Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

Page 1


“ความสำเร็จที่เกิดขึ้นของวิทยาลัยชุมชน ไมไดมา จากผลงานของใครคนใดคนหนึ่ง แตมาจากความ รวมมือของทุกทานภายในจังหวัดนั้นๆ ที่มั่นใจ และเชื่อวา วิทยาลัยชุมชนเดินทางไป อยางถูกตองตามครรลองครองธรรม”

“คาเลาเรียนที่นี่เราจะเก็บใหถูกที่สุด เทาที่จะไมทำใหเราขาดทุน เพราะเราขาดทุนไม ได เราตองมีคาใชจายในการจัดการศึกษา”

“ทั้งชีวิตเรา ไมไดทำอาชีพ เพียงอาชีพเดียว เราสามารถจะเขามา เรียนวิทยาลัยชุมชน เพิ่มสาขาอาชีพ ที่สอง ที่สาม...ได” “ที่สำคัญ อยาเปลี่ยนสถานภาพ วิทยาลัยชุมชน ไปสอนปริญญาตรี โดยเด็ดขาด...”


ชื่อหนังสือ บรรณาธิการ ที่ปรึกษา

พิมพครั้งแรก จำนวนพิมพ จัดพิมพโดย ISBN

เลม 1 : ทัศนะของ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน วิวัฒน คติธรรมนิตย และกรเกษ ศิริบุญรอด ดร.สุเมธ แยมนุน ดร.ฉันทวิทย สุชาตานนท ดร.รุงเรือง สุขาภิรมย สุนันทา แสงทอง กันยายน 2552 15,000 เลม สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ถนนราชดำเนิน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 02-280-0091-96 โทรสาร 02-280-4162 978-616-202-031-5

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน เลม 1 : ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติตคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย วาดวยวิทยาลัยชุมชน. -กรุงเทพฯ : สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน, 2552. 126 หนา. 1. การศึกษากับชุมชน 2. วิทยาลัยชุมชน I. วิวัฒน คติธรรมนิตย, บรรณาธิการ II. กรเกษ ศิริบุญรอด, บรรณาธิการรวม. III. ชื่อเรื่อง 378.73 ISBN: 978-616-202-032-2

2

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


คำนำ สืบเนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะจัดสัมมนา เรื่อง “วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือก อุดมศึกษาเพื่อปวงชน” ระหวางวันที่ 4-6 กันยายน 2552 ณ หองบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร ศูนยการคา เซ็นทรัล ลาดพราว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรายงานผลการดำเนินงานเผยแพรและแลกเปลี่ยนความคิด ความเขาใจในการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนอันกอใหเกิดการเรียนรูรวมกันในการพัฒนางานวิทยาลัยชุมชน อยางตอเนื่อง สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนมีความเห็นวาในงานนี้ ควรมีหนังสือรวบรวมความคิดสำคัญๆ ในการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนเปนเอกสารประชาสัมพันธในเชิงลึก จึงไดคัดสรรปาฐกถา นโยบาย บทความและความคิดเห็นในโอกาสตางๆ ของบุคคลสำคัญที่เกี่ยวของกับ วิทยาลัยชุมชนมาเปนหนังสือ “คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน” เลมที่หนึ่ง ไดรวบรวมแนวคิดของบุคคลสำคัญเปนคนแรก คือ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทย เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เพราะทานมีคุณูปการที่สำคัญยิ่งตอวิทยาลัยชุมชน เริ่มจากเปนผูกอตั้ง วางระบบ ใหคำแนะนำในการบริหารจัดการและการพัฒนา ตลอดถึงคอยติดตามใหกำลังใจและชวยแกปญหาสำคัญๆ อยางตอเนื่องตลอดระยะเวลากวา 8 ป เลมที่สอง ไดรวบรวมแนวคิดของบุคคลสำคัญหลายทาน ซึ่งเปนผูกำหนดนโยบายและผูบริหาร ที่กำกับดูแลงานวิทยาลัยชุมชน ที่กำหนดทิศทาง สนับสนุน ผลักดัน ใหคำแนะนำ และแกปญหาสำคัญๆ ตลอดจนติดตามใหกำลังใจ ประกอบดวย ฯพณฯ พลเอกสุรยุทธ จุลานนท องคมนตรี ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ฯพณฯ พลเรือเอกชุมพล ปจจุสานนท องคมนตรี นายจุรินทร ลักษณวิศิษ ฏ รัฐมนตรีวาการ

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

3


กระทรวงศึกษาธิการ ดร.สิริกร มณีรินทร อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และประธาน กรรมการวิทยาลัยชุมชน ดร.รุง แกวแดง อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ รองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน รัฐมนตรี ช ว ยว า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ศาสตราจารย นายแพทย วิ จ ารณ พานิ ช ประธานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ดร.ชุมพล พรประภา รองประธานกรรมการวิทยาลัยชุมชน ศาสตราจารยพิเศษ ดร.ภาวิช ทองโรจน อดี ต เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ดร.กฤษณพงศ กี ร ติ ก ร อดี ต เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดร.สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งสำนัก บริหารงานวิทยาลัยชุมชนมีความประทับใจ รำลึกถึง และขอบพระคุณอยางสูงในความกรุณาของทาน หวังวาหนังสือชุดนี้ จะชวยเพิ่มความเขาใจใหกับผูมีสวนรวมกับกิจการของวิทยาลัยชุมชน สามารถ นำไปบูรณาการเพื่อสรางสรรควิทยาลัยชุมชนใหมีคุณคาตอไป สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


เกริ่นนำ หนังสือ “คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน” เปนผลงานเรียบเรียงปาฐกถา นโยบาย บทความ และความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ ผูบริหารระดับสูง และฝายนโยบาย ที่ใหไวแกชาววิทยาลัยชุมชน ตั้งแต ชวงป 2545 - ปจจุบัน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อเผยแพรโอวาท ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาการ ดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชนที่ทานเหลานั้นไดเมตตามอบใหแกชาววิทยาลัยชุมชน หนังสือชุด “คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน” แบงการจัดพิมพออกเปน 2 เลม โดยคณะ บรรณาธิการไดคัดสรรขอคิดเหลานั้นนำเสนอในรูปแบบ “วรรคทอง” หรือ “คมทัศน” ที่สามารถหยิบมาอาน เมื่อไรก็ไดประโยชน และทันสมัยอยูตลอดเวลา หลักเกณฑในการคัดสรรคือ เปนปาฐกถา นโยบาย บทความและความคิดเห็นทีส่ ะทอนใหเห็นแนวคิด ปรัชญา และบทบาทการจัดการศึกษาในรูปแบบที่เปนเอกลักษณของวิทยาลัยชุมชนในการเติมเต็มการศึกษา หรือเปนทางเลือกในระบบอุดมศึกษาของไทย เลมแรก นำเสนอ “คมทัศน” ของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ใน ฐานะผูกอตั้งวิทยาลัยชุมชน ซึ่งเปยมดวยปรัชญาแนวคิดอันลึกซึ้งรอบดานของทาน ในประการสำคัญ เนื่องจากทานเปนทั้งผูริเริ่มกอตั้งวิทยาลัยชุมชน และยังไดเมตตาสนับสนุนงานของวิทยาลัยชุมชนมาอยาง ตอเนือ่ งยาวนานเกือบทศวรรษ ขอคิดของทานจึงสะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการของวิทยาลัยชุมชนไดเปนอยางดี ซึ่งชาววิทยาลัยชุมชนตางนอมนำมาเปนหลักชัยในการดำเนินงาน และการประพฤติปฏิบัติทั้งในการทำงาน และในวิถีชีวิตสวนตัวมาจนถึงปจจุบัน

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

5


เลมสอง เปนการนำเสนอ “คมทัศน” ของฝายนโยบาย ผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารระดับสูงใน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผูซึ่งเปนกัลยาณมิตรคอยใหคำแนะคำ ผลักดัน และสานตอการ ดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชนใหเขมแข็งจนถึงทุกวันนี้ ประสบการณและแนวคิดของผูทรงวุฒิในหนังสือทั้งสองเลม เปรียบเสมือนดั่งอัญมณีที่ล้ำคา คณะ บรรณาธิการพยายามเลือกสรรขอคิดทางปญญาทีก่ ระชับมานำเสนอ เพือ่ จุดมุง หมายในการสรางแรงบันดาลใจ แกผูอานเปนสำคัญ แตดวยขอจำกัดทางสติปญญาและเวลาของคณะบรรณาธิการผูรวบรวม จึงอาจศึกษา ผลงานอันทรงคุณคาเหลานั้นยังไมลึกซึ้งพอ การคัดสรรมาเผยแพรนี้หากมีขอบกพรอง คณะบรรณาธิการ ใครขอนอมรับไว หากทานสนใจศึกษาขอคิดและผลงานฉบับสมบูรณ โปรดศึกษาจากขอมูลในแหลงอางอิง ทายเลม หรือติดตอสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนไดโดยตรง คณะบรรณาธิการ สิงหาคม 2552

6

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“วิทยาลัยชุมชนแมเปนภาคสวนใหมของระบบการศึกษา ไทย แตเปนภาคสวนที่จำเปนมาก เปรียบเสมือนสะพาน ที่เชื่อมระหวางระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กับระดับอุดมศึกษา”

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

7


ประวัติโดยสังเขป ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี สำเร็จการศึกษาระดั าระดั ร บ มัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนปรินสรอยแยลสวิทยาลัย จากนั้นศึกษาตอที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา เริ่มรับราชการที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในป 2511 จนกระทั่งไดดำรง ตำแหนงอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหมในป 2532-2535 เปนผูริเริ่มการสงนักศึกษาแพทยไปอยูรวม กับชาวไทยภูเขาเพื่อใหสัมผัสกับวิถีชีวิตและความยากลำบากของประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ถือไดวา เปนผูมีสวนสำคัญในการจุดประกายการสรางแพทยชนบทขึ้นในประเทศไทย จากนั้นไดดำรงตำแหนงรองปลัดทบวงมหาวิทยาลัย และปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ตามลำดับ ในป 2544 ดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนผูรเิ ริ่มและผลักดันการจัด ตั้งวิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยจนสำเร็จ เปนผู ใหการสนับสนุนการดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชน ตั้งแตกอตั้งจนถึงปจจุบัน ไดรับพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหดำรงตำแหนงองคมนตรีเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2544

8

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ศาตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย ผูวางรากฐาน วิทยาลัยชุมชน

ทามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ และสังคม หลังยุคฟองสบูแตกในป 2540 ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย หนึ่งในนักบริหารการศึกษาที่มีประสบการณทำงานและบริหารองคกรระดับชาติ ไดครุนคิดถึงแนวทางการจัดระบบการศึกษาในรูปแบบใหมเพื่อเปนทางเลือกของการศึกษาระดับอุดมศึกษา สำหรับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนกวาคอนประเทศ และหาทางผลักดันไปสูนโยบายจนกระทั่งประสบ ความสำเร็จ ไดรับการยอมรับเปนนโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลในป 2544 “วิทยาลัยชุมชน” จึงเปนหนึ่งในนโยบายการศึกษาที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภาเมื่อ พ.ศ.2544 วาจะ “จัด ใหมวี ทิ ยาลัยชุมชนขึน้ โดยเฉพาะในจังหวัดทีย่ งั ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา” นับจากนัน้ งานของวิทยาลัยชุมชน ยุคใหมจึงเริ่มตนขึ้น โดยมี ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย รัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ เปนผูวางรากฐานจนถึงปจจุบัน แมวา ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย จะดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการไมนานนัก แตภายในระยะเวลาอันสั้น ทานไดวางฐานรากใหแกการจัดตั้งและบริหารงานวิทยาลัย ชุมชนเปนอยางดี และแมกระทั่งพนจากตำแหนงดังกลาวแลว ทานก็ยังใหการอนุเคราะหสนับสนุนงานของ วิทยาลัยชุมชนอยางสม่ำเสมอตราบกระทั่งปจจุบัน

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

9


ทามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ และสังคม หลังยุคฟองสบูแตกในป 2540 ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย หนึ่งในนักบริหารการศึกษาที่มีประสบการณทำงานและบริหารองคกรระดับชาติ ไดครุนคิดถึงแนวทางการจัดระบบการศึกษาในรูปแบบใหมเพื่อเปนทางเลือกของการศึกษาระดับอุดมศึกษา สำหรับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนกวาคอนประเทศ และหาทางผลักดันไปสูนโยบายจนกระทั่งประสบ ความสำเร็จ ไดรับการยอมรับเปนนโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลในป 2544 “วิทยาลัยชุมชน” จึงเปนหนึ่งในนโยบายการศึกษาที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภาเมื่อ พ.ศ.2544 วาจะ “จัด ใหมวี ทิ ยาลัยชุมชนขึน้ โดยเฉพาะในจังหวัดทีย่ งั ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา” นับจากนัน้ งานของวิทยาลัยชุมชน ยุคใหมจึงเริ่มตนขึ้น โดยมี ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย รัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ เปนผูวางรากฐานจนถึงปจจุบัน แมวา ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย จะดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการไมนานนัก แตภายในระยะเวลาอันสั้น ทานไดวางฐานรากใหแกการจัดตั้งและบริหารงานวิทยาลัย ชุมชนเปนอยางดี และแมกระทั่งพนจากตำแหนงดังกลาวแลว ทานก็ยังใหการอนุเคราะหสนับสนุนงานของ วิทยาลัยชุมชนอยางสม่ำเสมอตราบกระทั่งปจจุบัน ในสายตาและการรับรูของชาววิทยาลัยชุมชน ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย จึง เปนเสมือนผูกอตั้งวิทยาลัยชุมชน ที่ ได ใหแนวทางการทำงาน และขอแนะนำตางๆ ที่เปนประโยชนอยางยิ่ง ตอการดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชน ซึง่ สะทอนใหเห็นอยางเดนชัดจากปาฐกถา คำบรรยาย และโอวาท ทีท่ า น ไดใหแกชาววิทยาลัยชุมชนในโอกาสตางๆ ดังไดคัดสรร “คมทัศน” ของ “กัลยาณมิตร” ชาววิทยาลัยชุมชน ทานนี้มานำเสนอไวดังนี้

10

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...วิทยาลัยชุมชนคืออะไร ผมถามคำถามนี้ในหองนี้เมื่อ 6 – 7 ปที่แลว ทำไมตอง ถามคำถามนี้อีก ผมตองถามบอยๆ เพราะวามีคนสับสน เขาใจผิดระหวางวิทยาลัยชุมชน กับมหาวิทยาลัยอื่นบาง วิทยาลัยชุมชนกับการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) บาง วิทยาลัย ชุมชนกับอาชีวะบาง เหมือนกันหรือไมเหมือนกันอยางไร ตองตอบใหได ไมงั้นจะเกิดความ สับสนและเขาใจผิด วิทยาลัยชุมชนนี้ตั้งขึ้น มาบนพื้นฐานที่เชื่อวามนุษ ยทุกคนมีศักดิ์ศรีและสามารถ พัฒนาไดถึงจุดสูงสุดถาใหโอกาสเขาเรียนหนังสือ วิทยาลัยชุมชนมีความเชื่อวา มนุษ ย ทุกคนมีศกั ดิ์ศรีและมีความสามารถที่จะพัฒนาตัวเองไดตลอดเวลาถาใหโอกาสเขา ปญหาของระบบการศึกษาทั่วโลกคือ โอกาสทางการศึกษาไปไมทั่วถึง ไปเฉพาะ อำเภอใหญ จังหวัดใหญ เมืองใหญ และเมืองหลวงเทานั้น ไปเฉพาะประเทศที่เจริญแลว ประเทศที่ยากจนโอกาสทางการศึกษาไปไมถึง นี่คือปญหาใหญ ซึ่งหลายประเทศเขาพบ ปญหานี้มากอนเรา เพราะฉะนั้นเขาจึงไดออกแบบวิทยาลัยชุมชนเพื่อเปนจุดที่จะใหโอกาส กับคนตัวเล็กตัวนอย ไมมีอิทธิพลอะไร ไมมีความร่ำรวยอะไร เพราะถามีอิทธิพลมีความ ร่ำรวยก็จะไปเรียนที่เมืองใหญๆ เรียบรอยแลว แตนี่คือการใหโอกาส ถามีโอกาสเขาเรียน อะไรก็ไดครับ ครั้งหนึ่งในชีวิตวิทยาลัยชุมชนมาใหโอกาส...” เมษายน 2552 “…วิทยาลัยชุมชนจะไปจัดสถานที่เรียนให ใกลกับคนเรียนที่สุด คนเรียนอยูอำเภอ ไหนก็ไปจัดที่อำเภอนั้น นี่คือเจตนารมณของวิทยาลัยชุมชน ที่ตองการใหชุมชน ประชาชน ทุกระดับชั้นไดเรียนหนังสือ ถาอยากเรียนแลวตองไดเรียน ทำใหเรียนใหจบ และตองได เรียนอยางมีคุณภาพดวย…” มิถุนายน 2549 คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

11


“วิทยาลัยชุมชนอยูบนฐานที่ไมใชองคกรเพื่อผลประโยชน แตเปนองคกรสาธารณะ เปนหนวยงานการศึกษา เพราะ ฉะนั้นการตัดสินใจเปดหลักสูตรอะไร จะทำอะไรก็ตาม ใหยึดหลักประหยัด เรียบงาย ประโยชนสูงสุด ซึ่งนาจะ เปนคาถาของวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ”

“...เรามีนโยบายในการกำหนดคาหนวยกิตต่ำมากๆ คาหนวยกิตเราต่ำที่สุดใน ประเทศไทย เพราะอะไร เพราะอยากใหทุกคนเขามาเรียนหนังสือ และเมื่อคาหนวยกิตต่ำ คนจนมาเรียนแลว ผูบริหารจะตองจัดระบบการบริหารวิทยาลัยชุมชนใหโปรงใส จะตอง ไมมีการทุจริตคอรัปชั่นใดๆ ทั้งสิ้น” มีนาคม 2552 “...ขาดทุนในที่นี้ก็คือวา บางครั้งสภาฯ ก็ตองลงมติเกี่ยวกับการลงทุน ผลกำไรคือ นักศึกษา นักเรียนไดประโยชน ประชาชนไดประโยชน ในการฝกอบรมบางโครงการ อาจจะตองขาดทุนนิดหนอย เพื่อคนจนบางคนที่เขาไมมีเงินจายคาอบรม บางโครงการ อบรมใหคนรวย เก็บใหมากหนอยเพื่อให ไดกำไร บางโครงการตองยอมขาดทุน เพราะ มิฉะนั้นคนจนจะไมไดเรียน โดยรวมแลววิทยาลัยชุมชนมิไดตองการร่ำรวยจากการเก็บเงิน แตเราตองเฉลี่ยเพราะลูกคาเรามีหลายระดับ ขาดทุนคือกำไร...” สิงหาคม 2550

12

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...ถามวานักเรียนวิทยาลัยชุมชนอายุเทาไหร คนเรียนวิทยาลัยชุมชน อายุตั้งแต สิบเจ็ดถึงเจ็ดสิบแปดสิบ นักศึกษาของเราที่รับอนุปริญญาไปแลวอายุ 70 กวาก็มี ตอนนี้ ไมทราบวาไปเรียนหนังสือที่ไหนตอ วิทยาลัยชุมชนหยิบยื่นโอกาสใหกับคนตัวเล็กตัวนอย ไมวาจะอยูอำเภอหางไกล เพียงใด หรือที่ไหนก็ไดที่เขาอยากเรียนหนังสือ เขาตองไดเรียน เพราะฉะนั้นคาหนวยกิตเรา ตกลงกันทั่วประเทศ คาหนวยกิตของวิทยาลัยชุมชนจะตองถูกที่สุด ไมอยากใหคาหนวยกิต เปนเครื่องกีดขวางไมใหคนเขาสูการศึกษาระดับนั้น เปนขอที่เราคิดมาก เรื่องที่สอง เมื่อเราเรียนถูกๆ คาใชจายจะพอหรือ เราบอกวาไมเปนไร เราอาศัยการ บริหาร การสรางเครือขาย เราจะไมสรางตึกเอง แตเราจะไปใชโรงเรียนโนน โรงเรียนนี้ เมื่อสักครูผูอำนวยการโรงเรียน ผูอำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ ไดรับโลหขอบคุณจากเรา โลห ไมกี่ตังค แตเปนโลหน้ำใจ เพราะเราเก็บเงินถูกมาก เราไมมีปญญาไปจางอาจารย แพงๆ เราไมมีปญญาจะไปสรางตึกและหาเครื่องไมเครื่องมือใหญโต เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรา ทำคือเอาน้ำใจเขาแลก เราไปขอความรวมมือทั่วจังหวัดเลย ทุกอำเภอเลย ไปตั้งศูนยการ เรียนรู ศูนยการศึกษาไวทั่ว ทุกคนใหหมด เขาเห็นประโยชนอะไรจึงใหความรวมมือกับ เรา…” เมษายน 2552

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

13


“ความสำเร็จที่เกิดขึ้นของวิทยาลัย ชุมชน ไมไดมาจากผลงานของใครคน ใดคนหนึ่ง แตมาจากความรวมมือของ ทุกทานภายในจังหวัดนั้นๆ ที่มั่นใจและ เชื่อวา วิทยาลัยชุมชนเดินทางไปอยาง ถูกตองตามครรลองครองธรรม”

“…ภาพลักษณของวิทยาลัยชุมชนขึ้นอยูกับการพิสูจนตัวเอง วิทยาลัยชุมชนเปน ทางออกของประเทศในการยกระดับการศึกษาของประเทศใน 5 - 10 ปขางหนา วิทยาลัย ชุมชนจะเปนหนวยรองรับการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการจัดการศึกษาตามรัฐธรรมนูญ (ตามมาตรา 43) รวมทั้งนโยบายการเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และจะเปนที่พึ่งของผูที่จบ ม. 6 ตามอำเภอตางๆ…” มกราคม 2549

14

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“อยากเห็นการขยายตัวของวิทยาลัยชุมชนใน 2 – 3 ทิศทาง ประการแรก คือ การ ขยายตัวของวิทยาลัยชุมชนใหปูพรมไปทุกพื้นที่ ไมอยากใหมีจังหวัดใดไมมีวิทยาลัยชุมชน” ประการที่ ส อง คื อ “ควรหาเครื อ ข า ย ไม ว า จะเป น กระทรวงแรงงาน กศน. อาชี ว ะ มหาวิทยาลัย องคกรปกครองสวนทองถิ่น สวนภูมิภาค ประชาชน วัด โรงเรียนตางๆ ซึ่งเปน เครือขายที่พิเศษที่สุด ที่ควรจะยื่น มือไปขอความรวมมือในการจัดการเรียนการสอนของ วิทยาลัยชุมชนในชุมชน” มิถุนายน 2548 “วิทยาลัยชุมชนเปนการศึกษาของประชาชน บริหารจัดการโดยประชาชน และจัดตาม ความตองการของประชาชน” นี่เปน ปรัชญาสำคัญ ไมทราบวาปรัชญานี้จะยืนไปไดนาน สักเทาใด ขึ้นกับทางการเมือง ปรัชญาของเราขณะนี้เปนระบบเดียวที่การสรรหาผูอำนวยการ วิทยาลัยชุมชนทำกันโดยผูแทนประชาชนในจังหวัดมาเปนกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ไมตอง สั่งมาจากกรุงเทพฯ อีกตอไปแลว หลักสูตรเกิดขึ้นจากทองถิ่นชวยกันคิดวา จะสรางผูจบการ ศึกษาอยางไร ประเภทไหนดี เพื่อความสอดคลองกับความตองการทองถิ่น เปนระบบการ ศึกษาระบบเดียวเทานั้นในประเทศไทยที่ทำไดแบบนี้ โรงเรียนเทศบาลยังทำไม ไดเลย ...แต วิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยคิดเองไดหมดเลย จะสรางหลักสูตรอะไรไมมี ใบสั่งมาจากสวนกลาง ที่ สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) ไมมีสิทธิ์ ไปบอกทานวา เปดหลักสูตรนี้ ปดหลักสูตรนี้ ไมมีสิทธิ์เปด แลวสิทธิ์ ไปอยูที่ ไหน สิทธิ์อยูที่สภาวิทยาลัยชุมชน หรือคนใน จังหวัดชวยกันคิดแลวเสนอสภาฯ” กันยายน 2548

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

15


“...ขณะนี้มีวิทยาลัยชุมชน 19 แหง และยังมีอีกหลายจังหวัด ขอเปด ถาผมเปนฝายการเมือง ผมใหเปด 76 จังหวัดรวมทั้ง กรุงเทพฯ ดวย เพราะมีประโยชนสำหรับคนจน เปดครั้งแรก ลงทุนจังหวัดละ 5 ลานบาท 10 จังหวัดก็ 50 ลานบาท 100 จังหวัด 500 ลานบาท ประเทศไทยมีแค 76 จังหวัด แลวทำไม ไมเปด ทำไมไมใหโอกาสคนจน”

“…ในระบบอุดมศึกษาของทุกประเทศโดยเฉพาะทางตะวันตก จะมีกลุมที่เรียกกันวา “วิทยาลัยชุมชน” สอนอนุปริญญาและวิชาชีพพื้นฐานที่อาชีวศึกษาไปไมถึง ไมครอบคลุม ทุกพื้นที่ หรือบางอยางไม ไดทำ เชน วิชาลับมีดกรีดยางพารา ฯลฯ เขาทำไม ได วิทยาลัย ชุมชนจะเขาไปทำ บางชางอาชีวะอาจทำ แต ไปไมถึงพื้นที่บางอำเภอ วิทยาลัยชุมชนจะเขาไป ทำใหครบพื้นที่ วิทยาลัยชุมชนจะปูพรมใหครบจนหมดทุกพื้นที่ของประเทศ นี่เปนหลักทั่วไป...” มิถุนายน 2550

