้งเลี้ยงประมาณ 350,000 380,000 ตัน หรือน้อยกว่า ทั้งนี้ในปี 2560 คาดว่าเอกวาดอร์จะมีปริมาณผลผลิตกุง้ ประมาณ 400,000 - 405,000 ตัน รัฐบาลเอกวาดอร์ให้ การสนับสนุนอุตสาหกรรมกุ้งเป็นอย่างดี บราซิล อุตสาหกรรมเลี้ยงกุ้งบราซิลก�ำลัง เผชิญกับโรคตัวแดงดวงขาว และโรคอื่นๆ คาดว่า ผลผลิตกุ้งบราซิลในปี 2560 จะไม่มากไปกว่า 50,000 ตัน จากเดิม 85,000 ตัน ในปีก่อนๆ ราคากุง้ ในบราซิลสูงมากๆ เพราะปริมาณผลผลิต น้อยกว่าความต้องการ ขณะที่รัฐบาลบราซิลเอง มีการห้ามน�ำเข้ากุง้ จากต่างประเทศ และก�ำลังถูก กดดันจากหลายฝ่ายให้ยกเลิกการห้ามการน�ำเข้า ดังกล่าว ขณะเดียวกัน กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง บราซิล กลับต้องการให้คงการห้ามน�ำเข้ากุ้งจาก ต่างประเทศไว้ โดยให้เหตุผลด้านสุขอนามัยและ โรคระบาด และได้ยื่นร้องต่อศาลปกครองเพื่อให้ รัฐบาลยับยั้งการเปิดการน�ำเข้ากุ้ง สถานการณ์การตลาดกุ้งโลก มีดังนี้ สหรัฐอเมริกา การน�ำเข้ากุ้งของสหรัฐฯ เดือนมกราคม - กันยายน มีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้น ประมาณร้อยละ 10 โดยน�ำเข้าจากประเทศอินเดีย มากที่สุด รองลงมาคือ อินโดนีเซีย เอกวาดอร์ และไทย

60 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

กุ้งจากอ่าวเม็กซิโกที่เข้าสู่ตลาด มีปริมาณ น้อยที่สุดใน 9 ปี เนื่องจากปัญหาพายุเฮอริเคน ฮาร์วีย์ โดยค่าเฉลี่ยปริมาณกุ้งในเดือนกันยายน อยู่ที่ 12 ล้านปอนด์ แต่ในปีนี้เหลือเพียง 7.2 ล้านปอนด์ ญีป่ นุ่ การน�ำเข้ากุง้ 10 เดือนแรก มีปริมาณ 188,696 ตัน เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 7 เมือ่ เทียบ กับช่วงเดียวกันของปี 2559 ที่มีปริมาณน�ำเข้า 176,561 ตัน โดยน�ำเข้าจากเวียดนามมากที่สุด 45,922 ตัน คิดเป็นร้อยละ 24.34 ไทย 31,168 ตัน คิดเป็นร้อยละ 17 อินเดีย 28,883 ตัน คิดเป็นร้อยละ 15.31 ด้านอัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ต่อเงินเยน อยู่ที่ 113 เยน มี ความผันผวนเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 2.7 ท�ำให้ ผู้น�ำเข้ามีต้นทุนสูงขึ้น สหภาพยุ โ รป ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมกราคม -  กรกฎาคม 2560 ยอดการน�ำเข้าแปรรูปกุง้ แช่แข็ง จ�ำนวน 322,768 ตัน ซึ่งลดลงกว่าปี 2559 เล็ก น้อย (323,452 ตัน) ปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบ ต่อผู้น�ำเข้ากุ้งจากไทยคือ อัตราภาษีจีเอสพี ที่ ร้อยละ 12 ส�ำหรับกุ้งสด และร้อยละ 20 ส�ำหรับ กุ้งแปรรูป จีน ภาพรวมการน�ำเข้ากุง้ ของจีนจากทัว่ โลก ในช่วงครึง่ ปีแรก 2560 ปริมาณ 31,058 ตัน ลดลง ถึงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2559 ซึง่ มีปริมาณน�ำเข้า 38,856 ตัน ครึง่ ปีแรก จีนน�ำเข้ากุ้งจากไทยเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 12 ด้าน เศรษฐกิจจีนครึง่ ปีแรก ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 6.9 จีนมารับซื้อกุ้งจากประเทศไทยเพื่อส่งกลับไปจีน และยังมีการขยายสร้างโรงงานแปรรูปในประเทศ ไทย ที่ จ.กระบี่ อีกด้วย


Market Leader

ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย น�ำทีมคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ และที่ปรึกษาสมาคมฯ ร่วมกันถ่ายภาพเป็นที่ระลึก ในงานแถลงข่าว สมาคมกุ้งไทยพบสื่อฯ เมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 60 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ

๏ สรุปภาพรวมผลผลิตกุ้งเลี้ยงทั่วโลก องค์กรพันธมิตรเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ โลก (Global Aquaculture Alliance) หรือ GAA คาดว่า ในช่วง 4 - 5 ปีขา้ งหน้า ผลผลิตกุง้ ทัว่ โลกจะเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2 - 4 แต่จากการคาดการณ์ของผูเ้ ชีย่ วชาญ กุง้ โลก กลับคาดว่า ผลผลิตกุง้ ทัว่ โลกจะไม่เพิม่ ขึน้ เพราะประเทศผู้ผลิตกุ้งรายใหญ่ก�ำลังจะเผชิญ ปัญหาโรครุมเร้า และไม่มที ที า่ ในการเปลีย่ นแปลง อุตสาหกรรมฯ ให้ดีขึ้น ส่วนประเทศผู้ผลิตราย ย่อยๆ ที่มีแนวโน้มว่าผลผลิตกุ้งจะเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว อาทิ ซาอุฯ กัวเตมาลา เปรู ฯลฯ ก็ไม่ ส่งผลต่อปริมาณผลผลิตกุ้งโลกอย่างมีนัยส�ำคัญ

๏ สรุป ภาพรวมผลผลิตกุ้งไทย ช่วงนี้ถือเป็นเวลาที่ดีในการเลี้ยงกุ้ง เพราะ เมื่อผลผลิตไม่พุ่งสูง ราคากุ้งจึงมีแต่คงที่ หรือ เพิ่มขึ้น และเมื่อมองไปข้างหน้าอีก 5 ปี ก็ไม่พบ ปัจจัยที่จะมาสามารถคุกคามราคาให้ลดลงได้

ปัจจุบนั ประเทศไทยมีพนื้ ทีก่ ารเลีย้ งกุง้ น้อย กว่า 62,500 ไร่ แต่มผี ลผลิตประมาณ 300,000 ตันต่อปี นัน่ แสดงถึงประสิทธิภาพการเลีย้ งของไทย ดีขึ้น และ “ประสิทธิภาพเท่ากับก�ำไร” “...อนาคตการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ แจ่มใสมาก อยู่ที่ว่าเราสามารถจะสร้างให้เกิดประสิทธิภาพ คุณภาพ ควบคู่การรักษาสิ่งแวดล้อม และเป็นที่ พึงพอใจของผู้บริโภคทั่วโลกได้ ซึ่งจะสามารถท�ำ ให้การเพาะเลี้ยงกุ้งไทยกลับมายั่งยืนได้...” ดร. สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย กล่าวเสริม ทิง้ ฝากให้รฐั บาลช่วยเหลืออุตสาหกรรมกุง้ ไทย ดังนี้ 1) ด้านงบประมาณ ให้เพิม่ งบประมาณ กรมประมงเพิ่มขึ้น 2) เร่งเจรจาเอฟทีเอ (FTA) กับสหภาพยุโรป เพือ่ แก้ไขเรือ่ งจีเอสพีของไทย เป็น การเพิ่มโอกาสช่องทางการขายกุ้งเพิ่มขึ้น 3) เร่ง แก้ไขปัญหาแรงงานผิดกฎหมาย เพื่อภาพลักษณ์ ทีด่ ขี องสินค้าประมงไทย 4) แก้ไขค่าเงินบาทแข็งค่า ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 32 บาท/ดอลล่าร์สหรัฐฯ และมีแนวโน้มแข็งค่าขึน้ เรือ่ ยๆ ซึง่ จะเป็นอุปสรรค ต่อการส่งออก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

