05รายงานผลการสัมมนาเครื่อข่ายความร

Page 1


คณะผูจ้ ดั ทํา นายคุณากร นางสาวณัฐพร นางสาวดวงกมล นางสาวสุพชิ ญา นางสาวอังศุมาริน นางสาวศิรวิ รรณ นางสาวสโรชา นางสาวเหมือนฝนั นางสาวอรอนงค์ นางสาวเอมมิกา นางสาวโชคลัดดา นางสาววนากร นายไพศาล นางสาวกอปรลักษณ์ นางสาวภคินี นางสาวมณิสา นางสาวพิชญ์สนิ ี นางสาวภคินี นางสาวมณิสา นางสาวโชคลัดดา นางสาวปณั ฑิตา

สุสขุ คล เจริญเสีชยั ยุคเจริญทรัพย์ เจริญศุภผล คชลักษณ์ ลิม้ รสเจริญวงศ์ รืน่ เริงฤทธิ ์ ธนานุวงศ์ คูศริ วิ านิชกร พูลสวสัด ิ ์ พสุมาตร์ แหวกวารี ร่มรืน่ วาณิชกิจ รัตนเพียรธัมมะ พุม่ พวง แสงสุข กิจส่งเสริมธน พุม่ พวง แสงสุข พสุมาตร์ เวสารัชกิตติ

สาขาการบัญชีบริหาร รุน่ 4 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

51205441 51205615 51205649 51206225 51206308 51206134 51206183 51206274 51206282 51206365 51236438 51236552 51239127 51233781 51234177 51234201 51239101 51234177 51234201 51236438 51236503


[1] กิ ตติ กรรมประกาศ งานสัมมนาฉบับนี้สําเร็จลุล่วงไปด้วยความกรุณาอย่างดียงิ่ จาก ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ พัชนิจ เนาวพันธ์ ทีค่ อยให้คาํ ปรึกษาและกรุณาให้คาํ แนะนําในด้านต่างๆ และผูท้ ใ่ี ห้แหล่งข้อมูล และตรวจสอบเอกสารรายละเอีย ดต่ า งๆ อาจารย์อ าจารย์ป ระไพพิศ สวัส ดิร์ มั ย์ พร้อ มทัง้ ตรวจทานแก้ไ ขข้อบกพร่องและข้อเสนอแนะ รวมถึงมอบกําลังใจในการทํางานนี้ จนสํา เร็จ สมบูรณ์ คณะผูจ้ ดั ทําขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณครู อาจารย์ เนื่องจากคณะผูจ้ ดั ทําได้รบั ความช่วยเหลือ และความ ดูแ ลเอาใจใส่จ ากคณาจารย์ป ระจํา สาขาการบัญชีบ ริห าร ตลอดจนครูอ าจารย์ทุ กท่า นที่ไ ด้ ประสิทธิ ์ประสาทวิชาความรู้ มอบความรูค้ วามเข้าใจดีๆ และให้คําปรึกษาในการจัดทําปญั หา พิเศษเล่มนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัว ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุ นด้าน การศึกษาและให้กาํ ลังใจดีๆ โดยเสมอมา อีกทัง้ ขอขอบคุณเพือ่ นนิสติ ปริญญาตรี สาขาการบัญชีบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 68 ที่ใ ห้ความช่วยเหลือแนะนํ าแนวทางในการจัดทําปญั หาพิเศษ และให้กําลังใจคณะ ผูจ้ ดั ทํามาโดยตลอด ท้ายนี้ทางคณะผูจ้ ดั ทําขอกราบขอบพระคุณทุกท่านทีไ่ ด้กล่าวนามและไม่ได้กล่าวนามที่ มีสว่ นร่วมสนับสนุ น ให้กาํ ลังใจ ความเมตตา และให้ทุนทรัพย์แก่คณะผูจ้ ดั ทํามาโดยตลอด คณะ ผูจ้ ดั ทําหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า งานสัมมนาฉบับนี้จะมีประโยชน์ทางด้านวิชาการ และมีสว่ นช่วยใน การยกระดับองค์ความรูท้ างการบัญชีแก่สาธารณชนทัวไป ่ ตลอดจนเป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล คณะผูจ้ ดั ทํา มีนาคม 2555


[2]

สารบัญ

หน้ า กิ ตติ กรรมประกาศ

[1]

สารบัญ

[2]

สารบัญตาราง

[4]

สารบัญภาพ

[5]

บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญ 1. หลักการและเหตุผล

1

2. วัตถุประสงค์

2

3. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั

2

บทที่ 2 เครื่องมือทางด้านการบัญชีภาษี อากร 1. ภาษีอากร

3

1.1 ความหมายภาษีอากร

59

1.2 โครงสร้างภาษีอากร

59

1.3 วัตถุประสงค์การจัดเก็บภาษีอากร

59

1.4 ประเภทของภาษีอากร

59

2. หลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุน

50

2.1 สิทธิประโยชน์

53

3. การวางแผนภาษีอากร

57


[3]

สารบัญ

หน้ า 3.1 วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษี

59

3.2 การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

62

3.3 การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล

72

3.4 การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่

85

3.5 การวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย

90

4. นโยบายการคืนภาษีรถยนต์คนั แรก

92

5. เงินได้พงึ ประเมินมาตรา 40

95

6. ค่าลดหย่อน

101

บทที่ 3 สรุปการสังเคราะห์องค์ความรู้รวมทางด้านการบัญชีภาษี อากร 1. สรุปผล

108

2. ภาพบรรยากาศ

111

บรรณานุกรม

114


[4]

สารบัญตาราง

ตารางที่

หน้ า

2-1

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

21

2-2

ขัน้ ตอนการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

22


[5]

สารบัญภาพ ภาพที่ 2-1

หน้ า แนวคิดการให้สทิ ธิและประโยชน์ดา้ นภาษีอากร

53


บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญ หลักการและเหตุผล ในปี พ.ศ.2554 ประเทศไทยเกิดวิกฤตการณ์อุทกภัยขึน้ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมัน่ ของผู้ลงทุนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งทําให้นักลงทุนชะลอการลงทุน หรือชะลอการ ตัดสินใจทีจ่ ะลงทุนในประเทศไทย รัฐบาลจึงได้พยายามวางนโยบายและมาตรการเพื่อชักจูงและ เร่งรัดให้เกิดการลงทุนตามเป้าหมายที่วางไว้ รวมถึงอุทกภัยที่เกิดขึ้นดังกล่าวยังสร้างความ เสียหายให้กบั ภาคธุรกิจและภาคประชาชนหลายๆภาคส่วนเป็ นอย่างมาก ทําให้รฐั บาลต้องเร่ง หามาตรการในการช่วยเหลือภาคธุรกิจเหล่านัน้ มาตรการของรัฐบาลมีทงั ้ มาตรการทีช่ ่วยเหลือ ทัง้ ภาคธุรกิจและภาคประชาชน โดยในด้านของภาคธุรกิจนัน้ รัฐบาลได้พยายามวางนโยบาย และมาตรการเพื่อชักจูง และเร่งรัดให้เ กิด การลงทุ นตามเป้ า หมายที่วางไว้ โดยมีสํานัก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) เป็ นเครื่องมือตัวหนึ่งในการ ชัก ชวนให้นั ก ลงทุ น จากต่ า งประเทศและในประเทศเข้า มาลงทุ น และเพื่อ เป็ น การกระตุ้น เศรษฐกิจของประเทศให้ดขี น้ึ รัฐบาลจึงได้ออกนโยบายคืนภาษีรถยนต์คนั แรกให้กบั ประชาชนที่ ไม่เคยมีรถยนต์มาก่อน ซึ่งเมื่อยอดขายรถยนต์เพิม่ ขึน้ อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ เช่น เหล็ก ชิ้นส่วนยานยนต์ ยาง กระจก ปิ โตรเคมี ก็จะมียอดการผลิตเพิม่ ขึน้ ซึ่งหมายถึงยอดขายหรือ รายได้เพิม่ ขึน้ ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ผลจากอุทกภัยยังส่งผลให้มรี ถยนต์จาํ นวนมากเสียหาย ซึง่ ส่ว นใหญ่ ก็จะนํ ารถยนต์ดงั กล่ า วไปขายให้แก่ผู้ป ระกอบการที่ซ้ือ สินค้า ไปใช้ใ นกิจการหรือ ผูป้ ระกอบการที่ดําเนินธุรกิจซื้อสินค้ามือสอง แต่ผูป้ ระกอบการเหล่านัน้ ก็ไม่สามารถที่จะขอ เครดิตภาษีมลู ค่าเพิม่ ทีแ่ ฝงอยู่ในต้นทุนสินค้าคืนได้ รวมทัง้ รัฐบาลยังได้ออกมาตรการทางภาษี เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยทัง้ ด้านผู้บริจาค และด้านผูป้ ระสบภัยอุทกภัยหรือผูร้ บั การบริจาค โดยให้ผู้ท่ีบ ริจ าคให้แ ก่ ผู้ท่ีเ ดือ ดร้อ นจากภัย นํ้ า ท่ ว มนํ า มู ล ค่ า เงิน บริจ าคและสิ่ง ของไปหัก ลดหย่อนภาษีได้ เงินหรือสิง่ ของที่ผู้ประสบภัยอุทกภัยได้รบั ก็จะได้รบั การยกเว้นภาษีด้ว ย เช่นกันและจากมาตรการการช่วยเหลือในด้านต่างๆของรัฐบาล ทําให้รฐั บาลต้องมีการจัดเก็บ ภาษีเ พิ่ม มากขึ้น เพื่อ เป็ น รายได้ง บประมาณในการพัฒ นาประเทศต่ อ ไป แต่ ใ นฐานะของ ผู้ประกอบการและประชาชนโดยทัวไปนั ่ น้ มีความประสงค์ท่ตี ้องการจะเสียภาษีให้น้อยที่สุด


2

ดังนัน้ จึงได้มกี ารวางแผนภาษีเข้ามาเป็ นเครื่องมือในการทําให้ผูป้ ระกอบการและประชาชน บรรลุวตั ถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้ วัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพือ่ ศึกษาถึงสาเหตุและความสําคัญของภาษีอากร 2. เพือ่ ศึกษาถึงแนวคิดทางภาษีอากรทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน 3. เพือ่ ศึกษาเกีย่ วกับการประยุกต์ใช้เครือ่ งมือทางภาษีอากร 4. เพือ่ ให้นิสติ สามารถวิเคราะห์ปญั หาและประเด็นปจั จุบนั เกีย่ วกับภาษีอากร ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั 1. ทําให้ทราบถึงปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับภาษีอากรและความสําคัญของภาษีอากร 2. ทําให้ทราบถึงประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากการนําแนวคิดทางภาษีอากรมาใช้ 3. ทําให้ทราบแนวทางการนํ าภาษีอากรไปประยุกต์ใช้ทงั ้ ในด้านนิตบิ ุคคลและบุคคล ธรรมดา


บทที่ 2 เครื่องมือทางด้านการบัญชีภาษี อากร ทฤษฎีเกี่ยวกับภาษี อากร ความหมายของภาษี อากร ราชบัณฑิตยสถาน (2542: 434) ได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้ คือ “ภาษี” คือ เงินทีร่ ฐั หรือ ท้องถิน่ เรียกเก็บจากบุคคล เพือ่ ใช้ในการบริหารประเทศหรือท้องถิน่ เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีบาํ รุง ท้องที่ ภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ ภาษีมลู ค่าเพิม่ และ “อากร” คือค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งทีร่ ฐั บาล เรียกเก็บ Adam Smith (อ้างใน วีรศักดิ ์ เครือเทพ,2548: 9) กล่าวไว้วา่ ประชาชนของรัฐทุกคนมี ส่วนช่วยออกเงินสนับสนุ นรัฐบาลให้ใกล้เคียงกับสัดส่วนความสามารถของแต่ละคนมากทีส่ ุด กล่าวอีกในหนึ่ง คือ ควรมีสว่ นช่วยในการออกเงินสนับสนุนให้แก่รฐั ตามรายได้ทป่ี ระชาชนแต่ละ คนได้รบั ภายใต้การได้รบั ซึง่ สอดคล้องกับธร สุทนรายุทธ (2548: 25) ซึง่ กล่าวว่า ภาษีอากร คือ เงินที่รฐั บาลเรีย กเก็บจากบุค คลที่มรี ายได้แก่รฐั เพื่อ บริหารประเทศ โดยที่ผู้เสียภาษีได้ ประโยชน์ทางอ้อม รัฐบาลจะนํ าภาษีไปใช้จ่ายเพื่อสาธารณะประโยชน์ แก่บุคคลทัวไปที ่ อ่ ยู่ใน ประเทศ เช่นเดียวกับสุพาดา สิรกิ ุตตา (2550: 9) และเกริกเกียรติ พิพฒ ั น์เสรีธรรม (2546: 129130) ได้อธิบายความหมายว่า ภาษีอากร หมายถึง เงินได้ หรือค่าธรรมเนียม หรือทรัพยากรที่ รัฐบาลเรียกเก็บจากราษฎร เพื่อ นํ าไปใช้ในการพัฒนาประเทศ และเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม และปณั ฑา ลาภชุม่ ศรี (2550: 50) ได้นยิ ามความหมายของภาษีได้เป็น 2 แนว คือ ภาษีอากรในแนวของการบังคับจัดเก็บ หมายถึง สิง่ ทีร่ ฐั บาลบังคับจัดเก็บจากราษฎร และนํ ามาใช้เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม โดยมิได้มสี งิ่ ตอบแทนโดยตรงแก่ผเู้ สียภาษี ซึง่ ภาษีทร่ี ฐั เรียกเก็บจากประชาชนนัน้ มีลกั ษณะของการบังคับ อาจจะเป็ นรายได้หรือสิง่ ของ หรือ ผลประโยชน์หรือบริการจากตัวผูเ้ สียภาษี และภาษีทเ่ี ก็บได้นัน้ ต้องนําไปใช้เพื่อสังคมส่วนรวม โดยทีผ่ เู้ สียภาษีจะได้รบั ผลประโยชน์โดยทางอ้อมจากรัฐบาล ภาษีอากรในแนวการเคลื่อนย้ายทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล หมายถึง เงินได้หรือทรัพยากรทีเ่ คลื่อนย้ายจากเอกชนไปสูภ่ าครัฐบาล และไม่ก่อให้เกิดภาระในการชําระ คืนของรัฐบาล ชัยสิทธิ ์ ตราชูธรรม (อ้างใน อัจฉรา สังข์สุวรรณ และวีระ อรัญมงคล 2537: 15) และ ปิ ยฉัตร จารุธรี ศานต์ (2550: 306) กล่าวในทํานองเดียวกับนักภาษีอากรและนักเศรษฐศาสตร์ หลายท่านว่าภาษีอากร คือ สิง่ ทีร่ ฐั บาลบังคับเก็บจากราษฎรโดยไม่ได้มสี งิ่ ตอบแทนแก่ผูเ้ สีย


4 ภาษี โ ดยตรงหรือ อาจจะหมายถึง รายได้ห รือ ทรัพ ยากรที่เ คลื่อ นย้า ยจากภาคเอกชนไปสู่ ภาครัฐบาล ซึง่ อาจเป็ นการเรียกเก็บจากบุคคลหรือธุรกิจ เพือ่ เป็ นการสนับสนุนรัฐบาลกลางหรือ รัฐบาลท้องถิน่ อันส่งผลกลับมาเป็นความสุขสบายแก่ประเทศชาติ นอกจากนี้ปญั จพร ทองเล็ก (อ้างถึง สมคิด บางโม 2550: 2) ได้กล่าวเพิม่ เติมว่า ภาษี อากรคือ การโอนทรัพยากรใดๆ อันมีลกั ษณะบังคับ แต่มไิ ด้เป็ นการลงโทษจากภาคเอกชนไปสู่ ภาครัฐบาล โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทก่ี าํ หนดไว้ลว่ งหน้า และไม่คาํ นึงถึงผลประโยชน์ทไ่ี ด้รบั โดยเฉพาะ ทัง้ นี้เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติบางประการ ประเด็นการพิจารณาความหมายของภาษีอากรมี 3 ประเด็น ดังนี้ 1. สิง่ ที่รฐั บาลบังคับเรียกเก็บจากราษฎร การที่ราษฎรชําระภาษีอากรเป็ นการ ชําระภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมายโดยไม่จําเป็ นต้องเรียกเก็บเป็ นเงินสดอย่าง เดียว หากไม่ปฏิบตั หิ รือหลีกเลีย่ งต้องได้รบั โทษตามที่กฎหมายกําหนด การ ชําระภาษีอากรถือเป็นหน้าทีข่ องราษฎร ฉะนัน้ จึงได้นิยามว่าเป็นการบังคับ 2. ภาษีอากรทีจ่ ดั เก็บมาได้นนั ้ รัฐบาลนําไปใช้เพื่อประโยชน์สว่ นรวมโดยมิได้มสี งิ่ ตอบแทนแก่ผเู้ สียภาษีโดยตรงไม่เกิดภาระชําระคืนของรัฐบาล รัฐบาลนําภาษีท่ี เก็บได้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม ได้แก่ ความมันคง ่ ความปลอดภัย การคมนาคม การศึกษาพร้อมทัง้ การสาธารณูปโภค 3. เป็ นการเคลื่อนย้ายเงินได้หรือทรัพยากรจากภาคเอกชนไปสู่ภาครัฐบาล การ เก็บภาษีอากรเปรียบเหมือนลักษณะการเคลื่อนย้ายทรัพย์สนิ จากภาคเอกชน ส่วนหนึ่งไปสูภ่ าครัฐบาล เมือ่ พิจารณาจากความหมายของภาษีทก่ี ล่าวมา สามารถสรุปได้วา่ ภาษีอากร คือ สิง่ ที่ รัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชนมีลกั ษณะบังคับเก็บ ผู้ทเ่ี ข้าข่ายต้องเสียภาษีอากรไม่สามารถ ปฏิเสธได้เนื่องจากถูกบังคับโดยกฎหมาย ภาษีอากรจึงเป็ นเงินโอนชนิดหนึ่งซึง่ ไม่ได้ก่อให้เกิด รายได้หรือผลผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ในสังคม ไม่มผี ลตอบแทนโดยตรงต่อผูเ้ สียภาษีแต่ผูเ้ สียภาษีอาจ ได้รบั ประโยชน์ทางอ้อมจากรัฐ เช่น การบริหารงานต่างๆทีร่ ฐั ดําเนินการโดยไม่ก่อให้เกิดภาระ ในการชําระคืนของรัฐบาล และภาษีอากรไม่จาํ เป็นต้องชําระเป็ นเงินเสมอไป อาจเรียกเก็บในรูป สินค้าหรือบริการก็ได้


5 โครงสร้างของภาษี อากร ภาษีอากรแต่ละประเภทจะต้องประกอบด้วยโครงสร้างของภาษี (ปญั จพร ทองเล็ก, 2550: 8-10) ดังต่อไปนี้ คือ 1. ผูม้ หี น้าทีช่ าํ ระภาษีอากร ภาษีอากรแต่ละประเภทจะระบุว่าผูใ้ ดอยู่ในข่ายต้องชําระ ภาษีอากร การกําหนดแหล่งเงินได้ทต่ี อ้ งเสียภาษีและกําหนดว่าผูใ้ ดอยูใ่ นข่ายได้รบั การยกเว้นภาษีอากร 2. ฐานภาษีอากร หมายถึง สิง่ ทีเ่ ป็ นมูลเหตุขนั ้ ต้นให้ตอ้ งชําระภาษีอากร การมีรายได้ การมีทรัพย์สนิ เป็ นจํานวนมากเท่าไรจึงจะถึงเกณฑ์ตอ้ งชําระภาษีอากร การใช้จ่าย บริโภคสินค้าชนิดใดที่ต้องชําระภาษีอากร ซึ่งอัจฉรา สังข์สุวรรณ และวีระ อรัญ มงคล (2537: 21) ได้กล่าวในทํานองเดียวกับบุญเสริม อุ่ยตระกูล และวิชาญ โพธิ สิทธิ ์ (2540: 75) ว่าการคํานวณจํานวนเงินทีต่ อ้ งเสียภาษีตามกฎหมายกําหนดนัน้ ่ งได้ดงั นี้ คํานวณโดยเอาฐานภาษีคณ ู กับอัตราภาษี ฐานภาษีโดยทัวไปแบ่ 2.1 ฐานภาษีทเ่ี ป็ นรายได้ เป็ นฐานภาษีทส่ี ามารถวัดความสามารถในการเสียภาษี ได้ กล่าวคือ ใครมีรายได้มากย่อมมีความสามารถในการเสียภาษีมาก ใครมี รายได้น้อยย่อมมีความสามารถในการเสียภาษีน้อย เป็ นฐานภาษีท่ใี ช้น้อยใน การคํานวณภาษี 2.2 ฐานภาษีทเ่ี ป็ นการบริโภค เนื่องจากการบริโภคเป็ นการใช้ทรัพยากรของสังคม ให้ส้ิน เปลือ งไป ผู้บ ริโ ภคจึง ต้อ งเสีย ภาษีใ ห้ก ับ สัง คมตามลัก ษณะแห่ง การ บริโ ภคของตน และนอกจากนี้ ก ารใช้ก ารบริโ ภคเป็ น ฐานภาษีดีกว่ า ใช้ฐ าน รายได้เ ป็ น ฐานภาษีใ นแง่ท่ีว่ า การเก็บ ภาษีจ ากรายได้นัน้ มิไ ด้คํา นึ ง ว่า ผู้มี รายได้ได้นํารายได้นัน้ มาใช้เพื่อการบริโภคทันที หรือไม่หรือว่าเก็บรายได้นัน้ เป็ นเงินออมเพื่อการบริโภคในอนาคต การเก็บภาษีโดยอาศัยการบริโภคเป็ น ฐานภาษีนัน้ ถือหลักว่า ผูใ้ ดได้รบั ความสุขด้วยการบริโภค ซึ่งเป็ นการใช้ ทรัพยากรสิ้นเปลืองไปก็ต้องเสียภาษีให้กบั สังคม ผูใ้ ดบริโภคมากก็เสียภาษี มาก ผูใ้ ดบริโภคน้อยก็เสียภาษีน้อย ภาษีทเ่ี ก็บจากฐานการบริโภค ได้แก่ 2.2.1 ภาษีการใช้จา่ ย เป็ นภาษีทม่ี คี วามยุง่ ยากในการปฏิบตั ิ ปจั จุบนั ไม่นิยม ใช้ 2.2.2 ภาษีการขาย เป็ นภาษีทเ่ี ก็บจากการขายสินค้า และบริการโดยถือเอา ยอดขายหรือยอดรายรับเป็ นฐานภาษี 2.2.3 ภาษีสรรพสามิต คือ ภาษีทเ่ี ก็บจากการขายสินค้าบางอย่าง เช่น สุ ร า ยาสูบ นํ้ามัน ยานัตถ์


6 2.2.4 ภาษีมูล ค่ า เพิ่ม เป็ น ภาษีท่ีเ ก็บ โดยอาศัย มูล ค่ า ที่เ พิ่ม ขึ้น ของแต่ ล ะ ขัน้ ตอนการผลิต เป็ นฐาน ภาษีมูล ค่าเพิ่มเป็ นภาษีท่ีมุ่งนํ ามาใช้เ พื่อ แก้ปญั หาการเก็บภาษีซ้าํ ซ้อนของภาษีการขาย 2.2.5 ภาษีสนิ ค้าขาเข้า เป็ นภาษีทเ่ี ก็บโดยอาศัยราคาของสินค้านํ าเข้า ฐาน ภาษี น้ี อ าจใช้ เ ป็ น เครื่อ งมือ ในการจํ า กัด การนํ า เข้า หรือ คุ้ ม ครอง อุตสาหกรรมภายใน หรือเป็ นแหล่งรายได้ของรัฐก็ได้ 2.2.6 ภาษีสนิ ค้าส่งออก เป็ นภาษีทเ่ี ก็บจากการส่งออก การเก็บภาษีส่งออก จะทํ า ให้ส ิน ค้ า ที่ส่ ง ออกมีร าคาสู ง สิน ค้ า ส่ ง ออกที่มีก ารเก็ บ ภาษี ส่วนมากเป็ นสินค้าเกษตรซึง่ ไม่สามารถผลักภาระภาษีไปข้างหน้า คือ ผลักไปให้ผซู้ อ้ื ได้ ทัง้ นี้เพราะมีผผู้ ลิตจํานวนมากและมีการแข่งขันสูง 2.3 ฐานภาษีเป็ นความมันคง ่ ความมันคง ่ คือ การสะสมของรายได้ท่เี จ้าของได้ สะสมไว้ในรอบระยะเวลาต่างๆ ภาษีทเ่ี ก็บโดยอาศัยความมันคงเป็ ่ นฐาน ได้แก่ ภาษีโรงเรือน ภาษีทด่ี นิ ภาษีมรดก ภาษีรถยนต์ เป็ นต้น 2.4 ฐานอื่นๆ ส่วนมากจะเก็บได้เป็ นจํานวนน้อย โดยมากมุ่งเก็บเพื่อวัตถุประสงค์ เฉพาะบางอย่าง มิใช่เก็บเพือ่ รายได้ของรัฐบาล 3. อัตราภาษี แบ่งได้เป็ น 3 แบบ (สุเทพ พงษพิทกั ษ์, 2541: 32) คือ 3.1 อัต ราคงที่ เป็ น อัต ราที่กํา หนดให้ใ ช้เ พีย งอัต ราเดีย ว ไม่ว่า ฐานภาษีจ ะเป็ น จํานวนเท่าใด เป็ นอัตราทีไ่ ม่เปลี่ยนแปลงไปตามฐานภาษี เช่น อัตราภาษีเงิน ได้นิตบิ ุคคล อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ 3.2 อัต ราก้า วหน้ า เป็ น อัต ราภาษีท่ีเ ปลี่ย นแปลงไปตามขนาดของฐานภาษีใ น ลักษณะก้าวหน้า คือ ถ้าฐานภาษีมขี นาดใหญ่ อัตราภาษียงิ่ สูง แต่ถา้ ฐานภาษี แคบลงอัตราภาษีจะลดน้อยลง เช่น อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3.3. อัตราถอยหลัง เป็ นอัตราภาษีทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปในทางตรงกันข้ามกับฐานภาษี คือ ถ้าฐานภาษียงิ่ ใหญ่อตั รายิง่ ตํ่า แต่ถ้าฐานภาษีเล็กอัตราก็จะยิง่ สูงขึน้ เช่น อัตราภาษีทเ่ี คยใช้จดั เก็บภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ 4. การชําระภาษีอากร มีวธิ กี ารชําระ 3 วิธี (ปญั จพร ทองเล็ก, 2550: 8-9) ดังนี้ 4.1 การหักภาษี ณ ทีจ่ ่าย เมื่อผูจ้ ่ายเงินได้พงึ ประเมินจ่ายเงินได้ให้กบั ผูม้ เี งินได้จะ หักภาษีอากรไว้จํานวนหนึ่งและผู้จ่ายเงินได้จะนํ าภาษีอากรที่หกั ไว้น้ีนําส่ง กรมสรรพากร ภาษีอากรที่ถูกหักไว้น้ี จะเป็ นแบบเครดิต ภาษีของผู้มีเงินได้ สามารถนํามาหักจากภาษีทต่ี อ้ งชําระตอนปลายปี ได้ 4.2 การประเมินตนเองโดยทีผ่ มู้ หี น้าทีช่ าํ ระภาษีอากร คํานวณภาษีทต่ี อ้ งชําระแล้ว ยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชําระภาษีอากรภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด


7 ด้ ว ยตนเอง เช่ น ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดา ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล ภาษีมลู ค่าเพิม่ และภาษีธุรกิจเฉพาะ 4.3 การประเมิ น โดยเจ้ า พนั ก งานในกรณี ท่ี ผู้ มี ห น้ า ที่ ชํ า ระภาษี อ ากรจะส่ ง รายละเอียดในการเสียภาษีให้เจ้าพนักงานเป็ นผูป้ ระเมินและคํานวณภาษีหรือผู้ ชําระภาษีไม่ดําเนินการประเมินตนเองหรือประเมินตนเองอย่างไม่ถูกต้อง เจ้า พนักงานมีอาํ นาจประเมินให้ผมู้ หี น้าทีช่ าํ ระภาษีอากรต้องรับผิดชําระภาษีอากร พร้องทัง้ เงินเพิม่ และเบีย้ ปรับด้วย วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษี อากร มนตรี จังธนสมบัติ (2547: 34-36) ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร สอดคล้องกับปญั จพร ทองเล็ก (2550: 2-3) และสมคิด บางโม (2550: 16) รวมทัง้ อัจฉรา สังข์ สุวรรณ และวีระ อรัญมงคง (2537: 15) ดังนี้ 1. เพื่อหารายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายของรัฐบาล รายจ่ายของรัฐบาล คือ รายจ่าย ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในส่วนราชการ เป็ นรายจ่ายตามบัญญัตงิ บประมาณประจําปี รัฐบาล ต้องหารายได้มาจ่ายรายจ่ายเหล่านี้เพื่อให้เพียงพอ แหล่งทีม่ าของรายได้ทส่ี ําคัญ ทีส่ ดุ ของรัฐบาลก็จะมาจากภาษีอากร 2. ช่วยในการกระจายรายได้ทเ่ี ป็ นธรรมโดยจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตรา ภาษีแบบก้าวหน้า คือ การจัดเก็บตามหลักความสามารถ ผูม้ เี งินได้สุทธิสงู เสียภาษี เป็ นจํานวนมาก ผู้มเี งินได้สุทธิต่ําเสียภาษีเป็ นจํานวนน้ อยหรือการจัดเก็บภาษี สินค้าฟุ่มเฟื อยในอัตราที่สูง จัดเก็บภาษีสนิ ค้าที่จําเป็ นต่อการอุปโภค บริโภคใน อัตราทีต่ ่าํ 3. ช่วยส่งเสริมและควบคุมการบริโภคของประชาชนในการทีร่ ฐั บาลต้องการจะส่งเสริม การบริโภคของประชาชนให้สูงขึ้น ให้เกิดการหมุนเวียนเพิ่มขึ้น รัฐบาลจะเพิ่ม อํานาจซื้อให้กบั ประชาชน โดยการลดอัตราภาษีอากรให้ต่ําลง และหากรัฐบาล ต้องการจะควบคุมการบริโภคของประชาชนก็จะลดอํานาจซื้อโดยการเพิม่ อัตรา ภาษีให้สงู ขึน้ 4. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการจัดเก็บ ภาษีอากรช่วยรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจได้โดยควบคุม ปรับความสมดุลทางเศรษฐกิจ ปรับความต้องการซื้อให้ สมดุลกับความต้องการขาย ปรับราคาสินค้าและบริการต่างๆ ให้เหมาะสม โดยใช้ อัตราภาษีอากรเป็ นเครือ่ งมือในการบริหารเศรษฐกิจของรัฐบาล


8 ประเภทของภาษี อากร ในการวางแผนภาษีเป็ นไปด้วยดี ผูป้ ระกอบการและนักวางแผนภาษีอากร ควรทีจ่ ะรูจ้ กั ครอบคลุมประเภทภาษีอากรทีม่ กี ารจัดเก็บในประเทศไทย (สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์, 2541: 26-31; มนตรี จังธนสมบัต:ิ 2547: 36-37 และอัจฉรา สังข์สุวรรณ และวีระ อรัฐมงคล, 2537: 18-19) ได้ แบ่งประเภทภาษีตามหน่ วยงานทีจ่ ดั เก็บ ซึง่ หากเป็ นภาษีทจ่ี ดั เก็บโดยกรมสรรพากร สามารถ แบ่งประเภทได้ดงั นี้ 1. ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา เป็ น ภาษีท่ีกํ า หนดจัด เก็บ จากบุ ค คลธรรมดาหรือ หน่ ว ยทางภาษีเ งิน ได้บุ ค คล ธรรมดา (ผูถ้ งึ แก่ความตายระหว่างปี ภาษี กองมรดกที่ยงั มิได้แบ่ง และห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือ คณะบุ คคลที่มใิ ช่นิติบุคคล) ที่มเี งินได้พงึ ประเมินจากหน้ าที่งานที่ทํา หรือกิจการที่ทํา หรือ เนื่องจากทรัพย์สนิ ทัง้ ทีเ่ กิดจากแหล่งเงินได้ในประเทศและแหล่งเงินได้ในต่างประเทศ (เฉพาะ กรณีท่ผี ูม้ เี งินได้เป็ นผูท้ ่อี ยู่ในปี ภาษีเดียวกับปี ท่เี กิดเงินได้) โดยจัดเก็บเป็ นรายปี ภาษี หรือปี ปฏิทนิ โดยทัวไปภาษี ่ เงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บจากเงินได้สุทธิตามอัตราก้าวหน้าตัง้ แต่ ร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 37 (เงินได้สุทธิคํานวณจากเงินได้พงึ ประเมินหักด้วยค่า ใช้จ่ายและค่า ลดหย่อน) อย่างไรก็ตาม สําหรับเงินได้พงึ ประเมินประเภทนี้มใิ ช้เงินได้จากการจ้างแรงงานและ มีจํานวนรวมกันถึง 60,000 บาท ผูม้ เี งินได้ต้องเสียภาษีเงินได้ท่คี ํานวณได้จากเงินได้สุทธิ ดัง กล่ า ว หรือ จากจํ า นวนเงิน ได้พึง ประเมิน คู ณ ร้อ ยละ 0.5 แล้ว แต่ อ ย่ า งใดจะมากกว่ า นอกจากนี้ในบางกรณีผู้มเี งินได้อาจเลือกเสียภาษีได้เท่าที่ถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย เช่น เงินได้ท่ี นายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื เงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไรทีไ่ ด้จากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมาย กองทุนรวมหรือบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรรมแห่งประเทศไทย เงินได้จาก การขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้มามิได้มงุ่ ในทางการค้าหรือหากําไร เป็ นต้น 2. ภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล โดยทัวไปเป็ ่ นภาษาทีก่ ําหนดจัดเก็บจากกําไรสุทธิทไ่ี ด้จากกิจการ หรือเนื่องจาก กิจการทีก่ ระทําในรอบระยะเวลาบัญชีของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมาย หรือที่ตงั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศ และประกอบกิจการในประเทศไทย โดยจัดเก็บใน อัตราร้อยละ 30 ของกําไรสุทธิท่ไี ด้ปรับปรุงให้เป็ นไปตามเงื่อนไขทางภาษีอากร (สุเทพ พงษ์ พิทกั ษ์, 2541: 27 และ ยุพดี ศิรวิ รรณ, 2550: 7-3 – 7-5)


9 อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจากฐานกําไรสุทธิไม่อํานวยให้เกิด ความเป็ นธรรมในการจัดเก็บภาษีประเภทนี้ได้ จึงมีการกําหนดจัดเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจาก ฐานเงินได้อ่นื ได้แก่ 1) ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ สําหรับบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่ า งประเทศ และประกอบกิจ การประเภทขนส่ง ระหว่า ง ประเทศในที่อ่นื รวมทัง้ ในประเทศไทย โดยเสียภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 3 ของค่าโดยสารหรือค่าระวางก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการประกอบกิจการขนส่ง ระหว่างประเทศดังกล่าวหรือกรณีมูลนิธิ หรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมี รายได้ และมิใช่มลู นิธหิ รือสมาคมทีเ่ ป็ นองค์การสาธารณกุศล ต้องเสียภาษีเงิน ได้ในอัตราร้อยละ 10 ของเงินได้พงึ ประเมินทีม่ ใิ ช่เงินได้ตามาตรา 40(8) แห่ง ประมวลรัษฎากร และร้อยละ 2 ของเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) แห่ง ประมวลรัษ ฎากร หรือ กรณีท่ีบ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลที่ต ัง้ ขึ้น ตาม กฎหมายของต่างประเทศและเข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทย ซึง่ ต้องเสีย ภาษีเงินได้จากฐานกําไรสุทธิในกรณีทไ่ี ม่สามารถคํานวณกําไรสุทธิได้อาจเสีย ภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ ในระยะเวลา บัญชี 2) ฐานเงิน ได้พึง ประเมิน ตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) แห่ ง ประมวล รัษ ฎากร กรณี บ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลที่ต ัง้ ขึ้น ตามกฎหมายของ ต่ า งประเทศมิไ ด้ป ระกอบกิจ การในประเทศไทยแต่ ได้รบั เงินได้พึงประเมิน ดัง กล่ าวที่จ่า ยจากหรือในประเทศไทยให้เ สีย ภาษีเ งิน ได้โ ดยผู้จ่า ยเงิน ได้มี หน้าทีห่ กั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ า่ ยและนําส่ง 3) ฐานการจําหน่ ายเงินกําไรไปต่างประเทศ สําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศ ทีไ่ ด้เสียภาษีเงินได้จากฐานกําไร สุทธิแล้วและได้นําเงินกําไรสุทธิหลังจากทีไ่ ด้เสียภาษีเงินได้จากฐานกําไรสุทธิ ดังกล่าว จําหน่ายไปต่างประเทศ 3. ภาษี มลู ค่าเพิ่ ม เป็ นภาษีท่จี ดั เก็บจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการที่เพิม่ ในแต่ละขัน้ ตอนของการ ผลิตและการจําหน่ ายสินค้าหรือบริการ โดยมูลค่าที่เพิม่ เป็ นมูลค่าของส่วนที่เพิม่ ขึน้ ในแต่ละ ขัน้ ตอนในการผลิตและการจําหน่ ายสินค้าหรือการให้บริการ ก็คอื ค่าของผลต่างระหว่างราคา ของสินค้าหรือบริการ ผลิต หรือจําหน่ายกับราคาของสินค้าหรือบริการทีซ่ อ้ื มาเพือ่ ใช้ในการผลิต หรือในการจําหน่ายสินค้าหรือบริการ (สมเดช โรจน์คุรเี สถียร, 2545: 219-221)


10 1) ผู้มีห น้ า ที่จ ดทะเบีย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม คือ ผู้ป ระกอบการที่ข ายสิน ค้า หรือ ให้บริการหรือวิชาชีพเป็ นปกติธุระไม่วา่ การขายสินค้าหรือให้บริการดังกล่าวนัน้ จะได้ร บั ประโยชน์ ห รือ ผลตอบแทนหรือ ไม่ และไม่ว่ า จะประกอบกิจ การใน รูป แบบของบุ ค คลธรรมดา คณะบุ ค คล นิ ติบุ ค คลส่ว นราชการหรือองค์ก าร รัฐ บาล ถ้าการประกอบกิจการมีรายรับ เกินกว่า 1,200,000 บาทต่ อปี ผูป้ ระกอบการกิจการนัน้ มีหน้าที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ แต่หากการ ประกอบกิจการนัน้ เป็ นกิจการทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการไม่มี หน้าทีต่ อ้ งจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ 2) อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ ปจั จุบนั มี 2 อัตรา คือ อัตราร้อยละ 7 สําหรับการขาย สินค้าหรือบริการทุกประเภทและการนําเข้าทีม่ รี ายรับเกิน 1,200,000 บาทต่อปี อัต ราร้อ ยละ 0 สํา หรับ การขายสิน ค้า ส่ ง ออกและการส่ ง ออกบริก ารไปยัง ต่างประเทศ 4. ภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ บุคคลธรรมดา กองมรดก ห้างหุน้ ส่วนสามัญ คณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคล กองทุนหรือมูลนิธทิ ไ่ี ม่ใช่นิตบิ ุคคล บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล สหกรณ์ องค์กรอื่นๆ ที่กฎหมายกําหนดให้เป็ นนิตบิ ุคคล ซึ่งบุคคลดังกล่าวประกอบกิจการที่ ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในราชอาณาจักร (สถาบัน TAX BUSINESS CENTER ม.ป.ป.: 434) ดังต่อไปนี้ 1) ธนาคารพาณิชย์ 2) ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ 3) ธุรกิจประกันชีวติ หรือประกันวินาศภัยอย่างอื่น 4) ธุรกิจโรงรับจํานํา 5) การประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ 6) การขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางการค้าหรือหากําไร ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บในอัตราร้อยละ 2.5-3.0 ของยอดรายรับจากการประกอบ กิจการในแต่ละเดือนภาษี เว้นแต่กรณีทใ่ี นเดือนภาษีใดมีจํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ อ้ งเสียไม่ ถึง 100 บาทให้ได้รบั ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ นอกจากนี้ผปู้ ระกอบกิจการยังต้องเสียภาษีส่วน ท้ อ งถิ่ น อี ก ร้ อ ยละ 10 ของภาษี ธุ ร กิ จ เฉพาะอี ก ด้ ว ย การคํ า นวณภาษี ธุ ร กิ จ เฉพาะคื อ ผู้ป ระกอบการจดทะเบีย นภาษีธุ ร กิจ เฉพาะ มีห น้ าที่ต้อ งออกใบรับ หรือ ใบเสร็จรับ เงิน ให้ผู้ จ่ายเงินทันทีทุกครัง้ ทีร่ บั เงิน ไม่วา่ จะมีการเรียกร้องให้ออกใบรับหรือไม่ และให้นําสําเนาเอกสาร ดังกล่าวเป็ นหลักฐานประกอบการบันทึกการรับเงินของกิจการ การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้ นํารายได้ทร่ี วบรวมได้ตามเกณฑ์สทิ ธิหรือเกณฑ์เงินสดแล้วแต่กรณีเป็ นฐานในการคํานวณภาษี


11 ธุรกิจเฉพาะ แล้วคูณด้วยอัตราภาษีทก่ี ําหนดสําหรับกิจการประเภทต่างๆ และให้รวมภาษีส่วน ท้องถิน่ อีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะทีค่ าํ นวณได้ เพื่อให้ได้จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะและ ภาษีส่วนท้องถิ่นที่ต้องชําระ พร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ. 40) ประจําเดือนภาษีนนั ้ ภายในวันที่ 15 เดือนถัดไป ยกเว้นการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ใช้ราคาขาย หรือ ราคาประเมิน ทุ น ทรัพ ย์ท่ีท างราชการกํา หนดแล้ว แต่ อย่า งใดจะสูง กว่า เป็ น ฐานในการ คํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะซึ่งผูข้ ายต้องยื่นแบบ ภ.ธ.40 และชําระภาษีธุรกิจเฉพาะในวันทีจ่ ด ทะเบียนนิตกิ รรม ณ สํานักงานทีด่ นิ 5. อากรแสตมป์ เป็ นภาษีทจ่ี ดั เก็บในลักษณะของค่าธรรมเนียม โดยจัดเก็บจากการกระทําตราสาร ทีก่ าํ หนดตามบัญชีอตั ราอากรแสตมป์ โดยกําหนดให้ปิดแสตมป์บริบูรณ์ลงบนตราสาร (แสตมป์ ปิ ดทับ หรือเสียเป็ นตัวเงิน) ก่อนหรือในทันทีทก่ี ระทําตราสาร ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา บทบัญญัติตามประมวลรัษฎากรเกี่ยวกับภาษี อากร (กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร : 2546) 1. ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี บุ ค คลธรรมดา (มาตรา 56) หมายถึง คนที่มีชีวิต อยู่ ไ ม่ ว่ า จะเป็ น เด็ก ผู้ใ หญ่ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร นักบวช ไม่จาํ กัดเพศ อายุ เชือ้ ชาติและศาสนา มีหน้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดาทุกคน ถ้ามีเงินได้ตามเกณฑ์ทป่ี ระมวลรัษฎากรกําหนด เว้นแต่ ผูเ้ ยาว์ หรือผู้ ่ เป็ นบุคคลไร้ความสามารถ (มาตรา 57 กําหนดให้ผแู้ ทนโดยชอบธรรม ผูอ้ นุ บาล ผู้ ทีศ่ าลสังให้ พิทกั ษ์ หรือผูจ้ ดั การกิจการอันก่อให้เกิดเงินได้พงึ ประเมินนัน้ เป็ นตัวแทนในการยื่นภาษีแทน) จํานวนเงินได้พงึ ประเมินทีป่ ระมวลรัษฎากรกําหนดให้เสียภาษีมดี งั นี้ 1) ไม่มคี สู่ มรส และมีเงินได้พงึ ประเมินเกิน 30,000 บาท 2) มีคสู่ มรส และมีเงินได้พงึ ประเมินเกิน 60,000 บาท 3) ไม่มคี ู่สมรส และมีเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(1) ประเภทเดียวกันเกิน 50,000 บาท 4) มีคู่ ส มรส และมีเ งิน ได้พึง ประเมิน ตามมาตรา 40(1) ประเภทเดีย วกัน เกิน 100,000 บาท 2. เงิ นได้พึงประเมิ น (มาตรา 39) หมายถึง เงินได้ทต่ี อ้ งนํามาเสียภาษีซง่ึ รวมถึง 1) เงิน มีความหมายเป็ นได้ทงั ้ เงินไทย หรือเงินตราต่างประเทศ