16

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...การสรางศูนยการเรียนรู ในอำเภอตางๆ ในจังหวัดเรา วิทยาลัยชุมชนอยากให คนจน คนที่ติดภาระ เรียนใกลบานมากที่สุด หลักของเราอยูตรงนั้น ถาทำไดเราจะสงครู ไปสอนใกลบาน เชน เปดจุดการเรียนทุกอำเภอ โดยเฉพาะอำเภอไกลๆ ยิ่งตองไปเปด จุดการเรียนใหเขา ตองใหโอกาสเขา เวลาจะไปเปดจุดการเรียนรูตามอำเภอตางๆ แตละ อำเภอ มีความแตกตางกันทัง้ ทางดานภูมศิ าสตร สังคมศาสตร เราตองนึกถึงความแตกตาง มิใชวาจะสรางกระทอมแลวออกแบบกระทอมเหมือนกันหมด สำหรับเปนศูนยการเรียนรู ทุกอำเภอ ตองหาความเหมาะสมเฉพาะของอำเภอที่จะไปสรางศูนยการเรียนรูนั้น…” สิงหาคม 2550 “...วิทยาลัยชุมชนนอกจากจะเปดโอกาสใหผูคนไมวาจะอยู ในอำเภอใหญ อำเภอ เล็ก เขาสูอุดมศึกษา เขายังมีหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งเปดสอนเพื่อพัฒนาสังคม พัฒนา คุณธรรม พัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะ พัฒนาสุขภาพ ทุกดาน แลวแตชาวตราดอยากได ความรูอะไรบอกมา วิทยาลัยชุมชนจะเปนตัวกลางเปดให เปนหลักสูตรระยะสั้น จะสั้นมาก หรือสั้นนอยแลวแตเนื้อหาหลักสูตรที่เราอยากได...” มกราคม 2552

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

17


“ชีวิตเราทั้งชีวิตเราไม ไดทำอาชีพเพียงอาชีพ เดียว เราสามารถจะเขามาเรียนวิทยาลัยชุมชน เพิ่มสาขาอาชีพที่สอง ที่สาม ตามความม ตองการของสังคมและเศรษฐกิจของที่นั่น…”

“...คนขาดโอกาสทางการศึกษา ณ วันนี นนี้ ทำงานไปกอน ทำงานราคาถูกๆ ที่ ไหนก็ได คาจ า งถู กๆใหอยูร อดไวกอน และตอนนี้มี โอกาสทองแลว มี วิทยาลัยชุมชนมาตอ ยอดให ไดทักษะอาชีพ ไดเปนคนดี ไดความรู ก็คอยๆ อยๆ พัฒนาตัวเองหารายไดเพิ่มขึ้น เสร็จแลว ก็สามารถไปตอปริญญาตรี และอาจตอโท เอกได เปนการพัฒนาอยางตอเนื่อง สำหรับปจเจก สำหรับครอบครัว สำหรับชุมชน ถาคนทั้งจังหวัด โดยเฉพาะที่ยากจนเปนคนสวนใหญของ จังหวัด มีโอกาสไดตอยอดอยางนี้ไปเรื่อยๆทุกป ทุกป ก็จะกลายเปนจังหวัดที่เขมแข็ง ทั้งทาง ดานเศรษฐกิจและสังคม จึงขอฝากไว คุณคาของวิทยาลัยชุมชนถามองใหลึกซึ้งมีมากและกวาง ใหทำตอเนื่องและทำใหดี…” มิถุนายน 2550

18

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


““...การลดแรงกดดันที่ตองขึ้นคาเลาเรียน (reducing the rate of tuition increase) ถาเราทำ cost containment ดี และจัดสรรทรัพยากรใหมมาได มันก็ลดแรงกดดันที่ตองขึ้น คาเลาเรียนแกเด็ก เด็กก็ไมตองไปแบกรับ มันงายถาสภาจะไมสนในการบริหารอะไรเลย แลว ก็ บ อก ป ที่ แ ล ว ขาดทุ น ป นี้ ข อขึ้ น ค า เล า เรี ย น ภาระก็ ไ ปอยู ที่ ผู เ รี ย นรุ น ใหม แต ถ า เรา มาพิจารณากั าร นอยางนี้ ทำใหการบริหารจัดการชัดขึ้น จะลดแรงกดดัน ที่จะขึ้นคาเลาเรียน แกผูเรียน ก็จะตรงตามปรัชญาของเรา...” มิถุนายน 2549 “ ่แคลิฟอรเนียมีอุตสาหกรรมสรางเครื่องบิน สงไปขายทั่วโลก อุตสาหกรรม “...ที เครื่องบินมีขึ้น มีลง พวกที่ทำงานมักจบปริญญาเอกดานวิศวการบิน วิศวอากาศยาน ชวงไหน ก็​็ตามถาการสั่งซื้อเครื่องบินตกทั่วโลก ตองเอาคนออกและวางงาน คนเหลานี้จบปริญญาเอก แต ไปเขาเรียนวิทยาลัยชุมชนในสาขาที่ขาดคนอยู วิทยาลัยชุมชนรับตั้งแตจบมัธยมปลาย ปริญญาตรีจบปริญญาโท ปริญญาเอก ก็ไปเรียนได ไปเรียนสาขาใหม สัก 4-5 ป พอ order เครื่องบินเพิ่มขึ้นอีก เราก็ตองไปสอบเขาไปทำงาน หมายความวา ชีวิตเราทั้งชีวิตเราไม ไดทำ อาชีพเพียงอาชีพเดียวเราสามารถจะเขามาเรียนวิทยาลัยชุมชน เพิ่มสาขาอาชีพที่สอง ที่สาม ตามความตองการของสังคมและเศรษฐกิจของที่นั่น…” กุมภาพันธ 2552

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

19


“...ปจจุบัน “คนไทยที่จบมัธยมศึกษาตอนปลายและเขามหาวิทยาลัยไดนั้นมีเพียง 1 ใน 4 เทานั้น อีก 3 ใน 4 ไปไหน...เพราะวาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมไดเนนสอน ทักษะอาชีพ แตเปนสายสามัญ” ดังนั้นเพื่อเอื้อใหกับคนไทย 3 ใน 4 ที่เหลือ วิทยาลัยชุมชน จึงเกิดขึ้น สามารถสรางโอกาสใหกับผูจบมัธยมศึกษาตอนปลายตามอำเภอตางๆ ในแตละ จังหวัดเขามาสูระดับอนุปริญญา เปนการเตรียมคนเขาสูอาชีพไดเลย และตอบสนอง การพัฒนาทองถิ่น แทนการผลักดันเด็กเขาไปอยู ในเมืองใหญๆ จะทำอยางนี้ ได วิทยาลัย ชุมชนตองบริหารโดยชุมชน...” วิทยาลัยชุมชนเปนระบบการศึกษาที่เชื่อมโยงกับระบบ การศึกษาอื่นๆ ดังนี้ 1. เปนสะพานเชื่อมระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการศึกษาระดับปริญญา เชื่อม ไดมากที่สุด ทำไดมากที่สุด ในแตละจังหวัด แตละอำเภอ มีโรงเรียนมัธยม 1 - 2 แหง บางอำเภอมากกวา 2 แหง เด็กจบ ม. 6 แลวไปเขามหาวิทยาลัยไมไดทุกคน เพราะความ ยากจน เพราะมีจำนวนรับจำกัด และอื่นๆ ถาไมมีวิทยาลัยชุมชน เขาจะเควงควาง รับจาง สงยาบา ไปทำสิ่งผิดกฎหมาย ที่ผานมาไมเคยเรียนวิชาไถนาจากปู ยา ตา ยาย หรือถา

20

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...จัดวิทยาลัยชุมชนขึ้นมา เพื่อรองรับใหศึกษาตอ ขึ้นไปอีก เปนสะพานเชื่อมระหวางระบบการศึกษา การฝกอบรม กับโลกของการทำงาน…”

เรียนก็นอยมาก ทำใหขาดการเรียนรู ทักษะ ภูมิปญญาชาวบาน ทักษะทำกับขาว ฯลฯ เพราะระบบการศึกษาไปพรากลูก/หลานจากการเรียนรู ในวัด ในบาน ในชุมชน แตถูก จับมาใสในโรงเรียน 12 ป เรียนจันทรถึงศุกร เทานั้น ที่ตางประเทศจึงไดจัดวิทยาลัยชุมชนขึ้นมา เพื่อรองรับใหศึกษาตอขึ้นไปอีก เปน สะพานเชื่อมระหวางระบบการศึกษา การฝกอบรม กับโลกของการทำงาน เพราะฉะนั้น วิทยาลัยชุมชนตองเนนตรงนี้อยางมาก ในหลักสูตรตองเนนตรงนี้ 2. เปนสะพานเชื่อมระหวางหลักสูตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจ ในชุมชน เพราะหลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตองเปดเร็ว ปดเร็ว ตามความตองการของชุมชน หลักสูตรตองพัฒนาไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ทั้งเศรษฐกิจและสังคม “ มิถุนายน 2548

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

21


ที่สำคัญ อยาเปลี่ยนสถานภาพวิทยาลัยชุมชน ไปสอนปริญญาตรีโดยเด็ดขาด... ถาไปสอน ปริญญาตรีเมื่อใด จะดูดทรัพยากร ทั้งเวลา คน เงิน และจะเลิกทำหนาที่วิทยาลัยชุมชน ไปโดยอัตโนมัติ

22

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“…การกำหนดหลักสูตร ตองมาจากความตองการและสอดคลองกับลักษณะของการ พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของทองถิ่น ที่สำคัญ อยาเปลี่ยนสถานภาพวิทยาลัยชุมชนไปสอน ปริญญาตรีโดยเด็ดขาด...เมือ่ ใดก็ตามทีว่ ทิ ยาลัยชุมชนยกฐานะตัวเองขึน้ ไปสอนระดับปริญญาตรี จะทำใหลดการตอบสนองตอชุมชนไปทัน ที ในขณะเดียวกัน วิทยาลัยชุมชนนาจะตกลงกับ มหาวิทยาลัยในทองถิ่นเพื่อจะไดตอยอดจากอนุปริญญาไปสูปริญญาตรี ในสาขานั้น...ความ รวมมือระหวางวิทยาลัยชุมชนกับมหาวิทยาลัยควรมีรปู แบบกิจกรรมทีจ่ ะสงเสริมกันทีห่ ลากหลาย เพื่อประโยชนของผูเรียนและการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน …ไมอยากเห็นวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี อยาไดทำ ถาไปสอนปริญญาตรีเมื่อใด จะดูดทรัพยากร ทั้งเวลา คน เงิน และจะเลิกทำหนาที่วิทยาลัยชุมชนไปโดยอัตโนมัติ ประโยชน จะไปตกกับคนที่จบปริญญาตรี เรียนปริญญาตรีที่ไหน ขณะนี้ที่ตั้งมหาวิทยาลัยหลัก 170 กวา แหง และยังมีที่ ไปสอนในที่ตางๆ ตามสาขาอีก 300 สาขารวมทั้งหมด 500 - 600 แหง มีที่ เรียนปริญญาตรีมากมาย แตปญหาคือ หลังเรียนจบ ม. 6 แลว คนสวนหนึ่งไมรูจะไปไหน ยังมีจำนวนมากในจังหวัดที่วิทยาลัยชุมชนรับผิดชอบอยู อยาใหวิทยาลัยชุมชนไปรับใชคนกลุม นอย แลวทำใหคนกลุมใหญเสียโอกาส ...จะกลายเปนทำลายโอกาสพวกตาดำๆ ที่จบ ม.6 แลว เควงควางไปมา ...ตองทำความเขาใจใหชัดเจนวา วิทยาลัยชุมชนจะไมกลายไปเปนมหาวิทยาลัย เปรียบ วิทยาลัยชุมชนเปนโรงงานทำจักรยานถีบที่ดีมาก แลวอยูๆ อยากจะทำสิบลอขึ้นมา ขออยาคิด อยางนั้น เพราะสิบลอนั้นมีคนอื่นเขาทำแลว วิทยาลัยชุมชนมาทำจักรยานถีบนี่แหละ ทำใหดี เปดระยะสั้นเพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อทักษะในการบริหารจัดการ เพื่อสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และก็เพื่อทักษะทางดานคุณธรรมจริยธรรม เราทำได …” มิถุนายน 2549

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

23


“หัวใจที่จะทำใหวิทยาลัยชุมชน เขมแข็งคือ หลักสูตรและการจัด การเรียนการสอน ไมใชเรื่องอื่นเลย”

“...จุดออนของอุดมศึกษาไทย ไมสนใจเรื่องหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ไปสนใจอะไรก็ ไมทราบ ไปเลาะขอบรอบๆ นอก ไปเสียเวลาบริหารอุดมศึกษามาก แต ไมสนใจบริหารหลักสูตร” กันยายน 2548 “...สภาวิทยาลัยชุมชน ทานผูอำนวยการ ทานผูบริหาร มีหนาที่ตองหารือกันทุกป ตองตั้งคำถามวาหลักสูตรที่สอนปที่แลว หลักสูตรไหนพอแลว เราจะปดก็ปด หลักสูตร เหลานี้ เปดอยูแลวยังจำเปนอยูก็เปด หลักสูตรไหนยังไมไดปด แสดงวายังมีเสียงเรียกรอง จากผูวา เสียงเรียกรองจากหอการคา เสียงเรียกรองจากองคการปกครองสวนทองถิ่น เพราะนั้นความคลองตัว และการตอบสนองจากจังหวัดสูงมาก วิทยาลัยชุมชนนั้นคลองตัว มาก แลวก็ตอบสนองตอจังหวัดมาก สูงที่สุดในจำนวนประเภทของสถานศึกษาดวย...” กุมภาพันธ 2552 “...หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนตอบสนองตอทองถิ่น เปดงายปดงาย หลักสูตร การศึกษาปฐมวัยถาเราใหการศึกษาไปจนครบแลว ศูนยเด็กเล็ก ศูนยปฐมวัยมีครบแลว

24

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


เราก็ปด ทางวิทยาลัยชุมชนสตูลไดเอาตัวอยางหลักสูตรอาชีพระยะสั้น สำหรับชาวเล สำหรับแมบานมุสลิม หลักสูตรเหลานั้นไม ใชกรรมการสภาคิดเอง ไม ใชผูอำนวยการ คิดเอง ไม ใชอาจารยผูสอนคิดเอง หลักสูตรเหลานั้นเกิดจากความตองการของชุมชน ผมเลยเรียนกับกรรมการสภาทุกแหงทุกป เราตองประเมินหลักสูตรของเราวา หลักสูตร นี้ปนี้มีคนมาเรียนกี่คน แลวก็นอยลงไหม ถานอยลงถึงจุดหนึ่ง ถามตัวเองวาคิดอะไร แลวทุกปตองไปถามชาวบานทุกอำเภอวาอยากเรียนอะไรแลวทางเรา เอาการบาน มาหารือกันในสภา หารือกันในผูบริหาร แลวก็ออกแบบสำหรับหลักสูตรปตอไป เพราะ หลักสูตรจะเปนอยางไร ก็คือ ใหมอยูเสมอ ตอบสนองอยูเสมอ…” เมษายน 2552 “…หลั ก สู ต รการปกครองส ว นท อ งถิ่ น เป น ที่ ต อ งการมาก เป น เพราะว า การกระจายอำนาจการปกครองไปสูทองถิ่น การจัดตั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐบาลไม ไดผลิตคนขึ้นมารองรับ มหาวิทยาลัยไม ไดเตรียมตัวจึงทำใหผลิตคนไมทัน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เกิดจากการปฏิรูปการศึกษาจึงทำใหมีการศึกษาตั้งแตวัย เด็ก บุคลากรที่มาเปนครูจึงจบแคมัธยมศึกษาปที่ 6 ซึ่งบางครั้งขาดความรูความเขาใจ เด็ก 2-4 ขวบ หลักสูตรปฐมวัยของวิทยาลัยชุมชนจึงเปนที่ตองการ สิ่งที่วิทยาลัยชุมชน จะตองเนน คือ เรื่องทักษะในหลักสูตร และเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การสราง Character Education ซึ่งจะทำใหวิทยาลัยชุมชนแตกตางจากหนวยงานอื่น แลวคุณคา ของผูสำเร็จการศึกษาของวิทยาลัยจะเกิดขึ้น และถือเปนเรื่องทาทาย…” มกราคม 2549

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

25


“วิทยาลัยชุมชนจะตองเนนในเรื่องคุณภาพ เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นแกประชาชนและผูเรียน... ตองตอบคำถามใหไดวาเราจะรักษามาตรฐาน อยางไร ใหเปนมาตรฐานระดับชาติ...”

“...วิทยาลัยชุมชนจะตองคำนึงถึงมาตรฐานขั้นต่ำที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดกำหนดใหกับทุกมหาวิทยาลัย ไมควรมีขอยกเวนในเรื่องคุณภาพ ตรงกันขาม วิทยาลัย ชุมชนจะตองเนนในเรื่องคุณ ภาพเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นแกประชาชนและผูเรียน และ ตองตอบคำถามใหไดวา เราจะรักษามาตรฐานอยางไร ใหเปนมาตรฐานระดับชาติ ซึ่งถาทำ ตรงนี้ได ความเชื่อมั่นของประชาชนกับผูเรียนที่มีตอวิทยาลัยชุมชนก็จะตามมา...” มิถุนายน 2548

26

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...การมีระบบการประเมินการเรียนการสอนที่ผานมา และมีระบบการวางแผน การเรียนการสอนในปตอไปสำคัญมาก แตมหาวิทยาลัยสวนใหญ ไม ไดทำกัน โรงเรียนก็ มั ก จะไม ท ำ จึ ง อยากให วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนทำมากๆ จะได พั ฒ นาขึ้ นไปได ขณะนี้ ใ นบาง มหาวิทยาลัย บางวิชา ครูที่เปนเจาของรายวิชาอยู ใครมาแตะตองไม ได เปนสมบัติสวนตัว วิทยาลัยชุมชนอยาปลอยใหเกิดความรูสึกเชนที่วานี้ เราไปเชิญคนนี้มาสอนและไวใจเขามาก แตไมมีใครมาประเมินเขาเลยซัก 5 ป 10 ป เขาบอกวาวิชานี้เปนของเขาแลวใครมาแตะตอง ไม ได ดังนั้น ถาตองการพัฒนาคุณ ภาพหลักสูตร เรื่องของการประเมินตั้งแตรายวิชา หมวดวิชา จำเปนตองทำ ถาทำไดรับรองไดหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนจะแนนมาก...” มกราคม 2549 “...ปลูกฝงอะไรใหผูเรียนมาเรียนวิทยาลัยชุมชน” ตองยอมรับวา ผูมาเรียนใน วิทยาลัยชุมชนเปนผูใหญ เปนผูที่จบมัธยมปลายหรือเทียบเทา 5 ปที่ผานมา นักเรียนของ วิทยาลัยชุมชนมีอายุตั้งแต 15-71 ป เปนผูใหญแลว อยาไปเชื่อวาไมแกดัดยาก อยูที่วาจะ ดัดไมแกหรือไม เพราะถาปลอยไมแกไวเปนไมรุงรัง สังคมไทยก็ไปไมไดสักที ควรตัดคำวา ไมแกดัดยาก ถึงจะดัดยากจริงแต ไ ม ใชวาดัดไม ได วิทยาลัยชุมชนจะตองดัดทั้งไมออน ไมแก…” มิถุนายน 2549 คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

27


“...วิทยาลัยชุมชนตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนที่จะ เขาไปพัฒนา ใหมีสภาพความพรอมที่จะรับการพัฒนา เสียกอน มิใชนำเอาความเจริญจากที่อื่นมาพอก จึงจะตรงกับ ปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน...”

“...เรื่องการจัดสรางอาคารสถานก็เปนงบประมาณแผนดิน เพราะรายไดเราจาก ผูเรียน เราตั้งเปาหมายเลยวา เราจะไมเก็บคาเลาเรียนแพง เพราะเราอยากใหคนทุกฐานะ ไดเขาเรียน จากนโยบายที่เก็บเงินแบบนั้นงบประมาณที่จะมาสรางอาคารก็ ไมมี ก็ตองขอ รัฐบาล และรัฐบาลจะไดอะไรคืน พอผลิตคนเกงๆ ขึ้น พวกนี้เขาหาเงินเกง พอหาเงินเกง ก็จายภาษีเยอะ รัฐบาลก็ไดภาษีกลับคืน ไมตองกลัวรัฐบาลจะขาดทุน ยิ่งสรางคนเกงมากขึ้น เทาไหร รัฐบาลก็ไดภาษีมากขึ้นเทานั้น และก็จะไดเอาเงินมาชวยเรื่องของการศึกษา ศาสนา และเรื่องอื่นๆ ตอไป…” กุมภาพันธ 2552

28

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยทุกจังหวัดจะมีชุมชนเขามาสนับสนุนงานตลอดเวลา เพราะ ชุมชนเขาเห็นประโยชน เมื่อใดก็ตามที่ผูบริหารวิทยาลัยชุมชนหันหลังใหชุมชน แลวชุมชนเขา ไมเห็นประโยชนเขาจะไมมาสนับสนุนอีกเลย เพราะฉะนั้นสภาวิทยาลัย ผูบริหาร อาจารย นักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนแตละจังหวัดตองยึดมั่นตรงนี้ ใหดี ตองใส ใจชุมชน ชุมชนมี ปญหาอะไรเราตองรีบลงไปชวย นอกจากชวยในเรื่องของหลักสูตรอนุปริญญากับหลักสูตร อาชีพระยะสั้นแลว ถามีเรื่องอื่นเดือดรอนอะไรเราตองลงไปชวย และตองดึงชุมชนเขามาสู วิทยาลัยชุมชนของเรา ใหเขามีความรูสึกวาเขาเปนเจาของวิทยาลัยชุมชนนี้เหมือนกับเรา” “...วิทยาลัยชุมชนตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนที่จะเขาไปพัฒนา ใหมีสภาพ ความพรอมที่จะรับการพัฒนาเสียกอน มิใชนำเอาความเจริญจากที่อื่นมาพอก จึงจะตรงกับ ปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนตองการใหคนในจังหวัดระเบิดความเกงของเขา ออกมา โดยไมตองการนำความความเจริญจากที่อื่นมาใส ในจังหวัด ตองการใหคนในจังหวัด เราเกงขึ้นจากการผานกระบวนการเรียนรู ตัวอยางหลักสูตรในวิทยาลัยชุมชนที่ทำใหคน ในชุมชนระเบิดขึ้นมา เชน หลักสูตรการรับมีดกรีดยางของวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส เดิมตอง อาศัยคนจากภายนอกจังหวัดมารับมีดกรีดยาง วิทยาลัยชุมชนนราธิวาสจึงพัฒนาหลักสูตร ทำใหคนในจังหวัดสามารถประกอบอาชีพไดเอง…” สิงหาคม 2551

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

29


“...เรื่องวิทยาลัยชุมชนเมื่อเราตั้งเปาหมายวา เปนการศึกษา เพื่อพัฒนาทองถิ่น โครงสรางการบริหารก็เลย ยกใหประชาชนเขาบริหาร กระทรวงศึกษาธิการปนผูสนับสนุน”

“...เรื่ อ งวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนเมื่ อ เราตั้ ง เป า หมายว า เป น การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาท อ งถิ่ น โครงสรางการบริหารก็เลยยกใหประชาชนเขาบริหาร กระทรวงศึกษาเปนผูสนับสนุน ยกใหเขา ไปเลย เพราะฉะนั้ น โครงสร า งจะมี ส ภาวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนที่ มี ผู ห ลั ก ผู ใ หญ จ ากท อ งถิ่ น ซึ่ ง เห็นความสำคัญของการศึกษาอาสาสมัครเขามาไมมีเงินเดือน เสียสละ ที่กรุงเทพฯ ตรง สวนกลาง กระทรวงศึกษาธิการ เราก็มีสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนดูแลวิทยาลัยชุมชน ทั่วประเทศ ตรงนั้นไมไดเขามาดูแลวิทยาลัยชุมชนอยางใกลชิด ตรงนั้นสนับสนุนวิทยาลัยชุมชน ตามจังหวัดตางๆ ที่ไหนออนแอก็ชวย ที่เขมแข็งแลวก็ชื่นชม...” กุมภาพันธ 2552

30

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...สภาวิทยาลัยชุมชน ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิที่อาสาสมัครเขามาทำงาน เปนปจจัยสำคัญมากที่วิทยาลัยชุมชนประสบความสำเร็จในชวง 5-6 ป ที่ผานมา เพราะทาน เหลานั้นเปนหูเปนตา เปนกำลังใจใหกับผูอำนวยการ ครูอาจารย เจาหนาที่ และประชาชน ในจังหวัดมั่นใจวา วิทยาลัยชุมชนของจังหวัดจะเดิน ทางไปตามครรลองครองธรรมที่เปน ประโยชนอยางแทจริง แสดงใหประชาชนและนักการเมืองเห็นประโยชน และชวยขับเคลื่อน ระบบวิทยาลัยชุมชนใหเกิดคุณคา..” มิถุนายน 2549 “...กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนเปนผูท อี่ าสาสมัครเขามาทำงาน ไมมเี งินเดือน มีเบีย้ ประชุม เพียงเล็กนอยเทานั้น ที่กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนเขามาทำงานนั้นทำใหทราบวา ทานมา เพราะมีจิตใจอาสาสมัคร และจิตใจสาธารณกุศล สองตัวนี้สำคัญมาก ... ...การที่แตละทานมาเปนกรรมการสภานั้น สิ่งที่ทานอยากไดแนนอนคือทานตองไดรับ ความเชือ่ มัน่ ความเคารพจากประชาชน ซึง่ จะเกิดขึน้ ไดคอื ทานตองปฏิบตั ใิ นความรับผิดชอบ ในฐานะกรรมการสภาอยางเต็มที่ นอกจากนั้นถามีพันธะพิเศษ งานพิเศษอื่นใด ทานก็ตอง กระวีกระวาดรับใช เพราะวามีความคาดหวังจากทุกฝาย นักเรียน ประชาชน ผูอำนวยการ อาจารยมีความคาดหวังจากทาน รวมทั้งคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนระดับชาติก็มีความ คาดหวังจากทาน เปนความคาดหวังที่หลายๆ ฝายมีตอทาน ทำอยางไรจึงจะใหสมกับความ คาดหวังของหลายๆๆ ฝฝาย... าย... เพราะฉะนั เพรา ้นการเปนกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนเปนสุดยอดของ การรับใชสังคม” มิถุนายน 2549