61


Around The World

การฟื้นฟูและการจัดการฟาร์ม

หลังสภาวะน�้ำท่วม

จากสถานการณ์น�้ำท่วมหนักในพื้นที่ภาค ใต้ ซึ่งภายในปีนี้ก็ได้เกิดขึ้นถึง 2 ครั้งด้วยกัน ทั้งในช่วงต้นปี และช่วงปลายปี เนื่องจากมีฝน ตกหนัก และประกอบกับน�้ำทะเลหนุนสูง เป็น สาเหตุให้เกิดนำ�้ ป่าไหลหลากและน�ำ้ ท่วมฉับพลัน ในเขตพืน้ ทีห่ ลายจังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี กระบี่ ตรัง และสตูล เป็นต้น ขอเป็นก�ำลังใจ ให้กบั ผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบจากภัยธรรมชาติทเี่ กิด ขึ้นในครั้งนี้ และหวังว่าจากความร่วมมือร่วมใจ ของทุกภาคส่วนที่ร่วมกันให้ความช่วยเหลือเพื่อ บรรเทาความเดือดร้อนจากสถานการณ์ในครัง้ นี้ ให้คลี่คลาย และจะกลับสู่สภาวะปกติในระยะ เวลาอันรวดเร็ว เนื่องจากภาคใต้เป็นแหล่งผลิตกุ้งแหล่ง ใหญ่ของประเทศ โดยมีพนื้ ทีก่ ารเลีย้ งประมาณ 2 ใน 3 ของพื้นที่การเลี้ยงทั้งหมด ดังนั้นจึงส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งค่อนข้างมาก ซึ่งหลังจากที่น�้ำลดลงแล้ว ต้องใช้เวลาอีกระยะ หนึ่งในการฟื้นฟูฟาร์มเพื่อให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติ นอกจากการซ่อมแซมโครงสร้างบ่อและอุปกรณ์ การเลีย้ งต่างๆ ทีเ่ สียหายแล้ว ยังต้องค�ำนึงถึงการ วางแผนและการเตรียมการที่ดีเพื่อให้การเลี้ยงกุ้ง ในครอปต่อไปประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมาย เนื่องจากหลังสภาวะน�้ำท่วมแล้วมีโอกาสเสี่ยงสูง ทีจ่ ะเกิดโรคต่างๆ ได้ ถ้าไม่มกี ารเตรียมการทีด่ พี อ ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 29 ฉบับที่ 353 เดือนธันวาคม 2560

62 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

รูปที่ 1 น�้ำท่วมบริเวณรอบๆ บ่อเลี้ยง

» การฟื้นฟูบ่อเลี้ยง ค�ำแนะน�ำในการฟืน้ ฟูฟาร์มเลีย้ งกุง้ หลังน�ำ้ ลดคือ ตรวจสอบความเสียหายที่เกิดขึ้น ทั้งสัตว์ เลีย้ ง บ่อเลีย้ ง อุปกรณ์โรงเรือน และบริเวณรอบๆ ฟาร์ม และควรจับกุ้งในบ่อที่เหลืออยู่ทั้งหมด ไม่ ควรเลี้ ย งต่ อ ไป เนื่ อ งจากอาจจะมี กุ ้ ง บางส่ ว น ได้หลุดออกจากบ่อเลี้ยงในช่วงน�้ำท่วม ท�ำให้กุ้ง ในบ่อเหลือน้อย ไม่คมุ้ ค่าทีจ่ ะเลีย้ งต่อ ประกอบกับ คุณภาพน�้ำที่มีน�้ำจืดเข้ามาผสม ท�ำให้ค่าคุณภาพ น�้ำต่างๆ เช่น อัลคาไลนิตี้ ความเค็ม และแร่ธาตุ ต่างๆ อยู่ในระดับที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งอาจเกิด ความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ ซึ่งเกิดจากเชื้อที่ อาจปนเปื้อนมาในช่วงน�้ำท่วมได้ เช่น เชื้ออีเอชพี เชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ที่ก่อโรค อีเอ็มเอส และไวรัสดวงขาว เป็นต้น ดังนัน้ หลังจาก จับกุ้งแล้วต้องท�ำการซ่อมแซมในจุดที่เสียหายให้ เรียบร้อย พร้อมทั้งปรับปรุงสภาพบ่อเลี้ยง บ่อ บ�ำบัดน�้ำ และระบบน�้ำต่างๆ ซึ่งน่าจะเป็นวิธีการ ที่ปลอดภัยที่สุด โดยมีหลักการปฏิบัติดังนี้


Around The World 1. สูบน�้ำและน�ำตะกอนดินออกจากบ่อ มวลน�้ ำ ที่ ไ หลเข้ า มาผสมกั บ น�้ ำ ในบ่ อ ต่างๆ ของฟาร์ม ไม่ว่าจะเป็นบ่อเลี้ยง บ่อพักน�้ำ หรือคลองส่งน�้ำในฟาร์ม ส่งผลท�ำให้คุณภาพน�้ำ มีคณ ุ สมบัตไิ ม่เหมาะสมกับการเลีย้ งกุง้ เนือ่ งจาก ความเค็มของน�้ำที่ลดต�่ำลงจะส่งผลกระทบต่อ สมดุลของแร่ธาตุหลักๆ เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม และโพแทสเซียม เป็นต้น ท�ำให้กงุ้ จะต้อง สูญเสียพลังงานในการปรับตัวเพือ่ รักษาสมดุลของ แร่ธาตุในร่างกาย ซึ่งส่งผลกระทบต่ออัตราการ เจริญเติบโต อัตรารอด และสุขภาพกุ้งโดยตรง รวมทั้งมีความเสี่ยงอย่างมากที่จะมีการปนเปื้อน ของเชื้อก่อโรคต่างๆ เข้ามากับน�้ำท่วม ดังนั้น การสูบน�ำ้ ออกจากบ่อทัง้ หมดจึงมีความจ�ำเป็น เพือ่ จะได้ซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของบ่อที่เสียหาย หลัง จากนั้นจึงก�ำจัดพาหะต่างๆ เช่น ปูที่เข้ามาช่วง น�ำ้ ท่วมให้หมด รวมถึงเอาตะกอนดินทีถ่ กู น�ำ้ พัดพา และสะสมทีพ่ นื้ ก้นบ่อออก ก่อนน�ำน�ำ้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ เหมาะสมมาบ�ำบัดเพื่อน�ำไปใช้เลี้ยงกุ้งในครอป ใหม่ต่อไป 2. ซ่อมแซมคันบ่อ ความเสียหายของบ่อเลี้ยงส่วนใหญ่เกิด จากการทรุดตัวของดินคันบ่อ ท�ำให้พอี ที ปี่ ขู อบบ่อ ฉีกขาด และเกิดจากการกัดเซาะจากการไหลของ กระแสน�ำ้ ดังนัน้ ควรมีการปรับสภาพคันบ่อใหม่ให้ อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง พร้อมกับปูพีอีทับ ขอบบ่อใหม่ นอกจากนี ้ ควรมีการเสริมคันบ่อให้สงู ขึ้นกว่าเดิม พร้อมรับกับปัญหาน�้ำหลากที่อาจจะ เกิดขึ้นในอนาคตต่อไป 3. ซ่อมแซมระบบไบโอซีเคียว ระบบไบโอซีเคียวส�ำหรับฟาร์มเลีย้ งกุง้ มี ความส�ำคัญมาก เพราะจะลดโอกาสการปนเปื้อน

รูปที่ 2 รั้วกันปูล้ม และฉีกขาด

ของเชื้อโรคต่างๆ เช่น เชื้ออีเอชพี เชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ที่ก่อโรคอีเอ็มเอส และ ไวรัสดวงขาว จากภายนอกเข้าไปในระบบการเลีย้ ง และป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อจากบ่อที่เกิด โรคไปยังบ่ออื่นๆ ดังนั้นเมื่อระบบไบโอซีเคียวมี ความเสียหาย หรือช�ำรุด ก่อนการลงกุง้ ครอปใหม่ ต้องส�ำรวจอย่างละเอียด และปรับปรุงให้อยู่ใน สภาพที่ดี และพร้อมใช้งาน ได้แก่ 3.1 รั้วรอบฟาร์ม ส่วนใหญ่จะเสียหาย เนือ่ งจากการล้ม หรือฉีกขาดของรัว้ จึงควรซ่อมแซม หรือรื้อท�ำใหม่ในกรณีที่เสียหายมาก เพื่อป้องกัน บุคคลจากภายนอก และสัตว์พาหะต่างๆ ทีจ่ ะเข้ามา ในฟาร์ม 3.2 รั้วกั้นปู หลังน�้ำท่วมจะพบรั้วกันปู ล้ม หรือมีรอยฉีกขาดเนือ่ งจากกระแสน�ำ้ พัด หรือ ผลกระทบจากคันบ่อทรุด จึงต้องซ่อมแซมให้อยูใ่ น สภาพพร้อมใช้งานเพื่อป้องกันปูเข้าบ่อเลี้ยง 3.3 ตาข่าย หรือเชือกกันนก ส่วนใหญ่ ความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จะพบว่ามีรอยฉีกขาด และ การล้มของเสายึดเส้นเอ็น โดยเฉพาะกรณีทม่ี กี าร ทรุดตัวของดินคันบ่อ จึงควรซ่อมแซมให้เรียบร้อย ก่อนลงกุ้งครอปใหม่ 3.4 ตรวจสอบจุดรัว่ ซึมของบ่อเลีย้ ง จุด รัว่ ซึมทีจ่ ะมีโอกาสให้นำ�้ จากภายนอกเข้าสูบ่ อ่ เลีย้ ง เช่น ใต้พนื้ บ่อ คันบ่อ หรือการรัว่ ซึมจากบ่อทิง้ เลน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

63


Around The World เลี้ยง จากนั้นเริ่มสูบน�้ำเข้ามาในบ่อบ�ำบัด เพื่อท�ำ การฆ่าพาหะต่างๆ ก่อนน�ำน�ำ้ ไปใช้ ในการเตรียม น�้ำเพื่อฆ่าเชื้อตามวิธีการมาตรฐานของฟาร์มนั้น ต้ อ งท�ำ อย่ า งพิ ถี พิ ถั น ในทุ ก ๆ ขั้ น ตอนของการ บ�ำบัดน�ำ้ เพือ่ ให้การก�ำจัดเชือ้ และสัตว์พาหะในน�ำ้ ท�ำได้อย่างสมบูรณ์ส�ำหรับการลงกุ้งครอปต่อไป รูปที่ 3 พีอีบ่อเลี้ยงฉีกขาด