12 2) ทรัพย์สนิ ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็ นเงิน หมายถึงทรัพย์สนิ ที่มรี ูปร่างและไม่มี รูปร่าง ทีไ่ ด้รบั และสามารถคิดคํานวณได้เป็ นเงิน เช่น รถยนต์ บ้าน นาฬิกา สร้อยคอ เป็ นต้น 3) ประโยชน์ซง่ึ อาจคิดคํานวณได้เป็ นเงิน หมายถึงประโยชน์ทไ่ี ด้ รับมาทีไ่ ม่ใช่ตวั เงิน ไม่ใช่ทรัพย์สนิ แต่ประโยชน์ทว่ี า่ นี้สามารถ คิดคํานวณเป็ นเงินได้ เช่น การ ทีน่ ายจ้างให้การอุดหนุ นแก่ลกู จ้างในรูปของทีอ่ ยูอ่ าศัย อาหาร รางวัล เป็ นต้น 4) เงินค่าภาษีอากรทีผ่ จู้ า่ ยเงินหรือผูอ้ ่นื ออกแทนให้ คือเงินค่าภาษีทอ่ี อกให้เงินได้ ประเภทใดถือเป็ นเงินได้ประเภทนัน้ เงินค่าภาษีทอ่ี อกให้สาํ หรับเงินได้ของปี ใด ถือเป็ นเงินได้ของปีภาษีนนั ้ 5) เครดิตภาษีตามกฎหมายกําหนด คือเงินปนั ผลนัน้ ครัง้ หนึ่งก็คอื กําไรสุทธิ ซึง่ ได้ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลมาแล้ว เมื่อมีการจ่ายเงินปนั ผลมาให้บุคคลธรรมดาอีก ทําให้ตอ้ งเสียภาษีในเงิน ปนั ผลนี้อกี ครัง้ หนึ่ง จะเห็นได้ว่าเป็ นการเก็บภาษี ซํ้าซ้อนในเงินปนั ผลดังกล่าว ดังนัน้ เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษีจงึ มีการให้ เครดิตภาษีในเงินปนั ผล ตามทีก่ ฎหมายกําหนดในมาตรา 47 ทวิ (http://www.law4v.com/index.php?mo=14&newsid=80236) 3. ประเภทเงิ นได้พึงประเมิ น (มาตรา 40) เงินได้พงึ ประเมินแบ่งออกเป็ น 8 ประเภท 40(1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็ นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบีย้ หวัด บําเหน็จ บํานาญ เงินค่าเช่าบ้าน เงินทีค่ าํ นวณได้จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นที่ นายจ้างให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า เงินทีน่ ายจ้างจ่ายชําระหนี้ใดๆ ซึง่ ลูกจ้างมีหน้าทีต่ อ้ งชําระ และ เงิน ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เงินได้ประเภทนี้เน้นการใช้แรงงานตามกําหนดเวลาจ้าง แม้ยงั ทํางานไม่เสร็จก็ยงั มี สิทธิได้รบั ค่าจ้างตามกําหนดเวลาจ้าง เป็ นเงินได้ทน่ี ายจ้างจ่ายให้ลูกจ้าง รวมถึงทรัพย์สนิ และ ประโยชน์ เพิม่ ต่างๆ ที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้าง เนื่องจ้างการจ้างแรงงาน เช่น นายจ้างมีระเบียบ สวัสดิการจ่ายค่าเล่าเรียนให้บุตรของพนักงาน (กค.0802/6547ลว.20 เมษายน 2537) นายจ้าง จ่ายค่าเบีย้ เลีย้ งพิเศษเหมาจ่ายให้ลูกจ้างทุกเดือน (กค.0802/9207 ลว. 14 มิถุนายน 2553) การได้อยู่บ้านนายจ้างโดยไม่เสียค่าเช่า หรือนายจ้างเช่าบ้านให้อยู่ (กค.0802/7448 ลว.4 พฤษภาคม 2536) เป็ นต้น 40(2) เงินได้เนื่องจากหน้าทีห่ รือตําแหน่ งงานทีท่ ํา หรือจากการรับทํางานให้ ไม่ ว่าจะเป็ นค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด เงินอุดหนุ นในงานที่ทํา เบี้ยประชุม บําเหน็จ โบนัส เงินค่าเช่าบ้าน เงินทีค่ ํานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บา้ นที่ผูจ้ ่ายเงินได้ให้อยู่โดยไม่ เสียค่าเช่า เงินทีผ่ จู้ ่ายเงินได้จ่ายชําระหนี้ซง่ึ ผูม้ เี งินได้มหี น้าทีต่ อ้ งชําระ และเงิน ทรัพย์สนิ หรือ


13 ประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากหน้าทีห่ รือตําแหน่ งงานทีท่ าํ หรือจากการรับทํางานให้นนั ้ ไม่ ว่าหน้าทีห่ รือตําแหน่งงานหรืองานทีร่ บั ทําให้นนั ้ จะเป็ นการประจําหรือชัวคราว ่ เงินได้ประเภทนี้จะมุง่ เน้นความสําเร็จของงาน เมือ่ งานเสร็จจึงจะมีสทิ ธิ ์ได้รบั ค่าจ้าง และผูร้ บั จ้างมีอสิ ระในการปฏิบตั งิ าน เช่น บริษทั ทําสัญญาจ้างสํานักงานทีป่ รึกษาซึ่งมีสถานะ เป็ นบุคคลธรรมดา โดยบริษทั จ่ายค่าตอบแทนเป็ นจํานวนทีแ่ น่ นอนรายเดือน เข้าลักษณะเป็ น เงินได้เนื่องจากการรับทํางานให้ตามมาตรา 40(2) แห่งประมวลรัษฎากร (กค. จ802/6497 ลว. 30 เมษายน 2533) 40(3) ค่ า แห่ ง กู๊ ด วิล ล์ ค่ า แห่ง ลิข สิท ธิ ์ หรือ สิท ธิอ ย่ า งอื่น เงิน ปี ห รือ เงิน ที่ไ ด้มี ลักษณะเป็ นเงินรายปี อนั ได้มาจากพินยั กรรม นิตกิ รรมอย่างอื่น หรือคําพิพากษาของศาล เงินได้ประเภทนี้เป็ นเงินได้ท่มี ไิ ด้เกิดจากนํ้ าพักนํ้ าแรง กฎหมายจึงไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่าย ยกเว้น ค่าแห่งลิขสิทธิ ์ที่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายได้ ตัวอย่างเช่น เงินได้จากการเขียน บทความเป็ นรายอาทิตย์ ซึง่ ผูเ้ ขียนมิได้เป็ นลูกจ้างหรือพนักงานของบริษทั ลิขสิทธิ ์ในบทความ เป็ นของผูเ้ ขียน ถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(3) (กค.0811/พ.08972 ลว.12 มิถุนายน 2541) 40(4) เงินได้ทเ่ี ป็ น 1) ดอกเบี้ย พัน ธบัตร ดอกเบี้ย เงินฝาก ดอกเบี้ย เงินกู้ ดอกเบี้ยตั ๋วเงิน ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ทีอ่ ยูใ่ น บัง คับ ต้ อ งถู ก หัก ภาษี ณ ที่จ่ า ยตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยภาษี เ งิน ได้ ปิ โตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมาย ดังกล่าว หรือผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจําหน่ ายตั ๋วเงิน หรือ ตราสาร แสดงสิท ธิใ์ นหนี้ ท่ีบ ริษัทหรือ ห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ ค คล หรือนิ ติ บุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อกและจําหน่ ายครัง้ แรกในราคาตํ่ากว่าราคาไถ่ถอน รวมทัง้ เงินได้ทม่ี ลี กั ษณะทํานองเดียวกันกับดอกเบีย้ ผลประโยชน์หรือ ค่าตอบแทนอื่นๆ ทีไ่ ด้จากการให้กูย้ มื หรือจากสิทธิเรียกร้องในหนี้ทุก ชนิดไม่วา่ จะมีหลักประกันหรือไม่กต็ าม 2) เงิน ป นั ผล เงิน ส่ว นแบ่ ง ของกํ า ไร หรือ ผลประโยชน์ อ่ืน ใดที่ไ ด้จ าก บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล หรือกองทุนรวม หรือสถาบันการเงิน ที่มกี ฎหมาย โดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตัง้ ขึน้ สําหรับให้กู้ยมื เงิน เพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม เงินปนั ผล หรือ เงิน ส่ว นแบ่ ง กํา ไรที่อ ยู่ใ นบังคับ ต้อ งถู ก หัก ภาษี ณ ที่จ่า ย ตาม กฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหัก ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยตามกฎหมายดังกล่าว


14 3) เงิน โบนั ส ที่จ่ า ยแก่ ผู้ถือ หุ้น หรือ ผู้เ ป็ น หุ้น ส่ ว นในบริษัท หรือ ห้า ง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล 4) เงินลดทุนบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเฉพาะส่วนทีจ่ ่ายไม่เกินกว่า กําไรและเงินทีก่ นั ไว้รวมกัน 5) เงินเพิม่ ทุนของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ซึง่ ตัง้ จากกําไรที่ได้มา หรือเงินทีก่ นั ไว้รวมกันในกรณีทเ่ี ป็ นการเพิม่ ทุน โดยเรียกเก็บเงินจาก ผูถ้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนจริง ไม่ถอื เป็ นเงินได้พงึ ประเมินของผูถ้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน 6) ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากการทีบ่ ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลควบเข้ากัน หรือรับช่วงกัน หรือเลิกกัน ซึง่ ตีราคาเป็ นเงินได้เกินกว่าทุน 7) ผลประโยชน์ ท่ีไ ด้จ ากการโอนการเป็ น หุ้น ส่ ว น หรือ โอนหุ้น หุ้น กู้ พันธบัตร หรือตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ท่บี ริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิ ติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็ นผู้ออก ทัง้ นี้ เฉพาะซึ่งตีราคา เป็ นเงินได้เกินกว่าทีล่ งทุน 40(5) เงินได้ทเ่ี ป็ น 1) การให้เช่าทรัพย์สนิ ไม่วา่ จะเป็ นอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ 2) การผิดสัญญาเช่าซือ้ สินทรัพย์ 3) การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อนซึ่งผูข้ ายได้รบั คืนทรัพย์สนิ ทีซ่ ้อื ขายนัน้ โดยไม่ตอ้ งคืนเงิน หรือประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ไว้แล้ว เงินได้ตามมาตรา 40(5) ไม่รวมถึงเงินกินเปล่า เงินช่วยค่าก่อสร้าง เงินค่า ซ่อมแซม ค่าแห่งอาคาร หรือโรงเรือนทีไ่ ด้รบั กรรมสิทธิ ์ 40(6) เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ คือ วิชาชีพกฎหมาย การประกอบโรค ศิลป์ วิศวกรรม สถาปตั ยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพ อิสระอื่น 40(7) เงินได้จากการรับเหมาที่ผูเ้ หมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วน สําคัญนอกจากเครือ่ งมือ เงินได้ประเภทนี้เป็ นเงินได้จากการรับเหมาต่างๆ เช่นรับเหมาก่อสร้างที่ ผูร้ บั เหมารับจัดหาสัมภาระในการก่อสร้างด้วย หากเป็ นการรับเหมาเฉพาะ ค่าแรงงานก็ไม่เข้าลักษณะเป็ นเงินได้ประเภทนี้ 40(8) เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือ การอื่นนอกจากทีร่ ะบุไว้ใน (1) ถึง (7)


15 4. เงิ นได้พึงประเมิ นตามมาตรา 40(1) ได้แก่ เงินได้เ นื่ องจากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็ นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ย เลี้ยง โบนัส เบีย้ หวัด บํานาญ เงินค่าเช่าบ้าน เงินทีค่ ํานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บา้ นทีน่ ายจ้าง ให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า เงินที่นายจ้างจ่ายชําระหนี้ใดๆ ซึ่งลูกจ้างมีหน้ าที่ต้องชําระ และเงิน ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากการจ้างแรงงาน 5. การยกเว้นภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ส่วนใหญ่เป็ นการยกเว้นสําหรับเงินได้พงึ ประเมินตามกําหนดไว้โดยมาตรา 42 แห่ง ประมวลรัษฎากร และกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรานี้ รวมถึงการยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ และการยกเว้นโดยกฎหมายอื่น 6. การคํานวณเงิ นได้สทุ ธิ 6.1 ฐานภาษี ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ เงินได้สุทธิ (เงินได้พงึ ประเมินเฉพาะทีต่ อ้ ง เสียภาษีหกั ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน และเงินบริจาคที่ต้องนํ ามาคํานวณตามอัตรา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) 6.2 การหักค่าใช้จา่ ย เงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1)) ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายได้ ดังนี้ เงินได้พงึ ประเมิน (ไม่รวมเงินได้ทน่ี ายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน) หักค่าใช้จา่ ยเป็ นการเหมาได้รอ้ ยละ 40 แต่รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท (มาตรา 42 ทวิ วรรคหนึ่ง) กรณีเงินได้ท่นี ายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงานให้หกั ค่าใช้จ่าย ส่วนแรกเท่ากับ 7,000 x จํานวนปี ทท่ี ํางาน ค่าใช้จ่ายส่วนหลังหักได้อกี 50% (มาตรา 48 (5)) 6.3 การหักลดหย่อน เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษี ผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 เมื่อหัก ค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ ถึง มาตรา 46 แล้วให้หกั ลดหย่อนได้อกี (มาตรา 47) ซึง่ จัดแบ่งได้เป็ น 4 กรณีดงั นี้ การหักลดหย่อนกรณีผมู้ เี งินได้ไม่มคี สู่ มรส (ก) ผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ข) เบี้ยประกันชีวติ ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท (รวมแล้วหักไม่เกิน 100,000 บาท) ให้ นํ าไปหั ก ออกจากเงิ น ได้ พึ ง ประเมิ น เมื่ อ ได้ ห ั ก ค่ า ใช้ จ่ า ยแล้ ว (กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ 2(61) สําหรับเบี้ยประกันทีจ่ ่ายตัง้ แต่ 1


16 มกราคม 2551 เป็ นต้นไป (แก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 266 (พ.ศ.2551)) (ค) เงินสะสมทีจ่ า่ ยเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ต้องไม่ต่าํ กว่า 3% และไม่ เ กิ น 5% ของค่าจ้างทีไ่ ด้รบั ) หักได้ตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่ เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั ยกเว้น (ตาม กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ ข(35) แก้ไขเพิม่ เติมโดยฉบับที่ 266 (พ.ศ. 2551)) ให้นําจํานวนเงินทีเ่ กินดังกล่าวไปหักจากเงินได้พงึ ประเมินก่อนหัก ค่าใช้จา่ ย (ง) ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื เพื่อซือ้ /เช่าซือ้ หรือสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย (ต้องใช้เป็ นทีอ่ ยูอ่ าศัย จะมีก่แี ห่งก็ได้) ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั การยกเว้นตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2550 เป็ นต้นไป (กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ 2(52), (53) และ (59) แก้ไขโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ ฉบับที่ 165, 166 และ167)) (จ) เงินสมทบทีผ่ ปู้ ระกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมตามทีจ่ า่ ยจริง (ฉ) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบดิ ามารดาของผูม้ เี งินได้ โดยบิดามารดาดังกล่าวต้องมี อายุ 60 ปี ขน้ึ ไปและต้องไม่มเี งินได้พงึ ประเมินในปี ภาษีทข่ี อหักลดหย่อน เกิน 30,000 บาท (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 136) ต้องมีหนังสือ รับรองการหักลดหย่อน (ล.ย.03) โดยหักได้คนละ 30,000 บาท การหักลดหย่อนกรณีผมู้ เี งินได้มคี สู่ มรส ซึง่ แบ่งเป็ น 2 กรณี ดังนี้ กรณีทค่ี สู่ มรสไม่มเี งินได้ ผูม้ เี งินได้สามารถหักค่าลดหย่อนได้เพิม่ ขึน้ จากกรณีทค่ี ่สู มรสไม่มเี งิน ได้ ดังนี้ (ก) คู่สมรสของผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท โดยไม่คาํ นึงว่าความเป็ นสามี ภรรยาจะมีอยูต่ ลอดปี ภาษีหรือไม่ (ข) เบีย้ ประกันชีวติ ของคู่สมรส หักได้ตามจํานวนทีจ่ ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท แต่ความเป็ นสามีภรรยาต้องมีอยู่ตลอดปี ภาษี (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ ฉบับที่ 112) (ค) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบดิ ามารดาของคู่สมรสของผู้มเี งินได้ โดยบิดา มารดาดังกล่าวต้องมีอายุ 60 ปี ข้นึ ไปและต้องไม่มเี งินได้พงึ ประเมิน ในปี ภ าษีท่ีข อหัก ลดหย่อ นเกิน 30,000 บาท(ประกาศ


17 อธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 136) ต้องมีหนังสือรับรองการหัก ลดหย่อน (ล.ย.03) โดยหักได้คนละ 30,000 บาท กรณีท่คี ู่สมรสมีเงินได้ และความเป็ นสามีภรรยามีอยู่ตลอดปี ภาษี ซึ่งจะ แยกเป็ น 2 กรณียอ่ ยดังนี้ 1) กรณี ภ รรยายื่น แบบแสดงรายการภาษีร วมกับ สามี สามารถหัก ค่ า ลดหย่อนได้ดงั นี้ (ก) ผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ข) คูส่ มรสของผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ค) บุตรคนละ 15,000 บาท สูงสุดไม่เกิน 3 คน (โดยให้นบั บุตรทุกคน ทีม่ ชี วี ติ อยู่เท่านัน้ และได้รบั ยกเว้นภาษีตลอดปี ภาษี ไม่ว่ากรณีท่ี จะได้รบั ยกเว้นภาษีนนั ้ จะมีอยูต่ ลอดปีภาษีหรือไม่) เงือ่ นไขในการหักลดหย่อนบุตร มีดงั นี้ 1. เป็ น ผู้เ ยาว์ (ยัง ไม่บ รรลุ นิ ติภ าวะ) หรือ ศาลสังให้ ่ เ ป็ น คนไร้ ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ (ไม่จาํ กัดอายุ) หรือ เป็ นบุตรซึง่ มีอายุไม่เกิน 25 ปี และยังศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย หรือชัน้ อุดมศึกษา (ตัง้ แต่ระดับ ปวส.) ไม่ว่าจะศึกษาในหรือ ต่างประเทศ 2. ต้องเป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรมของผูม้ เี งิน ได้ รวมทัง้ บุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีหรือภรรยาของผูม้ ี เงินได้ และต้องอยูใ่ นความอุปการะเลีย้ งดูของผูม้ เี งินได้ 3. ต้ อ งไม่ มีเ งิน ได้ พึง ประเมิ น ในปี ภ าษี ท่ีล่ ว งมาแล้ ว ตัง้ แต่ 15,000 บาทขึน้ ไป (ไม่รวมเงินได้ทไ่ี ด้รบั ก า ร ย ก เ ว้ น ต า ม มาตรา 42) (ง) เบีย้ ประกันชีวติ ต่างฝา่ ยต่างหักได้ตามจํานวนทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน คนละ 100,000 บาท (จ) บุตรของผูม้ เี งินได้ซ่งึ มีสทิ ธิหกั ลดหย่อนตาม (ค) และยังศึกษาใน สถานศึกษาในประเทศไทย ให้หกั ลดหย่อนได้เพิม่ อีกคนละ 2,000 บาท (ฉ) เงินสะสมทีจ่ า่ ยเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ต่างฝา่ ยต่างหักได้ตามที่ จ่าย จริง แต่ไม่เกินคนละ 10,000 บาท ส่วนทีเ่ กิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินที่ได้รบั การยกเว้น (ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้อ ข(35) แก้ไขเพิม่ เติมโดยฉบับที่ 266


18 (พ.ศ.2551)) ให้นําจํานวนที่เกินดังกล่าวไปหักจากเงินได้พงึ ประเมินก่อนหักค่าใช้จา่ ย (ช) ดอกเบี้ย เงิน กู้ย ืม เพื่อ ซื้อ /เช่ า ซื้อ หรือ สร้า งที่อ ยู่อ าศัย ให้ห กั ค่ า ลดหย่อนตามจํานวนทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (ซ) เงินสมทบที่ผปู้ ระกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมต่างฝ่ายต่าง หักได้ตามทีจ่ า่ ยจริง (ญ) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาของคู่สมรสของผูม้ เี งินได้ โดยบิดา มารดาดังกล่าวต้องมีอายุ 60 ปี ข้นึ ไปและต้องไม่มเี งินได้พงึ ประเมินในปี ภาษีทข่ี อหักลดหย่อนเกิน 30,000 บาท ต่างฝ่ายต่าง หักได้คนละ 30,000 บาท 2) กรณีภรรยาแยกยืน่ แบบแสดงรายการภาษีต่างหากจากสามีเฉพาะส่วน ทีเ่ ป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(1) ให้ต่างฝา่ ยต่างหักค่าลดหย่อนได้ดงั นี้ (ก) ผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ข) บุตรทีไ่ ม่ศกึ ษาคนละ 7,500 บาท บุตรทีศ่ กึ ษาในสถานศึกษาใน ประเทศไทยคนละ 8,500 บาท (สูงสุดไม่เกิน 3 คน) (ค) เบีย้ ประกันชีวติ ตามจํานวนทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (ง) เงินสะสมทีจ่ า่ ยเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ตามทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั การ ยกเว้น (จ) ดอกเบี้ ย เงิน กู้ ย ื ม เพื่อ ซื้ อ /เช่ า ซื้ อ หรื อ สร้ า งที่ อ ยู่ อ าศัย ให้ ห ัก ลดหย่อนครึง่ หนึ่งของจํานวนที่จ่ายจริง (จํานวนที่จ่ายจริงต้องไม่ เกิน 100,000 บาท) (ฉ) ค่าอุปการะเลีย้ งดูบดิ ามารดา การหักลดหย่อนกรณีผู้มเี งินได้มิได้อยู่ในประเทศไทย (อยู่ในประเทศไทย รวมกันไม่ถงึ 180 วัน) การหักค่าลดหย่อนคู่สมรส บุตร และค่าเลีย้ งดูบดิ ามารดา ของผูม้ เี งินได้ จะหักลดหย่อนได้เฉพาะทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย เท่านัน้ การหักลดหย่อนกรณีอ่นื 1) ผูม้ เี งินได้ถงึ แก่ความตายระหว่างปี ภาษี ให้หกั ลดหย่อนได้เสมือนมีชวี ติ อยู่ ตลอดปีภาษี 2) ผูม้ เี งินได้ทเ่ี ป็ นกองมรดกทีย่ งั ไม่ได้แบ่ง ให้หกั ลดหย่อนได้ 30,000 บาท


19 3) ผู้มเี งินได้เ ป็ นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุ คคลที่มิใช่นิติบุ คคล ให้หกั ลดหย่อ นผู้มีเ งิน ได้สํา หรับ หุ้น ส่ว นแต่ ล ะคน แต่ ร วมกัน ไม่ เ กิน 60,000 บาท 4) เงินสนับสนุ นการศึกษา เมื่อหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนแล้วเหลือเงิน เท่ า ใดให้ห ัก ลดหย่ อ นสํ า หรับ เงิน ได้ท่ีจ่ า ยเป็ น ค่ า ใช้จ่ า ยเพื่อ สนั บ สนุ น การศึกษาให้แก่สถานศึกษาของทางราชการ องค์การของรัฐบาล โรงเรียน เอกชน โดยต้องเป็ นโครงการทีก่ ระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบ (พระ ราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 420) เป็ นจํานวนสองเท่าของรายจ่ายทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่ เกินร้อยละ 10 ของเงินได้ทเ่ี หลือ 5) เงินบริจาค เมื่อหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5)หรือ (6) แล้วเงินเหลือเท่าใดให้หกั ลดหย่อนสําหรับการบริจาค (ต้อง บริจาคเป็ นเงินสดเท่านัน้ ) ตามจํานวนทีจ่ ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของ เงินได้ทเ่ี หลือ ในกรณีทค่ี ่สู มรสไม่มเี งินได้จะนํ าเงินบริจาคส่วนของตนเอง นัน้ มาหักลดหย่อนไม่ได้ และถ้าในใบรับบริจาคระบุช่อื ทัง้ สองคน ให้หกั ลดหย่อนได้เพียงครึง่ เดียว ต้องบริจาคให้แก่ ก) สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทางราชการ ข) สถานศึ ก ษาที่ ต ั ง้ ขึ้ น ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงเรี ย นเอกชนและ ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ เ ป็ น ส ถ า บั น อุ ดมศึ ก ษ า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ค) องค์การ หรือสถานสาธารณกุศลทีร่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้ ประกาศให้เป็ นองค์การสาธารณกุศล การคํานวณภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีมเี งินได้ 40(1) คํานวณตามมาตรา 48(1) โดยนํ าเงินได้พงึ ประเมินที่ได้รบั ในปี ภาษีนัน้ หัก ค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อน คงเหลือเท่าใดเป็ นเงินได้สุทธิท่จี ะต้องนํ าไปคํานวณภาษีตามที่ กําหนด ซึง่ สรุปได้ดงั นี้ เงินได้พงึ ประเมิน ม. 40(1) xxx หัก ค่าใช้จา่ ย 40% ไม่เกิน 60,000 บาท xxx เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย xxx หัก ค่าลดหย่อน (ม.47) ยกเว้นเงินบริจาค xxx เงินได้คงเหลือ xxx หัก เงินบริจาค (ม.47(7)ไม่เกิน 10% ของ (5) xxx เงินได้สทุ ธิ xxx นํ าเงินได้สทุ ธิ (7) ไปคํานวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า (มาตรา 76 ตรี) จะได้ภาษีทต่ี อ้ งชําระ xxx

(1) (2) (3)=(1) - (2) (4) (5)=(3) – (4) (6) (7)=(5) –(6) (8)


20 2. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีมเี งินได้ประเภทอื่น ต้องคํานวณภาษี 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ 1) คํานวณตามมาตรา 48(1) โดยนํ าเงินได้พงึ ประเมินทีไ่ ด้รบั ในปี ภาษีนัน้ หัก ค่าใช้จ่าย และหักค่าลดหย่อน คงเหลือเท่าใดเป็ นเงินได้สุทธิท่จี ะต้องนํ าไป คํานวณภาษีตามทีก่ าํ หนด 2) คํานวณตามมาตรา 48(2) สําหรับผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(2) 40(8) ในปี ภาษีตงั ้ แต่ 60,000 บาทขึน้ ไป ให้เสียภาษีไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดเงินได้พงึ ประเมิน 3) เปรียบเทียบภาษีทค่ี าํ นวณได้ ตามข้อ 1) และ 2) ภาษีทต่ี อ้ งชําระคือ จํานวนที่ สูงกว่า

ขัน้ ที่ 1 xxx (1) เงินได้พงึ ประเมินทุกประเภท (ม. 40(1)-(8)) หัก ค่าใช้จา่ ย (ม.42 ทวิ – ม.46) xxx (2) เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย xxx (3)=(1) - (2) หัก ค่าลดหย่อน (ม.47) ยกเว้นเงินบริจาค xxx (4) เงินได้คงเหลือ xxx (5)=(3) – (4) หัก เงินบริจาค (ม.47(7) ไม่เกิน 10% ของ (5) xxx (6) เงินได้สทุ ธิ xxx (7)=(5) –(6) นําเงินได้สทุ ธิ (7) ไปคํานวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า (มาตรา 76 ตรี) จะได้ภาษีทต่ี อ้ งชําระตามขัน้ ตอนที่ 1 xxx (8) ขัน้ ที่ 2 สําหรับผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(2) ถึง (8) รวมกันตัง้ แต่ 60,000 บาทขึน้ ไป (มาตรา 48(2)) ภาษีทต่ี อ้ งชําระตามขัน้ ที่ 2 = เงินได้พงึ ประเมินตาม ม.40(2) ถึง (8) x 0.005 กรณีท่ี คํานวณได้ไม่เกิน 5,000 บาท ได้รบั สิทธิในการยกเว้นภาษีดงั กล่าว โดยให้คงมีหน้าทีใ่ นการ คํานวณและเสียภาษีสาํ หรับเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 48(1) (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 480 พ.ศ. 2552) ขัน้ ที่ 3 นําภาษีทค่ี าํ นวณได้ตามขัน้ ที่ 1 ข้อ (8) เปรียบเทียบกับภาษีทค่ี าํ นวณได้ตามขัน้ ที่ 2 ภาษีทต่ี อ้ งชําระคือ จํานวนทีส่ งู กว่า ภาษีทต่ี อ้ งชําระเพิม่ เมือ่ ยืน่ แบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 จํานวนภาษีทต่ี อ้ งชําระ (จากขัน้ ที่ 3) xxx หัก ภาษีทถ่ี ูกหัก ณ ทีจ่ า่ ย xx ภาษีทช่ี าํ ระครึง่ ปี (ภ.ง.ด.94) xx ภาษีเงินได้ทช่ี าํ ระล่วงหน้า xx เครดิตภาษีเงินปนั ผล xx xxx คงเหลือภาษีทต่ี อ้ งชําระเพิม่ xxx


21 ตารางที่ 2-1 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ช่วงเงิ นได้ สุทธิ (บาท) 0 ถึง 100,000 บาท (พระราชกฤษฎีกา ฉ. 470) 100,001 ถึง 150,000 บาท (พรก. ฉ.470) 150,001 ถึง 500,000 บาท 500,001 ถึง 1,000,000 บาท 1,000,001 ถึง 4,000,000 บาท 4,000,001 บาทขึน้ ไป

100,000 50,000 350,000 500,000 3,000,000

อัตรา ภาษี (%) 5 10 10 20 30 37

ภาษี เงิ น ได้ (บาท)

ภาษี สะสม (บาท)

ยกเว้น 0 ยกเว้น 0 35,000 35,000 100,000 135,000 900,000 1,035,000

หมายเหตุ การยกเว้นภาษีเงินได้ 0 ถึง 150,000 บาท จะยกเว้นให้สาํ หรับการคํานวณภาษีเงิน ได้ตามมาตรา 48(1) เท่านัน้ เริม่ มีผลสําหรับเงินได้ตงั ้ แต่ปี 2551 เป็ นต้นไป การยื่นแบบแสดงรายการเกี่ยวกับภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ประจําปี ให้ย่นื แบบแสดงรายการเกีย่ วกับเงิน ได้พงึ ประเมินภายในเดือนมีนาคมของทุกๆ ปี (มาตรา 56) ในกรณีทม่ี เี งินได้ตาม มาตรา 40(1) ประเภทเดียวให้ใช้แบบ ภ.ง.ด.91 สําหรับผูม้ รี ายได้หลายประเภท กองมรดกทีย่ งั ไม่ได้แบ่ง และห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคล ให้ใช้แบบ ภ.ง.ด. 90 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 28) 2. การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ครึง่ ปี ในกรณีทม่ี เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(5) – (8) ทีไ่ ด้รบั ตัง้ แต่เดือนมกราคม – มิถุนายน ไม่ว่าจะมีเงินได้ประเภทอื่น รวมอยู่ดว้ ยหรือไม่ ให้ย่นื แบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึง่ ปี ภายใน เดือนกันยายนของทุกปี (มาตรา 56 ทวิ) โดยใช้แบบ ภ.ง.ด.94 การคํานวณภาษี และอัตราภาษี ตามมาตรา 48 เงินได้พงึ ประเมินต้องเสียภาษีเงินได้ ดังนี้ 1. เงินได้พงึ ประเมินเมือ่ ได้หกั ค่าใช้จา่ ยและค่าลดหย่อนแล้วเหลือเท่าใด เป็ นเงิน ได้สทุ ธิตอ้ งเสียภาษีในอัตราทีก่ าํ หนดในบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (ตารางที่ 2-1) 2. สําหรับผูม้ เี งินได้พงึ ประเมิน (ไม่รวมถึงเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) ตัง้ แต่ 60,000 บาทขึน้ ไป การคํานวณภาษีตาม (1) ให้เสียภาษีไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดเงินได้พงึ ประเมิน


22 3. ผูม้ เี งินจะเลือกเสียภาษีโดยไม่ตอ้ งนําไปรวมคํานวณภาษีตาม (1) และ (2) ก็ได้ สําหรับเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) และมาตรา 40 (2) ซึง่ เป็ นเงินที่ นายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ซึ่งได้คํานวณจ่ายจากระยะเวลาที่ ทํางานและค่าใช้จา่ ยตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารและเงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกาํ หนด ตารางที่ 2-2 ขัน้ ตอนการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คํานวณภาษี คํานวณภาษีครึง่ ปี สิน้ ปี ภ.ง.ด.90 รายการ ภ.ง.ด.94 (ม.ค.หรือ 91 (ม.ค.มิ.ย.) ธ.ค.) เงินได้พงึ ประเมินทุกประเภท (ม.40(1)-(8) xxx xxx หัก เงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท) 490,000 หัก ค่าใช้จา่ ย (ม.47 ทวิ- ม.46) xxx xxx เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย xxx xxx หัก ค่าลดหย่อน (ม.47(1)) (ก) ผูม้ เี งินได้ 15,000 30,000 (ข) คูส่ มรส 15,000 30,000 (ค) บุตร – ไม่ศกึ ษาคนละ 7,500 15,000 (ง) บุตร – ศึกษาคนละ 8,500 17,000 95,000 100,000 (จ) ประกันชีวติ - ผูม้ เี งินได้ (ตามทีจ่ า่ ยจริง ไม่เกิน) - คูส่ มรส (กรณีไม่มเี งินได้) 10,000 (ฉ) เงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ 10,000 (ช) ดอกเบี้ยเงินกู้ยมื เพื่อที่อยู่อาศัย (ตามที่จ่ายจริง ไม่เกิน) 95,000 100,000 (ซ) เงินสมทบกองทุนประกันสังคม (ตามทีจ่ า่ ยจริง) xxx (ฌ) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบดิ ามารดา (ไม่เกิน4คนๆ ละ 30,000) 60,000 120,000 (ญ) ค่าเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา(ตามทีจ่ ่ายจริง 15,000 ไม่เกิน) 15,000 เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน (A) xxx xxx หัก เงินบริจาค (ตามทีจ่ า่ ยจริง ไม่เกิน 10%(A)) xx xx เงินได้สทุ ธิ xxx xxx


23 คูณ อัตราภาษี (ตามอัตราก้าวหน้า) x x ภาษีทค่ี าํ นวณได้ xx xx ภาษี ที่ต้องชําระ ภาษีทค่ี าํ นวณได้ xxx xxx หัก ภาษีทถ่ี ูกหัก ณ ทีจ่ า่ ย xx xx เครดิตภาษีเงินปนั ผล xx xx ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ ที่ ชํ า ร ะ ล่ ว ง ห น้ า ( ก ร ณี ที่ เ ป็ น อสังหาริมทรัพย์) xx ภาษีทช่ี าํ ระตามแบบ ภ.ง.ด.94 xx ภาษี ที่ต้องชําระ xxx xxx ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ทีจ่ ่าย เป็ นภาษีเงินได้ท่กี ําหนดให้หกั จากผูร้ บั เงินได้ พึงประเมิน (มาตรา 39) ซึง่ เป็ นบุคคลธรรมดา (มาตรา 56) ทีม่ หี น้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาตามประมวลรัษฎากร ถือเป็ นการจ่ายภาษีล่ว งหน้ าและสามารถนํ าภาษีท่ถี ูกหักไว้ ล่วงหน้านัน้ นําไปลดยอดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทีค่ าํ นวณได้ 1. หน้ าที่ของผูห้ กั ภาษี เงิ นได้หกั ณ ที่จ่าย 1.1 ต้องมีเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษี เพือ่ ปฏิบตั ติ ามประมวลรัษฎากร 1.2 คํานวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เมื่อมีการจ่ายเงินตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธกี ารทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมายแล้วหักไว้ 1.3 ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามแบบอธิบ ดีกําหนดหรือแบบที่ ได้รบั อนุ มตั จิ ากอธิบดีกรมสรรพากรแล้วจํานวน 2 ฉบับมีขอ้ ความตรงกัน และ อย่างน้อยต้องมีขอ้ ความตามแบบท้ายประกาศให้แก่ผถู้ ูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย 1.4 นํ าเงินภาษีทต่ี นมีหน้าทีค่ ํานวณและหักไว้นําส่ง ณ สํานักงานสรรพากรอําเภอ ท้องที/่ กิง่ อําเภอท้องที่ (สํานักงานสรรพากรเขตในกรุงเทพมหานคร) ภายใน 7 วันนับแต่ วนั ที่จ่ายเงิน ไม่ว่าจะได้หกั ภาษีไว้หรือไม่ พร้อมทัง้ ยื่นแบบแสดง รายการตามทีส่ รรพากรกําหนด (ภ.ง.ด.3) 1.5 ต้องทําบัญชีพเิ ศษแสดงการหักภาษี ณ ทีจ่ ่าย และนําส่งภาษีตามแบบทีอ่ ธิบดี กรมสรรพากรกําหนด โดยกรอกรายการหักภาษี ณ ที่จ่ายประจําวันและแยก เป็ นรายการหักจากบุคคลธรรมดา หรือบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และ กรอกรายการนํ าส่งภาษีประจําวัน โดยให้แยกตามใบเสร็จรับชําระภาษีอากร ของกรมสรรพากร เป็ นรายฉบับเรียงลําดับก่อนหลังตามวันทีม่ กี ารหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือการนํ าส่งภาษี เมื่อสิ้นวันสุดท้ายของเดือนให้รวมยอดจํานวนเงิน


24 ภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายและจํานวนภาษีทน่ี ําส่งแล้วทัง้ สิน้ ของเดือนนัน้ แต่ละรายการ และต้องเก็บรักษาบัญชีพเิ ศษดังกล่าวไว้ไม่น้อยกว่าห้าปี โดยทัวไปการคํ ่ านวณหักภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย จะกระทําเมื่อมีการจ่ายเงินได้ ประเภทที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายให้แก่ผูม้ เี งินได้ ซึ่งตรงกับวิธกี ารทางบัญชีตาม เกณฑ์เงินสด (Cash basis) ดังนี้ 1) กรณีจ่ายเงินได้เป็ นเงินสด ผู้จ่ายเงินได้มหี น้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ทันทีทจ่ี า่ ยเงินสดนัน้ 2) กรณีจ่ายเงินได้เป็ นสิง่ ของ ผูจ้ ่ายเงินได้มหี น้ าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ทันทีทจ่ี า่ ยเงินได้เป็ นทรัพย์สนิ ดังกล่าว 3) กรณีจา่ ยเงินด้วยเช็ค ให้คาํ นวณหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ า่ ยตามวันทีล่ งในเช็คนัน้ 2. ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) ต้องหักภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่ายตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนัน้ กรณีท่กี ฎหมายประมวลรัษฎากรได้กําหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขเกี่ยวกับการหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายไว้เป็ นการ แน่นอนเกีย่ วกับ 2.1 กรณีการจ่ายเงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1)) การคํานวณหัก ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ให้คูณด้วยเงินได้พงึ ประเมินด้วยจํานวนคราวที่จะต้อง จ่ายเพื่อให้ได้จํานวนเงินเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทัง้ ปี แล้วคํานวณภาษีในทํานอง เดียวกับการคํานวณภาษีส้นิ ปี โดยหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆ ออก ก่อน เหลือเงินได้สุทธิเท่าใดจึงนํ าไปคิดภาษีตามบัญชีอตั ราภาษี ได้เงินภาษี จากเงินได้สุทธิทงั ้ สิน้ เท่าใด ให้หารด้วยจํานวนคราวที่จะต้องจ่าย ได้ผลลัพธ์ เป็ นเงินเท่าใดให้หกั ภาษีไว้จาํ นวนเท่านัน้ 2.2 กรณีการจ่ายเงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะ เหตุ อ อกจากงาน ตามหลัก เกณฑ์ วีธีก าร และเงื่อ นไขที่อ ธิบ ดีกํ า หนดใน ประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 45) ให้คาํ นวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48 (5) เป็ น เงินภาษีทงั ้ สิน้ เท่าใด ให้หกั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้เท่านัน้ 3. แบบแสดงรายการที่ใช้ 3.1 ภ.ง.ด.1 ใช้สําหรับการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายตามมาตา 50 (1) แห่งประมวล รัษฎากร เนื่องจากการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40 (1) และ (2) แห่งประมวล รัษฎากร โดยต้องยื่นรายการและนําส่งภาษีภายในวันที่ 7 ของเดือนทีจ่ ่ายเงิน ได้ และควรแยกรายการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายสําหรับพนักงานหรือลูกจ้างทีเ่ ป็ นคน ไทย และพนักงานหรือลูกจ้างทีเ่ ป็ นชาวต่างประเทศต่างหากออกจากกัน


25 3.2 ภ.ง.ด.1 ก ใช้สรุปรายการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายสําหรับเงินได้ ตามมาตรา 40 (1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ทีผ่ จู้ ่ายเงินได้เป็ นบริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล โดยต้องยื่นรายการดังกล่าวภายในเดือนกุมภาพันธ์ของ ปี ถดั จากปีทจ่ี า่ ยเงินได้ กรณีทผ่ี จู้ ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากรเป็ นบริษทั หรือ ห้างหุ้นส่วนนิ ติบุคคล ซึ่งต้องแสดงรายการจ่ายเงินได้เป็ นรายบุคคลนัน้ ให้ แสดงรายการจ่ายเงินได้ทไ่ี ม่ถงึ เกณฑ์หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายพร้อมกับการยื่น ภ.ง.ด.1 ก หรือแสดงรายการดังกล่าวไว้ใ นแบบ ภ.ง.ด.1 ก ก็ได้ (ประกาศ อธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 19)) 3.3 ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ใช้สรุปรายการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ที่จ่ายสําหรับ เงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ทีผ่ จู้ ่ายเงินได้เป็ น รัฐ บาล หรือ องค์ก รของรัฐ บาล โดยต้อ งยื่น รายการดัง กล่ า วภายในเดือ น กุมภาพันธ์ของปี ถดั จากปี ท่จี ่ายเงินได้ทงั ้ นี้ หน้าที่ดงั กล่าวให้เป็ นของหัวหน้า ส่ว นราชการในกระทรวง ทบวง กรม หัว หน้ า ส่ว นรายการตามท้อ งที่ หรือ องค์กรของรัฐบาล อนึ่ง รายการในแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.1 ก หรือ ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ผูจ้ ่ายเงินได้ จะแสดงเฉพาะยอดรวมภาษีท่นี ํ าส่งทัง้ สิ้น และแสดงรายละเอียดเป็ นรายบุคคล โดย แนบสําเนาหนังสือรับรองภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ยืน่ ต่อเจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับการยื่น แบบ ภ.ง.ด.1 ก หรือ ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ก็ได้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 19)) 4. ความรับผิดของผูม้ ีหน้ าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่าย 4.1 ความรับผิดทางแพ่ง 4.1.1 ในกรณีไม่ได้หกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายไว้เลย ผูจ้ ่ายและผูม้ เี งินได้จะต้องรับผิด ร่วมกันในจํานวนภาษีทต่ี อ้ งชําระตามจํานวนมิได้หกั และมิได้นําส่ง 4.1.2 ในกรณี ท่ีผู้จ่ า ยภาษีไ ว้แ ล้ว แต่ มิไ ด้นํ า ส่ ง หรือ นํ า ส่ ง แล้ว แต่ ไ ม่ ค รบ จํานวนที่ถูกต้องให้ผูม้ เี งินได้ซ่งึ ต้องเสียภาษีพน้ ความรับผิดที่จะต้อง ชําระเท่าจํานวนที่ผูม้ หี น้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายได้หกั ไว้แล้ว และให้ผูม้ ี หน้าทีห่ กั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยรับผิดชําระเงินภาษีจาํ นวนนัน้ แต่ฝา่ ยเดียว 4.1.3 ในกรณีท่ผี ูจ้ ่ายหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ไม่ครบถ้วน จึงนํ าส่งภาษีขาดไป จากจํานวนทีต่ อ้ งเสียให้ผจู้ า่ ยเงินได้และผูม้ เี งินได้รว่ มรับผิดด้วยกัน 4.1.4 ในทางปฏิบตั ิกรณีท่ผี ูห้ กั ภาษี ณ ที่จ่าย ได้ให้ผูม้ เี งินได้แสดงสถานะ เพื่อการหักลดหย่อนโดยผูม้ เี งินได้ลงลายมือชื่อรับรอง หากปรากฏว่า


26 รายการนัน้ ผิดพลาดทําให้การหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายผิดพลาดไปด้วย กรณี นี้ให้ผมู้ เี งินได้รบั ผิดชอบชําระภาษีในส่วนทีน่ ําส่งไม่ครบถ้วนนัน้ ผูห้ กั ภาษี คือ ผูจ้ า่ ยเงินได้ไม่ตอ้ งรับผิด 4.1.5 ในการนํ าส่งภาษีหกั ณ ที่จ่ายไม่ครบหรือขาดจํานวน หรือไม่ส่งเลย หรือล่วงเลยเวลากําหนดผูม้ หี น้าทีห่ กั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายต้องรับผิดเสียเงิน เพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากรในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีทไ่ี ม่ครบหรือขาดหรือไม่ส่งหรือล่วงเลย กําหนดเวลาอีกส่วนหนึ่งด้วย 4.1.6 ในกรณีท่ผี ู้จ่ายเงินได้ไม่ได้หกั ภาษี ณ ที่จ่าย แต่ต่อมาผู้เสียภาษีไป ชําระแล้วก็ตาม ผูห้ กั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายยังคงต้องรับผิดชําระเงินเพิม่ ตามที่ กล่าวใน (5) อยู่ 4.1.7 ในการสังการเรี ่ ยกเก็บภาษีหกั ณ ที่จ่ายนัน้ เจ้าพนักงานประเมินมี อํานาจเรียกเก็บจากผูม้ หี น้าที่เสียภาษี ณ ที่จ่าย แต่ผูเ้ ดียวพร้อมกับ เรียกเก็บเงินเพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากรด้วยก็ได้ โดยไม่ จําเป็ นต้องเรียกเก็บจากผูม้ เี งินได้ก่อน 4.2 ความรับผิดทางอาญา ปรับไม่เกิ น 2,000 บาท 4.2.1 ไม่ยน่ื แบบแสดงรายการ (1) ยืน่ แบบเกินกําหนดไม่เกิน 7 วัน ปรับกระทงละ 100 บาท (2) ยืน่ แบบเกินกําหนดเกิน 7 วัน ปรับกระทงละ 200 บาท (3) เจ้าหน้าทีท่ ต่ี รวจพบความผิด ปรับกระทงละ 1,000 บาท 4.2.2 ไม่จดั ทําบัญชีพเิ ศษ ปรับกระทงละ 1,000 บาท 4.2.3 ไม่ออกหนังสือรับรอง ปรับกระทงละ 500 บาท ภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล เนื่องจากภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เป็ นประเภทภาษีท่มี คี วามสําคัญในการประกอบธุรกิจ อีกทัง้ ยังมีรายละเอียดจํานวนมาก จึงนํามาอธิบายเพิม่ เติมประกอบการศึกษา (ยุพดี ศิรวิ รรณ, 2550: 7-1 - 7-20) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ 1. นิ ติบคุ คลที่มีหน้ าที่เสียภาษี เงิ นได้ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุค คล หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติ บุคคลที่ตงั ้ ตามกฎหมายไทย และที่ตงั ้ ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และหมายรวมถึง (กลุ่ม นักวิชาการภาษีอากร, 2551: 138)