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

31


“...วิทยาลัยชุมชน มีงานหลายอยางที่เปนงานปดทองหนาพระ และมีงานหลายอยางที่เปนงานปดทองหลังพระ และถาเราขมีขมันแยงกันปดทองหนาพระ ขางหลังพระก็จะเปดโหว และวิทยาลัยชุมชน จะสมบูรณ ไดอยางไร ถาเราปดทองหลังพระ แลวเรามีความสุขที่ไดปดทองหลังพระ อันนี้เปนความสุขที่เรียกวา นิรามิสสุข…”

32

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“…วิทยาลัยชุมชนเปน Management Unit เปนหนวยบริหาร สวนสถานที่ไปขอใชสถานที่ ของหนวยงานราชการอื่น ถามีคุณภาพหนวยงานอื่นก็จะสนับสนุนเราเอง การเลือกกรรมการ สภาวิทยาลัยชุมชน ขอใหคิดวา เราตองการคนที่มี ใจรักและศรั ทธาตอจังหวัดนั้นจริงๆ และ สวนสำคัญอยูที่ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน จะตองซื่อสัตย สุจริต เปนผู ใหญ ทำงานไดตาม นโยบาย บรรลุเปาหมาย จะตองไมขี้ฉอ ขี้โกง คนในจังหวัดก็อยากมาเปนกรรมการสภาวิทยาลัย ถาผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนทำตัวเปนสมภารกินไกวัด หรือผูอำนวยการไม Perform กรรมการ ก็จะหนีหมด เพราะฉะนั้นคนที่มาทำหนาที่ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนใจตองแนวแนวาเรามา ทำอะไร วิทยาลัยชุมชนไมมีสายสะพาย เปนการทำงานเพื่อปดทองหลังพระ มาดวยศรัทธา สุดทายก็จะทำใหจังหวัดมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงทางสังคม วิทยาลัยชุมชน มองถึงผลกระทบตอพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเปน หลัก เปาหมายของ วิทยาลัยชุมชนไม ไดอยูที่จำนวนผูสำเร็จการศึกษา แตอยูที่บุคลากรของวิทยาลัยชุมชน จบแลว มีอาชีพ มีรายได เปนพลังสำคัญในการพัฒนาจังหวัด นี่คือ เปาหมายของวิทยาลัยชุมชน…” มกราคม 2549 “...ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนจะตองทำความเขาใจกับปรัชญาวิทยาลัยชุมชนใหถองแท อยาเอาจิตวิญญาณการบริหารงานรูปแบบหนวยงานเดิมมาบริหารงานวิทยาลัยชุมชน แต ให นำประสบการณเดิมมาปรับใช ในการบริหารงานของวิทยาลัยชุมชน และสรางจิตวิญญาณ การบริหารงานรูปแบบวิทยาลัยชุมชนใหม ใหมีความคลองตัว ติดตอ และประสานงานกับองคกร ภายนอกมากๆ …” มกราคม 2549

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

33


“...ในสภาวิทยาลัยชุมชนหนึ่งๆ ก็มีบุคคลมาจากหลายๆ ภูมิหลัง บางทานก็เปน นักวิชาการ เปนนักธุรกิจ แตเมื่อมาเปนสภาแลว ผมวาเราตองบูรณาการกันใหได เราตอง สลัดความเปนนักธุรกิจ ความเปนรองผูวา ความเปนอะไรตออะไรออกใหหมด แลวทุกคนจะ เปนสมาชิกของสภาวิทยาลัยชุมชน ตองบูรณาการ และตองคิดกันเปน หนึ่งเลย ถาคิด แตกแยกก็จะไมสำเร็จ เพราะฉะนั้นถาพูดกันในระดับบุคคลแลวก็ตองมีความดีงาม ซื่อสัตย มั่นคง...” มิถุนายน 2549 “...ทำงานวิทยาลัยชุมชนบางครั้งตองหงุดหงิด มีเรื่องขัดหูขัดตาไปหมด แตไมเปนไร เรามาชวยกันแกปญหา นี่แหละกรรมการสภาฯมีหนาที่ตองมาชวยกัน อยาไปทอถอย ถา กรรมการสภาทอถอย คนในวิทยาลัยชุมชนหายหมด กรรรมการสภาตองยืนหยัดตองเปน ผู ใหญ ตองมีความเพียร…” สิงหาคม 2550

“...สภาวิทยาลัย กอนจะตัดสินอะไร ใหฟงความคิดจาก หลายๆ ฝาย เชน ระดับลางนอกสภาฯ ซึ่งจะทำให รอบคอบขึ้นเวลามีมติ”

34

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


“...สภาวิทยาลัยชุมชนจะตองเปนสะพาน หรือกันชนระหวางวิทยาลัยชุมชนกับชุมชนได สวนมากเมื่อกลาวถึงสะพาน จะมองวาเปนสะพานเชื่อมไมตรี เชน สะพานไทย-พมา สะพาน ไทย-ลาว และเมื่อกลาวถึงกันชนสวนมากจะทะเลาะกันแลว ก็ไปเปนกันชนใหเขา บางครั้ง อาจจะตองเปนกันชนและบางครั้งอาจจะเกิดการเขาใจผิดกัน ระหวางชุมชนกับวิทยาลัยชุมชน สภาวิทยาลัยชุมชนก็ตองเขาไปไกลเกลี่ย เขาไปเจรจาใหเขาใจ คิดวากรณีนี้คงจะไมมีเพราะ สภามาจากชุมชน นอกจากนี้สภาวิทยาลัยชุมชนจะตองชวยสรางความเขาใจระหวางชุมชนกับ วิทยาลัยชุมชน...” มิถุนายน 2549 “...สภาวิทยาลัย กอนจะตัดสินอะไร ใหฟงความคิดจากหลายๆ ฝาย เชน ระดับลาง นอกสภาฯ ซึ่งจะทำใหรอบคอบขึ้นเวลามีมติ สภาฯ ออกมา อาจเสียเวลาในการฟงความเห็น ขอใหอดทนเสียเวลา เพราะเวลามีมติลงไปแลว เวลาเอาไปทำจะงาย คนเขาใจ เพราะทุกคน มีสวนรวม นี่เปนวิธีทำงานของบริษัทญี่ปุน เสียเวลาหนอยตอนที่ถามคนอื่น (Formulation of Policy) ถาจะมีมติทำอะไรถามไถกันใหถวนทั่ว ทุกคนมีสวนรวมในมตินั้น เมื่อสภามีมติแลว เวลานำไปปฏิบัติตามมติจะงายขึ้นเยอะ…” สิงหาคม 2550

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

35


การที่ทานสำเร็จการศึกษาอนุปริญญานี้ จะเปนประโยชนโดยสวนตัวอยางแนนอน จะ ทำใหทานมีความรูมีทักษะ มีความสามารถที่จะประกอบการงานในหนาที่ไดอยางดี ในขณะ เดียวกันก็เปนการสรางพันธะในจิตใจของทานดวยเหมือนกันวาเมื่อไดรับการศึกษาดวย ค า หน ว ยกิ ต ที่ ถู ก มากอย า งนี้ แ ละโดยการลงทุ น ของรั ฐ มากมายที่ ล งมา เมื่ อ เที ย บกั บ การเสียคาหนวยกิต ตรงนี้อยากใหทานรูสึกตระหนัก ระลึกบุญคุณวา เราไดรับการศึกษา ที่ประเทศชาติแหงนี้ไดจัดใหเรามีโอกาสเขาไปศึกษา ยิ่งไดโอกาสมากเทาไรจะตองคืนโอกาส ใหประชาชนมากเทานั้น เปนหนาที่คนไทยที่จะตองคืนสิ่งที่ดีงามกลับคืนไปสูเพื่อนรวมชาติ ของเรา นี่คือพันธะทางใจ อยากใหทุกทาน เกิดความรูสึกพันธะทางใจ เราไดโอกาส เรารับ โอกาส เราผานในวันนี้มาแลว เราจะตองคืนโอกาสนี้กลับไปสูสังคม คำกลาวใหโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตรวิทยาลัยชุมชนตาก เมษายน 2552


ปาฐกถา และคำบรรยาย ของ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี



ทิศทางการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชน*

โดย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

สิ่งที่ผูอำนวยการสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนกลาวมา คือ ประวัติความเปนมาของการจัดตั้ง วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทย ในขณะที่วิทยาลัยชุมชนไดกอกำเนิดมาจากประเทศทางตะวันตกแลวกวา 100 ป เปนการออกแบบระบบการศึกษารูปแบบหนึ่งที่มีประโยชนมาก เปนระบบยอยของระบบการศึกษาที่สราง ความมั่นใจและความมั่นคงใหกับระบบและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในสหรัฐอเมริกาไดยืนยันถึงทุก วันนี้วา เปนระบบที่สรางความมั่นใจ สรางความมั่นคงใหกับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอยางยิ่ง มีคำ 2 คำที่ควรทำความเขาใจ คือ การเรียนรู (To learn) กับการศึกษา (Education) การเรียนรู เปนเรื่องของการทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน 3 ขอดวยกัน คือเปลี่ยนแปลง เรื่อง (1) ความรู (2) ทักษะ และ (3) คานิยมหรือเจตคติ ถามีลูกอายุ 2 ขวบ อยากใหลูกเรียนรูอะไรจะให ใน 3 เรื่อง ถามีนักศึกษาระดับอนุปริญญาสาขา คอมพิวเตอรธุรกิจ จะใหมีความรูอะไร ก็ใสความรูนั้น อยากใหเขามีทักษะอะไร ก็ใสทักษะนั้นเขาไป และถา อยากใหเขาเห็นคุณคาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ เราก็ใสเจตคตินั้นลงไปในหลักสูตร รวมทั้งการจัดการเรียน การสอน ดังนั้น To Learn จึงหมายถึงการทำใหรู จะไดเรียนความรูจากโลก เรียนความดี เรียนทำงาน แมเปน พระเจาอยูหัวก็ยังเรียนรูใน 3 ขอดังกลาวเชนกัน คือ (1) เรียนความรู (2) เรียนความดี และ (3) เรียนการ *เรียบเรียงจากการบรรยายเรื่อง “ทิศทางการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565) และแผนปฏิบัติการวิทยาลัยชุมชน ประจำปงบประมาณ 2551” วันที่ 30 มิถุนายน 2550 ณ โรงแรมฮอลิเดย อินน รีสอรทบีช ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

39


ทำงานเปน กรณีตัวอยางการเรียนรูคอมพิวเตอรธุรกิจ อยากใหเขารูเรื่องอะไรบาง เชน ทฤษฎีคอมพิวเตอร ธุรกิจ ก็จัดใหเปนการเรียนความรู อยากใหทำงานคอมพิวเตอรเปนก็ตองจัดหอง Lab ใหเขาไปฝกงานใน สถานประกอบการตางๆ เมื่อจบหลักสูตรแลวก็จะตองทำไดตามที่หลักสูตรกำหนดไว สวนเรื่องความดีงาม มี 2 ระดับ ในขณะที่เรียนอยูในวิทยาลัยชุมชน 2 ป ตองการใหเขาดีงามอยางไร ก็ใสเขาไป จัดใหไป ซึ่ง หลักสูตรอื่นก็จะเหมือนกัน การศึกษา คือ ระบบการจัดการเรียนรูตามวัตถุประสงค ประเทศไทยแบงระบบยอยของการศึกษา เปน 4 ระบบ คือ (1) การศึกษาปฐมวัย (2) การศึกษาขั้นพื้นฐาน (3) การอาชีวศึกษา และ (4) การ อุดมศึกษา ซึ่งหมายความวาเราไดจัดระบบการเรียนรูในแตละระบบ ดังนี้ (1) ระบบการศึกษาปฐมวัย เปนการจัดการเรียนรูสำหรับเด็กอนุบาล 3-4 ,4-6 ขวบ จะให เด็กอนุบาลเรียนรูอะไร ทำอะไรเปน มีระบบคุณคาคุณธรรมอะไร และวัตถุประสงคของการศึกษาปฐมวัยคือ อะไรตองบอกใหชัด ซึ่งตามกฎหมายบอกวา การศึกษาปฐมวัยเปนการเตรียมความพรอม (2) ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเทศตางๆ สวนใหญจัด 12 ป บางประเทศจัด 11 ป บางประเทศ 13 ป แต 86% จัด 12 ป ประเทศเราจัด 12 ป ทุกประเทศบอกวา วัตถุประสงคเพื่อสราง พลเมือง การศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยก็เปนไปเพื่อสรางพลเมืองไทย คำถามคือ ตองการใหพลเมืองทำอะไร เปน มีความรูเรื่องอะไร มีคุณคาคุณธรรมอะไรบาง ก็ ใสลงไป ถาเราไดพลเมืองที่ ไ มมีจรรยาบรรณ เปนคนขี้โกง ฯลฯ สวนหนึ่งเราตองตำหนิการศึกษาไทยวาไมไดเรื่อง (3) ระบบการอาชีวศึกษา การสรางชางในระดับตางๆ ชางฝมือ ชางชำนาญการ และขณะนี้ มีการสรางชางระบบเทคโนโลยีขนึ้ แลวในระดับปริญญาตรี กำลังออกกฎหมายใหอาชีวศึกษามีถงึ ระดับปริญญา (4) ระบบการอุดมศึกษา เปนการสรางนักวิชาชีพ กับนักวิชาการ มีหลายระดับ อนุปริญญา ปริญญาตรี-โท-เอก ประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรชั้นสูง ของวิทยาลัยชุมชนมีจุดเดียว คือ รับตอ จากการศึกษาขั้นพื้นฐาน วางไวที่อนุปริญญา ถามวาทำไมไมทำปริญญาตรี คำตอบคือมันจะกลายพันธุ เปน มหาวิทยาลัย จะไมใชวิทยาลัยชุมชนอีกตอไป และไมมีใครทำ และจะทำใหวิทยาลัยชุมชนกลายพันธุได ในระบบอุดมศึกษาของทุกประเทศโดยเฉพาะทางตะวันตก จะมีกลุมที่เรียกกัน “วิทยาลัยชุมชน” สอนอนุปริญญาและวิชาชีพพื้นฐานที่อาชีวศึกษาไปไมถึงไมครอบคลุมทุกพื้นที่ หรือบางอยางไม ไดทำ เชน วิชาลับมีดกรีดยางพารา ฯลฯ เขาทำไมได วิทยาลัยชุมชนจะเขาไปทำ บางชางอาชีวะอาจทำแตไปไมถึงพื้นที่

40

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


บางอำเภอ วิทยาลัยชุมชนจะเขาไปทำใหครบพื้น ที่ วิทยาลัยชุมชนจะปูพรมใหครบจนหมดทุกพื้น ที่ของ ประเทศ นี่เปนหลักทั่วไป วิทยาลัยสวนมากจะสอนทั่วไป กำหนดหลักสูตรเอง สถาบันอุดมศึกษาสวนใหญมี 3 หลักสูตร ปริญญาตรี-โท-เอก จะกำหนดหลักสูตรเอง ไมตองสนองตอบความตองการในพื้นที่ใด แตเปน การเปดกวางใหคนทั้งประเทศไปเรียนได แตวิทยาลัยชุมชนรับผิดชอบการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจชุมชน ประเทศเราเปนประเทศเล็ก แตละจังหวัดมีพื้นที่ไมมาก ยกเวนบางจังหวัดเทานั้น ในสหรัฐฯ มีมลรัฐที่ใหญ มาก มลรัฐจะเอาแค 1 แหงก็พอ เพราะฉะนั้นวิทยาลัยชุมชนตั้งเปาหมายตอนตนไวจังหวัดละ 1 แหง เชน จังหวัดตาก ก็มีแหงเดียว แทนที่จะมีแมสอดดวย แตไปเปดสาขาตามอำเภอตางๆ โดยใชกระบวนการหรือ ระบบการบริหารจัดการ ซึ่งทำไปไดคอนขางดี กลายเปนการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่ง

การจัดทำแผน

สังคมเปลี่ยน โลกเปลี่ยน ประเทศไทยก็เปลี่ยน เปลี่ยนทุกป 5 ป 10 ป 15 ป สวนมากระบบการ ศึกษาออกแบบเพื่อการเรียนรู รัฐเปนผูควบคุมระบบการศึกษา รัฐมอบหมายใหกระทรวงศึกษาธิการ เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นไปจัดการศึกษา รัฐบาลรับผิดชอบจัดการศึกษาใหตอบสนองการพัฒนาประเทศ การพัฒนาประเทศตองมีแผน ใน 1 ป ไปทางไหน 5 ป จะไปทางไหน 10 ป 15 ป จะไปทางไหน เรียกวาแผนระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว ประเทศไทยมีสภาการศึกษามาเกือบ 50 ป สภาการศึกษามีหนาที่ รับผิดชอบจัดทำแผนการศึกษาของชาติ แผนจะบอกการกาวไปอยางมั่นคง จะกาวไป 15 ป ทางไหนบาง กาวไป 5 ปทางไหน กาวแตละปเปนอยางไร กาวไป 15 ป เรียกวาแผนพัฒนาการศึกษาชาติ เสร็จแลวทอน 15 ป เปนแผนละ 5 ป แผน 5 ปแรกไปทางไหน 5 ปที่สองไปทางไหน และ 5 ปที่สามเปนอยางไร และอาจมี การปรับแผน บางครั้งปรับเยอะเพราะมีการเปลี่ยนแปลง แตแผนก็ยังชี้บอกวาไปทางนี้ ไมใชตางคนตางไป แผนจะทำใหพวกเราไปในทิศทางเดียวกัน ถาเปลี่ยนก็เปลี่ยนดวยกัน และจากแผน 5 ป ก็นำมาทำเปน แผนประจำป ใสงบประมาณประจำปลงไป เชน ปนกี้ ระทรวงศึกษาธิการไดงบประมาณ 3.1 แสนลานบาท เปนตน จากแผนที่มี จะตองแปลงเปนโครงการเพื่อนำไปสูการปฏิบัติ และจากนั้น นำโครงการไปบริหาร ดำเนินงาน เมื่อเสร็จก็เปนผลงานซึ่งมี 3 ชุด คือ ผลงานเชิงปริมาณ (Output) เชิงคุณภาพ (Outcome) และเชิงผลกระทบ (Impact) เพราะฉะนั้น จึงอยากใหเห็นวาการจัดทำแผน 15 ป กระบวนการจัดทำแผน เพื่อใหไดผลผลิตออกมาในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และผลกระทบ (ไมวาจะเปนผลบวก หรือลบ) สิ่งเหลานี้ สามารถนำมาปรับปรุงแกไขไดในครั้งตอไป คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

41


วิสัยทัศน (Vision)

วิสัยทัศน คือ การสรุปแผนใหสั้น กินใจ และคนตองการทำตาม (เอาไปปฏิบัติได) และวิสัยทัศน คือ สิ่งที่จะทำและตองทำได วิทยาลัยชุมชนมีปรัชญาการศึกษาวา “การศึกษาเปนของประชาชน บริหารจัดการโดยประชาชน และ จัดตามความตองการของประชาชน” วิทยาลัยชุมชนแตกตางจากสถาบันการศึกษาอื่น เชน มหาวิทยาลัย อาชีวศึกษา ไมตองจัดทำหลักสูตรตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ แตวิทยาลัยชุมชนจะสรางหลักสูตรให ชุมชนตามความตองการของประชาชนในจังหวัด ในการจัดทำแผนของวิทยาลัยชุมชน จะตองรูวาแผนของจังหวัดมีวาอยางไร แผนของประเทศมีวา อยางไร จากนั้นนำขอมูลแผนที่ ไดมาวิเคราะหจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปวิทยาลัยชุมชน แผน 5 ป และ แผน 4 ป แผนเหลานี้เปนแนวทางจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนหลักสูตรอนุปริญญา และระยะสั้น วิทยาลัยชุมชนหาผูเชี่ยวชาญภายในจังหวัดมาสรางองคความรู ใหกับวิทยาลัยชุมชนและประชาชน เชน ผูรูเรื่องขาว การปลูกผัก แลววิทยาลัยชุมชนก็มาจัดการอบรมใหกับประชาชน บริหารจัดการโดย ประชาชน ซึ่งขณะนี้วิทยาลัยชุมชนไดดำเนินการชัดเจนแลว โดยมีกรรมการสภาบริหารวิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน เจาของ คือ รัฐบาล ประชาชน กระทรวงศึกษาธิการ สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนตองการขยายองคความรูและใหโอกาสทางการศึกษาแกทุกคน ทุกระดับอายุ และใหการ ศึกษาแบบตลอดชีวิต ซึ่งภาคเอกชนไมสามารถทำได เพราะไมมีผลกำไรแกภาคธุรกิจ กรรมการนโยบาย คือ กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนของจังหวัดนั้น คือประชาชนในจังหวัดนั้นๆ ไมวา จะเปนผูมีอาชีพใด แตไมใหนักการเมืองสามารถเขามาเปนกรรมการ เพราะไมตองการใหมีระบบการเมือง เขามาเกี่ยวของกับการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร คือ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ดังนั้น จึงพูดไดวาวิทยาลัยชุมชนคือการจัดการศึกษาใหกับ ประชาชนโดยประชาชน

วิทยาลัยชุมชนคือสะพานเชื่อมโยง 1. เปนสะพานเชื่อมระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา 2. เปนสะพานเชื่อมระหวางระบบการศึกษากับโลกของการทำงาน (บุคคลที่จบจากวิทยาลัยชุมชน

42

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


แลวจะตองมีความรู เปนคนดี และทำงานเปน พรอมทั้งมีการติดตอกับนักศึกษาที่จบแลววาทำ อะไรที่ ไหน เปนอยางไร เพื่อติดตามคุณภาพของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแลว) ควรใหมีการ ติดตามนักศึกษาที่จบการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนทุก 5 ป สำหรับความตองการของตลาด แรงงานตอไป และควรสงนักศึกษาไปฝกงานจากสถานประกอบการจริง 3. เปนสะพานเชื่อมระหวางหลักสูตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจของชุมชน

เปาหมายวิทยาลัยชุมชน 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนผานกระบวนการเรียนรูและฝกฝนตนเอง 2. ใชการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีสำหรับปจเจก ครอบครัว และชุมชน 3. ใชการศึกษาและฝกอบรมเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงทางวัตถุ สังคม สิง่ แวดลอม และวัฒนธรรม คนขาดโอกาสทางการศึกษา ณ วันนี้ ทำงานไปกอน ทำงานราคาถูกๆ ที่ ไหนก็ได คาจางถูกๆ ให อยูรอดไวกอน และตอนนี้มีโอกาสทองแลว มีวิทยาลัยชุมชนมาตอยอดให ไดทักษะอาชีพ ไดเปนคนดี ได ความรู ก็คอยๆ พัฒนาตัวเองหารายไดเพิ่มขึ้น เสร็จแลวก็สามารถไปตอปริญญาตรี และอาจตอโท เอกได เปนการพัฒนาอยางตอเนื่อง สำหรับปจเจก สำหรับครอบครัว สำหรับชุมชน ถาคนทั้งจังหวัด โดยเฉพาะที่ ยากจนเปนคนสวนใหญของจังหวัด มีโอกาสไดตอยอดอยางนี้ ไปเรื่อยๆ ทุกป ทุกป ก็จะกลายเปนจังหวัดที่ เขมแข็งทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม จึงขอฝากไว คุณคาของวิทยาลัยชุมชนถามองใหลึกซึ้งมีมากและ กวาง ใหทำตอเนื่องและทำใหดี

กิจกรรมทางวิชาการ

แบงเปน 2 กลุมใหญ 1. หลักสูตรอนุปริญญา เปดเฉพาะสาขาที่เปนประโยชนตอจังหวัด โดยไมสนใจจังหวัดอื่น เพราะ จังหวัดอื่นก็จะดูแลวิทยาลัยชุมชนของตนเอง ขณะนี้มีวิทยาลัยชุมชน 19 แหง และยังมีอีกหลายจังหวัด ขอเปด ถาผมเปนฝายการเมืองผมใหเปด 76 จังหวัดรวมกรุงเทพฯ ดวย เพราะมีประโยชนสำหรับคนจน เปดครั้งแรกลงทุนจังหวัดละ 5 ลานบาท 10 จังหวัดก็ 50 ลานบาท 100 จังหวัด 500 ลานบาท ประเทศไทย มีแค 76 จังหวัด แลวทำไมไมเปด ทำไมไม ใหโอกาสคนจน ขอถามอยางนี้หลายๆ ครั้งทำไมไม ใหโอกาส คนจน ใชเงินแค 5 ลานบาทเอง แลวอาจารยเอามาจากไหน มีอาจารยพิเศษในพื้นที่จำนวนมากมาเปน คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

