วารสารธุรกิจอาหารสัตว์เล่มที่ 185

Page 78

Around the World

รูปที่ 5 วัฏจักรของเชื้อโรคและสารอินทรีย์ท่ ียังคงวนเวียนอยู่ในสิ่งแวดล้อม

Aquatic animal health care products specialist and solution provider (AAHCPS) / Charoen pokphand group global (CPG), 2018 Thailand

ก๊าซธรรมชาติ หรือเป็นพลังงานอืน่ ๆ โดยไม่ปล่อย ให้ของเสียจากการเลีย้ งกุง้ ไปปะปนกับสิง่ แวดล้อม คลองสาธารณะ หรือทะเล ต้องไม่ทิ้งน�้ำหลังจบ การเลี้ยงกุ้ง ไม่ทิ้งเลนซึ่งอาจมีเชื้อโรคชนิดใหม่ๆ หรือมีสปอร์ของเชื้อโรค พาหะน�ำโรค และสาร อินทรียส์ งู ออกไปนอกฟาร์มก่อนการถูกบ�ำบัดด้วย วิธีการที่เหมาะสม หรือที่เรียกว่า การเลี้ยงใน ระบบปิดและจัดการน�้ำแบบหมุนเวียน (Closed recycle system) หรือการจัดการสุขาภิบาลน�ำ้ แบบ ระบบปิดภายในฟาร์ม (ปรีชา สุขเกษม, 2561) 3.2 การจัดการการเลี้ยง อาจท�ำให้กุ้ง มีสภาวะความเครียดที่แตกต่างกัน ส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพ และภูมิคุ้มกันที่แตกต่างกันไป ท�ำให้ การยอมรับต่อการติดเชือ้ ก็แตกต่างกันไปด้วย ซึง่ สาเหตุที่ท�ำให้เกิดปัญหาโรคขี้ขาว และโรคอื่นๆ มีความแตกต่างกันได้ในแต่ละพื้นที่ ปัญหาหลักๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการเลี้ยง เช่น การไม่ สามารถควบคุมสีนำ�้ และปริมาณแพลงก์ตอนให้อยู่ ในปริมาณที่เหมาะสมได้ มีการตายของแพลงก์ตอนทีม่ กี ารผลิตสารพิษ (Cyanotoxin) ออกมาเป็น จ�ำนวนมาก เกิดน�้ำข้น หนืด มีฟอง การควบคุม ปริมาณอาหารไม่ดี ค่าคุณภาพน�้ำไม่อยู่ในเกณฑ์

66

ที่เหมาะสม เช่น น�้ำมีอีเอชพีสูง หรือแกว่งใน รอบวันเกิน 0.5 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน�้ำ ต�่ำกว่ามาตรฐาน (ปัจจุบันแนะน�ำว่าควรสูงกว่า 5.0 - 6.0 พีพีเอ็ม ตลอดเวลาการเลี้ยง) เป็นต้น มีสารพิษ เช่น แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ เกิดขึ้นในบ่อ เนื่องจากมีการจัดการของ เสียที่ไม่ดีพอ เช่น มีขี้กุ้ง อาหารที่เหลือ เศษซาก เปลือกกุง้ ทีล่ อกคราบ หรือเศษซากกุง้ ป่วย กุง้ ตาย เศษซากแพลงก์ตอนที่ตายและแขวนลอย ท�ำให้มี การสะสมของสารอินทรีย์ซึ่งเป็นแหล่งอาหารของ เชื้อแบคทีเรียแกรมลบตัวร้าย และเชื้อแบคทีเรีย อื่นๆ อีกหลากหลาย นอกจากนี้ สภาพพืน้ บ่อทีแ่ ย่ เช่น มีเลน สะสมมากทั้งในบ่อเลี้ยง และใต้พื้นอีพี ซึ่งไม่เคย ท�ำการบ�ำบัดการจัดการล้างบ่อ ทัง้ บ่อเลีย้ ง บ่อพัก บ่อทรีต บ่อตกตะกอน และบ่อน�ำ้ พร้อมใช้ ถ้าไม่มี โปรแกรมการล้างทีด่ ี หรือการล้างตะกอนทีต่ กค้าง ท�ำได้ไม่ดีพอ จะท�ำให้เป็นที่สะสม หรือหลบซ่อน ของเชื้อโรคและสปอร์ของเชื้อ เมื่อน�ำมาเลี้ยงกุ้ง ก็จะเป็นแหล่งเพิ่มปริมาณเชื้อโรค และปริมาณ สปอร์ของเชื้ออีเอชพีให้สูงขึ้น นอกจากนี้ การมี กุ้งหมกเลน กินเลน มีเลนสีด�ำ ที่มีกลิ่นเหม็นเน่า

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 185 มีนาคม - เมษายน 2562


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.