#FARMSPHERE urban farming center

Page 1


#FARMSPHERE โครงการศูนย์เกษตรกรรมคนเมือง URBAN FARMING CENTER เจ้าของโครงการ: เอกชน ที่ตั้งโครงการ: มีนบุรี กรุงเทพฯ ประเภทโครงการ: พาณิชยกรรม นักศึกษา นายภูนคร คงวัฒนานนท์ รหัส 58020049 อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.มนสินี อรรถวานิช อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ จินต์จันทรวงศ์ หลักสูตร สถ.บ. (สถาปัตยกรรม) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง




PREFACE ผ ล ง า น ชิ้ น นี้ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ศู น ย์ เกษตรกรรมคนเมือง หรือ Farmsphere โดยเป็น หนังสือข้อมูลการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมประกอบ วิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเล่มจะเป็นการเล่าเรื่องตั้งแต่ที่มาของโครงการ การ ออกแบบโครงการ แนวความคิด และการออกแบบ สถาปัตยกรรม รวมถึงแบบทางสถาปัตยกรรม ในโครง การศูนย์เกษตรกรรมคนเมือง สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จากหุ่นจำลอง และคลิปวิดีโอประกอบการนำเสนอ ผู้เขียนรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้ผลิตผลงานชิ้นนี้ ขึ้นมา หากมีข้อเสนอแนะหรือคำติชมสามารถติดต่อมา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และพัฒนาเกษตรไทยให้ดียิ่งขึ้น ผู้เขียน


CONTENT DESIGN PROCESS BACKGROUND PROGRAM DESIGN SITE DEVELOPMENT ARCHITECTURE ISOMETRIC PLAN SECTION SYSTEM SERVICE STRUCTURE ELEVATION PERSPECTIVE PHYSICAL MODEL APPENDIX FEASIBILITY FARMBOOTH BIOGRAPHY

1 2 4 12 16 20 31 36 42 52 58 65 68 73 108 110 111 111 113


DESIGN PROCESS


2


3


PROGRAM


5


6


7


8


9


10


11


DESIGN


13


14


15


16


SITE


18


19


DEVELOPMENT


21


22


23


24


25


26


27


PHYSICAL MASS MODEL 01

28

SUN SHADE EXPERIMENT 01

SUN SHADE EXPERIMENT 01

การทดลองค้นหาแผ่นหลังคาที่ สามารถยอมให้ แ สงส่ อ งลงมา ถึงพื้นครั้งที่ 1 ได้ทำการแยก แผ่นหลังคา และวางเหลื่อมกัน พบว่าแสงสามารถผ่านได้ และมี ความสวยงาม

การทดลองค้นหาแผ่นหลังคาที่ สามารถยอมให้ แ สงส่ อ งลงมา ถึงพื้นครั้งที่ 2 ได้ทำการขยาย แผ่นหลังคาดาดฟ้าฟ้าเนื่องจาก ฟั ง ก์ ชั่ น ข อ ง แ ป ล ง ผั ก ที่ กิ น พื้นที่ มากที่สุด จึงต้องส่งผ่าน แสงแดดด้วยวิธีอื่น เช่น การเว้น ระยะ หรือการเจาะรู

CONCEPT MASS

MATERIALS MASS

จากแนวคิด Space on Grid ทำ า ให้ เ กิ ด ไอเดี ย การทำ า อาคาร เป็นกล่องๆ ขนาดเท่าๆ กัน โดยยึ ด ตามระบบพิ กั ด ประสาน (Modular) จะได้ลุคอาคาร ออกมาตามภาพด้านซ้าย

เนื่องจากฟังก์ชั่นฟาร์มบนดาด ฟ้าต้องการแสงแดด เช่นเดียว กับโรงเรือนเกษตรทั่วไปจึงต้อง ใช้ วั ส ดุ ช นิ ด เดี ย วกั น กั บ การ ก่อสร้างโรงเรือน ซึ่งมีความ โปร่งใส และโปร่งแสง ทำให้ลุค อาคารจะออกมาตามภาพด้ า น ซ้ายมือ