27 1) กิจการซึ่งดําเนินการค้าหรือหากําไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การ ของรัฐ บาลต่ า งประเทศหรือ นิ ติ บุ ค คลอื่ น ที่ ต ัง้ ขึ้น ตามกฎหมายของ ต่างประเทศ 2) กิจการร่วมค้า ซึง่ ได้แก่ กิจการทีด่ าํ เนินการร่วมกันทางการค้าหรือหากําไร ระหว่างบริษทั กับบริษทั บริษทั กับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคลกับห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล หรือระหว่างบริษทั /ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล กับบุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิตบิ ุคคล ห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือนิติ บุคคลอื่น 3) มูลนิธหิ รือสมาคม ทีป่ ระกอบกิจการซึง่ มีรายได้ แต่ไม่รวมถึงมูลนิธสิ มาคม ทีร่ ฐั มนตรีประกาศกําหนดให้เป็ นองค์การหรือสาธารณกุศล 4) นิตบิ ุคคลทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด อนุ มตั โิ ดยรัฐมนตรี 2. ฐานภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล 1) ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่าย ให้นิตบิ ุคคลต่อไปนี้เสียภาษีเงินได้จากฐานรายได้ ก่อนหักรายจ่าย 1.1) บริษัทต่ างประเทศที่ประกอบกิจการขนส่งระหว่างประเทศที่กระทํา กิจกรรมในทีอ่ ่นื ๆ รวมทัง้ ในประเทศไทย 1.2) มูลนิธหิ รือสมาคมทีป่ ระกอบกิจการซึง่ มีรายได้ แต่ไม่รวมถึงมูลนิธหิ รือ สมาคมทีร่ ฐั มนตรีประกาศกําหนดให้เป็ นองค์การสาธารณกุศล 2) ฐานเงินได้ท่จี ่ายจากหรือในประเทศ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลที่ตงั ้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศทีม่ ไิ ด้มาประกอบกิจการในประเทศไทย แต่ได้รบั เงิน ได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ทีจ่ ่ายจากหรือในประเทศ ไทยให้เสียภาษีจากฐานเงินได้ทจ่ี า่ ยจากหรือในประเทศไทย 3) ฐานเงินได้ท่จี ําหน่ ายออกไปจากประเทศ บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศทีไ่ ด้รบั โอนเงินกําไรหรือเงินประเภทอื่นทีก่ นั ไว้ จากกําไร หรือทีถ่ อื ไว้เป็ นกําไรจากประเทศไทย 4) ฐานกําไรสุทธิ เป็ นฐานภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีใ่ หญ่กว่าฐานภาษีอ่นื 3. เกณฑ์การคํานวณกําไรสุทธิ เพื่อเสียภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล กําไรสุทธิทางบัญชี หมายถึง ผลต่างระหว่างรายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ ในงวด บัญชีตามเกณฑ์คงค้างทีไ่ ด้นําค่าภาษีเงินได้ของงวดบัญชีทต่ี ้องจ่ายหักออกแล้ว แต่เนื่องจาก เงือ่ นไขการคํานวณกําไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี (6) ไม่ให้นําค่าภาษีเงินได้ทก่ี จิ การต้องจ่ายมา หักในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ดังนัน้ กําไรสุทธิตามมาตรา 65 ก็คอื กําไรจากการ


28 ประกอบกิจการที่รายได้และค่าใช้จ่ายเป็ นไปตามเงื่อนไขทางภาษีและยังไม่หกั ค่าภาษีเงินได้ นันเอง ่ เกณฑ์สทิ ธิ คือ วิธกี ารคํานวณกําไรตามเกณฑ์คงค้าง ที่รายได้และค่าใช้จ่ายของ งวดบัญชีนนั ้ ต้องเป็ นไปตามเงือ่ นไขการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีทบ่ี ทบัญญัตไิ ว้ในมาตรา 65 ทวิ มาตรา 65 ตรี และเงื่อนไขตามอนุ บญ ั ญัตหิ รือกฎหมายลูกตามประมวลรัษฎากรอีก หลายฉบับทีอ่ อกโดยอาศัยอํานาจตามประมวลรัษฎากร ซึง่ กําไรทางภาษี คือ กําไรทางบัญชีท่ี ปรับด้วยรายได้หรือค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่เป็ นไปตามเงือ่ นไขทางภาษี 4. เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ 4.1 มาตรา 65 ตรี กําหนดรายการทีไ่ ม่ให้ถอื เป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ ได้แก่ 1) มาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็ นการส่วนตัว การให้โดยเสน่ หา หรือการกุศล เว้นแต่รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณะ ประโยชน์ตามทีอ่ ธิบดีกําหนดโดยอนุ มตั ริ ฐั มนตรี ให้หกั ได้ในส่วนทีไ่ ม่เกิน ร้อยละ 2 ของกําไรสุทธิ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬาตามที่ อธิบดีกาํ หนดโดยอนุ มตั ริ ฐั มนตรี ให้หกั ได้ในอีกส่วนทีไ่ ม่เกินร้อยละ 2 ของ กําไรสุทธิ 2) มาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองหรือค่าบริการส่วนทีไ่ ม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ทีก่ าํ หนดโดยกฎกระทรวง 3) มาตรา 65 ตรี (8) เงินเดือนของผูถ้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนเฉพาะส่วนทีจ่ ่าย เกินสมควร 4) มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งกําหนดขึน้ เองโดยไม่มกี ารจ่ายจริง หรือ รายจ่า ยซึ่ง ควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอ่ืน เว้น แต่ ใ นกรณี ท่ีไ ม่ สามารถจะลงจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีใดก็อาจลงจ่ายในรอบระยะเวลา บัญชีทถ่ี ดั ไป 5) มาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบีย้ ทีค่ ดิ ให้สาํ หรับเงินทุน เงินสํารองต่างๆ หรือ เงินกองทุนของตนเอง 6) มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึง่ มิใช่รายจ่ายเพื่อหากําไรหรือเพื่อกิจการ โดยเฉพาะ 7) มาตรา 65 ตรี (18) รายจ่ายซึง่ ผูจ้ า่ ยพิสจู น์ไม่ได้วา่ ใครเป็ นผูร้ บั 8) มาตรา 65 ตรี (19) รายจ่ายใดๆ ทีก่ ําหนดจ่ายจากผลกําไรทีไ่ ด้เมื่อสิน้ สุด รอบระยะเวลาบัญชีแล้ว 4.2 มาตรา 65 ทวิ กําหนดเงือ่ นไขการคํานวณกําไรสุทธิและขาดทุนสุทธิ ได้แก่


29 1) มาตรา 65 ทวิ (1) รายการทีร่ ะบุไว้ในมาตรา 65 ตรี ไม่ให้ถอื เป็ นรายจ่าย 2) มาตรา 65 ทวิ (4) ในกรณีโอนทรัพย์สนิ ให้บริการ โดยไม่มคี ่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบีย้ หรือมีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบีย้ ตํ่ากว่า ราคาโดยไม่ มีเ หตุ อ ัน สมควร เจ้ า พนั ก งานประเมิน มีอํ า นาจประเมิน ค่ า ตอบแทน ค่ า บริก าร หรือ ดอกเบี้ย นั น้ ตามราคาตลาดในวัน ที่โ อน ให้บริการหรือให้กยู้ มื เงิน 4.3 การยกเว้นภาษีเงินได้ตามพระราชกฤษฎีกาทีเ่ กีย่ วข้อง ภาษี มลู ค่าเพิ่ ม 1. ความหมายของภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ภาษีมลู ค่าเพิม่ (Value Added Tax : VAT) เป็ นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งทีจ่ ดั เก็บ จากฐานการบริโภคทัวไป ่ เริม่ บังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2535 โดยนํ ามาใช้แทนภาษี การค้าทีถ่ ูกยกเลิกไป 2. ลักษณะของภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนและผู้ท่ปี ระมวลรัษฎากรกําหนดให้เป็ นผู้มหี น้ าที่เสีย ภาษีมูลค่าเพิม่ มีสทิ ธิตามประมวลรัษฎากรในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากผูซ้ ้อื สินค้าและ ผูร้ บั บริการได้ โดยผูป้ ระกอบการจดทะเบียนต้องจัดเตรียมเอกสารทีจ่ ะออกให้กบั ผูซ้ อ้ื สินค้าและ หรือผูร้ บั บริการ เช่น ใบกํากับภาษี ใบเพิม่ หนี้ ใบลดหนี้ เป็ นต้น ซึง่ ต้องนําสําเนาเอกสารนัน้ มา ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี และลงรายงานในรายงานภาษีมลู ค่าเพิม่ กิจการใดทีอ่ ยูใ่ นบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax : SBT) ตามมาตรา 91/2 หรือได้รบั ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/3 จะไม่อยูใ่ นข่ายทีต่ อ้ งเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ (มาตรา 77/3) 3. ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ (Taxable Person) ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ (มาตรา 82) 1) ผูป้ ระกอบการ (มาตรา 77/1(1)-(5)) ทีข่ ายสินค้าหรือให้บริการในทางวิชาชีพ เป็ นปกติธุระ ไม่วา่ จะได้รบั ประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่ 2) ผูน้ ําเข้า (มาตรา 77/1(11)-(12)) 3) ผูท้ ก่ี ฎหมายกําหนดให้มหี น้าทีเ่ สียภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ นกรณีพเิ ศษ (มาตรา 82) เช่ น ในกรณี ท่ีผู้ป ระกอบการอยู่น อกราชอาณาจัก ร และได้ข ายสิน ค้า หรือ ให้บริการในราชอาณาจักรเป็ นปกติธุระโดยมีตวั แทนอยู่ในราชอาณาจักร ผูม้ ี หน้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ คือ ตัวแทนดังกล่าว เป็ นต้น


30 4. กิ จการที่ให้เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผู้มีหน้ าที่เ สียภาษีดงั กล่าวที่ก ระทํากิจการดังต่ อไปนี้ ในราชอาณาจักร (มาตรา 77/2) มีหน้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ 1) การขายสินค้า หมายถึง การจําหน่ าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือ ค่าตอบแทนหรือไม่และให้มคี วามหมายรวมถึง (มาตรา 77/1(8)) 1.1) สัญญาให้เช่าซือ้ สินค้า สัญญาซือ้ ขายผ่อนชําระ ทีก่ รรมสิทธิ ์ในสินค้ายัง ไม่โอน ไปยังผูซ้ อ้ื เมื่อได้ส่งมอบสินค้าให้ผซู้ อ้ื แล้ว หรือสัญญาจะขาย สินค้าที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนดโดยอนุ มตั ิ รัฐมนตรี 1.2) ส่งมอบสินค้าให้ตวั แทนเพือ่ ขาย 1.3) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร 1.4) นํ าสินค้าไปใช้ ไม่ว่าประการใดๆ เว้นแต่ การนํ าสินค้าไปใช้เพื่อการ ประกอบกิจการของตนเองโดยตรง เช่น เบิกวัตถุดบิ ไปใช้ในการผลิต สินค้าเพื่อขาย หรือนํ าอะไหล่ไปใช้ในการซ่อมรถ เป็ นต้น โดยการใช้ ดังกล่าวต้องอยู่ในกิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ และ สิน ค้า ดัง กล่ า วต้อ งมิใ ช่ ส ิน ค้า หรือ บริก ารที่เ กี่ย วกับ รถยนต์ นั ง่ และ รถยนต์โดยสารที่มที ่นี ัง่ ไม่เกิน 10 คน แต่ไม่รวมถึงรถยนต์นัง่ และ รถยนต์โดยสารทีม่ ที น่ี ัง่ ไม่เกิน 10 คน ไปไว้ในสถานทีแ่ สดงรถยนต์ เพื่อ ขาย (ประกาศอธิ บ ดี ก รมสรรพากรเกี่ ย วกับ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม ฉบับที่ 1) 1.5) มีสนิ ค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดบิ เช่น กิจการซือ้ สินค้ามาขาย จํานวน 10 หน่วย ขายไปจํานวน 6 หน่ วย ในรายงานสินค้าแสดงยอด คงเหลือ 4 หน่ วย แต่จากการตรวจนับพบว่ามีสนิ ค้าเพียง 3 หน่ วย ดังนัน้ สินค้าทีข่ าดไปจํานวน 1 หน่วย ต้องนําไปเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ 1.6) มีสนิ ค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สนิ ทีผ่ ปู้ ระกอบการมีไว้ในการประกอบ กิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ แต่ไม่รวมถึงสินค้าคงเหลือและหรือ ทรัพย์สนิ ดังกล่าวของผูป้ ระกอบการซึ่งได้ควบกันหรือได้โอนกิจการ ทัง้ หมดให้แก่ กนั ทัง้ นี้ ผู้ประกอบการใหม่ต้องอยู่ในบังคับ ที่ต้องเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ 1.7) กรณีอ่นื ตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง เช่น


31 กฎกระทรวง ฉบับที่ 188 (พ.ศ.2534) ได้กําหนดให้ผปู้ ระกอบกิจการทีไ่ ด้รบั แจ้ง คํ า สัง่ ถอนหรือ เพิก ถอนทะเบีย นภาษีมูล ค่ า เพิ่ม มีส ิน ค้า คงเหลือ และหรือ ทรัพ ย์ส ิน ที่ ผูป้ ระกอบการมีไว้ใช้ในการประกอบกิจการ ณ วันทีไ่ ด้รบั แจ้งให้ถอื เป็ นการขาย 2) การให้บริการ หมายถึง การกระทําใด อันอาจหาประโยชน์ อนั มีมูลค่าซึ่งมิใช่ เป็ นการขายสินค้าและให้หมายความถึงการใช้บริการของตนเอง ไม่ว่าประการ ใดๆ แต่ทงั ้ นี้ไม่รวมถึง (มาตรา 77/1(10)) 2.1) การใช้บริการเพื่อการประกอบกิจการของตนเอง เช่น กิจการให้บริการ ซ่อม ได้ซ่อมรถยนต์หรือซ่อมแซมอาคารของตนเอง ทัง้ นี้ ต้องเป็ นการ ใช้ในกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ แต่ต้องมิใช่เพื่อการ รับรอง หรือบริการที่นําไปใช้กบั รถยนต์นัง่ และรถโดยสารทีม่ ที ่นี ัง่ ไม่ เกิน 10 คน (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่ (ฉบับที่ 2)) 2.2) การนํ าเงินไปหาประโยชน์ โดยการฝากธนาคารหรือซื้อพันธบัตรหรือ หลักทรัพย์ 2.3) การกระทําตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด กรณีของผูป้ ระกอบการ สนามกอล์ ฟ จะต้ อ งนํ า มู ล ค่ า ทัง้ หมดที่ไ ด้ร ับ หรือ พึง ได้ร ับ จากการ ให้บ ริก าร ไม่ ว่ า จะเป็ น ค่ า สมาชิก เงิน ประกัน เงิน มัด จํ า เงิน จ่ า ย ล่วงหน้ า เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายหรือเงินอื่นที่เรียกเก็บในลักษณะทํานอง เดียวกัน มารวมคํานวณเป็ นมูลค่าของฐานภาษีโดยถือว่าความรับผิด เกิดขึ้นเมื่อได้รบั เงิน เมื่อคืนเงินประกันหรือเงินมัดจํา ให้แก่สมาชิก ตามข้อตกลงหรือสัญญาการเป็ นสมาชิก ให้ผปู้ ระกอบการจดทะเบียน ออกใบลดหนี้ให้แก่สมาชิก (คําสังกรมสรรพากร ่ ที่ ป.39/2537 ข้อ 1(1)) การให้บริการในราชอาณาจักร ให้หมายถึง 1. บริการที่ทําในราชอาณาจักร โดยไม่คํานึงว่าการใช้บริการนัน้ จะอยู่ ต่างประเทศหรือในราชอาณาจักร 2. การให้ บ ริ ก ารที่ ทํ า ในต่ า งประเทศ และได้ มีก ารใช้ บ ริก ารนั ้น ใน ราชอาณาจักร ผูจ้ า่ ยเงินค่าบริการให้กบั ผูป้ ระกอบการในต่างประเทศมี หน้าทีต่ อ้ งยื่นแบบนํ าส่งภาษีมลู ค่าเพิม่ (ภ.พ.36) ณ ทีว่ ่าการอําเภอ ภายใน 7 วันนับแต่วนั สิน้ เดือนของเดือนทีจ่ ่ายเงินให้กบั ผูป้ ระกอบการ ในต่างประเทศ (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.104/2544 ข้อ 3)


32 5. ผูท้ ี่ได้รบั ยกเว้นภาษี มลู ค่าเพิ่ ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ สําหรับการประกอบกิจการประเภทต่างๆ (ตามมาตรา 81) และให้โอกาสผูท้ ไ่ี ด้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ ดังกล่าวมีสทิ ธิขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ (มาตรา 81/3) ซึง่ แบ่งประเภทผูไ้ ด้รบั การยกเว้นออกเป็ น 3 ประเภทดังนี้ 5.1 การขายสิ นค้ า (ที่มใิ ช่การส่งออก) หรือการให้บริการ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้ (ม.81/(1)) กลุ่มที่ 1 ยกเว้นแบบเด็ดขาด ผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะเข้าสู่ระบบ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ ประกอบด้วย 1.1) การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนหรือโรงเรียนเอกชนตาม กฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน (ม.81/(1)(ช)) 1.2) การให้บริการที่เป็ นงานทางศิลป์และวัฒนธรรมในสาขา และลักษณะ การประกอบกิ จ การที่ อ ธิ บ ดี ก รมสรรพากรกํ า หนดโดยอนุ มั ติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง (ม.81/(1)(ซ)) 1.3) การให้บริการการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ หรือ การประกอบวิชาชีพอิสระอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดโดย อนุ มตั ิรฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังทัง้ นี้ เฉพาะวิชาชีพอิสระที่มี กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพ(ม.81/(1) (ฌ)) 1.4) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย สถานพยาบาล (ม.81/(1)(ญ)) 1.5) การให้บริการวิจยั หรือการให้บริการทางวิชาการ ทัง้ นี้ ในสาขาและ ลักษณะการประกอบกิจการ ดังนี้ สาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งต้องมิใ ช่การให้บ ริการวิจยั หรือการให้บ ริการทางวิชาการในทาง ธุรกิจ และผู้ให้บริการวิจยั หรือให้บริการทางวิชาการต้องเป็ นบุคคล ธรรมดา หรือเป็ นคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคล หรือเป็ นมูลนิธิ (ประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ (ฉบับที่ 12),(81(1)(ฎ)) 1.6) การให้บริการห้องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ สวนสัตว์ (ม.81/(1)(ฏ)) 1.7) การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน (ม.81/(1)(ฐ)) 1.8) การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น (ม.81/(1)(ฑ)) 1.9) การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ ทัง้ นี้ เฉพาะบริการในสาขาและ ลัก ษณะการประกอบกิจ การตามที่อ ธิบ ดีก รมสรรพากรกํา หนดโดย อนุ มตั ริ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ม.81/(1)(ฒ)) หรือนักแสดง


33

1.10)

1.11) 1.12) 1.13)

1.14) 1.15)

1.16)

สาธารณะ หมายถึง นักแสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ นักร้อง นักดนตรี นักกีฬาอาชีพ หรือนักแสดงเพื่อความบันเทิงใดๆ ทัง้ นี้ ไม่ว่า จะแสดงเดี่ยวเป็ นหมู่หรือคณะ มูลนิธิ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ (ฉบับที่ 13)) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักร (ม.81/(1)(ณ)) ยกเว้น กิจการ ดัง ต่ อ ไปนี้ มีส ิท ธิ แ จ้ ง ต่ อ อธิ บ ดีก รมสรรพากรเพื่ อ ขอจดทะเบี ย น ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 241) (1) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักรโดยอากาศยาน (2) การส่ ง ออกของผู้ป ระกอบการในเขตอุ ต สาหกรรมส่ง ออกตาม กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (3) การให้บริการขนส่งนํ้ามันเชือ้ เพลิงทางท่อในราชอาณาจักร การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ ซึ่งมิใช่เป็ นการขนส่งโดยอากาศ ยานหรือเรือเดินทะเล (ม.81/(1)(ด)) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (ม.81/(1)(ต)) การให้บริการของราชการส่วนท้องถิน่ ทัง้ นี้ไม่รวมถึงบริการทีเ่ ป็ นการ พาณิ ช ย์ ข องราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น หรื อ เป็ นการหารายได้ ห รื อ ผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็ นกิจการสาธารณูปโภคหรือไม่กต็ าม (ม.81/(1) (ถ)) การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึง่ ส่งรายรับ ทัง้ สิน้ ให้แก่รฐั โดยไม่หกั รายจ่าย (ม.81/(1)(ท)) การขายสิน ค้า หรือ การให้บ ริก ารเพื่อ ประโยชน์ แ ก่ ศ าสนา หรือ การ สาธารณสุข ภายในประเทศ ซึ่ง ไม่นํ า ผลกํ า ไรไปจ่า ยในทางอื่น (ม. 81/(1)(ธ)) การขายสินค้าหรือการให้บริการตามที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ม.81/(1)(น)) เช่น พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 239 ได้มกี ารยกเว้น ภาษีมลู ค่าเพิม่ ดังนี้ การขายสินค้า มาตรา 3 รวมทัง้ สิน้ 16 ข้อ เช่น 1) การขายบุหรี่ซิกาแรตที่ผลิตโดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ยาสูบ ที่เ ป็ น องค์ก ารของรัฐ บาลโดยผู้ข ายที่มิใ ช่ ผู้ป ระกอบ อุตสาหกรรมยาสูบที่ผลิตสินค้าดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงผูข้ ายที่ เป็ นคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร


34 2) การขายสลากกินแบ่งรัฐบาล สลากออมสินของรัฐบาล และ สลากบํารุงกาชาดไทย 3) การบริจาคสินค้าให้แก่ สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทาง ราชการ องค์การหรือแก่สถานสาธารณกุศล การให้บริการ มาตรา 4 รวมทัง้ สิน้ 12 ข้อ เช่น การให้บริการสีขา้ ว กลุ่มที่ 2 ยกเว้นแบบไม่เด็ดขาด ผูป้ ระกอบการสามารถที่จะขอเข้าสู่ระบบ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ ประกอบด้วย 1.1) การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็ นลําต้น กิ่ง ใบ เปลือก หน่ อ ราก เหง้า ดอก หัว ฝกั เมล็ด หรือส่วนอื่นๆ ของพืช และ วัตถุ พลอยได้จากพืช ทัง้ นี้ ที่อยู่ในสภาพสด หรือรักษาสภาพไว้ เพื่อมิให้เสียเป็ นการชัวคราวในระหว่ ่ างขนส่งด้วยการแช่เย็น เป็ น ต้น ข้าวสาร หรือผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการสีขา้ ว แต่ไม่รวมถึงไม้ซุง ฟื น หรือผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จากการเลื่อยไม้ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ บรรจุกระป๋อง ภาชนะ หรือหีบห่อที่ทําเป็ นอุตสาหกรรมตาม ลักษณะ และเงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด (ม.81/(1)(ก)) 1.2) การขายสัตว์ ไม่ว่าจะมีชวี ติ หรือไม่มชี วี ติ ในกรณีสตั ว์ไม่มชี วี ติ ไม่ ว่าจะเป็ นส่วนใดของสัตว์ต้องอยู่ในสภาพสดหรือรักษาสภาพไว้ เพื่อมิให้เสียเป็ นการชัวคราว ่ เช่น มีการแช่แข็ง หรือปรุงแต่งโดย วิธกี ารอื่นหรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสียเพื่อนํ าไปขายปลีก เป็ น ต้น ไม่รวมถึงผลิตภัณฑ์อาหารทีบ่ รรจุกระป๋อง ภาชนะ หรือหีบห่อ ทีท่ าํ เป็ นอุตสาหกรรม (ม.81/(1)(ข)) 1.3) การขายปุ๋ย (ม.81/(1)(ค)) 1.4) การขายปลาปน่ อาหารสัตว์ (ม.81/(1)(ง)) 1.5) การขายยาหรือเคมีภณ ั ฑ์ทใ่ี ช้สาํ หรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบํารุง รักษา ป้องกัน ทําลายหรือกําจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์ (ม.81/(1) (จ)) 1.6) การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสารหรือตําราเรียน (ม.81/(1)(ฉ)) 5.2 การนําเข้าสิ นค้า (ม.81/(1)) 1) สินค้าตาม 1.16 (1) กลุ่มที่ 2 (ม.81/(1)(ก)-(ฉ)) 2) สินค้าจากต่างประเทศทีน่ ําเข้าไปในเขตปลอดอากร ทัง้ นี้ เฉพาะสินค้า ทีไ่ ด้รบั การยกเว้นอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้


35 3) สินค้าที่จําแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รบั ยกเว้นอากรตาม กฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร 4) สินค้าซึ่งนํ าเข้าและอยู่ในอารักขาของศุลกากร แล้วได้ส่งกลับออกไป ต่างประเทศโดยได้คนื อากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร 5.3 ผูป้ ระกอบการขายสิ นค้าหรือบริ การที่มีรายรับไม่เกิ น1,800,0001 บาท/ปี (ม.81/1) ในกรณีท่ผี ูป้ ระกอบกิจการมีรายรับไม่เกินมูลค่าของฐานภาษีของ กิจการขนาดย่อมทีก่ ําหนดโดยพระราชกฤษฎีกาปจั จุบนั คือ 1,800,000 บาท (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 432 เริม่ ใช้ตงั ้ แต่ 1 เมษายน 2548) จะได้รบั ยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษีมูล ค่าเพิ่ม แต่ผู้ประกอบการสามารถที่จะยื่นขอจดทะเบียน ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ (ม.81/3(2)) 6. หน้ าที่ของผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ มีหน้าทีด่ งั นี้ 6.1 การจดทะเบียนภาษี มูล ค่ าเพิ่ ม ตามมาตรา 85 แห่งประมวลรัษ ฎากร ได้ กําหนดหลักเกณฑ์ในการจดทะเบียนของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ ไว้ดงั นี้ 6.1.1) ผูป้ ระกอบการซึง่ จะเริม่ ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการทีม่ ี สิทธิคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ (ภ.พ.01) ก่อนวันเริม่ ประกอบกิจการ โดยให้ย่นื ณ ที่ว่าการอําเภอท้องที่ท่สี ํานักงาน ใหญ่ตงั ้ อยู่ (มาตรา 85) 6.1.2) ผูป้ ระกอบการซึ่งประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ ต้องยื่น คําขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ภายในกําหนดเวลาดังต่อไปนี้ 1) ในกรณีท่ผี ู้ประกอบการมีมูลค่าของฐานภาษีในการประกอบ กิ จ การเกิ น มู ล ค่ า ของฐานภาษี สํ า หรับ กิ จ การขนาดย่ อ ม (ป จั จุ บ ัน คือ 1,800,000 บาท) ต้อ งยื่น ภายใน 30 วัน นับ แต่ วันทีม่ ูลค่าของฐานภาษีดงั กล่าวเกินกว่ามูลค่าของฐานภาษีท่ี กําหนด (มาตรา 85/1(1) (ก)) 2) สํา หรับ ผู้ป ระกอบกิจ การ (ได้ร บั ยกเว้น ภาษีมูล ค่ า เพิ่ม แต่ ประสงค์ทจ่ี ะขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ม.85/1(2)) 6.1.3) กรณีทไ่ี ม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ (มาตรา 85/3) มีดงั นี้ 1) ผู้ป ระกอบการที่อยู่น อกราชอาณาจักร และเข้า มาประกอบ กิจการขายสินค้าหรือบริการในราชอาณาจักรเป็ นครัง้ คราว 2) ผูป้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการจากต่างประเทศและได้ใช้บริการนัน้ ในราชอาณาจักร


36 3) ผูป้ ระกอบการอื่นตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนดเมื่อมีเหตุ อันควร 6.2 แสดงใบทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ มไว้ ณ ทีเ่ ปิ ดเผยซึ่งเห็นได้ง่ายในสถาน ประกอบการเป็ นรายสถานประกอบการ (มาตรา 85/4) 6.3 ในกรณี ที่ใบทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ มสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดใน สาระสําคัญ ให้ย่นื คําขอรับใบแทนภายใน 15 วันนับแต่วนั ทีท่ ราบถึงการสูญ หาย ถูกทําลายหรือชํารุด (มาตรา 85/5) 6.4 ในกรณี ที่ เ ปลี่ ย นแปลงรายการที่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ใน สาระสําคัญ ซึง่ รวมถึงการเปลีย่ นแปลงชื่อสถานประกอบการ ประเภทกิจการ ประเภทสินค้าหรือบริการ ให้แจ้งการเปลีย่ นแปลงนัน้ ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ มีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ มาตรา 85/6) 6.5 ในกรณี ป ระสงค์จ ะเปิ ดสถานประกอบการเพิ่ ม เติ ม ให้แ จ้ง การ เปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ก่อนวันเปิ ดสถานประกอบการ เพิ่ม เติม ไม่ น้ อ ยกว่ า 15 วัน เพื่อ ขอรับ ใบทะเบีย นภาษีมู ล ค่ า เพิ่ม สําหรับสถานประกอบการนัน้ (มาตรา 85/7) ในการปิ ด สถานประกอบการบางแห่ง ให้แ จ้ง การเปลี่ย นแปลง ทะเบีย นภาษีมูล ค่า เพิ่ม ภายใน 15 วัน นับ จากวันปิ ด สถาน ประกอบการ พร้อมทัง้ คืนใบทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ 6.6 ในกรณี ที่ต้องการย้ายสถานประกอบการ ให้แจ้งการเปลี่ยนแปลง ทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ก่อนวันย้ายสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 15 วัน (มาตรา 85/8) 6.7 จัด ทํา รายงานภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (มาตรา 87) ให้ทํ า เป็ น รายสถาน ประกอบการ ไม่ว่าจะได้รบั อนุ มตั ิให้ย่นื แบบแสดงรายการและชําระ ภาษีมูล ค่า เพิ่ม รวมกัน หรือ ไม่ก็ต าม (ประกาศอธิบ ดีก รมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่ ฉบับที่ 89) และเก็บรักษารายงาน ใบกํากับ ภาษี สําเนาใบกํากับภาษี พร้อมทัง้ เอกสารประกอบการลงรายงานเป็ น เวลาไม่น้ อยกว่า 5 ปี นับ แต่ ว นั ที่ได้ย่นื แบบแสดงรายการ (มาตรา 87/3) 6.8 การจัดทําใบกํากับภาษี และสําเนาใบกํากับภาษี สําหรับการขาย สินค้า หรือการให้บริการทุกครัง้ และต้องจัดทําทันทีท่คี วามรับผิดใน การเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึน้ พร้อมทัง้ ส่งมอบใบกํากับภาษีนัน้ แก่ผู้ ซือ้ สินค้าหรือผูร้ บั บริการ (มาตรา 86) เว้นแต่ กรณีทข่ี ายสินค้าชนิด


37 และประเภทเดียวกัน ให้ผูซ้ ้อื สินค้ารายหนึ่งรายใดเป็ นจํานวนหลาย ครัง้ ใน 1 วันทําการ ผูป้ ระกอบการสามารถทีจ่ ะจัดทําใบกํากับภาษีรวม เพียงครัง้ เดียวในหนึ่งวันได้ (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.86/2542 ข้อ 1) 7. เอกสารและรายงานที่ต้องจัดทําในระบบภาษี มลู ค่าเพิ่ ม 7.1 ใบกํากับภาษี 7.1.1 ใบกํากับภาษี แบบเต็มรูป รายการทีต่ อ้ งมีในใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป (มาตรา 86/4) มีดงั นี้ 1) คําว่า “ใบกํากับภาษี” ในทีท่ เ่ี ห็นได้เด่นชัด 2) ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษีอากรของผูป้ ระกอบการจด ทะเบีย นที่อ อกใบกํ า กับ ภาษี และในกรณี ท่ีต ัว แทนเป็ น ผู้อ อก ใบกํากับภาษีในนามของผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ให้ระบุช่อื ทีอ่ ยู่ และเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษีอากรของตัวแทนนัน้ ด้วย 3) ชื่อ ทีอ่ ยูข่ องผูซ้ อ้ื สินค้าหรือผูร้ บั บริการ 4) หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีและหมายเลขลําดับของเล่ม 5) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณและมูลค่าของสินค้าหรือบริการ 6) จํานวนภาษีมูลค่าเพิม่ ที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าและหรือบริการให้ชดั แจ้ง 7) วัน เดือน ปี ทีอ่ อกใบกํากับภาษี 8) ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด เช่น ระบุเลขทะเบียน รถยนต์ในใบกํากับภาษี 7.1.2 ใบกํา กับ ภาษี อ ย่ า งย่ อ รายการที่ต้ อ งมีใ นใบกํ า กับ ภาษี อ ย่ า งย่ อ (มาตรา 86/6) มีดงั นี้ 1) คําว่า “ใบกํากับภาษีอย่างย่อ” ในทีท่ เ่ี ห็นได้เด่นชัด 2) ชื่อ หรือชื่อย่อ และเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษีอากรของผูป้ ระกอบกา จดทะเบียนทีอ่ อกใบกํากับภาษี 3) หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีและหมายเลขลําดับของเล่มถ้ามี 4) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือบริการ 5) ราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยต้องมีขอ้ ความระบุชดั เจนว่า ไม่มกี ารรวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ไว้แล้ว 6) วัน เดือน ปี ทีอ่ อกใบกํากับภาษี 7) ข้อความอื่นทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด


38 ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการขายสินค้าในลักษณะขาย ปลีก หรือประกอบกิจการให้บริการในลักษณะบริการรายย่อยแก่บุคคลจํานวน มากเท่านัน้ จึงจะมีสทิ ธิออกใบกํากับภาษีอย่างย่อ 7.1.3 กรณี ที่ ไ ม่ ต้ อ งจัด ทํา ใบกํา กับ ภาษี แม้จ ะมีค วามรับ ผิด ในการเสีย ่ ่ ป.86/2542 ข้อ 2) ภาษีมลู ค่าเพิม่ เกิดขึน้ (คําสังกรมสรรพากรที 1) นํ า สิน ค้า ไปใช้ไ ม่ว่า ประการใดๆ เว้น แต่ นํ า ไปใช้ใ นกิจ การของ ตนเองโดยตรง ซึง่ เป็ นกิจการทีต่ อ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ 2) มีสนิ ค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดบิ 3) มีสนิ ค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สนิ ทีม่ ไี ว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ 4) มีสนิ ค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สนิ ทีม่ ไี ว้ในการประกอบกิจการ ณ วันทีไ่ ด้รบั แจ้งคําสังถอนทะเบี ่ ยน หรือ ณ วันทีไ่ ด้แจ้งการเพิกถอน ทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ 5) ใช้บริการของตนเองไม่ว่าประการใดๆ เว้นแต่นําไปใช้ในกิจการที่ ต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ 6) จําหน่ าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่มคี ่าตอบแทนและไม่ได้เรียกเก็บ ภาษีมลู ค่าเพิม่ จากผูซ้ อ้ื สินค้า 7) ให้บริการโดยไม่มคี ่าตอบแทนและไม่ได้เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากผูร้ บั บริการ 7.1.4 รายงาน 1) รายงานภาษีขาย 2) รายงานภาษีซอ้ื 3) รายงานสิน ค้า และวัต ถุ ดิบ เฉพาะผู้ป ระกอบการจดทะเบีย นที่ ประกอบกิจการขายสินค้า โดยให้ลงรายการภายใน 3 วันทําการ นับแต่วนั ทีไ่ ด้มา หรือจําหน่ายออกไปซึง่ สินค้า ภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ 1. ความหมายของภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax: SBT) เป็ นภาษีทางอ้อมทีเ่ รียกเก็บจาก ฐานการบริโภคซึง่ เน้นทีก่ ลุ่มประเภทกิจการบางประเภททีม่ ลี กั ษณะเป็ นการเฉพาะ ไม่ อยูใ่ นข่ายต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เช่น ธุรกิจทางการเงิน (Finance) หรือธุรกิจเกีย่ วกับ อสังหาริมทรัพย์ (Real Estate) เป็ นต้น 2. ลักษณะของภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ


39 ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเป็ นรายการประเภทค่าใช้จา่ ยในงบการเงิน โดยให้เสียภาษีจาก รายรับก่อนหักรายจ่ายตามอัตราที่กฎหมายกําหนด และให้ชําระค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ พร้อมกับภาษีท่จี ่ายให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (ภาษีท้องที่) อีกร้อยละ 10 ของ ภาษีธุรกิจเฉพาะ 3. ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/2 แห่งประมวลรัษฎากรได้กําหนดกลุ่มกิจการบางประเภทที่ประกอบ กิจการในราชอาณาจักร ให้อยูใ่ นบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ดังนี้ 1) การธนาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรือกฎหมายเฉพาะ 2) การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยการประกอบธุ ร กิ จ เงิน ทุ น ธุ ร กิ จ หลัก ทรัพ ย์ และธุ ร กิ จ เครดิตฟองซิเอร์ 3) การรับประกันชีวติ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวติ 4) การรับจํานํา ตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจํานํา 5) การประกอบกิจการปกติเ ยี่ย งธนาคารพาณิช ย์ เช่นการให้กู้ย ืมเงิน การคํ้า ประกัน แลกเปลีย่ นเงินตรา หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธตี ่างๆ เป็ นต้น ยกเว้น ตามคําสังกรมสรรพากร ่ ป.26/2534 ดังนี้ ข้อ 2. กรณีบริษทั ในเครือเดียวกันให้กู้ยมื เงินกันเอง ไม่ว่าจะนํ าเงินของตน หรือนําเงินทีใ่ ห้กูย้ มื จากบุคคลอื่นมาให้กยู้ มื ในระหว่างกัน และไม่ว่าจะ คิดดอกเบี้ยในอัตราเท่าใดก็ตาม ดอกเบี้ยที่เกิดจากการกู้ยมื เงินใน กรณีเ ช่ น นี้ ไม่ต้อ งนํ า มารวมคํา นวณเป็ น รายรับ เพื่อ เสีย ภาษีธุ ร กิจ เฉพาะ บริษทั ในเครือเดียวกัน หมายความว่า บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคลตัง้ แต่ 2 นิตบิ ุคคลขึน้ ไป ซึ่งมีความสัมพันธ์กนั โดยบริษทั หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดถือหุ้นหรือเป็ นหุ้นส่วนอยู่ในบริษัทหรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลอีกแห่งหนึ่งไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ ี สิทธิออกเสียงในบริษัทหรือนิติบุคคลในห้างหุ้นส่วนนัน้ เป็ นเวลาไม่ น้อยกว่า 6 เดือนก่อนวันทีม่ กี ารกูย้ มื ข้อ 3. กรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล นําเงินทุน เงินกูย้ มื เงินเพิม่ ทุน หรือเงินอื่นทีเ่ หลืออยู่ไปฝากธนาคารหรือซือ้ ตั ๋วของสถาบันการเงินอื่น โดยได้รบั ดอกเบี้ยในอัตราปกติ กรณีเช่นนี้ ไม่ถือว่าดอกเบี้ยนัน้ เป็ น รายรับทีต่ อ้ งเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ


40 ข้อ 4. การยกเว้นตามข้อ2 และข้อ3 ไม่รวมถึงการประกอบกิจการธนาคาร (มาตรา 91/2(1)) กิจการเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ฯลฯ (มาตรา 91/2(3)) ข้อ 5. กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุ คคลมีระเบียบเกี่ยวกับเงินกองทุ น สะสมพนักงาน หรือทุนอื่นใดเพื่อพนักงาน และบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิติบุ ค คลได้นํา เงินกองทุนนี้ ออกให้พนักงานที่เ ป็ นสมาชิกกู้ย ืมเป็ น สวัสดิการโดยคิดดอกเบี้ยสําหรับเงินที่ให้กู้นัน้ ตามสมควร ไม่ต้องนํ า ดอกเบีย้ นัน้ มารวมคํานวณเป็ นรายรับเพือ่ เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ 6) การขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางค้าหรือหากําไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์จะได้มา ด้วยวิธใี ดก็ตาม เฉพาะที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขตามพระ ราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 342 มาตรา 4 มีดงั นี้ 6.1) การจัดสรรทีด่ นิ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการจัดสรรทีด่ นิ 6.2) การขายห้องชุด 6.3) สร้า งอาคารเพื่อ ขาย รวมถึง การขายที่ดิน อัน เป็ น ที่ต ัง้ ของอาคาร ดังกล่าว 6.4) กรณีมคี าํ มันว่ ่ าจะสร้างสาธารณูปโภคให้ 6.5) นิตบิ ุคคลขายอสังหาริมทรัพย์ทใ่ี ช้ในการประกอบกิจการของตนเอง 6.6) การขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ม่เข้าลักษณะตาม 6.1) ถึง 6.5) ทีไ่ ด้กระทํา ภายใน 5 ปี นั บ แต่ ว ัน ที่ไ ด้ม าซึ่ง อสัง หาริม ทรัพ ย์ (นั บ จาก อสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้มาครัง้ ล่าสุด) ยกเว้น 6.6.1) ถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ 6.6.2) ได้มาโดยทางมรดก 6.6.3) ทีอ่ ยู่อาศัย ซึ่งต้องมีช่อื อยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 1 ปี นับ แต่วนั ทีไ่ ด้มา 6.6.4) การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองโดยไม่มคี ่าตอบแทน ให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม 6.6.5) การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองให้แก่ทายาทโดยธรรม หรือผูร้ บั พินยั กรรมซึง่ เป็ นทายาท 6.6.6) การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองให้แก่ส่วนราชการ หรือ องค์การของรัฐบาลโดยไม่มคี า่ ตอบแทน 6.6.7) การแลกเปลี่ย นกรรมสิท ธิห์ รือ สิท ธิค รอบครองให้แ ก่ ส่ ว น ราชการ หรือองค์การของรัฐบาล


41 7) การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน ตลาดหลักทรัพย์ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 240 มาตรา 3(1) ให้ยกเว้นภาษี ธุ ร กิจ เฉพาะ) กรณี ข ายหุ้น นอกตลาดหลัก ทรัพ ย์ไ ม่ เ ข้า ข่ า ยเป็ น การขาย หลักทรัพย์ทอ่ี ยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2(7) จึงไม่ ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ก.ค.0802/3619 ลว. 5 มี.ค. 39) 8) การประกอบกิจการอื่นตามที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 350 และ 358 มีดงั นี้ 8.1) พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 350 มาตรา 3 กําหนดให้กจิ การซื้อหรือขาย คืนหลักทรัพย์ดงั ต่อไปนี้เป็ นกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจ เฉพาะ 8.1.1) กิจการทีไ่ ด้รบั อนุ ญาตจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลัก ทรัพย์ต ามกฎหมายว่าด้ว ยหลัก ทรัพย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ 8.1.2) กิจ การที่ก ระทํ า ขึ้น ระหว่ า งธนาคารแห่ ง ประเทศไทยและ สถาบันการเงินหรือนิตบิ ุคคลอื่น หรือระหว่างสถาบันการเงิน และนิตบิ ุคคลอื่น หรือระหว่างสถาบันการเงิน หรือระหว่างนิติ บุคคลอื่น กิจการทีซ่ อ้ื หรือขายคืนหลักทรัพย์ หมายความว่า กิจการ ที่ตกลงกันระหว่างผูซ้ ้อื หลักทรัพย์และผูข้ ายหลักทรัพย์ว่า ผู้ ซือ้ หลักทรัพย์ตกลงซือ้ หลักทรัพย์จากผูข้ ายหลักทรัพย์ โดยที่ ผู้ ซ้ื อ หลั ก ทรั พ ย์ จ ะขายคื น หลั ก ทรั พ ย์ ใ นอนาคตตาม กําหนดเวลา และในราคาทีต่ กลงกันไว้ล่วงหน้า หลัก ทรัพ ย์ หมายความว่า หลัก ทรัพย์ต ามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 8.2) พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 358 มาตรา 4 กําหนดให้ธุรกิจแฟ็ ก ตอริง เป็ นกิจการทีอ่ ยูใ่ นบังคับให้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ธุรกิจแฟ็ กตอริง หมายความว่า ธุรกิจทีผ่ ขู้ ายสินค้าหรือผูใ้ ห้บริการ ตกลงจะโอนทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้รบั จากการชําระหนี้ เนื่องจากการขายสินค้า หรือการให้บริการระหว่างตนกับลูกหนี้ของตนให้แก่ ผู้ประกอบการ ธุรกิจแฟ็ กตอริงตกลงจะให้สนิ เชื่อซึง่ รวมถึงการให้กยู้ มื และการทดลอง จ่ายแก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ และรับที่จะดําเนินการอย่างหนึ่ง อย่างใดดังต่อไปนี้


