technology

Page 1

เทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อ สาร นางสาวเกษรา นางสาวอัญ มณี นายวิน ย ั นางสาววัน นิส า

คุม ้ ทรัพ ย์ ดำา นิล อิท ธิ สีอ ัด ชา

วิท ยาศาสตร์ท ั่ว ไปหมู่ 1 ค.บ.2 คณะ วิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ หมูบ ่ า้ นจอมบึง


• กำา เนิด เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร • ประวัต ิโ ดยย่อ ของเทคโนโลยีส ารสนเทศและการ สื่อ สาร • ความหมายและความสำา คัญ ของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สาร • เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารที่ใ ช้ใ น ชีว ิต ประจำา วัน • กระแสโลกาภิว ัฒ น์ข องเทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อ สาร


การติดต่อในยุคแรก ๆ เป็นการบอกกันปากต่อปาก ต่อมามีการสื่ อสารกัน ด้วยตัวอักษรที่จารึ กบนวัสดุต่าง ๆ ซึ่งกลายมาเป็ นการส่ งจดหมายถึงกัน จากนั้นมีการสื่ อสาร กันด้วยวิธีการที่หลากหลายและมีความรวดเร็ วมากขึ้น ซึ่งอาศัยหลักวิชาด้านวิศวกรรมไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์ เปลี่ยนคำาพูด ข้อความหรื อภาพ เป็ นสัญญาณไฟฟ้ าส่งไปตามสาย หรื อ เปลี่ยนเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า



เทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ แต่ละด้านมีประวัติหรือพัฒนาการ ดังนี้ เทคโนโลยีคมนาคม เริ่ มจากการประดิษฐ์โทรเลขของ แซมวล มอร์ส(Samual Morse) ในปี พ.ศ. 2380 นับว่าเป็ นครั้งแรกที่ข่าวสารถูกแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าส่ งไปตามสายเป็ นระยะทางไกลๆ ได้ในปี พ.ศ. 2401 ได้มีการวางสายเคเบิลใต้มหาสมุทรแอตแลนติก ทำาให้เกิดการสื่ อสาร ข้ามทวีประหว่างทวีปอเมริ กากับทวีปยุโรปขึ้นเป็ นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2419 อเล็ก ซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell)ได้ ประดิษฐ์โทรศัพท์ จากนั้นเครือข่ายโทรศัพท์ได้ขยายตัวออก ไปอย่างรวดเร็ว จนในปัจจุบันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ด้วยระบบโทรศัพท์ทางไกลอัตโนมัติ นับเป็นพัฒนาการอัน


คลื่นวิทยุ

ในปี พ.ศ. 2430 โดย ไฮน์ริช แฮตน์ (เฮิร์ต) (Heinrich Hertz) มีการพัฒนาการค้นพบ

พ.ศ. 2437 กูกลิเอลโม มาร์โคนี (Guglielmo Marconi) สามารถประดิษฐ์เครื่ องรับส่ งวิทยุ เครื่ องแรกได้สาำ เร็ จ พ.ศ. 2477-2479 จอห์น เฟลมมิง (John Flemming) และ ลี เดอ ฟอเรสต์ (Lee De Forest) ได้ประดิษฐ์หลอดสุ ญญากาศ พ.ศ. 2497 วลาดิเมียร์ สวอริ คิน (Vladimir Zworykin) ได้ประดิษฐ์หลอดภาพโทรทัศน์ พ.ศ. 2490 ชอกลีย ์ บาร์ดีน และ แบรตเทน (Schockley, Bardeen and Brattain) ได้ ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ พ.ศ. 2500 คิลบี และ นอยส์ (Jack Kilby, Robert Noyce) ได้ประดิษฐ์วงจรรวมหรื อไอซี พ.ศ. 2504 บริ ษทั เอทีแอนด์ที ได้สร้างดาวเทียมสื่ อสาร เทลสตาร์ 1 เป็ นดาวเทียมสื่ อสาร ดวงแรกของโลก


คลืน่ วิทยุ

หลอดสุ ญญากาศ

เครื่องรับส่ งวิทยุ

หลอดภาพโทรทัศน์


ทรานซิ สเตอร์

วงจรรวมหรือไอซี

ดาวเทียมสื่ อสาร เทลสตาร์ 1


เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 พ.ศ. 2489 – 2501

เป็ นการประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่ อง คำานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ได้นาำ แนวความคิดนั้นมา ประดิษฐ์เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิ ภาพมากเครื่ องหนึ่งเรี ยกว่า ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ่ งต่อมาได้ทาำ การปรับปรุ งการ ทำางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ให้มีประสิ ทธิ ภาพดียิง่ ขึ้น และได้ประดิษฐ์ เครื่ อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพือ่ ใช้ในการสำารวจสำามะโน ประชากรประจำาปี