PHYSICAL MASS MODEL 02

MASS MODEL 01

SCALE

1:500

หุ่นจำลองอาคารครั้งที่ 1 ที่มีฟังก์ชั่นครบถ้วน มีพื้นที่เกษตรกรรมตามความต้องการ มีลานจอดรถเพียงพอ ตามกฎหมาย อาคารค่อนข้างกระชับทำให้มีระยะการเดินไม่ไกลง่ายต่อการสัญจรในอาคาร

MASS MODEL 02

SCALE

1:500

หุ่นจำลองอาคารครั้งที่ 2 ที่มีฟังก์ชั่นครบถ้วน มีพื้นที่เกษตรกรรมตามความต้องการ ปรับเปลี่ยนจากลาน จอดรถเป็นอาคารจอดรถเพียงพอตามกฎหมาย ย้ายโกดังเก็บของ (Ware House) รวมกับอาคารจอดรถ ทำให้อากาศถ่ายเทมากขึ้น และใช้พื้นที่ดาดฟ้าของอาคารจอดรถเป็นแปลงผักเพื่อเพิ่มยอดการผลิตได้อีกด้วย

29



ARCHITECTURE


32


33


34


35


ISOMETRIC


37


38


39


40


41


PLAN


43










SECTION


53


54


55


56


57


SYSTEM SERVICE


59


60


61


62


63


64


STRUCTURE


66


67


ELEVATION


69


70


71


72


PERSPECTIVE


ทัศนียภาพโดยรวมของโครงการ โครงการตั้งอยู่ชานเมืองของกรุงเทพทำาให้อาคาร บ้านเรือนโดยรอบเป็นอาคารขนาดเล็ก แต่การมา ถึงของสถานีรถไฟฟ้าสุวินทวงศ์อาจนำมาซึ่งความ เจริญและผู้คน ซึ่งโครงการ #FARMSPHERE จะเป็นจุดรองรับหลักของสถานีนี้ในอนาคต

74


75


ต้อนรับเข้าโครงการด้วยทาง เดิ น ระดั บ เดี ย วกั บ ต้ น ข้ า ว บนนาข้าวจริงๆ ที่สามารถ เก็บเกี่ยวมากินได้จริงๆ โดย นาข้าวทำหน้าที่เป็น Land Scape ที่กินพื้นที่สอดแทรก เข้าไปในอาคาร เป็นจุดที่ผู้คน สามารถถ่ายรูปเก็บเป็นที่ระลึก ได้

76


77


78


79


สำ า หรั บ ผู้ ที่ เ ดิ น ทางด้ ว ยจั ก ร ยาน มีทางจักรยานโดยเฉพาะ ที่ผ่านทุ่งนา และร้านอาหาร และเรายังมีห้องอาบน้ำบริการ ให้ก่อนเข้าโครงการอีกด้วย

80


81


82


บริ เ วณร้ า นค้ า เช่ า จะตั้ ง ครัวไว้กึ่งกลางร้าน และ จั ด โต๊ ะ อาหารล้ อ มรอบ เป็ น การโชว์ ก รรมวิ ธี ก าร ทำ า อาหารให้ เ ห็ น ตามแนว คิดที่ต้องการให้ผู้ที่เข้ามา เห็ น กระบวนการทั้ ง หมด ของโครงการ

ด้ า นหน้ า ร้ า นค้ า เช่ า ปู พ้ื น ด้ ว ยเหล็ ก ฉี ก เพื่ อ ความ โปร่ ง ของทางเดิ น ชั้ น ล่ า ง แ ล ะ ค ว า ม น่ า ส น ใ จ เ มื่ อ พบเห็น

83


FOOD STORE เป็นร้านอาหารของโครงการที่ จะเสิร์ฟจากฟาร์ม โดยลูกค้าสามารถมองเห็นการ ทำงาน กรรมวิธีต่างๆในครัวได้ผ่านกระจกใสขนาด ใหญ่

FARMER MARKET YARD เป็นลานกิจกรรม ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ จ ะ เ ปิ ด ใ ห้ เกษตรกร พ่อค้าแม่ค้ามาเช่า แผงขายสัปดาห์ละ 1-2 วัน ส่วนในวันธรรมดาจะเป็นลาน กว้างสำหรับพักผ่อน และยัง สามารถจัดกิจกรรมอื่นๆ ได้ เช่น การแสดงดนตรีสด งาน ประจำเทศกาลต่างๆ