42 8.2.1) จัดให้มบี ญ ั ชีทรัพย์สนิ ทีจ่ ะได้รบั จากการชําระหนี้ 8.2.2) เรียกเก็บทรัพย์สนิ ทีจ่ ะได้รบั จากการชําระหนี้ 8.2.3) รับผิดชอบในหนี้ทล่ี กู หนี้ของผูข้ ายสินค้าหรือผูใ้ ห้บริการผิดนัด ชําระหนี้ 4. หน้ าที่ของผูม้ ีหน้ าที่มีหน้ าที่เสียภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะมีหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้ (ตามมาตรา 91/2) 4.1 จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ณ ทีว่ ่าการอําเภอท้องทีส่ ถานประกอบการตัง้ อยู่ โดยให้ย่นื คําขอจดทะเบียนตามแบบ ภ.ธ. 01 ภายใน 30 วันนับตัง้ แต่วนั เริม่ ประกอบกิจการ ถ้ามีสถานประกอบการหลายแห่งให้ย่นื ณ ที่ว่าการอําเภอ ท้องทีท่ ส่ี ถานประกอบการทีเ่ ป็ นสํานักงานใหญ่ตงั ้ อยู่ (มาตรา 91/12) ยกเว้น ผูป้ ระกอบการดังต่อไปนี้ไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (มาตรา 91/13) 4.1.1) ผูป้ ระกอบการขายหลักทรัพย์ตามมาตรา 91/2(7) 4.1.2) ผูป้ ระกอบกิจการที่ประกอบกิจการเป็ นการชัวคราว ่ ซึ่งตามประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับธุรกิจเฉพาะ เรื่อง การกําหนดกิจการทีไ่ ม่ ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะได้กาํ หนดไว้ดงั นี้ 1) การขายอสังหาริมทรัพย์ทผ่ี ขู้ ายมีไว้ใช้ในการประกอบกิจการ 2) การขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้กระทําภายใน 5 ปี 3) การให้กูย้ มื เงินของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ ใิ ช่ธนาคาร พ า ณิ ช ย์ บ ริ ษั ท เ งิ น ทุ น บ ริ ษั ท ห ลั ก ท รั พ ย์ ห รื อ บ ริ ษั ท เครดิตฟองซิเ อร์ ซึ่งให้กู้ย ืมเงินเป็ นครัง้ คราว มิใ ช่การประกอบ กิจการเป็ นปกติธุระ 4.2 ยื่นแบบแสดงรายการภาษี โดยใช้แบบ ภ.ธ.40 โดยให้ย่นื เป็ นรายเดือนภาษี พร้อมชําระภาษีถา้ มี (ถ้าในเดือนภาษีทต่ี อ้ งชําระไม่ถงึ 100 บาท ก็ไม่ตอ้ งเสีย สําหรับเดือนภาษีนนั ้ (มาตรา 91/17) ไม่ว่าผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีจะมีรายรับใน เดือนภาษีหรือไม่กต็ าม โดยยื่นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยให้ย่นื ณ ทีว่ า่ การอําเภอท้องทีท่ ส่ี ถานประกอบการตัง้ อยู่ (มาตร 91/10) ในกรณี ท่ี ส ถานประกอบการหลายแห่ ง ให้ ย่ื น แยกเป็ นรายสถาน ประกอบการ ถ้าต้องการยื่นรวมกันให้ย่นื คําร้องต่ออธิบดีกรมสรรพากรขอยื่น แบบแสดงรายการภาษีรวมกัน ณ ทีว่ ่าการอําเภอท้องทีแ่ ห่งใดแห่งหนึ่ง โดยใช้ แบบ ภ.ธ. 02 เมือ่ ได้รบั อนุ มตั แิ ล้วจึงปฏิบตั ไิ ด้


43 ในกรณีผูม้ หี น้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการขายอสังหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้าหรือหากําไร ให้กรมที่ดินเรียกเก็บภาษีธุ รกิจเฉพาะ ในขณะจด ทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์ 4.3 ทํารายงานแสดงรายรับก่อนหักรายจ่ายทีต่ อ้ งเสียภาษี และรายรับทีไ่ ม่ตอ้ งรวม คํานวณเพื่อเสียภาษี โดยจัดทําเป็ นรายสถานประกอบการ ภายใน 3 วันทีท่ ํา การนับแต่วนั ทีม่ รี ายรับ 5. กิ จกรรมเฉพาะอย่างที่ให้เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ตามมาตร 91/4 แห่งประมวลรัษฎากรได้กําหนดให้กจิ การเฉพาะอย่างทีเ่ กีย่ วข้อง กับผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 246 มาตรา 3) ดังนี้ 1) การให้บริการเช่าสังหาริมทรัพย์ 2) การให้บริการการใช้บตั รเครดิต หรือในลักษณะทํานองเดียวกัน 3) การให้บริการทีป่ รึกษาทางธุรกิจ 4) การให้เช่าซือ้ ทรัพย์สนิ 5) การให้บริการนายหน้าและตัวแทนซือ้ ขายหลักทรัพย์ 6) การให้บริการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ 7) การให้บริการอื่นทีเ่ กีย่ วเนื่องโดยตรงกับกิจการตามมาตรา 9/12 แห่งประมวล รัษฎากร แต่ไม่มฐี านภาษีธุรกิจเฉพาะทีก่ าํ หนดไว้ 6. กิ จการที่ได้รบั การยกเว้นภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/3 แห่งประมวลรัษฎากรยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการดังต่อไปนี้ 1) กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2) กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3) กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์ เฉพาะการให้กยู้ มื แก่สมาชิกหรือแก่สหกรณ์ออม ทรัพย์อ่นื 4) กิจการของกองทุนสํารองเลีย้ งชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ 5) กิจการของการเคหะแห่งชาติ เฉพาะการขายหรือให้เช่าซือ้ อสังหาริมทรัพย์ 6) กิจการรับจํานําของกระทรวง ทบวง กรม และราชการส่วนท้องถิน่ 7) กิจการอื่นตามมาตรา 91/2 แห่งประมวลรัษฎากรตามทีก่ ําหนดโดยพระราช กฤษฎีกา ฉบับที่ 240 และ 283 มีดงั นี้ 7.1) พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 240 มาตรา 3 ได้กําหนดยกเว้นภาษีธุรกิจ เฉพาะสําหรับกิจการดังต่อไปนี้


44 7.1.1) กิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ 7.1.2) กิจการของบรรษัทเงินอุตสาหกรรม 7.1.3) กิจการของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม 7.1.4) กิจการของธนาคารเพือ่ การส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย 7.1.5) กิจการของกองทุนสิง่ แวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ 7.1.6) กิจการขององค์การเพือ่ การปฏิรปู ระบบสถาบันการเงิน 7.1.7) กิจการของบรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน 7.1.8) กิจ การของนิ ติบุ ค คลเฉพาะกิจ ในส่ ว นที่เ กี่ย วกับ การแปลง สินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยนิตบิ ุคคลเฉพาะ กิจเพือ่ การแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ 1) กิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตร 9/12 ซึง่ เกิดขึน้ เนื่องจากการรับโอนทรัพย์สนิ จากบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นหรือการโอน สินทรัพย์ดงั กล่าวกลับคืนให้แก่บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุ ค คลหรือ นิ ติบุ ค คลอื่น ตามหลัก เกณฑ์ วิธีก าร และ เงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด 2) การประกอบกิจการที่ได้รบั โอนจากผู้โอนซึ่งเป็ นกิจการ ได้รบั ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ 7.1.9) กิจการของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคลอืน่ ใน ส่วนทีเ่ กีย่ วกับการแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยนิ ติ บุ ค คลเฉพาะกิ จ เพื่ อ การแปลงสิ น ทรัพ ย์ เ ป็ น หลัก ทรัพ ย์เ ฉพาะกิจ การที่อ ยู่ ใ นบัง คับ ต้ อ งเสีย ภาษี ธุ ร กิจ เฉพาะตามมาตรา 91/2 ซึง่ เกิดขึน้ เนื่องจากการโอนทรัพย์สนิ ให้แ ก่ นิ ติบุ ค คลเฉพาะกิจ หรือ การรับ โอนทรัพ ย์ส ิน ดัง กล่ า ว กลับคืนมาจากนิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ ตามหลักเกณฑ์วธิ กี าร และ เงือ่ นไขตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด 7.1.10) กิ จ การของกองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ กองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปญั หาในระบบสถาบันการเงิน และ กองทุนรวมเพือ่ แก้ไขปญั หาในระบบสถาบันการเงินทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะ


45 การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ และการ ขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางค้าหรือหากําไร 7.1.11) กิจการของบรรษัทตลาดรองสินเชื่อทีอ่ ยูอ่ าศัย 7.1.12) กิจการของเคหะแห่งชาติ เฉพาะการให้กูย้ มื เงินตามโครงการ พัฒนาคนจนในเมือง 7.1.13) กิจการสหกรณ์ประเภทสหกรณ์บริการซึ่งดําเนินการเกี่ยวกับ ก า ร จั ด ห า ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ใ ห้ แ ก่ ส ม า ชิ ก เ ฉ พ า ะ ก า ร ข า ย อสังหาริมทรัพย์เป็ นทางการค้าหรือหากําไร ตามหลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขดังต่อไปนี้ 1) ต้องเป็ นสหกรณ์ทเ่ี ป็ นสมาชิกของโครงการพัฒนาคนจนใน เมืองของการเคหะแห่งชาติและได้รบั เงินกู้ตามโครงการ ดังกล่าว 2) ต้องนํ าเงินกู้ท่ไี ด้รบั ไปจัดซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อขายต่อ ให้แก่สมาชิกของสหกรณ์ 7.1.14) กิจการของสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั บริหาร สินทรัพย์ เฉพาะกรณี ดังต่อไปนี้ 1) สถาบันการเงินนัน้ ถือหุน้ ในบริษทั บริหารสินทรัพย์เกินกว่า ร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง หรือในกรณีท่ี สถาบันการเงินนัน้ ถือหุน้ ในบริษทั บริหารสินทรัพย์ไม่เกิน ร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดที่มสี ทิ ธิออกเสียง จะต้องมีนิติ บุคคลรายหนึ่งถือหุน้ ในบริษทั บริหารสินทรัพย์และสถาบัน การเงินนัน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออก เสียง 2) เป็ นรายรับทีไ่ ด้จากบริษทั บริหารสินทรัพย์ เนื่องจาก 2.1) การให้สนิ เชื่อแก่บริษทั บริหารสินทรัพย์เพื่อรับซือ้ หรือ รับ โอนสิน ทรัพ ย์ด้อ ยคุ ณ ภาพของสถาบัน การเงิน นั น้ หรือ สถาบัน การเงิน อื่น ที่มีส ถาบัน การเงินนัน้ ถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง หรือ 2.2) การให้สนิ เชื่อแก่บริษทั บริหารสินทรัพย์เพื่อใช้ใน การบริหารสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพที่รบั ซื้อหรือรับ โอนจากสถาบันการเงินนัน้ หรือสถาบันการเงิน


46 อื่นทีม่ สี ถาบันการเงินนัน้ ถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง 3) สถาบันการเงินและบริษทั บริหารสินทรัพย์ตอ้ งปฏิบตั ติ าม หลัก เกณฑ์ วิธีก ารและเงื่อ นไขที่อ ธิบ ดีก รมสรรพากร กําหนด 7.1.15) กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เฉพาะที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะ เนื่องจาก 1) การรับไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากหรือการไถ่ถอน อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝาก โดยการวางทรัพย์ต่อ สํานักงานวางทรัพย์ภายในเวลาทีก่ ําหนดไว้ในสัญญาหรือ ภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด 2) การขายอสังหาริมทรัพย์ภายหลังทีไ่ ด้ไถ่จากการขายฝาก ซึง่ เมื่อรวมระยะเวลาการได้มาซึง่ อสังหาริมทรัพย์ก่อนการ ขายฝาก ระยะเวลาระหว่างการขายฝาก และระยะเวลา ภายหลังจากการขายฝากแล้วเกิน 5 ปี 7.1.16) กิจการของรัฐวิสาหกิจในส่วนของรายรับที่ได้รบั จากการขาย อสัง หาริม ทรัพ ย์ อัน เนื่ อ งมาจากการนํ า ทุ น บางส่ ว นหรือ ทัง้ หมดมาเปลีย่ นสภาพเป็ นหุน้ ในรูปแบบของบริษทั จํากัดหรือ บริษทั มหาชนจํากัดตามกฎหมายว่าด้วยทุนรัฐวิสาหกิจ 7.1.17) กิจ การของสถาบัน พัฒ นาองค์ก รชุ ม ชน (องค์ก ารมหาชน) เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ 7.1.18) กิจการของกองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่า ด้วยกองทุนให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา 7.1.19) กิจการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนเอกชน ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 7.1.20) กิจการของกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการตามกฎหมายว่า ด้ ว ยกองทุ น บํ า เหน็ จ บํ า นาญข้า ราชการ ทัง้ นี้ ตัง้ แต่ ว ัน ที่ กฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการมีผลบังคับ ใช้ 7.1.21) กิจการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง ที่ จัดตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์


47 เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ และ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือหากําไร 7.1.22) กิจการของสํานักงานการปฏิรูปที่ดนิ เพื่อการเกษตร เฉพาะ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ และการ ขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือกําไร ทัง้ นี้ตงั ้ แต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2535 เป็ นต้นไป 7.1.23) กิจการของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย เฉพาะการโอน กรรมสิทธิ ์ในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผรู้ บั โอนเนื่องจากการให้เช่า ซือ้ อสังหาริมทรัพย์ของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 7.1.24) กิจการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ ตัง้ แต่วนั ที่ 20 ธันวาคม 2545 เป็ นต้นไป 7.2) พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 283 มาตรา 3 ได้กําหนดให้ยกเว้นภาษีธุรกิจ เฉพาะสํ า หรับ การโอนอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ เ พื่ อ แยกบริ ษั ท ที่ ไ ด้ ร ับ ใบอนุ ญ าตประกอบธุ รกิจ ประกัน ชีวิต และบริษัท ที่ไ ด้รบั ใบอนุ ญ าต ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยออกจากกัน 7. ฐานภาษี และอัตราภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ 7.1 ฐานภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/5 แห่งประมวลรัษฎากรได้กาํ หนดฐานภาษีจากรายรับดังต่อไปนี้ 1) กิจการธนาคาร รายรับจากการประกอบกิจการ คือ 1.1) ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกําไรก่อนหัก รายจ่ายใดๆ จากการซื้อหรือขายที่ได้รบั จากตั ๋วเงิน หรือตรา สารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ 1.2) กํ า ไรก่ อ นหัก รายจ่ า ยใดๆ จากการแลกเปลี่ย นหรือ ซื้อ ขาย เงินตรา การออกตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือ การส่งเงินไปต่างประเทศ 2) กิจ การธุ ร กิจ เงิน ทุ น ธุ ร กิจ หลัก ทรัพ ย์ และธุ ร กิจ เครดิต ฟองซิเ อร์ รายรับจากการประกอบกิจการ ประกอบด้วย 2.1) ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกําไรก่อนหัก รายจ่ายใดๆ จากการซือ้ หรือขายหรือทีไ่ ด้จากตั ๋ว หรือตราสาร แสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ


48 2.2)

3) 4)

5)

6)

7)

8)

กําไรก่อนการหักรายจ่ายใดๆ จากการแลกเปลีย่ นหรือซือ้ ขาย เงินตรา การออกตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือ การส่งเงินไปต่างประเทศ กิจการประกันชีวิต รายรับ จากการประกอบกิจการ ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ กิจการโรงรับจํานํา รายรับจากการประกอบกิจการ คือ 4.1) ดอกเบีย้ ค่าธรรมเนียม 4.2) เงิน สินทรัพย์ ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ ใดๆ อันมีมูลค่าที่ ได้รบั หรือพึงได้รบั จากการขายของทีจ่ าํ นําหลุดเป็ นสิทธิ กิจการเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ รายรับจากการประกอบกิจการ คือ 5.1) ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการหรือกําไรก่อนหัก รายจ่ายใดๆ จากการซือ้ หรือขายหรือทีไ่ ด้จากตั ๋วเงิน หรือตรา สารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ 5.2) กําไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือการส่งเงินไปต่างประเทศ กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือหากําไร รายรับจากการ ประกอบกิจการคือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทัง้ สิน้ รายรับที่ใช้ใน การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะให้คาํ นวณจากราคาประเมินหรือราคาซือ้ ขายแล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.82/2542 ข้อ 6.) กิจ การขายหลัก ทรัพ ย์ต ามกฎหมายว่ า ด้ว ยตลาดหลัก ทรัพ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ รายรับจากการประกอบกิจการ คือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทัง้ สิน้ กิจการอื่นตามมาตรา 91/2(8) ได้แก่ 8.1) กิจ การซื้อ หรือ ขายคืน หลัก ทรัพ ย์ รายรับ จากการประกอบ กิ จ การ คื อ กํ า ไรก่ อ นหัก รายจ่ า ยใดๆ จากการขายคื น หลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึงดอกเบีย้ เงินปนั ผล หรือผลประโยชน์ ใดๆ ที่ได้รบั จากหลักทรัพย์ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 350 มาตรา 4) 8.2) ธุรกิจแฟ็ กตอริง รายรับจากการประกอบกิจการ คือ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับ ที่ 358 มาตรา 4)


49 7.2 อัตราภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/6 แห่งประมวลรัษฎากรอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ มีดงั ต่อไปนี้ 1) ร้อยละ 0.1 สําหรับรายรับตาม 91/5(7) 2) ร้อยละ 2.5 สําหรับรายรับตาม 91/5(3) และมาตรา 91/5(4) 3) ร้อยละ 3.0 สําหรับรายรับตาม 91/5 นอกจากกรณีตาม 1) และ2) 8. การคํานวณภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะคํานวณตามหลักเกณฑ์และการปฏิบตั ทิ างบัญชี เช่น อาจเลือกใช้ เกณฑ์เงินสด หรือเกณฑ์คงค้าง เพือ่ รวบรวมรายรับก็ได้ เมือ่ ได้เลือกปฏิบตั เิ ป็ นอย่างใด แล้ ว ให้ ถื อ ปฏิ บ ัติ เ ป็ น อย่ า งเดีย วกัน ตลอดไป เว้ น แต่ จ ะได้ ร ับ อนุ ม ัติ จ ากอธิ บ ดี กรมสรรพากรให้เปลี่ยนแปลงได้ (มาตรา 91/8 วรรคสอง) ยกเว้น กิจการขาย อสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือหากําไรให้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะในขณะที่จดทะเบียน สิทธิและนิตกิ รรมเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์นนั ้ 9. แบบยื่นที่เกี่ยวกับภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะมีแบบยื่นทีเ่ กีย่ วข้องดังนี้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับ ภาษีเงินได้ (ฉบับที2่ ) 1) แบบ ภ.ธ.01 แบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ 2) แบบ ภ.ธ.02 แบบคําขอยืน่ แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะรวมกัน 3) แบบ ภ.ธ.04 แบบคําขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ 4) แบบ ภ.ธ.09 แบบแจ้งการเปลีย่ นแปลงทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ 5) แบบ ภ.ธ.40 แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะเป็ นภาษีอากรประเมินทีก่ าํ หนดให้ธุรกิจเฉพาะเสียภาษีในลักษณะ พิเศษโดยจะคํานวณจากยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ซึ่งภาษีธุรกิจเฉพาะทีก่ จิ การ ได้จ่ายไปแล้วสามารถนํ ามาถือเป็ นค่าใช้จ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิได้ตามประมวล รัษฎากรมาตรา 65 ทวิ หรือ มาตรา 65 ตรี อย่ า งไรก็ดีเ มื่อ บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลจะต้ อ งเสีย ภาษี ธุ ร กิจ เฉพาะ กฎหมายภาษีอากรยังกําหนดข้อยกเว้นบางกรณีท่ไี ม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตาม คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.26/2534 เรื่อง ดอกเบี้ยสําหรับกิจการเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ ตามมาตรา 91/5(5) แห่งประมวลรัษฎากร โดยมีหลักเกณฑ์ทส่ี าํ คัญคือ กรณีบริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลมีระเบียบเกี่ยวกับเงินกองทุนสะสมพนักงาน หรือทุนอื่นใดเพื่อ พนักงานและบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้นําเงินกองทุนนี้ออกให้พนักงานทีเ่ ป็ น


50 สมาชิกกูย้ มื เป็ นสวัสดิการ โดยคิดดอกเบี้ยสําหรับเงินทีใ่ ห้กูน้ ัน้ ตามสมควร ไม่ต้องนํ า ดอกเบีย้ นัน้ มารวมคํานวณเป็ นรายรับเพือ่ เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แนวคิ ดเกี่ยวกับนโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริ มการลงทุน Board of Investment (BOI) คือ หน่ วยงานทีช่ ่วยในการส่งเสริมการลงทุน โดยให้สทิ ธิ ประโยชน์ทางด้านภาษีอากร เช่น การยกเว้น/ลดหย่อนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล การยกเว้น/ ลดหย่อนอากรขาเข้าเครื่องจักร และวัตถุดบิ /วัสดุจําเป็ น และสิทธิประโยชน์ทไ่ี ม่เกี่ยวข้องกับ ภาษีอากร เช่น การบริการอํานวยความสะดวกในการนําช่างฝี มอื และผูช้ าํ นาญการชาวต่างชาติ เข้ามาทํางานในกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม รวมทัง้ การให้ถอื กรรมสิทธิ ์ทีด่ นิ แก่นกั ลงทุนในการ ดําเนินการตามโครงการ (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, 2553) คณะกรรมการส่ง เสริม การลงทุน ได้กํ า หนดวิธ ปี ฏิบ ตั ิสํา หรับ ขัน้ ตอนขอรับ การ ส่ง เสริม การลงทุ น ตามพระราชบัญ ญัติส่ง เสริม การลงทุ น หลัก เกณฑ์ และเงื่อ นไขต่ า งๆ มี ดังต่อไปนี้ (สมเดช โรจน์คุรเี สถียร, 2547: 12-16) 1. วิ ธีการขอรับการส่งเสริ มการลงทุน ผูป้ ระกอบการที่สนใจและประสงค์จะขอรับ การส่งเสริมสามารถขอคําแนะนําด้านการลงทุนและแบบฟอร์มคําขอรับการส่งเสริม (กกท.01) ได้ท่ศี ูนย์บ ริการลงทุน ในนามบุคคลธรรมดา ผู้ข อรับการส่งเสริมนัน้ จะต้องจัดตัง้ บริษัท มูลนิธิ หรือสหกรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 180 วันนับแต่วนั ที่ผู้ ขอรับการส่งเสริมได้ตอบรับมติคณะกรรมการให้การส่งเสริมแล้ว 2. การพิ จารณาโครงการที่ขอรับการส่งเสริ ม กสท.จะพิจารณาคําขอรับการส่งเสริม ให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันทําการนับแต่วนั ทีส่ าํ นักงานได้รบั คําขอ ส่วนคําขอรับการ ส่ ง เสริม ที่มีข นาดการลงทุ น ตัง้ แต่ 500 ล้า นบาทขึ้น ไป ที่ผ ลิต เพื่อ จํ า หน่ า ยใน ประเทศเป็ นส่วนใหญ่ จะต้องเสนอคณะกรรมการพิจารณาเป็ นเวลา 90 วันทําการ 3. การแจ้งมติ อนุมตั ิ หรือไม่อนุมตั ิ การส่งเสริ ม หลังจากคําขอรับการส่งเสริมได้ ผ่านการพิจารณาแล้ว สํานักงานเลขานุ การกรมจะแจ้งมติอนุ มตั หิ รือไม่อนุ มตั ิ ให้ การส่งเสริมแก่ผขู้ อให้แล้วเสร็จภายใน 15 วันทําการ 4. การขอแก้ไขโครงการ หากผูใ้ ดรับการส่งเสริมไปแล้วมีความจําเป็ นจะขอเปลี่ยน แก้ไขโครงการ เช่น ขอเปลีย่ นทีต่ งั ้ โรงงาน เปลีย่ นกําลังการผลิต ก็สามารถกระทํา ได้โดยยืน่ คําขอแก้ไขพร้อมเอกสารและหลักฐานต่างๆทีส่ าํ นักงานเลขานุการกรม


51 5. การออกบัตรส่งเสริ ม ผูข้ อรับการส่งเสริมจะต้องตอบรับมติให้การส่งเสริมภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั หนังสือแจ้งมติ หากไม่สามารถตอบรับมติภายในระยะเวลา ที่กํ า หนด สามารถขอขยายเวลาตอบรับ มติแ ละขอขยายเวลาเพื่อ ส่ ง เอกสาร ประกอบการออกบัตรส่งเสริมได้ เมื่อตอบรับแล้วจะต้องส่งเอกสารและหลักฐาน ประกอบการออกบัตรส่งเสริมตามที่สํานักงานกําหนดไว้ภายใน 180 วันนับตัง้ แต่ วันตอบรับมติได้ทส่ี าํ นักงานเลขานุการกรม นโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริ มการลงทุน 1. นโยบายส่งเสริ มการลงทุน 1.1 เพิม่ ประสิทธิภาพและความคุม้ ค่าในการใช้สทิ ธิและประโยชน์ภาษีอากร โดย ให้สทิ ธิและประโยชน์ แก่โครงการที่มผี ลประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจอย่างแท้จริง ต้องรายงานผลการดําเนินงานของโครงการที่ได้รบั การส่งเสริม เพื่อให้ สํานักงานได้ตรวจสอบ ก่อนใช้สทิ ธิและประโยชน์ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลในปี นัน้ ๆ 1.2 สนับสนุ นให้อุตสาหกรรมพัฒนาระบบคุณภาพ และมาตรฐานการผลิตเพื่อ แข่งขันในตลาดโลก โดยกําหนดให้ผไู้ ด้รบั การส่งเสริมทุกรายทีม่ โี ครงการ ลงทุนตัง้ แต่ 10 ล้านบาทขึน้ ไป (ไม่รวมค่าที่ดนิ หรือทุนหมุนเวียน) ต้อง ดําเนินการให้ได้รบั ใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 หรือ มาตรฐานสากลอื่นทีเ่ ทียบเท่า 1.3 ปรับมาตรการส่งเสริมการลงทุนให้สอดคล้องกับข้อตกลงด้านการค้า และการ ลงทุนระหว่างประเทศโดยการยกเลิกเงื่อนไขการส่งออกและการใช้ชน้ิ ส่วนใน ประเทศ 1.4 สนับสนุ นการลงทุนเป็ นพิเศษในภูมภิ าคหรือท้องถิน่ ทีม่ รี ายได้ต่ํา และมีสงิ่ เอือ้ อํานวยต่อการลงทุนน้อย โดยให้สทิ ธิและประโยชน์ดา้ นภาษีอากรสูงสุด 1.5 ให้ความสําคัญกับการส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม โดย กําหนดเงือ่ นไขเงินลงทุนขัน้ ตํ่าของโครงการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมเพียง 500,000 บาท (ไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน) 1.6 ให้ความสําคัญแก่ กิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการและบริการพืน้ ฐาน


52 2. หลักเกณฑ์การอนุมตั ิ โครงการ 2.1 พิจารณาอนุ มตั โิ ครงการทีข่ อรับการส่งเสริมจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1.1 จะต้องมีมลู ค่าเพิม่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้ ยกเว้นการผลิต ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์และชิน้ ส่วน กิจการเกษตรกรรมและผลิตผล จากการเกษตร และโครงการทีค่ ณะกรรมการให้ความเห็นชอบเป็ น กรณีพเิ ศษ 2.1.2 มีอตั ราส่วนหนี้สนิ ต่อทุนจดทะเบียนไม่เกิน 3 ต่อ 1 สําหรับโครงการ ริเริม่ ส่วนโครงการขยายจะพิจารณาตามความเหมาะสมเป็ นรายๆไป 2.2 โครงการที่มเี งินลงทุนมากกว่า 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดนิ และทุน หมุนเวียน) จะต้องแนบรายงานศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการตามที่ คณะกรรมการกําหนด 3. หลักเกณฑ์การถือหุ้นของต่างชาติ เพื่ออํานวยความสะดวกแก่นกั ลงทุนต่างชาติ ในการลงทุนในกิจการอุตสาหกรรม คณะกรรมการจะผ่อนคลายมาตรการจํากัดผูถ้ อื หุน้ โดยใช้แนวทางการพิจารณา ดังนี้ 3.1 โครงการลงทุนในกิจการการให้บริการ จะต้องมีผมู้ สี ญ ั ชาติไทยถือหุน้ รวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 3.2 โครงการลงทุนในกิจการอุตสาหกรรม อนุ ญาตให้ต่างชาติถอื หุน้ ข้างมากหรือ ทัง้ สิน้ ได้ไม่วา่ ตัง้ ในเขตใด เมื่อมีเหตุผลอันสมควร คณะกรรมการอาจกําหนดสัดส่วนการถือหุน้ ของต่างชาติ เป็ น การเฉพาะสําหรับกิจการทีใ่ ห้การส่งเสริมบางประเภท


53 แนวคิ ดการให้สิทธิ และประโยชน์ ด้านภาษี อากร คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้แบ่งเขต การลงทุนออกเป็ น 3 เขต ตามปจั จัยทางเศรษฐกิจ โดยใช้รายได้และสิง่ อํานวยความสะดวกพืน้ ฐานของ แต่ละจังหวัดเป็ นเกณฑ์ ดังนี้ (อมรศักดิ ์ พงศ์พศุตม์, 2553: 3-6) เขต 1 โครงการทีต่ งั ้ สถานประกอบการใน จังหวัดกรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร เขต 2 โครงการที่ต ัง้ สถานประกอบการใน จัง หวัด กาญจนบุ รี ฉะเชิง เทรา ชลบุ รี นครนายก พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า ภู เ ก็ ต ร ะ ย อ ง ร า ช บุ รี สมุทรสงคราม สระบุรี สุพรรณบุรี และอ่างทอง เขต 3 โครงการทีต่ งั ้ สถานประกอบการใน ภาพที่ 2-1 ท้องที่ 59 จังหวัดประกอบด้วย 59 จังหวัด แบ่ง ที่มา: http://korat.boi.go.th ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ 36 จังหวัด และ 23 จังหวัด รายได้ต่าํ ดังนี้ 36 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ กําแพงเพชร ขอนแก่น จันทบุรี ชัยนาท ชุมพร เชียงราย เชียงใหม่ ภาพที่ 1: แผนทีเ่ ขตการลงทุน ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช พิษณุโลก นครสวรรค์ ประจวบคีรขี นั ธ์ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง พิจติ ร เพชรบุรี เพชรบูรณ์ มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน ระนอง ลพบุรี ลําปาง ลําพูน เลย สงขลา สระแก้ว สิงห์บุรี สุโขทัย สุราษฎร์ธานี อุตรดิตถ์ และอุทยั ธานี 23 จังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์ นครพนม นราธิวาส น่ าน บุรรี มั ย์ ปตั ตานี พะเยา แพร่ มหาสารคาม ยโสธร ยะลา ร้อ ยเอ็ด ศรีส ะเกษ สกลนคร สตู ล สุริน ทร์ หนองบัวลําภู ชัยภูมิ หนองคาย อุบลราชธานี อุดรธานี อํานาจเจริญ และบึงกาฬ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนกําหนดกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือไอนํ้า ให้ เป็ นกิจการทีไ่ ด้รบั ความสําคัญเป็ นพิเศษ (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, 2553)


54 สิ ทธิ ประโยชน์ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษี อากร 1. อนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาเพื่อศึกษาลู่ทางการลงทุน ผูไ้ ด้รบั การส่งเสริมจะ ได้รบั อนุญาตนําคนต่างด้าว ได้แก่ 1.1 ช่างฝี มอื 1.2 ผูช้ าํ นาญการ 1.3 คูส่ มรส และผูซ้ ง่ึ อยูใ่ นอุปการะของบุคคลในข้อ 1.1 และ1.2 เพื่อศึกษาลู่ทางการลงทุน หรือกระทําการอื่นใดที่เป็ นประโยชน์ ต่อการลงทุน โดยจะเข้ า ได้ ต ามจํ า นวน และกํ า หนดระยะเวลาให้ อ ยู่ ใ นราชอาณาจัก รเท่ า ที่ คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร 2. อนุญาตให้ถือกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน ผูไ้ ด้รบั การส่งเสริมจะได้รบั อนุ ญาตให้ถอื กรรมสิทธิ ์ ในที่ ดิ น เพื่ อ ประกอบกิ จ การที่ ไ ด้ ร ับ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามจํ า นวนที่ คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร 3. อนุญาตให้ส่งออกซึ่งเงิ นตราต่างประเทศ ผูไ้ ด้รบั การส่งเสริมทีม่ ภี ูมลิ ําเนานอก ราชอาณาจักรจะได้รบั อนุ ญาตให้นําหรือส่งเงินออกนอกราชอาณาจักรเป็ นเงินตรา ต่างประเทศต่อเมือ่ เงินนัน้ เป็ น 3.1 เงินทุน เงินปนั ผล หรือผลประโยชน์อ่นื ทีเ่ กิดจากการลงทุน 3.2 เงินกู้ต่างประเทศที่ผูไ้ ด้รบั การส่งเสริมนํ ามาลงทุน รวมทัง้ ดอกเบี้ยของเงินกู้ ต่างประเทศนัน้ ด้วย 3.3 เงินที่ผู้ได้รบั การส่งเสริมมีข้อผูกพันกับต่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิและบริการ ต่างๆในการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน สิ ทธิ ประโยชน์ ทางด้านภาษี อากร 1. ยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับเครื่องจักร กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือไอนํ้านัน้ จะ ได้รบั การยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับเครือ่ งจักร 2. ยกเว้นภาษี เงิ นได้นิติบุคคล จะได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเป็ นระยะเวลา 8 ปี โดยไม่กาํ หนดสัดส่วนการได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล


55 3. ลดหย่อนภาษี เงิ นได้นิติ บุคคลร้อยละ 50 จะได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลสําหรับกําไรสุทธิทไ่ี ด้จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ ซึง่ มี กําหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั ทีส่ น้ิ สุดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั การยกเว้น 4. ให้หกั ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้ า และค่านํ้าประปา อนุ ญาตให้หกั ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และ ค่าประปา 2 เท่า ของจํานวนเงินทีผ่ ไู้ ด้รบั การส่งเสริมได้เสียไปเป็ นค่าใช้จ่ายในการ ประกอบกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม เพื่อประโยชน์ ในการคํานวณภาษีเงินได้นิติ บุคคล เป็ นระยะเวลา 10 ปี นับแต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม 5. ให้หกั ค่าติ ดตัง้ หรือก่อสร้างสิ่ งอํานวยความสะดวก อนุ ญาตให้หกั ค่าติดตัง้ หรือ ก่อสร้างสิง่ อํานวยความสะดวกจากกําไรสุทธิรอ้ ยละ 25 ของเงินทีล่ งทุนในกิจการที่ ได้รบั การส่งเสริม โดยผูไ้ ด้รบั การส่งเสริมจะเลือกหักจากกําไรสุทธิของปี ใดปี หนึ่ง หรือหลายปี กไ็ ด้ภายใน 10 ปี นับแต่วนั ทีม่ รี ายได้จากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ทัง้ นี้นอกเหนือไปจากการหักค่าเสือ่ มราคาตามปกติ หมายเหตุ: จะต้องยืน่ คําขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2555 นอกจากนี้ กิจ การที่ไ ม่ ไ ด้ร ับ การส่ ง เสริม หรือ กิจ การที่มีร ะยะเวลาการยกเว้น และ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลสิน้ สุดลง สามารถยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนภายใต้มาตรการ ส่งเสริมการลงทุนเพื่อการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม ซึง่ มีหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. สามารถบังคับใช้กบั กิจการที่ดําเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รบั ส่งเสริมการลงทุน หรือไม่กต็ าม หากไม่ได้รบั ส่งเสริมต้องเป็ นประเภทกิจการทีค่ ณะกรรมการส่งเสริม การลงทุนประกาศให้ได้การส่งเสริมการลงทุนประกาศให้การส่งเสริมการลงทุน 2. โครงการที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนอยู่เดิมสามารถยื่นขอรับการส่งเสริมการ ลงทุนภายใต้มาตรานี้ได้ เมือ่ ระยะเวลายกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลนัน้ สิน้ สุดลงแล้วหรือเป็ นโครงการทีไ่ ม่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 3. จะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลีย่ นเครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน การนํา พลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการหรือการลดผลกระทบต่ อสิง่ แวดล้อม โดยมีการ ดําเนินการเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่งดังต่อไปนี้


56 3.1 จะต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรไปสู่เทคโนโลยีทท่ี นั สมัยเพื่อให้เกิด การใช้พลังงานลดลงตามสัดส่วนทีก่ ําหนด (มูลค่าของพลังงานทีป่ ระหยัดได้ ของโครงการต้องไม่น้อยกว่ามูลค่าภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีจ่ ะได้รบั การยกเว้น) 3.2 จะต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อให้มกี ารนํ าพลังงานทดแทนมา ใช้ในกิจการในสัดส่วนตามทีก่ าํ หนด เมือ่ เทียบกับการใช้พลังงานทัง้ สิน้ 3.3 จะต้องมีการลงทุนปรับเปลีย่ นเครื่องจักรเพื่อลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมไม่ว่า จะเป็ นการลดปริมาณของเสีย นํ้าเสีย หรืออากาศตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนด ส่วนสิทธิและประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั คือ 1. ได้รบั รับเว้นอากรขาเข้าสําหรับเครือ่ งจักร 2. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเป็ นระยะเวลา 3 ปี เป็ นสัดส่วนร้อยละ 70 ของเงิน ลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน ทัง้ นี้ให้ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล จากรายได้ของกิจการทีด่ าํ เนินการอยูเ่ ดิม 3. ระยะเวลาการได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นับจากวันที่มรี ายได้ภายหลัง ได้รบั บัตรส่งเสริม ทัง้ นี้จะต้องยื่นคําขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และต้อง ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันทีส่ าํ นักงานออกบัตรส่งเสริมให้ รวมทัง้ สํานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจะเป็ นผู้พจิ ารณาอนุ มตั ิให้ส่งเสริมการลงทุนแก่โครงการที่ ดําเนินการอยูเ่ ดิมในทุกขนาดการลงทุนทีข่ อรับการส่งเสริมการลงทุนตามมาตรการนี้ หลักประกัน 1. รัฐจะไม่โอนกิจการของผูท้ ไ่ี ด้รบั การส่งเสริมมาเป็ นของรัฐ 2. รัฐจะไม่ประกอบกิจการขึน้ ใหม่แข่งขัน 3. รัฐจะไม่ผกู ขาดการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันกับผูท้ ไ่ี ด้รบั การส่งเสริม 4. รัฐจะไม่ควบคุมราคาผลิตภัณฑ์ของผูไ้ ด้รบั การส่งเสริม 5. รัฐจะอนุญาตให้สง่ ออกเสมอไป 6. รัฐจะไม่อนุ ญาตให้ส่วนราชการ องค์กรของรัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ นํ าผลิตภัณฑ์ ชนิดเดียวกับทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมเข้ามาโดยได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้า


57 การคุ้มครอง (พิ จารณาตามความเหมาะสม) 1. ประธานกรรมการมีอํานาจสังช่ ่ วยเหลือ หากผูไ้ ด้รบั การส่งเสริมประสบปญั หาหรือ อุปสรรคในการดําเนินกิจการ 2. ประธานกรรมการมีอํานาจสังแก้ ่ ไข กรณีทโ่ี ครงสร้างอัตรา หรือวิธกี ารจัดเก็บภาษี อากร ค่าบริการหรือค่าธรรมเนียม เป็ นอุปสรรคต่อกิจการของผูไ้ ด้รบั การส่งเสริม การลงทุน แนวคิ ดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวางแผนภาษี อากร การวางแผนภาษี อากร (สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์: 2545) การบริหารธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็ นกิจการประเภทใดมีปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารธุรกิจที่ ต้องคํานึงถึง คือ 4M’s อันได้แก่ บุคลากร (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Material) และการ จัดการ (Management) รวมทัง้ ปจั จัยแวดล้อมภายนอก (Environment) ทีจ่ ะกระทบต่อกิจการ อาทิ ลูกค้าหรือตลาด (Market) กฎหมาย สังคม ทัง้ นี้ วัตถุประสงค์สาํ คัญของการบริหารธุรกิจ คือ มุง่ หมายทีจ่ ะให้กจิ การประสบผลสําเร็จโดยได้รบั กําไรสูงสุด และเสียค่าใช้จ่ายน้อยสุด การที่ จะได้ทําให้กิจการบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว นอกจากปจั จัยทางธุรกิจข้างต้นแล้ว สิง่ หนึ่งที่ ผูป้ ระกอบการต้องคํานึงถึงก็คอื ปจั จัยทางภาษีอากร เพราะภาษีอากรเป็ นภาระ หรือค่าใช้จ่าย ของกิจการทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ และชําระให้ถูกต้องครบถ้วนภายในกําหนดเวลาทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ภาษีอากรแต่ละประเภท มิฉะนัน้ อาจต้องเสียเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ รวมทัง้ เสียเวลาและโอกาสโดย ไม่จําเป็ นอีกด้วย อย่างไรก็ตามการเสียภาษีอากรโดยถูกต้องครบถ้วนเพียงอย่างเดียวจะยังไม่ เพียงพอสําหรับการบริหารธุรกิจที่ชาญฉลาด หากแต่ต้องเสียภาษีอากรให้น้อยที่สุด โดยตัด ทอนส่วนทีไ่ ม่จําเป็ นต้องเสียออกไปให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทําได้ โดยไม่อาศัยการหลีกเลี่ยงภาษี อากร (Tax evasion) หรือโดยเจตนาทุจริตทีจ่ ะไม่เสียภาษี ซึง่ การทีจ่ ะกระทําหรือปฏิบตั ใิ ห้ได้ เช่นนัน้ ผูป้ ระกอบการต้องอาศัยเทคนิคในการดําเนินการทางภาษีอากรทีเ่ รียกว่า การวางแผน ภาษีอากร (Tax planning) เพื่อขจัดปญั หาการเสียภาษีอากรเกินกว่าเหตุ และสามารถขจัดข้อ โต้แย้งทางภาษีอากรกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐในทุกกรณี การวางแผนภาษี (Tax planning) หมายถึง การตัดสินใจเตรียมการเพื่อการปฏิบตั ใิ น อนาคตเกีย่ วกับรายการทางการเงิน (Financial transactions) ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นทางภาษี อากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้การเสียภาษีอากรและการปฏิบตั ิ เกี่ยวกับภาษีอากรขององค์กรเป็ นไปโดยถูกต้อง และครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กําหนดไว้ในกฎหมายภาษีอากร และต้องเสียภาษีอากรเป็ นจํานวนน้ อยที่สุดหรือ ประหยัดทีส่ ดุ โดยไม่อาศัยการทุจริตหลีกเลีย่ งภาษีอากร


58

ชัยสิทธิ ์ ตราชูธรรม (2549: 430) อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า หมายถึง การเตรียมการเพื่อเสียภาษีให้ถูกต้องครบถ้วนและประหยัด การไม่ทาํ ให้ตอ้ งเสียภาษี หรือเสียภาษีน้อยทีส่ ดุ โดยวิธกี ารทีไ่ ม่ผดิ กฎหมาย นอกจากนี้ยงั รวมถึงการจัดการธุรกิจหรือการ งานส่วนตัวเพือ่ ช่วยให้เสียภาษีน้อยทีส่ ดุ ด้วย สุพตั รา สืบสมอนันตพงศ์ (2550: 21) อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า หมายถึง การวางรูปแบบในการประกอบธุรกิจเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดและชําระภาษีให้กบั รัฐได้อย่างถูกต้องตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายหรือทีเ่ รียกว่า วิธกี ารเสียภาษีอย่างประหยัด พนิต ธีรภาพวงศ์ (2550: 74-76) ได้อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า หมายถึง วิธกี ารบริหารจัดการภาระภาษีทพ่ี งึ เกิดขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะดําเนินการเพื่อเสีย ภาษีได้ถูกต้องเป็ นสําคัญ หลังจากนัน้ เมื่อได้ประเมินภาพรวมของภาระภาษีอากรของกิจการที่ ถูกต้องได้อย่างชัดเจนแล้ว จึงพิจารณาถึงทางเลือกที่จะดําเนินการประหยัดภาษีภายใต้กรอบ แห่งกฎหมายในแต่ละขัน้ ตอนหรือในแต่ละส่วนของกิจการหรือธุรกรรมนัน้ ๆ ต่อไป สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ (2541) ได้อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า คือ การ ตัดสินใจเตรียมการเพื่อการปฏิบตั ใิ นอนาคตเกีย่ วกับภาษีอากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดย มีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะให้การเสียภาษีอากรและการปฏิบตั เิ กี่ยวกับภาษีอากรขององค์กรเป็ นไปโดย ถูกต้องและครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขทีก่ ําหนดไว้ในกฎหมายภาษีอากรและ ต้องเสียภาษีอากรเป็ นจํานวนน้อยทีส่ ดุ หรือประหยัดทีส่ ดุ ผู้ประกอบการพึงต้องระลึกอยู่เสมอว่า “ภาษี อากร” เป็ นภาระทางด้านรายจ่าย ที่ เกิด ขึ้น ควบคู่ ก ัน ไปกับ การดํ า เนิ น ธุ ร กิจ เช่ น เดีย วกับ รายจ่ า ย หรือ ต้ น ทุ น ทางธุ ร กิจ อื่น ๆ โดยทัวไปและเป็ ่ นภาระผูกพันทีไ่ ม่อาจเปลีย่ น หรือผัดเวลาออกไปได้ เพราะภาษีอากรเป็ นหนี้ท่ี เกิดขึน้ โดยผลของกฎหมาย ซึง่ ผูเ้ สียภาษีพงึ ต้องชําระตามกําหนดเวลาโดยไม่อาจบิดพลิว้ การ เรียนรู้และทําความเข้าใจเกี่ยวกับภาษีอากรในทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับองค์กร เป็ นหน้ าที่ โดยตรงของผูบ้ ริหารทีต่ อ้ งกระทําเป็ นอันดับแรกๆ เช่นเดียวกับการวางแผนโดยทัวไป ่ เช่น ต้อง รูอ้ งค์ประกอบของกฎหมายแต่ละประเภททีก่ จิ การต้องเสีย นัน้ ๆ ดังนี้ (1) หน่วยงานใดทําหน้าทีจ่ ดั เก็บ (2) กําหนดบุคคลใดเป็ นผูม้ หี น้าทีภ่ าษี (3) กําหนดจัดเก็บจากฐานภาษีใด (4) อัตราเท่าใด (5) มีวธิ กี ารชําระภาษีอย่างไร (6) กําหนดการยกเว้นภาษีอากรไว้อย่างไร (7) กําหนดเวลาในการชําระภาษีไว้อย่างไร