หรือคลองน�้ำทิ้งใกล้เคียง ถ้าพบต้องท�ำการซ่อม แซมให้เรียบร้อย 3.5 ส�ำรวจพืน้ ถนนโดยรอบฟาร์มไม่ให้ มีจุดน�้ำขัง เพื่อลดความเสี่ยงในการกระเด็นของ น�้ำในแอ่งลงบ่อเลี้ยง 4. ซ่อมแซมอุปกรณ์การเลี้ยงต่างๆ อุปกรณ์หลักทีเ่ กีย่ วกับการเลีย้ งกุง้ อาทิ เช่น เครือ่ งให้อาหารอัตโนมัติ เครือ่ งให้อากาศ จะ ต้องท�ำการซ่อมแซม หรือเปลี่ยนอะไหล่ต่างๆ เพื่อให้กลับมาอยู่ในสภาพปกติพร้อมใช้งาน การ ติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านีใ้ นบ่อเลีย้ งจะต้องค�ำนึง ถึงหลักความปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน อุปกรณ์ตอ้ ง ได้มาตรฐาน ดังนั้นฟาร์มที่ติดตั้งอุปกรณ์ยังไม่ได้ มาตรฐานควรใช้โอกาสนี้ปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน และมีความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน หลังจากปรับปรุงบ่อ ซ่อมแซมอุปกรณ์ ระบบไบโอซีเคียว และท�ำความสะอาด จัด 5 ส ภายในฟาร์มแล้ว ควรท�ำความสะอาดฟาร์มทุก ระบบ และควรตากบ่อเลี้ยงให้แห้งสนิทก่อนเริ่ม

64 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

อุทกภัยถือเป็นภัยธรรมชาติทไี่ ม่สามารถ คาดการณ์ได้ และยากต่อการควบคุม แต่เมือ่ ประสบ ปัญหาดังกล่าวแล้ว บทเรียนในอดีตสามารถใช้เป็น เครื่องมือในการทบทวน การเฝ้าระวัง และการ ตั้งรับกับปัญหานี้อย่างมีสติ จะท�ำให้เราสามารถ จัดล�ำดับการวางแผนในการป้องกัน และฟืน้ ฟูฟาร์ม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อบรรเทาให้ปัญหาจาก หนักเป็นเบาได้ และอาจจะไม่สง่ ผลกระทบต่อเรา ในที่สุด จากการที่สภาพอากาศแปรปรวนอย่าง มาก มีฝนตกหนักตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วง ต้นปี และปลายปีนี้ นอกจากท�ำให้เกิดน�้ำท่วม ในหลายพื้ น ที่ ยั ง ท� ำ ให้ ส ภาวะแวดล้ อ มในบ่ อ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ควบคุม/จัดการได้ยาก อาจเหนีย่ วน�ำก่อให้เกิดโรคได้งา่ ย หรืออืน่ ๆ ความ ห่วงใยต่อพีน่ อ้ งเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ทุกท่านในเรือ่ ง ดังกล่าว และขอส่งก�ำลังใจถึงทุกท่าน ให้เตรียมตัว เตรียมความพร้อมอย่างเต็มที่ในการเลี้ยงกุ้งรอบ ต่อๆ ไป อย่าละเลยในข้อปฏิบัติต่างๆ โดยเฉพาะ เรื่องพื้นฐานที่ต้องด�ำเนินการ ที่หลายท่านอาจ ท�ำได้ดีอยู่แล้ว



1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ ­n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ­° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥

Pellet mill Dryer

Extruder

Pulverizer

Mixer

Hammer mill


Around The World

ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัสเชื้อซัลโมเนลลา สปีชี่ อี.โคไล และเคลบเซลลา สปีชี่ ที่ดื้อยาต้านจุลชีพจากอาหารสุกรที่รางอาหาร

Probability of exposure of antimicrobial resistant Salmonella spp., E.coli, and Klebsiella spp. attributable to pig feed from feed trough น.สพ. อดิลักข์ เล็บนาค1, น.สพ.อดุลย์ เพิ่มผล1

๏ บทคัดย่อ ๏ ข้อมูลส�ำคัญในการประเมินความเสี่ยงแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษที่ดื้อยาต้านจุลชีพในระดับ ฟาร์มสุกร คือ แหล่งที่มาของจุลินทรีย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารสุกร โดยแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษ เข้าสู่ตัวสุกรผ่านการกินอาหารและเพิ่มจ�ำนวนในทางเดินอาหารสุกร เมื่อถูกขับถ่ายออกมาก็สามารถ ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยและแพร่ระบาดไปสู่สุกรตัวอื่นๆ ในฟาร์มได้ ในการศึกษาครั้งนี้ เก็บ ตัวอย่างอาหารสุกรจากรางอาหาร จ�ำนวน 110 ตัวอย่าง ทั่วประเทศ 10 จังหวัด วิเคราะห์ระดับการ ปนเปือ้ น Salmonella spp. , E.coli และ Klebsiella spp. และทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ 10 ชนิด ไม่พบการปนเปื้อนของ Salmonella spp. ในตัวอย่างอาหารสุกร ในขณะที่ความชุกเฉลี่ยรายจังหวัด ของ E.coli ในอาหารสุกรอยูร่ ะหว่างร้อยละ 0 - 20 ความเข้มข้นเฉลีย่ รายจังหวัดของ E.coli อยูร่ ะหว่าง 0 - 0.76 log mpn/g และความชุกเฉลี่ยรายจังหวัดของ Klebsiella spp. ในอาหารสุกรอยู่ระหว่าง ร้อยละ 0 - 52.8 ความเข้มข้นเฉลี่ยรายจังหวัดของ Klebsiella spp. อยู่ระหว่าง 0 - 2.06 log mpn/g เนื่องจากไม่พบการปนเปื้อนของ Salmonella spp. ในอาหารสุกร ดังนั้น จึงรายงานเฉพาะ E.coli และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพที่ปนเปื้อนในอาหารสุกร โดยการวิเคราะห์รวมทั่วประเทศ พบว่าความชุกโดยอาศัยค่าทีเ่ ป็นไปได้เพียงค่าเดียว (deterministic prevalence) และความชุกโดยอาศัย ค่าที่เป็นไปได้มากกว่า 2 ค่า (probabilistic prevalence) ของ E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพอยู่ระหว่าง ร้อยละ 0 - 5.5 และ 0.9 - 6.3 ตามล�ำดับ ความเข้มข้นของ E.coli ทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพอยูร่ ะหว่าง 0 - 1.38 log mpn/g ในขณะที่ deterministic prevalence และ probabilistic prevalence ของ Klebsiella spp. ทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพอยูร่ ะหว่างร้อยละ 0.9 - 28.2 และ 1.8 - 28.6 ตามล�ำดับ ความเข้มข้นของ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพอยู่ระหว่าง 0.86 - 2.66 log mpn/g ค่าเฉลี่ยความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส E.coli ทีด่ อื้ ต่อ cefotaxime และ ciprofloxacin มีคา่ ต�ำ่ สุด ประมาณ 0.0003 และ 0.0004 log mpn/g ตามล�ำดับ ค่าเฉลีย่ ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส Klebsiella spp. ทีด่ อื้ ต่อ gentamicin และ nalidixic acid มีค่าต�่ำสุด ประมาณเท่ากัน คือ 0.0178 log mpn/g การศึกษานี้พบว่า ความน่าจะเป็นในการ รับสัมผัสจุลินทรีย์ดื้อยาต้านจุลชีพ จะมีความสอดคล้องกับความชุกและความเข้มข้นของทั้งแบคทีเรีย และแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพด้วย ดังนั้น แนวทางการจัดการความเสี่ยงเพื่อควบคุมโอกาส หรือความ 1

กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ กรมปศุสัตว์ กรุงเทพฯ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

65


Around The World น่าจะเป็นที่สุกรจะได้รับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพผ่านอาหารสุกร คือ การหามาตรการในการลดการ ปนเปื้อนของทั้งแบคทีเรีย และแบคทีเรียที่ดื้อยาต้านจุลชีพในอาหารสุกรที่รางอาหารด้วย ค�ำส�ำคัญ : ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัสดื้อยาต้านจุลชีพ อาหารสุกรที่รางอาหารเชื้อซัลโมเนลลา สปีชี่ อี.โคไล และ เคลบเซลลลา สปีซี่

๏ Abstract ๏ A significant information for antimicrobial resistant (AMR) risk assessment at the farm level is the source of AMR pathogens particularly feed. Since these AMR pathogens can colonize the host upon being ingested through alimentary tract. Once excreted, they could contaminate the environment and spread to other pigs in farm. This study collected 110 pig feed samples from feed trough from 10 provinces nationwide. The feed samples were analyzed for prevalence and concentration of Salmonella spp. , E.coli and Klebsiella spp. Antimicrobial susceptibility test was used to determine AMR pathogens against 10 antimicrobials. The prevalences of E.coli contaminated in feed were between 0 - 20% and concentrations of E.coli were between 0 - 0.76 log mpn/g. The prevalences of Klebsiella spp. contaminated in feed were between 0 - 52.8% and concentrations of Klebsiella spp. were between 0 - 2.06 log mpn/g. Since Salmonella spp. was not detected in all feed samples therefore only overall AMR E.coli and Klebsiella spp. nationwide were reported. Deterministic prevalence and probabilistic prevalence of AMR E.coli contaminated in feed were between 0 - 5.5% and 0.9 - 6.3%, respectively. The concentrations of AMR E.coli were between 0 - 1.38 log mpn/g. Deterministic prevalence and probabilistic prevalence of AMR Klebsiella spp. contaminated in feed were between 0.9 - 28.2% and 1.8 28.63%, respectively. The concentrations of AMR Klebsiella spp. were between 0.86 - 2.66 log mpn/g . The average probabilities of exposure of AMR E.coli against cefotaxime and ciprofloxacin were lowest approximately 0.0003 and 0.0004 log mpn/g while the average probabilities of exposure of AMR Klebsiella spp. against gentamicin and nalidixic acid were lowest approximately 0.0178 log mpn/g. This study indicated that the probability of exposure was derived from both prevalence and concentration of bacteria and AMR bacteria. So the risk management options to control the probability of AMR exposure attributable to feed were measures that can minimize the contamination of bacteria and AMR bacteria in pig feed from feed trough. Keywords: Probability of exposure, antimicrobial resistant, pig feed from feed trough Salmonella spp. , E.coli, Klebsiella spp.

