ประวัติที่มา ระบําลพบุรี เปนระบําชุดที่ ๓ ในระบําโบราณคดีที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยูโพธิ์ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) เชนเดียวกับระบําทวารวดี อยูในระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๖ – ๑๙ ประดิษฐขึ้น โดย อาศัยหลักฐานจากโบราณวัตถุ และภาพจําหลักตามโบราณสถาน ซึ่งสรางขึ้นตามแบบศิลปะของขอม ที่อยูใน ประเทศกัมพูชา และประเทศไทย อาทิ พระปรางคสามยอดในจังหวัดลพบุรี ทับหลังประตูระเบียงตะวันตก ของปราสาทหินพิมายในจังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุงในจังหวัดบุรีรัมย เปนตน การแตงทํานอง เพลง กระบวนทารํา และเครื่องแตงกาย จึงมัลักษณะคลายเขมรเปนสวนใหญ ระบําลพบุรีแสดงครั้งแรกเพื่อ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดําเนินทางเปดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสรางใหมใน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐ และภายหลังไดนําออกแสดงในโรง ละครแหงชาติและที่อื่น ๆ เพื่อใหประชาชนชม นายมนตรี ตราโมท ผูเชี่ยวชาญดุริยางคไทย กรมศิลปากร ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปพุทธศักราช ๒๕๒๘ เปนผูแตงทํานองเพลง โดยมีสําเนียงออกไปทางเขมร นางลมุล ยมะคุปต ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขะวณิช ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปนแหงชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (นาฏศิลป) ปพุทธศักราช ๒๕๓๐ เปนผูประดิษฐทารํา นายสนิท ดิษฐพันธ ออกแบบเครื่องแตงกาย นางชนานันท ชางเรียน สรางเครื่องแตงกาย นายชิต แกวดวงใหญ สรางศิราภรณ และเครื่องประดับ รูปแบบ และลักษณะการแสดง ระบําลพบุรี เปนการรําหมูประกอบดวยผูแสดง ๕ คน แบงเปนตัวเอก ๑ คน และตัวหมูระบํา ๔ คน ทารําประดิษฐขึ้นโดยเลียนแบบจากศิลปะของที่เปนโบราณวัตถุและภาพจําหลักในสถานที่ตาง ๆ ลักษณะ การรําจะมีกระบวนทารําของตัวเอก และทารําของหมูระบําที่มีความสอดคลอง กลมกลืนกัน รวมทั้งการใชมือ เทา และศีรษะ มีลักษณะพิเศษตามยุคสมัย ตลอดจนการแปรแถวในการรําดวยลักษณะตาง ๆ การรําแบงเปนขั้นตอนตาง ๆ ไดดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ ผูแสดงหมูระบํารําออกมาตามทํานองเพลง ขั้นตอนที่ ๒ ผูแ สดงตัวเอกรําออก และมารํารวมกันจนจบกระบวนทา