43


อาจารย ก็เปดสอนและเรียนกันได จึงขอฝากไว เปนการลงทุนจากการศึกษาที่ถูกที่สุด และใชไดตรงจุดที่สุด 2. หลักสูตรระยะสั้น วิทยาลัยชุมชนยังไมคอยไดทำนัก จึงขอเชิญชวนใหทำระยะสั้นใหมาก เพราะ ลงทุนไมมากเลย และถาคนเรียนไมมีเงินเรียน ขอใหสภาวิทยาลัยชุมชน หรือผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน หาคาใชจายให เรียกวา Third Party Pay สมมุติ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารเปดวิชาสอนใหทำยางแผน แตชาวบานจนไมมีคาเรียน เราก็เก็บ ไมแพง เก็บคนละ 300 บาท แตเขาบอกไมมี ถาผมเปนสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ผมจะไปขอคนที่เขา มี ใจกุศล ชวยคาใชจายรุนที่ 1 รุนที่ 2 รุนที่ 3...และยกชื่อประกาศทุกวันวา รุนที่ 1 สปอนเซอรเปนใคร ใครทำดี ใครมาชวยการศึกษา นี่ไดขาววาทางรัฐบาลเขาจะออกกฎหมายใครบริจาคเพื่อการศึกษา จะไดรับ การยกเวนภาษี การมาเรียนเรื่องการเดินทางสำคัญ การไปจัดที่อำเภอที่อยู ไกลจะชวยคาเดินทางอยางไร คนจนยิ่งลำบากใหญที่จะเขาสูความรู เทคโนโลยี - หลักสูตรระยะสั้นเพื่อทักษะในการประกอบอาชีพมีความสำคัญอันดับหนึ่ง ชวยสอนประชาชน เอา ความรู ไปเผยแพร ใหทั่วแผนดินผานระบบของวิทยาลัยชุมชน ถาวัน หนึ่งมีวิทยาลัยชุมชนทุกจังหวัดแลว ไมจำเปนตองทำเอง สมมุติจะทำเรื่องประมง สอนเรื่องประมง ก็ไปทำรวมกับประมงจังหวัด สอนเรื่องการ ปลูกผักสวนครัวทำรวมกับเกษตรจังหวัดก็วากันไป ใหหลายฝายมาชวยกัน - หลักสูตรระยะสั้นเพื่อทักษะการบริหารจัดการ - หลักสูตรระยะสั้นเพื่อสังคมและวัฒนธรรม - หลักสูตรระยะสั้นเพื่อทักษะทางศีลธรรม-จริยธรรม เพราะฉะนั้นการอบรมหลักสูตรระยะสั้นทำไดหลายหมวด

ความเปนไปของโลกาภิวัตน ปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานไวเพื่อเปนหลักคิด หลักปฏิบัติใหกับครอบครัว ชุมชน บริษั ทเอกชน โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ ในการรองรับผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง เชน โรงพยาบาล เปลี่ยนผูบริหาร ซึ่งก็มีผลกระทบ ถาโรงพยาบาลนี้ทุกคนเขมแข็งหมดเลย ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม เทคโนโลยี จะเปลี่ยนผูอำนวยการกี่คนเราก็ไมลม เปลี่ยนเจาอาวาส เปลี่ยนมาเถอะไมเปนไร ถาวันนั้นเขมแข็งทั้งพระ ทั้งเณร ทั้งมรรคทายก เปนคนดี มั่นคง ก็ไมเปนไร

44

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ปรั ช ญานี้ ต อ งการให ทุ ก ส ว นของเมื อ งไทย สร า งความเข ม แข็ ง พื้ น ฐาน ให ห ลั ก คิ ด เพื่ อ รองรั บ ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง คำโลกาภิวัตน ใชมาไมถึง 10 ป พระเจาอยูหัวไดมีพระราชดำรัสในวันขึ้น ป ใหมเมื่อป 2521 พูดถึงผลกระทบโลกาภิวัตน ทานบอกอยางนี้ วิธีการดำเนินงานของบานเมือง มีการ เปลี่ยนแปลงมาตลอด เนื่องมาจากความวิกฤตผันแปรของสังคม การเมือง และอื่นๆ ของโลก ยากที่เราจะ หลีกเลี่ยงไดจำเปนตองระมัดระวัง เราประคองตัวเราใหมากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องการเปนอยูเพื่อจะใหอยูรอด และตองกาวตอไปได ใหระวังเรื่องการเปลี่ยนแปลง เพราะการเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบตอชีวิต การเปลี่ยนแปลง มี 4 ขอ 1. ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า งไม มี อ ะไรหยุ ด นิ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงโดยธรรมชาติ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนมี ก าร เปลี่ยนแปลง ครอบครัวเปลี่ยนแปลง ชีวิตเปลี่ยนแปลง ประเทศไทยเปลี่ยนแปลง ไมมีอะไรหยุดนิ่ง 2. การเปลี่ยนแปลงทุกอยางมีเหตุปจจัย เหตุภายนอก เหตุภายใน เหตุที่เราคุมได เหตุปจจัยที่เราคุม ไมได ถายิ่งคุมเหตุปจจัยได ก็ยิ่งคุมการเปลี่ยนแปลงได แตถาชอบหลีก ไมสนใจในปจจัยเลย ก็จะคุมไมได เลย ปลอยใหคนที่เขาคุมเหตุปจจัยมาคุมเรา มันทำใหเราตองพึ่งตนเอง ตองฉลาด ตองหลักแหลม 3. การเปลี่ยนแปลงมีลักษณะเปนวงจร ที่มีลักษณะทั้งขึ้นทั้งลง วันนี้ลง ไม ไดหมายความวาลงจน ตาย พรุงนี้อาจขึ้นก็ได แตถาลงเราตองรูวาจะลงอยางไร เราตองมีระบบกำกับ Modify System การบริหารงานวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนแตละแหง ตองมีระบบขอมูลขาวสารเปนระบบ Modify System วาเรากำลังลง หรือกำลังขึ้น ไมอยางนั้น สภาวิทยาลัยชุมชนก็ไมรูเรื่อง ผูอำนวยการก็ไมรูเรื่อง วา เราจะลงถึงเหวแลวก็ไมรูเรื่อง เพราะเราไมมีการวิเคราะห เราผลิตบัณฑิตไปเราไมไดติดตามเลย จะไปไหน ก็ไมมีใครทราบ รุนแรกอาจมีคนจางดีหนอย รุนสองไมมีคนจางเลย แตถาเรามีระบบติดตามเราก็จะรูวาเรา กำลังขึ้นหรือกำลังลง ขึ้นก็ไมประมาท ลงก็ตองระวัง ตองยับยั้ง 4. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดเร็ว รุนแรงและกวางขวางได อันนี้เปนคำเตือนของ Peter Drucker ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบอกวา ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ตองระวังทั้ง 4 ดาน คือ ดานวัตถุ หรือเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานสิ่งแวดลอม และดานวัฒนธรรม พระเจาอยูหัวรอบคอบมาก ไมมองเฉพาะ ดานเศรษฐกิจอยางเดียว ไมไดมองวาเราขายไดขายไมได แตมองดานสังคมสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมดวย หลังสงครามเย็น โลกแบงออกเปน 2 คาย คือ คายคอมมิวนิสต และคายประชาธิปไตย และหามไป มาหาสูกัน แตหลังสงครามเย็นจาก ค.ศ. 1990 เปนเวลา 17 ปมาแลว โลกทั้งโลกไปมาหาสูกันหมด ไมมี คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

45


การแบงคายเปนคอมมิวนิสตกับประชาธิป ไตย เมื่อโลกไมแบงคายไปมาหาสูกันมากขึ้น ผลกระทบจาก จุดหนึ่งจะกระทบทั้งโลกไมกระทบเพียงครึ่งโลกแลว สมัยกอนอะไรที่เกิดขึ้นในโลกคายคอมมิวนิสตจะ กระทบเฉพาะคายคอมมิวนิสต คายประชาธิป ไตยไมมีผล แตตอนนี้ ไม ไดแบงคาย จะไปเที่ยวดวยกัน จะ ทำมาหากินดวยกัน เพราะฉะนั้นเกิดปญหาก็จะกระทบกันทั้งโลก Peter Drucker บอกวาสงครามเย็นจะเปนยุคของการไมเหมือนเดิม บริษัทเราตั้งมา 30 ป หลังจาก สงครามเย็น บริษั ทจะไมเหมือนเดิม มีอะไรมากระทบไดงาย คูแขงก็จะมากขึ้น ตลาดอาจจะแคบลง การชวงชิงกันมากขึ้น Joseph Schumpeter บอกวาตอไปนี้ เตรียมรับมือกับการทำลายลาง ที่มาในรูปแบบแปลกๆ ใหม แลวก็จริง อันนี้เขาทำนายมาหลายปแลว ปรากฏวาจริง ใครจะนึกวาคนจะทำลายคนอื่นๆ โดยฆาตัวเองดวย เอาระเบิดมาติดตัวเองใหคนอื่นตายแลวตัวเองตายตาม Rowan Gibson บอกวา การขางหนาก็ดี ชีวิตขางหนาก็ดี เหมือนขับรถ Off-Road คือ ขับรถนอก เสนทาง บนเสนทางเขามีถนนลาดยางอยางดี ขับสบายไมขับ ไปขับขางทาง มันจะเปนอยางไร จะกระเด็น กระดอน กระปุมกระปำ ชีวิตขางหนามีความไมแนนอนมากขึ้น อีกอันหนึ่งคือ Full of surprises จะเต็มไป ดวยความแปลกใจ คนที่เคยอยูพรรคเดียวกันไปอยูพรรคโนนแลว อันนี้เปนการเปลี่ยนแปลงที่มีการทำนายไว กอน ค.ศ.1990 แลวก็เปนจริงทุกขอ ใน 8 ขอดวยกันวา โลกในวันขางหนาจะเปนดังนี้ 1. ระบบการเมืองของโลกจะเปลี่ยนไป 2. ระบบความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินจะเปลี่ยนไป ทายไวสมัยกอนนานแลว และ เปนจริง สมัยนี้จะขึ้นเครื่องบินที ตรวจหมด ทั้งของเหลว รองเทา บางประเทศตรวจทั้งขางในขางนอก ใคร จะนึกวาลำบากยากเย็นขนาดนี้ 3 จังหวัดภาคใตออกจากบานไมได เปนเรื่องใหมหมดเลย 3. การคากับการเงินจะไปทำเฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งไม ไดแลว ทั่วโลกถึงกันหมดทุกประเทศ ใครตามไมทันเจงหมด 4. การคมนาคมการขนสง และการโทรคมนาคมเปลี่ยนรูปแบบใหมหมด แลวมากระทบกับชีวิตเรา 5. มนุษ ยจะสรางความรูและเทคโนโลยี ใหมๆ ขึ้นมารวดเร็วมาก การคนพบสูตรทำยา ยารักษา มะเร็งใหมๆ กลองถายรูปเดี๋ยวก็ตองเปลี่ยนโมเดล ตั้งแตลานพิกเซลขึ้นมา ก็หาลาน สิบลาน เปลี่ยนเร็วมาก กลองถายรูปสมัยกอน สมัยพอเราหลายสิบปกวาจะเปลี่ยนโมเดลที เดี๋ยวนี้มาใหมเปลี่ยนเร็วมาก

46

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


6. จะมีการครอบงำทางวัฒนธรรมและภาษา หลายภาษาจะตายไปในโลกนี้ เพราะวาถูกครอบงำผาน โทรคมนาคมกับสื่อสารมวลชน ภาษาไทยก็โดนครอบงำไปมากแลว 7. จะมีการกอการราย 8. จะมีโรคไวรัสใหมๆ เกิดขึ้น โรคซาร โรคไขหวัดนก นี่ก็เกิดขึ้นจริงตามที่เขาทำนาย ประเทศเราก็ เปลี่ยนแปลงมาตลอด ตั้งแตสมัยสุโขทัยเปลี่ยนมาตลอด สมัยกอนเปลี่ยนชา แตสมัยนี้เปลี่ยนเร็ว สมัยกอน จะเปลี่ยนแปลงอยางไรก็ตาม คุณคึกฤทธิ์ ปราโมช บอกวาใหยึด 3 อยางไวเปนสถาบันหลัก คือ สถาบัน พระมหากษัตริย สถาบันพระศาสนา และสถาบันประชาชน ไดแก ครอบครัว และชุมชน สถาบันครอบครัวเริ่มออนแอลง สถาบันชุมชนบางแหงแยลง ในภาคเหนือบางหมูบานที่คุณพอคุณแม ตายดวยโรคเอดส จะเหลือคนแกกับเด็กไวทำงาน บางประเทศลมสลาย ประเทศเราหลัง ค.ศ. 1990 ถูกเหตุปจจัยเหลานี้มากระทบกระเทือน ตั้งแตโลกาภิวัตนนำทั้งสิ่งที่เรา ไดเปรียบและเสียเปรียบเขามา ระบบทุนนิยมเสรีและตลาดเสรี ความรูเ ทคโนโลยีใหมๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ ผานเว็บไซต ผานอินเทอรเน็ต สื่อมวลชนขามชาติ อาชญากรรมขามชาติ วัฒนธรรมตางถิ่น และการเมือง ระหวางประเทศ เปนตน ใครถูกใครผิดชาง แตผลของมันคือประเทศไทยกำลังเปลี่ยนไปดังนี้ 1. เปนสังคมสุดขั้ว เปนสังคมแยกขั้ว อันตรายมาก วิทยาลัยชุมชนในหลายจังหวัดจะเปนกลไก อันหนึ่งที่ลดการแยกขั้ว อยางนอยทำใหคนจนลืมตาอาปากได ไมใหชองวางหางจากคนมั่งมีมากนัก 2. นโยบายประชานิยมเหมือนกับยาเสพติด ทำใหคนพอใจโดยเฉพาะคนจนซึ่งอันตรายมาก ทำใหคน ไมพึ่งตนเอง จะพึ่งกองทุนหมูบาน ไปทำผลิตภัณฑ OTOP ตามนโยบายรัฐบาล รวมทั้งไปกูเงินมากกวา อยากพึ่งหวยมากกวา 3. ฉอราษฎรบังหลวง ที่เปนมาทุกยุค ทุกสมัย 4. คนหลายระดับเลนการพนัน อบายมุข 5. มัวเมาไสยศาสตร เกาะกระพี้ศาสนา ในทามกลางการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ ถาครอบครัวมั่นคงมีคุณธรรมศีลธรรม ประกอบสัมมาอาชีพ หมั่นเก็บออม แทนที่จะไปกูหนี้ ถึงจะเปลี่ยนรัฐบาลกี่ชุดก็ดำรงครอบครัวอยู ได นี่คือเจตนาของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ที่จะทำอยางไรทามกลางการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหคนไทยอยูได เงื่อนไขหนึ่งสำหรับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ถาวิทยาลัยชุมชนไหนจะเอาปรัชญานี้ ไปใช ตอง สรางวิทยาลัยชุมชนเปนวิทยาลัยแหงคุณธรรมกอน หรือที่เรียกวา Moral College หรือวิทยาลัยคุณธรรม คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

47


ถาวิทยาลัยนั้นมีแตการฉอราษฎรบังหลวง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะใชไมได ไมมีประโยชน คุณธรรม คือสิ่งที่กำกับจิตใจใหแสดงออกทั้งคำพูดและการกระทำ หรือออกมาเปนพฤติกรรม คนที่ มีคุณธรรม คือ คนที่มีสิ่งกำกับจิตใจออกมาเปนพฤติกรรมที่ตีคาไดวาเปนความดี ความจริง ความงาม ตีคา ไดอยางไร ที่ทุกคนบอกวานี่คือความดี ความจริง ความงาม สิ่งที่เขาพูด พูดแตสิ่งที่ดี สิ่งที่เปนจริง สิ่งที่งาม สิ่งที่เขาทำก็เหมือนกัน คนไรคุณธรรมคือคนที่มีสิ่งกำกับจิตใจ แลวสุดทายคนตีคาออกมาเปนความชั่ว ความ เท็จ ความอัปลักษณ เครื่องชี้คุณธรรม สังคมมนุษยตั้งแตโบราณไดออกแบบเครื่องชี้คุณธรรมมาหลายชุดดวยกัน ชุดที่ 1 คือ ศาสนาไดแก ศาสนธรรมหรือศีลธรรมตางๆ ทุกศาสนาบอกวาอันนี้ชั่ว อันนี้ดี อันนี้เลว อันนี้งาม เพราะฉะนั้นถาเราเปนคนที่มีศาสนาและเรายึดในหลัก ในแกนของศาสนา ก็จะอยู ในกรอบของ คุณธรรม ชุดที่ 2 ไมเกี่ยวกับศาสนา เปนชุดที่เราออกแบบกันเอง ชุดความประพฤติ และจริยธรรม อาจจะเปน จริยธรรมทั่วไป จริยธรรมเฉพาะกลุม เฉพาะอาชีพก็ได อยางเชน จริยธรรมของสมาชิกสภาวิทยาลัยชุมชน เราออกแบบได มีกันหรือยัง จริยธรรมของผูบริหาร จริยธรรมของผูปฏิบัติ จริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัย ชุมชน อันนี้มีแลวใชไหม หรือที่เรียกวาวินัย วินัยนักศึกษาก็คือจริยธรรมของนักศึกษานั่นเอง ชุดที่ 3 คือ นิติธรรม กฎหมายบานเมืองเกี่ยวกับการบริหารบานเมือง ชุดที่ 4 เปนจริยธรรมสำหรับการบริหารองคกรหรือบรรษัทก็คือ ธรรมาภิบาล หรือบรรษัทภิบาล ชุดที่ 5 เปนชุดที่กำหนดเกณฑทางสังคม เชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี มารยาท ชุดที่ 6 เปนคุณธรรมประจำตระกูล เปนคำสอนประจำครอบครัว คุณธรรมมีหลายชุด ถาจะสรางสังคมคุณธรรม ตองรวมมือกันทั้งศาสนา ครอบครัว กระบวนการ ยุติธรรม ระบบการศึกษา สื่อมวลชน องคกรทุกประเภท คำที่ ใหญคลุมหมดคือคุณธรรม โดยจริยธรรม และศีลธรรมเปนสวนหนึ่งของคุณธรรม ความสัมพันธระหวางความรูกับคุณธรรม มีหลายความสัมพันธ เชน 1. มีความรูแตไรคุณธรรม อันนี้ไมชอบเพราะไมดี พวกนี้เกงแตโกง รวมทั้งพวกเกง คิดวาตัวเองดี โดยใสรายปายสีผูอื่นวาเลวหรือโกง

48

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


2. มีความรูคูคุณธรรม ทั้งดีทั้งเกง 3. มีคุณธรรมนำความรู เอาคุณธรรมนำหนา ตอนนี้หลายโรงเรียนตองเปลี่ยนปาย เพราะเคยเขียน ปายวา ความรูคูคุณธรรม แตก็ยังมีคนเปลี่ยนปายนอย พระเจาอยูหัวไดพระราชทานชุดคุณธรรมใหกับชาวไทยเปนระยะๆ ตอนฉลอง 200 ปกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2525 ก็ ไดพระราชทานคุณธรรม 4 ประการ พวกเราคงจำไดเวลาขึ้นไปศาลากลางเขาก็จะพิมพ ไว สังเกตดูไมคอยมีใครหยุดยืนอาน เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2550 ไดพระราชทานใหอีกชุดหนึ่ง ในการออกมหาสมาคม ที่ทุกคนใสสีเหลือง ไปเปนแสนคน ที่ดูทีวีที่บานอีกเปนลานๆ คน ถาวิทยาลัยชุมชนอยากจะทำ เชน ชุดคุณธรรมของวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหาร ก็ไปคิดกัน คุณธรรมของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนในแผน 15 ป จะเลนเรื่องความซื่อสัตย สุจริต อยาไปใสประเด็นเล็กๆ มา ให ใสที่หลักๆ ที่เกิดผลจริง ใสที่ดีจริงๆ วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครมี ชุดคุณธรรมเปนอยางไร หรือถาคิดอะไรไมออก ยืมของพระเจาอยูหัวไปใชก็ได ทานใหไว 4 ขอ ดังนี้ 1. ทุกคนคิดพูดทำดวยความเมตตา มุงดีมุงเจริญตอกัน ขอใชคำวา เมตตาธรรม 2. แตละคนชวยเหลือเกื้อกูล ประสานงาน ประสานประโยชน ใหงานที่ทำสัมฤทธิผลแกตนเอง ผูอื่น และประเทศชาติ ขอใชคำวา สามัคคีธรรม 3. ทุกคนประพฤติปฏิบัติในความสุจริต ในกฎกติกา ในระเบียบแบบแผนโดยเทาเทียมเสมอกัน (Simple Standard) ขอใชคำวา สุจริตธรรม 4. แสดงความเห็นของตนใหถูกตอง เที่ยงตรง มีเหตุมีผล ขอใชคำวา เที่ยงธรรม

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร

บานเรามีแผนพัฒนาประเทศหลายฉบับ เดิมกอน พ.ศ. 2504 ไมมีแผน เวลารัฐบาลเก็บภาษี ได รัฐบาลจะเอาไปทำอะไรก็แลวแตนโยบายรัฐบาลของยุคนั้นๆ ปนั้นๆ ไมมีแผนระยะ 5 ป รัฐบาลไหนอยากได อะไรก็เชิญ เพราะฉะนั้นการพัฒนาประเทศไมมีทิศทาง ไมไดเอาปญหาหลักของประเทศขึ้นมาเปนแผนเพื่อ จะแก เชน เรื่องความยากจนไม ไดเอา ตอมาเปนรัฐบาลเผด็จการทหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต บอกวา ตองมีแผน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนคนซึ่งสรางสถาบันหลักของประเทศไวหลายสถาบัน ไดชักชวน คนไทยที่อยูอังกฤษ ใหกลับมาชวยประเทศชาติ มาชวยกันตั้ง คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

49


1. สภาความมั่นคงแหงชาติ แทนที่จะสั่งเพียงคนเดียว เปนสภาชวยกันคิด 2. สภาการศึกษาแหงชาติ แทนที่แตละโรงเรียนจะตางคนตางทำ แตละมหาวิทยาลัยตางคนตางทำ เพราะตอนนั้นไมมีแผน ไดงบประมาณมาจะผลิตอะไรก็ ได เพราะไมมีแผนยุทธศาสตร ในการพัฒนาแลว ไมไดสนใจแผนพัฒนาประเทศดวยซ้ำไป บอกไมได ตองมีสภาการศึกษาแหงชาติ และได ดร.กำแหง พลางกูร มาเปนเลขาธิการคนแรกของสภาการศึกษาแหงชาติ ทำแผนพัฒนาการศึกษา 15 ป แผน 5 ป แผนรายป 3. สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หรือสภาพัฒนสภาพัฒนบอกงบประมาณที่รัฐบาลเก็บ มาแตละป ถาเปนรัฐบาลเผด็จการอยากจะใชอะไรได จะซื้อรถถังกี่คัน ซื้อปนใหญกี่กระบอก จะไปชวยเรื่อง น้ำ ดิน ไฟฟา ไดทั้งนั้น แลวแตรัฐบาลจะคิด อยากระนั้นเลย มาวางแผนพัฒนาประเทศ เพื่อประสาน ประโยชนกันและมุงไปในทางเดียวกันดีกวา ตอนนั้นไดเริ่มคิดปแรก ทำทีละ 5 ป เหมือนประเทศอื่น 2504-2509 รวม 6 ป แผนหนึ่งของเรามี 6 ป พอถึงแผน 2 จึงเริม่ ปรับเปน 5 ป แผน 3 เปน 5 ป มาถึงขณะนีอ้ ยูในแผน 10 (2550-2554) เปนแผน 5 ป แผน 9 รัฐบาลชุดที่แลวใชแผนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนตามวาระแหงชาติ ทั้งที่เมื่อแผน 8 คือ 2542 กลางแผน 8 สภาพัฒนกำลังประเมินครึ่งแผน 8 แลวขอพระเจาอยูหัว ขอพระราชทานปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเปนหลักในการพัฒนาแผน 9 (2545-2549) ซึ่งพระราชทานให 29 พฤศจิกายน 2542 พระราชทาน ตัวหนังสือทั้งหมดที่อยูในกรอบสี่เหลี่ยมทั้งหมดทุกตัวอักษร เอามาเปนหลักในแผน 9 เมื่อมีรัฐประหาร รัฐบาลชุดรัฐประหารกำลังปรับปรุงแผน 10 เพราะในปลายรัฐบาลชุดที่แลวเพิ่งมา ประกาศใหทำแผน 10 สำหรับใชตั้งแต 1 ตุลาคม 2549 สภาพัฒนจึงวุนกันหมด จึงเชื่อวา ประเทศประสบ ปญหาเพราะแผนยุทธศาสตร ขอมูลประชาชน 100 ครัวเรือน มีหนี้อยู 50 กวาครัวเรือน ปที่แลว 2549 มีหนี้ 65 ครัวเรือน ไมมีหนี้เพียง 35 ครัวเรือน ตอน พ.ศ. 2543 หนี้แตละครัวเรือน 80,000 กวาบาท ป 2549 คือ ปที่แลว 120,000 กวาบาท จำนวนครัวเรือนเปนหนี้เพิ่มขึ้นมา แลววันนี้ ประชาชนจึงไมมีความมั่นใจใน การบริโภค ไมกลาซื้อ เพราะมีแตหนี้จึงไปซื้ออะไรไมได ถาใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตองการสรางความเขมแข็ง แปลงหนี้เปนเงินออมแลวผูคนตองขยัน ทำงาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบอกวา จะขี้เกียจไปรอกูเงินอยางเดียวโดยไมนำไปลงทุนทำอาชีพ จะรอขอ งบฟรีจากรัฐบาลโดยไมนำมาลงทุนไมได ประชาชนตองชวยกันทำงาน อันนีเ้ ปนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เงิน ตองมีที่มา ตองมาจากการทำงาน ตองไมลุมหลงแตเรื่องเงินกู รอรัฐบาลเลือกตั้งเพื่อจะไดเงิน 1,500 บาท ไมวาจะเปน สท. สจ. สก. ได 1,500 บาท ไดคาขายเสียง สนใจแตกองทุนใหกูใหม เพราะกองทุนหมูบาน