66 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Around The World

หลักการและเหตุผล

๏ บทนำ� ๏

การดือ้ ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) ก�ำลังเป็นประเด็นปัญหาทีส่ ำ� คัญด้านการ สาธารณสุขและความปลอดภัยอาหารในระดับนานาชาติ โดยมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับการใช้ยา ต้านจุลชีพในการผลิตสัตว์ จนอาจจะก่อให้เกิดกระบวนการคัดเลือกและแพร่กระจายจุลนิ ทรียด์ อื้ ยาจาก การผลิตอาหารส่งต่อเนือ่ งไปสูม่ นุษย์โดยผ่านทางการบริโภคอาหาร จนก่อให้เกิดความเสีย่ งด้านสุขภาพ เช่น ความล้มเหลวในการรักษาโรคอาหารเป็นพิษด้วยยาต้านจุลชีพ (treatment failure) การหมดทางเลือก ในการใช้ยาต้านจุลชีพรักษาโรคติดเชื้อ (loss of treatment options) ความถี่และความรุนแรงของ การติดเชือ้ /การเจ็บป่วยสูงขึน้ มีระยะเวลาป่วยและการรักษายาวนานขึน้ หรืออัตราการตายสูงขึน้ (CAC/ GL 77 2011; Franklin et al., 2001) การประเมินความเสี่ยงการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR risk assessment) เป็นเครื่องมือทาง วิทยาศาสตร์ในการประเมินโอกาส (likelihood) ของผลกระทบสุขภาพจากการดื้อยาต้านจุลชีพใน ประชากรกลุ่มเสี่ยง (population at risk) จากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนด้วยจุลินทรีย์ก่อโรคที่ ดือ้ ยาต้านจุลชีพ โดยการพิจารณาปัจจัยเสีย่ งต่างๆ ตลอดห่วงโซ่อาหารทีม่ ผี ลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลง ระดับการปนเปื้อนจุลินทรีย์ดื้อยาต้านจุลชีพตั้งแต่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ กระบวนการผลิต/แปรรูป การเก็บ รักษา การขนส่ง การกระจายสินค้า จนกระทั่งได้เป็นอาหารพร้อมส�ำหรับการบริโภคในที่สุด (CAC/ GL 77 2011) ข้อมูลพื้นฐานส�ำคัญประกอบการประเมินความเสี่ยงแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษ เช่น E.coli, Klebsiella spp. และ Salmonella ในระดับฟาร์มสุกร คือ แหล่งที่มาของจุลินทรีย์เหล่านี้โดยเฉพาะ อย่างยิง่ อาหารสุกร โดยแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษเหล่านีเ้ มือ่ มีโอกาสเข้าสูต่ วั สุกรผ่านการกิน ก็สามารถ เพิม่ จ�ำนวนในทางเดินอาหารสุกร เมือ่ ถูกขับถ่ายออกมาก็สามารถปนเปือ้ นในสิง่ แวดล้อมทีอ่ ยูอ่ าศัยและ แพร่ระบาดปสูส่ กุ รตัวอืน่ ๆ ในฟาร์ม ดังนัน้ ความชุก (prevalence) และความเข้มข้ม (concentration) ของ E.coli, Klebsiella spp. และ Salmonella ทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพทีป่ นเปือ้ นในอาหารสุกร โดยวิเคราะห์ ในรูปของโอกาสทีส่ กุ รจะรับสัมผัสแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพ (Cassin et al. 1998) จึงเป็นข้อมูลพื้นฐานจ�ำเป็นและส�ำคัญในการประเมินความเสี่ยง รวมถึงการเสนอแนะแนวทาง หรือ มาตรการจัดการความเสี่ยง เพื่อควบคุม หรือลดโอกาสการส่งผ่านแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษที่ดื้อยา ต้านจุลชีพจากระดับการเลี้ยงสัตว์ไปสู่ชุมชนผ่านการบริโภคอาหารได้

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบข้อมูลผลการประเมินการสัมผัสประกอบการตัดสินใจในการพิจารณา และหรือ การก�ำหนดเกณฑ์ทางจุลชีววิทยา (Microbiological criteria) ของจุลินทรีย์ก่อโรคที่ดื้อยาต้านจุลชีพ ในอาหารสุกร หรือตลอดห่วงโซ่อาหาร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

67


Around The World 2. เพือ่ น�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาประกอบการตัดสินใจในการพิจารณาหรือก�ำหนด มาตรการในการจัดการ ความเสี่ยง (Risk management options) 3. เพือ่ เป็นข้อมูลให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสุกรทราบว่าความน่าจะเป็นในการรับสัมผัสจุลนิ ทรียด์ อื้ ยา ต้านจุลชีพจะมีความสอดคล้องกับความชุก และความเข้มข้นของทั้งแบคทีเรียและแบคทีเรียดื้อยาต้าน จุลชีพ 4. เพือ่ เป็นข้อมูลยืนยันว่ามาตรการในการลดการปนเปือ้ นของทัง้ แบคทีเรียและแบคทีเรียทีด่ อื้ ยา ต้านจุลชีพในอาหารสุกร คือ จัดการความเสี่ยงเพื่อควบคุมโอกาส หรือความน่าจะเป็นที่สุกรจะได้รับ แบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพผ่านอาหารสุกร 5. เพือ่ เป็นข้อมูลให้ประชาชนไทยผูบ้ ริโภคเนือ้ สุกรมัน่ ใจในการบริโภคเนือ้ สุกรทีป่ ลอดภัย (Food safety) และส่งผลให้ลดภาระค่าใช้จา่ ยในการดูแลความเจ็บป่วย หรือการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล (reduce disease burden) ลดระยะเวลาในการขาดงาน เนื่องจากความเจ็บป่วยที่เรื้อรังเกินกว่าปกติ จากการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ (shorten hospitalization)

๏ อุปกรณ์และวิธีการ ๏ 1. เก็บตัวอย่างอาหารสุกรที่รางอาหาร พื้นที่การเก็บตัวอย่างอาหารสุกรที่รางอาหารสภาพแห้งจากฟาร์มสุกรแบ่งเป็น 6 ภาค เพื่อ ให้เป็นตัวแทนทั้งประเทศ ประกอบด้วย ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง และภาคตะวันตก จ�ำนวน 110 ตัวอย่าง (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 จำ�นวนตัวอย่างอาหารสุกรแบ่งตามพื้นที่ภาคและจังหวัด 1. เหนือ

ภาค

2. ตะวันออก 3. ตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ใต้ 5. กลาง 6. ตะวันตก

จังหวัด เชียงใหม่ ลำ�พูน ชลบุรี ขอนแก่น ร้อยเอ็ด สุราษฎร์ธานี สงขลา กรุงเทพมหานคร นครปฐม ราชบุรี รวม

