ตูปะ นาซิ

Page 1

ตูปะ นาซิ

Ketupat Nasi ตูปะ นาซิ

ขนมพื้นบ้าน


Contents ประวัตคิ วามเป็ นมา 3 ลักษณะเด่น ุ กรณ์และวิธีการท�ำ “ตูปะ นาซิ” 4 วัสดุอป 9 ความแตกต่าง 11 ความส�ำคัญ 12 แนวทางการอนุรก ั ษ์

ตูปะ นาซิ

1


ตูปะ นาซิ


ตูปะ นาซิ

ประวัตคิ วามเป็ นมา

หมูเ่ กาะจาวา ประเทศอินโดนีเซีย พร้อม น�ำศิ ลปะวัฒนธรรมอย่างการท�ำและ ตูป ะ นาซิ มี ถิ่ น ก�ำ เนิ ด จาก การกินอาหารชนิดข้าวต้มสุกทีห่ ่อด้วย ประเทศอินโดนีเซีย โดย Sunan Kalijaga ใบมะพร้า วอ่ อ นทรงสี่ เ หลี่ ย มจั ต รุ ั ส เป็ นผูน้ ำ� อิสลามชนเผ่าวางอ ประเทศ ท�ำให้เกิดการเฉลิมฉลองในสัปดาห์ที่ อินโดนีเซีย ได้เข้าไปเผยแพร่อิสลามใน 1


2

ตูปะ นาซิ

ศักราชของศาสนาอิสลาม ชื่อนี้ได้ถกู เรียกกันจนเพี้ยนมาเป็ นแค่ Kupat และ เผยแพร่ไปยังประเทศเพื่อนบ้านอย่าง สิงค์โปร บรูไน ฟิ ลิปปิ นส์ และมาเลเซีย จึงเกิดการเรียกชือ่ ใหม่ว่า Ketupat Nasi และได้เข้ามาแถบสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ของประเทศไทยที่เรียกกันว่า ตูปะ นาซิ จนถึงปั จจุบนั ตูปะ นาซิ คือ อาหารว่างอย่าง หนึง่ ที่เป็ นขนมพื้นบ้าน เป็ นขนมที่นยิ ม กั น ท� ำ กิ น และมี ใ ห้เ ห็ น ในเฉพาะช่ ว ง เทศกาลวันฮารีรายอ(รายออิดิลฟิ ตรี และอิ ดิลอัฎฮา)เท่านั้น หาซื้ อกินตาม ท้องตลาดได้ยาก ครั้นเมื่อเราไปเยี่ยม เยือนบ้านใครในวันรายอ จะได้กนิ กับซา มากุง้ (น�ำ้ พริกกุง้ ) ซามาเนือ้ (น�ำ้ พริก เนือ้ ) กินเป็ นข้าวซาเต หรือ ข้าวกับเนือ้ สะเต๊ะ แกงเนื้อ และแกงไก่ เป็ นความ อร่อยที่หาทานได้ยากนอกจากเทศกาล ฮารีรายอ อีกทัง้ ตูปะ นาซิ เป็ นอาหารที่ สามารถมอบแทนความรักต่อคนเฒ่า คนแก่ เพื่ อ เป็ นสัญ ลัก ษณ์ข องความ สองของเดือนเชาวาล และเป็ นที่มาของ เคารพนับถือและสานสัมพันธ์ไมตรีที่ดี การตั้งชื่ออาหารในสมัยนัน้ ว่า Bakda ของลูกหลาน Lebaran หรื อ Bakda Kupat ซึ่ ง หมายความว่ า ผ่ า นพ้น ไปแล้ว หนึ่ ง สัป ดาห์ข องเดือ นเชาวาลในฮิ จ เราะห์