50

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


กูหมดแลวยังไมไดคืน จะใหไปทำอาชีพอะไรไมสนใจ และเดี๋ยวนี้ชาวบานไมปลูกผักสวนครัว รอรถปกอัพเอา ผักมาขายในหมูบาน ไดแตนั่งเก็งหวย กินเหลา แตงตัวสวยไปโนนไปนี่ คือมันเปลี่ยนวิถีชีวิตคน มีผลกระทบ มากโดยเฉพาะที่รากหญา เมื่อตอน 2540 เราเกิดวิกฤตทางการเมือง เปน NPL ของระดับขางบน แตป 2549 คนระดับบนเชื่อวา เกิดวิกฤตความคิดของระดับรากหญาที่อันตราย มีอาจารยจุฬาฯ ไปทำวิจัยรายจาย ประจำเดือนของชาวบาน มีรายจายเพิ่มขึ้น 3 รายการ ไปเหมือนคนระดับบน ทั้งที่สมัยกอนไมมี เปนไปตาม การเปลี่ยนแปลง โลกาภิวัตนของโลก ซึ่งนับวาเปนอันตราย คือ 1. คาใชจายบำรุงรักษามือถือ คือ รายการหลัก แลวแตวาบานนั้นๆ จะมีมือถือกี่เครื่อง 2. คาใชจายเลน หวย ทั้งบนดินใตดิน เพราะเชื่อทีวี เลน หวยชวยชาติ ชวยการศึกษา เปน ทุน การศึกษา แตไมใหขอมูลวาเลน 2 ตัวโอกาสไดมัน 1 ใน 100 แลวรางวัลที่ 1 ที่ลุนอยากไดรางวัลที่ 1 มัน 1 ใน 90 ลานครั้ง 3. คาใชจายในการกินเหลา ไมเยอะนะ เพราะเหลาขาวทำเองตามนโยบาย OTOP รัฐบาลไดปลอย ฟรี ตมเหลาขายกันได มีการตั้งบริษัทกันขึ้นมาทำเยอะแยะ ตอนนี้เจงกันเปนแถบ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักคิด หลักปฏิบัติใหคนไทยหันมาสูเหตุสูผล มีเหตุผลในการตัดสินใจ ระดับผูบริหาร ผูปฏิบัติ และชาวบาน ใหมีเหตุผล แลวรูจักวาความพอประมาณคืออะไร นำไปสรางความ เขมแข็งพื้นฐานที่สรางไวเผื่อมีอะไรเกิดขึ้นจะได ไมลมหายตายจากไปเพียงแคนี้ นี่แหละปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สหประชาชาติเอาไปเผยแพร ไว 166 ประเทศ ไปเขียนเปนภาษาอังกฤษบอกไวหมดมีประโยชน อะไรบาง

คำถาม 4 คำถาม

1. ปรัชญานี้มีวัตถุประสงคอะไร 2. ความพอเพียงมีองคประกอบอะไร 3. ถาวิทยาลัยชุมชนใดเอาไปใชจะตองเตรียมตัวอะไรบาง 4. ถาทำแลววิทยาลัยชุมชนจะไดประโยชนอะไร คำถามแรก วัตถุประสงคของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยูและปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศใหดำเนินไปในทางสายกลาง ถาพูดเฉพาะเศรษฐกิจก็ใหกา วทันโลกยุคโลกาภิวตั น สูก บั ประเทศอืน่ ได คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

51


มาก

เปาประสงคอีกอยาง คือ ใหประชาชนเขมแข็ง สูกับประเทศอื่นในยุคโลกาภิวัตนที่มีการเปลี่ยนแปลง

คำถามที่ 2 องคประกอบของเศรษฐกิจพอเพียง คือ 1. ความพอเพียง 2. ความมีเหตุผล 3. มีระบบภูมิคุมกัน พอประมาณ คือ พอเหมาะพอดี พอประมาณตามอัตภาพ ไมมากเกินไมนอยเกิน จงพอประมาณ ตามอัตภาพ ทานเคยดำรัสไวหลายครั้งวาจะรวยก็ได คือทานไมตองมีมากก็ได ใชของหรูหราก็ได แตตอง ไมเบียดเบียนคนอื่น ตองพอประมาณตามอัตภาพ มีเงินเดือน 12,000 บาท การใชจายตัดสินใจซื้อโนนซื้อนี่ ตองอยูในกรอบของอัตภาพ 12,000 บาท แตถามีเงินเดือน 500,000 บาท พอประมาณของคืออยูในกรอบ เงินเดือน 500,000 บาท หรือตองติดลบ ตรงนี้ตองพูดถึงความพอดี การบริหารวิทยาลัย แตละแหง งบประมาณไมเทากัน ความพอประมาณของแตละแหงก็อยู ในกรอบของตัวเอง อยูตามอัตภาพของแตละ วิทยาลัย เก็บคาหนวยกิตไดเทานี้ ก็บริหารดวยความประหยัดตามอัตภาพ จะไปเปรียบเทียบกับรายไดของ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไมได คนละอัตภาพ จึงขอฝากเรื่องการบริหารวิทยาลัยไว สภาวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร ครู-อาจารยจะตัดสินใจทำอะไรใหนึกถึงความพอประมาณตามอัตภาพ ยังไมพอ ตองมีเหตุผลอยูในกรอบของอัตภาพ มีเหตุผลตามหลักวิชา มีเหตุผลตามหลักกฎหมาย ตามหลัก ศีลธรรม ตามกฎเกณฑสังคมใหยึดถือความจำเปนในการดำรงชีวิต และยังตองนึกถึงภูมิคุมกันวาจะบกพรอง ตรงไหน เราบอกวา พอประมาณมีเหตุผล แตถาทำไปแลวภูมิคุมกันบกพรองตองหาทางปองกัน ระบบภูมิคุมกัน มี 4 ดาน ดานที่ 1 ภูมิคุมกันดานเศรษฐกิจหรือดานวัตถุ ถาเขมแข็งมีเงินออม มีการประกันความเสี่ยงใน อนาคต มีการลงทุนเพื่อพัฒนา มีการวางแผนระยะยาว ถาภูมิคุมกันบกพรอง มีหนี้ ไมกอใหเกิดรายได ขาดการประกันความเสี่ยง ขาดการลงทุนเพื่อพัฒนา ขาดการวางแผนระยะยาว นี่เปนวัคซีนสำหรับเพิ่ม ภูมิคุมกันสำหรับดานเศรษฐกิจหรือดานวัตถุ มีการออม ถาเปนหนี้ก็ลดหนี้ลง มีกองทุนปองกันวิกฤต ถามี กองทุน การลงทุนก็เสี่ยงนอย การลงทุนก็พัฒนา

52

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ดานที่ 2 ดานสังคม ถาวิทยาลัยชุมชนมีภูมิคุมกันทางสังคมเขมแข็ง รูรักสามัคคี รวมมือรวมใจกัน ทุกคนมีคุณธรรม ใฝศาสนธรรม เปนวิทยาลัยสีขาว อยูเย็นเปนสุข ทุนทางสังคมก็สูง แตถาวิทยาลัยชุมชนมี ภูมิคุมกันดานสังคมบกพรอง ระแวง ทะเลาะเบาะแวง ตางคนตางอยู ทุศีล หางไกลคุณธรรม อบายมุขเต็ม ไปหมด อยูรอนหมองหมน ทุน ทางสังคมก็ต่ำ ถาเราทำ SWOT Analysis แลวพบวาทุน ทางสังคมของ วิทยาลัยบกพรองแลว จะทำการเปลี่ยนแปลงอยางไร ก็ตองหาวัคซีนมาฉีด หามาตรการมาแกไข ดานที่ 3 ดานสิ่งแวดลอม ถาภูมิคุมกันดานสิ่งแวดลอมดี ทุกคนในวิทยาลัยมีความรู มีสำนึก มีความ หวงแหนในสิ่งแวดลอม ผูบริหารมีนโยบายชัดเจน มีการสรางอุปนิสัย สะอาด เปนระเบียบ อยูกับธรรมชาติ ถาบกพรองก็ตรงกันขาม ถาเปนอยางนั้นเราจะทำอยางไร ดานที่ 4 ดานวัฒนธรรม มีความเขมแข็งหรือวาออนแอ มีความภูมิใจในวัฒนธรรมไทยหรือไม มีความเขาใจวัฒนธรรมทองถิ่นอยางไร ภูมิใจอยางไร หรือไมมี คำวา พอเพียง จะเอาไปใช ที่วิทยาลัยชุมชน จะตองทำ SWOT Analysis แลวก็วางมิติทางดานวัตถุ สังคม ดานสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม กำหนดตัวชี้วัดเอง แลวก็วางแผนกำหนดเอง เสร็จแลวก็กำหนด เปาหมายภายใน 1 ป จะทำอะไร จะไปถึงไหน แลวทำแผนปฏิบัติ ประเมิน เมื่อครบป ก็คอยขยับไป เพราะ ฉะนั้นภูมิคุมกันทั้ง 4 ดาน ก็คอยๆ เขมแข็งขึ้นทีละปๆ คำถามที่ 3 ถาจะเอาไปใชตองมีเงื่อนไขอะไรบาง มี 3 เงื่อนไข คือ 1. เงื่อนไขหลักวิชา ในกรอบสี่เหลี่ยมบอกวาตองอาศัยความรอบรู รอบคอบ ระมัดระวังในการนำ วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและปฏิบตั งิ าน ไมใชเอาเรือ่ งโหราศาสตร/ไสยศาสตรมาใช แตเอาวิชาการ ตางๆ เพราะตองการจะใหบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชนโดยใชฐานความรู ใหเปน Knowledge-based College 2. เงื่อนไขคุณธรรม ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจคนในชาติ ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจคนใน วิทยาลัยชุมชนโดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี นักธุรกิจ ในทุกระดับใหมีสำนึกในคุณธรรม ความ ซื่อสัตย สุจริต 3. เงื่อนไขการดำเนินชีวิต ตองใชความอดทน ความเพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ ถาทำได อยางนี้จะเกิดประโยชนอะไร คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

53


คำถามสุดทาย ถานำไปใชวิทยาลัยชุมชนจะไดประโยชนอะไร 1. จะเกิดสมดุลในชีวิต สมดุลในการบริหารงานวิทยาลัยชุมชน 2. วิทยาลัยชุมชนจะพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม จาก โลกภายนอก หรือจากปจจัยภายในไดเปนอยางดี ขอฝากใหเอาปรัชญานี้ ไปใช ในวิทยาลัยชุมชน ใช ไดทั้งการกำหนดนโยบายบริหารวิทยาลัยชุมชน โดยเฉพาะสภาฯ ใช ไดทั้งการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะพวกครู-อาจารย และใช ไดกับทุกชีวิตในการ ดำเนินชีวิตกับครอบครัวก็เอาไปใชได สิ่งที่ไดบัญญัติในพระราชดำรัส 2-3 เรื่อง เพื่อเปนอุทาหรณการทำงาน ป พ.ศ. 2522 ในจิตใจคนไทยมีเชื้อความดี ทำใหพวกเรามาอยูในฐานะที่มั่นคงในวันนี้ (2522) ถาเรา ไมมีความดี ในตัว เขาใจวาประเทศไทยคงอยู ไ มนานเชน นี้ เปนสิ่งที่เตือนสติวาคนไทยตองมีเชื้อความดี บมเพาะเชื้อความดี เพื่อจรรโลงยืนนานตอไปในอนาคต ปใหม พ.ศ. 2545 ขาพเจามีความปรารถนาอยางยิ่งที่ไดเห็นชาวไทยมีความสุขถวนหนากันดวยการให ความรักความเมตตาใหน้ำใจไมตรีใหอภัย ไมถือโทษโกรธเคือง ใหสงเคราะหอนุเคราะหกันมุงดี มุงเจริญตอ กันดวยความบริสุทธิ์และจริงใจ ป พ.ศ. 2506 ในงานพระราชทานปริญญาบัตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทรงชี้ ใหรูจักความดีดวย ความดี ไมไดทำความดีเพื่อตอบแทน ในความดีเพื่อความดี อุปมาเหมือนการปดทองหลังพระ ดังความตอน หนึ่งวา “คนโดยมากไมชอบปดทองหลังพระนัก เพราะคิดวาไมมีใครเห็น แตถาทุกคนพากันปดทองแตหนา พระ ไมมีใครปดทองหลังพระเลย พระก็เปนพระที่สมบูรณไมได” วิทยาลัยชุมชนเปนสะพานเชื่อมระหวางระบบการศึกษา ระหวางการจางงานกับการมีอาชีพ เปน สะพานเชื่อมใหคนที่ดอยโอกาส อยู ไกล ไมสามารถเขาถึงทักษะอาชีพหรืออุดมศึกษาได เราเปนสะพาน เหมือนปดทองหลังพระจริงๆ แลวเราปดทองหลังพระ หลายคนที่อาสาสมัครมาทำงานกับระบบวิทยาลัย ชุมชน เปนอาสาสมัครดวย จายเงินดวย บางคนอาสาสมัครเขามาทำงานรับเงินเดือนที่นอยกวาที่อื่น เพราะ สวนหนึ่งเชื่อในคุณภาพคุณคาของระบบวิทยาลัยชุมชนวาเปนระบบที่มีคุณภาพ ที่ทำใหเรามาทำงานรวมกัน ได เพราะฉะนั้นอยากเปรียบอยางที่ทานรับสั่งวา ทำดีเหมือนปดทองหลังพระ ขอขอบคุณ

54

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


จุดยืนในการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน* โดย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ผูชวยศาสตราจารยจรูญ ถาวรจักร ผูอำนวยการสำนัก บริหารงานวิทยาลัยชุมชน ผูแทนกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน อาจารยและ ผูเกี่ยวของทุกทาน ถือเปนโอกาสดีที่จะไดทำความเขาใจกับสิ่งที่สำคัญที่สุด คือการทำความเขาใจเรื่องเกณฑมาตรฐาน โครงสรางหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงไป และโดยเฉพาะอยางยิ่งหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เพราะพิมพเขียวใน การสรางลูกศิษ ย คือ หลักสูตร และหลักสูตร คือ พิมพเขียวในการสรางคน เหมือนจะสรางบานตองมี พิมพเขียวสรางบาน ที่กำหนดวาจะสรางบานบนพื้นที่กี่ตารางวา มีกี่ชั้น กี่หองนอน กี่หองน้ำ มีหองอะไรบาง นี่คือพิมพเขียว ซึ่งวิทยาลัยชุมชนตองคิดกอนวา จะสรางบานใหใครอยู จะสรางลูกศิษยไปใหใครใช หรือไป ทำงานที่ไหน ตองคิดอยางนี้ หลักสูตร คือ พิมพเขียว เพราะฉะนั้นตองทำความเขาใจบทบาทหนาที่การเปนสถาปนิก วันนี้วิทยาลัย ชุมชนกำลังเปนสถาปนิกการศึกษาเพื่อออกแบบสรางคน จึงตองทำความเขาใจวา จะสรางพิมพเขียวอยางไร ที่ทำมากกวา คือ จะตองทำหนาที่ถอดแบบพิมพเขียวดวย เมื่อถอดแบบพิมพเขียวแลวจึงลงมือออกแบบ สรางคน เพราะฉะนั้น จึงตองมีหนาที่สรางหลักสูตร และตองเอาหลักสูตรไปบริหารเองดวย การมาในวันนี้ จึงเปรียบเสมือนมาเปนทั้งสถาปนิก และวิศวกรดวย บางคนบอกเปนทั้งชางปูนและชางปนดวย *เรียบเรียงจาก การบรรยายเรื่อง “จุดยืนในการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน” วันที่ 5 กันยายน 2548 ณ โรงแรม ริเวอรไซด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

55


เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา

เกณฑโครงสรางหลักสูตรเพื่อการออกแบบ สถาปนิกมีอิสระในการออกแบบ แตก็ยังมีกรอบอยู เชน จะออกแบบบานที่อยูอาศัย ทางเขา-ออก แบบคอนโดมิเนียมหรือแบบตลาด จะออกแบบบานที่อยูอาศัยควร จะมีโครงสรางอะไร อยางไรบาง มีกี่ชั้น ฯลฯ ของเขาเรียกวา “โครงสรางบาน” ของเราเรียกวา “โครงสราง หลักสูตร” สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะมีเกณฑมาตรฐานกลางเพื่อบอกวา โครงสราง หลักสูตร มีกี่หมวดวิชา โครงสรางหลักสูตรอนุปริญญา กำหนดไว 3 หมวดวิชา คือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิ ช าเฉพาะด า น และหมวดวิ ช าเลื อ กเสรี เปรี ย บเหมื อ นกั บ การสร า งบ า น 3 ชั้ น และหลั ก สู ต ร อนุปริญญานี้หามสรางเกิน 3 ชั้น โดย 3 ชั้น ที่กลาวมา คือ ชั้นที่ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สมมุติวาเปนชั้นที่ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดนี้จะมีวัตถุประสงค เฉพาะ เพื่อตองการสรางคนใหสมบูรณหรือใหไดคุณลักษณะที่พึงประสงค ชั้นที่ 2 หมวดวิชาเฉพาะดาน สมมุติวาเปนชั้นที่ 2 คือ หมวดวิชาเอก หรือหมวดวิชาชีพ นั่นเอง เชน หลักสูตรครูก็เนนวิชาชีพครู หลักสูตรนักบัญชีก็เนนวิชาชีพบัญชี จะอยู ในหมวดวิชาเฉพาะดาน จะพูดถึง วิชาครู วิชาบัญชี วิชาตางๆ มากมาย ชั้นที่ 3 หมวดวิชาเลือกเสรี สมมุติวาเปนชั้นที่ 3 คือ หมวดวิชาที่ใหเลือกเสรี กำหนดให 3 หนวยกิต เทานั้น หมวดนี้เปนความสนใจเฉพาะของคนที่จะมาอยูอาศัยหรือคือคนที่จะมาเรียน กำหนดไวไมสูง/กวาง/ ใหญเกินนั้น แตวาในนั้นจะมีอะไรใหเลือกได คือ คนเรียนเลือกได เปนอิสระเพียงนิดเดียวของผูมาเรียน เลือกได สวนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กับหมวดวิชาเฉพาะดาน เจาของหลักสูตรกำหนดวา จะตองเรียนใหครบ ทุกวิชาจึงจะจบ แตหมวดวิชาเลือกเสรีมีใหเลือกวา ยังมีขนมหวานใหเลือก 4 ถึง 5 ชนิด เลือกสั่งเองตามที่ ชอบได เพราะฉะนั้นตรงนี้ตองมาทำความเขาใจกัน ในการประชุมปฏิบัติการครั้งนี้ ผูที่เปนหลักในการออกแบบหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน และดูแลทั่วไป มี ทานอาจารยจรูญ ถาวรจักร กรุณามาอยูเปนพี่เลี้ยงใหตลอด และมีอาจารยพัชรี สวางทรัพย อาจารย ประเสริฐ จริยานุกูล นอกจากนี้มี ดร.ไพฑูรย สินลารัตน เปนครู-อาจารย ทางดานศึกษาศาสตร ครุศาสตร มาใหความรูความเขาใจ นอกจากนี้ มีปฏิบัติงานกลุม ขอใหชวยกันคิดวา อยากเห็นทิศทางของการเปด หลักสูตรคือ การสรางพิมพเขียวของวิทยาลัยชุมชนไปทิศทางใด เพราะหัวใจทีจ่ ะทำใหวทิ ยาลัยชุมชนเขมแข็ง คือ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ไมใชเรื่องอื่นเลย

56

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


เมื่อพิจารณาหลักสูตร จะเกี่ยวพันไปเรื่องคุณภาพอาจารย ไอที (IT) สื่อการสอน การฝกงาน ซึ่งจะ สามารถประเมินไดชัดเจนขึ้น เพราะการศึกษาเปนวิธีการเรียนรูซึ่งจะใชประโยชน ในการดำรงชีวิตได ใน อนาคต จึงอยากใหทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทยสนใจตรงนี้ สวนมากการสัมมนาจะไมสนใจเรื่องนี้ ใน การสัมมนาเรื่อง World Class University หองเรียนจะเลอะเทอะอยางไรไมไดนำมาหารือกัน จึงเปนจุดออน ของอุดมศึกษาไทย ไมสนใจเรื่องหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ไปสนใจอะไรก็ ไมทราบ ไปเลาะ ขอบๆ รอบๆ นอก ไปเสียเวลาบริหารอุดมศึกษามาก แตไมสนใจบริหารหลักสูตร อยากเห็นการจัดสัมมนา ในเรื่องเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการศึกษาใหมากๆ สวนมากหัวขอสัมมนาจะไมเกี่ยวของกับเรื่อง หลักสูตร ดังนั้นขอใหจัดเกี่ยวกับหลักสูตรทุกๆ ป และควรมีการประเมินหลักสูตรทุกปดวย เพราะหลักสูตร มีความสำคัญ เปนพิมพเขียวในการสรางคน จึงนำเสนอวงจรชีวิตหลักสูตร 3 วงจร ดังนี้ วงจรที่ 1 การสรางหลักสูตร หรือปรับปรุงหลักสูตร การสรางหลักสูตรคือการสรางหลักสูตรใหม ขึ้นมา สวนการปรับปรุงหลักสูตร คือ การเอาหลักสูตรที่ใชอยูแลวมาปรับปรุงใหทันสมัย วงจรที่ 2 การบริหารหลักสูตร การบริหารหลักสูตรนี้จะมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อ วางแผนวา การเปดสอนภาคเรียนตอไป ปการศึกษาตอไปจะบริหารหลักสูตรนี้อยางไร จะจัดรายวิชาไหน ใน ชวงใด วันจันทร อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร เชา สาย บาย เย็น จัด lab หอง lab จัดการดูงานอยางไร นี่คือ การบริหารหลักสูตร แตละชั่วโมงใครจะมาสอน จะจัดใหดี ได ใหดูขอมูลปที่แลว ไดประเมินหลักสูตรและ ประเมินการบริหารหลักสูตรเปนอยางไรบาง วงจรที่ 3 การประเมินหลักสูตร การประเมินจะครอบคลุมทุกกระบวนการขั้นตอนของหลักสูตร คือ ประเมินทั้งดาน Output, Outcome และ Impact ของหลักสูตร เชน การบริหารหลักสูตร ทั้งหลักสูตรใหม หลักสูตรปรับปรุงแลว จะดูวามีขอขัดของอยางไรบางในปที่แลว สอนไปแลวเด็กจบแลวออกไปทำงานเปน อยางไร ผลดี ผลราย จะทราบขอมูลไดโดยการประเมิน หลักสูตร จะไดเอามาปรับปรุงในปนี้ เตรียม การวางแผนตอไป รวมทั้งดูวาหลักสูตรนี้จะลมเลิกไหม หรือจะปรับปรุงตอไป กลับมาสูวงจรการปรับปรุง หลักสูตรอีก ทั้ง 3 ขั้นตอน คือ วงจรชีวิตของหลักสูตร คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

57


คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

การศึกษาตองมีมาตรฐานเดียว มีหลักสูตรเปนพิมพเขียว เชน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตองมี มาตรฐานเดียวกัน ตองไดมาตรฐานเดียวกัน ตองมีมาตรฐานชาติอัน หนึ่งจะไดรูวาจะผลิตพลเมืองเปน พลเมืองมาตรฐานเดียวกัน ไม ใชพลเมืองหลายมาตรฐาน แตวิธี ไปสูมาตรฐานหรือวิธีการจัดการศึกษา ไมจำเปนตองแบบเดียวกัน เชน การศึกษาขั้นพื้นฐานของสิงคโปรมีมาตรฐานอันหนึ่ง ทั้งประเทศสิงคโปร ตองเรียนมาตรฐานเดียวกัน ของจีนก็ตองเหมือนกัน แต ไทย กับ จีน สิงคโปรมาเปรียบเทียบกันอาจจะ ไมเหมือนกัน แตคนในประเทศเดียวกันระบบการศึกษาเดียวกัน กระทรวงศึกษาธิการเดียวกันตองไดมาตรฐาน เดียวกัน มักจะมีความเขาใจผิดวา ถาจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เชน Home School แลวขอลดหยอนผอนโทษ หนอยได ไหม ไมตองไปสอบแขงกับเขา ตอบวาไม ได เพราะตองมีเครื่องมือวัดเดียวกัน สมัยผมเปนเด็ก ตอนสอบ ป. 4 เรามีขอสอบทั่วประเทศ เปน National Test คงจำได ใชสำหรับ ม. 8 และ มศ. 5 เปน มาตรฐานชาติดีอยูแลว ตอมาผูบริหารกระทรวงศึกษาธิการเขาใจคำวา School Autonomy ผิดไปจากความ หมายเดิมที่ Autonomy หมายถึงการจัดการศึกษามีรูปแบบจัดหลากหลายแตมาตรฐานตองอันเดียวกัน ขณะนี้ 38,000 โรง มีมาตรฐานเดียวกันไหม คำตอบคือไมเลย เพราะความไมเขาใจจึงใหโรงเรียนสอนเอง สอบเอง ตัดเกรดเอง ใหผานเอง แลวมาบนวาทำไมคุณภาพโรงเรียนไมเทากัน นั่นเปนเพราะไม ไดจัดเปน มาตรฐานเดียวกัน สมัยโบราณ กระทรวงศึกษาธิการทำถูกแลว จัดสอบ ป.4 ทั่วประเทศ จัดสอบ ม.8 หรือ มัธยมปลายดวย คือการศึกษา 12 ป จัด 2 ชวงชั้น ชวงชั้นที่เปนภาคบังคับชวงชั้นหนึ่งและมัธยมปลายอีก ชวงชั้นหนึ่ง ปการศึกษาหนาจะจัดแลว ตั้งแลวสำนักทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ จัดสอบเปนชวงชั้น ผม เปนคนออกแบบไว แตโชคดีที่รัฐบาลทำตอเนื่องแตก็ทำชามาก ควรจะออกมาเมื่อ 2 ปที่แลว เพราะตั้งใจวา เมื่อ 2 ปที่แลวจะทันทดสอบระบบนี้พอดี แตตอนนี้ไมทันแลว สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตั้งสำนักงาน เพื่อจะดูแลเรื่องนี้ เรียกวาสำนักทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ ทุกประเทศ ทั้งเอเชีย ยุโรป มีสำนักทดสอบ ทางการศึกษาแหงชาติ (National Education Testing) ทั้งนั้น ของเราตอไปนี้มีแลว ตองทำงานกันทั้งวัน ทั้งคืนเพื่อจัดตั้ง National Education Testing (N.E.T.) ประชาชนตื่นเตนเรื่อง Entrance ที่จริงเอ็นทรานซ เปนเรื่องนิดเดียวเทานั้นของระบบ National Test ที่เปน โอ-เน็ต (O-Net: Ordination National Educational Test หรือ เอ-เน็ต (A-Net: Advanced National Educational Test) ที่จริงเปาหมาย คือ ตองการใหมีมาตรฐาน แตการจัดการศึกษาจะเปนอยางไรเชิญตามสบาย