68 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

จำ�นวนตัวอย่าง 24 5 9 6 9 6 5 2 8 36 110


Around The World 2. ตรวจวิเคราะห์ระดับการปนเปื้อน (Contamination level) การตรวจวิเคราะห์ระดับการปนเปื้อนของ Salmonella spp. , E.coli และ Klebsiella spp. ในอาหารสุกร ใช้เทคนิค Most probable number จ�ำนวน 3 ระดับการเจือจาง (three dilutions) ชนิด 3 tubes series รวมเป็น 9 dilutions/ตัวอย่าง ตามแนวทางของ Bacteriological Analytical Manual (BAM) ขององค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) 1. Salmonella spp. ตามแนวทางของ ISO 6579: 2002/A1: 2007 หรือ Bacteriological Analytical Manual ขององค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) ประกอบด้วย การทดสอบเบื้องต้น (Pre enrichment test) การทดสอบคัดเลือก (Selective enrichment test) การทดสอบชีวเคมี (Biochemical test) และ การทดสอบยืนยัน (Confirmed test) 2. E.coli ตามแนวทางของ Bacteriological Analytical Manual ขององค์การอาหารและยา ของประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) ประกอบด้วย การทดสอบเบื้องต้น ส�ำหรับ coliform, fecal coliform และ E.coli (Presumptive test) การทดสอบยืนยัน ส�ำหรับ fecal coliform และ E.coli (Confirmed test) และ การทดสอบยืนยัน ส�ำหรับ E.coli (Confirmed test) 3. Klebsiella spp. ตามแนวทางของ Bacteriological Analytical Manual ขององค์การ อาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) ประกอบด้วย การทดสอบเบื้องต้น ส�ำหรับ Enterobacteriaceae (Pre enrichment test) การทดสอบคัดเลือก (Selective enrichment test) และ การทดสอบยืนยัน ส�ำหรับ Klebsiella spp. (Confirmed test) 3. ตรวจวิเคราะห์ความไวต่อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial susceptibility testing) การตรวจวิเคราะห์ความไวต่อยาต้านจุลชีพของ Salmonella spp., E.coli, Klebsiella spp. และโดยเป็นเชื้อที่แยกได้ (isolates) จากตัวอย่างอาหารสุกรในขั้นตอนการตรวจวิเคราะห์ระดับการ ปนเปื้อน โดยการทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ โดยวิธีการท�ำ Broth dilution technique หรือ Agar dilution technique เพือ่ ให้ได้คา่ minimum inhibitory concentration หรือค่า MIC (CLSI, 2004) โดยเลือกกลุ่มยาต้านจุลชีพที่ใช้ในการเฝ้าระวังตามแนวทางของสหภาพยุโรป (EFSA No.96, 2007; EFSA No. 141, 2008) จ�ำนวน 10 ชนิด ประกอบด้วย ampicillin, cefotaxime, chloramphenicol, ciprofloxacin, gentamicin, nalidixic acid, streptomycin, sulfamethoxazole, trimethoprim และ tetracycline 4. แบบจ�ำลองความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส (Probability of exposure: PE) ความน่าจะเป็นในการได้รับ Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้าน จุลชีพของสุกรผ่านการกินอาหารสุกรอาศัยแบบจ�ำลอง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

69


Around The World

PE = P(1 - e)-N

(1)

โดยที่ PE คือ ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ที่ ดื้อยาต้านจุลชีพในอาหารสุกร P คือ ความชุกหรืออัตราการดือ้ ยาต้านจุลชีพของ Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ในอาหารสุกร (Prevalence) N คือ จ�ำนวนเซลล์ของ Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพ ในอาหารสุกร (Number) สามารถค�ำนวณได้จากแบบจ�ำลอง

N = Concentraion x Consumption

(2)

โดยที่ Concentration คือ ความเข้มข้น Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยา ต้านจุลชีพในอาหารสุกร Consumption คือ ปริมาณการกินอาหารสุกรต่อครั้ง ประมาณ 0.5 - 1 กิโลกรัม จากนั้น จึงน�ำข้อมูลทั้งหมดมาจ�ำลองเหตุการณ์จริง (Monte Carlo Simulation) ซ�้ำๆ จ�ำนวน ขั้นต�่ำ 20,000 รอบ (iteration) โดยอาศัยโปรแกรม @Risk Professional edition (Risk analysis Add - in for Microsoft Excel: Palisade Corporation) 5. วิเคราะห์ความไม่แน่นอนของตัวแปร (Uncertainty of variable) การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณและเชิงความไม่แน่นอนของตัวแปรทีส่ ำ� คัญในการศึกษาครัง้ นี้ คือ ความชุก (prevalence) และความเข้มข้น (concentration) ของ Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพในอาหารสุกร ซึ่งสามารถอธิบายความไม่แน่นอนด้วยการใช้การ แจกแจงความน่าจะเป็น (probability distribution) ดังนี้ 1. ความชุก (Prevalence) การแจกแจงความน่าจะเป็นของความชุกจะใช้ Beta distribution เป็นการอาศัยหลักการกระบวนการทวินาม (Binomial process) กล่าวคือ ความชุก หรือการปนเปื้อน ของจุลนิ ทรียใ์ นตัวอย่างทีส่ นใจนัน้ มีความเป็นไปได้เพียง 2 กรณีเท่านัน้ คือ มีการปนเปือ้ น และไม่มกี าร ปนเปื้อน ดังนั้น จึงได้น�ำเอาหลักการนี้มาวิเคราะห์หาระดับความชุก หรือการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ใน ตัวอย่าง หรือตัวแปรสุม่ ทีส่ นใจด้วยการแจกแจง Beta (s+1, n - s+1) โดยที่ n คือ จ�ำนวนตัวอย่างอาหาร สุกรที่ทดสอบ s คือ จ�ำนวนตัวอย่างอาหารสุกรที่มีการปนเปื้อน เรียกว่า probabilistic prevalence ใน ขณะที่การค�ำนวณความชุกโดยอาศัยค่าที่เป็นไปได้เพียงค่าเดียว เรียกว่า deterministic prevalence

70 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Around The World 2. ความเข้มข้น (Concentration) การเลือกแบบการแจกแจงความน่าจะเป็นส�ำหรับความ เข้มข้น (Poisson Distribution) ระดับความเข้มข้นของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในตัวอย่างนั้น จะ สอดคล้องกับแบบการแจกแจงแบบ Poisson หรือ Normal

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็น แบบ PERT โดยมีค่าต�่ำสุด ค่าเป็นไปได้สูงสุด และค่าสูงสุด เป็น  - 2.5, 0 และ 2.5 ตามล�ำดับ

ภาพที่ 2 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบสม�่ำเสมอ โดยมีค่าต�่ำสุด และค่าสูงสุด เป็น  - 2.5 และ 2.5 ตามล�ำดับ

6. การรวบรวมผล แปลผล สรุปผล วิเคราะห์ผล และเผยแพร่ผลงาน ต้องท�ำอย่างรอบคอบ ซึ่งต้องใช้เวลา มีการค้นคว้าเอกสารอ้างอิงเพิ่มเติม

๏ ผลการศึกษา ๏ ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า การวิเคราะห์การปนเปื้อน Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ในอาหารสุกร ปรากฏว่า ไม่พบการปนเปื้อนของ Salmonella spp. ในตัวอย่างอาหารสุกร ในขณะที่ความชุกเฉลี่ย รายจังหวัดของ E.coli ในอาหารสุกรทีร่ างอาหาร อยูร่ ะหว่างร้อยละ 0 - 20% ความเข้มข้นเฉลีย่ รายจังหวัด ของ E.coli อยูร่ ะหว่าง 0 - 0.76 log mpn/g และ ความชุกเฉลีย่ รายจังหวัดของ Klebsiella spp. ในอาหาร สุกรทีร่ างอาหาร อยูร่ ะหว่างร้อยละ 0 - 52.8 แต่ความเข้มข้นอยูใ่ นระดับต�ำ่ เฉลีย่ รายจังหวัดของ Klebsiella spp. อยู่ระหว่าง 0 - 2.06 log mpn/g (ตารางที่ 2)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

71


Around The World ตารางที่ 2 ความชุก (%) และความเข้มข้น (log mpn/g) ของการปนเปื้อน Salmonella spp. E.coli และ Klebsiella spp. ในอาหารสุกรที่รางอาหาร จังหวัด เชียงใหม่ ลำ�พูน ชลบุรี ขอนแก่น ร้อยเอ็ด สุราษฎร์ธานี สงขลา กรุงเทพมหานคร นครปฐม ราชบุรี

Salmonella spp. ความชุก ความเข้มข้น 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0 0% 0

E.coli ความชุก ความเข้มข้น 0% 0 20.0% 0.34 0% 0 16.7% 0.76 0% 0 16.7% 0.15 0% 0 0% 0 0% 0 5.6% 0.26

Klebsiella spp. ความชุก ความเข้มข้น 14.62% 0.88 10.0% 0.51 11.12% 0.66 16.7% 0.81 0% 0 0% 0 10.0% 1.96 25.0% 2.06 6.3% 0 52.8% 1.80

เนือ่ งจากไม่พบการปนเปือ้ นของ Salmonella spp. ในอาหารสุกร ดังนัน้ จึงรายงานเฉพาะ E.coli และ Klebsiella spp. ทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพทีป่ นเปือ้ นในอาหารสุกร โดยการวิเคราะห์รวมทัว่ ประเทศ พบว่า ความชุกโดยอาศัยค่าที่เป็นไปได้เพียงค่าเดียว (deterministic prevalence) และความชุกโดยอาศัยค่า ที่เป็นไปได้มากกว่า 2 ค่า (probabilistic prevalence ของ E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพอยู่ระหว่างร้อยละ 0 - 5.5 และ 0.9 - 6.3 ตามลำ�ดับ ความเข้มข้นของ E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพอยู่ระหว่าง 0 - 1.38 log mpn/g ในขณะที่ deterministic prevalence และ probabilistic prevalence ของ Klebsiella spp. ที่ ดื้อยาต้านจุลชีพอยู่ระหว่างร้อยละ 0.9 - 28.2 และ 1.8 - 28.6 ตามลำ�ดับ ความเข้มข้นของ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพอยู่ระหว่าง 0.86 - 2.66 log mpn/g (ตารางที่ 3, 4) ตารางที่ 3 ความชุกและความเข้มข้นของ E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพที่ปนเปื้อนในอาหารสุกรที่รางอาหาร Antimicrobial Ampicillin Cefotaxime Chloramphenicol Ciprofloxacin Gentamicin Nalidixic acid Streptomycin Sulfamethoxazole Tetracycline Trimethoprim