59 (8) มีบทกําหนดโทษอย่างไร และ (9) มีวธิ กี ารขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีอากรอย่างไร การวางแผนภาษีอากรที่จะให้ได้ผลต้องกระทําทันทีท่เี ริม่ ต้นประกอบธุรกิจ และต้อง กระทําต่อเนื่องอย่างเป็ นระบบ โดยผูท้ ่มี คี วามรูค้ วามชํานาญทางด้านภาษีอากรประเภทนัน้ ๆ ซึง่ มีความรูค้ วามเข้าใจในกิจการทีจ่ ะวางแผนภาษีอากรด้วย การวางแผนภาษีอากรจึงอาจต้อง อาศัยบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องหลายฝา่ ย อาทิ กรรมการผูจ้ กั การ สมุหบ์ ญ ั ชีนกั กฎหมาย ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทางภาษีอากร ร่วมปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีอากรทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจทีว่ างแผน ภาษีอากรนัน้ ๆ การวางแผนภาษีอ ากร อาจมีไ ด้ห ลายๆ ระดับ ทัง้ ในระดับ เบื้อ งต้น อัน ได้แ ก่ การ วางแผนเกีย่ วกับกําหนดเวลาในการยืน่ แบบแสดงรายการและการเสียภาษี โดยการจัดทําปฏิทนิ ภาษี การจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษี การวางแผนจัดการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานที่ เกี่ยวข้องกับภาษีอากร เป็ นต้น ซึ่งเป็ นการวางแผน โดยอาศัยความรูค้ วามชํานาญในประเด็น ข้อ กฎหมายที่เ กี่ย วกับ ภาษี อ ากร และกฎหมายอื่น ที่เ กี่ย วข้อ งที่อ าจมีค วามยุ่ ง ยาก หรือ สลับซับซ้อนมากน้ อยแตกต่างกันไปตามสภาพ หรือข้อเท็จจริงทางธุรกิจและบทบัญญัติทาง กฎหมายภาษีอากรตลอดจนแนวทางปฏิบตั ขิ องทางราชการ คําวินิจฉัยและคําพิพากษาของศาล ซึง่ เป็ นการวางแผนภาษีอากรในระดับทีล่ กึ ลงไปอีกระดับหนึ่ง กล่าวได้ว่า การวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) หมายถึง การบริหารจัดการภาระ ภาษีทเ่ี กิดขึน้ เพือ่ ให้เสียภาษีน้อยลงหรืออาจไม่เสียภาษีเลย รวมถึงการใช้สทิ ธิประโยชน์ของผูม้ ี หน้าทีเ่ สียภาษี โดยวิธกี ารทีถ่ ูกต้องตามหลักของกฎหมาย ครบถ้วนและประหยัด เพื่อประโยชน์ ต่อตัวของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีเอง วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษี อากร 1. เพื่อ ให้ก ารเสีย ภาษี อ ากรของกิจ การที่ว างแผนภาษี อ ากรเป็ น ไปโดยถู ก ต้ อ ง ครบถ้วนตามทีก่ ฎหมายกําหนดบัญญัติ โดยเม็ดเงินทีเ่ สียภาษีนนั ้ ต้องเป็ นจํานวนน้อยทีส่ ุด หรือ ประหยัดทีส่ ดุ โดยไม่อาศัยการหลีกเลีย่ งภาษีอากร 2. เพื่อให้ขจัดปญั หาในการเสียภาษีอากรของกิจการที่อาจเกิดขึ้นในทุกกรณี ทัง้ นี้ เพราะภาษีอากรทีธ่ ุรกิจพึงต้องเสียมีหลายประเภท ในแต่ละประเภทมีหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขทีแ่ ตกต่างกันไป การวางแผนภาษีอากรจึงเป็ นเครื่องชีท้ างปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกต้องให้แก่ธุรกิจ นอกเหนือไปจากการเสียภาษีให้ถูกต้องครบถ้วน เพื่อป้องกันและแก้ไขปญั หาภาษีอากรทีอ่ าจ เกิดขึน้ ในอนาคตและยังช่วยให้ธุรกิจมีมาตรฐานในการปฏิบตั งิ านทีด่ ี 3. เพื่อประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน้ เนื่องจากการเสียภาษีอากรไม่ถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็ นภาษีอากรประเภทใด ค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากการเสียภาษีอากรไว้ไม่ถูกต้อง คือ เบีย้ ปรับ เงินเพิม่ และค่าปรับทางอาญา


60

4. เพื่อลดต้นทุนการดําเนินกิจการ หรือเพิม่ กําไรสุทธิโดยการใช้สทิ ธิประโยชน์ ทาง ภาษีอากร อาทิ 4.1 การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากร กรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เช่น 4.1.1 การเลือ กใช้ห น่ ว ยทางภาษีอ ากรเพื่อ ให้ภ าษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดา จํานวนน้อยทีส่ ดุ 4.1.2 การใช้สทิ ธิเกีย่ วกับเครดิตภาษี สําหรับเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของ กําไร ตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร 4.1.3 การใช้สทิ ธิเลือกหักค่าใช้จา่ ย 4.1.4 การใช้สทิ ธิหกั ค่าลดหย่อน 4.1.5 การใช้สทิ ธิเลือกเสียภาษีเงินได้ 4.2 การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากร กรณีภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เช่น 4.2.1 การยกเว้น ภาษีเ งิน ได้นิ ติบุ ค คล สํา หรับ เงิน ได้ข องบริษัท และห้า ง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ น ค่าใช้จ่ายในการส่งลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ เข้า รับการศึกษาหรือฝึ กอบรมในสถานศึกษาหรือสถาบันฝึ กอบรมวิชาชีพ ทีท่ างราชการจัดตัง้ ขึน้ หรือทีร่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศ กําหนด ตามมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ. 2538 (ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) 4.2.2 ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับเงินได้ของบริษทั และห้างหุน้ ส่วน นิตบิ ุคคลเป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ นค่าใช้จ่าย ในการฝึ กอบรมให้แก่ลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนัน้ ทั ง้ นี้ ตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขตามประกาศอธิ บ ดี กรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 16) ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 288) พ.ศ. 2538 (ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 7 ธันวาคม 2538 เป็ น ต้นไป) 4.2.3 การหัก รายจ่ า ยเพิ่ม ขึ้น เป็ น สองเท่ า สํ า หรับ ค่ า จ้า งคนพิก าร หรือ ค่าใช้จ่ายในการเตรียมอาคารหรือยานพาหนะเพื่ออํานวยความสะดวก แก่คนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 4.3 การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร กรณีภาษีมูลค่าเพิม่ โดยการจําหน่ าย จ่าย โอนสินค้าของผูป้ ระกอบการจดทะเบียนโดยไม่ต้องเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ เช่น


61 4.3.1

การแจกเครื่องแบบหรือเสือ้ นอกให้แก่พนักงานตามมาตรา 77/1 (8) (ง) แห่งประมวลรัษฎากร และประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับ ภาษีมลู ค่าเพิม่ (ฉบับที่ 40) 4.3.2 การแจกเครื่องแบบให้แก่พนักงานในส่วนทีเ่ กิน 2 ชุดต่อปี และเสือ้ นอก ไม่เกิน 1 ตัวต่อปี 4.3.3 การเลีย้ งอาหารแก่พนักงาน 4.4 การใช้ส ิท ธิป ระโยชน์ ท างภาษีอ ากรตามประมวลรัษ ฎากร กรณี ภ าษีธุ ร กิจ เฉพาะโดย 4.4.1 การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ สําหรับดอกเบีย้ รับจากการให้กยู้ มื เงินแก่บริษทั ในเครือเดียวกัน หรือพนักงาน ลูกจ้างเพื่อเป็ นสวัสดิการ ่ ป.26/2534 เป็ นต้น ตามคําสังกรมสรรพากรที ่ 4.4.2 การเลือกใช้เกณฑ์ในการคํานวณรายรับ เพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตาม เกณฑ์เงินสด ในขณะที่เกณฑ์ในการคํานวณรายได้รายจ่ายเพื่อการ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเป็ นไปตามเกณฑ์สทิ ธิกต็ าม 5. เพือ่ ลดขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่จาํ เป็ น และไม่ได้มาตรฐาน เนื่องจากแผนภาษี อากรเป็ นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจมีความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจ ดังนัน้ ใน การวางแผนภาษี อ ากรจึง จํ า เป็ น อย่ า งยิ่ง ที่ต้ อ งทํ า การศึก ษาโครงสร้า งและ องค์ประกอบของธุรกิจ วิธกี ารดําเนินงานในทุกขัน้ ตอน เอกสารหลักฐานทางธุรกิจ และภาษีอากร หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทางภาษีอากรทีเ่ กีย่ วข้อง จึงทําให้มี การทบทวนแนวทางการปฏิบตั งิ านที่ทําให้สอดคล้องกัน ทัง้ ในทางธุรกิจและภาษี อากร ก่อให้เกิดการปรับปรุงระบบงาน และแนวทางปฏิบตั ทิ ส่ี มบูรณ์ในอันทีจ่ ะให้ ได้การปฏิบตั งิ านทีด่ ี รวดเร็ว มีประสิทธิภาพสูงสุด 6. การวางแผนภาษีอากรทีด่ ี และการดําเนินงานตามทีไ่ ด้วางแผนภาษีอากรดังกล่าว ย่อมทําให้ผปู้ ระกอบการคลายความกังวลต่อการถูกเรียกตรวจสอบภาษีอากรของ ทางราชการ เพราะมีขอ้ มูลทัง้ ในบัญชีและทางภาษีอากรที่เพียบพร้อม สามารถ ชีแ้ จงหรือแสดงหลักฐานข้อเท็จจริงต่างๆ ทางบัญชีการเงิน และบัญชีภาษีอากรแก่ เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบภาษีได้โดยชัดแจ้งอันจะทําให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่ ควรต้องเสียไป นอกเหนือไปจากการเสียโอกาสและความรูส้ กึ ทีด่ ี 7. เพื่อเสริมสร้างระบบการควบคุมภายในให้มปี ระสิทธิภาพ ในขัน้ ตอนการวางแผน ภาษีอากร ผูว้ างแผนต้องทําการศึกษาแนวทางปฏิบตั ิงานของธุรกิจที่จะวางแผน ภาษีอากร จึงทําให้มองเห็นป ญั หาอื่นในการบริหารงานที่ต้องขจัดเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะปญั หาการควบคุมภายในเพื่อให้ผลการปฏิบตั งิ านมีประสิทธิภาพสูงสุด


62 นอกจากนี้ในการวางแผนภาษีอากรจําเป็ นต้องอาศัยการควบคุมภายในที่ดคี วบคู่ กันไป การวางแผนภาษีอากรและการควบคุมภายในจึงเป็ นปจั จัยที่คู่ขนานและ ส่งเสริมกันในการบริหารงานทุกชนิด การวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. กําหนดวัตถุประสงค์การวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ในเบื้องต้นของการวางแผนภาษี ผูม้ หี น้าที่เสียภาษีควรกําหนดวัตถุประสงค์ของ การวางแผนภาษีไว้ชดั แจ้ง ดังนัน้ ในขัน้ ตอนแรกของการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผูม้ ี เงินได้จงึ ต้องกําหนดวัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีอากรให้แจ้งชัด เพื่อที่จะนํ าไปใช้เป็ น แนวทางในการปฏิบตั เิ กีย่ วกับการวางแผนภาษีอากรต่อไป อาทิ 1.1 เพื่อ ให้ก ารเสีย ภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดา เป็ น ไปโดยถู กต้อ ง และครบถ้ว น ตามทีก่ ฎหมายกําหนดบัญญัตไิ ว้ โดยไม่มกี ารหลีกเลีย่ งภาษีอากร 1.2 เพือ่ ให้ขจัดปญั หาเกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทีอ่ าจเกิดขึน้ ในทุกกรณี 1.3 เพื่อประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายทีอ่ าจเกิดขึน้ เนื่องจากการเสียภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา ไม่ถูกต้องได้แก่ 1.3.1 เบีย้ ปรับ และเงินเพิม่ ภาษี เพราะเหตุชาํ ระภาษีเงินได้ไว้ไม่ถูกต้อง (1) เบีย้ ปรับตามมาตรา 22 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากผูม้ เี งินได้ ถู ก เรีย กตรวจสอบภาษี เ งิน ได้ โดยเจ้า พนั ก งานประเมิน ออก หมายเรีย กตรวจสอบภาษี เ งิน ได้ต ามมาตรา19 แห่ ง ประมวล รัษฎากร เพราะเหตุทเ่ี จ้าพนักงานประเมินมีเหตุอนั ควรเชื่อว่า ผูม้ ี เงินได้แสดงรายการตามแบบที่ย่นื ไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริง หรือไม่บริบูรณ์ และเจ้าพนักงานประเมินได้ทําการประเมินตาม มาตรา20 หรือมาตรา 21 แห่งประมวลรัษฎากร ให้ผตู้ อ้ งเสียภาษี ต้องรับผิดเสียเบีย้ ปรับหนึ่งเท่าของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ (2) เบีย้ ปรับตามมาตรา 26 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากผูม้ เี งินได้ ถูกเรียกตรวจสอบภาษีเ งิน ได้ กรณี ผู้เ งิน ได้มิไ ด้ย่ืน แบบแสดง รายการภาษีเงินได้ตามมาตรา 23 แห่งประมวลรัษฎากร และเจ้า พนักงานประเมินได้ทาํ การประเมินตามมาตรา 24 หรือ มาตรา 25 แห่งประมวลรัษฎากร ให้ผตู้ อ้ งเสียภาษีตอ้ งรับผิดเสียเบีย้ ปรับสอง เท่าของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ (3) เงินเพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 27 บุคคลใดไม่เสียหรือนํ าส่งภาษีภายในกําหนดเวลา ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ ในหมวดต่ า งๆ แห่ ง ลัก ษณะนี้ เ กี่ย วกับ ภาษี อ ากร


63 ประเมิน ให้เสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของ เงินภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่งโดยไม่รวมเบีย้ ปรับในกรณีอธิบดีอนุ มตั ใิ ห้ ขยายกําหนดเวลาชําระหรือนําส่งภาษีและได้มกี ารชําระหรือนําส่งภาษี ภายในกํ า หนดที่ข ยายได้นัน้ เงิน เพิ่ม ตามวรรคหนึ่ ง ให้ล ดลงเหลือ ร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนการคํานวณเงินเพิม่ ตามวรรค หนึ่งและวรรคสอง ให้เริม่ นับเมื่อพ้นกําหนดเวลาการยื่นรายการหรือ นํ าส่งภาษีจนถึงวันชําระหรือนํ าส่งภาษี แต่เงินเพิม่ ที่คํานวณได้ มิให้ เกินจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่ง ไม่ว่าภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนํ าส่งนัน้ จะเกิด จากการประเมิน หรือ คํา สังของเจ้ ่ า พนั ก งาน หรือ คํา วินิ จ ฉัย อุทธรณ์ หรือคําพิพากษาของศาล” 1.3.2 ค่าปรับทางอาญาเนื่องจากการฝ่าฝื นหรือละเลยไม่ปฏิบตั ิตามหน้าที่ เกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ได้แก่ (1) กรณี ไ ม่ ย่ืน แบบแสดงรายการภาษี เ งิน ได้บุ ค คลธรรมดาครึ่ง ปี (ภ.ง.ด.94) หรือภาษีเงินได้ประจําปี (ภ.ง.ด.90) ผูม้ เี งินได้หรือผูม้ ี หน้ า ที่ ย่ืน แบบต้ อ งรับ ผิด ระวางโทษปรับ ไม่ เ กิ น 2,000 บาท (มาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร) (2) กรณีโดยรูอ้ ยู่แล้วหรือจงใจไม่ปฏิบตั ติ ามหมายเรียกหรือคําสังของ ่ อธิบดีหรือผู้ ซึง่ อธิบดีมอบหมายหรือสรรพากรจังหวัด เจ้าพนักงาน ประเมิน ผูว้ ่าราชการจังหวัด หรือกรรมการที่ออกตามมาตรา 12 ตรี มาตรา 19 มาตรา 23 หรือมาตรา 32 หรือไม่ยอมตอบคําถาม เมื่อซักถาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ (มาตรา 36 แห่งประมวลรัษฎากร) (3) ผูใ้ ด (3.1) โดยรูอ้ ยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถอ้ ยคํา เท็ จ หรื อ ตอบคํ า ถามด้ ว ยถ้ อ ยคํ า อัน เป็ น เท็ จ หรือ นํ า พยานหลัก ฐานเท็จ มาแสดงเพื่อ หลีก เลี่ย งการเสีย ภาษี อากรตามลักษณะ 2 แห่งประมวลรัษฎากร หรือ (3.2) โดยความเท็จ โดยฉ้ อ โกงอุ บ าย หรือ โดยวิธีก ารอื่น ใด ทํ า นองเดีย วกัน หรือ หลีก เลี่ย งการเสีย ภาษี อ ากรตาม ลัก ษณะ 2 แห่ ง ประมวลรัษ ฎากรต้อ งระวางโทษจํ า คุ ก ตั ้ง แต่ ส ามเดื อ นถึ ง เจ็ ด ปี และปรั บ ตั ้ง แต่ 2,000 ถึ ง 200,000 บาท มาตรา 37 แห่งประมวลรัษฎากร)


64 (3.3) ผูใ้ ดเจตนาละเลยไม่ยน่ื รายการทีต่ อ้ งยื่นเพื่อหลีกเลีย่ งหรือ พยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 5,000 บาทหรือจําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือทัง้ ปรับ ทัง้ จํา (มาตรา 37 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร) 2. กํา หนดคณะบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การวางแผนภาษี ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คล ธรรมดา การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา มีทงั ้ กรณีท่ตี ้องอาศัยบุคลากรที่เกี่ยวข้อง หลายๆ ฝ่ายร่วมปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีท่เี กิดขึ้นกับธุรกิจที่วางแผนภาษี อากร อาทิ ฝา่ ยจัดการ ฝา่ ยบุคลากร ฝา่ ยบัญชีและการเงิน ฝา่ ยกฎหมาย ผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษี อากร หรือทีป่ รึกษาทางภาษีอากร แต่ในบางกรณีผมู้ เี งินได้ทม่ี รี ายการเงินได้ทไ่ี ม่สลับซับซ้อน อาจเพียงแต่โทรศัพท์ถาม หรือปรึกษาผูท้ ่มี คี วามรู้ ซึ่งเป็ นผูท้ ่รี ูจ้ กั คุน้ เคย หรือเจ้าหน้าที่ของ กรมสรรพกรหรือในบางกรณีผูม้ เี งินได้อาจได้แนวทางการวางแผนภาษีจากศึกษาด้วยตนเอง ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ลักษณะของธุรกิจหรือการมีเงินได้ 3. ศึกษาหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ศึกษาหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขเกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทุกกรณีท่ี เกี่ยวข้องตลอดจนแนววินิจฉัยข้อกฎหมายหรือคําพิพากษาของศาล แนวคําตอบข้อหารือหรือ แนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของกรมสรรพากรทุกประเด็น 4. ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนิ นธุรกิ จตลอดจนเอกสารทาง ธุรกิ จ ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนินธุรกิจตลอดจนเอกสารทางธุรกิจ นัน้ พิจารณาว่าขัน้ ตอนใด หรือกรณีใดมีประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร 5. ดําเนิ นการวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 5.1 กําหนดประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการ ของผูม้ เี งินได้ทจ่ี ะวางแผนภาษีอากรอย่างเป็ นระบบทุกกรณีและทุกขัน้ ตอนใน บางกรณีการดําเนินธุรกิจขัน้ ตอนหนึ่งๆ อาจมีประเด็นภาษี และวิธกี ารปฏิบตั ิ ทางภาษีแตกต่างกันหลายประเด็น 5.2 เลือกช่องทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในอันทีจ่ ะทําให้กจิ การ ได้รบั ประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุดไม่เสีย่ งต่อการถูกลงโทษทางภาษีอากร ซึง่ ในบางกรณีอาจจําเป็ นต้องจัดรูปแบบขององค์การ รูปแบบของเอกสารหลักฐาน ตลอดจนปญั หาหรือนิตกิ รรมต่างๆ เพือ่ รองรับการวางแผนภาษีอากร ทัง้ นี้ โดย


65 ให้การปฏิบตั กิ ารทางภาษีอากรสอดคล้องกับการประกอบการอันเป็ นปกติทาง ธุรกิจของกิจการนัน้ ๆ 6. ติ ดตามประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งาน ติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อนํ ามาประมวลและ ปรับปรุงการวางแผนภาษีอากรต่อไป เป็ นที่เข้าใจโดยทัวไปว่ ่ า การวางแผนภาษีอากรต้องอาศัยความรอบรู้และความ ละเอียดรอบคอบของผูด้ ําเนินการวางแผนภาษีอากรอย่างยิง่ และต้องกระทําอย่างต่อเนื่องจึง บรรลุผลสําเร็จสูงสุด การวางแผนกระจายฐานภาษี ดังได้กล่าวมาแล้วว่า อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็ นอัตราภาษีแบบก้าวหน้า โดย อัตราภาษีจะเพิม่ สูงขึน้ เมื่อมีเงินได้สุทธิมากขึน้ หรือมีฐานภาษีมากขึน้ ดังนัน้ วิธกี ารวางแผน ภาษีท่นี ิยมกระทําประการหนึ่ง คือการแยกหน่ วยทางภาษีออกไป เพื่อให้ฐานภาษีของหน่ วย ทางภาษีหรือมีเงินได้เดิมลดลงโดยการจัดตัง้ เป็ นห้างหุน้ ส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นิติ บุคคล การวางแผนภาษีเงินบุคคลธรรมดาโดยวิธกี ารกระจายฐานภาษีเป็ นวิธที ไ่ี ด้ผล และมีผู้ นิยมกระทําการอย่างแพร่หลายในทุกกลุ่มวิชาชีพ เช่น คณะแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชน การ ประกอบธุรกิจการค้าสถาปนิก วิศวกร แม้กระทังการฝากธนาคาร ่ ผู้ประกอบอาชีพตัวแทน นายหน้าขายสินค้า ขายประกันภัย หรือตัวแทนการขายตรง อย่า งไรก็ต ามการตัง้ คณะบุ ค คลหรือห้า งหุ้นส่ว นสามัญ ที่ไม่จ ดทะเบียนนี้ จะกระทํา ระหว่างสามีและภริยาไม่ได้ ผลพลอยได้อกี ประการหนึ่งด้วยวิธกี ารตัง้ หน่ วยทางภาษีขน้ึ ใหม่ในรูปของห้างหุน้ ส่วน สามัญ หรือ คณะบุ ค คลที่มิใ ช่ นิ ติบุ ค คล โดยเฉพาะผู้ท่ีมีเ งิน ได้ท่ีเ ป็ น คนโสด ซึ่ง เดิม หัก ค่ า ลดหย่อนส่วนบุคคลในฐานะผูม้ เี งินได้เพียงคนเดียวเมื่อตัง้ หน่ วยภาษีขน้ึ ใหม่ นอกจากจะเป็ น การกระจายฐานภาษีดงั กล่าวข้างต้นแล้ว ยังทําให้สามารถลดหย่อนหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วนและ บุคคลในฐานะบุคคลทีเ่ ป็ นผูท้ อ่ี ยูใ่ นประเทศไทยได้อกี 2 เท่าของค่าลดหย่อนส่วนบุคคลสําหรับผู้ มีเงินได้ทเ่ี ป็ นคนโสดหรือไม่มคี สู่ มรส การวางแผนเกี่ยวกับประโยชน์ เพิ่ มพิ เศษ ในป จั จุ บ นั กีฬ ากอล์ฟ เป็ นกีฬ าที่ได้รบั ความนิ ย มกัน อย่า งแพร่ห ลายในหมู่ผู้บ ริห าร ระดับสูงของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล รวมทัง้ การสันทนาการในสโมสรต่างๆ เกี่ยวกับ เรื่องนี้กรมสรรพากรได้ออกคําสังที ่ ่ ป.56/2538 เรื่อง การกําหนดรายจ่ายในการคํานวณกําไร สุทธิของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2538 เพื่อให้เจ้าพนักงาน


66 สรรพากรถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ใิ นการพิจารณารายการที่ไม่ให้ถอื เป็ นรายจ่ายในการคํานวณ กําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลตามมาตรา 65 ตรี (4) แห่งประมวลรัษฎากร และได้กล่าวถึงประโยชน์เพิม่ ของผูไ้ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากรายจ่าย ดังกล่าวโดยให้มผี ลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2538 เป็ นต้นมา ดังนี้ ข้อ 1 กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้จา่ ยเงินดังต่อไปนี้ (1) เงินค่าสมัคร เงินประกัน เงินมัดจํา เงินจ่ายล่วงหน้าเพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย หรือ เงินอื่นทีจ่ ่ายไปในลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อให้ได้มาเพื่อสิทธิในการเป็ น สมาชิกสนามกอล์ฟ สโมสรกีฬา (Sport Club) หรือสโมสรเพื่อการพักผ่อน หรือการสันทนาการ (Member Club) (2) เงินค่าเล่นกอล์ฟ ค่าเล่นกีฬา ค่าตอบแทนเพือ่ การพักผ่อนหรือสันทาการใน การใช้สทิ ธิตาม (1) หากการใช้สทิ ธิตามวรรคหนึ่งเป็ นการจ่ายตามข้อกําหนดในลักษณะเป็ นการ จํากัดเฉพาะตัวบุคคลบางคนซึง่ เป็ นกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่น ในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ให้เข้าไปใช้ บริการได้ ไม่ว่าจะมีการนําบุคคลอื่นทีไ่ ม่ใช่กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคล เข้าไปใช้บริการด้วยหรือไม่กต็ ามให้ถอื ว่ารายจ่ายดังกล่าวเข้าลักษณะเป็ นรายจ่ายเป็ น การส่วนตัว ไม่ถอื เป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่ง ประมวลรัษฎากร หากการจ่ายเงินตามวรรคหนึ่ง เป็ นการจ่ายตามข้อกําหนด เพื่อให้การ รับรองลูกค้าหรือบุคคลตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ.2522) ออกตาม ประมวลรัษฎากรว่าด้วยภาษีเงินได้ตามมาตรา 65 ตรี (4) แห่งประมวลรัษฎากร และใน การรับรองดังกล่าวเปิ ดโอกาสให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นใน ตําแหน่ งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เข้าใช้บริการ ได้เ ป็ น การทัว่ ไป ให้ถือ ว่ า รายจ่ า ยดัง กล่ า วเข้า ลัก ษณะเป็ น ค่ า รับ รองที่ถือ ว่ า เป็ น รายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิได้ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ.2522) ออกตาม ความประมวลรัษฎากร ว่าด้วยภาษีเงินได้ ตามมาตรา 65 ตรี (4) แห่งประมวลรัษฎากร ข้อ 2 กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลจ่ายเงินตามข้อ 1 วรรคสอง ให้ถอื ว่า เงิน ดังกล่าวเป็ นประโยชน์ทก่ี รรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นใน ตําแหน่ งในลักษณะในทํานองเดียวกันของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุค คล ได้รบั เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ของ


67 กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือบุ ค คลอื่นในตํ าแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกัน นัน้ ข้อ 3 กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลมอบสิทธิตามข้อ 1 วรรคสาม ให้แก่ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือบุ ค คลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกันโดยเด็ดขาดไม่ว่าในกรณีใด หรือในกรณีการออกจากบริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คล ให้ถือ ว่า เงิน ดัง กล่ า วเป็ น ประโยชน์ ท่ีก รรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกัน ของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้รบั เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมิน ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ของกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคล อื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันนัน้ ข้อ 4 คําสังนี ่ ้ให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2538 เป็ นต้นไป จากคําสังกรมสรรพากรดั ่ งกล่าวอาจแยกพิจารณาเกีย่ วกับประโยชน์เพิม่ ซึง่ เข้าลักษณะ เป็ นเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ 1. เงินทีถ่ อื เป็ นประโยชน์เพิม่ เติม 1.1 เงินทีจ่ ะถือเป็ นประโยชน์เพิม่ เติม ได้แก่ 1.1.1 เงินค่าสมาชิก เงินประกัน เงินมัดจํา เงินจ่ายล่ว งหน้ า เพื่อเป็ น ค่าใช้จา่ ยหรือเงินอื่น ทีจ่ ่ายไปใด้ ลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อการ ได้มาซึง่ สิทธิในการเป็ นสมาชิกสนาม กอล์ ฟ สโมสรกี ฬ า (Sport Club) หรือ สโมสรเพื่อ การพัก ผ่ อ นหรือ สัน ทนาการ (Member Club) 1.1.2 เงินค่าเล่นกอล์ฟ ค่าเล่นกีฬา ค่าตอบแทนเพื่อการพักผ่อนหรือ สันทนาการในการใช้สทิ ธิตาม 1.1.1 1.2 ลักษณะการจ่าย 1.2.1 เป็ น การจ่า ยตามข้อ กํา หนดในลัก ษณะเป็ น การจํา กัด เฉพาะตัว บุคคลบางคนซึง่ เป็ น กรรมการ พนัก งาน ลู ก จ้า ง ที่ป รึก ษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลให้เข้าไปใช้บริการได้ ไม่วา่ จะมีการนําบุคคลอื่นที่ ไม่ ใ ช่ ก รรมการ พนั ก งาน ลู ก จ้า ง ที่ป รึก ษา หรือ บุ ค คลอื่น ใน ตําแหน่ง ใน ลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคล เข้าไปใช้บริการด้วย หรือไม่กต็ าม


68 1.1.2 เป็ นการจ่ายตามข้อกําหนดเพือ่ ให้การรับรองลูกค้า หรือบุคคลอื่นที่ มิใช่ลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และในการรับรอง ดังกล่าวเปิ ดโอกาสให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิติบุคคล เข้าใช้บริการได้เป็ นการทัวไป ่ และบริษัทหรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้มอบสิทธิการเป็ นสมาชิกให้แก่กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกันเด็ดขาด ไม่ว่าในกรณีใด หรือในกรณีการออกจาก บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล 1.3 การรับรูป้ ระโยชน์เพิม่ ให้ถอื ว่า การจ่ายเงินตามข้อ 1.2 เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมินตาม มาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือ (2) แห่งประมวล รัษฎากรของกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะทํานอง เดียวกันนัน้ ในปี ทไ่ี ด้รบั สิทธิทงั ้ จํานวน 2. การวางแผนเกีย่ วกับการจ่ายประโยชน์เพิม่ เป็ นค่าสมาชิกสนามกอล์ฟ 2.1 กําหนดเงื่อนไขในการจ่ายค่าสมาชิก เงินประกัน เงินมัดจํา เงินจ่าย ล่วงหน้า เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายหรือเงินอื่นทีจ่ ่ายไปในลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อการได้มาซึ่งสิทธิในการเป็ นสมาชิกสนามกอล์ฟ สโมสรกีฬา (Sport Club) หรือ สโมสร เพื่อการพักผ่อนหรือสันทนาการ (Member Club) เงิน ค่าเล่นกอล์ฟ ค่าเล่นกีฬา ค่าตอบแทนเพื่อการพักผ่อน หรือสันทนาการ ให้ ชัด แจ้ง ว่า จ่ า ยเพื่อ ให้ก ารรับ รองลูก ค้า หรือ บุ ค คลอื่น ที่มิใ ช่ลูกจ้า งของ บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คล เพื่อ ป้ องกัน มิใ ห้ถือ เป็ น รายจ่ า ยอัน มี ลักษณะเป็ นการส่วนตัวหรือให้โดยเสน่ หา ตามาตรา 65 ตรี (3) แห่ง ประมวลรัษฎากร 2.2 ในเงื่อนไขการรับรองดังกล่าว ให้มขี อ้ กําหนดให้เปิ ดโอกาสให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะในทํานอง เดีย วกันหรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ ค คล เข้า ใช้บ ริก ารได้เ ป็ น การ ทัวไป ่ 2.3 บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลไม่พงึ มอบสิทธิการเป็ นสมาชิกให้แก่ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกันโดยเด็ดขาด ไม่ว่าในกรณีใด หรือแม้ในกรณีการออกจาก บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เพื่อป้องกันมิให้ถอื เป็ นประโยชน์เพิม่ อัน


69 เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร กลยุทธ์ในการวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. เลือกมีเงิ นได้ที่ได้รบั ยกเว้นภาษี ภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดาเป็ น ภาษีท่ีมีก ารยกเว้น มากที่สุ ด กล่ า วได้ว่า ใน ปจั จุบนั มีเงินได้ไม่ต่ํากว่า 100 รายการทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การยกเว้นนัน้ มีทงั ้ ทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 42, กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509), พระราชกฤษฎีกา และพระราชบัญญัตติ ่างๆ 2. เลือกมีเงิ นได้ที่หกั ค่าใช้จ่ายได้มากกว่า ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 แบ่งเงินได้พงึ ประเมินออกเป็ น 8 ประเภท ซึง่ เงิน ได้พงึ ประเมินแต่ละประเภทสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ไม่เท่ากัน และบางประเภท ได้แก่ เงินได้จากค่าสิทธิ (ยกเว้นค่าลิขสิทธิ ์) และเงินได้จากการลงทุนหักค่าใช้จ่าย ไม่ได้ ฉะนัน้ หากเลือกเงินได้ทห่ี กั ค่าใช้จ่ายได้ย่อมจะเสียภาษีน้อยกว่าการมีเงินได้ ทีห่ กั ค่าใช้จ่ายไม่ได้ และหากมีเงินได้ทห่ี กั ค่าใช้จ่ายได้กค็ วรจะเลือกมีเงินได้ท่หี กั ค่าใช้จา่ ยได้มากกว่า การหักค่าใช้จ่ายได้มากกว่าย่อมจะทําให้เงินได้สุทธิน้อยลง เพราะเงิน ได้สุทธิมที ม่ี าจาก “เงินได้พงึ ประเมินหักด้วยค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน” เมื่อเงินได้ สุทธิน้อยลง ภาษีทจ่ี ะต้องเสียก็น้อยลงด้วย 3. เลือกเงิ นได้ที่หกั ค่าลดหย่อนได้มากกว่า เงินได้พงึ ประเมินเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้ว เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผมู้ ี เงินได้ ประมวลรัษฎากรจึงกําหนดให้หกั ค่าลดหย่อน (Allowances) ได้อกี ค่า ลดหย่อนแตกต่ างกับค่าใช้จ่ายในข้อที่ว่า ค่าใช้จ่ายเป็ นต้นทุนหรือเงินที่จ่ายไป เพื่อให้ได้มาซึง่ เงินได้ แต่ค่าลดหย่อนเป็ นตัวบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผเู้ สียภาษี ทํา ให้ประชาชนเสียภาษีน้อยลงหรืออาจจะไม่ตอ้ งเสียภาษีกไ็ ด้ ยามใดทีร่ ฐั บาลเห็นว่า ประชาชนต้องเผชิญกับปญั หาเศรษฐกิจ รายได้ไม่พอกับรายจ่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ ก็อาจจะ มีการออกกฎหมายเพิม่ ค่าลดหย่อนให้มากขึน้ เงินได้สุทธิทจ่ี ะนํ าไปคํานวณอัตรา ภาษีกน็ ้อยลง เมื่อเงินได้สุทธิน้อยลง ภาษีท่ปี ระชาชนจะต้องเสียก็ลดน้อยลงด้วย หรืออาจจะไม่ตอ้ งเสียภาษีเลยก็ได้ นอกจากนี้รฐั บาลยังใช้คา่ ลดหย่อนเป็ นเครือ่ งมือ ในด้านต่างๆ เช่น ส่งเสริมความมันคงให้ ่ แก่ชวี ติ และครอบครัว ส่งเสริมการศึกษา การช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน เป็ นต้น


70 4. เลือกนําหรือไม่นําเงิ นได้ที่ถกู หักภาษี ณ ที่จ่ายแล้วมาคํานวณภาษี การเสียภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่าย ถือเป็ นการเสียภาษีล่วงหน้า (Advance Tax) จํานวนเงินภาษีทห่ี กั และนํ าส่งไว้ ถือเป็ นเครดิตของผูเ้ สียภาษีในการคํานวณภาษี (ประมวลรัษฎากร มาตรา 60) ฉะนัน้ เมื่อถึงกําหนดเวลายื่นรายการ ผูเ้ สียภาษีจงึ ต้องนํ าเงินได้ทถ่ี ูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายไปนัน้ มารวมคํานวณภาษี เป็ นเงินภาษีเท่าใด ให้นําภาษีทถ่ี ูกหัก ณ ทีจ่ า่ ยนัน้ มาเครดิต ผลต่างคือ ภาษีทต่ี อ้ งชําระเพิม่ หรือขอคืน แล้วแต่กรณี เงินได้ทผ่ี มู้ เี งินได้มสี ทิ ธิเลือกทีจ่ ะนําเงินได้ทถ่ี ูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายไปแล้วมารวม คํานวณภาษีในแบบ ภ.ง.ด. หรือไม่กไ็ ด้ มีดว้ ยกัน 6 ประเภท ได้แก่ (1) ดอกเบี้ย พัน ธบัต ร ดอกเบี้ย เงิน ฝากประจํา ของธนาคารและสหกรณ์ ใ น ราชอาณาจัก ร ดอกเบี้ย หุ้น กู้ ดอกเบี้ย ตัว๋ เงิน ที่ไ ด้จ ากบริษัท หรือ ห้า ง หุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่น ดอกเบี้ยที่ได้จากสถาบันการเงินที่มี กฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัด ตัง้ ขึ้น สํา หรับ ให้กู้ย ืม เงิน เพื่อ ส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม (ถูกหักภาษี ณ ที่ จ่ายร้อยละ 15) (2) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจําหน่ ายตั ๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิ ในหนี้ทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อก (ถูกหัก ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยร้อยละ 15) (3) ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากการโอนพันธบัตร หุน้ กู้ หรือตั ๋วเงินหรือตราสารแสดง สิทธิในหนี้ทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคลอื่น เ ป็ น ผู้ อ อ ก ทัง้ นี้เฉพาะทีต่ รี าคาเป็ นเงินได้เกินกว่าทีล่ งทุน (ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายร้อย ละ 15) (4) เงินป นั ผล หรือเงินส่ว นแบ่งกําไรที่ได้รบั จากบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติ บุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย (ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยร้อยละ 10) (5) เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้รบั มาโดยทางมรดกหรือการให้ โดย เสน่ ห า หรือ ที่ไ ด้ม าโดยมิไ ด้มุ่ ง ในทางการค้า หรือ หากํ า ไร (ประมวล รัษฎากร มาตรา 48 (4) และเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ภายใน 5 ปี นับแต่วนั ทีไ่ ด้มาตามมาตรา 4 (6) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความ ในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางการค้าหรือหา กําไร (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 ซึ่งได้ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายตามประมวล รัษฎากร มาตรา 50 (5) และได้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (พระราชกฤษฎีกา


71 ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการ ยกเว้ น รั ษ ฎากร (ฉบั บ ที่ 376) พ.ศ.2544 มาตรา 3) (6) เงินได้ท่ีนายจ้างจ่า ยให้ค รัง้ เดีย วเพราะเหตุ ออกจากงาน เช่น บําเหน็ จ ค่าชดเชย เงินได้จากดอกเบีย้ ผลต่าง และผลประโยชน์ตามข้อ 1 ถึงข้อ 3 ทีถ่ ูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายในอัตราร้อยละ 15 นัน้ หากเลือกนํามารวมคํานวณภาษีในแบบ ภ.ง.ด. แล้วทําให้เสียภาษีเพิม่ ขึน้ ก็ไม่ควรนํามารวมคํานวณ แต่ถา้ ทําให้ได้รบั การคืนภาษีก็ ควรนํามารวมคํานวณเงินได้จากเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรตามข้อ 4 ควรจะ นํ ามารวมคํานวณในแบบ ภ.ง.ด. เพราะจะได้รบั การคืนภาษี เงินได้จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ตามข้อ 5 ควรจะนํ ามารวมคํานวณในแบบ ภ.ง.ด. หรือไม่ ขึน้ อยู่ กับว่าคํานวณแล้วทําให้เสียภาษีเพิม่ ขึน้ หรือไม่ เงินได้ท่นี ายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียว เพราะเหตุออกจากงานตามข้อ 6 นัน้ ผูม้ เี งินได้ไม่ต้องนํ ามารวมคํานวณในแบบ ภ.ง.ด. ช่วยให้ไม่ต้องเสียภาษีเพิม่ ขึน้ และเงินส่วนแบ่งกําไรที่ผูล้ งทุน ซึ่งเป็ นผูม้ ี หน้ า ที่ เ สี ย ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดาได้ ร ับ จากกองทุ น รวมที่ จ ัด ตั ง้ ขึ้น ตาม พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ผูล้ งทุนมีสทิ ธิเลือกเสีย ภาษีโดยให้กองทุนรวมหักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 10 และถือเป็ นภาษี สุดท้าย (Final Tax) ได้ 5. เลือกแยกหรือไม่ยื่นแบบ ภ.ง.ด. ระหว่างสามีภริ ยา เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร หรือเงินได้ประเภท เงินเดือนค่าจ้างนัน้ สามีภริยามีสทิ ธิเลือกแยกหรือไม่แยกยื่นแบบ ภ.ง.ด. ต่างหาก จากกัน ฉะนัน้ หากแยกยื่น (แยกคํานวณ) แล้วช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลงก็ควรจะ แยกยืน่ (แยกคํานวณ) 6. เลือกจัดตัง้ ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบคุ คล กรณีทผ่ี มู้ เี งินได้มากและต้องเสียภาษีในอัตราสูง การจัดตัง้ ห้างหุน้ ส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคลจะช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลง 7. เลือกจัดตัง้ และจดทะเบียนบริ ษทั จํากัด ผู้มเี งินได้จากการประกอบธุ รกิจ หากประมาณการแล้วมีกําไรสุทธิเกินปี ล ะ 1,500,000 บาท ควรจัดตัง้ และจดทะเบียนบริษทั จํากัดที่มที ุนชําระแล้วในวัน สุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5,000,000 บาท เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติ บุคคลในอัตราร้อยละ 15, 25 และ 30 ของกําไรสุทธิ (กําไรสุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ได้รบั การยกเว้นภาษี)


72 8. เลือกกระจายรายได้ให้บคุ คลอื่น ผูม้ เี งินได้มากและต้องเสียภาษีในอัตราสูง หากกระจายรายได้ให้บุคคลอื่น จะ ช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลง เช่น การจดทะเบียนสิทธิเก็บกินในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ บุ ค คลอื่น อาทิ บิด ามารดา แล้ว ให้บุ ค คลอื่น นั น้ นํ า อสัง หาริม ทรัพ ย์นั น้ ไปหา ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ ท่ไี ด้รบั ก็ตกเป็ นของบุคคลนัน้ บุคคลนัน้ เป็ นผูต้ ้องเสีย ภาษีจากผลประโยชน์ทไ่ี ด้รบั เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ไม่ตอ้ งนําผลประโยชน์นนั ้ มา รวมคํานวณภาษี จึงช่วยให้เสียภาษีน้อยลง อย่างไรก็ดี การจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน นัน้ จะต้องมีเจตนาให้สทิ ธิเก็บกินจริงๆ มิใช่ทาํ ขึน้ เพือ่ หนีภาษี (Tax Evasion) 9. การขอคืนภาษี ต้องตรวจสอบให้ถี่ถ้วน (Tax Audit) ก่อนว่ามีสิทธิ ได้รบั คืนหรือไม่ กรณีผมู้ เี งินได้จะขอคืนภาษี ควรจะตรวจสอบให้ถถ่ี ว้ น (Tax Audit) ก่อนว่ามี สิทธิได้รบั คืนหรือไม่ มิฉะนัน้ แทนทีจ่ ะได้รบั ภาษีคนื กลับจะต้องเสียภาษีเพิม่ ขึน้ ก็ ได้ 10. ทําบัญชีและเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี แม้ผเู้ สียภาษีทเ่ี ป็ นบุคคลธรรมดาหรือห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคลเพียงบางรายเท่านัน้ ทีม่ หี น้าทีต่ อ้ งทําบัญชี แต่ผเู้ สียภาษีทุกรายก็ควรจะ ทําให้ผมู้ เี งินได้กรอกแบบ ภ.ง.ด. และเสียภาษีถูกต้องครบถ้วน และกรณีทถ่ี ูกเจ้า พนักงานประเมินออกหมายเรียกตรวจสอบไต่สวน จะได้มหี ลักฐานทีจ่ ะพิสจู น์ได้ การวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล 1. กําหนดนโยบายการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล การก่ อ ตัว ของนโยบายที่นํ า ไปสู่ ค วามสํ า เร็จ ในการนํ า ไปถื อ ปฏิบ ัติ ท ัง้ หลาย โดยเฉพาะนโยบายทีม่ ผี ลต่อองค์การอย่างยิง่ เช่น นโยบายการวางแผนภาษีอากรส่วน ใหญ่ จ ะกํา หนดโดยผู้บ ริห ารระดับ สูง ที่เ ล็ง เห็น ความสํา คัญ หรือ ประโยชน์ ข องการ วางแผนภาษีอากรในอันที่จะป้องกันปญั หาที่อาจเกิดกับองค์การพร้อมๆ กันหลายๆ ทาง นโยบายการวางแผนภาษีเ งิน ได้นิ ติบุ ค คลควรกํ า หนดให้แ จ้ง ชัด โดยคํา นึ ง ถึง ขอบเขตหรือวัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เพื่อทีผ่ นู้ ํานโยบายการ วางแผนภาษีอากรไปถือปฏิบตั จิ ะสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างเห็นผล อาทิ 1.1 เพื่อให้การเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของกิจการเป็ นไปโดยถูกต้องและครบถ้วน ตามที่กฎหมายกําหนดบัญญัติไว้ โดยไม่มกี ารหลีกเลี่ยงภาษีอากร เนื่องจาก ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลมีบทบัญญัตทิ เ่ี กี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์ในทางการบัญชีอยู่ มาก ซึง่ มีทงั ้ ประเด็นทีส่ อดคล้องกันและขัดแย้งกัน ทีอ่ าจทําให้อาจมีการปฏิบตั ิ