58

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


การศึกษาในระบบ คืออะไร ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมายถึง การศึกษาที่ กำหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไข ของการสำเร็จการศึกษาที่แนนอน ไมวาจะจัดในโรงเรียนของรัฐ หรือเอกชน การศึกษานอกระบบ คือการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกำหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดย เนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละ กลุม เปนการศึกษาสำหรับกลุมผูเรียนซึ่งไมสามารถเรียนในระบบได เชน เรียนตอนเย็น จัดวันเสาร วัน อาทิตย จัดที่วัด จัดที่โรงงาน จัดที่ไหนก็ไดตามสบาย แตตองภายใตมาตรฐานเดียวกัน การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลงความรู อื่นๆ ตรงนี้ มีความจำเปน นอยมากในประเทศไทย เพราะประเทศไทยมีโรงเรียนเกือบทั่วทุกมุมเมือง ประเทศที่เขามีพื้นที่กวางและพลเมืองนอยเขาจำเปนตองจัดตามอัธยาศัย Home School เชน แคนาดา ออสเตรเลีย เพราะเขาไมมีโรงเรียนและมันหางเปนรอยๆ กิโลเมตรจากบานไปโรงเรียน ของไทยจากบานไป โรงเรียน 2 – 3 กิโลเมตร ความจำเปนจึงนอย แตวาจะจัดระบบไหนก็ตามตองสงสอบ ตองสงผูเรียนไปสอบ ในขอสอบระดับชาติเหมือนกัน ประเด็นแรก ผลของการจัดการศึกษาของไทย มาจากหนังสือของสภาการศึกษา พบวา คนไทย ผู ใหญที่ยังอานไมออก เขียนไม ได 3.2% ถาผู ใหญหมายถึงประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป ก็จะมีประชากร ประมาณ 40 กวาลานคน 3.2% ของ 40 กวาลาน ประมาณลานกวาๆ ที่อานไมออกเขียนไมได ไมรูเวลาเขา ดูทีวี คนเหลานี้ทำอยางไร เพราะคนเหลานี้ภาษาไทยยังไม ได แลวรายการทีวีไทย ขณะนี้เต็มไปดวยภาษา อังกฤษ จึงคิดวา กศน.(สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย) นาจะไปหาวาคนไทยคน ไหนที่ยังอานไมออก แลวไปชวยใหอานออกเขียนไดจะเปนบุญเปนกุศล เปนงานมหาศาล ประเด็นที่สอง เด็กในวัยประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย เด็กในประถมศึกษาได เขาเรียนแตเรียนแลวอานไมออก เขียนไม ได ไดเขาเรียน 98% คำถามคือ 2% ไปอยูที่ ไหนบาง ระดับ มัธยมศึกษาตอนตนไดเขาเรียน 88% คำถามคือ 12% ที่ไมไดเรียนไปอยูที่ไหน เพราะยังไมถึงการศึกษาภาค บังคับ เฉพาะสองอันนี้ ถา กศน. ไปทำจะทำงานหนักมาก เปนงานมหาศาล คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

59


ประเด็นที่สาม เด็กในวัยมัธยมศึกษาตอนตนเขาศึกษาตอมัธยมศึกษาตอนปลายรวมทั้งประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ได 54% ไม ไดเขาเรียน 46% คนที่ ไม ไดเรียนอีก 46% จะทำอยางไรกับเขา ชวงนี้ บางสวนเปนเด็กวัยทำงาน คนวัยทำงานชวงอายุ 15-60 ป คนไทยวัยทำงานมีคาเฉลี่ยการศึกษา 7.8 ป เมื่อ 3-4 ปที่แลว รายงานวา 8-11 ป คือมีการศึกษาระดับ ม. 2 กวาๆ คำถามคือ ขณะนี้มีกฎหมายการศึกษา ภาคบังคับ 9 ป อีก 1 ปที่ขาดไป กระทรวงศึกษาธิการจะทำอยางไรกับคนเหลานี้ เพราะยังเรียนไมถึงการ ศึกษาภาคบังคับ และถาจะเรียนสามารถเรียนฟรี ได 12 ป ถาเขาอยากเรียนจริงจะทำอยางไรกับเขา การ ประกาศภาคบังคับเพิ่มจาก 4 ป เปน 6 ป หรือเปน 9 ป เราไปคิดถึงแตวัยเด็ก ไมไดคิดถึงคนที่ยังไมตาย แตพนวัยเด็กไปแลว และไดเรียนไมถึง 9 ป ทำไมไมคิดไปชวยตรงนี้บาง กรณีประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลเขามาชวยตรงนี้ เพราะคนจีนบานนอกไดรับการศึกษา เฉลี่ย 7 ป ในเมือง 10 ป มีชองวาง (Gap) อยู 3 ป ในขณะที่กำหนดการศึกษาภาคบังคับ 10 ป การปฏิรูป การศึกษาของจีน คือ ทำอยางไรใหคนบานนอกเพิ่มการศึกษาจาก 7 ป เปน 10 ป จะไดลดชองวางระหวาง คนในเมืองกับคนนอกเมือง มีตัวเลขรายงานวา คนบานนอกไทยการศึกษาเฉลี่ย 3 ปกวา ใครที่มาจากวิทยาลัยชุมชนภาคอีสาน ยืนยันตัวเลขนี้ ได ในเขตเทศบาล 7 ปกวา ในกรุงเทพฯ 12 ป สรุปการศึกษาเฉลี่ย12 ป เปนของคน กรุงเทพฯ เพราะฉะนั้นคนบานนอกกับคนในกรุง จึงหลอกกันงาย แลวอำนาจอะไรไมมีเลย อำนาจในการคิด อำนาจในการเลือกเสนทางชีวิต เสนทางอาชีพ ดังนั้น ถาจะทำอะไรตอตองทำตรงนี้ คือ คนไทยทั้งหมด 40 กวาลานคนที่อยูวัยทำงานจบประถมศึกษา (ป. 6) 57% จะยกระดับไดไหมเปนการศึกษาภาคบังคับ ทำอีก 3 ป 57% ของ 40 กวาลาน คือ 20 กวาลาน กศน. จะตองทำงานเยอะมากถารับผิดชอบงานตรงนี้ ผมคิดวา ถา กศน. ทำงานตรงนี้ ตองตั้งทบวง กศน. เปนการเฉพาะ

การศึกษาและการเรียนรู

ขอทำความเขาใจกับคำ 2 คำ คือ การศึกษา และการเรียนรู จะเสนอภาพรวมการศึกษาของประเทศ ไทยกอนวา วิทยาลัยชุมชนอยูตรงสวนไหนของการพัฒนาประเทศ เปนภาระเรงดวนที่จะตองเขาไปแกระบบ การศึกษา และที่จะตองทำความเขาใจกอน คือ 2 คำนี้ 1. การศึกษา (Education) คือ ระบบที่รัฐแตละประเทศ ไดออกแบบเพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางเปน ระบบกับประชาชนภายในประเทศ เพราะฉะนั้นระบบการศึกษาตองเปนเชิงขององคความรูที่ดีที่สุด มีคุณคา

60

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ที่สุด วงกลมความรูตองยอดที่สุด เพื่อจะใหเลือกชิ้นเนื้อในนั้นออกมาเปนหลักสูตรแตละหลักสูตร เพราะ ตองการคนที่มีความรู ออกไปทำมาหากิน รับผิดชอบบานเมือง ดังนั้นหลักสูตรและการศึกษาก็จะเปนระบบ ที่แตละประเทศออกแบบไว 2. เรียนรู หรือ การเรียนรู (To Learn) คำวา การเรียนรู (To Learn) แปลวา กระบวนการสราง การเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน 3 ดาน คือ 2.1 ความรู หรือทฤษฎี เปนความรูจากสิ่งที่ไมรู คือ ความรู อันนี้เรียกวา เรียน 2.2 ทักษะ คือ การฝกฝนจากสิ่งที่ทำไมได เปนทำได 2.3 เจตคติ หรือ อุดมการณ เปนเรื่องที่เกิดจากการที่ไมมีความคิดอยางนั้น เปนมีความคิด หรือคานิยมอยางนั้น หรือการเปลี่ยนคานิยมใหดีขึ้น ถูกตองขึ้น เพราะฉะนั้นการศึกษาจะเปลี่ยนแปลง 3 อยาง คือ - เปลี่ยนแปลงจากไมรูเปนรู - เปลี่ยนจากทำไมไดเปนทำได - เปลี่ยนแปลงจากมีความคิดที่ไมตรง ไมถูกตองมาเปนคิดตรง คิดถูกตองและเที่ยงธรรม มนุษ ยเรียนรูตลอดเวลาตั้งแตเกิดจนตาย เรียนรูทั้งที่บาน นอกบาน เรียนรูทั้งในโรงเรียน นอก โรงเรียน เรียนรูตลอดเวลา เวลาที่ผานไปก็ไดสั่งสมความรูไว มนุษยสรางความรูดวยและสั่งสมความรูดวย ความรูที่มนุษยมีจะอยู 2 ที่ คือ 1) ความรูที่อยูนอกตัวคน (Extrinsic Knowledge) เชน ความรูในศิลาจารึก ในสิ่งแวดลอมทั่วๆ ไป ในโมเดล (Model) ในรูปแบบที่มนุษยสรางไวแลว แลวคนอื่นก็ไปดูแลวก็เห็น เปนความรู ไปดูเขาใชเบ็ด อยางไร เขาใชเหยื่ออยางไร จับปลาอยางไร เปนความรูทั้งนั้น หรือความรูที่อยู ในสื่อตางๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส อันนี้เปนความรูนอกตัวคน 2) ความรูที่อยูในตัวคน (Intrinsic Knowledge) ความรูที่อยูในตัวบุคคล ความรูที่อยูในตัวปราชญ ความรูที่อยู ในตัวพวกเราทุกคน ความรูที่อยู ในคุณแมที่รูวิธีแกงสมอรอย ซึ่งคนอื่นไมรู และความรูนี้เปน ทักษะดวย การเรียนรูจึงเกิดขึ้นไดทุกที่ทุกทาง เราเรียนรูจาก Extrinsic Knowledge ทั่วไป และจาก Intrinsic Knowledge จากพอ แม ครูบาอาจารย จากปราชญ ชาวบาน กวางมาก เพียงแตจะจัดหมวดหมูความรูใน โลกนี้ของมนุษ ย ไวอยางไรเทานั้นเอง แบงใหมันเปนหมวดหมูทั้งความรูที่มีมาแลว ทั้งภูมิปญญาชาวบาน คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

61


สมมุติความรูเปนเคกกอนหนึ่ง ยูเนสโก (UNESCO) เอาความรูมาแบงเปนชั้นๆ แลวเขาเรียกวา “สาขาวิชา” (Discipline) เชน ความรูเกี่ยวกับการเกษตร มีตั้งแตการเกษตรภูมิปญญาชาวบาน จนกระทั่งเกษตร แผนใหม ความรูเรื่องสมุนไพร มีทั้งสมุนไพรไทย สมุนไพรจีน ความรูเรื่องศึกษาศาสตร ความรูเรื่องทำ อาวุธ การทำสงคราม ยูเนสโก (UENSCO) มีกรรมการแบงกลุมวิชา เชน กลุมความรูมนุษ ย เปนตน เรียกวา สาขาวิชา และใหความหมายไวดวย เชน หลักสูตรคือ พิมพเขียวที่ออกแบบไววาจะสรางคนใหมี คุณลักษณะอยางไร เชน คนที่จบออกมา รูอะไร ทำอะไรเปน มีคุณธรรมอยางไร นักศึกษาที่มาเรียนรูกับ วิทยาลัยชุมชน เมื่อจบแลวเปนคนดี มีความรู มีคุณธรรม จริยธรรม เปนตน ขณะนี้วิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรอนุปริญญา ตัวอยางเชน สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น ตองการ สรางพิมพเขียว เพื่อใหผูจบมีความรูการปกครองทองถิ่นเรื่องอะไร มีทักษะการปกครองทองถิ่นเรื่องอะไร เปนคนมีระบบคุณคา มีคุณธรรมในการปกครองทองถิ่นอยางไร ก็นำมาใสไวในหลักสูตร เมื่อวิเคราะหควร จะไดเนื้อหาวิชา เนื้อหาความรูจากสาขาอะไรบาง ก็ ไปดูจากความรูของมนุษ ยทั้งกอน แลวเอามาทำเปน หมวดวิชา ซึ่งมี 3 หมวดหลัก คือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะดาน และหมวดวิชาเลือกเสรี ภายใตหมวดวิชาจะมีกลุมวิชา เชน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มี 4 กลุมวิชา ไดแก - กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร - กลุมวิชามนุษยศาสตร - กลุมวิชาสังคมศาสตร - กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากหมวดวิชา วิเคราะหระดับกลุมวิชา แตละกลุมวิชา รวมมีกี่หนวยกิต เอามาแบงเปนรายวิชา รายวิชานี้ภาษาอังกฤษใชคำวา Course แตละ Course แตละรายวิชา มาดูวาการจัดการศึกษาใหมีอะไรบาง ประเทศไทยออกแบบการศึกษาไวเปนชุด เชน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเด็กเล็ก ทางดานรางกาย จิตใจ ความคิด และทางสังคม รวมทั้งทางดานจริยธรรมดวย เปนระบบการพัฒนาเด็กเล็ก สูงขึ้นมาก็เปนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต ป.1 ถึง ม.6 (12 ป) แบงเปน 4 ชวงชั้น คือ ชวงชั้นที่ 1 คือ ป.1 – ป.3 ชวงชั้นที่ 2 คือ ป.4 – ป.6 ชวงชั้นที่ 3 คือ ม.1 – ม.3 ชวงชั้นที่ 4 คือ ม.4 – ม.6

62

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


การศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education) วันนี้ ทั่วโลกจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประมาณ 11 - 13 ป เนื่องจากองคความรูมีมาก สมัยกอนการศึกษาพื้นฐานอาจมีไมกี่ปได ประเทศไทยจัด 12 ป ระบบอังกฤษ ใช 13 ป ประเทศออสเตรเลีย 11-13 ป บางประเทศ 11 ป ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานมีวัตถุประสงค เพื่อสรางพลเมืองในอนาคต เพราะฉะนั้น รัฐบาลไทยตอง เอาคำถามมาตั้งวา ในอนาคต เด็กเล็ก เด็กใหญที่จะโตเปนพลเมือง เขาควรจะรูเรื่องอะไร เขาควรจะทำ อะไรเปน เขาควรจะมีคุณคา คุณธรรม ระบบคุณคาคุณธรรมอยางไร ก็ใสลงไปในหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน อยากใหพลเมืองไทยทำอะไรเปนก็สงลงในเนื้อหาของหลักสูตร จากนั้นไปสรางพลเมืองไทยออก มาเปนชุดตามที่กำหนดไว

ระบบการศึกษาไทย

โครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการประกอบดวย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และองคกรในกำกับ ฯลฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แบงตามโครงสรางของ สกอ. จะมีเลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา มีกรรมการการอุดมศึกษา และมีสำนักตางๆ มีหนวยงานกึ่งอิสระ มีมหาวิทยาลัย ของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน และมีวิทยาลัยชุมชนขึ้นกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ระบบการศึกษาเปนองคความรูที่ดีที่สุด เพราะเราตองการคนที่มีความรูเพื่อออกไปประกอบอาชีพ เมื่อจัดระบบการศึกษาแลว เราก็จัดหลักสูตรขึ้นมา หลักสูตรคือพิมพเขียวเพื่อใหเกิดการเรียนรู การเรียนรู คือ การเปลี่ยนแปลง 3 ดานดังกลาวมาแลว หลักสูตรพื้นฐาน หลายประเทศบอกวาการเปนพลเมืองดี สมบูรณไดตองเรียน 12 ป และตองมีเงินจัดได แตหลายประเทศจัดไมไดไมมีเงิน เพราะฉะนั้น จึงไดกำหนด คำขึ้นมาหนึ่งคำ คือ การศึกษาภาคบังคับ และผูตองการเรียนตอก็สามารถศึกษาตอระดับอุดมศึกษาได ดังนั้น ระบบการศึกษา มี 2 ระบบดวยกัน คือ 1. การศึกษาภาคบังคับ คือ การศึกษาที่รัฐไดออกกฎหมายบังคับใหประชาชนตองเรียนอยางนอยจะ ตองมีความรูระดับนี้ มีทักษะระดับนี้ มีระบบคุณคา คุณธรรมระดับนี้ ระดับที่ ไดนอยที่สุดเทานี้ ต่ำกวานี้ ไมยอม คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

63


ประเทศไทยเริ่มมีการศึกษาภาคบังคับตั้งแตรัชกาลที่ 6 คือ มี 4 ป เรียน ป.4 ตอมามีถึง 6 ป คือให เรียนถึง ป. 6 เรียน 4 ปไมพอแลวเพราะความรูเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตอมากำหนดเพิ่มเปนบังคับเรียน 9 ป เรียน 6 ปไมพอแลว แตการกำหนดการศึกษาภาคบังคับขึ้นกับแตละประเทศ บางประเทศจะบังคับตองเรียน ประเทศไทยบังคับพอ แม ผูปกครอง ถาใครมีลูกวัยเกินเรียนแลวไมสงเขาโรงเรียนไมจบการศึกษา ภาคบังคับ จะปรับพอแม กฎหมายใหปรับ 1,000 บาท ที่เวียดนามไมปรับพอแม แตปรับกำนัน ผูใหญบาน ถามีเด็กในหมูบานไม ไดเรียนการศึกษาภาคบังคับจะถูกปรับ บางประเทศบอกบังคับใชการศึกษาภาคบังคับ กับผูใหญดวย ผูใหญที่ตอนเปนเด็ก การศึกษาภาคบังคับ 4 ป ก็จบ 4 ปจริงๆ แลวมาถึงวันนี้แกยังไมตาย และยังทำงานอยู แลวเราบอกวาอยางนอยคนไทยตองรู 9 ป จะบังคับรัฐใหจัดใหหรือไม ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เขียนไวบังคับรัฐจัดฟรี 12 ป มาตรา 43 บอกไว รัฐจะตองรับผิดชอบในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางนอย 12 ป แลวจัดโดยไมคิดคาใชจาย หมายความวารัฐธรรมนูญตองการบังคับรัฐ รัฐออกกฎหมายตามหลังรัฐธรรมนูญ ออกกฎหมายบังคับ ประชาชนเรียนอยางนอย 9 ป แลวก็บอกวา ถาคุณไมสงลูกเรียน 9 ป ฉัน ปรับคุณ 1,000 บาท แต รัฐธรรมนูญบังคับใหรัฐจัด 12 ปฟรี ปญหาคือ ถารัฐไมจัดใครจะลงโทษรัฐ เพราะวาไมทำตามรัฐธรรมนูญ เพราะฉะนั้ น เมื่ อ รั ฐ ธรรมนู ญ ออกมาอย า งนี้ เด็ กไทยต อไปนี้ จ ะต อ งจบการศึ ก ษา 9 ป และถ า ประชาชนอยากเรียน 12 ป รัฐตองจัดใหซึ่งการจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ 1) การศึกษาในระบบ 2) การ ศึกษานอกระบบ และ 3) การศึกษาตามอัธยาศัย ตามที่กลาวไวขางตน 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา ฐานเริ่ม คือ ระดับอนุปริญญา ในนิยามของพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ ระบุวาการศึกษาระดับอุดมศึกษา คือ การศึกษาหลังการศึกษาขั้นพื้นฐาน เริ่มตนที่อนุปริญญา แลวแบงเปนสายวิชาการ และสายผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญ สายวิชาการ วิชาชีพ ก็จะมี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หลังปริญญาเอก มีจำนวน 4 ระดับชั้นดวยกัน เหนืออนุปริญญา คือ ปริญญาตรี โท เอก หลังปริญญาเอก สายผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญมี ประกาศนียบัตรบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษ ฎีบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิต รับจากผูที่จบปริญญาตรี มาเรียนเนนเฉพาะทักษะวิชาชีพชั้นสูง ประกาศนียบัตรดุษฎีบัณฑิต รับจากผูที่จบปริญญาเอกมาฝก สองอัน นี้บานเรายังไมมี นอกจากนั้นก็ยังมีวุฒิบัตร นี้คือประเภทของ อุดมศึกษา

64

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


สถาบันอุดมศึกษาของไทย เปนการปรับรูปแบบของสหรัฐอเมริกา เปนโมเดลของสหรัฐอเมริกา การ แบงสถาบันอุดมศึกษาโดยทั่วไปในโลก แบงเปนกลุมๆ ดังนี้ 2.1 ระบบแรก คือ วิทยาลัยชุมชน ประเภทแรกสุดเลยรับผูสำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐานจากไฮสคูล จาก มัธยมศึกษาตอนปลาย จากการศึกษาขั้นพื้นฐานเขาไปเรียน วิทยาลัยชุมชนในอเมริกาพัฒนามารอย กวาป เพราะฉะนั้นขณะนี้เปนรูปแบบที่คงที่สมดุลพอสมควร ในอเมริกามีวิทยาลัยชุมชนพันกวาแหง ของเรา มี 17 แหง แตละแหงของอเมริกาเปนวิทยาลัยขนาดใหญ หลักสูตรวิทยาลัยชุมชน มีคูมือหลักสูตรแตละแหง เปนรอยๆ หลักสูตร ผลิตคนเปนรอยๆ ประเภท แตละแหงมีพื้นที่เฉพาะรับผิดชอบ ผลิตคนไปพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจ ยกตัวอยางเชน ที่มลรัฐฮาวายมีเกาะตางๆ เปนรอยเกาะ มีวิทยาลัยชุมชน 7 แหง แตละแหง ครอบคลุมกี่เกาะ แบงกันดูแลรับผิดชอบ เปนตน ดังนั้น ถารัฐจะพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในเกาะเหลานั้น ก็จะมาคุยกับวิทยาลัยชุมชน ใหจัดหลักสูตร สรางคนเพื่อออกไปพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในกลุมพื้นที่ เฉพาะแตละแหง วิทยาลัยชุมชนอยูภายใตมหาวิทยาลัยฮาวาย ผูเรียนจบสามารถตอมหาวิทยาลัยฮาวายได หรือจบจากวิทยาลัยชุมชนมีอาชีพแลวไมเรียนก็ได มลรัฐแคลิฟอรเนียมีวิทยาลัยชุมชนจำนวนมาก เพราะเปน มลรัฐที่ ใหญ มลรัฐโอไอวามีนอยแตครอบคลุมทุกพื้นที่ มลรัฐอิลลินอย ชิคาโก นิวยอรก จะมีวิทยาลัย ชุมชนทั้งสิ้น ทั้งในเมือง นอกเมือง ครอบคลุมหมด แลวอุดมศึกษาก็รับชวงกันไป 2.2 ระบบที่สอง คือ มหาวิทยาลัยทั่วไป เปนพวกมหาวิทยาลัย ของเราก็เปนมหาวิทยาลัยเอกชน เปนสวนใหญ ขณะนี้มหาวิทยาลัยของรัฐ เปนระบบมหาวิทยาลัยราชภัฏ ระบบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลก็อยู ในกลุมที่สอง เนนปริญญาตรีเปนหลัก ไมสอนอนุปริญญา อาจมีปริญญาโทดวย บางแหงเริ่ม สอนปริญญาเอก 2.3 ระบบสุดทาย คือ มหาวิทยาลัยที่สอนเฉพาะหลังปริญญาตรี โท เอก หรือหลังปริญญาเอก ใน อเมริกา จึงมีขอหามอยูอันหนึ่งวา “หามวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี” ลองมาวิเคราะหของไทย ขณะนี้มี มหาวิทยาลัยของรัฐ เอกชน รวมกันทั้งสิ้นประมาณ 177 แหง ใน 72 จังหวัด แนนอนกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลมีมากที่สุด เพราะความเจริญ ศูนยอำนาจอยูในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในจำนวน 177 แหงยังมี หนวยหรือศูนยบริการของมหาวิทยาลัยไปสอนตามที่อื่น ตางจังหวัด นอกที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอีก สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารวม 300 กวาแหง นอกจากมหาวิทยาลัยกลางแลวยังมีศูนยบริการฯ ภายนอก อีก สมมุตมิ หาวิทยาลัยมหาสารคามอยูต รงนีก้ ม็ จี ดุ ที่ไปสอนอยูท ตี่ า งๆ รวมทัง้ ในกรุงเทพฯ ดวย มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิตมีหนวยไปสอนที่อื่น 30 แหง มหาวิทยาลัยราชภัฏฉะเชิงเทราก็มีอีกหลายแหงเต็มไปหมด คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