Prevalence (%) Deterministic Probabilistic 5.5 6.3 0 0.9 2.7 3.6 3.6 4.5 0 0.9 3.6 4.5 4.5 5.4 3.6 4.5 5.5 6.3 2.7 3.6

72 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

Concentration log mpn/g 0.90 0.00 0.68 0.65 0.00 0.65 0.94 1.38 0.90 0.68


Around The World ตารางที่ 4 ความชุกและความเข้มข้นของ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพที่ปนเปื้อนในอาหารสุกรที่รางอาหาร Antimicrobial Ampicillin Cefotaxime Chloramphenicol Ciprofloxacin Gentamicin Nalidixic acid Streptomycin Sulfamethoxazole Tetracycline Trimethoprim

Prevalence (%) Deterministic Probabilistic 26.4 26.8 1.8 2.7 3.6 4.5 8.2 8.9 0.9 1.8 0.9 1.8 3.6 4.5 28.2 28.6 6.4 7.1 10.0 10.7

Concentration log mpn/g 2.00 0.86 0.95 1.79 2.66 2.66 2.08 1.95 2.04 2.22

เนือ่ งจากไม่พบการปนเปือ้ นของ Salmonella spp. ในอาหารสุกร ดังนัน้ จึงรายงานเฉพาะความ น่าจะเป็นการรับสัมผัส E.coli และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพที่ปนเปื้อนในอาหารสุกร โดย พบว่า ค่าเฉลี่ยความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส E.coli ที่ดื้อต่อ cefotaxime และ ciprofloxacin มีค่า ต�ำ่ สุด ประมาณ 0.0003 และ 0.0004 log mpn/g ตามล�ำดับ ค่าเฉลีย่ ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส Klebsiella spp. ที่ดื้อต่อ gentamicin และ nalidixic acid มีค่าต�่ำสุด ประมาณเท่ากัน คือ 0.0178 log mpn/g ดังแสดงในตารางที่ 5, 6 และการแจกแจงความน่าจะเป็นของ E.coli และ Klebsiella spp. ต่อ Nalidixic acid ดังแสดงในภาพที่ 3, 4 ตามล�ำดับ ตารางที่ 5 ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพผ่านอาหารสุกรที่รางอาหาร Antimicrobial Ampicillin Cefotaxime Chloramphenicol Ciprofloxacin Gentamicin Nalidixic acid Streptomycin Sulfamethoxazole Tetracycline Trimethoprim

Probability of Exposure of AMR E.coli attributable to pig feed Min 5th percentile Mean 95th percentile Maximum 0 0.0200 0.0576 0.0982 0.1800 0 0 0.0003 0.0021 0.0300 0 0.0079 0.0290 0.5960 0.1400 0 0.0105 0.0004 0.0070 0.150 0 0 0.0325 0.0205 0.0468 0 0.0105 0.0354 0.0696 0.1500 0 0.0211 0.0502 0.0886 0.1600 0.003 0.0177 0.0444 0.0803 0.1600 0 0.0254 0.0576 0.0984 0.1700 0 0.0079 0.0290 0.0594 0.1300

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

73


Around The World

ภาพที่ 3 การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบสม�่ำเสมอ โดยมีค่าต�่ำสุด และค่าสูงสุด เป็น  - 2.5 และ 2.5 ตามล�ำดับ ตารางที่ 6 ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส Klebsiella spp .ที่ดื้อยาต้านจุลชีพผ่านอาหารสุกรที่รางอาหาร Antimicrobial Ampicillin Cefotaxime Chloramphenicol Ciprofloxacin Gentamicin Nalidixic acid Streptomycin Sulfamethoxazole Tetracycline Trimethoprim

Probability of Exposure of AMR Klebsiella spp. attributable to pig feed Min 5th percentile Mean 95th percentile Maximum 0.0708 0.2000 0.2600 0.3300 0.4400 0 0.0063 0.0243 0.0519 0.1100 0.0000 0.0160 0.0420 0.0770 0.1500 0.0183 0.0400 0.0892 0.1300 0.2300 0.0001 0.0032 0.0178 0.0420 0.1400 0 0.0032 0.0178 0.0420 0.1200 0.0028 0.0179 0.0446 0.0805 0.1500 0.1300 0.2100 0.2800 0.3500 0.4700 0.0110 0.0363 0.7140 0.1100 0.2100 0.0267 0.0635 0.1000 0.1500 0.2500

ภาพที่ 4 การแจกแจงความน่าจะเป็นของ Probability of Exposure ของ Nalidixic resistant Klebsiella spp. ในอาหารสุกรที่รางอาหาร

74 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561




Around The World

๏ สรุปและวิจารณ์ ๏ ผลการวิเคราะห์การปนเปื้อนของ Salmonella spp., E.coli และ Klebsiella spp. ในอาหาร สุกรที่รางอาหารพบว่า ไม่มีการปนเปื้อนของ Salmonella spp. ในอาหารสุกรเลย ดังนั้น อาหารสุกร ที่รางอาหารที่วิเคราะห์ทุกตัวอย่างในทุกจังหวัด ผ่านข้อก�ำหนดมาตรฐานอาหารสัตว์เสื่อมคุณภาพ ทางจุลชีววิทยาคือ ต้องไม่พบ Salmonella spp. ในอาหารสัตว์ ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพ อาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 ในขณะทีม่ กี ารปนเปือ้ นด้วย E.coli และ Klebsiella spp. ใน 4 และ 7 จังหวัด ตามล�ำดับ และพบการปนเปือ้ นร่วมกันของทัง้ E.coli และ Klebsiella spp. ในอาหารสุกรทีเ่ ก็บตัวอย่าง จาก 3 จังหวัด ทั้งนี้พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 ยังไม่ได้ก�ำหนดอาหาร สัตว์เสือ่ มคุณภาพทางจุลชีววิทยา ว่าต้องไม่พบ หรือพบปริมาณเท่าไรของ E.coli และ Klebsiella spp. อัตราการดื้อยาต้านจุลชีพของ E.coli มีความใกล้เคียงกันในยาต้านจุลชีพที่ศึกษาในระดับไม่สูง มาก ประมาณไม่เกินร้อยละ 10 ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราการดื้อยาต้านจุลชีพของ Klebsiella spp. ต่อยา ต้านจุลชีพที่ศึกษาประมาณไม่เกินร้อยละ 10 เช่นกัน ยกเว้นยาต้านจุลชีพ ampicillin และ sulfamethoxazole ซึ่งมีอัตราการดื้อยาในระดับปานกลางประมาณไม่เกินร้อยละ 30 นอกจากนี้ ระดับความ เข้มข้นของ E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพทุกชนิดอยู่ในระดับต�่ำประมาณไม่เกิน 1.38 log mpn/g ระดับ ความเข้มข้นของ Klebsiella spp. ที่ดื้อยาต้านจุลชีพทุกชนิดอยู่ในระดับต�่ำประมาณไม่เกิน 2.08 log mpn/g ยกเว้น gentamicin และ nalidixic acid ซึ่งมีระดับความเข้มข้นที่ดื้อยาต้านจุลชีพประมาณ 2.66 log mpn/g แสดงว่า Klebsiella spp. มีแนวโน้มของการดื้อยาในเชิงความชุกและความเข้มข้น สูงกว่า E.coli ความหมายของ ความน่าจะเป็นในการสัมผัสแบคทีเรียทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพ โดยพิจารณาจากตัวอย่าง ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส E.coli ที่ดื้อต่อ ampicillin มีค่าต�่ำสุด ค่าเฉลี่ยและค่าสูงสุด เท่ากับ 0, 0.05 และ 0.18 ตามล�ำดับ หมายความว่า การกินอาหารของสุกรจ�ำนวน 100 ครั้ง จะมีค่าเฉลี่ย ของการได้รบั E.coli ทีด่ อื้ ต่อ ampicillin อย่างน้อย 1 เซลล์ จ�ำนวน 5 ครัง้ อย่างไรก็ตาม จ�ำนวน 5 ครัง้ เป็นค่าเฉลีย่ เท่านัน้ ในบางกรณีสกุ รอาจจะได้ E.coli ทีด่ อื้ ยาต้านจุลชีพจากอาหารสุกรจ�ำนวนน้อยทีส่ ดุ คือ 0 ครั้ง และจ�ำนวนมากที่สุด คือ 18 ครั้ง ทั้งนี้เนื่องจากความไม่แน่นอนของตัวแปร คือ ความชุก ความเข้มข้นและปริมาณอาหารสุกรที่กินจากรางอาหาร จากตารางที่ 5 และ 6 มีข้อสังเกตว่า ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัส Klebsiella spp. ที่ดื้อยา ต้านจุลชีพสูงกว่า E.coli เนื่องจาก Klebsiella spp. (ตารางที่ 2) และ Klebsiella spp. ที่ดื้อยา ต้านจุลชีพ (ตารางที่ 3, 4) มีแนวโน้มความชุกและความเข้มข้นสูงกว่า E.coli (ตารางที่ 2) และ E.coli ที่ดื้อยาต้านจุลชีพ (ตารางที่ 3, 4) ดังนั้น จึงอาจจะสรุปได้ว่า ความน่าจะเป็นในการรับสัมผัสจุลินทรีย์ ดือ้ ยาต้านจุลชีพจะมีความสอดคล้องกับความชุก และความเข้มข้นของจุลนิ ทรียแ์ ละจุลนิ ทรียท์ ดี่ อื้ ยาต้าน จุลชีพด้วย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