ยุคที่ 2 พ.ศ. 2502 – 2506 มีการนำาทรานซิ สเตอร์ มาใช้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์จึงทำาให้เครื่ องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการทำางานให้มีความรวดเร็ วและแม่นยำามากยิง่ ขึ้น นอกจาก นี้ ในยุคนี้ยงั ได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN)จึงทำาให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสำาหรับใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507 – 2512 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่ มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจาก ได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรื อเรี ยกกันย่อๆ ว่า "ไอซี " (IC) ซึ่ งไอซี น้ ีทาำ ให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip)เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนำาเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิ สเตอร์ทาำ ให้ประหยัดเนื้ อที่ได้มาก


ยุคที่ 4 พ.ศ. 2513 – 2532 เป็ นยุคที่นาำ สารกึ่งตัวนำามาสร้างเป็ นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่ วนไอซี ธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทำาให้เครื่ องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทำางานสู งและรวดเร็ วมาก จึงทำาให้มีคอมพิวเตอร์ ส่ วนบุคคล (Personal Computer) ถือกำาเนิดขึ้นมาในยุคนี้ ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533 – ปัจจุบัน ในยุคนี้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบายในการใช้งานอย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ กับโปรแกรม เป็ นต้น


เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนำาเทคโนโลยี ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร โทรคมนาคมมาช่วยในการรวบรวม ประมวลผล สรุป จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศทีไ ่ ด้ในรูป แบบต่าง ๆ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ และ เสียง เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด


1) IT หมายถึง อุปกรณ์ (Hardware) และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) ซึ่ งใช้เพือ่ การเข้า ถึง แก้ไข จัดเก็บ รวบรวม ควบคุม และนำาเสนอสารสนเทศในรู ปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (1) Hardware ได้แก่ Personal Computers, Scanners และ Digital Cameras เป็ นต้น (2) Software ได้แก่ Database Storage Programs และ Multimedia Programs เป็ นต้น 2) CT หมายถึง อุปกรณ์โทรคมนาคม (Tele-communication Equipment) ใช้เพื่อประโยชน์ ในการค้นหาและเข้าถึงสารสนเทศ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม และคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น


การเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน เพื่อประหยัดทรัพยากร ำ อนของข้อมูล และสะดวกในการใช้งาน การเชื่อมโยง ลดความซ้าซ้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน เรี ยกว่า ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป้ าหมายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คือ 1) มีการใช้ทรัพยากรทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ร่วมกัน 2) สามารถใช้ขอ้ มูลร่ วมกันได้สาำ หรับทุกคนที่อยูใ่ นระบบเครื อ ข่าย 3) การติดต่อระหว่างผูใ้ ช้แต่ละคนมีความสะดวกสบายขึ้น


ปัจจุบนั เรานิยมจัดประเภทของเครื อข่ายตามขนาดทางภูมิศาสตร์ที่ระบบ เครื อข่ายนั้น ครอบคลุมอยู่ จำาแนกได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ (รุ จพร ชนาชัย และคณะ, 2546.) 1) เครื อข่ายแลนหรื อเครื อข่ายบริ เวณเฉพาะที่ (LAN หรื อ Local Area Network) เป็ นเครื อข่ายที่นิยมใช้ภายในสำานักงานอาคารเดียวกันและองค์กร ที่อยูใ่ นบริ เวณเดียวกันหรื อใกล้กนั เป็ นเครื อข่ายระยะใกล้ การเชื่อมต่อ สามารถใช้สายเคเบิล สายโคแอกซ์ หรื อสายเส้นใยแก้ว ช่วยเพิ่ม ประสิ ทธิภาพในการทำางานขององค์กรและสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่ วม กันได้ ตัวอย่างของเครื อข่ายนี้ ได้แก่ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัย โรงเรี ยน และบริ ษทั หรื อห้างร้านต่าง ๆ