ตูปะ นาซิ

ลักษณะเด่น

และเกลือ มาต�ำเข้าด้วยกันจนละเอียด และชิมรสชาติตามชอบ เมื่อน�ำมารับ ประทานกั บ ตูป ะแล้ว จะเกิ ด รสชาติ ท่ี ลงตัว และอเรดอร่อยสใตล์ขนมพืน้ บ้าน โบราณที่เที่ยงแท้ ลักษณะเด่นที่เป็ นเอกลักษณ์ ของ ตูปะ นาซิ คือ การน�ำมาตกแต่งบน จานชามให้ด สู วยงามน่า รั บ ประทาน หรือบางบ้านจะถักหรือสานด้วยยอดใบ มะพร้าวอ่อนเปล่า ๆ ที่มสี ีเขียวสด น�ำ มาแขวนเป็ นโมบายไว้ที่ประตูหน้าต่าง เพื่อเพิ่มบรรยากาศที่อบอุน่ ภายในบ้าน อีกทัง้ สามารถน�ำมาเป็ นสัญลักษณ์ของ ความสามัค คี แ ละความห่ ว งใยต่อ คน เฒ่าคนแก่ และร�ำลึกถึ งบรรพบุรษุ ที่ ล่วงลับไปแล้วในวันฮารีรายอ

ตูปะ นาซิ มีลักษณะเป็ นทรง สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ผ่านรูปแบบการถักหรือ การสานทีท่ ำ� ด้วยยอดใบมะพร้าวอ่อนที่ เท่ากันเป็ นอย่างดี โดยอย่าให้มชี อ่ งว่าง ระหว่างกัน เพือ่ เป็ นวัสดุหอ่ หุม้ สามารถ บรรจุขา้ วสาร(ข้าวเปล่าธรรมดาทีม่ รี ส จืด)ประมาณเศษหนึง่ ส่วนสองลงในใบ มะพร้า วอ่ อ นทรงสี่ เ หลี่ ย มโดยไม่ ใ ห้ ข้าวสารหล่นหรือกระจายออกจากห่อ หุม้ หลังจากนัน้ น�ำไปต้มจนข้าวสุกอัด แน่นเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยมอย่างสมบูรณ์ แบบ พร้อมรับประทานกับเครื่องปรุง รสเด็ด ที่เรียกว่า “ซามา” (น�ำ้ พริกกุง้ เนือ้ และปลา) ซามา จะมีรสชาติที่กลม กลอม น�ำวัถดุ ิบต่าง ๆ เช่น ปลาย่าง มะพร้าวคัว่ หอมแดง ตะไคร้ น�ำ้ ตาลแว่น

3


วัสดุอปุ กรณ์และวิธีการ ท�ำ “ตูปะ นาซิ”

สานใบมะพร้าวสลับขึน้ ลงให้ครบ 4 รอบทัง้ สองข้าง

น�ำยอดใบมะพร้าวเป็ นวัสดุห่อหุม้ ข้าวสาร สานใบมะพร้าวให้เป็ นรูปทรงสี่เหลีย่ ม

ตัดก้านตรงกลางของใบมะพร้าวออก จัดระเบียบห่อหุม้ ให้มดิ ชิด 4

ตูปะ นาซิ

วัสดุอปุ กรณ์และวิธีการท�ำในส่วนที่ทำ� วัสดุห่อหุม้ (Bungkus) ให้เป็ นตูปะ นาซิ ถักใบมะพร้าว 3 รอบให้เท่ากันทัง้ สอง ข้าง 1.ยอดใบมะพร้าวอ่อน 2.มีด 3.กะละมัง 4.หม้อ 5.น�ำ้ สะอาด


วัตถุดิบการท�ำเครื่ องปรุงตูปะ นาซิ ที่ เรียกว่า “ซามา” (เครื่องปรุงดัง่ เดิม)

3. ตะไคร้

ตูปะ นาซิ

1. มะพร้าวคัว่

8. น�ำ้ ตาลแว่น 2. ปลาต้มหรือปลาย่าง

4. ข่า 7. เกลือ 5


6. ครก-หัวครก/เครื่องปั น่

5. หอมแดง

ตูปะ นาซิ

วัส ดุอุปกรณ์ที่ เป็นข้าวต้มหรื อที่ เรี ยกว่า “ตูปะ นาซิ”