75


Around The World แต่เนื่องจาก Klebsiella spp. เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน กลุ่มเอ็นเทอโรแบคทีเรีย (Family Enterobacteriaceae) มีขนาดเล็กไม่เกิน 1.0 x 6.0 ไมโครเมตร ไม่สามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้ อยูใ่ น กลุ่มของไม่ต้องใช้ออกซิเจน (anaerobes) อยู่ในกลุ่มของ microflora ความสามารถในการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็วเมื่อมีการสะสมของโคโลนีบนอาหารที่เป็นธาตุอาหารมาตรฐานขณะที่รักษาอุณหภูมิและ ความเป็นกรดไว้ที่ 35 - 37 องศาเซลเซียส และ pH 7.2 - 7.4 ช่วงระยะเวลาการบ่ม Klebsiella สามารถ แตกต่างกันไปและสามารถเข้าถึงได้ถึงเจ็ดวัน ขึ้นอยู่กับรูปแบบ etiopathogenetic ของ Klebsiella ปกติจะอาศัยในล�ำไส้มนุษย์ และไม่ก่อให้เกิดโรค ไม่ได้เป็นกลุ่มเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษจากอาหาร ที่รับประทานโดยตรง Klebsiella spp. สามารถสร้างแคปซูลหนา ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความต้านทาน ต่ออิทธิพลของปัจจัยแวดล้อมมาก เป็นเชื้อที่ฉวยโอกาส (Opportunistic pathogen) Klebsiella ซึ่ง เป็นตัวการส�ำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Secondary infection) เชื้อมักก่อโรค ในผู้ป่วยที่ขาดสารอาหาร หรือผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ที่ติดสุราเรื้อรัง เนื่องจาก เชื้อนี้มีแคปซูลหุ้มหนา ท�ำให้เสมหะที่เกิดจากเชื้อนี้มีลักษณะข้น เหนียว ไอออกยาก พยาธิสภาพ ที่เกิดขึ้นที่ปอดจะมีลักษณะคล้ายกับการติดเชื้อ H. influenza ปกติ Klebsiella จะอาศัยในล�ำไส้มนุษย์ และไม่กอ่ ให้เกิดโรค แต่หากเชือ้ นีแ้ พร่ไปอยูใ่ นต�ำแหน่งอืน่ ๆ ในร่างกาย ก็จะสามารถท�ำให้เกิดโรคต่างๆ ขึ้นได้ มักจะเป็น “โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล” หรือหมายถึง เชื้อที่ได้รับจะมาจากโรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล ผูท้ มี่ ภี มู คิ มุ้ กันอ่อนแอลง ป่วย หรืออยูร่ ะหว่างการพักฟืน้ จากการบาดเจ็บหลังท�ำหัตถการ ต่างๆ มักเป็นกลุม่ ทีม่ กั ติดเชือ้ Klebsiella ในขณะทีผ่ ทู้ ม่ี สี ขุ ภาพร่างกายสมบูรณ์ไม่ตอ้ งกังวลว่าจะติดเชือ้ ดังกล่าว เชื้อแบคทีเรียนี้ไม่แพร่ทางอากาศ แต่จะแพร่โดยการสัมผัสระหว่างบุคคลแทน โดยจะเกิดเมื่อ ผูท้ มี่ มี อื ปนเปือ้ นเชือ้ ไปสัมผัสบาดแผล การป้องกันก�ำจัด Klebsiella นี้ ใช้วธิ กี ารสุขาภิบาลคือ การรักษา ความสะอาด และการฆ่าเชื้ออุปกรณ์พื้นผิวสัมผัสต่างๆ มาตรการจัดการสุขาภิบาลอาหารที่ดี สามารถ ตัดวงจรการแพร่เชื้อโรคนี้ได้อย่างดี E.coli (Escherichia coli) เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน กลุ่มเอ็นเทอโรแบคทีเรีย (Family Enterobacteriaceae) ปกติอาศัยอยู่ในล�ำไส้ของคนและสัตว์เลือดอุ่น อีโคไล (E.coli) เป็น แบคทีเรียที่ท�ำให้เกิดท้องร่วง เชื้อจะเจริญเติบโตได้ดีในอุณหภูมิระหว่าง 7 - 50 องศาเซลเซียส และ จะถูกท�ำลายได้โดยความร้อนทีอ่ ณ ุ หภูมิ 70 องศาเซลเซียส ขึน้ ไป ระยะฟักตัว ระหว่าง 3 - 8 วัน เฉลีย่ 3 - 4 วัน พบเป็นจ�ำนวนมากในอุจจาระ แต่ไม่พบในปัสสาวะ ด้วยเหตุนี้ท�ำให้ E.coli มีความส�ำคัญ ต้องตรวจเชื้อเพื่อควบคุมคุณภาพของอาหารและผลิตภัณฑ์ต่างๆ เป็นตัวบ่งชี้ที่บอกว่าผลิตภัณฑ์มีการ ปนเปือ้ นของสิง่ ปฏิกลู หรือไม่ ในภาวะร่างกายปกติ E.coli ไม่ทำ� ให้เกิดโรค แต่จะก่อให้เกิดโรคได้ในกรณี ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือในสภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เรียกว่า เชื้อที่ฉกฉวยโอกาส ซึ่งเป็นตัวการส�ำคัญ ที่ก่อให้เกิดปัญหาการติดเชื้อในโรงพยาบาล นอกเหนือจากกลุ่มที่กล่าวมาข้างต้น กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยง ต่อการติดเชื้อที่ส�ำคัญคือ ผู้ที่ต้องท�ำงานเกี่ยวข้องกับเชื้อโรค ท�ำให้เกิดการติดเชื้อ จากการท�ำงาน (Occupational infection) ได้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ทสี่ มั ผัสกับผูป้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ และผูท้ ที่ ำ� งานในห้อง

76 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Around The World ปฏิบัติการทางการแพทย์ ซึ่งต้องสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ที่ติดเชื้อ เป็นต้น การป้องกันก�ำจัด E.coli นี้ ใช้วิธีการสุขาภิบาลคือ การรักษาความสะอาด และการฆ่าเชื้ออุปกรณ์พื้นผิวสัมผัสต่างๆ การ ตรวจสุขภาพประจ�ำปีผปู้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องด้านการสาธารณสุข ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการผลิต อาหารคน และอาหารสัตว์ การตรวจสอบสุขลักษณะส่วนบุคคลผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการผลิต อาหารคน และอาหารสัตว์ มาตรการจัดการสุขาภิบาลอาหารที่ดี สามารถตัดวงจรการแพร่เชื้อโรคนี้ ได้อย่างดี Salmonella spp. เป็นแบคทีเรียแกรมลบรูปร่างเป็นท่อน กลุ่มเอ็นเทอโรแบคทีเรีย (Family Enterobacteriaceae) ไม่สร้างสปอร์ เคลือ่ นทีโ่ ดยใช้แส้เซลล์ (flagella) ทีอ่ ยูร่ อบเซลล์ ขนาดประมาณ 0.7 - 1.5 ไมโครเมตร ยาว 2.0 - 5.0 ไมโครเมตร เจริญได้ดที งั้ ในสภาวะทีม่ อี อกซิเจน และไม่มอี อกซิเจน จึงพบได้ในอาหารที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์สุญญากาศ (vacuum packaging) แต่ในสภาวะที่มีออกซิเจน เจริญได้ดีกว่า จัดอยู่ในกลุ่ม facultative anaerobe ส่วนค่า Aw (ปริมาณน�้ำอิสระในอาหารที่จุลินทรีย์ น�ำไปใช้ในการเจริญ) ต�่ำสุดส�ำหรับการเจริญประมาณ 0.93 - 0.95 ช่วงค่า pH ที่เจริญได้อยู่ระหว่าง 3.7 - 9.5 ส�ำหรับคอโลนีในอาหารเลี้ยงเชื้อ มีขอบเรียบ ผิวมัน ไม่มีสี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 - 4 มิลลิเมตร สามารถเติบโตได้ที่อุณหภูมิในระหว่าง 8 - 45 องศาเซลเซียส แต่เจริญได้ดีในอุณหภูมิ ประมาณ 37 - 45 องศาเซลเซียส (อุณหภูมทิ เี่ หมาะสมส�ำหรับการเจริญ คือ 37 องศาเซลเซียส) ไม่ทนทาน ต่อความร้อนจะถูกท�ำลายได้ที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง หรือ 60 องศาเซลเซียส นาน 15 - 20 นาที หรือ 62 องศาเซลเซียส นาน 4 นาที หรือ 100 องศาเซลเซียส นาน 1 นาที ในขณะทีอ่ ณ ุ หภูมติ ำ�่ กว่า 5 องศาเซลเซียส สามารถยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ แต่ไม่สามารถท�ำลาย เชื้อได้ สามารถสร้างชีวพิษภายในตัว (endotoxin) ซึ่งก่อให้เกิดพิษต่อระบบทางเดินอาหาร พบได้ ทั่วไปในทางเดินอาหารของสัตว์ทั่วไปและสัตว์เศรษฐกิจ เช่น หมู วัว สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม รวมมนุษย์ด้วย และปนเปื้อนในอาหารมาสู่คน แตบอยครั้งที่พบเชื้อซัลโมเนลลา ตามรางกายสวนอื่นๆ ของสัตวดวย (Jay, 1996) อาหารที่มาจากสัตว์ เช่น เนื้อสัตว์ดิบ/ปรุงไม่สุก หรือซากเป็ด ไก่ ไข่ดิบ ผลิตภัณฑ์ที่มีไข่ดิบ นมดิบ หรือนมที่ไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อ และผลิตภัณฑ์จาก นม เช่น เนย ไอศกรีม เนยแข็ง และผักบางชนิด หรือจากอุปกรณ์เตรียมอาหาร เช่น เขียงซึ่งท�ำจาก ไม้ที่ไม่ได้ท�ำความสะอาด จ�ำนวนแบคทีเรียชนิดนี้ในอาหารเพียงเล็กน้อยท�ำให้เกิดอาการเจ็บป่วยได้ โดยจะเกิดอาการภายใน 8 - 48 ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการเป็นไข้ ปวดบิดในท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง และเป็นนานถึง 1 - 8 วัน แล้วแต่กรณี ในรายที่รุนแรงอาจติดเชื้อเข้าไปในกระแสเลือด เยื่อ หุ้มสมองอักเสบ ถึงแก่ชีวิตได้ การรักษาความสะอาด และการฆ่าเชื้ออุปกรณ์พื้นผิวสัมผัสต่างๆ การ ตรวจสุขภาพประจ�ำปีผปู้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องด้านการสาธารณสุข ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการผลิต อาหารคน และอาหารสัตว์ การตรวจสอบสุขลักษณะส่วนบุคคลผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการผลิต อาหารคน และอาหารสัตว์ มาตรการจัดการสุขาภิบาลอาหารที่ดี สามารถตัดวงจรการแพรเชื้อโรคนี้ ได้อย่างดี ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