2) เครื อข่ายแมนหรื อเครื อข่ายบริ เวณนครหลวง (MAN หรื อ Metropolitan Area Network) เป็ นเครื อข่ายที่มีการเชื่อมต่อผูใ้ ช้ที่อยูใ่ นเขต เมืองเดียวกัน เป็ นเครื อข่ายขนาดกลางที่สร้างขึ้นเพื่ออำานวยความสะดวกแก่ ประชาชนของเมืองนั้นหรื อเขตการปกครองนั้น เช่น เครื อข่ายของรัฐต่าง ๆ ในประเทศสหรัฐอเมริ กา 3) เครื อข่ายแวนหรื อเครื อข่ายบริ เวณกว้าง (WAN หรื อ Wide Area Network) เป็ น เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกันระยะไกล ครอบคลุมพื้นที่ท้ งั ประเทศ ระหว่างประเทศ หรื อทัว่ โลก โดยอาศัยอุปกรณ์ ดาวเทียม สายเส้นใยแก้วนำาแสงหรื อไมโครเวฟเป็ นตัวกลางในการสื่ อสาร ระบบเครื อข่ายประเภทนี้ ที่เรารู้จกั กันดีก็คือ เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต


อินเทอร์เน็ต คำาว่า อินเทอร์เน็ต มาจากคำาเต็มว่า International Network หรื อเขียนแบบย่อว่า Internet หมายความว่า เครื อข่ายนานาชาติ หรื อเครื อข่ายสากล คือเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ทวั่ โลกเข้าด้วยกัน โดยเป็ นระบบเครื อข่ายของเครื อข่าย (Network of Networks) ในปัจจุบนั มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันอยู่ มากกว่า 60 ล้านเครื่ อง มาเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน การที่ คอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันหลายชนิดจำานวนมากมายทัว่ โลก เชื่อมโยงกันได้ จะต้องใช้เกณฑ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อหรื อโพรโทคอล (Protocol) เดียวกัน จึง จะเข้าใจกันได้ และเกณฑ์วิธีที่นาำ มาใช้กบั การเชื่อมโยงต่ออินเทอร์เน็ตใน ปัจจุบนั มีชื่อเรี ยกว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)


การใช้อินเทอร์เน็ตก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน สามารถสรุ ปที่สาำ คัญได้ดงั นี้ 1. ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร สะดวก และรวดเร็ ว 2.ใช้สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลจ่าง ๆ ทัว่ โลกได้ 3. ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ต่างระบบได้ 4.สามารถส่ งข้อมูลได้หลายรู ปแบบ 5.ให้ความบันเทิงในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น การฟังเพลง เล่นเกม เป็ นต้น 6. ใช้สื่อสารด้วยข้อความซึ่งเป็ นการพูดคุยกันระหว่างผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตโดยการพิมพ์ ข้อความโต้ตอบ 7. ใช้ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 8. ซื้อขายสิ นค้าและบริ การ


ปัจจุบนั ย่อมมีการติดต่อสื่ อสารกับบุคคลหรื อสังคมอื่นอยูเ่ สมอไม่ทางใดก็ ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรื อการรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารใน ชีวิตประจำา วันด้วยสื่ อต่าง ๆ เช่น หนังสื อพิมพ์ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วนเป็ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้ น นี้ เป็ นตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำาวัน ความเจริ ญ ก้าวหน้าของวิทยาการใหม่ ๆ ก่อให้เกิด เครื่ องมือในการอำานวยความสะดวก ในการใช้บริ การอย่างรวดเร็ ว เช่น การทำาบัตรประจำาตัวประชาชน สามารถให้ บริ การโดยเชื่อมต่อ ระบบออนไลน์ (online system) ซึ่งเป็ นระบบสายตรงที่มี ประโยชน์มาก และเป็ นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จาำ เป็ น


กระแสโลกาภิวฒั น์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารใน ปั จจุบนั ช่วยให้ความเป็ นอยู่ ในชีวิตประจำาวันของเราสะดวกสบายมากขึ้ น เมื่อ เปรี ยบเทียบกับยุคก่อน การเดินทางและติดต่อสื่ อสารระหว่างกันสามารถทำาได้ ง่ายขึ้น มีการนำาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ในทุกสาขาอาชีพ ซึ่ งส่ งผล ให้วิทยาการต่างๆ เจริ ญก้าวหน้าและทันสมัยอย่างรวดเร็ ว การติดตามข่าวสารที่ เกิดขึ้นในส่ วนต่างๆของโลกได้ทนั เหตุการณ์สามารถรับรู้ข่าวสารข้อมูลในเวลา เดียวกันได้ท้ งั ที่อยูห่ ่างไกลกันคนละสถานที่ เช่น การถ่ายทอดสัญญาณผ่าน ระบบดาวเทียมจากประเทศต่างๆ การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์พิมพ์รายงาน สร้าง ภาพกราฟิ ก


ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำาให้มีการพัฒนา คิดค้นสิ่ งอำานวยความสะดวกสบายต่อการดำารงชีวิตเป็ นอันมาก เทคโนโลยีได้ เข้ามาเสริ มปั จจัยพื้นฐานการดำารงชีวิตได้เป็ นอย่างดี เทคโนโลยีทาำ ให้การ สร้างที่พกั อาศัยมีคุณภาพมาตรฐานสามารถผลิตสิ นค้าและให้บริ การต่างๆ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทาำ ให้ระบบการผลิต สามารถผลิตสิ นค้าได้เป็ นจำานวนมาก มีราคาถูกลง สิ นค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่ งให้บริ การด้านข้อมูล ข่าวสารด้วยกลไก อิเล็กทรอนิกส์ ทำาให้มีการติดต่อสื่ อสารกันได้สะดวก รวดเร็ วตลอดเวลา จะ เห็นว่าชีวิตปั จจุบนั เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีเป็ นอันมาก ซึ่ งส่ วนใหญ่ใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ในการทำางาน


เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความหมายทีก ่ ว้างขวาง รอบ ๆ ตัวทีเ่ กี่ยวกับการใช้สารสนเทศอยูม ่ าก ดังนี้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นวิธีการรวบรวม ข้อมูลเข้าสู่ระบบ นักเรียนอาจเห็นพนักงานการไฟฟ้า ไปทีบ ่ ้านพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพื่อบันทึก ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในการสอบทีม ่ ผ ี ู้เข้าสอบจำานวนมากก็ มีการใช้เดินสอดำาระบายตามช่องทีเ่ ลือกตอบ เพือ ่ ให้ เครื่องอ่านเก็บรวบรวมข้อมูลได้ เมือ ่ ไปซือ ้ สินค้าทีห ่ า้ ง สรรพสินค้าก็มีการใช้รหัสแท่ง (bar code) พนักงานจะ นำาสินค้าผ่านการตรวจของเครื่องอ่านรหัสแท่งเพื่ออ่าน ข้อมุลการซื้อสินค้า เมือ ่ ไปทีห ่ ้องสมุดก็พบว่าหนังสือมี รหัสแท่งเช่นเดียวกัน การใช้รหัสแท่งนีเ้ พื่อให้งา่ ยต่อ


2.การประมวลผล ข้อมูลที่เก็บมาได้มกั จะเก็บในสื่ อต่างๆ เช่น แผ่น บันทึก แผ่นซี ดี และเทป ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำามาประมวลผลตามความ ต้องการ เช่น แยกแยะข้อมูลเป็ นกลุ่ม เรี ยงลำาดับข้อมูล คำานวณ หรื อจัดการคัด แยกข้อมูลที่จดั เก็บนั้น


3. การแสดงผลลัพธ์ คือการนำาผลจากการประมวลผลที่ได้ มาแสดง ผลลัพธ์ให้อยูใ่ นรู ปแบบต่าง ๆ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์มีมาก สามารถแสดงเป็ นตัวหนังสื อ รู ปภาพ ตลอดจนพิมพ์ออกมาที่กระดาษ การ แสดงผลลัพธ์มีท้ งั ที่แสดงเป็ นภาพ เสี ยง และวีดิทศั น์ เป็ นต้น


4.การทำาสำาเนา เมื่อมีขอ้ มูลที่จดั เก็บในสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ การทำา สำาเนาจะทำาได้ง่ายและทำาได้เป็ นจำานวนมากอุปกรณ์ที่ช่วยในการทำาสำาเนาจัด ได้วา่ เป็ นเทคโนโลยีสารสนเทศอีกประเภทหนึ่งที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เรามีเครื่ องพิมพ์ เครื่ องถ่ายเอกสาร อุปกรณ์การเก็บข้อมูลทา อิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่นบันทึก ซีดีรอม ซึ่ งสามารถทำาสำาเนาได้เป็ นจำานวน มาก


5. การสื่ อสารโทรคมนาคม เป็ นวิธีการที่จะส่ งข้อมูลหรื อข่าวสารจากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หรื อกระจายออกไปยังปลายทางครั้งละมากๆ ปัจจุบนั มี ระบบสื่ อสารโทรคมนาคมหลายประเภท ตั้งแต่โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุ โทรทัศน์ และเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีรูปแบบของสื่ อหลายอย่าง เช่น สายโทรศัพท์ เส้นใยนำาแสง เคเบิลใต้นา้ ำ คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ และ ดาวเทียม