73 ที่ผิดพลาดในการยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเ งินได้นิติบุ ค คลได้ จึง จําเป็ นต้องกําหนดนโยบายข้อนี้ให้ชดั แจ้ง เพือ่ ให้สามารถนําไปถือเป็ นแนวทาง ปฏิบตั เิ พือ่ การเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต่อไป 1.2 เพื่อให้ขจัดปญั หาในการเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของกิจการ ที่อาจเกิดขึน้ ใน ทุกกรณี การวางแผนภาษีอากรเป็ นเครื่องช่วยชีท้ างปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกต้องให้แก่ธุรกิจ นอกเหนือไปจากการเสียภาษีอากรให้ถูกต้องครบถ้วน เพื่อป้องกันและแก้ไข ปญั หาภาษีอากรทีอ่ าจมีขน้ึ ในอนาคต 1.3 เพื่อประหยัดหรือลดทอนค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน้ เนื่องจาก การเสียภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลไม่ถูกต้องครบถ้วน ได้แก่ (1) เบี้ยปรับ เพราะเหตุทผ่ี ปู้ ระกอบการชําระภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลขาดไปหรือ น้อยกว่าจํานวนที่พงึ ต้องเสีย หรือไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขของกฎหมายใน บางกรณี ได้แก่ (ก) เบี้ยปรับตามมาตรา 22 แห่งประมวลรัษฎากร กรณีเจ้าพนักงาน ประเมินได้ออกหมายเรียกตรวจสอบภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 19 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากเจ้าพนักงานประเมินเหตุอนั ควรเชื่อว่าบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิ ติบุ ค คลนัน้ ยื่น แบบแสดงรายการไว้ไ ม่ถู ก ต้อ งตามความเป็ น จริง หรือไม่บริบูรณ์ และเจ้าพนักงานประเมินได้ทําการประเมินเรียกเก็บ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเพิม่ เติมตามมาตรา 20 หรือมาตรา 21 แห่ง ประมวลรัษฎากร บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนัน้ ต้องรับผิดเสีย เบีย้ ปรับมาตรา 22 แห่งประมวลรัษฎากร อีกหนึ่งเท่าของจํานวนเงิน ภาษีทต่ี อ้ งชําระ (ข) เบี้ย ปรับ ตามมาตรา 26 แห่ ง ประมวลรัษ ฎากร กรณี เ จ้า พนั ก งาน ประเมินได้ออกหมายเรียกตรวจสอบภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 23 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ มิได้ย่นื แบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด.51) และเจ้าพนักงาน ประเมินได้ทําการประเมินเรียกเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเพิม่ เติมตาม มาตรา 24 หรือมาตรา 25 แห่งประมวลรัษฎากร บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิติบุคคลนัน้ ต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับตามมาตรา 26 แห่งประมวล รัษฎากร อีกสองเท่าของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ


74 (2) เงิน เพิ่ม ภาษี เพราะเหตุ ท่ีผู้ป ระกอบการชํา ระภาษีอ ากรล่ า ช้า หรือ เกิน ระยะเวลาทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมาย ได้แก่ (ก) เงินเพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลและชําระหรือนํ าส่งภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ล่าช้ากว่าทีก่ ฎหมายกําหนดดังนี้ “มาตรา 27 บุคคลใดไม่เสียหรือนํ าส่งภาษีภายในกําหนดเวลาตามที่ บัญญัตไิ ว้ในหมวดต่างๆ แห่งลักษณะนี้เกีย่ วกับภาษีอากรประเมิน (ได้แก่ หมวด 3 ภาษีเงินได้ ในลักษณะ 2 ภาษีอากรฝา่ ยสรรพากร) ให้เสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่ง โดยไม่รวมเบีย้ ปรับ ในกรณีอธิบดีอนุ มตั ใิ ห้ขยายกําหนดเวลาชําระหรือนําส่งภาษี และได้มี การชําระหรือนํ าส่งภาษีภายในกําหนดเวลาที่ขยายได้นัน้ เพิม่ ตามวรรค หนึ่งให้ลดลงเหลือร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรือเศษของเดือน การคํา นวณเงิน เพิ่ม ตามวรรคหนึ่ ง และวรรคสอง ให้เ ริ่ม นับ เมื่อ พ้น กําหนดเวลาการยืน่ รายการหรือนําส่งภาษีจนถึงวันชําระหรือนําส่งภาษี แต่ เงินเพิม่ ทีค่ ํานวณได้มใิ ห้เกินจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่วนไม่ว่าภาษีท่ี ต้องเสียหรือนํ าส่งนัน้ จะเกิดจากการประเมินหรือคําสังของเจ้ ่ าพนักงาน หรือคําวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือคําพิพากษาของศาล” (ข) เงินเพิม่ ตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากชําระภาษี เงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ล่าช้ากว่าที่กําหนดไว้ในมาตรา 67 ทวิ แห่ง ประมวลรัษฎากร “มาตรา 67 ตรี ในกรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลไม่ย่นื รายการ และชําระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (1) หรือยื่นรายการชําระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (1) โดยแสดงประมาณการกําไรสุทธิขาดเกินไปร้อยละ 25 ของกําไร สุทธิซ่งึ ได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่กระทําในรอบระยะเวลาบัญชี นัน้ โดยไม่มเี หตุอนั สมควร บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ ต้องเสียเงิน เพิม่ อีกร้อยละ 25 ของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระตามมาตรา 67 ทวิ (1) หรือของกึ่งหนึ่ งของจํานวนเงินภาษีท่ตี ้องเสียในรอบระยะเวลาบัญชีนัน้ หรือของภาษีทช่ี าํ ระขาดแล้วแต่กรณี ในกรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลไม่ย่นื รายการและชําระภาษี ตามมาตรา 67 ทวิ (2) หรือยื่นรายการและชําระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (2) ไว้ไม่ถูกต้องโดยไม่มเี หตุอนั สมควร ทําให้จํานวนภาษีท่ตี ้องชําระขาดไป


75 บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ ต้องเสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 20 ของ จํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระตามมาตรา 67 ทวิ (2) หรือของภาษีทช่ี าํ ระขาด แล้วแต่กรณี เงินเพิม่ ตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ถอื เป็ นค่าภาษี และอาจลดลงได้ ตามระเบียบทีอ่ ธิบดีกาํ หนดโดยอนุ มตั ริ ฐั มนตรี (ค) เงินเพิม่ ตามมาตรา 71 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 71 ในกรณีท่ี (1) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด มิได้ลงรายการ หรือลงรายการ ไม่ครบถ้วน หรือไม่ตรงตามความจริงในบัญชีตามที่กําหนดไว้ใน มาตรา 17 และมาตรา 68 ทวิ เป็ นเหตุให้ไม่ตอ้ งเสียภาษีหรือเสีย ภาษีน้อยลง เจ้าพนักงานประเมินมีอํานาจประเมินภาษีทข่ี าดตาม อัตราภาษีในมาตรา 67 และอาจสังให้ ่ ผตู้ อ้ งเสียภาษีเสียเงินเพิม่ ขึน้ อีก 2 เท่าของจํานวนภาษีทข่ี าดก็ได้” (ง) เงินเพิม่ ตามมาตรา 72 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 72 ในกรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเลิกกัน ให้ผชู้ าํ ระ บัญชีและผูจ้ ดั การมีหน้าทีร่ ่วมกันแจ้งให้เจ้าพนักงานประเมินทราบการเลิก ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ คคลนัน้ ภายในสิบ ห้าวันนับ แต่ ว นั ที่เ จ้า พนักงานรับจดทะเบียนเลิก ถ้าบุคคลดังกล่าวไม่ปฏิบตั ติ าม เจ้าพนักงาน ประเมินอาจสังให้ ่ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ เสียเงินภาษีเพิม่ ขึน้ อีก 1 เท่าของจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสีย เงินนี้ถอื เป็ นค่าภาษี” (2) ค่าปรับทางอาญา เนื่องจากการทีผ่ ปู้ ระกอบการ จงใจ ฝา่ ฝื น หรือละเลยไม่ ปฏิบตั ติ ามหน้าทีท่ บ่ี ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ดังนี้ (ก) กรณี บ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลใดรู้อ ยู่ แ ล้ว ไม่ อํ า นวยความ สะดวกหรือขัดขวางเจ้าพนักงานผูก้ ระทําตามหน้าทีใ่ นการตรวจค้น ยึด อายัด บัญ ชี เอกสาร หรือ หลัก ฐานอื่น ที่เ กี่ย วข้อ งหรือ สัน นิ ษ ฐานว่ า เกี่ยวกับภาษีอากรตามมาตรา 3 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จํา (มาตรา 3 นว แห่งประมวลรัษฎากร) (ข) กรณี บ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลได้จ ัด ทํ า บัญ ชี เอกสาร หรือ หลักฐานซึง่ เกีย่ วกับหรือเจ้าพนักงานสันนิษฐานว่าเกีย่ วกับภาษีอากรที่ ต้อ งเสีย เป็ น ภาษาต่ า งประเทศเจ้า พนั ก งานประเมิน หรือ พนั ก งาน เจ้าหน้าทีม่ อี าํ นาจสังให้ ่ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ จัดการแปล


76 เป็ นภาษาไทยให้เสร็จภายในเวลาอันสมควรก็ได้ ตามมาตรา 3 ฉ แห่ง ประมวลรัษ ฎากร หากบริษัท หรือห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลใดฝ่า ฝื น ไม่ ปฏิบตั ติ ามคําสังของเจ้ ่ าพนักงานหรือพนักงานเจ้าหน้าทีด่ งั กล่าว ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 3 ทศ แห่งประมวล รัษฎากร) (ค) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมิได้ขอมีและใช้เลขประจําตัวผู้ เสียภาษีอากรตามมาตรา 3 เอกาทศ แห่งประมวลรัษฎากร ต้องระวาง โทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท (มาตรา 3 ทวาทศ แห่งประมวลรัษฎากร) (ง) กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด ไม่ย่นื แบบแสดงรายการภาษี เงินได้นิติบุ คคล หรือภาษีเงินได้นิติบุ คคลหัก ณ ที่จ่าย หรือไม่ออก หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือไม่จดั ทําบัญชีพเิ ศษตามที่ อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดตามมาตรา 17 แห่งประมวลรัษฎากร ภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ทัง้ นี้เว้นแต่จะแสดงได้ว่ามีเหตุสุดวิสยั (มาตรา 35 แห่งประมวล รัษฎากร) (จ) กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใดได้รบั คําสังยึ ่ ดหรืออายัดทรัพย์ ของเจ้าพนักงาน เพื่อการเร่งรัดภาษีอากรค้างตามมาตรา 12 แห่ง ประมวลรัษฎากรแล้ว ได้ทาํ ลาย ย้ายไปเสีย ซ่อนเร้น หรือโอนไปให้แก่ บุคคลอื่นซึ่งทรัพย์สนิ ที่ถูกยึดหรืออายัดดังกล่าวต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินสองปีและปรับไม่เกิน 200,000 บาท ในกรณีผู้ก ระทํา ผิด ตามวรรคหนึ่ งเป็ นนิ ติบุ ค คล กรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การ หรือผู้แทนของนิติบุคลนัน้ ต้องรับโทษตามที่บญ ั ญัติไว้ในวรรค หนึ่งด้วย เว้นแต่ จะพิสูจน์ ได้ว่าตนมิได้มสี ่วนในการกระทําความผิดของ บุคคลนัน้ (มาตรา 35 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร) (ฉ) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด โดยรูอ้ ยูแ่ ล้วหรือจงใจไม่ปฏิบตั ติ าม หมายเรี ย กหรื อ คํ า สัง่ ของอธิ บ ดี ก รมสรรพากร หรื อ ผู้ ซ่ึ ง อธิ บ ดี กรมสรรพากรมอบหมาย หรือสรรพากรจังหวัด เจ้าพนักงานประเมิน ผูว้ ่าราชการจังหวัด หรือกรรมการทีอ่ อกตามมาตรา 12 ตรี มาตรา 19 มาตรา 23 หรือมาตรา 32 แห่งประมวลรัษฎากร หรือไม่ยอมตอบ คําถามเมื่อซักถามต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่ เกิน 2,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ (มาตรา 36 แห่งประมวลรัษฎากร) (ช) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด


77 1) โดยรู้อยู่แล้ว หรือโดยจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคําเท็จ หรือตอบคําถามด้วยถ้อยคําอันเป็ นเท็จ หรือนํ าพยานหลักฐานมา แสดงเพือ่ หลีกเลีย่ งการเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล หรือ 2) โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธกี ารอื่นใดทํานอง เดียวกันหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีเงินได้นิติ บุคคลต้องระวางโทษจําคุกตัง้ แต่สามเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตัง้ แต่ 2,000 ถึง 200,000 บาท (มาตรา 37 แห่งประมวลรัษฎากร) (ซ) บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลใดเจตนาละเลย ไม่ ย่ืน แบบแสดง รายการภาษีเ งิน ได้นิ ติบุ ค คลที่ต้อ งยื่น เพื่อ หลีก เลี่ย งหรือ พยายาม หลีกเลีย่ งภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,500 บาท หรือจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จํา (มาตรา 37 ทวิ แห่ง ประมวลรัษฎากร) ดังนัน้ การเสีย ภาษีอากรที่ป ระหยัดที่สุด จึง หมายถึง การเสีย ภาษีอ ากรให้ ถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักการวางแผนภาษีอากรที่ดี และกล่าวโดยเฉพาะสําหรับ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ ในการคํานวณกําไรหรือขาดทุนสุทธิเพื่อเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคลนัน้ รายจ่ายค่าเบี้ยปรับ เงินเพิม่ หรือค่าปรับทางอาญาตาม ประมวลรัษฎากร อันเกิดจากการเสียภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วน มาถือเป็ นรายจ่าย ทางภาษีอากรไม่ได้ ฉะนัน้ ผูป้ ระกอบการจึงควรหลีกเลี่ยงรายจ่ายที่เกิดจากการ เสียภาษีอากรไม่ถูกต้องทุกกรณี 1.4 เพื่อลดต้นทุนการดําเนินกิจการ หรือเพิม่ กําไรสุทธิ โดยการใช้สทิ ธิประโยชน์ทาง ภาษีอากร อาทิ (1) การขอรับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน โดยการขอ ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเป็ นเวลา 3-8 ปี การยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับ เครือ่ งจักรและวัตถุดบิ ทีน่ ําเข้าจากต่างประเทศ (2) การประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออก (EXPORT PROCESSING ZONE: EPZ) ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม (3) การประกอบกิจการประกอบสินค้าในเขตคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิต สินค้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (4) การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เช่น (ก) การเลือกใช้หน่ วยงานทางภาษีอากรเพื่อให้การเสียภาษีเงินได้มจี ํานวน น้อยทีส่ ดุ


78 (ข) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับเงินปนั ผล หรือเงินส่วนแบ่ง ของกําไรตามมาตรา 65 ทวิ (10) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษทั จํากัดที่ ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย (ค) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับเงินส่วนแบ่งของกําไรที่ได้ จากกิจการร่วมค้าทีป่ ระกอบกิจการในประเทศไทย ของบริษทั หรือห้างหุ่น ส่ว นนิ ติบุคคลที่ต งั ้ ขึ้นตามกฎหมายไทย และบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติ บุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศและประกอบกิจการในประเทศ ไทย ตามมาตรา 5 ทวิ แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10 ) พ.ศ. 2500 (ง) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับเงินได้ของบริษทั และห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ นค่าจ้าง เพื่อทําการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ให้แก่หน่ วยงานของรัฐหรือเอกชน ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม 2537 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2539 ตามพระ ราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 271) พ.ศ. 2537 และประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อ ง กํ า หนดหน่ ว ยงานของรัฐ หรือ เอกชนที่ร ับ ทํ า การวิจ ัย และพัฒ นา เทคโนโลยีลงวันที่ 29 สิงหาคม 2537 และเพิม่ เป็ นร้อยละ 100 ตามพระราช กฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 297) พ.ศ.2539 ตัง้ แต่วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2539 เป็ นต้น ไป (จ) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับกําไรสุทธิของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไรทีไ่ ด้จากบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุคคลที่ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน หรือกิจการ สถาบัน อุ ด มศึก ษาเอกชนตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงเรีย นเอกชนหรือ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแต่ไม่รวมถึงรายได้จากการขายของ การรับจ้าง ทําของ หรือการให้บริการอื่นใดทีไ่ ด้รบั จากผูซ้ ่งึ มิใช่นักเรียนหรือนักศึกษา ของโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาดังกล่าว ทัง้ นี้ เฉพาะกรณีท่ี บริษั ท หรือ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลดัง กล่ า วมิไ ด้ ป ระกอบกิ จ การอื่ น ใด นอกจากกิจการโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 (ใช้บงั คับสําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) (ฉ) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับกําไรสุทธิของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไรทีไ่ ด้จากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการสถาบันฝึ กอบรม เพื่อพัฒนา ฝี มอื แรงงานของลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ หรือของ


79 บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลในเครือเดียวกัน ทัง้ นี้ เฉพาะกรณีทบ่ี ริษทั หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลดัง กล่ า วมิไ ด้ป ระกอบกิจ การอื่น ใด นอกจาก กิจการสถาบันฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาฝี มอื แรงงาน ตามมาตรา 4 แห่งพระราช กฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 (ใช้บงั คับสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่ี เริม่ ในหรือหลังวันที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) (ช) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับเงินได้ของบริษทั และห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลเป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็ น ค่าใช้จ่ายในการส่งลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลนัน้ เข้ารับ การศึกษาหรือฝึ กอบรมในสถานศึกษา หรือสถาบันฝึ กอบรมวิชาชีพทีท่ าง ราชการจัดตัง้ ขึน้ หรือที่รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกําหนด ตามมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 (ใช้บงั คับ ตัง้ แต่วนั ที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) (ซ) การใช้สทิ ธิตรี าคาทรัพย์สนิ อื่นใดทีม่ ใิ ช่สนิ ค้าคงเหลือเพิม่ ขึน้ ตามมาตรา 65 ทวิ (3) แห่งประมวลรัษฎากร โดยไม่ต้องนํ าส่วนทีต่ รี าคาทรัพย์สนิ เพิม่ ขึน้ ดังกล่าวไปรวมคํานวณเป็ นรายได้เพือ่ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล (ฌ) การใช้สทิ ธิตีราคาหลักทรัพย์ท่ปี ระสงค์จะมีไว้เพื่อขายตามราคาทุนหรือ ราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดจะตํ่ากว่า โดยถือเป็ นสินค้าคงเหลือตามมาตรา 65 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร (ญ) การใช้ส ิท ธินํ า ผลขาดทุ น สุท ธิ (ทางภาษีอ ากร) ซึ่ง ยกมาไม่เ กิน 5 รอบ ระยะเวลาบัญชีมาถือเป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ทางภาษีอากรตามมาตรา 65 ตรี (12) แห่งประมวลรัษฎากร (ฎ) การใช้สทิ ธิตรี าคาทรัพย์สนิ ตามราคาตลาดในวันที่บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิตบิ ุคคลควบเข้ากันหรือโอนกิจการ โดยบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลผู้ โอนกิจการต้องจดทะเบียนเลิกและชําระบัญชี ทัง้ นี้ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิ ติบุ ค คลดัง กล่ า วไม่ ต้ อ งถือ ราคาตลาดของทรัพ ย์ส ิน เป็ น รายได้ห รือ รายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิตามมาตรา 74 (1) แห่ง ประมวลรัษฎากร 1.5 การวางแผนภาษีอากรที่ดแี ละการดําเนินการตามทีไ่ ด้วางแผนภาษีอากรดังกล่าว ย่อ มทํา ให้ผ้ปู ระกอบการคลายความกัง วลต่ อ การถูกเรี ย กตรวจสอบภาษี อากรของทางราชการ เพราะมีข้อ มู ล ทัง้ ในทางบัญ ชีแ ละทางภาษี อ ากรที่ เพียบพร้อม สามารถชี้แจงหรือแสดงหลักฐานข้อเท็จจริงต่างๆ ทางบัญชีการเงิน (FINANCIAL ACCOUNTING) และบัญชีภาษีอากร (TAX ACCOUNTING) แก่


80 เจ้าหน้าทีผ่ ตู้ รวจสอบภาษีได้โดยชัดแจ้งอันจะทําให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายที่ ไม่ควรต้องเสียไป นอกเหนือไปจากการเสียโอกาสและความรูส้ กึ ทีด่ ี นโยบายการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลควรประกาศให้ทราบโดยทัวกั ่ นในหมูผ่ บู้ ริหาร และผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทุกฝา่ ยภายในองค์กรในอันทีจ่ ะก่อประโยชน์สงู สุดแก่องค์กรทัง้ ในกระบวนการ ว า ง แ ผ น ภ า ษี อ า ก ร แ ล ะ ก า ร นํ า ก า ร ว า ง แ ผ น ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ นิ ติ บุ ค ค ล ไ ป ป ฏิ บั ติ (IMPLEMENTATION) 2. กําหนดบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องอาศัยบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องหลายๆ ฝา่ ยร่วมกัน ปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจทีว่ างแผนภาษีอากร อาทิ 2.1 ฝา่ ยจัดการ 2.2 ฝา่ ยบุคลากร 2.3 ฝา่ ยบัญชีและการเงิน 2.4 ฝา่ ยการตลาด 2.5 ฝา่ ยกฎหมาย 2.6 ผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษีอากร หรือทีป่ รึกษาทางภาษีอากร 3. ศึกษาหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับภาษี เงิ นได้นิติ บุคคลทุกกรณี ที่ เกี่ยวข้องกับกิ จการ ตลอดจนแนววิ นิจฉั ย ข้อกฎหมาย หรือคําพิ พากษา ของศาล แนวคําตอบข้อหารือ หรือแนวทางปฏิ บตั ิ เกี่ยวกับภาษี เงิ นได้นิติ บุคคลของกรมสรรพากรทุกประเด็น อาทิ 3.1 ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 3.2 ฐานภาษีและอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 3.3 หลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขในการคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ หรือหลักการ บัญชีภาษีอากรในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ได้แก่ (1) เงือ่ นไขเกีย่ วกับรายได้ (2) เงือ่ นไขเกีย่ วกับรายจ่าย (3) หลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สนิ และหนี้สนิ 3.4 วิธกี ารเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ได้แก่ (1) การเสียภาษีเงินได้โดยถูกหักไว้ ณ ทีจ่ า่ ย (2) การเสียภาษีเงินได้โดยการยืน่ รายการประเมินตนเอง (3) การเสียภาษีเงินได้โดยเจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บ


81 4. ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนิ นธุรกิ จตลอดจนเอกสารทาง ธุรกิ จของกิ จการนัน้ พิ จารณาว่าขัน้ ตอนใด หรือกรณี ใด มีประเด็นภาษี เงิ น ได้นิติบคุ คลเกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร 5. ดําเนิ นการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คลโดย 5.1 กําหนดประเด็นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจทีจ่ ะวางแผนภาษีอากร อย่างเป็ นระบบทุกกรณีและทุกขัน้ ตอนในบางกรณีการดําเนินธุรกิจขัน้ ตอน หนึ่งๆ อาจมีประเด็นภาษีและวิธกี าร ปฏิบตั ทิ างภาษีแตกต่างกันหลายประเด็น 5.2 เลือกช่องทางการปฏิบตั ิเ กี่ยวกับภาษีเ งินได้นิติบุ คคล ที่ทําให้กิจการได้รบั ประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุดไม่เสีย่ งต่อการถูกลงโทษทางภาษีอากร ในบาง กรณี อ าจจํา เป็ น ต้อ งจัด รูป แบบขององค์ก าร รูป แบบของเอกสารหลัก ฐาน ตลอดจนปญั หาหรือนิตกิ รรมต่างๆ เพื่อรองรับการวางแผนภาษีอากร ทัง้ นี้โดย ให้การปฏิบตั ทิ างการภาษีอากรสอดคล้องกับการประกอบการอันเป็ นปกติทาง ธุรกิจของกิจการนัน้ ๆ 6. ติ ดตามประเมิ น ผลการปฏิ บัติ การเกี่ ย วกับ ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล และ ผลกระทบที่ อาจเกิ ดขึ้นจากการวางแผนภาษี เ งิ นได้ นิติ บุคคล เพื่ อนํ ามา ประมวลผลและปรับปรุงการวางแผนภาษี อากรต่อไป เป็ นทีเ่ ข้าใจโดยทัวไปว่ ่ า การวางแผนภาษีอากรต้องอาศัยความรอบรูแ้ ละความ ละเอียดรอบครอบของผูด้ าํ เนินการวางแผนภาษีอากรอย่างยิง่ และต้องกระทําอย่าง ต่อเนื่องจึงบรรลุผลสําเร็จสูงสุด กลยุทธ์ในการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล 1. เลือกองค์กรธุรกิ จ (Business Organization) ที่เหมาะสม หากกิจการที่ทํานัน้ เป็ นกิจการขนาดเล็ก ควรจะประกอบการในรูปของบริษทั จํากัดทีม่ ที ุนชําระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท เพื่อ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลในอัตราร้อยละ 15, 25 และ 30 ของกําไรสุทธิ (กําไรสุทธิ ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รบั ยกเว้นภาษี) แต่ถ้าเป็ นกิจการขนาดกลางและขนาด ใหญ่และมีความประสงค์ทจ่ี ะเป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยเพื่อรับสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากร ก็ควรจะจดทะเบียนเป็ นบริษัทมหาชน จํ า กัด เพราะบริษัท มหาชนจํ า กัด เท่ า นั น้ ที่ข อเป็ น บริษัท จดทะเบีย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ 2. เลือกมีเงิ นได้ที่ได้รบั ยกเว้นภาษี (Tax Exemption) 3. เลือกมีเงิ นได้ที่เสียภาษี ตาํ่


82 เงินได้ทเ่ี สียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลในอัตราตํ่าส่วนใหญ่จะเป็ นเงินได้ทจ่ี ่ายให้แก่ บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลที่มีถิ่น ที่อ ยู่ใ นประเทศที่มีอ นุ ส ญ ั ญาภาษีซ้อ น (Double Taxation Agreement) กับประเทศไทย ฉะนัน้ ควรทําสัญญาหรือธุรกรรม กับบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิง่ กรณีทผ่ี จู้ ่ายเงินได้ มีหน้าทีอ่ อกภาษีแทนผูม้ เี งินได้ เช่น กรณีการจ่ายค่าสิทธิ (Royalty) ให้แก่บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศมิได้ประกอบกิจการใน ประเทศไทย ตามปกติจ่ายเงินได้มหี น้าทีต่ ้องหักภาษีและนํ าส่งในอัตราร้อยละ 15 ตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร และถ้าออกภาษีให้ทุกทอดจะต้องนํ าส่งใน อัตราร้อยละ 17.65 แต่ถ้าจ่ายให้แก่ผูม้ เี งินได้ท่มี ถี ิ่นที่อยู่ในประเทศเยอรมนี ฝรังเศส ่ เนเธอร์แ ลนด์ อิต าลี สหราชอาณาจัก รและไอร์แ ลนด์เ หนื อ โปแลนด์ แคนาดา สาธารณรัฐเชค สวิตเซอร์แลนด์ อิสราเอล สหรัฐอเมริกา มอริเชียส สเปน ไซปรัส และบัลกาเรีย จะได้รบั การลดอัตราเหลือร้อยละ 5 และถ้าออกภาษีให้ทุก ทอดจะต้องนํ าส่งในอัตราร้อยละ 5.26 ช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลงมาก ฉะนัน้ ผู้ จ่า ยเงินได้จึง ควรเลือ กทําสัญ ญาหรือธุ ร กรรมเกี่ย วกับ ค่าสิท ธิก บั ผู้มีถิ่นที่อยู่ใ น ประเทศดังกล่าว 4. เลือกรายจ่ายที่สามารถหักเป็ นรายจ่ายได้ มีรายจ่ายทีป่ ระมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี บัญญัตหิ า้ มมิให้ถอื เป็ นรายจ่ายใน การคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลอยู่ถงึ 21 รายการ บริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลจึงไม่ควรมีรายจ่ายใน 21 รายการดังกล่าว ควรเลือกรายจ่าย ที่ส ามารถหัก เป็ น รายจ่า ยได้ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง การจ่า ยเงิน ทุ ก ครัง้ ควรจะขอ หลักฐานการจ่ายเงินจากผูร้ บั เงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบกํากับภาษี เพื่อทีจ่ ะใช้เป็ น หลักฐานในการหักรายจ่ายได้ 5. เลือกรายจ่ายที่หกั ได้เพิ่ มขึน้ มีรายจ่ายหลายประเภททีก่ ฎหมายยอมให้หกั เพิม่ ขึน้ จากจํานวนเงินทีจ่ ่าย ไปจริง เช่น การจ่ายค่าจ้างในการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีให้แก่หน่ วยงาน ของรัฐ หรือ เอกชนตามที่ร ัฐ มนตรีว่ า การกระทรวงการคลัง กํ า หนดหัก เป็ น รายจ่ายเพิม่ ขึน้ ได้อกี ร้อยละ 100 ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความใน ประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 297) พ.ศ.2539 มาตรา 4 6. เลือกรายจ่ายที่หกั ค่าเสื่อมราคาได้มากกว่า รายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็ นการลงทุน (Capital Expenditure) บางประเภท เช่น ค่าซื้อรถยนต์นัง่ หรือรถยนต์โดยสารที่มที ่นี ัง่ ไม่เกิน 10 คน เพื่อใช้ใน กิจการ จะหักค่าเสื่อมราคาในการคํานวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้ไม่เกินคันละ


83 1,000,000 บาท (พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วย การหัก ค่ า สึก หรอและค่า เสื่อ มราคาของทรัพ ย์ส ิน (ฉบับ ที่ 145) พ.ศ.2527 มาตรา 5) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลจึงควรจะซือ้ รถยนต์โดยสารทีม่ ที น่ี งั ่ ไม่เกิน 10 คน เพราะแม้จะมีราคาเกินคันละ 1,000,000 บาท ก็นํามาเป็ น ต้นทุนในการคิดค่าเสือ่ มราคาได้ทงั ้ หมด แต่ถ้ามีความจําเป็ นต้องใช้รถยนต์นัง่ หรือรถยนต์โดยสารที่มที ่นี ัง่ เกิน 10 คน ก็ควรจะเช่าหรือเช่าแบบลิสซิง่ มากกว่าซื้อหรือเช่าซื้อ เพราะค่าเช่าไม่เกิน เดือนละ 36,000 บาทหรือไม่เกินวันละ 1,200 บาท หักเป็ นรายจ่ายในการ คํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้ทงั ้ หมดตามพระราชกฤษฎีกา ฯ (ฉบับที่ 315) พ.ศ.2540 ตามมาตรา 40 7. เลือกหักค่าเสื่อมราคาเร็วขึน้ กว่าปกติ การหักค่ า เสื่อ มราคาทรัพ ย์ส ิน เร็ว ขึ้น กว่า ปกติย่อ มทํา ให้กํา ไรสุท ธิข อง กิจการลดลง ภาษีทจ่ี ะต้องเสียลดน้อยลงด้วย เช่น การซือ้ เครื่องบันทึกการเก็บ เงินของผูป้ ระกอบกิจการค้าปลีกทีไ่ ด้จดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการ มีสทิ ธิเลือกหักค่าเสื่อมราคาร้อยละ 100 ของมูลค่าต้นทุนทัง้ หมด หรือจะเลือก หักค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สนิ นัน้ มาในอัตราร้อยละ 40 ของ มูลค่าต้นทุน และมูลค่าต้นทุนส่วนทีเ่ หลือให้หกั ค่าเสื่อมราคาตามอัตราปกติก็ ได้ (พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 145) พ.ศ.2527 ตามมาตรา 4 ตรี) หรือบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ สี นิ ทรัพย์ถาวรไม่รวมทีด่ นิ ไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 ล้านบาท จะใช่สทิ ธิเลือกหักค่าเสื่อมราคา ทรัพย์สนิ ประเภทคอมพิวเตอร์ เครือ่ งจักร และอาคารโรงงานได้เร็วขึน้ กว่าปกติ 8. เลือกจัดทําประมาณการกําไรสุทธิ ที่ไม่ต้องเสี่ยงต่อการเสียเงิ นเพิ่ ม (เบีย้ ปรับ) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกําไร สุทธิมหี น้าทีต่ อ้ งเสียภาษีรอบระยะเวลาบัญชีละ 2 ครัง้ ครัง้ ที่ 1 เสียภาษีใน 2 เดือน นับแต่วนั ครบ 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี โดยใช้แบบภ.ง.ด.51 ครัง้ ที่ 2 เสียภายใน 150 วันนับแต่วนั สุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โดยใช้ แบบภ.ง.ด.50 แต่การเสียภาษีครัง้ ที่ 1 จะต้องจัดทําประมาณการกําไรสุทธิ เว้น แต่จะได้รบั ยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 67 ทวิ (2) การจัดทําประมาณ การกําไรสุทธิดงั กล่าว หากแสดงขาดไปเกินร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิทงั ้ รอบ ระยะเวลาบัญชีโดยไม่มเี หตุอนั สมควร ก็ตอ้ งเสียเงินเพิม่ (เบีย้ ปรับ) อีกร้อยละ 20 ของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ


84 9. เลือกจําหน่ ายหนี้ สญ ู ที่สามารถหักเป็ นรายจ่ายได้ หนี้สูญนัน้ หากจําหน่ ายหรือตัดได้ก็จะทําให้กําไรสุทธิลดน้ อยลง ภาษีท่ี จะต้องเสียก็ลดน้อยลงด้วย การจําหน่ ายจึงควรปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534) ที่แก้ไข เพิม่ เติมแล้ว 10. การปรับปรุง (Adjust) กําไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ ทางบัญชีให้เป็ น กําไรสุทธิ ทางภาษี กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทท่ี าํ ขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีหรือหลักบัญชีซง่ึ เป็ นที่ยอมรับกันทัวไป ่ ยังใช้เป็ นตัวเลขในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลไม่ได้ เพราะตามประมวลรัษฎากรมาตรา 65, มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี การ คํานวณกําไรสุทธิและขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องเป็ นไปตาม เงื่อนไขที่บทบัญญัติในมาตราดังกล่าวกําหนดไว้ เป็ นกําไรสุทธิหรือขาดทุน สุทธิทางภาษีอากร จึงจะใช้เป็ นตัวเลขในการเสียภาษีได้ ฉะนัน้ จึงต้องมีการ ปรับปรุง (Adjust) กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางบัญชีให้เป็ นกําไรสุทธิหรือ ขาดทุนสุทธิทางภาษีให้ถูกต้องตามหลักบัญชีภาษีอากร (Tax Accounting) ดังกล่าว 11. การหักภาษี เงิ นได้หกั ณ ที่จ่ายและนําส่งให้ถกู ต้องครบถ้วน ในการประกอบกิจการย่อมจะมีการจ่ายเงินได้ให้แก่บุคคลอื่น การจ่ายเงิน บดีกรมสรรพากรกําหนดให้หกั ภาษี ณ ได้นัน้ หากมีกฎหมายหรือคําสังของอธิ ่ ทีจ่ ่ายและนํ าส่งผูจ้ ่ายเงินได้กต็ ้องหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายและนํ าส่ง มิฉะนัน้ จะต้อง รับผิดชอบร่วมกับผูม้ เี งินได้ในจํานวนภาษีทม่ี ไิ ด้หกั และนําส่ง หรือหักและนําส่ง ไว้ไม่ถูกต้องครบถ้วน ผูจ้ ่ายเงินได้จงึ ควรจะวางแผนเกีย่ วกับภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่าย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูจ้ ่ายเงินได้ท่เี ป็ นบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ่ บดีกรมสรรพากร จะต้องวางแผนในเรื่องนี้ เพราะกฎหมายและคําสังของอธิ กําหนดให้นิตบิ ุคคลมีหน้าทีห่ กั ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยมากกว่าบุคคลธรรมดา 12. จัดทําบัญชีและเก็บรักษาเอกสารประกอบการลงบัญชี บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ควรจัดทําบัญชีและเอกสารประกอบการ ลงบัญชีตามที่พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 และประมวลรัษฎากรได้ กําหนดไว้ และเก็บรักษาไว้เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วนั ปิ ดบัญชี เพราะ นอกจากจะเป็ นการปฏิบตั ติ ามกฎหมายแล้ว ยังเป็ นหลักฐานสําคัญทีจ่ ะช่วยทํา ให้ก ารเสีย ภาษีอ ากรเป็ น ไปโดยถู ก ต้อ ง ครบถ้ว น ไม่ต้อ งถู ก เจ้า พนัก งาน ประเมินของกรมสรรพากรประเมินเรียกเก็บภาษียอ้ นหลังด้วย


85 การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการประกอบธุ รกิจหากกิจการขายสินค้า ให้บริการหรือนํ าเข้ามีรายรับตัง้ แต่ 1,800,000 บาทต่อปี ขน้ึ ไป (เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2548) ต้องจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ซึ่งเมื่อมีระบบภาษีมูลค่าเพิม่ เข้ามาใช้ในกิจการ เนื่องจากเป็ นกฎหมายใหม่ท่เี ริม่ ใช้มาตัง้ แต่ วัน ที่ 1 มกราคม 2535 จนถึง ป จั จุ บ ัน ได้มีก ารแก้ไ ข เปลี่ย นแปลง และยกเลิก กฎหมาย ภาษีมูลค่าเพิม่ ค่อนข้างมาก ทําให้ผูป้ ระกอบการ นักบัญชีและผูท้ ่เี กี่ยวข้องปฏิบตั ิในการเสีย ภาษีมูลค่าเพิม่ ผิดพลาดคลาดเคลื่อนอยู่บ่อยๆ ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ จะต้องศึกษากฎหมายภาษีมลู ค่าเพิม่ ให้ครบถ้วนทัง้ กฎหมายแม่และกฎหมายลูก ตลอดจนต้อง มีการวางแผนภาษีเพื่อวางแผนเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ในอนาคต เป็ นการลดความผิดพลาดที่ อาจจะเกิดขึน้ ในระบบภาษีมูลค่าเพิม่ เมื่อกล่าวถึงการวางแผนภาษีมกั จะมีผปู้ ระกอบการหรือ นักบัญชีเข้าใจผิดคิดว่าเป็ นการหลีกเลี่ยงภาษีหรือหลบหนีภาษีอากร ข้อเท็จจริงการวางแผน ภาษีจะเป็ นการป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดทัง้ ในปจั จุบนั และอนาคต ซึ่งผูป้ ระกอบการใน ประเทศไทยมักจะไม่มกี ารวางแผนภาษีก่อนเริม่ หรือในระหว่างดําเนินการ หรือเมื่อได้ดําเนิน กิจการไปแล้ว เนื่องจากผูป้ ระกอบการธุรกิจส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสําคัญต่อภาษีอากร และรวม ไปถึงการวางระบบบัญชีเพื่อให้การจัดทําบัญชีและภาษีมลู ค่าเพิม่ ให้ถูกต้อง ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้มี การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อยและรวดเร็ว ฝ่ายบริหารและฝ่ายบัญชีจะต้องติดตาม ข้อมูลข่าวสารให้ทนั ต่อเหตุการณ์เพื่อให้การเสียภาษีอากรถูกต้องครบถ้วนและประหยัด ดังนัน้ เพื่อหลักเกณฑ์ทช่ี ดั เจนสมเหตุสมผล และได้รบั ประโยชน์ต่อกิจการสูงสุด กิจการจึงต้องมีการ วางแผนภาษีอากรซึ่งผูม้ หี น้าทีใ่ นการเป็ นส่วนร่วมในการวางแผนภาษีอากร เช่น ฝ่ายบริหาร ฝา่ ยบัญชี และฝา่ ยกฎหมาย เป็ นต้น หากกิจการมีความประสงค์ทจ่ี ะวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูว้ างแผนภาษีอากรจะต้อง มีความรูท้ งั ้ ทางด้านภาษีอากร หลักการบัญชี มาตรฐานการบัญชี และกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อให้การวางแผนภาษีมูลค่าเพิ่มกับการจัดทําบัญชีถูกต้องและเป็ นไปตามวัต ถุ ประสงค์ท่ี กิจการได้ตงั ้ เอาไว้ ข้อสังเกตอย่างหนึ่งในการวางแผนภาษีอากรผูว้ างแผนภาษีอากรควรจะมี การศึกษาเพิม่ เติมจากหนังสือตอบข้อหารือของกรมสรรพากร และคําพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับ ภาษีมูลค่าเพิม่ เพื่อให้การปฏิบตั งิ านได้อย่างรวมเร็วและถูกต้อง แม่นยํา ลดข้อผิดพลาด และ สามารถประหยัดภาษีของกิจการ วัตถุประสงค์ในการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ของแต่ละกิจการความมีการจัดตัง้ คณะกรรมการหรือ ทีมงานในการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ไม่ใช่ให้ผจู้ ดั การฝา่ ยบัญชีหรือผูอ้ าํ นวยการฝา่ ยบัญชีเป็ น ผู้วางแผนภาษีเพียงผู้เ ดียวผู้มสี ่วนร่วมในการวางแผนภาษีอากรควรจะต้องทําความเข้าใจ เกีย่ วกับการวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) ว่าเป็ นการวางแผนการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ของ


86 ธุ ร กิจ เพื่อ ให้กิจ การได้ร บั ประโยชน์ สูง สุด ลดต้น ทุ น ให้ต่ํ า ลง ภายใต้เ งื่อ นไขที่ถู ก ต้อ งตาม ประมวลรัษฎากร และเป็ นการวางแผนอย่างรัดกุมเพื่อป้องกันภาระทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตของ กิจการ ดังนัน้ การวางแผนภาษี ไม่ใช่เป็ นการหลีกเลีย่ งภาษี (Tax Avoidance) หรือหนีภาษี (Tax Evasion) ก่อนที่จะมีการวางแผนภาษีมูล ค่า เพิ่มนัน้ ต้องมีความรู้ค วามเข้าใจใน วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีดงั ต่อไปนี้ 1. ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมาย การวางแผนภาษีมูล ค่า เพิ่ม ผู้ว างแผนจะต้อ งมีค วามรู้ค วามเข้า ใจในประมวล รัษฎากรเกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ และผลกระทบต่อภาษีอากรอื่นอย่างชัดเจนถูกต้อง ไม่ หลงลืมประเด็นหนึ่งประเด็นใดในตัวบทกฎหมาย นอกจากนี้จะต้องศึกษาคําพิพากษา ฎีกา และข้อหารือของกรมสรรพากรประกอบการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ และทําให้ กิจการเสียภาษีโดยประหยัดและถูกต้อง สิง่ ที่ผูว้ างแผนภาษีควรคํานึงอย่างหนึ่งก็คอื อย่ามองประเด็นใดประเด็นหนึ่งเพียงประเด็นเดียว จะต้องมองรายละเอียดในมุมกว้าง ของภาษีอากรทีเ่ กีย่ วข้องอย่างชัดเจนทัง้ ระบบ 2. ได้รบั สิ ทธิ ประโยชน์ ทางภาษี สงู สุด การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องศึกษาข้อกฎหมายที่จะทําให้กจิ การได้รบั สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีสูงสุดโดยการกําหนดทางเลือกในการนําเงื่อนไขทางกฎหมายมาใช้ ในกิจการได้รบั ประโยชน์สงู สุดและถูกกฎหมายอีกด้วย เช่น กรณีใดบ้างทีไ่ ด้รบั ยกเว้น ไม่ตอ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ การวางแผนภาษีการส่งเสริมการขาย การวางแผนภาษีการ ขอภาษีซอ้ื คืน การเฉลีย่ ภาษีซอ้ื เป็ นต้น 3. ปลอดภัยจากภาระที่อาจจะเกิ ดขึน้ ในอนาคต การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องคํานึงถึงปญั หาที่อาจจะเกิดขึน้ ในอนาคต หาก มุมมองของผูว้ างแผนภาษีขาดความรอบคอบในการศึกษาตัวกฎหมายได้อย่างถูกต้อง แล้ว อาจเกิดปญั หาในอนาคตโดยถูกสรรพากรเรียกตรวจและประเมินภาษียอ้ นหลัง มี ผลทําให้กิจการมีรายจ่ายจากการถูกเจ้าพนักงานประเมินเกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิด ผู้ วางแผนภาษีจึงต้องใช่ความระมัดระวังการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ เช่น ต้องศึกษา อย่างไรเรียกว่า “ขายสินค้า” “ให้บริการ” ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เนื่องจากการขาย สิน ค้า หรือ การให้บ ริก ารที่ต้ อ งเสีย ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม มัก จะมีผู้ป ระกอบการเสีย ภาษี ผิดพลาดเป็ นประจํา 4. หลักเกณฑ์ที่ชดั เจนและสมเหตุผล การวางแผนภาษีมูล ค่ า เพิ่ม ในเรื่อ งหนึ่ ง เรื่อ งใดจะต้อ งมีก ารอ้า งถึง กฎหมายที่ สามารถนํ ามาอ้างอิงให้ชดั เจนน่ าเชื่อถือ สามารถตอบคําถามในปญั หาต่างๆ ได้โดย ปราศจากข้อโต้แย้งทางภาษีอากร ไม่ว่าจะเป็ นกฎหมายต่างๆ ในประมวลรัษฎากร คํา