65


รวมแลวมีปริมาณมหาศาล ที่ใหขอมูลเชนนี้ เพราะไมอยากเห็นวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี อยาไดทำ ถาไปสอนปริญญาตรี เมื่อใด จะไปดึงดูดทรัพยากร ทั้งเวลา คน เงิน และจะเลิกทำหนาที่วิทยาลัยชุมชนไปอัตโนมัติ ประโยชนจะ ไปตกกับคนที่จบปริญญาตรี เรียนปริญญาตรีที่ไหน ขณะนี้ที่ตั้งมหาวิทยาลัยหลัก 170 กวาแหงและยังมีที่ไป สอนในที่ตางๆ ตามสาขาอีก 300 สาขารวมทั้งหมด 500 - 600 แหง มีท่เี รียนปริญญาตรีมากมาย แตปญหา คือ หลังเรียนจบ ม. 6 แลวคนสวนหนึ่งไมรูจะไปไหนยังมีจำนวนมากในจังหวัดที่วิทยาลัยชุมชนรับผิดชอบอยู อยาใหวิทยาลัยชุมชนไปรับใชคนกลุมนอย แลวทำใหคนกลุมใหญเสียโอกาส อยากขอรอง ไดขาววาวิทยาลัยบางแหงทนไมไหวอยากเปดปริญญาตรี ผมจะเสียใจมาก ถาจะทำลายระบบนี้ไป ประเทศอื่นที่มีวิทยาลัยชุมชนจะกำหนดหนาที่ชัดหามเปดปริญญาตรีเด็ดขาด เหมือนนิดา (NIDA) จะสอน ปริญญาตรี ไ ม ได จะเสียความเปน มหาวิทยาลัยที่สอนเฉพาะบัณฑิตศึกษาไปเลย วิทยาลัยชุมชนเชนกัน รับผิดชอบงานเยอะ งานในจังหวัดมีมหาศาล อยาไปสอนในระดับปริญญาตรี จะใหกราบที่ไหนก็ได จะกราบ ให อยาทำลายระบบวิทยาลัยชุมชน จะกลายเปนทำลายโอกาสพวกตาดำๆ ที่จบ ม.6 แลวเควงควางไปมา “วิทยาลัยชุมชนเปนการศึกษาของประชาชนบริหารจัดการโดยประชาชนและจัดตามความตองการ ของประชาชน” นี่เปนปรัชญาสำคัญ ไมทราบวาปรัชญานี้จะยืนไปไดนานสักเทาใด ขึ้นกับทางการเมือง ปรัชญาของ เราขณะนี้เปนระบบเดียวที่การสรรหาผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนทำกันโดยผูแทนประชาชนในจังหวัดมาเปน กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ไมตองสั่งมาจากกรุงเทพฯ อีกตอไปแลว หลักสูตรเกิดขึ้นจากทองถิ่นชวยกัน คิดวา จะสรางผูจบการศึกษาอยางไรประเภทไหนดี เพื่อความสอดคลองกับความตองการทองถิ่น เปนระบบ การศึกษาระบบเดียวเทานั้นในประเทศไทยที่ทำไดแบบนี้ โรงเรียนเทศบาลยังทำไมไดเลย โรงเรียนเทศบาล ที่สอนประถมศึกษา มัธยมศึกษา ยังเอาหลักสูตรมาจากสวนกลางไปสอน ดีหนอยที่ใหเอาเนื้อหาในทองถิ่น 30% แตวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยคิดเองไดหมดเลย จะสรางหลักสูตรอะไรไมมี ใบสั่งมาจากสวนกลาง ที่ สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) ไมมีสิทธิ์ไปบอกทานวา เปดหลักสูตรนี้ ปดหลักสูตรนี้ ไมมี สิทธิ์เปด แลวสิทธิ์ไปอยูที่ไหน สิทธิ์อยูที่สภาวิทยาลัยชุมชน หรือคนในจังหวัดชวยกันคิดแลวเสนอสภาฯ

66

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ความเชื่อมโยงของวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนเปนระบบการศึกษาที่เชื่อมโยงกับระบบการศึกษาอื่น ๆ ดังนี้ 1. เปนสะพานเชื่อมระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการศึกษาระดับปริญญา เชื่อมไดมากที่สุด ทำได มากที่สุด ในบางจังหวัด แตละอำเภอมีโรงเรียนมัธยม 1-2 แหง บางอำเภอมากกวา 2 แหง เด็กจบ ม.6 แลวไปเขามหาวิทยาลัยไมไดทุกคน เพราะความยากจน เพราะมีจำนวนรับจำกัด และอื่นๆ ถาไมมีวิทยาลัย ชุมชน เขาจะเควงควาง รับจางสงยาบา ไปทำสิ่งผิดกฎหมาย ที่ผานมาไมเคยเรียนวิชาไถนาจากปู ยา ตา ยาย หรือนอยมาก ทำใหขาดการเรียนรู ทักษะ ภูมิปญญาชาวบาน ทักษะทำกับขาว ฯลฯ เพราะระบบการ ศึกษาไปพรากลูก /หลานจากการเรียนรู ในวัด ในบาน ในชุมชน แตถูกจับมาใส ในโรงเรียน 12 ป เรียน จันทรถึงศุกร เทานั้น ทานพุทธทาสบอกวา “การศึกษา หมาหางดวน” กระดิกหางยังไมเปนเลย พอจบ ม.6 ไปไหนก็ไมได เปนมนุษยสุกๆ ดิบๆ เดิมเด็กชายหัดสานกระบุง เด็กผูหญิงหัดทอผา หัดทำกับขาว หัดทำความสะอาดบาน เรือน แตระบบโรงเรียนไมทำในเรื่องเหลานี้ พอจบ ป.6 ทำอะไรไมเปน ไดแตนุงกางเกงยีนส ใสเสื้อยืด ชุด กะเหรี่ยงไมเอาแลว เราไปเอาพอแมเขามาแลวถาม เขาวาอยากใหอะไรลูกหลานบางนอกจากวิชาที่สอน พอ แมอยากใหสอนลูกเขา รักดิน รักน้ำ รักตนไม ไดไหม เพราะกะเหรี่ยงอยูกับปา อยากใหสอนทำการเกษตร เปน ใหสอนวัฒนธรรมกะเหรี่ยง ในเมืองก็เหมือนกัน ไมมีการเรียนรูใหตัวเองอยูได แตอยูงายขึ้น เพราะมี อาหารถุง 3 มื้อ ไมตองทำกับขาวเอง วิถีชีวิตเปลี่ยนไป ระบบการศึกษาถาจบ ม.6 แลว ทำอะไรไมไดเลย ที่ตางประเทศจึงไดจัดวิทยาลัยชุมชนขึ้นมา เพื่อรองรับใหศึกษาตอขึ้นไปอีก เปนสะพานเชื่อมระหวางระบบ การศึกษา การฝกอบรม กับโลกของการทำงาน เพราะฉะนั้นวิทยาลัยชุมชนตองเนนตรงนี้อยางมาก ใน หลักสูตรตองเนนตรงนี้ 2. เปนสะพานเชื่อมระหวางหลักสูตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจในชุมชน เพราะ หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตองเปดเร็ว ปดเร็ว ตามความตองการของชุมชน หลักสูตรตองพัฒนาไปพรอมกับ การเปลี่ยนแปลงของชุมชน ทั้งเศรษฐกิจและสังคม เพราะเปาหมายของวิทยาลัยชุมชน คือ 2.1 พัฒนาชีวิตของคนในชุมชน ผานกระบวนการเรียนรู และฝกฝนตนเอง 2.2 ใหการศึกษาและฝกอบรม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางวัตถุ สิ่งแวดลอม สังคม และ วัฒนธรรม คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

67


2.3 ใชการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีสำหรับปจเจกบุคคล สำหรับครอบครัว และชุมชน ประเด็นการเรียนภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ เมื่อมีกระแสการเปลี่ยนแปลงสังคมเกิดขึ้น และวิทยาลัย ชุมชนไดจัดระบบการศึกษาที่รวมการเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ดาน คือ ความรู ทักษะ คุณคา คุณธรรม แลว จะ เปนภูมิคุมกันลูกศิษยที่จบอนุปริญญา ภูมิคุมกันสำหรับปจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน ไมวากระแสพัฒนา ที่ ไหนเขามาจะมีภูมิคุมกัน ที่ดี เชน มีหวยออนไลน แตวาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปมีการสอนใหความรู ใหคุณคาในเรื่องศีลธรรม วัฒนธรรมที่ดี ปฏิเสธอบายมุข ลูกศิษยก็จะปฏิเสธอบายมุข หวยออนไลนเขามา ก็ไมกระทบ เพราะไมไดลุมหลงติดการพนัน นี่คือ ระบบภูมิคุมกัน กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ลงไปสูชุมชนมีทั้งกระแสที่ดีขึ้นและเลวลง คำถามคือ “วิทยาลัย ชุมชนจะมีบทบาทอยางไรที่จะทำใหคนในชุมชนหรือลูกศิษ ยฉลาดพอที่จะแยก เลือกไดวา กระแสอะไรที่ นำความดีมาให และนำเอาความไมดี ความชั่วมาให” ตองแยกไดและตองกลาที่จะยืนหยัดตอสูกับความ ถูกตอง ความดีอันนั้น ถาทานทำได วิทยาลัยชุมชนจะมีประโยชนมหาศาลตอการอยูรอดของชุมชนและ ความเขมแข็งของชุมชน

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชน

ความเปนตัวตนที่แทจริงของวิทยาลัยชุมชนเริ่มจากพิมพเขียว คือ หลักสูตรที่จะสรางคน ออกแบบคน ใหรูทันการเปลี่ยนแปลงตางๆ หลักสูตรจะแบงออกเปนหมวดวิชา จากหมวดวิชาแบงเปนกลุมวิชา และจาก รายวิชาจะเปนอะไร ตองทำความรูจักรายวิชาคืออะไร รายวิชา เปนหนวยที่เล็กที่สุดของการจัดการศึกษา เราไมสามารถแบงเล็กกวานั้นไดอีก จึงกำหนด เปนรายวิชา เมื่อหลายๆ รายวิชารวมกัน จะออกมาเปน 1 กลุมวิชา หลายๆ กลุมวิชาจะออกมาเปนหมวด หลายๆ หมวดวิชาจะออกมาเปนหลักสูตร ในหลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตอนนี้ ตองสรางคนใหมี 2 องคประกอบหลักๆ คือ (1) นักวิชาชีพ และ (2) ความเปนคน ในเกณฑมาตรฐานโครงสรางหลักสูตร มีหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะดาน และ หมวดวิชาเลือกเสรี แตละหมวดหมายความวาอยางไร 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เปาหมายเพื่อผลิตคนที่สมบูรณ ตามปรัชญาของหลักสูตร และตาม วัตถุประสงคของหลักสูตร หมวดวิชาเฉพาะดานผลิตนักวิชาชีพ แตเปนนักวิชาชีพอยางเดียวไมพอตองเปน

68

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


คนที่สมบูรณเพื่อรองรับฐานวิชาชีพนั้นดวย มิฉะนั้นจะไดแตนักวิชาชีพแตเปนคนไมมีจรรยาบรรณ เปนคน ขี้โกง เปนคนที่เขากับใครไมได ทำงานที่ไหนก็ไมได พูดไมรูเรื่อง รูแตบัญชีอยางเดียว อยางอื่นไมรูเลย หมวดวิชาศึกษาทั่วไปมี ไวเพื่อทำใหเขาเปนคน ตองการความเปนคนที่พรอม สมบูรณ มีลักษณะ ที่พึงประสงค เชน บัณฑิตที่จบแลวมีคุณลักษณะที่พึงประสงค 1, 2, 3, 4, 5 สวนวิชาชีพก็ใสวิชาเฉพาะดาน สวนที่อยูนอกเหนือวิชาชีพ คือความเปนคนทั่วๆ ไป นำมาใสในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หรือเรียกอีกอยางวา เปนลักษณะทั่วไปของความเปนคน เปนคุณสมบัติทั่วไปของนักวิชาชีพ 2. หมวดวิชาเฉพาะ บางทีเรียกวา หมวดวิชาเอก หรือหมวดวิชาเฉพาะดาน หมวดวิชาเฉพาะเปนกลุม เนื้อความรูของมนุษย ที่เอามาจากวงเคกความรูแตละศาสตร แลวแบงเปนสาขาวิชา อยากใหคนจากที่ไมรู อะไรแลวตองการใหมารูเรื่องอะไร อยากใหคนที่ทำอะไรไมเปนแลวตองการใหมาทำอะไรเปน ใหนำมา กำหนดในหมวดนี้ สุดทายคนจบมาแลวตองเปนไปตามวัตถุประสงคหลักสูตร คือ รูอะไร ทำอะไรเปน และมี คุณคาอะไร นั่นคือ กำหนดองคความรูหรือเนื้อหาความรู ใส ไว ในหมวดวิชาเฉพาะ เพื่อไปผลิตบุคลากร ประเภทนั้นๆ เชน หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น เมื่อจบแลวมี วัตถุประสงค 4 ขอ คือ 1, 2, 3, และ 4 จะตองทำใหบรรลุวัตถุประสงค ทำอยางไรจะใหผูจบไดทั้ง 4 ขอ ดังนั้น จึงตองกลับมาพิจารณาเนื้อหาวิชาและการฝกปฏิบัติอยางไร นำมาใส ไว ในหมวดวิชาเฉพาะดาน จบ ออกมาเปนนักบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรืออนุปริญญาสาขาบัญชี จบออกมาเปนนักบัญชี หรือ หลักสูตรผูดูแลศูนยเด็กเล็ก ออกมาเปนผูดูแลศูนยเด็กเล็ก ดังนั้น หมวดวิชาเฉพาะดาน คือ เนื้อความรู ในสวนที่ผูเรียนจะเปนนักนั่น นักนี่ แตการที่เขาจะเปน นักนั่น นักนี่ เขาจะตองมีความเปนคนที่พึงประสงค เปนนักบัญชีแตก็ตองเปนคนที่พึงประสงค เปนหมอ ก็ตองเปนคนที่พึงประสงค เปนทนายความก็ตองเปนคนที่พึงประสงค วิทยาลัยชุมชนจึงตองประกันผูจบวา ความเปนคนของผูจบจากวิทยาลัยชุมชนอยูตรงไหน ซึ่งอยูในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป คือ พัฒนาความเปนคน หมวดที่ 1 และ 2 ที่กลาวมา เปนหมวดที่ผูเรียนถูกบังคับใหเรียนแลวจึงจะไดอนุปริญญา และเพื่อ ตอบสนองผู เรี ยนที่มีความสนใจแตกตา งกันไป จึ งได มีห มวดวิ ช าอี ก หมวดหนึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น คือ หมวดที่ 3 หมวดวิชาเลือกเสรี 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ตองการใหสอดคลองกับความสนใจเฉพาะของผูเรียนแตละคนหรือตาม ศักยภาพผูเรียน เพราะฉะนั้นหมวดวิชาเลือกเสรีเปนหมวดวิชาที่สถานศึกษาสรางรายวิชาไวจำนวนมากขึ้น บัญชีไว เปนบัญชีหมวดวิชาเลือกเสรี เราจึงตองรูธรรมชาติผูมาเรียน นอกจากหลักสูตรที่เปนหมวดวิชาหลัก คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

69


แลวเขาสนใจอยากจะรูอะไรเพิ่ม ตองอาศัยความเขาใจในภูมิหลังและสังคมในจังหวัด ความเขาใจคนที่จะมาเรียน เชน วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มีหลักสูตรอนุปริญญาการบัญชี การตลาด หมวดวิชาเลือกเสรีจะเปดอะไรใหเขาเลือกเรียนจึงจะสอดคลองความตองการสำหรับคนอยูภูเก็ต อาทิ วิชา การแลนเรือยอรช 3 หนวยกิต วิชาการทำปลาเกา วิชาการตกปลาทะเลน้ำลึก วิชาการดำน้ำ ที่มีทั้งทฤษฎี และปฏิบัติ บางครั้งวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรีสามารถนำไปทำมาหากินได จึงอยากฝากผูอำนวยการวิทยาลัย ชุมชน ใหความสนใจตรงนี้เปน พิเศษ ชวยสรางหมวดวิชาเลือกเสรี ไมจำกัดวาเปนผูเรียนหลักสูตรไหน ตางคนตางมาเรียนดวยกันได เพราะวาเปนวิชาเสรีทวี่ ทิ ยาลัยชุมชนนัน้ ๆ จัดขึน้ สำหรับผูเ รียนในจังหวัดของตน หมวดวิชาเลือกเสรี เปนสิ่งที่สวยงามมากแตมีคนไมเขาใจ นาเสียดายหากมี ใหเด็กเลือกนอยเกินไป จะกลายเปนบังคับเลือก จึงตองดูภาพรวมทั้งหมด ทั้งจังหวัด เหมาะสมตรงไหน ตองไปถามผูเรียนบอยๆ วา อยากเรียนอะไร เพราะฉะนั้นตองจัดใหมีเลือกเยอะๆ

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนหมวดศึกษาทั่วไป โดยที่หลักสูตรมี 3 หมวดวิชา แตละหมวดวิชามีกลุมวิชา ดังนั้น เริ่มที่หมวดวิชาศึกษาทั่วไปมี 4 กลุมวิชา ไดแก (1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร (2) กลุมวิชา มนุษยศาสตร (3) กลุมวิชาสังคมศาสตร และ (4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลุมที่ 1 วิชาภาษาและการสื่อสาร ตองการเนนความสามารถในการสื่อสารและภาษา นักศึกษาจบ แล ว มี คุ ณ สมบั ติ ที่ พึ ง ประสงค ต ามที่ ต อ งการ เป น คนที่ ส มบู ร ณ แ ล ว เวลาจั ด รายวิ ช าในกลุ ม วิ ช าต า งๆ พยายามยึดตรงนั้นไว ยกตัวอยางเชน ภาษาและการสื่อสาร ตองถามตัวเองวายุคนี้เปนยุคโลกาภิวัตนเปนยุค ของ IT ผูจบอนุปริญญาตองการใหมีคุณสมบัติที่พึงประสงคไปทำงานได ควรจะรูเรื่องภาษาอะไรบาง ควร จะมีทักษะในการสื่อสารทางไหนเปน บาง แลวควรจะมีคุณธรรม จริยธรรมกำกับวิชาภาษาอยางไร มี คุณธรรม จริยธรรมในการใชทักษะทางการสื่อสารอยางไร ทุกวิชาจะมีเนื้อหาวิชา มีทักษะและจริยธรรม กำกับทุกรายวิชา สมมุติวาภาษาอังกฤษมีความสำคัญก็ตองใสเนื้อหาลงไป จังหวัดอยูใกลชายแดนลาว หลักสูตรนี้ผูจบ จะตองติดตอปฏิสัมพันธกับลาว ตองใชภาษาลาว ก็ไปกำหนดหลักสูตรใหเปดภาษาลาว 1-2 หนวยกิต ตาม ความเหมาะสม หรือใน 3 จังหวัดภาคใตสอนภาษามาเลย หรือยาวี จะทำใหเขามีคุณลักษณะที่พึงประสงค สามารถทำงานอยูในพื้นที่นั้นได จึงตองคิดอยางเปดกวาง หรือชายแดนพมาก็ใหสอนภาษาพมา อยาไปเตน

70

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ตามกระทรวงศึกษาธิการที่อยูกรุงเทพฯ มากนัก แตตองพยายามตอบโจทยของพื้นที่ ซึ่งอาจเปนคนละโจทย กับในกรุงเทพฯ ก็ได ประเด็นเครื่องมือสื่อสาร อยากใหผูเรียนใชเครื่องมือสื่อสารอะไรเปนบาง เชน รับโทรศัพทเปนไหม ใชโทรศัพทมือถือ โทรศัพทบาน โทรศัพทสำนักงาน การรับ-สงแฟกซ อินเทอรเน็ต, อีเมล ตองสอนเขาหรือ ไม และตองมีหองปฏิบัติการ ใหมีทั้งทฤษฎี จบจากวิทยาลัยชุมชนแลวทำงานได กลุมที่ 2 วิชามนุษยศาสตร และ กลุมที่ 3 วิชาสังคมศาสตร วิชามนุษยศาสตรกับวิชาสังคมศาสตร วิชามนุษยศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับคน วิชาสังคมศาสตรเกี่ยวกับคนหมูมาก เปนสังคมขึ้นมา วิชาภาษาและ การสื่อสารจัดอยูในกลุมมนุษยศาสตร แตการแยกออกเปนกลุมวิชา ประเทศอื่นมาดูเขาจะไมเขาใจ เพราะ ภาษาและการสื่อสารมันอยู ในกลุมใหญของวิชามนุษ ยศาสตร เวลาเขียนตองนึกดวยวาหลักสากลใชอะไร การแยกออกจากกันไมควรแยกเปนอยางยิ่ง ยิ่งตอนนี้ ไม ไดกำกับวากลุมวิชากี่หนวยกิต ดังนั้น ควรจัด หมวดหมูใหถูกตองตามที่ UNESCO แบงไวและทั่วโลกไดทำตามนี้ วิชามนุษยศาสตร มาคิดกันวา เกี่ยวกับเรื่องความเปนไทย ความเปนสากล วัฒนธรรมใสเขาไปหรือ ไม นอกจากนี้ พิจารณาเรื่องศาสนา เชน วิชาศาสนสัมพันธ เรื่องคุณธรรม จริยธรรมสำคัญมาก หลักการ ครองตน ครองคน ครองงาน สำคัญมาก มีหลักเหลานี้ปรากฏในหลักสูตรหรือไม คำนึงถึงหลักคิดดาน ความรู ทักษะ ทั้งทักษะชีวิต ทักษะงาน จะอยูในหลักสูตรสวนนี้หรือไม ตองถามตัวเอง ในกลุมสังคมศาสตร จะทำอยางไรใหผูเรียนเขาใจความแตกตางระหวางจังหวัดชายแดนภาคใต อีสาน เหนือ ตะวันตก ตะวันออก จะใสเนื้อหาอะไรเขาไปเพื่อผูจบไปแลวเขาใจในบริบทของสังคมที่เขา ทำงานอยู ในกลุมสังคมศาสตรขอฝากไววา สิ่งที่ออนแอมากสำหรับคนไทย คือ การบริหารจัดการหรือการ จัดการ ดังนั้น หลักสูตรควรมีรายวิชาเรื่องการบริหารจัดการใหบางไดไหม รวมทั้งเรื่องเศรษฐศาสตร ไมวา จะเปนเศรษฐศาสตรพื้นฐาน เศรษฐศาสตรครัวเรือน บัญชีครัวเรือน รวมถึงเรื่อง กฎหมายสำหรับคนไทย ทั่วไป จำเปนตองรู เชน รัฐธรรมนูญ สวนกฎหมายเฉพาะทางจะอยูในวิชาเอก คนไทยควรจะรูกระบวนการ ยุติธรรมเปนอยางไร อัยการกับตำรวจตางกันอยางไร กฎหมายแพงและอาญาคืออะไร ศาลรัฐธรรมคืออะไร ศาลปกครองคืออะไร เปนเรื่องควรจะรูหรือไม เพราะกระบวนการเหลานี้มันไปเกี่ยวของกับวิถีชีวิต จบ อนุปริญญาแลวควรไดรูเรื่องเหลานี้ ตองตอบคำถามวาผูจบจะมีความสุขไหมเมื่อออกไปทำงานที่จังหวัด ที่ อำเภอ ติดตอกับหนวยงานตางๆ องคกรปกครองสวนทองถิ่นแลวรูวามีการแบงเปนอยางไร มีหนาที่อยางไร ถึงแมเรียนหลักสูตรบัญชีก็ตาม แตถาเปนหลักสูตรองคกรปกครองสวนทองถิ่นเรื่องเหลานี้จะอยูในวิชาเอก คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

71


(Major) อยูแลว สวนสาขาอื่นๆ เรื่องนี้จะเปนเรื่องทั่ว ๆ ไป (General) กลุมที่ 4 วิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ขณะนี้ตองระลึกรูวา เรากำลังสรางหมวดวิชา ศึกษาทั่วไปในระดับอนุปริญญา รับผูจบมาจากมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงตองไปดูหลักสูตรมัธยมศึกษาตอน ปลายดวย เนื่องจากหมวดวิชาศึกษาทั่วไปตองการสรางความเปนคน และคุณลักษณะที่ตองการของจังหวัดนี้ เปนอนุปริญญาของจังหวัดนี้ แลวชุมชนจังหวัดอยากไดอะไร ดังนั้นระดับของเนื้อหาและประเภทเนื้อหาที่จะ ใสเขาไปจึงตองไปดูวา มัธยมศึกษาตอนปลายเขาสอนอะไรไปแลวบาง แตละศาสตรมีหลักของศาสตรและ ความลึกของศาสตรอยู หัวขออาจซ้ำไมเปนไร แต ในแงความลุมลึกตองลึกกวามัธยมศึกษาตอนปลาย เพราะเปนระดับอนุปริญญาแลว และผูเรียนอนุปริญญาตองไปตอระดับปริญญาตรีดวย จึงตองไปดูหลักสูตร ปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยตางๆ นเรศวร เชียงใหม สงขลานครินทร ขอนแกน ในละแวกใกลวิทยาลัย ชุมชนวา หมวดวิชาศึกษาทั่วไปสอนอะไรบาง วิทยาลัยชุมชนจะสงตออยางไร สมมุ ติ จ ะส ง ต อ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ด รธานี วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนมุ ก ดาหารไปคุ ย กั น แล ว ลงนามให เรียบรอยวาหลักสูตรนี้จากวิทยาลัยชุมชนนี้ จะไปตอที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี แลวจะไปทำเทียบโอน รายวิชาก็ตองคุยกับเขาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ถาทำอยางนี้จะทำใหลูกศิษ ยที่ ไปเรียนตอไดสะดวกและ มากยิ่งขึ้น ขอเตือนวาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ใหกำหนดรายวิชาเพื่อให ไดลักษณะเฉพาะของผูจบวิทยาลัย ชุมชนกอน สวนตอนลงเนื้อหาและความลึก ใหไปเปดดูหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับ ปริญญาตรีของสถาบันที่รวมมือสงลูกศิษ ย ไปเรียนตอดวย จึงจะไมซ้ำกัน และยังทำใหการเรียนการสอน หลักสูตรของเราจะมีคุณคาทันที เขาจะยกเวนให เด็กก็จะสบาย แตบางรายวิชาไมอยู ในหลักสูตรของเขา แตจำเปนสำหรับวิทยาลัยชุมชนก็ใหบรรจุลงไป ซึ่งอาจสามารถเทียบโอนได