1. ข้าวสาร(รสจืด)

2.น�ำ้ สะอาด

3.หม้อ(เอาไว้นงึ่ ข้าวให้สกุ ) 6


วิธีการท�ำข้าวต้มหรือที่เรียกว่า “ ตูปะ นาซิ ”

1. เปิ ดช่องตรงมุมเพื่อเอาไว้ใส่ขา้ วสาร

ตูปะ นาซิ

4. ปิ ดช่องมุมให้เรียบร้อย

2. ใส่ขา้ วสารโดยใช้ปลายช้อนเพื่อ ความรวดเร็ว

5. น�ำวัตถุดบิ ใส่ในหม้อที่เตรียมไว้

3. จัดเก็บมุมให้มดิ ชิดเพื่อกัน ข้าวสารออกจากห่อหุม้

6. ใส่นำ�้ ตามความเหมาะสมของ วัตถุดบิ 7


9. หลังจากนัน้ น�ำตูปะ นาซิมาแช่ในน�ำ้ ธรรมดาอุณหภูมหิ อ้ ง

8. น�ำตูปะ นาซิออกมาจากหม้อ และ ล้างตูปะ นาซิให้สะอาด

10. หันตูปะ นาซิ พร้อมรับประทาน

ตูปะ นาซิ

7. ปิ ดฝาหม้อพร้อมต้ม และรอจน สุก

8


ความความแตกต่าง

ตูปะ นาซิ

ตูปะ นาซิ

9


ตูปะ นาซิ

ตูปะ

10


ตูปะ นาซิ

ความส�ำคัญ ตูปะ นาซิ เป็ นอาหารว่างที่มี วั ฒ นธรรมเป็ นรูป แบบของกิ จ กรรม มนุษ ย์แ ละโครงสร้า งเชิง สัญ ลัก ษณ์ที่ ท�ำ ให้กิ จ กรรมนั้น เด่ น ชัด และมี ค วาม ส้าคัญ เป็ นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ ผลิตสร้างขึน้ ด้วยการเรียนรูจ้ ากกันและ กัน และร่ ว มใช้ใ นหมู่พ วกของตน เป็ น ผลผลิตของมนุษย์ ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ทัง้ ด้าน วั ต ถุ แนวคิ ด จิ ต ใจความเป็ นระเบี ย บ เรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของ ชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน ด้านศาสนา “ตูปะ นาซิ” ก็คือ อาหารว่างอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมจะท�ำ ขึน้ ในวันสุดท้ายของการถือศีลอด โดย ถือขนบธรรมเนียมคือการท�ำเพื่อแบ่ง ปั นให้เพื่อนมนุษย์โดยนิยมท�ำเพื่อแจก เพื่อนบ้านหรือคนรูจ้ ักในวันฮารีรายอ หรือเฉลิมฉลองของมุสลิมนัน่ เอง โดยจะ ใช้เป็ นอาหารว่างทีร่ บั แขกเป็ นส้าคัญ วัน ฮารีรายอนัน้ ญาติพี่นอ้ งหรือเพื่อนบ้าน ก็ จะมาพบปะ และขอโทษกับทุกสิ่งที่ได้ ล่ ว งมา วั น ฮารี ร ายอซึ่ ง จะเป็ นวั น ที่ ประเสริฐมากของชาวมุสลิม และตูปะ นา ซิ คือ สัญลักษณ์อาหารหรือขนมที่บ่ง บอกถึงความเป็ นศาสนาอิสลาม หรือ 11