77


Around The World ดังนัน้  ผลการวิจยั ครัง้ นี้ จึงได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ในการให้คำ� แนะน�ำแก่เจ้าหน้าทีก่ รมปศุสตั ว์ เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร ในการจัดการสุขาภิบาลของฟาร์ม และรางอาหารสุกรที่จ�ำเป็นต้องเพิ่มความถี่ ในการท�ำความสะอาด และมีการ swab รางอาหาร และเก็บอาหารทีร่ างมาตรวจวิเคราะห์เป็นระยะ เพือ่ ให้มั่นใจว่ารางอาหารไม่เป็นแหล่งที่พักของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคต่อไป ข้อแนะน�ำ หรือแนวทางการจัดการความเสี่ยงเพื่อควบคุมโอกาส หรือความน่าจะเป็นที่สุกรจะ ได้รบั จุลนิ ทรียด์ อื้ ยาต้านจุลชีพผ่านอาหารสุกรคือ การหามาตรการในการลดการปนเปือ้ นของจุลนิ ทรีย์ และจุลินทรีย์ที่ดื้อยาต้านจุลชีพในอาหารสุกร (CAC/GL 77 2011) ซึ่งวิธีการลดความเสี่ยงการได้รับ จุลินทรีย์ดื้อยาต้านจุลชีพผ่านอาหารสุกร ต้องด�ำเนินให้ครอบคลุมที่มาของอาหารสุกร เช่น ซื้อ อาหารสัตว์ผสมส�ำเร็จรูปจากโรงงานผลิตอาหารสัตว์ซงึ่ บรรจุในภาชนะบรรจุใหม่ หรือผสมอาหารสุกรเอง จะต้องปฏิบตั กิ ารผสมอาหารสัตว์ตามหลักการปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นการผลิตอาหารสัตว์ (Good Manufacturing Practices: GMP) และต้องด�ำเนินการตามหลักการวิเคราะห์อนั ตรายและจุดวิกฤติทตี่ ้องควบคุมในการ ผสมอาหารสัตว์ (Hazard Analysis and Critical Control Points: HACCP) นอกจากนั้น การจัดเก็บ อาหารสัตว์มีความส�ำคัญต่อคุณภาพอาหารสัตว์ โดยจะต้องป้องกันมิให้มีโอกาสเกิดการปนเปื้อนเชื้อ จุลินทรีย์ หรือการเพิ่มจ�ำนวนจุลินทรีย์ เช่น อาหารสัตว์ที่เปิดถุงแล้วยังใช้เลี้ยงสัตว์ไม่หมดจะต้องปิด ปากถุงให้สนิทเพือ่ ป้องกันสัตว์พาหะน�ำโรค เช่น หนู แมลงสาบ จิง้ จก นก มากัดกิน หรือเก็บอาหารสัตว์ ทีร่ อ้ นชืน้ ท�ำให้เชือ้ จุลนิ ทรียเ์ จริญเติบโตได้ดี ไม่เก็บอาหารสัตว์ในสถานทีแ่ ดดส่องถึง ถูกละอองฝน หรือ มีสัตว์พาหะน�ำโรค โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ คอก วัสดุอุปกรณ์ ต้องมีการท�ำความสะอาดสม�่ำเสมอทุกวัน ป้องการหมักหมมของของเสียต่างๆ ซึ่งเป็นแหล่งก�ำเนิดของการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์

๏ กิตติกรรมประกาศ ๏ คณะศึกษาวิจัยขอขอบคุณกลุ่มมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์เขต 5 ปศุสัตว์จังหวัด และเจ้าหน้าที่ จังหวัดชลบุรี ขอนแก่น ร้อยเอ็ด นครปฐม ราชบุรี สงขลา สุราษฎร์ธานี และกรุงเทพมหานคร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนและมาตรฐานวัตถุอันตราย กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ ช่วยประสานฟาร์ม ในการเก็บตัวอย่างอาหารสุกร และสพ.ญ.คนึงนิจ ก่อธรรมฤทธิ์ ข้าราชการบ�ำนาญ (นายสัตวแพทย์ ผชช) และรศ.น.สพ.ดร.ศุภชัย เนือ้ นวลสุวรรณ ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษาการจัดท�ำการประเมินความน่าจะเป็นในการรับสัมผัสของโครงการ

78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561


Around The World

๏ เอกสารอ้างอิง ๏ พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ.2558 Cassin, M.H., Lammerding, A.M., Todd, E.C., Ross, W. and McColl, R.S., 1998. Quantitative risk assessment for Escherichia coli O157: H7 in ground beef hamburgers. International journal of food microbiology, 41(1), pp.21 - 44. CLSI 2004. Methods for Antimicrobial Susceptibility Testing of Anaerobic Bacteria; Approved Standard - Sixth Edition M11 - A6. Vol. 24. No. 2 . ISBN 1 - 56238 - 517 - 8 EFSA Journal (2007), 96, 1 - 46, Report including a proposal for a harmonized monitoring scheme of antimicrobial resistance in Salmonella in fowl, turkeys, and pigs and C.jejuni, C.coli in broilers EFSA Journal (2008) 141: 1 - 44 Report from the Task Force on Zoonoses Data Collection including guidance for harmonized monitoring and reporting of antimicrobial resistance in commensal Escherichia coli and Enterococcus spp. from food animals. FAO 1997. Instruction’s Handbook: Food Quality and Safety Assurance systems (Food Hygiene and HACCP): Prepublication Copy. FAO, Rome. FAO/WHO 1969. Recommended International Code of Practice: General Principles of Food Hygiene, CAC/RCP 1 - 1969, Rev.3 (1997). FAO, Rome. Franklin, A., Acar, J., Anthony, F., Gupta, R., Nicholls, T., Tamura, Y.,Thompson, S., Threlfall, E., Vose. D., van Vuuren, M., White, D., Wegener, H. and Costarrica, M. 2001. Antimicrobial resistance: harmonisation of national antimicrobial resistance monitoring and surveillance programmes in animals and in animal derived food. Rev. sci. tech. Off. int. Epiz., 2001, 20 (3), 859 - 870 Jay, J.M. 1996. Chapter 23: Foodborne Gastroenteritis Caused by Salmonella and Shigella. In: Modern Food Microbiology. 5th edition. Chapman & Hall (International Thomson Publishing) Singapore. ISO 6579:2002/A1: 2007 Microbiology of food and animal feeding stuffs, Horizontal method for the detection of Salmonella spp. Amendment 1: Annex D: Detection of Salmonella spp. CAC/GL 77, 2011. Joint FAO/WHO Food Standards Programme CODEX ALIMENTARIUS COMMISSION 2011. Guidelines for risk analysis of foodborne antimicrobial resistance USFDA 2002. Bacteriological Analytical Manual (BAM) Chapter 4: Enumeration of Escherichia coli and the Coliform Bacteria by Peter Feng, Stephen D.Weagant, Michael A. Grant (dec.), William Burkhardt

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 178 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2561

79


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำ�วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ 1 บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จำ�กัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จำ�กัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำ�กัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จำ�กัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำ�กัด 10 บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำ�กัด 11 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จำ�กัด 12 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จำ�กัด 13 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 14 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำ�กัด 15 บริษัท โนวัส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด 16 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 17 บริษัท พรีเมียร์ เทค โครโนส จำ�กัด 18 บริษัท วี เอ็น ยู เอ็กซิบิชั่น เอเซีย แปซิฟิค จำ�กัด 19 ลา เมคคานิค่า เอส อาร์ แอล ดิเรฟโฟ

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2661-8700 โทร. 0-2694-2498 โทร. 0-2740-5001 โทร. 0-2670-0900 ต่อ 122 โทร. 098-248-9771




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.