ลักษณะสำ าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ลักษณะเด่นที่สาำ คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีดงั นี้ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้การทำางานรวดเร็ ว ถูกต้อง และแม่นยำา ใน ระบบการจัดการขององค์กรทุกแห่งต้องใช้ขอ้ มูลเพื่อการดำาเนินการและตัดสิ นใจ ระบบธุรกิจจึงใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่ อสารเป็ นเครื่ องมือ ช่วยในการดำาเนินการเพื่อให้การทำางานมีความรวดเร็ ว ถูกต้อง และแม่นยำา เช่น ใช้ในระบบฝากถอนเงิน และระบบจองตัว๋ เครื่ องบิน


2. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยทำาให้การบริ การกว้างขวางขึ้น เมื่อมีการ พัฒนาระบบเก็บและใช้ขอ้ มูล ทำาให้การบริ การต่างๆอยูใ่ นรู ปแบบการบริ การ แบบกระจาย ผูใ้ ช้สามารถสัง่ ซื้อสิ นค้าจากที่บา้ น สามารถถามข้อมูลผ่านทาง โทรศัพท์ นิสิตนักศึกษาบางมหาวิทยาลัยสามารถใช้คอมพิวเตอร์สอบถามผล สอบจากที่บา้ นได้


3. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยดำาเนินการในหน่วยงานต่างๆ ปั จจุบนั ทุกหน่วย งานต่างพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในองค์กร ประเทศไทยมีระบบทะเบียนราษฎร์ที่จดั ทำาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเวช ระเบียนในโรงพยาบาล ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาษีซ่ ึงในปั จจุบนั องค์กรทุก ระดับเห็นความสำาคัญที่จะนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้


4. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยงานในชีวิตประจำาวัน


ผลกระทบของเทคโนโลยีส ารสนเทศ

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อชีวิตความเป็ นอยูแ่ ละสังคมมี มาก มีการเรี ยนรู ้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลกระทบของ เทคโนโลยีสารสนเทศกล่าวไว้ดงั นี้ 1. การสร้างเสริ มคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน สภาพความเป็ นอยูข่ องสังคมเมือง มี การพัฒนาใช้ระบบสื่ อสารโทรคมนาคม เพื่อติดต่อสื่ อสารให้สะดวกขึ้น มี การประยุกต์มาใช้กบั เครื่ องอำานวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใช้ควบคุม เครื่ องปรับอากาศ ใช้ควบคุมระบบไฟฟ้ าภายในบ้าน เป็ นต้น


2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระ จายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำาให้เกิดการก ระจายไปทั่วทุกหนแห่งแม้แต่ถิ่นทุรกันดารทำาให้มี การกระจายโอกาสการเรียนรู้มีการใช้ระบบการเรียน การสอนทางไกล การกระจายการเรียนรู้ไปยังถิ่น ห่างไกล นอกจากนีใ ้ นปัจจุบน ั มีความพยายามที่ใช้ ระบบการรักษาพยาบาลผ่านเครือข่ายสือ ่ สาร


3. สารสนเทศกับการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน การเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน มี การนำาคอมพิวเตอร์และเครื่ องมือประกอบช่วยในการเรี ยนรู ้ เช่น วีดิทศั น์ เครื่ อง ฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัดตารางสอน คำานวณระดับคะแนน จัดชั้นเรี ยน ทำารายงาน เพื่อให้ผบู้ ริ หารได้ทราบถึง ปั ญหาและการแก้ปัญหาในโรงเรี ยน ปัจจุบนั มีการเรี ยนการสอนทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรี ยนมากขึ้น


4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่ งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หลายอย่าง จำาเป็ นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่ า จำาเป็ นต้องใช้ ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การ พยากรณ์อากาศ การจำาลองรู ปแบบสภาวะสิ่ งแวดล้อมเพื่อปรับปรุ งแก้ไข ำ การเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพน้าในแม่ นาต่ ้ ำ างๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรี ยกว่า โทรมาตร เป็ นต้น


5. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้ องกันประเทศ กิจการทางด้านการ

ทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ลว้ นแต่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้ องกันภัย ระบบเฝ้ าระวังที่มี คอมพิวเตอร์ควบคุมการทำางาน


6. การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิ ชยกรรม การแข่งขันทางด้านการ

ผลิตสิ นค้าอุตสาหกรรมจำาเป็ นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ขอ้ มูลข่าวสารเพื่อการ บริ หารและการจัดการ การดำาเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริ การกับลูกค้า เพื่อให้ซ้ื อสิ นค้าสะดวกขึ้น


7. ความคิดและการสร้างสรรค์ เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบเกี่ยวข้อง

กับทุกเรื่ องในชีวิตประจำาวัน และมีแนวโน้มที่จะมีบทบาทมากยิง่ ขึ้น



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.