ชาวมุสลิม ที่ไม่ว่าจะอยู่แห่งใดของโลก ใบนี้ ด้านวัฒนธรรม ตูปะ นาซิเป็ น ศิ ลปทางวัฒนธรรม อย่างหนึ่ง เป็ น อาหารที่มคี วามประณีต สวยงาม ซึ่งมี ความน่าสนใจ ไม่วา่ จะเป็ นในด้านรูปร่าง รูปทรง และความสวยงาม ของ “ตูปะ นาซิ” อีกทัง้ ตูปะ นาซิ เป็ นอาหารหรือ ขนมทีใ่ ช้มอบแทนความรักความเคารพ แก่คนเฒ่าคนแก่ซึ่งได้รับการสืบทอด จากอดีตสู่ปัจจุบัน วัฒนธรรมในท้อง ถิ่นจะเป็ นเอกลักษณ์ของสังคมท้องถิ่น นั้นๆ วัฒนธรรมคงอยู่ได้เพราะการ เรี ยนรูข้ องมนุษย์ตั้งแต่อดีตมาจนถึ ง ปั จจุบัน และสร้างสรรค์พฒ ั นาขึน้ ใหม่ อย่างต่อเนื่องถ้าลูกหลานเก็บรักษาไว้ และเผยแพร่ตอ่ ไป


โดยใช้หลักทฤษฎี (KAP) K(knowladge) : ให้ความรูเ้ พื่อท�ำความ รูจ้ ักเกี่ยวกับอาหารหรือขนมโบราณที่ มีชอื่ ว่า “ตูปะ นาซิ” ให้กบั คนรุ่นใหม่ได้ รับรูแู้ ละเข้าใจ อันน�ำไปสูก่ ารฟื้ นฟูศิลปะ วัฒนธรรมโบราณ โดยผ่านการน�ำเสนอ ด้ว ยสื่ อ ต่า ง ๆ เช่น วิ ดีโ อ นิต ยสาร เป็ นต้น A (Attitude) : เกิดการเรียนรูป้ รับความ คิด เกิดความสนใจที่อยากจะอนุรักษ์ และรั ก ษาศิ ล ปะวั ฒ นธรรมการท� ำ อาหารหรือขนมโบราณ“ตูปะ นาซิ” ให้ คงอยูย่ าวนานสืบทอดไป

P (Practice) : น�ำมาซึ่งการเปลีย่ นแปลง พฤติกรรม และปฏิบตั เิ พือ่ การรักษาวิถี ชีวติ ตามรอยคนเฒ่าคนแก่ในการท�ำ “ตู ปะ นาซิ ” ทั้ ง นี้ เ พื่ อ การน�ำ เอาความ สวยงามของวัฒ นธรรมบ้า นเราเผย แพร่ให้คนภายนอกได้รบั รู้ รูจ้ กั และน�ำ ไปใช้ประประโยชน์ได้

12

ตูปะ นาซิ

แนวทางการอนุรกั ษ์


ตูปะ นาซิ

ตูปะ นาซิ จากต�ำบลบาเจาะ อ


อ�ำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

ตูปะ นาซิ


บรรณานุกรม Bibi Mokrat. 2017. “Sejarah Ketupat: Nama, Keenakan dan Kepentingan” [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก : http://www.butterkicap.com/open-house/ sejarah-ketupat-malaysia (วันที่คน้ ข้อมูล : 28 ตุลาคม 2561)

ตูปะ นาซิ

ฮาซือนะ มะมิง. 2556. “ตูป๊ะนาซิ” [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก : file:///C:/Us ers/Nakeeroh%20Style/Downloads/5722_40.pdf (วันที่คน้ ข้อมูล : 28 ตุลาคม 2561) สาลีนา ดารายีสาหอ. “รากวัฒนธรรม อาหาร” [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก : file:///C:/Users/Nakeeroh%20Style/Downloads/5721_arti cle_20160927162436.pdf (วันที่คน้ ข้อมูล : 28 ตุลาคม 2561)


คณะผูจ้ ดั ท�ำ บรรณาธิการ

นางสาวนากีเราะ อาตา

เรียบเรียง

นางสาวนูรลู ฟาฎีละห์ สตาปอ

ตูปะ นาซิ

นักศึกษาคณะวิทยาการสื่อสาร สาขานิเทศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปั ตตานี


ตูปะ นาซิ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.