87 พิพากษาฎีกา ข้อหารือของกรมสรรพากร หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ย วข้องสามารถหา คําตอบได้เป็ นทีย่ อมรับของฝา่ ยจัดการหรือฝา่ ยบริหารอย่างไม่มขี อ้ สงสัย และเชื่อถือใน ข้อมูลที่นํามาอ้างอิงอย่างสมเหตุสมผล ซึ่งอาจจะนํ ากระบวนการดังกล่าวไปปรึกษา ผู้เ ชี่ย วชาญด้า นการวางแผนภาษีเ พื่อ ตรวจสอบความถู ก ต้อ งเป็ น การยืน ยัน ความ ถูกต้องอีกครัง้ หนึ่ง 5. ช่วยในการลดต้นทุน การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะทําให้กิจการสามารถลดต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ไม่ จํ า เป็ น ออกไป เช่ น การขายสิน ค้ า พร้ อ มกับ การขนส่ ง ทํ า อย่ า งไรจึง จะยกเว้ น ภาษีมลู ค่าเพิม่ การประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกซึง่ เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ใน อัตราร้อยละ 0 ทําความเข้าใจคําว่า “ขาย” และ “บริการ” ในระบบภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ น ต้น นอกจากจะช่วยในการลดต้นทุนของกิจการแล้วยังช่วยในการเพิม่ กําไรสุทธิของ กิจการให้สงู ขึน้ โดยการอาศัยหลักเกณฑ์การวางแผนภาษีอากร ความรู้ก่อนการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม หลักเกณฑ์ท่สี ําคัญที่วางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ความมีความรู้ ความเข้าใจ ข้อมูลเรื่อง ใดบ้ า ง หรือ ศึก ษาข้อ มู ล ใดบ้ า งเพื่อ ประโยชน์ ต่ อ การวางแผนภาษี ใ ห้ถู ก ต้อ งเป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ท่ตี ้องการ ความรูท้ ่จี ําเป็ นก่อนการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องศึกษาข้อมูลที่ จําเป็ นอย่างน้อยดังต่อไปนี้ถูกต้องครบถ้วนตลอดเวลา เช่น รายงานภาษีมูลค่าเพิม่ ใบกํากับ ภาษี ใบเพิม่ หนี้ ใบลดหนี้ งบการเงิน การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม กิจการที่มคี วามประสงค์ท่จี ะมีการวางแผนภาษีอากร จะต้องมีการศึกษาข้อมูลต่างๆ ก่ อ นการวางแผนภาษีด ัง กล่ า วมาแล้ว นั น้ เมื่อ เริ่ม ต้น จะทํ า การวางแผนภาษีอ ากรจะต้อ ง การศึกษาความเป็ นไปได้ของการวางแผนภาษี เพราะกิจการอาจจะมีการเลือกการวางแผนภาษี เฉพาะด้าน เช่น วางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล วางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ วางแผนภาษีธุ รกิจ เฉพาะ ฯลฯ ผูว้ างแผนภาษีอาจจะเลือกวางแผนภาษีบางประเภทก่อน แล้วจึงจะวางแผนภาษี ประเภทอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างไรก็ดใี นการวางแผนภาษีของกิจการภาษีอากรทีเ่ กิดขึน้ มักจะมีสว่ น ที่เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ ดังนัน้ การวางแผนภาษีท่ดี จี ะต้องคํานึงถึงภาษีทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับ กิจการ รวมไปถึงระบบบัญชีเพื่อให้รองรับและสอดคล้องกันได้ สิง่ สําคัญในการวางแผนภาษี จะต้องมีการรวบรวมข้อมูลของกิจการแล้วนํ าไปวิเคราะห์ความต้องการเพื่อประโยชน์ ในการ นําไปใช้ต่อไป ลําดับขัน้ ตอนในการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการวางแผนภาษีของกิจการ ผูว้ างแผนภาษีควรจะวางแผนภาษีท่ปี ระกอบไปด้วย บุคคลหลายสาขาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็ นด้านบัญชี ผูส้ อบบัญชี หรือด้านกฎหมายภาษีอากร หรือ


88 กฎหมายอื่นๆทีเ่ กี่ยวข้อง โดยนํ าบุคคลต่างๆ มาจัดตัง้ เป็ นรูปแบบของคณะกรรมการหรือกลุ่ม ของผู้เ ชี่ย วชาญเพื่อ จะได้ มีก ารสร้า งแนวความคิด หรือ กรอบของการวางแผนภาษี ใ ห้มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ สิง่ สําคัญอย่างหนึ่งในการวางแผนภาษีท่ผี ูว้ างแผนภาษีจะต้องนํ าไป ปฏิบตั มิ ขี นั ้ ตอนดังต่อไปนี้ 1. จัดตัง้ คณะกรรมการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการวางแผนภาษีมูลค่าหรือการวางแผนภาษีอากรประเภทต่างๆ นัน้ ไม่ควรจะ กํ า หนดให้ ใ ครคนใดคนหนึ่ ง เป็ นผู้ ว างแผนภาษี อ ากรเพี ย งผู้ เ ดี ย ว ควรจะมี คณะกรรมการในการวางแผนภาษีเพื่อเป็ นการระดมสมอง ระดมความคิด เพราะปญั หา ภาษีไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่ทุกคนในองค์กรต้องช่วยเหลือกัน รับผิดชอบร่วมกัน ประสานงานปฏิบ ัติ ง านให้ สํ า เร็จ ลุ ล่ ว งไปตามกระบวนการในการวางแผนภาษี คณะกรรมการอาจจะประกอบไปด้ว ย เช่ น ฝ่า ยบัญ ชี ฝ่า ยการเงิน ฝ่า ยขาย ฝ่า ย การตลาด ผูบ้ ริการ ฝา่ ยจัดซือ้ เป็ นต้น 2. กระบวนการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม จะต้องกําหนดประเด็นในการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ขึน้ มาก่อนว่าจะวางแผนภาษี ในเรื่องใด เช่น การส่งเสริมการขาย การเสียภาษีซอ้ื การขอคืนภาษีซอ้ื การเฉลีย่ ภาษี ซื้อ หรือจะกําหนดกระบวนการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ทัง้ ระบบซึ่งเหมาะกับกิจการที่ ตัง้ ขึ้นใหม่ หรือกิจการที่มกั ประสบปญั หาในการเสียภาษีมูลค่าเพิม่ ในกระบวนการ วางแผนภาษีจะวิเคราะห์วา่ 2.1 เป็ นธุ ร กิ จ ขายสิ น ค้ า หรื อ ให้ บ ริ ก ารเนื่ องจากหลั ก เกณฑ์ ใ นการเสี ย ภาษีมลู ค่าเพิม่ แตกต่างกัน 2.2 อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ ร้อยละ 7 หรือร้อยละ 0 2.3 จุดความรับผิดในการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เกิดขึน้ เมือ่ ใด 2.4 ฐานภาษีมลู ค่าเพิม่ จะคํานวณจากยอดใด 2.5 มีขอ้ ยกเว้นทีไ่ ม่ตอ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ หรือไม่ 2.6 หากต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ใครเป็ นผูเ้ สีย และจะเสียเมือ่ ใด 2.7 หากไม่เสียหรือเสียคลาดเคลื่อนมีเบี้ยปรับและเงินเพิม่ หรือไม่ เป็ นจํานวนเงิน เท่าใด 2.8 ต้องออกใบกํากับภาษี ใบเพิม่ หนี้ หรือใบลดหนี้หรือไม่ ออกเมือ่ ใด 2.9 ต้องเสียภาษีอากรอื่นหรือไม่ เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย 3. ระบบข้อมูลสนับสนุนการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม เนื่ องจากภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ นภาษีอากรประเมิน เป็ นภาษีทางอ้อมที่ผู้ขายหรือผู้ ให้บริการผลักภาระไปให้กบั ผูซ้ ้อื หรือผูร้ บั บริการเป็ นผูจ้ ่ายเงิน กระบวนการวางแผน


89 ภาษีมลู ค่าเพิม่ จะต้องศึกษากฎหมายแม่ตงั ้ แต่มาตรา 77-90 และกฎหมายลูก เช่น พระ ราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่ และ คําสังกรมสรรพากร ่ ดังนัน้ กระบวนการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ จะต้องศึกษาข้อกฎหมาย ให้ครบถ้วน 4. กําหนดหน้ าที่ความรับผิดชอบ เมื่อมีคณะกรรมการในการวางแผนภาษี ควรมีการกําหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของแต่ละคนในการศึกษาหาข้อมูลเพื่อสนับสนุ นในการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ การ จัดทําบัญชี การจัดทําเอกสาร และรายงานภาษีมลู ค่าเพิม่ 5. กําหนดเป้ าหมาย และนโยบาย การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องกําหนดเป้าหมายว่าจะวางแผนภาษีในเรื่องใด เช่ น สวัส ดิก ารพนั ก งาน การลดราคา การให้ข องแถม การให้ร างวัล การยกเว้น ภาษีมลู ค่าเพิม่ และจะต้องมีการกําหนดนโยบายการวางแผนภาษีให้ชดั เจนว่าจะดําเนิน ธุรกิจให้เสียภาษีมูลค่าเพิม่ ให้ถูกต้อง ประหยัด และเกิดประโยชน์ ต่อกิจการ ไม่มกี าร หลีกเลีย่ งภาษีอากร 6. วิ เคราะห์ปัญหา เมื่อมีการกําหนดเป้าหมายและนโยบายในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้องแล้ว นํ า ั หาหรื อ เป้ าหมายในการวางแผนภาษี ม าวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบต่ อ การเสี ย ปญ ภาษีมลู ค่าเพิม่ อาจจะแยกประเด็นปญั หาหลายวิธดี ว้ ยกัน โดยการเปรียบเทียบข้อดีและ ข้อเสียของแต่ละวิธี แล้วเลือกวิธที ม่ี ขี อ้ เสียน้อยทีส่ ดุ มาใช้ในการปฏิบตั งิ าน 7. กําหนดแผนการปฏิ บตั ิ งาน หลังจากวิเคราะห์ปญั หาในการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ โดยการกําหนดข้อดีและ ข้อ เสีย ขึ้น มาแล้ ว และกํ า หนดทางเลื อ กหรือ วิธีท่ีจ ะนํ า มาใช้ ใ นการวางแผนภาษี กระบวนการต่อมาก็จะนํ าแผนดังกล่าวมาใช้ในการปฏิบตั ิงาน ควรจะมีการประชุม พนั ก งานที่เ กี่ย วข้อ งกับ การวางแผนภาษี ด ัง กล่ า วโดยให้ค วามรู้แ ละความเข้า ใน กระบวนการทีก่ าํ หนดไว้ในแผนการปฏิบตั ใิ ห้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ 8. ติ ดตามผลและแก้ไขปัญหา หลังจากนําแผนการปฏิบตั งิ านออกใช้ จะต้องมีการติดตามผลการปฏิบตั งิ านในการ วางแผนภาษีว่าพนักงานในแต่ละส่วนได้มกี ารปฏิบตั ติ ามแผนทีว่ างไว้หรือไม่ หากพบ ั หาในขัน้ ตอนหรือ กระบวนการใดจะสามารถแก้ไ ขป ญ ั หาได้ท ัน ท่ ว งที เพื่อ ลด ปญ ข้อผิดพลาดในการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่


90 การวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย ในปจั จุบนั อาจกล่าวได้ว่า การวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) เป็ นสิง่ จําเป็ นสําหรับ ผูป้ ระกอบธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ระกอบธุรกิจที่มุ่งประสงค์ให้การเสียภาษีอากรเป็ นไป อย่างถูกต้องครบถ้วน โดยไม่มปี ญั หาต่างๆ ตามมาในภายหลัง และการเสียภาษีอากรนัน้ ๆ ต้อง มีจาํ นวนน้อยทีส่ ดุ ภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย เป็ นภาระหน้าทีข่ องผูป้ ระกอบธุรกิจทัง้ กรณีทเ่ี ป็ นผูจ้ ่ายเงินได้ทต่ี อ้ ง หักภาษี ณ ทีจ่ ่าย แล้วผูม้ เี งินได้ทต่ี อ้ งหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายทีต่ อ้ งปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องและครบถ้วนอยู่ เสมอ ทัง้ นี้ เพื่อทีจ่ ะป้องกันมิให้เกิดปญั หา และความเสียหายต่อธุรกิจ แต่เนื่องจากภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย มีหลักเกณฑ์ วิธกี าร เงื่อนไข และอัตรา ตลอดจนแนวทางปฏิบตั ิท่คี ่อนข้างจะ ยุง่ ยากสับสนอยู่พอควร ดังนัน้ ในบทนี้จงึ จะได้กล่าวถึงการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย เพื่อเป็ น แนวทางเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบธุรกิจและผูเ้ กี่ยวข้องกับภาษีหกั ณ ที่จ่าย ตลอดจนผู้ท่สี นใจ ต่อไป ขัน้ ตอนในการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย 1. กําหนดนโยบายการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย การก่ อ ตัว ของนโยบายที่นํ า ไปสู่ ค วามสํ า เร็จ ในการนํ า ไปถื อ ปฏิบ ัติ ท ัง้ หลาย โดยเฉพาะนโยบายที่มผี ลกระทบต่อองค์กรอย่างยิง่ เช่น นโยบายการวางแผนภาษี อากรส่วนใหญ่จะกําหนดโดยผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ ล็งเห็นความสําคัญ หรือประโยชน์ของ การวางแผนภาษีอากร ในอันที่จะป้องกันปญั หาที่อาจเกิดกับองค์การพร้อมๆ กันใน หลายๆ ทาง นโยบายการวางแผนภาษีอากรครบกําหนดให้แจ้งชัด โดยคํานึงถึงขอบเขต หรือ วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายเพื่อผูน้ ํานโยบายการวางแผนภาษีอากร ไปถือปฏิบตั จิ ะสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างเห็นผลอาทิ 1.1 เพื่อให้การหักภาษี ณ ที่จ่าย และการนํ าส่งของกิจการถูกต้องและครบถ้วน ตามทีก่ ฎหมายกําหนดบัญญัตไิ ว้ โดยไม่มกี ารหลีกเลีย่ งภาษีอากร 1.2 เพือ่ ให้ขจัดปญั หาในการหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยของกิจการทีอ่ าจเกิดขึน้ ในทุกกรณี 1.3 เพื่อประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน้ เนื่องจากการหักภาษี ณ ที่จ่ายไม่ ถูกต้อง ได้แก่ 1.3.1 เงินเพิม่ ภาษี เพราะเหตุทผ่ี ูป้ ระกอบการนํ าส่งภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายล่าช้า หรือเกินเวลาทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมาย 1.3.2 ค่าปรับทางอาญาเนื่องจากการ ฝ่าฝื น หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามหน้าที่ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย เกีย่ วกับภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ยตามทีบ่ ญ


91 นโยบายการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย ควรประกาศให้ทราบโดยทัวกั ่ นในหมู่ ผูบ้ ริหารและผูท้ เ่ี กี่ยวข้องทุกฝ่ายในองค์กรในอันทีจ่ ะก่อประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร ทัง้ ในกระบวนการวางแผนภาษีอากรและการนํ าการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายไป ปฏิบตั ิ (Implementation) 2. กําหนดคณะบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย การวางแผนภาษีหกั ณ ที่จ่าย ต้องอาศัยบุ คลากรที่เกี่ย วข้องหลายๆ ฝ่ายร่ว ม ปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจทีว่ างแผนภาษี อากร อาทิ 2.1 ฝ่า ยจัด การ ซึ่ง ควบคุ ม นโยบายขององค์ก ารและเข้าถึงกิจ กรรมต่ า งๆ ของ องค์การเป็ นอย่างดี จึงต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย และการวางแผนภาษี ท ัง้ ระบบขององค์ก าร และทํ า หน้ า ที่ป ระธานในการ วางแผนภาษีอากร 2.2 ฝา่ ยบัญชีและการเงิน ซึง่ เกีย่ วข้องกับการจ่ายเงินให้แก่ผมู้ เี งินได้ทต่ี อ้ งคํานวณ หักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายให้ถูกต้องครบถ้วน ในทุกครัง้ จึงต้องมีส่วนร่วมในการ วางแผนภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยและการวางแผนภาษีประเภทอื่นๆ 2.3 ฝา่ ยบุคลากร โดยเฉพาะในการจ่ายเงินได้ให้แก่พนักงานหรือลูกจ้างขององค์กร 2.4 ฝา่ ยขายหรือฝา่ ยการตลาด โดยเฉพาะในประเด็นการส่งเสริมการขาย และฝา่ ย อื่นทีเ่ กีย่ วข้อง 2.5 ฝา่ ยกฎหมาย ซึง่ เป็ นส่วนงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการทําสัญญาจึงต้องมีความรอบรู้ และเข้าใจในบัญญัตเิ กีย่ วกับการหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่าย และมีสว่ นร่วมในการ วางแผนภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยขององค์การ 2.6 ผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษีอากร หรือทีป่ รึกษาทางด้านภาษีอากร เป็ นสิง่ จําเป็ น 3. ศึ กษาหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขเกี่ ยวกับภาษี หกั ณ ที่ จ่ายทุกกรณี ที่ เกี่ยวข้องกับกิ จการ ตลอดจนแนววิ นิจฉัย ข้อกฎหมาย หรือคําพิ พากษาของ ศาล แนวคําตอบข้อหารือหรือแนวทางปฏิ บตั ิ เกี่ยวกับภาษี หกั ณ ที่ จ่ายของ กรมสรรพากรทุกประเด็น 4. ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนิ นธุรกิ จ ตลอดจนเอกสารทาง ธุรกิ จของกิ จการนัน้ ๆ พิ จารณาว่าขัน้ ตอนใด หรือกรณี ใด มีประเด็นภาษี หกั ณ ที่จ่าย เกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร 5. ดําเนิ นการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย โดย


92 5.1 กําหนดประเด็นภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย ทีเ่ กี่ยวข้องกับธุรกิจทีจ่ ะวางแผนภาษีอากร อย่างเป็ นระบบทุกกรณีและทุกขัน้ ตอน ในบางกรณีการดําเนินธุรกิจขัน้ ตอน หนึ่งๆ อาจมีประเด็นภาษี และวิธกี ารปฏิบตั ทิ างภาษีแตกต่างกันหลายประเด็น 5.2 เลือกช่อ งทางการปฏิบ ตั ิเ กี่ย วกับ ภาษีหกั ณ ที่จ่า ย ที่จะทํา ให้กิจ การได้ร บั ประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุดไม่เสีย่ งต่อการถูกลงโทษทางภาษีอากร ในบาง กรณีจําเป็ นต้องจัดรูปแบบขององค์กร รูปแบบของเอกสารหลักฐาน ตลอดจน ปญั หาหรือนิตกิ รรมต่างๆ เพื่อรองรับการวางแผนภาษีอากร ทัง้ นี้ โดยให้การ ปฏิบตั กิ ารทางภาษีอากรสอดคล้องกับการประกอบการอันเป็ นปกติทางธุรกิจ ของกิจการนัน้ ๆ 6. ติ ดตามประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ การเกี่ยวกับภาษี หกั ณ ที่จ่าย ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากการวางแผนภาษีหกั ณ ที่จ่าย เพื่อนํ ามาประมวลผล และปรับปรุงการวางแผนภาษีอากรต่อไป เป็ นที่เข้าใจโดยทัวไปว่ ่ า การวางแผนภาษีอากรต้องอาศัยความรอบรู้และความ ละเอียดรอบคอบของผูด้ ําเนินการวางแผนภาษีอากรอย่างยิง่ และต้องทําอย่างต่อเนื่อง จึงบรรลุผลสําเร็จสูงสุด ทฤษฎีเกี่ยวกับนโยบายการคืนภาษี รถยนต์คนั แรก สาระสําคัญของนโยบาย ตามนโยบายรัฐบาลนายกรัฐมนตรี (น.ส.ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร) ที่แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวัน อังคารที่ 23 ส.ค.2554 ซึ่งเป็ นนโยบายยกระดับคุณภาพชีวติ ประชาชน โดยเพิม่ กําลังซื้อใน ประเทศ สร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค โดย มี มาตรการภาษีเพื่อลดภาระการลงทุนสําหรับสิง่ ทีจ่ าํ เป็ นในชีวติ ของประชาชนทัว่ ไป ได้แก่ บ้าน หลังแรกและรถยนต์คนั แรก กรมสรรพสามิต ได้รบั มอบหมายจากการะทรวงการคลัง ให้ดาํ เนิน แนวทางการใช้มาตรการภาษีเพื่อลดภาระการลงทุนสําหรับสิง่ ที่จําเป็ นใน ชีวติ ของประชาชน ทัวไปสํ ่ าหรับรถยนต์คนั แรก เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2554 ทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบมาตรการ ภาษีสนับสนุ นการมีรถยนต์คนั แรกตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอโดยกรมสรรพสามิตจะคืนเงิน ภาษีให้สาํ หรับรถยนต์คนั ละไม่เกิน 1 แสนบาทขนาดไม่เกิน 1,500 ซีซี เนื่องจากไม่ตอ้ งการที่ จะให้สทิ ธิ ์กับรถยนต์ทป่ี ระกอบในต่างประเทศเพราะต้องการสนับสนุ นผูผ้ ลิตรถยนต์ทม่ี กี ารตัง้ โรงงานผลิตและประกอบในประเทศมากกว่าทีจ่ ะเปิ ดทางให้รถประกอบนอกเข้ามาให้ได้รบั การ สนับสนุ นด้วยขณะทีน่ ายชลิตรัตน์ จันทรุเบกษา รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า


93 ทีป่ ระชุม ครม. มีมติอนุ มตั มิ าตรการภาษีรถยนต์คนั แรกตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอพร้อมทัง้ อนุ มตั แิ ละจัดสรรงบประมาณในปี งบประมาณ 2555 จํานวน 100 ล้านบาท เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายใน การดําเนินโครงการและเสนออนุ มตั จิ ดั สรรงบประมาณในปี งบประมาณ 2556 จํานวน 3 หมื่น ล้านบาทเพื่อคืนเงินสําหรับรถยนต์คนั แรกเท่ากับค่าภาษีตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกินคันละ 1 แสน บาทนอกจากนี้มอบหมายให้กรมการขนส่งทางบกกระทรวงคมนาคมให้ความร่วมมือกับกรม สรรพสามิตในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับการแสดงหลักฐานการครอบครองรถยนต์คนั แรก การบันทึก ข้อมูลห้ามจําหน่ายโอนรถยนต์ภายใน 5 ปี ตามมาตรการดังกล่าวของรัฐบาลต่อไป การดําเนินการตามมาตรการดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจและประชาชน ดังนี้ 1. สนับสนุ นให้ประชาชนมีโอกาสซือ้ รถยนต์สาํ หรับผูท้ ไ่ี ม่เคยมีรถยนต์มาก่อนสามารถซือ้ รถยนต์ได้ไม่น้อยกว่า 500,000 คน 2. มาตรการนี้ จ ะสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมยานยนต์ แ ละอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งให้มีก าร ขยายตัว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมยานยนต์ เ ป็ น อุ ต สาหกรรมหลัก ของ ประเทศไทยซึง่ จะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย 3. มาตรการดังกล่าวนี้จะส่งผลให้การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลเช่นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ภาษีมลู ค่าเพิม่ และภาษีสรรพสามิตรถยนต์เพิม่ มากขึน้ 4. เมื่อพิจารณาจากปริมาณการเสียภาษีรถยนต์นัง่ ที่มรี าคาขายปลีกไม่เกิน1,000,000 บาท/คันในปี งบประมาณ 2553 เป็ นฐานพบว่ามีปริมาณรถยนต์นงขนาดไม่ ั่ เกิน 1,800 ลูกบาศก์เซนติเมตรรถยนต์กระบะ (Pick up) และรถยนต์นงกึ ั ่ ง่ บรรทุก (Double Cab) มีจํานวนประมาณ520,000 คันการคืนเงินเท่ากับค่าภาษีตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท/คันต้องใช้เงินงบประมาณจํานวนมากฉะนัน้ เพื่อสนับสนุ นให้ประชาชนที่ มีร ายได้ น้ อ ยที่ไ ม่ เ คยมีร ถยนต์ ม าก่ อ นสามารถซื้อ รถยนต์ ไ ด้จึง เห็น ควรกํ า หนด กลุ่มเป้าหมายคืนเงินเท่ากับค่าภาษีตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท/คันให้ผซู้ อ้ื รถยนต์ขนาดไม่เกิน 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตรรถยนต์กระบะ (Pick up) และรถยนต์ นังกึ ่ ง่ บรรทุก(Double Cab) ซึง่ มีจาํ นวนประมาณ 500,000 คันโดยใช้งบประมาณ 30,000 ล้านบาท การขอใช้สิทธิ์ ฯสําหรับรถยนต์ใหม่คนั แรกตามนโยบายรัฐบาล 1. เงือ่ นไขการขอใช้สทิ ธิ ์ฯสําหรับรถยนต์ใหม่คนั แรกตามนโยบายรัฐบาล 1.1. เป็ นรถยนต์ใหม่คนั แรกทีซ่ อ้ื ตัง้ แต่วนั ที่ 16 กันยายน 2554 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 1.2. เป็ นรถยนต์ราคาขายปลีกไม่เกิน 1,000,000 บาท/คัน


94 1.3. เป็ นรถยนต์นงั ่ ขนาดความจุกระบอกสูบไม่เกิน 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร/ รถยนต์กระบะ (Pick up)/รถยนต์นงที ั ่ ม่ กี ระบะ (Double Cab) 1.4. เป็ นรถยนต์ทผ่ี ลิตขึน้ ในประเทศไม่รวมถึงรถยนต์ทป่ี ระกอบจากชิน้ ส่วนนํ าเข้า ใช้แล้วจากต่างประเทศ (รถยนต์จดประกอบ) 1.5. จ่ายเงินตามสิทธิ ์โดยถือจํานวนตามค่าภาษีสรรพสามิตตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท/คัน 1.6. ผูซ้ อ้ื ต้องมีอายุ 21 ปีบริบรู ณ์ขน้ึ ไป 1.7. ผูซ้ อ้ื ต้องครอบครองรถยนต์ไม่น้อยกว่า 5 ปี 1.8. การจ่ายเงินตามสิทธิ ์จะจ่ายให้เมื่อครอบครองรถยนต์ 1 ปี ไปแล้ว (เริม่ จ่ายให้ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2555 เป็ นต้นไป) 2. ผูซ้ ้อื รถยนต์คนั แรกสามารถตรวจสอบรายละเอียดยี่หอ้ รุ่นรถยนต์จํานวนเงินที่มี สิทธิ ์ได้รบั คืนทาง http://www.excise.go.th หรือตัวแทนจําหน่ายรถยนต์ทวประเทศ ั่ 3. เมือ่ เอกสารครบผูซ้ อ้ื สามารถยืน่ คําขอใช้สทิ ธิ ์ฯได้ 2 ช่องทางคือ 3.1 สํานักงานสรรพสามิตพืน้ ที/่ สํานักงานสรรพสามิตพืน้ ทีส่ าขาตามทะเบียนบ้าน หรือสถานที่จดทะเบียนรถยนต์โดยผูซ้ ้อื ต้องยื่นเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 3.2 ผ่านทางhttp://www.excise.go.th เอกสารที่ยื่นพร้อมกับคําขอใช้สิทธิ์ มีดงั นี้ 1. แบบคําขอใช้สทิ ธิ ์ฯสําหรับรถยนต์ใหม่คนั แรกตามนโยบายรัฐบาล 2. สําเนาบัตรประชาชน 3. สําเนาทะเบียนบ้าน 4. สําเนาหนังสือสัญญาเช่าซือ้ (ในกรณีเช่าซือ้ ) 5. สําเนาคูม่ อื การจดทะเบียน 6. หนังสือยินยอมสละสิทธิ ์การโอนรถยนต์คนั แรก 7. หลักฐานการซือ้ ขายรถยนต์ (ใบเสร็จรับเงินและหรือใบจอง(ถ้ามี)/สัญญาซือ้ ขาย/ เอกสารการรับมอบรถยนต์) แนวทางการดําเนิ นงาน 1. ผูซ้ อ้ื รถยนต์ดงั กล่าวตัง้ แต่วนั ที่ 1 ต.ค.2554 ถึงวันที่ 31 ธ.ค.2555 ต้องยื่นคําขอคืน เงินกับกรมสรรพสามิตหรือสํานักงานสรรพสามิตพืน้ ที่ 2. กรม สรรพสามิตหรือสํานักงานสรรพสามิตพืน้ ทีม่ หี นังสือถึงกรมการขนส่งทางบก หรือ สํานักงานขนส่งจังหวัด เพื่อขอตรวจสอบการครอบครองรถยนต์คนั แรก และ แจ้งการสละสิทธิ ์การโอนภายใน 5 ปีของผูซ้ อ้ื


95 3. กรมการขนส่งทางบกหรือสํานักงานขนส่งจังหวัดตรวจสอบและบันทึก “ห้ามโอน ภายใน 5 ปี ” ลงในคอมพิวเตอร์และในสมุดคูม่ อื การจดทะเบียน 4. กรมการ ขนส่งทางบกหรือสํานักงานขนส่งจังหวัดส่งหนังสือรับรองการครอบครอง รถยนต์คนั แรก และสําเนาคู่มอื การจดทะเบียนทีบ่ นั ทึก “ห้ามโอนภายใน 5 ปี ” ให้ กรมสรรพสามิตหรือสํานักงานสรรพสามิตพืน้ ที่ 5. กรมสรรพสามิตหรือ สํานักงานสรรพสามิตพืน้ ที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ และสังจ่ ่ ายเช็คให้แก่ผซู้ อ้ื ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ต.ค.2555 เป็ นต้นไป แนวคิ ด และทฤษฎีเกี่ยวกับเงิ นได้พึงประเมิ นมาตรา 40 ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี เงิ นได้พึงประเมิ น ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอาจแบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภท (ช้องมาศ ปนั ้ ทองพันธุ,์ 2547: 17 อ้างถึง สมเดช โรจน์คุรเี สถียร และคณะ, 2547: 22) : (สมคิด บางโม, 2553: 43) และ (ไพโรจน์ คลังสิน, 2543: 13) ดังนี้บุคคลธรรมดา (มาตรา 56 ทวิ วรรคหนึ่ง) ได้แก่ บุคคลโดยสภาพ คือมีสภาพเป็ นบุคคลเริม่ ตัง้ แต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็ นทารก ไม่ว่า บุ ค คลนัน้ จะเป็ น ผู้เ ยาว์ ผู้ท่ีศ าลสังให้ ่ เ ป็ น คนไร้ค วามสามารถ จะมีถิ่น ที่อ ยู่ใ นประเทศหรือ ต่างประเทศก็ตาม หากบุคคลดังกล่าวมีเงินได้ประเภทต่างๆตามทีป่ ระมวลรัษฎากรกําหนดไว้ก็ ต้องเสียภาษีเงินได้ 1. ห้า งหุ้น ส่ว นสามัญ หรือ คณะบุ ค คลที่มิใ ช่นิติบุ ค คล (มาตรา 56 วรรคสอง) ห้า ง หุน้ ส่วนสามัญนัน้ ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กล่าวคือ การ จัดตัง้ ห้างหุน้ ส่วนสามัญต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ 1.1 มีบุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป 1.2 ตกลงเข้าเป็ นหุน้ ส่วนโดยปฏิบตั ถิ ูกต้องตามกฎหมายเรือ่ งสัญญา 1.3 นําทุนมาลงเพือ่ ประสงค์จะหากําไรมาแบ่งกัน 1.4 เพื่อทํากิจ การอย่างใดอย่า งหนึ่ งที่ไ ม่ต้อ งห้า มตามกฎหมายและไม่ข ดั ต่ อ ศีลธรรมอันดีของประชาชน 1.5 ร่วมกันทํากิจการและแบ่งปนั กําไรกัน คณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล คือคณะบุคคลทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนเป็ นนิตบิ ุคคล ซึ่งไม่ จํ า เป็ น ต้อ งมีว ัต ถุ ป ระสงค์ท่ีจ ะแบ่ ง ป นั ผลกํ า ไรที่จ ะพึง ได้ แต่ กิจ การที่ทํ า ร่ ว มกัน มี


96 ลักษณะเหมือนห้างหุน้ ส่วนสามัญแตกต่างกันเพียงวัตถุประสงค์ให้ผูอ้ ํานวยการหรือ ผูจ้ ดั การยืน่ รายการเสียภาษีในชื่อของห้างหุน้ ส่วนหรือคณะบุคคลนัน้ 2. กองมรดกทีย่ งั ไม่ได้แบ่ง (มาตรา 57 ทวิ วรรคสอง) กองมรดกมิใช่นิตบิ ุคคลและ มิใ ช่บุ คคลธรรมดา เพราะเจ้าของมรดกได้ต ายไปแล้ว ทรัพย์สนิ ของกองมรดก อาจจะเกิดดอกผลเป็ นเงินได้ เช่น ค่าเช่า ดอกเบีย้ เป็ นต้น กองมรดกบางรายต้อง ใช้เวลาหลายปี กว่าจะแบ่งกันเสร็จ หากไม่เก็บภาษีรฐั ย่อมจะเสียรายได้สว่ นนี้ไป ผู้ มีหน้าที่ดําเนินการเสียภาษีคอื ผูจ้ ดั การมรดกหรือทายาท หรือผูค้ รองทรัพย์มรดก แล้วแต่กรณี 3. ผูถ้ งึ แก่ความตาย (มาตร 57 ทวิ) ผูถ้ งึ แก่ความตายระหว่างปี ภาษีมหี น้าทีต่ อ้ งเสีย ภาษีอย่างบุคคลธรรมดา เงินได้ทผ่ี ตู้ ายได้รบั ก่อนหรือหลังการตายก็ตอ้ งนํามาเสีย ภาษีเงินได้ดว้ ย โดยให้ผจู้ ดั การมรดกหรือทายาท หรือผูค้ รอบครองทรัพย์สนิ มรดก เป็ นผูย้ น่ื รายการเสียภาษี ประเภทของเงิ นได้พึงประเมิ นตามมาตรา 40 ประมวลรัษฎากรมาตรา 40 ได้แบ่งแยกเงินได้พงึ ประเมินออกเป็ น 8 ประเภท โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อความสะดวกในการหักค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกัน และเพื่อความสะดวกในเรื่อง อื่นๆนัน้ รายละเอียดของเงินได้พงึ ประเมินทัง้ 8 ประเภท (เกษม มโนสันติ ์ และ เกล็ดนที สสิ กาญจน์, 2548: 22-28) : (จุฑามาศ มนัสชื่นนิรนั ดร์, 2536: 44-48) : (สมคิด บางโม, 2543: ั้ 46-51) : (ช้องมาศ ปนทองพั นธุ,์ 2547: 18-19) : (ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง, 2549: 31-37) : (บุญเสริม อุ่ยตระกูล และ วิชาญ โพธิสทิ ธิ ์, 2544: 20-22) : (เวก ศิรพิ มิ ลวาทิน, 2547: 20-25) : (สนัน่ เกตุทตั , 2513: 5-10) : (กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร, 2553: 11) และ (จง พวง มณีวฒ ั นา, 2544: 4-6) มีดงั นี้ 1. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ได้แก่ 1.1 เงินเดือน ค่าจ้าง เบีย้ เลีย้ ง โบนัส เบีย้ หวัด บําเหน็จ บํานาญ 1.2 เงินค่าเช่าบ้าน ซึง่ เป็ นค่าตอบแทนทีน่ ายจ้างให้ลูกจ้างสําหรับเป็ นค่าเช่าบ้าน ทีล่ ูกจ้างจะนํ าไปจ่ายให้แก่ผใู้ ห้เช่า เงินทีค่ ํานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่ บ้านทีน่ ายจ้างได้ให้อยูโ่ ดยไม่เสียค่าเช่า 1.3 เงินทีน่ ายจ้างออกให้เป็ นค่าภาษีเงินได้หรือภาษีอากรอื่น


97 1.4 เงินทีน่ ายจ้างชําระหนี้ใดๆ ซึง่ ลูกจ้างมีหน้าทีต่ อ้ งชําระ และเงิน ทรัพย์สนิ หรือ ประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากการจ้างแรงงาน สาระสําคัญของเงินได้ประเภทนี้ต้องเป็ นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ซึ่งตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บญ ั ญัตวิ ่า “อันว่าจ้างแรงงานนัน้ คือสัญญาซึง่ บุคคล หนึ่งเรียกว่าลูกจ้างตกลงจะทํางานให้แก่อกี บุคคลหนึ่ง เรียกว่านายจ้าง และนายจ้างตก ลงจะให้คา่ สินจ้างตลอดเวลาทีท่ าํ งานให้” 2. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (2) เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตําแหน่ งงานทีท่ ํา หรือจากการรับทํางานให้ ได้แก่ 2.1 ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด 2.2 เงินอุดหนุนในงานทีท่ าํ เบีย้ ประชุม บําเหน็จ โบนัส 2.3 เงินค่าเช่าบ้าน 2.4 เงินทีค่ าํ นวณได้จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นทีผ่ จู้ า่ ยเงินได้ให้อยูโ่ ดยไม่เสียค่า เช่า 2.5 เงินทีผ่ จู้ า่ ยเงินได้ออกให้เป็ นค่าภาษีเงินได้หรือภาษีอากรอื่น 2.6 เงินทีน่ ายจ้างชําระหนี้ใดๆ ซึง่ ผูม้ เี งินได้มหี น้าทีต่ อ้ งชําระ 2.7 เงิน ทรัพ ย์ส ิน หรือ ประโยชน์ ใ ดๆ บรรดาที่ไ ด้เ นื่ อ งจากการหน้ า ที่ห รือ ตําแหน่ งงานทีท่ าํ หรือจากการรับทํางานให้นนั ้ ไม่ว่าหน้าทีห่ รือตําแหน่ งงาน ่ หรืองานทีร่ บั ทําให้นนั ้ จะเป็ นการประจําหรือชัวคราว สาระสําคัญของเงินได้ประเภทนี้คอื เป็ นเงินได้จากหน้าทีง่ านหรือตําแหน่ งงานทีท่ ํา หรือเป็ นเงินได้จากการรับจ้างทํางานให้ สําหรับเงินได้เนื่องจากหน้าทีห่ รือตําแหน่งงาน ได้ เงินได้ประเภทนี้มลี กั ษณะคล้ายกับเงินได้ ทีท่ ําอาจเป็ นการทําประจําหรือชัวคราวก็ ่ พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แต่ต่างกันทีว่ ่าเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) ต้อง เป็ นเงินได้ทเ่ี กิดจากการจ้างแรงงานโดยผูจ้ า่ ยและผูร้ บั เงินมีความสัมพันธ์กนั ในลักษณะ นายจ้างและลูกจ้าง ส่วนเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (2) ผูม้ เี งินได้ไม่ได้เป็ นลูกจ้าง และผูจ้ า่ ยเงินได้ไม่ได้เป็ นนายจ้าง 3. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (3) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ ์ หรือสิทธิ อย่างอื่น หรือเงินได้ทม่ี ลี กั ษณะเป็ นเงินรายปี อนั ได้มาจากพินยั กรรม นิตกิ รรมอย่าง


98 อื่นหรือคําพิพากษาของศาล รวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรทีผ่ จู้ ่ายเงินหรือผูอ้ ่นื ออก แทนให้สาํ หรับเงินได้ประเภทต่างๆดังกล่าว ไม่วา่ ในทอดใด 4. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (4) ได้แก่เงินได้ดงั ต่อไปนี้ รวมตลอดถึงเงินค่า ภาษีอากรทีผ่ จู้ ่ายเงิน หรือผูอ้ ่นื ออกแทนให้สาํ หรับเงินได้ประเภทต่างๆดังกล่าว ไม่ ว่าทอดใด แบ่งออกเป็ น 2 ตอน คือ 4.1 ตอนที่ 1 4.1.1 ดอกเบี้ย ได้แก่ ดอกเบี้ย พัน ธบัต ร ดอกเบี้ย เงิน ฝาก ดอกเบี้ยหุ้น กู้ ดอกเบี้ยตั ๋วเงิน หรือดอกเบี้ยเงินกู้ยมื ไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ก็ ตาม ดอกเบี้ยเงินกู้ยมื ที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตาม กฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหัก ภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายดังกล่าว หรือผลต่างระหว่างราคาไถ่ ถอนรวมทัง้ เงินได้ทม่ี ลี กั ษณะทํานองเดียวกันกับดอกเบีย้ ผลประโยชน์ หรือค่าตอบแทนอื่นๆ ทีไ่ ด้จากการให้กยู้ มื หรือจากสิทธิเรียกร้องในหนี้ ทุกชนิดไม่วา่ จะมีหลักประกันหรือไม่กต็ าม 4.1.2 เงินปนั ผล เงินส่วนแบ่งของกําไรหรือประโยชน์ อ่นื ใดที่ได้จากบริษัท หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศ 4.1.3 เงินปนั ผลจากกองทุนรวม หรือสถาบันการเงินทีม่ กี ฎหมายโดยเฉพาะ ของประเทศไทยจัดตัง้ ขึน้ สําหรับให้กูย้ มื เงิน เพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม 4.1.4 เงินโบนัสทีจ่ ่ายแก่ผถู้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนในบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิตบิ ุคคล 4.1.5 เงินลดทุนของบริษทั ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเฉพาะส่วนทีจ่ ่ายไม่เกินกว่า กําไรและเงินทีก่ นั ไว้รวมกัน 4.1.6 เงินเพิม่ ทุนของบริษทั ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลซึง่ ตัง้ จากกําไรทีไ่ ด้มาหรือ เงินทีก่ นั ไว้รวมกัน 4.1.7 ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากการทีบ่ ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลควบเข้ากัน หรือรับช่วงกันหรือเลิกกัน ซึง่ ตีราคาเป็ นเงินได้เกินกว่าเงินทุน


99 4.1.8 ผลประโยชน์ ท่ีไ ด้จ ากการโอนการเป็ น หุ้น ส่ ว น หรือ โอนหุ้น หุ้น กู้ พันธบัตร หรือตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ท่บี ริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่นเป็ นผู้ออก ทัง้ นี้เฉพาะซึ่งตีราคา เป็ นเงินได้เกินกว่าทีล่ งทุน 4.2 ตอนที่ 2 เงินปนั ผล เงินส่วนแบ่งกําไร หรือประโยชน์ อ่นื ใดที่ได้จากบริษัท หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย 5. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (5) ได้แก่ เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นทีไ่ ด้เนื่องจาก 5.1 การให้เช่าทรัพย์สนิ ถ้าเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอนั ควรเชื่อว่าผู้มเี งินได้ แสดงเงินได้ต่ําไปไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริง เจ้าพนักงานประเมินมีอํานาจ ประเมินเงินได้นัน้ ตามจํานวนเงินทีท่ รัพย์สนิ นัน้ ควรให้เช่าได้ตามปกติ และ ให้ถอื ว่าจํานวนเงินทีป่ ระเมินเป็ นเงินได้พงึ ประเมินของผูม้ เี งินได้ 5.2 การผิดสัญญาเช่าซือ้ ทรัพย์สนิ 5.3 การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อนซึ่งผูข้ ายได้รบั คืนทรัพย์สนิ ซื้อขายนัน้ โดยไม่ ต้องคืนเงินหรือประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ไว้แล้ว 6. เงิน ได้พึง ประเมิน ตามมาตรา 40 (6) ได้แ ก่ เงิน ได้จ ากวิช าชีพ อิส ระ คือ วิช า กฎหมาย การประกอบโรคศิลป์ วิศวกรรม สถาปตั ยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือ วิชาชีพอิสระ หรือวิชาชีพอิสระอื่นซึง่ ได้มพี ระราชกฤษฎีกากําหนดชนิดไว้ 7. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (7) เงินได้จากการรับเหมาทีผ่ รู้ บั เหมาต้องลงทุน ด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสําคัญนอกจากเครื่องมือรวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรทีผ่ จู้ ่ายเงิน หรือผูอ้ ่นื ออกแทนให้ไม่วา่ ในทอดใด 8. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (8) ได้แก่ เงินได้ประเภทดังต่อไปนี้รวมตลอดถึง เงินค่าภาษีอากรทีผ่ จู้ า่ ยเงิน หรือผูอ้ ่นื ออกแทนให้ ไม่วา่ ในทอดใด 8.1 เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นนอกจากทีร่ ะบุไว้ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7 แล้ว 8.2 เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อนั เป็ นมรดก หรือทีไ่ ด้รบั จากการให้โดย เสน่ หา หรือที่ได้มาโดยมิได้มุ่งในทางการค้าหรือหากําไร เฉพาะทีเ่ ลือกเสีย ภาษี โดยนํามารวมคํานวณภาษีกบั เงินได้อ่นื ๆ


100 ค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หกั จากเงิ นได้พึงประเมิ น ในการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากฎหมายยอมให้หกั ค่าใช้จ่าย (ช้องมาศ ปนั ้ ทองพันธุ,์ 2547: 20 อ้างถึง สมคิด บางโม, 2546: 69-74) ดังนี้ 1. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) และ (2) กฎหมายให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการ เหมาได้เพียงอย่างเดียวดังนี้ 1.1 ผูม้ เี งินได้สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้รอ้ ยละ 40 ของเงินได้ แต่ รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท 1.2 ในกรณีสามีภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้และความเป็ นสามีภริยามีอยู่ตลอดปี ภาษี ให้ต่างฝ่ายต่างหักค่าใช้จ่ายได้รอ้ ยละ 40 แต่ไม่เกินฝ่ายละ 60,000 บาท 2. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (3) เฉพาะเงินได้ทเ่ี ป็ นค่าแห่งลิขสิทธิ ์เท่านัน้ ที่ ประมวลรัษฎากรยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้รอ้ ยละ 40 แต่ต้องไม่เกิน 60,000 บาทในกรณีสามีและภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ประเภทนี้ และความเป็ น สามีหรือภริยามีอยูต่ ลอดปีภาษี ให้ต่างฝา่ ยต่างหักค่าใช้จา่ ยได้ตามเกณฑ์เดียวกัน 3. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (3) ประมวลรัษฎากรไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายใดๆ ทัง้ สิน้ 4. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (4) ประมวลรัษฎากรให้หกั ค่าใช้จา่ ยได้ดงั นี้ 4.1 การให้เช่าทรัพย์สนิ ผูม้ เี งินได้มสี ทิ ธิเลือกหักค่าใช้จ่ายตามความจําเป็ นและ สมควรหรือหักค่าใช้จา่ ยเป็ นการเหมาในอัตราดังนี้ 4.1.1 ค่าเช่าบ้าน โรงเรือน สิง่ ปลูกสร้างอื่นๆ หรือแพ หักได้รอ้ ยละ 30 4.1.2 ค่าเช่าทีด่ นิ ทีใ่ ช้ในการเกษตรกรรม หักได้รอ้ ยละ 20 4.1.3 ค่าเช่าทีด่ นิ ทีม่ ไิ ด้ใช้ในการเกษตรกรรม หักได้รอ้ ยละ 15 4.1.4 ค่าเช่ายานพาหนะ หักได้รอ้ ยละ 30 หักได้รอ้ ยละ 10 4.1.5 ค่าเช่าทรัพย์สนิ อื่นๆ 4.2 การผิดสัญญาเช่าซือ้ ทรัพย์สนิ ให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ 20 ได้วธิ ี เดียว