84


85


86


FARM STORE ร้านค้า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องโครงการ ที่ ลู ก ค้ า สามารถเด็ ด ผั ก จากแปลงสดๆไปชำ า ระ เงินได้ทันที นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น ๆจั ด จำหน่าย ทั้งของสดและสิน ค้าแปรรูป

หน้าร้านค้า Farm Store มีบันไดเลื่อน และลิฟท์ให้ บริการ รองรับผู้คนที่ออก จากสถานีรถไฟฟ้า MRT

87


88


ทางเข้ า อี ก ทางสำ า หรั บ ผู้ เดิ น ทางมาด้ ว ยรถยนต์ โดยมี โ ถงต้ อ นรั บ ขนาด ใหญ่ ที่ มี ส วนเกษตรอยู่ ตรงกลาง เชื่อมต่อกับ Cafe’/Ticket และ ห้ อ งอาบน้ำ า สำ า หรั บ ผู้ ปั่ น จักรยาน

CAFE’/TICKET พื้นที่ จำหน่ายตั๋วเข้าชมเส้นทาง ศึกษาเกษตรกรรม และรับ ฝากกระเป๋า รวมถึงเป็น สถานที่ บ ริ ก ารอาหารและ เครื่องดื่มอีกแห่งหนึ่งด้วย

89


90


LIBRARY ห้องสมุดที่ รวบรวมหนั ง สื อ ความรู้ ที่ เกี่ยวกับเกษตรกรรมไว้ ทำ หน้าที่เป็นห้องสมุดชุมชน และยังเป็น Co-working Space สำหรับนักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ใกล้เคียง โดยสามารถมองเห็นแปลง ผักแนวตั้งได้

สะพานทางเชื่ อ มจากห้ อ ง สมุดไปสู่โซนโรงงานปูพื้น ด้ ว ยเหล็ ก ฉี ก เพื่ อ ความ โ ป ร่ ง ข อ ง ท า ง เ ดิ น ชั้ น ล่าง และความน่าสนใจ เมื่อพบเห็น เช่นเดียวกับ บริเวณด้านหน้าร้านค้าเช่า

91


92


HENHOUSE เล้าไก่ ของโครงการโดยออกแบบ ให้มีพื้นที่วิ่งเล่น และอาการ ถ่ายเทได้สะดวก รองรับ ไก่ได้มากสุด 108 ตัว มี พื้นที่บริการอาหาร และอยู่ ติดกับคลินิกสัตว์

EARTHWORM PLANT โรงเรือนไส้เดือน ป รั บ อ า ก า ศ ด้ ว ย ร ะ บ บ Evaporation รองรับได้ มากสุด 714 ถัง (ถังละ ประมาณ 1,000 ตัว)

น อ ก จ า ก พื้ น ที่ เ ลี้ ย ง ไ ส้ เดือนยังมี บ่อน้ำและ บ่ อ ปุ๋ ย คอกสำ า หรั บ เลี้ ย ง ไส้เดือน และพื้นที่จำหน่าย ไส้เดือนเป็นชุด ราคาชุด ละ 800 บาท ประกอบ ด้วยปุ๋ยคอก 1 ถัง และ ไส้เดือนประมาณ 1,000 ตัว

93


MUSHROOM PLANT โรงเรือนเห็ดที่ สามารถรองรับได้มากสุด 420 หน่วยปลูก โดย ควบคุ ม ด้ ว ยระดั บ อุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น ด้ ว ยระบบ iFarm

พื้นที่แยกขยะ และหมักขยะ อาหาร รวมถึงจำหน่ายถัง BIO TRASH จุลินทรีย์ เชื้อรา และปุ๋ยชนิดต่างๆ

94

LIVESTOCK FIELD ลานกลางโซนปศุสัตว์ มี ไว้เพื่อรองรับสัตว์ชิดอื่นๆ เช่น เป็ด ห่าน หงส์ หรือ การจั ด แสดงสั ต ว์ ข นาด ใหญ่ชั่วคราว เช่น หมู แพะ หรือแม้กระทั่งวัว กระทิง กวาง


95


96


OFFICE ของโครงการ อยู่ บ ริ เ วณชั้ น สองโดย ออกแบบให้เป็น ออฟฟิศ ส มั ย ใ ห ม่ ที่ ส า ม า ร ถ นั่ ง ทำงานตรงไหนก็ได้ เช่น เดี ย วกั บ บริ ษั ท ครี เ อที ฟ ต่างๆ ในปัจจุบัน โดยมอง ออกไปจะเป็ น เล้ า ไก่ ใ ห้ ดู เล่นเวลาเบื่อๆ

CLASSROOM ห้อง บรรยายสำ า หรั บ วิ ท ยากร ภายในและภายนอก เปิด ส อ น วิ ช า เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ให้ ผู้ ที่ ส นใจเข้ า มาเรี ย นรู้ หรื อ สามารถปรั บ เปลี่ ย น สำหรับกิจกรรมอื่นๆ

97


FACTORY โรงงานสำหรับ แปรรูปสินค้า และบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตต่างๆในโครงการหรือ เกษตรกรในพื้นที่ เป็นโรงงาน ขนาดเล็ ก ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ คลั ง สินค้าด้านหลังโครงการ

98


99


100


NURSERY พื้นที่ เพาะพั น ธุ์ พื ช ทั้ ง หมดใน โครงการ เป็นโรงเรือน ในระบบ Evaporation โดยมีทั้งหมด 28 ถาด สามารถเพาะได้พร้อมกัน ถึง 10,000 ต้น

ชั้ น ดาดฟ้ า จะเปิ ด โล่ ง สามารถเห็ น ลานด้ า น ล่างได้ และยอมให้ต้นไม้ สามารถเติบโตขึ้นมาได้

101


PRIVATE PLOTS แปลงผักของโครงการที่ไม่ ได้เปิดให้เข้าชม โดยปลูก ในระบบ Hydroponics สามารถรองรับการปลูก ผักได้มากกว่า 10,000 ต้น

GREEN HOUSE โรง เรื อ นรองรั บ การปลู ก ผั ก หลากหลายชนิดตามความ ต้องการของตลาด

102


103


104


ALLOTMENT แปลง ผั ก เช่ า สำ า หรั บ ผู้ ที่ ส นใจ เข้ามาปลูกผักด้วยตัวเอง หรื อ เช่ า แปลงให้ พ นั ก งาน ปลูกให้ก็ได้ โดยมีจำนวน ให้เช้าถึง 81 แปลง

ROOFTOP CAFE เป็น ร้ า นอาหารบนดาดฟ้ า ที่ สามารถทำ า อาหารสดจาก ฟาร์มได้ด้วยตัวเอง โดยมี พ่ อ ครั ว ช่ ว ยสอนการปรุง อาหาร

ชั้ น ดาดฟ้ า มี พื้ น ที่ รั บ ประ ทานอาหารและสามารถชม วิวโดยรอบโครงการ

105


FARMSTAY สำหรับ นั ก ศึ ก ษ า ฝึ ก ง า น ห รื อ พนั ก งานของโครงการ โดยมีห้องน้ำ ห้องครัว พื้นที่ซักผ้าตากผ้า และ ห้องนอน 12 เตียง

ดาดฟ้าของส่วน Farmstay มีสวนดาดฟ้าขนาด เล็ ก ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมของ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก งานที่ ต้ อ ง ดู แ ลแปลงของตั ว เองจน จบการฝึกงาน

106


107


PHYSICAL MODEL 108


109


APPENDIX


111


112


#FARMSPHERE URBAN FARMING CENTER

ADVISOR DR. MONSINEE ATTAVANICH KMITL

ศูนย์เกษตรกรรมคนเมือง

CO-ADVISOR ASST. DR. NARONGRIT JINJANTARAWONG KMITL instagram.com/farmsphere

PHUNAKORN KONGWATANANONDA (ZERN)