101 4.3 การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน ซึ่งผู้ขายได้รบั คืนทรัพย์ท่ซี ้อื ขายนัน้ โดยไม่ ต้องคืนเงินหรือประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ไว้แล้ว ให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ 20 ได้วธิ เี ดียว 5. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (6) ประมวลรัษฎากรให้เลือกหักค่าใช้จ่ายตาม ความจําเป็ นและสมควรหรือหักค่าใช้จา่ ยเป็ นการเหมาในอัตราดังนี้ 5.1 เงินได้จากการประกอบโรคศิลป์ หักได้รอ้ ยละ 60 5.2 เงินได้จากวิชาชีพอิสระอื่นๆ นอกจาก 5.1 หักได้รอ้ ยละ 30 6. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (7) ประมวลรัษฎากรให้เลือกหักค่าใช้จ่ายตาม ความจําเป็ นและสมควรหรือหักค่าใช้จา่ ยเป็ นการเหมาในอัตราร้อยละ 70 7. เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (8) ประมวลรัษฎากรให้เลือกหักค่าใช้จ่ายตาม ความจํ า เป็ น และสมควรหรือ หัก ค่ า ใช้จ่ า ยเป็ น การเหมาในอัต ราร้อ ยละ 40-85 แล้วแต่กรณี แนวคิ ด และทฤษฎีเกี่ยวกับค่าลดหย่อน ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง (2546: 59) ได้กล่าวว่า ในการคํานวณภาษีเงินได้ นอกจากกฎหมายจะกําหนดให้หกั ค่าใช้จ่ายเงินได้พงึ ประเมินแล้วยังสามารถหักค่าลดหย่อนได้ อีก โดยจากเงินได้พงึ ประเมินเมื่อได้หกั ค่าใช้จ่ายจะได้เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย แสดงให้เห็นถึง รายได้หรือเงินได้ส่ว นที่ปราศจากต้นทุ นในการหารายได้นัน้ แล้ว ก่อนที่จะคํา นวณเสีย ภาษี กฎหมายยังยอมให้หกั ค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ออกจากเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายนี้อกี เพื่อทีจ่ ะ หาเงินได้สุท ธิเ ป็ นฐานที่จะใช้คํานวณภาษีในกรณีของประเทศไทย นอกจากจะมีการให้ค่า ลดหย่อนส่วนตัวตามสถานภาพของผูเ้ สียภาษีแล้วยังมีการให้หกั ค่าใช้จ่ายตามรายการเงินได้ หรือตามรายจ่ายบางประเภทอีกด้วย ความหมายค่าลดหย่อน เวก ศิรพิ มิ ลวาทิน (2547: 48) ได้ให้ความหมายว่า เป็ นค่าใช้จ่ายส่วนตัวของผูม้ เี งินได้ อันไม่เกีย่ วกับการหาเงินได้ กฎหมายยอมให้หกั ลดหย่อน ก็เพื่อบรรเทาภาระการเสียภาษีของผู้ มีเงินได้ การหักค่าลดหย่อนนัน้ ให้หกั ตามสถานภาพของผูม้ เี งินได้ทส่ี ามี ภรรยา และบุตร ย่อม หักค่าลดหย่อนได้มากกว่าผูม้ เี งินได้เป็ นโสด


102 เกษม มโนสันติ ์ และ เกล็ดนที สสิกาญจน์ (2548: 52) ได้ให้ความหมายว่า เป็ น ค่าใช้จ่ายส่วนตัวของผูม้ เี งินได้ไม่เกีย่ วกับการหาเงินได้ และกฎหมายยอมให้ออกจากเงินได้พงึ ประเมินหลังจากหักค่าใช้จา่ ยแล้ว ทัง้ นี้ เพือ่ เป็ นการบรรเทาภาระการเสียภาษีของผูม้ เี งินได้ สมคิด บางโม (2553: 79) ได้ให้ความหมายว่า เงินได้พงึ ประเมินเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้ว กฎหมายกําหนดให้หกั ค่าลดหย่อนได้อกี ค่าลดหย่อนที่ให้หกั นี้ไม่มคี วามสัมพันธ์โดยตรงกับ จํานวนเงินได้พงึ ประเมิน แต่จะมีความสัมพันธ์กบั สถานภาพหรือพฤติกรรมของผูเ้ สียภาษีเป็ น สําคัญ ประเภทค่าลดหย่อน ค่าลดหย่อนทีก่ ฎหมายยอมให้หกั ได้ (เวก ศิรพิ มิ ลวาทิน, 2547: 48-60) : (เกษม มโน สันติ ์ และ เกล็ดนที สสิกาญจน์, 2548: 52-55) : (ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง, 2546: 5965) และ สมคิด บางโม, (2553: 79-86) มีดงั ต่อไปนี้ 1. ค่าลดหย่อนตามสถานภาพของผูม้ เี งินได้ มีดงั นี้ 1.1 ผูม้ เี งินได้หกั ค่าลดหย่อน 30,000 บาท 1.2 คู่สมรส ของสามีหรือภริยาของผูม้ เี งินได้ หักค่าลดหย่อน 30,000 บาท สามี หรือภริยาจะต้องจดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมาย ถ้าผูม้ เี งินได้ไม่ได้อยู่ ในประเทศไทยให้หกั ได้เฉพาะสามีหรือภริยาที่อยู่ใ นประเทศไทยเท่านัน้ ยกเว้ น ข้ า ราชการที่ ป ฎิ บ ัติ ห น้ า ที่ ป ระจํ า สถานทู ต หรื อ สถานกงสุ ล ใน ต่างประเทศ 1.3 บุตรชอบด้วยกฎหมาย หรือบุตรบุญธรรมของผูม้ เี งินได้ ต้องมีอายุไม่เกิน 25 ปี และยั ง ศึ ก ษาอยู่ ใ นอุ ด มศึ ก ษา เป็ นผู้ เ ยาว์ ศาลสั ง่ ให้ เ ป็ นคนไร้ ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถอันอยู่ในความอุปการะเลีย้ งดูของ ผูม้ เี งินได้ ไม่มเี งินได้พงึ ประเมินในปี ภาษีล่วงมาแล้ว 15,000 บาทขึน้ ไป อยู่ ในความอุปการะเลีย้ งดูของผูม้ เี งินได้ ถ้าผูม้ เี งินได้ไม่อยูใ่ นประเทศไทยหักได้ เฉพาะบุ ต รที่อ ยู่ ใ นประเทศไทย ถ้ า สามีแ ละภริย าแยกคํ า นวณภาษี ห ัก ลดหย่อนบุตรได้คนละครึง่ ต้องเข้าเกณฑ์ดงั นี้ 1.3.1 บุตรทีเ่ กิดก่อนหรือในปี พ.ศ.2522 หรือทีไ่ ด้รบั เป็ นบุตรบุญธรรมก่อน พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บาท โดยไม่จาํ กัดจํานวน


103

2.

3.

4.

5.

1.3.2 บุตรที่เกิดหลัง พ.ศ. 2522 หรือที่ได้รบั เป็ นบุตรบุญธรรมในหรือหลัง พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บาท แต่รวมกันต้องไม่เกิน 3 คน ในกรณีผู้ มีเงินได้มบี ุตรทัง้ ข้อ1.3.1 และ ข้อ1.3.2 การหักลดหย่อนสําหรับบุตร ให้นํา บุ ต รตาม ข้อ 1.3.1 ทัง้ หมดมาหัก ก่ อ น แล้ว จึง นํ า บุ ต รตาม ข้อ 1.3.2 มาหัก เว้น แต่ ผู้มีเ งิน ได้มีบุ ต รตาม ข้อ 1.3.1 มีชีวิต อยู่ร วมกัน ตัง้ แต่ 3 คนขึน้ ไป จะนําบุตรตาม ข้อ1.3.2 มาหักไม่ได้ แต่ถา้ บุตรตาม ข้อ1.3.1 มีจํานวนไม่ถงึ 3 คน ให้นําบุตรตาม ข้อ1.3.2 มาหักได้ โดย เมือ่ รวมกับบุตรตาม ข้อ1.3.1 แล้วต้องไม่เกิน 3 คน 1.4 ผูม้ เี งินได้ทเ่ี ป็ นกองมรดก หักค่าลดหย่อน 30,000 บาท 1.5 ผูม้ เี งินได้เป็ นห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคลเป็ นผูอ้ ยู่ใน ประเทศไทย หักลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท ค่าลดหย่อนเพื่อการศึกษา บุตรของผูม้ เี งินได้มสี ทิ ธิหกั ลดหย่อนตามข้อ 1.3 หาก ศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ หรือของเอกชนตามกฎหมายกําหนด หัก ลดหย่อนได้คนละ 2,000 บาท ถ้าศึกษาอยู่ต่างประเทศหักลดหย่อนไม่ได้ ถ้าสามี และภริยาแยกคํานวณภาษี ให้หกั ลดหย่อนได้คนละครึง่ ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวติ เบี้ยประกันชีวติ ของผูม้ เี งินได้ทจ่ี ่ายไประหว่างปี ภาษี ตามจํานวนทีจ่ า่ ยจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท คู่สมรสของผูม้ เี งินได้ทไ่ี ม่มเี งินได้ หัก ค่าลดหย่อนได้ตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท กรมธรรม์ประกันชีวติ นัน้ ต้อง มีกําหนดเวลาตัง้ แต่ 10 ปี ขน้ึ ไป และได้เอาประกันไว้กบั ผูร้ บั ประกันภัยทีป่ ระกอบ กิจการในประเทศไทย การฝากเงินออมสินประเภทสงเคราะห์ชวี ติ และครอบครัวก็ อยูใ่ นข่ายทีจ่ ะขอหักค่าลดหย่อนตามเกณฑ์ ค่าลดหย่อนเบีย้ ประกันสุขภาพบิดามารดา บิดามารดาของผูม้ เี งินได้ตอ้ งมีอายุ 60 ปี ขน้ึ ไป และบุตรแต่ละคนจะนําเบีย้ ประกันสุขภาพของบิดามารดามาหักรวมกันไม่ เกิน 15,000 บาท ค่าลดหย่อนเงินสะสมทีจ่ ่ายเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ อัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ 3 แต่ ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินเดือน นํ ามาหักลดหย่อนได้ตามจํานวนจริงทีจ่ ่ายจริงแต่ ไม่เกิน 10,000 บาท กองทุนสํารองเลี้ยงชีพจะต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร


104 และเงือ่ นไขทีก่ ําหนดไว้ในกฎกระทรวง (ฉบับที่ 183) พ.ศ. 2533 สําหรับเงินสะสม ทีจ่ ่ายเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท ไม่ตอ้ งสียภาษี (กฎกระทรวง (ฉบับที่ 126) พ.ศ. 2509) กรณีสามีหรือภริยาของผูม้ ี เงินได้จา่ ยเงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพและความเป็ นสามีภริยาได้มอี ยูต่ ลอด ปี ภาษีหกั ลดหย่อนได้ 6. ค่าลดหย่อนซือ้ หน่ วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลีย้ งชีพ หักได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้ เมื่อรวมกับเงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพและกองทุนบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการแล้วไม่เกิน 500,000 บาท แต่ถ้าไม่เกิน 400,000 บาท หักลดหย่อนได้ อีกร้อยละ 30 ส่วนเงินปนั ผลทีไ่ ด้จากบริษทั จดทะเบียนหรือนิตบิ ุคคลอื่นๆ ให้ใช้วธิ ี เครดิตภาษี 7. ค่าลดหย่อนเงินปนั ผล เงินส่วนแบ่งกําไรจากกองทุนรวมหรือสถาบันการเงินที่มี กฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัด ตัง้ ขึ้น สํา หรับ ให้กู้ย ืม เพื่อ ส่ง เสริม การ เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือ อุตสาหกรรม ให้หกั ลดหย่อนได้เท่ากับจํานวนเงิน ทีไ่ ด้รบั เงินปนั ผล แต่ไม่เกิน 10,000 บาท เงินปนั ผลส่วนทีเ่ กิน 10,000 บาท แต่ไม่ เกิน 40,000 บาท หักลดหย่อนได้อกี ร้อยละ 30 ส่วนเงินปนั ผลทีไ่ ด้จากบริษทั จด ทะเบียนหรือนิตบิ ุคคลอื่นๆมา ให้ใช้วธิ เี ครดิตภาษี 8. ค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกูย้ มื เพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างทีอ่ ยู่อาศัย ผูม้ เี งินได้มสี ทิ ธิ หักลดหย่อนเงินกู้ยมื ที่ได้จ่ายในปี ภาษีให้แก่ธนาคาร สถาบันการเงินอื่น บริษัท ประกันชีวติ สหกรณ์ หรือนายจ้างสําหรับการกู้ยมื เงินเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้าง อาคารอยูอ่ าศัย โดยจํานองอาคารทีซ่ อ้ื หรือสร้างเป็ นประกันการกูย้ มื นัน้ ตามจํานวน ทีจ่ า่ ยจริงในปีภาษีแต่ไม่เกิน 100,000 บาท ต้องเข้าหลักเกณฑ์ดงั นี้ 8.1 เป็ นดอกเบีย้ เงินกูย้ มื สําหรับการกูย้ มื เงินธนาคาร บริษทั ตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ บริษทั ประกันชีวติ สหกรณ์ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อทีอ่ ยูอ่ าศัยตามกฎหมายว่าด้วย บรรษัท ตลาดรองสิน เชื่อ ที่อ ยู่อ าศัย หรือ นายจ้า ง ซึ่ง มีร ะเบีย บเกี่ย วกับ เงินกองทุนที่จดั สรรไว้เพื่อสวัสดิการแก่ลูกจ้าง เฉพาะที่ผู้ให้กู้ยมื ประกอบ กิจการในราชการอาณาจักร


105 8.2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปญั หาในระบบสถาบันการเงินทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 8.3 กองทุ นรวมเพื่อแก้ไขป ญั หาในระบบสถาบันการเงินที่จดั ตัง้ ขึ้นเพื่อแก้ไข ปญั หาในระบบสถาบันการเงินทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ 8.4 เป็ นดอกเบี้ยเงินกู้ยมื ตามสัญญากู้ยมื เพื่อซื้อ เช่าซื้ออาคารพร้อมที่ดนิ หรือ ห้องชุดในอาคารชุด หรือเพือ่ สร้างอาคารใช้อยูอ่ าศัยบนทีด่ นิ ของตนเอง 8.5 ต้องจํานองอาคารหรือห้องชุดในอาคารชุด หรืออาคารพร้อมทีด่ นิ เป็ นประกัน การกูย้ มื เงินนัน้ โดยมีระยะเวลาการจํานองตามระยะเวลาการกูย้ มื 8.6 ต้องมีอาคารหรือห้องชุดในอาคารชุดตามข้อ 8.4 เป็ นที่อยู่อาศัยแหล่งเดียว โดยมีช่อื อยู่ในทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรและได้อยู่ ่ ไป อาศัยในระหว่างปี ภาษีท่ขี อหักลดหย่อน แต่ไม่รวมถึงกรณีลูกจ้างสังให้ ปฏิบตั ิงานของนายจ้าง ณ ต่ างถิ่นเป็ นประจํา หรืออาคารชุดดังกล่าวเกิด อัคคีภยั ภัยธรรมชาติ หรือภัยอันเกิดจากสาเหตุอ่นื 8.7 ผู้มีเ งิน ได้มีอ าคาร หรือ ห้อ งชุ ด ตามข้อ 8.5 เป็ น ที่อ ยู่ อ าศัย ในปี ท่ีข อหัก ลดหย่อนเกินกว่า 1 แห่ง ให้หกั ลดหย่อนได้ทุกแห่งตามข้อ 8.5 8.8 ให้ห กั ลดหย่อ นได้ต ลอดปี ภ าษี ไม่ว่า กรณีท่ีจ ะหัก ลดหย่อ นได้นัน้ จะมีอ ยู่ ตลอดปีภาษีหรือไม่ 8.9 ผูม้ เี งินได้หลายคนร่วมกันกูย้ มื หักลดหย่อนได้ทุกคนเฉลี่ยค่าลดหย่อนตาม ส่วนของผูม้ เี งินได้ ให้หกั ลดหย่อนให้แก่ผมู้ เี งินได้เต็มจํานวนตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 8.10 ผู้มีเ งิน ได้มีส ิท ธิห ัก ลดหย่ อ นอยู่ก่ อ นแล้ ว ต่ อ มาได้ส มรสกัน ให้ย ัง คงหัก ลดหย่อนได้ ถ้าความเป็ นสามีภริยาได้มอี ยูต่ ลอดปี ภาษีทข่ี อหักลดหย่อน ให้ ต่างฝ่ายต่างหักลดหย่อนได้ตามจํานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ถ้า และภริยายื่นรายการโดยแยกคํานวณภาษี ให้สามีและภริยาต่างฝา่ ยต่าง หักลดหย่อนได้ค รึ่งหนึ่ งของจํา นวนที่จ่ายจริง แต่ รวมกันไม่เ กิน 100,000 บาท


106 8.11 มีการแปลงหนี้ใหม่ด้วยการเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้เงินกู้ยมื ระหว่างผูใ้ ห้กู้ตามข้อ 8.1 ให้ยงั คงหักลดหย่อนได้ตามจํานวนจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 8.12 ดอกเบี้ยเงินกู้ยมื หมายความรวมถึงดอกเบี้ยเงินกู้ยมื เพื่อชําระหนี้เงินกู้ยมื เพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างที่อยู่อาศัยหรือห้องชุดด้วย ทัง้ นี้ เฉพาะดอกเบี้ย สําหรับเงินกูย้ มื เพือ่ ชําระหนี้สว่ นทีไ่ ม่เกินกว่าหนี้ทค่ี า้ งชําระ 8.13 ผูม้ เี งินได้ตอ้ งมีหนังสือรับรองตามแบบทีอ่ ธิบดีกาํ หนดจากผูใ้ ห้กยู้ มื 9. ค่าลดหย่อนเงินสมทบที่ผูป้ ระกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม หักลดหย่อนได้ ตามจํานวนที่จ่ายจริง กรณีสามีหรือภริยาของผู้มเี งินได้เป็ นผู้ประกันตนจ่ายเงิน สมทบเข้ากองทุนประกันสังคมมีความเป็ นสามีหรือภริยาได้มอี ยู่ตลอดปี ภาษีให้หกั ลดหย่อนได้ 10. ค่า ลดหย่อนเพื่ออุ ป การะเลี้ยงดูบิดามารดา หัก ลดหย่อนได้ค นละ 30,000 บาท สําหรับบิดามารดาทีม่ อี ายุ 60 ปี ขน้ึ ไป และอยูใ่ นความอุปการะเลีย้ งดูของผูม้ เี งินได้ แต่ไม่ให้หกั ลดหย่อนสําหรับบิดามารดาดังกล่าวทีม่ เี งินได้พงึ ประเมินในปี ภาษีทข่ี อ หักลดหย่อนเกิน 30,000 บาทขึน้ ไป ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารตามประกาศ อธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 136) พ.ศ. 2548 ประกาศกําหนดไว้ 11. ค่าลดหย่อนเพื่ออุปการะเลีย้ งดูคนพิการ เป็ นค่าอุปการะเลีย้ งดูค่สู มรส บิดามารดา บุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม (กฎหมายใช้บงั คับในปี ภาษี 2552) ของผู้ มีเงินได้หรือคู่สมรสซึ่งเป็ นคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมีบตั ร ประจําตัวคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 โดยให้หกั ลดหย่อนได้ 60,000 บาทต่อคนพิการ 1 คน 12. ค่าลดหย่อนเงินบริจาค เมือ่ หักเงินค่าลดหย่อนอื่นๆตามข้อ 1 ถึง 10 เหลือเท่าใดให้ หักค่าลดหย่อนสําหรับเงินบริจาคได้อกี เท่าจํานวนทีจ่ ่ายจริง แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงิน ที่เ หลือ เท่ า นั น้ เงิน บริจ าคที่นํ า มาหัก ลดหย่อ น คือ เงิน ที่บ ริจ าคแก่ สถานพยาบาลและสถานศึก ษาของทางราชการหรือ ขององค์ก ารของรัฐ บาล สภากาชาดไทย วัดวาอาราม (ไม่รวมถึงวัดในต่างประเทศ) และเงินที่บริจาคเป็ น สาธารณประโยชน์ แ ก่ อ งค์ก ารหรือ สถานสาธารณกุ ศ ลตามที่ร ฐั มนตรีป ระกาศ กําหนดในราชกิจนุเบกษา


107 13. ค่าลดหย่อนเงินบริจาคเพื่อสนับสนุ นด้านการศึกษา การหักค่าลดหย่อนประเภทนี้ เริม่ ใช้ในปี ภาษี 2547 เป็ นต้นไป การหักค่าลดหย่อนหักได้ 2 เท่าของจํานวนทีจ่ ่าย ไปจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 เงินได้คงเหลือหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน โดยค่า ลดหย่อนต้องเป็ นค่าใช้จ่ายสําหรับการจัดหาให้แก่สถานศึกษาเพื่อใช้ประโยชน์ทาง การศึก ษาให้เ ป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบ ดีกรมสรรพากร ประกาศกํ า หนด เป็ น โครงการที่ก ระทรวงศึก ษาธิก ารให้ค วามเห็น ชอบ ได้แ ก่ สถานศึกษาตามโครงการพระราชดําริ สถานศึกษาตามนโยบายทีจ่ ะระดมพลังเพื่อ เร่งรัดปรับปรุงคุณภาพ และสถานศึกษาทีร่ องรับพัฒนาเด็กด้อยโอกาส เด็กพิการ เป็ นการบริจาคให้แก่สถานศึกษาตามรายชื่อสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกําหนด โดยผู้บริจาคต้องมีหลักฐานจากสถานศึกษาที่พสิ ูจน์ ได้ว่าเป็ น ค่า ใช้จ่า ยเพื่อสนับสนุ นการศึกษาตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ค วาม เห็นชอบ 14. เครดิตภาษีเงินปนั ผล การนํ าอัตราภาษีเงินได้ท่ตี ้องเสียหารด้วยผลต่างของหนึ่ง ร้อยลบด้วยอัตราภาษีเงินได้ ได้ผลลัพธ์เท่าใดให้คูณด้วยเงินปนั ผลที่ได้รบั ผูเ้ สีย ภาษีสามารถใช้สทิ ธิเครดิตภาษีเงินปนั ผล นําเครดิตภาษีทค่ี าํ นวณได้หกั ภาษีทต่ี อ้ ง เสีย ถ้าขาดเหลือเท่าใดให้เสียภาษีเพิม่ หรือได้รบั คืนภาษี ซึง่ เป็ นการคืนภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลที่เรียกเก็บจากกําไรสุทธิของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลบางส่วนที่ ตัง้ ขึ้นตามกฎหมายไทยให้แก่ผู้ถือหุ้น การจะได้รบั เครดิตภาษีเงินปนั ผลจะต้อง เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามมาตรา 47 ทวิ คือ ต้องเป็ นผู้มหี น้ าที่เสีย ภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดา ต้อ งมีภู มิลํ า เนาอยู่ใ นประเทศไทยหรือ เป็ น ผู้อ ยู่ใ น ประเทศไทย


บทที่ 3 สรุปการสังเคราะห์องค์ความรู้รวมทางด้านการบัญชีภาษี อากร ประเทศไทยกําลังอยู่ในช่วงทีก่ ําลังพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่เหตุการณ์ทผ่ี ่านมาประสบ กับเหตุอุทกภัยครัง้ ยิง่ ใหญ่ในรอบ 30 ปี ซง่ึ ส่งผลกับประเทศไทยทัวทั ่ ง้ ประเทศเป็ นอย่างมาก ภาครัฐ จึง มีน โยบายที่จ ะช่ ว ยเหลือ ประชาชนในประเทศโดยจัด ให้มีเ งิน สนั บ สนุ น สํ า หรับ บ้านเรือนที่ประสบอุทกภัยครัง้ นี้ ลดอัตราการจัดเก็บภาษีสําหรับธุรกิจ และสําหรับผูบ้ ริจาคก็ สามารถนํามาลดหย่อนภาษีได้ในอัตราทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมถึงก่อนหน้านี้มกี ารคืนภาษีสาํ หรับการซือ้ รถยนต์ค นั แรก ล้ว นแล้ว แต่ เ กี่ย วข้อ งกับ ภาษีท งั ้ นัน้ ซึ่งสิ่งสํา คัญสําหรับ การบริห ารจัด การ ประเทศนัน้ ขึน้ อยู่กบั รายได้ของประเทศ และรายได้ท่สี ําคัญที่สุดของประเทศก็คอื การจัดเก็บ ภาษี โดยมีวตั ถุ ประสงค์หลักในการเรียกเก็บภาษีของรัฐบาลนัน้ เพื่อนํ าไปใช้ประโยชน์ แก่ ส่ ว นรวมในการพัฒ นาประเทศในด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ ความเป็ นอยู่ ท่ี ดี ข้ึ น ของประชนชน ภายในประเทศ เช่น นํ าไปพัฒนาถนนหนทางให้ประชาชนเดินทางได้สะดวกยิง่ ขึน้ รถโดยสาร ่ งทุกพืน้ ทีเ่ พื่อความเป็ นอยู่ทด่ี ี ฟรีเพื่อประชน หรือการไฟฟ้าทีใ่ ห้ประชาชนมีไฟฟ้าใช้อย่างทัวถึ ขึน้ ของประชาชน และอื่นๆ อีกมากมายทีท่ ําให้ประชาชนภายในประเทศมีความเป็ นอยู่ทด่ี ขี น้ึ พร้อมๆกับ ประเทศ รวมถึงพัฒนาด้า นความปลอดภัย ให้แก่ ป ระชาชน แล้ว ยังนํ า ไปใช้เ ป็ น ่ ช่วยในการกระจายรายได้ทเ่ี ป็ นธรรม ช่วย เงินเดือนให้แก่ขา้ ราชการตําแหน่ งต่างๆทัวประเทศ ส่งเสริมและควบคุมการบริโภคของประชาชน รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจปรับความต้องการ ซื้อให้สมดุลกับความต้องการขาย ปรับราคาสินค้าและบริการต่างๆ ให้เหมาะสม โดยใช้อตั รา ภาษีอากรเป็ นเครื่องมือในการบริหารเศรษฐกิจของประเทศ ทัง้ นี้ผมู้ หี น้าทีเ่ สียภาษีควรคํานึงถึง ประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน โดยเสียภาษีให้ถูกต้องตามหลักของกฎหมาย จาก การศึกษาโดยใช้เครื่องมือทางการบัญชีภาษีอากรต่างๆแล้ว สามารถสรุปเครื่องมือทีร่ ฐั บาลใช้ ช่วยในการพัฒนาประเทศได้ดงั นี้ 1. สิทธิประโยชน์ทพ่ี งึ ได้รบั จากการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ของกิจการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าหรือไอนํ้า และการคํานวณกําไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของกิจการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าหรือไอนํ้าทีไ่ ด้รบั การส่งแสริมการลงทุน 2. นโยบายการคืนภาษีรถยนต์คนั แรก เป็ นนโยบายทีส่ นับสนุ นให้ประชาชนทีม่ รี ายได้ น้อยไม่เคยมีรถยนต์มาก่อนสามารถซื้อรถยนต์ได้ และกระตุ้นเศรษฐกิจให้มคี วาม


109 ต้ อ งการซื้ อ เพิ่ม มากขึ้น โดยผู้ ท่ี ข อคื น ภาษี จ ะต้ อ งเข้า เกณฑ์ เ งื่อ นไขที่ ก รม สรรพสามิตกําหนด และดําเนินการขอคืนภาษีจากกรมสรรพสามิต และจะได้รบั คืน เมือ่ ผูซ้ อ้ื ครอบครองรถยนต์ 1 ปีไปแล้ว 3. สิทธิประโยชน์ต่างๆทีไ่ ด้รบั จากมาตรการภาษีอุทกภัยนํ้าท่วมปี 2554 ไม่ว่าจะเป็ น ทัง้ ทางด้านผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากเหตุอุทกภัย หรือผูท้ บ่ี ริจาคเงินให้ผปู้ ระสบเหตุ อุทกภัย ก็มสี ทิ ธิประโยชน์ทางภาษีทแ่ี ตกต่างกัน ซึง่ ในด้านผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีแล้ว ก็ย่อมทีจ่ ะต้องการให้ตนเสียภาษีทน่ี ้อยทีส่ ุด แต่กไ็ ม่ ควรที่ จ ะทํ า ผิ ด หลั ก เกณฑ์ ห รื อ กฎหมายที่ กํ า หนดให้ เ สี ย ภาษี แ ต่ อ ย่ า งใด เพราะหาก กรมสรรพากรตรวจสอบแล้วพบการทุจริตเกิดขึน้ ก็จะโดนเรียกภาษียอ้ นหลังและเบี้ยปรับเงิน เพิ่มที่ไม่จําเป็ นต้องชําระ หากคํา นวณและชําระครบตามกฎหมาย จึง ควรมีข้นึ ตอนในการ วางแผนและศึกษาอย่างครบถ้วนเพื่อป้องกันการผิดพลาดที่อาจเกิดขึน้ ได้ ซึ่งจากการศึกษา เครือ่ งมือทางการบัญชีภาษีอากรมีดงั นี้ 1. การจัด เก็บ ภาษีมูล ค่ า เพิ่ม จากสิน ค้า มือ สอง กรณี ศึก ษา รถยนต์ มือ สอง เป็ น การศึกษาหลักเกณฑ์การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากรถยนต์มอื สอง และแนวทาง การแก้ไขปญั หาจากการจัดเก็บภาษีมลู เพิม่ จากรถยนต์มอื สอง 2. การวางแผนภาษีอากร เป็ นการศึกษาหลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและสิทธิประโยชน์ทไ่ี ด้รบั รวมถึงหลักเกณฑ์ในและขัน้ ตอนในการวางแผนภาษีของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีทท่ี ําให้ เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดและเหมาะสมกับลักษณะภาษีต่างๆ โดยการศึกษานี้ สามารถแบ่งลักษณะการวางแผนภาษีออกเป็ น 4 ลักษณะ ได้แก่ การวางแผนภาษี บุคคลธรรมดา การวางแผนภาษีนิตบิ ุคคล การวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ และการ วางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ เพื่อทีจ่ ะประหยัดภาษีทต่ี อ้ งชําระให้ลดน้อยลงอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย แต่สงิ่ ทีส่ ําคัญอีกประการหนึ่งทีค่ วรคํานึงคือ ทําการศึกษาและหมัน่ ติดตามการเปลีย่ น หลักเกณฑ์หรือเงือ่ นไขในการคํานวณภาษีของรายการต่างๆ ที่ มีผลต่อสิทธิประโยชน์ทต่ี นจะได้รบั อย่างถูกต้อง


110

ภาพประกอบการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้รบั จากการจัดสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้ หัวข้อ “การบัญชีภาษี อากร”


111

ภาพบรรยากาศ


112


113


114

บรรณานุกรม กนกพรรณ อุดมอิทธิพงศ์. 2536. กฎหมายภาษี อากรกับการส่งเสริ มการลงทุน. นิตศิ าสต รมหาบัณฑิต สาขากฎหมายบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. 2553. การส่งเสริมการลงทุนBOIคืออะไร. ใน การขอรับ การส่งเสริ มการลงทุน (Online). http://boisupport.com., 24 ธันวาคม 2554. คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. 2553. การส่งเสริมการลงทุนเพือ่ การพัฒนาทีย่ งยื ั ่ น. ใน ประกาศคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุนที่2/2553 (Online). http://ns.boi.go.th., 14 มกราคม 2555. คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. 2553. สิ ทธิ ประโยชน์ ด้านการลงทุน (Online). www.boi.go.th., 24 ธันวาคม 2554. จินตนา บุญบงการ. 2545. “นโยบายการส่งเสริมการลงทุน ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทย.” จุฬาลงกรณ์วารสาร 14 (54): 9-24. ชมัยพร แก้วปานก้น และคณะ. 2550. “สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน.” วารสาร ธรรมนิ ติ ฉบับเอกสารภาษี อากร 26 (308): 29-40. ชุตมิ า กมลศิรนิ นั ท์. 2548. ปัญหาสําหรับกิ จการที่ได้รบั การส่งเสริ มการลงทุน. บัญชี มหาบัณฑิต สาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นันทิยา อินบุร.ี 2548. ปัญหาการคํานวณกําไรสุทธิ เพื่อเสียภาษี สาํ หรับธุรกิ จที่ได้รบั การส่งเสริ มการลงทุนในเขตนิ คมอุตสาหกรรมภาคเหนื อ จังหวัดลําพูน. บัญชี มหาบัณฑิต สาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เยาวเรศ ธรรมารัตน์. 2545. แนวปฏิ บตั ิ ทางการบัญชีสาํ หรับกิ จการที่ได้รบั การส่งเสริ ม การลงทุน.บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สมเดช โรจน์คุรเี สถียร. 2548. การบัญชีภาษี อากรของธุรกิ จที่ได้รบั การส่งเสริ มการ ลงทุน. พิมพ์ครัง้ ที5่ . กรุงเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. ศิรลิ กั ษณ์ ปลืม้ จิตต์. 2549. นโยบายการบัญชีและผลกระทบต่องบการเงิ นเปรียบเทียบ ก่อนและหลังการหมดสิ ทธิ และประโยชน์ ทางภาษี กรณี ศึกษา บริ ษทั ที่ได้รบั ส่งเสริ มการลงทุนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การจัดการ มหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยบูรพา.


115

บรรณานุกรม(ต่อ) ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที2่ . ม.ป.ป. เขตการส่งเสริ มการลงทุน (Online). http://korat.boi.go.th., 11 ธันวาคม 2554. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแห่งชาติ. 2542. พลังงาน และทางเลือก การใช้เชื้อเพลิ งของประเทศไทย (Online). http://www.eppo.go.th., 14 มกราคม 2555. อดิภา พลเรือนทอง. 2551. ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางการปฏิ บตั ิ งานและ ประสิ ทธิ ภาพการทํางานของนักบัญชีธรุ กิ จที่ได้รบั การส่งเสริ มการลงทุนประเภท กิ จการสาธารณูปโภค. บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสารคาม. อมรศักดิ ์ พงศ์พศุตม์. 2553. การบัญชีภาษี อากร ชัน้ สูง. พิมพ์ครัง้ ที3่ . กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์ 50. ________. 2550. “หลักเกณฑ์การนําผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี มา เป็ นรายจ่ายทางภาษีอากร.” กรุงเทพธุรกิ จ (Online) http://www.pattanakit.net., 24 ธันวาคม 2554. _______. 2554. บอร์ด BOI อนุมตั ิ ส่งเสริ มลงทุน 18 โครงการ เฉี ยด 3 หมื่นลบ.ส่งท้าย ปี (Online). http://www.corehoononline.com., 14 มกราคม 2555. สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์. 2541. ภาษี เงิ นได้หกั ณ ที่จ่าย หักอย่างไรให้ถกู ต้องและครบถ้วน. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สุขมุ และบุตร. สมเดช โรจน์คุรเี สถียร และคณะ. 2548. กลยุทธ์การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ มทัง้ ระบบ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์. 2541. การวางแผนภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: สุขมุ และบุตร.6 สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์. 2548. สัมมนาเรื่อง รู้ลึก รู้ทนั สารพันปัญหาภาษี มลู ค่าเพิ่ ม, 4 พฤศจิ กายน 2548. กรุงเทพมหานคร. นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ. 2554. การบัญชีภาษี อากร. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: พีที เอ็น เพรส. กรมขนส่งทางบก. ม.ป.ป. ภาษี สรรสามิ ตเป็ นภาษี ทางอ้อม (Online). www.dlt.go.th., 22 ธันวาคม 2554.


116

บรรณานุกรม(ต่อ) กรมศุลกากร. ม.ป.ป. คู่มือศุลกากรระบบใหม่ THE CUSTOMS 2000. ม.ป.ท. กรมสรรพสามิต. ม.ป.ป. นิ ยามของรถยนต์ (Online). www.excise.go.th., 24 ธันวาคม 2554. กรมสรรพกร. ม.ป.ป. ภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร 2554. ม.ป.ท. ญาณี เบญจสัตย์กุล. 2546. ความสามารถและความพยายามในการจัดเก็บภาษี สรรพสามิ ต. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ธวัลรัตน์ เชือ้ วงศ์บุญ. 2550. ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการเสียภาษี ของ ผู้ประกอบการ วิ สาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดเชี ยงใหม่ ที่ จดั ตัง้ ธุรกิ จระหว่างปี พ.ศ. 2548-พ.ศ. 2550. มหาวิทยาลัยพายัพ. บริษทั โตโยต้า (ประเทศไทย) จํากัด. ม.ป.ท. ยอดขายรถยนต์ เดือนกันยายน– พฤศจิ กายน เปรียบเทียบ ปี 2553 กับ 2554 (Online). www.toyota.com., 22 ธันวาคม 2554. ปญั จพร ทองเล็ก. 2552. การภาษี อากรธุรกิ จ(BUSINESS TAXATION). พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ออฟเซ็ท. วิชยั มากวัฒนสุข. 2545. คู่มือศุลกากรฉบับพิ เศษ. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพาณิชย์. วิไลวรรณ พุทธดี. 2547. ความพึงพอใจของการให้บริ การด้านการคืนเงิ นภาษี เงิ นได้ บุคคลธรรมดาของกรมสรรพกร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สมคิด บางโม. 2554. ภาษี อากรธุรกิ จ. ม.ป.ท. สํานักงานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม(สคอ.). ม.ป.ท. กราฟแสดงประมาณการรถยนต์ของ ประเทศไทย จําแนกตามภาคการผลิ ต การจําหน่ ายและการส่ งออก (Online). www.oie.go.th., 22 ธันวาคม 2554. อําไพ ชัยรัตน์เมธี. 2553. ความรู้ ความเข้าใจของผูข้ อคืนเงิ นภาษี เงิ นได้บุคคลธรรมดา ที่ มี ต่ อ การคํา นวณภาษี เ งิ น ได้ เ พื่ อ ขอคื น เงิ น ภาษี อ ากรในจัง หวัด อ่ า งทอง. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาธุรกิจบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.


117

บรรณานุกรม(ต่อ) เกียรติศกั ดิ ์ อังคณานุ พงศ์. 2551. ปัญหาการจัดเก็บภาษี มลู ค่าเพิ่ มจากสิ นค้ามือสอง. นิตศิ าสตร์มหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรมสรรพากร. ภาษี มลู ค่าเพิ่ ม, 2552. ค้นเมือ่ 12 ธันวาคม 2554, แหล่งทีม่ า http://www.rd.go.th/publish/307.0.html กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร. 2553. ภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร 2553. โรงพิมพ์เรือน แก้วการพิมพ์. ยุพดี ศิรวิ รรณ. 2552. การบัญชีภาษีอากร. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 . นนทบุร:ี ห้างหุน้ ส่วนจํากัด จําปาทอง พริน้ ติง้ . วรรณวิภา คูสกุล. การบัญชีภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เสมาธรรม, 2553. ศิรวิ รรณ รัตนสังข์. 2550. ปัญหาการจัดเก็บภาษี มลู ค่าเพิ่ มตามประมวลรัษฎากร:กรณี ธุรกรรมพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิ กส์. นิตศิ าสตร์มหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยรามคําแหง. สุมาลี สถิตชัยเจริญ. “การจัดเก็บภาษี มลู ค่าเพิ่ มรถยนต์มือสอง.” สํานักนโยบายภาษี สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง. : 1-7 สุพฒ ั นา นาคประดิษฐ์. ความรู้ทวไปเกี ั่ ่ยวกับภาษี มลู ค่าเพิ่ ม, 2553. ค้นเมือ่ 12 ธันวาคม 2554, แหล่งทีม่ า https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/taxacc/1-khwam-ru-thawpikeiyw-kab-phasi-mulkha-pheim สุมาลี สถิตชัยเจริญ. บทความทางภาษี, 2554. ค้นเมือ่ 12 ธันวาคม 2554, แหล่งทีม่ า www.fpo.go.th, กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร. 2553. ภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร2553. ม.ป.ท.: โรงพิมพ์ เรือนแก้วการพิมพ์. เกษม มโนสันติ ์ และ เกล็ดนที สสิกาญจน์. 2548. การภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: บริษทั พัฒนาวิชาการ (2535) จํากัด. จงพวง มณีวฒ ั นา. 2544. การภาษี อากร. พิมพ์ครัง้ ที4่ . ม.ป.ท.: บริษทั วัชรินทร์การพิมพ์ จํากัด.


118

บรรณานุกรม(ต่อ) เฉลิมชัย วงษ์อารี และ ศิรชิ ยั กัลยาณรัตน์. 2554. ผลกระทบของมหาอุทกภัย 2554 ต่อ ระบบโลจิ สติ กส์สินค้าเกษตรของไทย และข้อเสนอแนะ (Online). www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=50, 23 มกราคม 2555. ั้ ช้องมาศ ปนทอง. 2547. การภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร. กรุงเทพมหานคร: สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต้. ทีมข่าว ศูนย์ขา่ ว TCIJ. 2554. ผงะนํ้าลด-ทุกข์ท่วมซํา้ กระทบคนงาน 9 นิ คมใหญ่เกือบ ล้าน ลอยแพแล้วครึ่งหมืน่ จับตาเยียวยาจากรัฐ ปลดทุกข์จริ งหรือฝันค้าง (Online). www.tcijthai.com/investigative-story/1029, 12 มกราคม 2555. _________________. 2554. สาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนจากมหาอุทกภัยปี 2554 (Online). www.tcijthai.com/investigative-story/980, 17 มกราคม 2555. นิรนาม. 2554. ความต้องการสิ่ งของที่จาํ เป็ นสําหรับผูป้ ระสบภัยนํ้าท่วม (Online). http://humanrevod.wordpress.com/2011/10/12/thaiflood-need/, 20 มกราคม 2555. นิรนาม. 2554. นักวิ ชาการเสนอสถานการณ์แรงงานหลังนํ้าท่วมและยุทธศาสตร์ ขบวนการแรงงานไทย (Online). http://prachatai.com/journal/2011/12/38349, 19 มกราคม 2555. นิรนาม. 2554. รวมข้อมูลเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนํ้าท่วม (Online). www.thaigiving.org/node/1376, 23 มกราคม 2555. บุญเสริม อุย่ ตระกูล และ วิชาญ โพธิสทิ ธิ ์. 2544. การภาษี อากร. ม.ป.ท.: จูนพับลิชชิง่ จํากัด. บริษทั สํานักพิมพ์ธรรมนิติ จํากัด. 2534. ภาษี มลู ค่าเพิ่ มฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ดีไลท์ จํากัด. ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง. 2549. การภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: จิตรวัฒน์. รังสิต เด็ดสาระตี.่ 2554. คูม่ อื การจ่ายเงินช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย 5,000 บาท (Online). http://blog.eduzones.com/rangsit/85895, 20 มกราคม 2555.


119

บรรณานุกรม(ต่อ) วลัยอร ปรัชญพฤทธิ ์, แพทย์หญิง. 2549. ปญั หาสุขภาพและโรคผิวหนังหลังนํ้าท่วม (Online). www.inderm.go.th/inderm_th/Health/dr_walaiorn.html, 19 มกราคม 2555. เวก ศิรพิ มิ ลวาทิน. 2547. การภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สง่ เสริมวิชาการ. ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย. 2554. ผลกระทบนํ้าท่วมปี 2554 ต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิ จ ไทย (Online). www.smeclinic.in.th/download/pdf/flood2554.pdf, 21 มกราคม 2555. สนัน่ เกตุทตั . 2513. วิ ชา การภาษี อากร. ม.ป.ท. สมคิด บางโม. 2543. ภาษี อากรธุรกิ จ. พิมพ์ครัง้ ที5่ . กรุงเทพมหานคร: บริษทั วิทยพัฒน์ จํากัด. ___________. 2553. ภาษี อากรธุรกิ จ. พิมพ์ครัง้ ที1่ 5. กรุงเทพมหานคร: บริษทั วิทยพัฒน์ จํากัด. สมเดช โรจน์คุรเี สถียร. 2545. การบัญชีภาษี อากรของธุรกิ จที่ได้รบั การส่งเสริ มการ ลงทุน. พิมครัง้ ที4่ . กรุงเทพมหานคร: บริษทั ธรรมนิติ จํากัด สํานักข่าวไทย. 2555. เอแบคโพลล์พบผูป้ ระสบอุทกภัยร้อยละ 40.8 ต้องกู้เงิ นนอกระบบ ฟื้ นฟูบา้ น (Online). www.mcot.net/cfcustom/cache_page/315600.html, 20 มกราคม 2555. สํานักจัดการคุณภาพนํ้ากรมควบคุมมลพิษ. 2554. ผลกระทบจากนํ้าท่วมสู่ทะเลอ่าวไทย (Online). http://wqm.pcd.go.th/water/images/stories/marine/journal/2554/november/floodim pact.pdf, 23 มกราคม 2555. อมรศักดิ ์ พงศ์พศุตม์. 2553. การบัญชีภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ชัน้ สูง. พิมพ์ครัง้ ที5่ . กรุงเทพมหานคร: บริษทั ชวนพิมพ์ 50 จํากัด ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์. 2554. สรุปสถานการณ์อทุ กภัยครัง้ ประวัติศาสตร์ 2554 (Online). www.manager.co.th, 24 มกราคม 2555.


120

บรรณานุกรม(ต่อ) CBRE Condo Society. 2554. ผลกระทบจากวิ กฤติ นํ้าท่วมต่อตลาดอสังหาริ มทรัพย์ ไทย (Online). www.facebook.com/note.php?note_id=273482599363162, 23 มกราคม 2555.



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.