58020049 zern7@windowslive.com FB: Zern Pnk IG: zernn, farmsphere, nnnnerz 113


THANK YOU ขอขอบพระคุณ อ.ดร.มนสินี อรรถวานิช อาจารยที่ปรึกษา ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ จินต์จันทรวงศ์ อาจารยที่ปรึกษาร่วม ขอขอบพระคุณ รศ.ชนินทร์ ทิพโยภาส ผศ.อาจ วสุวานิช ผศ.ดร.โชติวิทย์ พงษ์เสริมผล ผศ.ดร.ปนายุ ไชยรัตนานนท์ และ ผศ.พิสิฐ พินิจจันทร์ กรรมการวิทยานิพนธ์ประจำปีการศึกษา 2562 ขอขอบพระคุณอาจารย์ธีร์ อังคะสุวพลา ที่จุดประกายความคิดสวนผักคนเมือง ขอขอบพระคุณ ผศ.ไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา สำหรับการคิดความคุ้มทุนของโครงการ ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ ที่ช่วยพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับโครงการ ขอขอบพระคุณ ผศ.วัชระพงษ์ ประสานเกลียว สำหรับความรู้เรื่องโครงสร้าง ขอขอบคุณคุณวัฒนา คงวัฒนานนท์ สำหรับข้อมูลด้านเกษตรกรรม และกำลังใจ ขอขอบพระคุณอาจารย์ต้อม ที่แนะนำแนวคิด ตรวจสอบ และคอยให้ความช่วยเหลือ ในทุกๆ ส่วนของผลงาน ขอขอบคุณมัฆวาล หอสุวรรณ์ และพี่เฟิร์นจากศูนย์เกษตรกรรมบางไทร สำหรับข้อมูล ขอขอบคุณคุณปียะรัตน์ มลัยเค จาก CORO field สำหรับข้อมูลโครงการ ขอขอบคุณลุงรีย์ จากฟาร์มลุงรีย สำหรับข้อมูลระบบฟาร์ม และการเลี้ยงไส้เดือน ขอขอบคุณ La Collina, Urban Farm @Funan, ดาดฟ้า ขอขอบคุณโทโมมิ คาเคยะ สำหรับการแปลข้อมูลภาษาญี่ปุ่น ขอขอบคุณพี่ตาหวาน พี่มิกซ์ พี่เกรซ พี่เชียะ สำหรับเล่มวิทยานิพนธ์ ขอขอบคุณพี่ตาหวาน น้องปลื้ม และสายรหัส 49 สำหรับการช่วยเหลือต่างๆ ขอขอบคุณแจน สำหรับการพิสูจน์อักษรผลงานชิ้นนี้ และกำลังใจ ขอขอบคุณพี่อั๋น สำหรับคำปรึกษา และปู สำหรับแนวทางการผลิต ขอขอบคุณเก้าสำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ ที่ใช้ผลิตผลงานชิ้นนี้ ขอขอบคุณ ครอบครัวคงวัฒนานนท์ สำหรับกำลังใจ ขอขอบคุณเพื่อนในกลุ่มวิทยานิพนธ์ เพื่อนกลุ่มดอสสสส์ เพื่อนชาวพูลวิลเลี่ยน เพื่อนเล่นเกมยามดึก และเพื่อนๆ ชาวพเยอร์ ขอขอบพระคุณผศ.ปริญญา ชูแก้ว สำหรับอาหารในช่วงกักตัว ขอขอบพระคุณพี่แอน ที่ช่วยส่งของในยามวิกฤตโควิด 19 ขอขอบคุณกราฟฟิกจาก Freepik รูปภาพจาก Pixabay


#FARMSPHERE โครงการศูนย์เกษตรกรรมคนเมือง URBAN FARMING CENTER เจ้าของโครงการ: เอกชน ที่ตั้งโครงการ: มีนบุรี กรุงเทพฯ ประเภทโครงการ: พาณิชยกรรม นักศึกษา นายภูนคร คงวัฒนานนท์ รหัส 58020049 อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.มนสินี อรรถวานิช อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ จินต์จันทรวงศ์ หลักสูตร สถ.บ. (สถาปัตยกรรม) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.