เนื้อหาหลักสูตร

การศึกษาโดยทั่วไปแลวมีขอมูลพื้นฐานของหลักสูตร ไมจำเปนตองเหมือนกัน ทุกอยาง การทำ หลักสูตรการศึกษาพื้นฐานของทุกประเทศจะประกอบดวย เนื้อหา 3 สวน คือหลักสูตรเกี่ยวกับเนื้อหาสากล เนื้อหาชาติ และเนื้อหาทองถิ่น ดังนี้ 1. เนื้อหาสากล คือ เนื้อหาสากลที่ประเทศตางๆ เปดสอนในหลักสูตรเดียวกัน ถาอยากรูวาพลเมือง ในอนาคตของไทยกับพลเมืองของอิสราเอล เมื่อโตขึ้นไปแลวจะตองรูอะไรเกี่ยวกับเนื้อหาสากลพอๆ กัน ก็

72

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ตองไปดูหลักสูตรเขาวาเขาสอนอะไรบาง เด็กไทยกับอิสราเอลเรียนเนื้อหาสากลอะไรบาง ใกลเคียงกันไหม จะไดทันกับเขา ถาอยากรูวาหลักสูตรพื้นฐานของจีนแผนดินใหญ อเมริกาเปนอยางไร (อนาคตเราตองไป คาขายกับจีน อเมริกา) เราจะตองรูวาหลักสูตรเขามีอะไร สอนอะไร และเราทันเขาไหม เด็กของเราโตขึ้น เปนพลเมืองไทย จะทันเขาหรือเปลาก็ไมรู เราก็ตองไปดูเขาเหมือนกัน ความสำคัญเนื้อหาสากล เพราะเปน เรื่องที่เราตองแขงกับเขา จะเปนวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ จัดเปนเนื้อหาสากลเชนกัน 2. เนื้อหาชาติ คือ เนื้อหาสำคัญที่ชาติควรใหนักศึกษาไดมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับชาติตนเองซึ่ง ตองจัดเนื้อหาใหเหมาะ เชน ชาติอิสราเอล เขาวิเคราะหชาติเขาแลว เขาเปนประเทศเล็กๆ ทรัพยากร ธรรมชาติเกือบไมมีเลย น้ำจืดมีนอยมาก หอมลอมดวยประเทศอาหรับซึ่งเปนศัตรูทั้งนั้นเลย เพราะฉะนั้นเขา จะตองใหลูกหลานเขาเรียนประวัติศาสตร ใหเขม จะไดรูวาประวัติศาสตรชาติยิวถูกขับออกจากบริเวณ ประเทศกี่ครั้งแลว ประวัติศาสตรหาพันหกพันปของเขาแลวเขากลับมาไดอยางไร เขาตอสูเพื่อความอยูรอด อยางไร แลวสงครามในอนาคตพลเมืองเขาหยิบปนขึ้นมาสูอะไรไดบาง เขาตองใสไวหมด หลักสูตรของไทยก็เหมือนกัน อยากใหคนไทยในอนาคตรักชาติไหม เขาใจชาติบานเมืองตัวเอง เพียงใด จะตองยืนหยัดตอสูเพื่อความมั่นคง ความอยูรอดของชาติ เพียงใด ก็ใสเนื้อหาลงไปในหลักสูตร ดังนั้นหลักสูตรจึงสำคัญที่สุด 3. เนื้อหาทองถิ่น เปนหลักสูตรที่ตองปลูกฝงใหนักเรียนรัก หวงแหน ตระหนัก และเห็นความสำคัญ ของทองถิ่น เราอยากใหเด็กไทยที่มาจากพิจิตร เรียนในโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษาพิจิตร รูเรื่อง พิจิตรบางไหม รูเรื่องภาคเหนือตอนลางบางไหม ภาคกลางตอนบนบางไหม ก็ใสเนื้อหาลงไปในหลักสูตร ทองถิ่น เด็กที่มาจากจังหวัดทางภาคใตตอนบน ตอนลาง จำเปนตองรูเกี่ยวกับประวัติภูมิภาคของเขามาก นอยเพียงใด ก็ใสเนื้อหาเหลานั้นลงไปในหลักสูตรทองถิ่น จากนั้นมาดูอาชีวศึกษา อุดมศึกษา อาชีวศึกษา เปนการศึกษาที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางชางนานา ชนิด ผูสราง ผูปฏิบัติงานนานาชนิดระดับกลาง อุดมศึกษาสรางนักวิชาการกับนักวิชาชีพชั้นสูง เปนเรื่อง ของการศึกษา เด็กอยูป 1 วิศวะจุฬาฯ ในระหวางที่เขาอยูป 1 จุฬาฯ นี้เขาเรียนรูจากในระบบการศึกษาและ นอกระบบการศึกษาดวยหรือเปลา ถาสมมุติวาหลังจุฬาฯ มีแตอบายมุข นิสิตก็จะเรียนรูแตสิ่งเหลานั้น แลว แตเราจะจัดบานเมืองของเราอยางไร ซึ่งกระบวนการเรียนรูเกิดตลอดเวลา

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

73


องคประกอบของหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน การเขียนหลักสูตรทุกหลักสูตร จะมีหัวขออยูไมกี่หัวขอที่จะตองคำนึงถึง ไดแก 1. ชื่อหลักสูตร หลักสูตรอะไรก็บอกไป เมื่อจบหลักสูตรแลวไดอนุปริญญาอะไร 2. ชื่ออนุปริญญา สาขาอะไรก็วาไปเปนไปตามหลักสากล 3. หลักการและเหตุผล ในการเปดหลักสูตร สวนมากจะเปนขอมูลวาไปศึกษาอะไรมา มีขอมูล พื้นฐานอะไรบาง มีการขอรองจากใครบาง ที่ทำใหจำเปนตองมาสราง หลักสูตรนี้ขึ้นมา จะเปนการตอบ คำถามหลักๆ สอง สาม คำถาม คือ (1) ทำไมตองเปด ตองตอบใหได หลักการและเหตุผลจะบอกวาทำไม ตองเปดแลวไปเกี่ยวของอยางไร (2) เด็กที่เรียนจบแลวไปทำงานที่ ไหน ทำใหที่นั่นดีขึ้นอยางไร เขมแข็ง อยางไร มีประสิทธิภาพอยางไร จะตองเขียนไว (3) บางหลักสูตรจะมีปรัชญาของหลักสูตร แตสวนใหญ ไมคอยสนใจ ปรัชญาหลักสูตรเปนความคาดหวังอันสูงสุดในการผลิตคนทางดานนี้ 4. วัตถุประสงคของหลักสูตร การจะสรางหลักสูตร ตองบอกไดวาหลักสูตรนี้มีวัตถุประสงคอะไรบาง เปนการตอบคำถามวา เมื่อผูเรียนจบการศึกษาตามหลักสูตรนี้แลวเขามีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง เพราะ ฉะนั้นวัตถุประสงคของหลักสูตรคือ ผูสำเร็จการศึกษาจะมีความรู ความสามารถอะไรบาง ไดแก 4.1 มีความรูดานไหน ระดับไหน 4.2 มีทักษะอะไรบาง 4.3 มีระบบคุณธรรมอะไรบาง อาจมีอยางอื่นอีกแตหลักๆ แลวจะพูดถึงวา เมื่อจบการศึกษาแลวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางที่เรา ตองการ เพราะฉะนั้นใครก็ตามที่บริหารหลักสูตร กรรมการบริหารก็ดี ครูที่สอนในรายวิชาก็ดี จำเปนตองรู วาหลักการและเหตุผลในการเปดหลักสูตรคืออะไร สวนใหญไมเคยอานเลยวาหลักสูตรนี้คืออะไร มีหลักการ และเหตุผลอยางไร มีวัตถุประสงคอยางไร ไดแตสอนไปเฉพาะเนื้อหาของรายวิชา ซึ่งไมถูก จึงตองถามตัว เองเลยวาภาพรวมคืออะไร ดังนั้น เวลาจัดการบริหารหลักสูตรขอความกรุณาจัดปฐมนิเทศผูที่จะมาสอน ดวย ถาทำไดจะดีมากๆ 5. โครงสรางหลักสูตร โครงสรางหลักสูตรมีอะไรบาง สวนใหญก็จะเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน โครงสรางหลักสูตรของ สกอ. เพราะฉะนั้นโครงสรางหลักสูตรจะมีเกณฑมาตรฐานของชาติอยู ซึ่ง สกอ. ดูแลอยู ไดแก

74

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 5.2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 57 หนวยกิต 5.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 3 หนวยกิต ถ าไปดู โ ครงสร า งหลั ก สู ต รของจี น จะมี โ ครงสร า งอี ก รู ป แบบหนึ่ ง คำถามคื อ ผู เ รี ย นจะต อ งมี คุณสมบัติอยางไรบาง จบอะไรมาจะตองเปนคนอยางไร มีความสามารถทางไหน เพื่อใหเหมาะสมกับการมา เรียนหลักสูตร คุณสมบัติของผูที่จะเขามาศึกษานี้ วัตถุประสงคมีอันเดียว คือ ทำอยางไรเมื่อกำหนด คุณสมบัติแลวผูเรียนจะสำเร็จได ไมใชมาแลวก็ตก เพราะฉะนั้นคุณสมบัติของผูที่จะเขามาศึกษาก็ตองบอก ตอไป เราจะบอกวาจะรับปละกี่คน ทำแผนระยะยาว 5 ป 10 ป ปนี้รับไดกี่คน ปหนารับไดกี่คน จำนวนรับ และจำนวนที่คาดวาจะจบกี่คน สวนมากจะกำหนดจำนวนรับเทาไร เชน ปนี้จะรับ 45 คน คาดวาจะจบกี่คน ในการคาดเวลาจบนี้เปนการคาดผลผลิต (Output) และผลลัพธ (Outcome) จากนั้นจะพูดรายละเอียด หลักสูตร 6. รายวิชา มีคำตางๆ ที่ควรจะรู เชน รายวิชา หรือ คอรส จะมีชื่อรายวิชา กอนจะตั้งชื่อขอใหเขาใจ วิธีตั้งชื่อรายวิชาดวย ตั้งชื่อไม ไดตั้งประโยค ไม ไดตั้งวลี แยกใหออกวาตั้งชื่อตองเปนนาม เปนวลี เปน ประโยค แยกใหออกทั้ง 3 อยาง เวลาตั้งชื่อรายวิชาอยาใหเชย บางแหงตั้งชื่อเปนประโยคเหมือนตั้งชื่อ นามสกุล ซึ่งไมใช ชื่อรายวิชา ตองมีภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เสร็จแลวมีรหัสรายวิชา รหัสรายวิชาใชเฉพาะสถานศึกษานั้นๆ จะใหรหัสวิชาอยางไร รายวิชา บช.001 แลวแตเรา การกำหนดรหัสรายวิชาเพื่อสะดวกในการที่ลงคอมพิวเตอร ลงทะเบียน ลงใบแสดงผล การเรียน (Transcript) เปนระบบแบบเดียวกันหมด ตรวจสอบงายดี เพราะฉะนั้นรหัสรายวิชาตองมี เมื่อมีวัตถุประสงคหลักสูตร ก็มีวัตถุประสงครายวิชา มีเนื้อหารายวิชา มีการบริหารรายวิชา มี หนังสืออานประกอบรายวิชา แลวก็มีการวัดและประเมินผลรายวิชา ที่เรียกวามี Course Syllabus ก็จะครบ 7. วั ต ถุ ป ระสงค ร ายวิ ช า ต อ งชั ด เจนเมื่ อ เรี ย นแล ว นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู มี ทั ก ษะ มี ร ะบบคุ ณ ค า คุณธรรมอยางนี้ เนื้อหารายวิชาเราก็ตองบอกวารายวิชานี้ประกอบดวยอะไรบาง การบริหารรายวิชาเราตอง เอาวัตถุประสงค เนื้อหามาแจงวาภาคการศึกษานี้ ชั่วโมงที่หนึ่งจะสอนอะไร ใครสอน และชั่วโมงที่สาม สี่ หา จนจบ หนังสืออานประกอบในแตละชั่วโมงมีอะไรบาง เสร็จแลวเมื่อจบแลวตองวัดและประเมินผล อยางไร ตองบอกไวใหหมด มีวิธีวัดอยางไร มีวิธีประเมินอยางไร ก็เปนการจบเรื่องของรายวิชา คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

75


8. กิจกรรมของรายวิชา การกำหนดกิจกรรมของรายวิชา ยกตัวอยางเชน ชื่อรายวิชาศาสนสัมพันธ มี 3 หนวยกิต และมีตัวเลขอยูขางหลัง ตัวเลขในวงเล็บตองบวกกันไดเทากับตัวเลขที่อยูหนาวงเล็บ สวนมาก แลวตัวเลขแรกจะหมายถึงทฤษฎีหรือชั่วโมงบรรยาย ตัวเลขที่ 2 จะหมายถึงทักษะหรือชั่วโมงปฏิบัติ สวน เรื่องคุณธรรม จริยธรรมก็ไปแทรกอยูในทฤษฎี แทรกอยูในทักษะ แทรกอยูทุกแหงคุณธรรม จริยธรรมตอง แทรกอยูในทุกชั่วโมง ทุกกิจกรรม ครูผูสอนตองดึงจริยธรรม คุณธรรมออกมาใหไดตลอด อยางสหสัมพันธ ถาเขียนเปน 3 (3 - 0) ก็หมายความวาทั้งหมดเปน 3 หนวยกิต ตองจัดชั่วโมงบรรยายหรือทฤษฎีใหได 3 หนวยกิต คำวา “หนวยกิต” ก็คือน้ำหนักหรือเครดิตนั่นเอง เปนยูนิตเปนหนวยวัดน้ำหนักของความเปนวิชาการ ถา 3 (2 - 1) หมายความวาหนวยกิตรวมของรายวิชานี้เปน 3 หนวยกิตเปนการสอนทฤษฎี 2 หนวยกิต และมีปฏิบัติเปน 1 หนวยกิต แตถา 3 (0 – 3) คือ ไมมีการสอนทฤษฎี อาจจะใหไปคนควาเอง แตมีชั่วโมง ปฏิบัติมีครูไปกำกับใหปฏิบัติ แตรวมกันแลวใหเทากับขางหนา ในการกำหนดหนวยเหมือนเรากำหนดเปนนิ้ว เปนเมตร เปนกิโลกรัม เราตองเทียบกันไดระหวางระบบการศึกษาทุกระบบการศึกษา ไมวาจะเปนวิทยาลัย ชุมชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไมวาที่ไหนเหมือนกัน หมด เพราะวาถา 100 เซนติเมตร ก็ตองเทากับ 1 เมตรเหมือนกันหมด ไมใช 1 เมตรที่นี่ 100 เซนติเมตร แตที่โนน 90 เซนติเมตร จะซื้อหมูหนึ่งกิโลกรัมที่ปตตานีก็ตองหนึ่งกิโลกรัม ตรงไหนก็หนึ่งกิโลกรัมทุก กิโลกรัมตองเทากัน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่ดูแลมาตรฐานการอุดมศึกษาของชาติ จึงตองกำหนด ให ไดวา ถาเปนหนึ่งหนวยกิตบรรยาย คือ อะไร หนึ่งหนวยกิตปฏิบัติ คือ อะไร ตองบอกมาให ได หนึ่ง ชั่วโมงบรรยายถาไดหนึ่งหนวยกิตจะตองอยางนอยจำนวน 15 ชั่วโมงขึ้นไปตอภาคการศึกษา เพราะฉะนั้น น้ำหนักที่บอกวาในรายวิชาหนึ่ง ในชั่วโมงที่หนึ่งใครสอน สอนอะไรบาง สอง สาม สี่ หา ตองมาทั้งหมด 15 ชั่วโมง สุดทายแลวตองไดจำนวน 15 ชั่วโมงตอหนึ่งหนวยกิต มันถึงจะเทียบกันได ที่มหาวิทยาลัย ABAC เขา ก็สอนอยางนี้ ถา 1 หนวยกิต ABAC ก็ตองจำนวน 15 ชั่วโมง ปฏิบัติมีหลายอยาง เชน ปฏิบัติในหอง ปฏิบัติการ หอง Lab ภาคสนาม สมมุติวาหองปฏิบัติการตองเทากับ 30 ชั่วโมงถึงจะเทากับ 1 หนวยกิต ถา ภาคสนาม 45 ชั่วโมงถึงจะเทากับ 1 หนวยกิต หรือหองปฏิบัติการกับภาคสนามใชจำนวนชั่วโมงเทากัน 1 หนวยกิต เทากับ 30 ชั่วโมงก็ได แตตองใชเหมือนกันหมดทั้งประเทศ ถาจะใหดีตองดูของประเทศอื่นดวย เพราะเด็กอาจไปเรียนตอตางประเทศ หรือไปสมัครงานบริษั ทตางประเทศ เขาจะไดรูวา 1 หนวยกิตของ

76

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ประเทศไทยสามารถเทียบกับที่อื่นได เหมือนกับหลักสูตรประเทศนั้น จึงเปนตองมีความเปนสากลระดับ ประเทศและความเปนสากลระดับทั่วโลก ผูดูแลมาตรฐานกลาง คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตองออกเกณฑ ใหชัด เพราะ ฉะนั้น ในวงเล็บบางทีมีสามตัวเลข เชน 2-0-1 แสดงวามีทั้งทฤษฎี และการปฏิบัติการ มีการฝกปฏิบัติ ภาคสนาม เชน เรื่องศาสนสัมพันธ อาจจะไมมีปฏิบัติการในหอง Lab แตมีปฏิบัติการภาคสนาม โดยการไป นั่งสมาธิภาวนาที่วัดตางๆ ก็กำหนดไวจำนวนกี่ชั่วโมง เปนตน

การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนมีกิจกรรมที่สำคัญๆ ดังนี้ 1. การจัดการศึกษาหลักสูตรระดับอนุปริญญา 2. การจัดการศึกษาหลักสูตรระยะสั้นและการฝกอบรมความรู มีหลายประเภท ไดแก หลักสูตรฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการประกอบอาชีพ จะตองไปดูวาในจังหวัดตนเองมีทักษะ อาชีพอะไรบางที่เรายังขาดแคลน แลวเราไปเอาวิชามา ไปเอาวิทยากรมาวางหลักสูตร พิมพเขียวหลักสูตร ระยะสั้น 30 ชั่วโมง 45 ชั่วโมง 60 ชั่วโมงแลวเอามาพัฒนาใหความรูกับเขา หลักสูตรฝกอบรมทักษะการบริหารจัดการ อันนี้เราก็เปดแลว เปดถึงระดับอนุปริญญาดวย เชน เราจัดอบรมนักบัญชีขององคกรบริหารสวนตำบล (อบต.) ก็เปนหลักสูตรการบริหารจัดการหรือการ บัญชี เปนตน หลักสูตรที่เนนเพื่อพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม อันนี้อาจจะไมคอยไดกำไรซักเทาไร หลักสูตร อันที่สามนี้ อาจตองจัดรวมกับคนอื่นที่เขามีเงิน เราอาจจะชวยเขาจัด เชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สรางเสริมสุขภาพ (สสส.) มาอบรมใหความรูกบั วิทยาลัยชุมชนในเรื่องการไมสูบบุหรี่ การไมดื่มสุรา อันนั้น เปนเรื่องของการจัดหลักสูตรระยะสั้นสำหรับสังคมและวัฒนธรรม หรืออบรมเพื่อจะไดครูไปอบรมในชุมชน อีกที อบรมครูในชุมชนเรื่องของการเลิกอบายมุข แลวไปอบรมคนอื่นอีกที หลักสูตรฝกอบรมเพื่อทักษะทางศีลธรรม และจริยธรรม อันนี้อันสุดทายเปนลักษณะทาง วิชาการที่พวกเราชวยกันอยู คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

77


การสำเร็จการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตามโครงสรางเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ประกอบดวย 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 57 หนวยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 3 หนวยกิต ทั้งหมดไมนอยกวา 90 หนวยกิต เพราะฉะนั้น 95 หนวยกิตก็ได 91 หนวยกิตก็ได หมวด วิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 3 หนวยกิต ให ไปศึกษาวาตามมาตรฐานของ สกอ. คำวาไมนอยกวา หมายถึง อยางต่ำ 3 หนวยกิตหรือไม เพราะฉะนั้นนักศึกษาจะเรียน 6 หรือ 9 หนวยกิต ก็ได สวนนี้อาจารยที่ปรึกษา จะมีอิทธิพลมากในการแนะนำ การเรียนใหครบตามที่กำหนดในหลักสูตร จะเกี่ยวของกับการจบการศึกษา การสำเร็จการศึกษา เจาหนาที่ที่ดูแลเรื่องการสำเร็จการศึกษาจะเขามาดูวาผูเรียนไดเรียนครบตามจำนวนหนวยกิตและ เงื่อนไขที่กำหนดไว ในแตละหมวด ตามหลักสูตรหรือไม จะดูตาม Transcript ตามหมวดวิชา แลวรวม หนวยกิตให ไดตามเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา หลักสูตรจะตองมีเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา ซึ่งการจะ สำเร็จการศึกษาประกอบดวย 1. ครบเงื่อนไขตามหลักสูตร เจาหนาที่ฝายทะเบียนซึ่งถือวาสำคัญมากจะตองดูแลเรื่องการจบ ตอง ไปดูวาเปนไปตามเงื่อนไขการสำเร็จตามหลักสูตรหรือไม คือ เรียนครบตามเงื่อนไขของหลักสูตร เชน หมวด วิชาศึกษาทั่วไปเรียนได 30 หนวยกิตหรือยัง หมวดวิชาเฉพาะดานเรียนครบจำนวน 57 หนวยกิตหรือยัง เกิน ไมเปนไร หมวดวิชาเลือกเสรีเรียนไดครบตามจำนวน 3 หนวยกิตแลว แตเกินไดไมเปนไร รวมแลวอยางนอย ตองไมนอยกวา 90 หนวยกิต เปนตน 2. ไมเปนหนี้วิทยาลัย คือ ผูจบตองไมเปน หนี้วิทยาลัยทุกอยาง ตองไปตรวจสอบที่ฝายคลังวา ผูสำเร็จการศึกษา หรือบัณฑิตคนนี้เปนหนี้หรือเปลา เปนหนี้เรื่องคาเลาเรียน เปนหนี้เพราะวาไปทำทรัพยสิน ทางราชการเสียหาย ถูกลงโทษทางวินัย ใชหนี้หรือยังไม ได ใช เรื่องนี้จะไปกำหนดอยู ในเงื่อนไขการรับ อนุปริญญาบัตรดวย สังเกตดูจะมี 2 เงื่อนไข คือ

78

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


1) เงื่อนไขการจบหลักสูตร 2) เงื่อนไขการรับอนุปริญญา ซึง่ จะไมเหมือนกัน คือ เงือ่ นไขรับอนุปริญญา ตองเพิม่ เงือ่ นไขเรือ่ งไมเปนหนี้ และไมมคี วามประพฤติ เสื่อมเสีย ขอเตือนเรื่องเงื่อนไขการจบวา วิทยาลัยชุมชนมีกฎระเบียบเรื่องนี้หรือไม ถาไมมีตองไปคุยกันใน สภาวิทยาลัยชุมชน หรือสวนกลางเปนผูกำหนดวา สมควรจะออกกฎระเบียบไหม 3. ไมมีความประพฤติที่เสื่อมเสีย คือ ไมทำใหตนเองและวิทยาลัยชุมชนเสียหาย

การบริหารหลักสูตร

สุดทาย คือ เรื่องวงจรการบริหารหลักสูตร ประกอบดวยการพัฒนาหลักสูตรโดยการสรางใหมหรือ ปรับหลักสูตรของปจจุบัน การบริหารหลักสูตร และการประเมินหลักสูตร ที่จะบอกผลการประเมินออกมา เปนจำนวนผูสำเร็จ เปนดานคุณภาพ และเปนผลกระทบ การบริหารหลักสูตรมีตั้งแตการประเมินผลที่ ผานมา การวางแผน การเรียนการสอน และประเมินการวางแผน สรุปไดดังนี้

วงจรที่ 1 การสรางหลักสูตรใหมและการปรับหลักสูตรปจจุบัน หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตองมาจาก ชุมชน วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต หลักสูตรตองมาจากภูเก็ต ตองใหสอดคลองกับสังคม เศรษฐกิจของจังหวัด เพราะฉะนั้นการสรางหลักสูตร การประเมินหลักสูตรปจจุบัน ประเมินแลวไมพอใจจะขอปรับปรุงใหม เรา จำเปนตองไดความเห็นที่เปน Input จากผูที่เกี่ยวของ ไดแก (1) การประชุมประจำเดือนของผูวาราชการจังหวัดกับหัวหนาสวนราชการ เราควรจะไปคุยกับเขา 2-3 เดือน/ครั้ง ปละครั้ง สองครั้ง ขออนุญาตประธานที่ประชุม ขอนำเสนอเรื่องวิทยาลัยชุมชนเพื่อรายงาน ความคืบหนา หัวหนาสวนราชการที่ไดเด็กของเราไปเรียน ไปทำงานเขาจะ Feedback ให ก็ใหนำมาใสใน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หรือหมวดวิชาเฉพาะดานหรืออาจจะเปนวิชาเลือกเสรี จะทำใหปรับปรุงหลักสูตร วิทยาลัยชุมชนไดตลอดเวลา หลักสูตรก็จะไมตาย หลักสูตรจะไมใช ใบเสมาวัด ตั้งแลวตั้งเลย หลักสูตรจะ ตองมีพลวัตตลอดเวลา เพราะวาตองเปลี่ยนแปลงตามสังคม เศรษฐกิจของจังหวัด (2) การประชุมของรัฐ การประชุมของสภาหอการคาหรือสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ตองไปเจรจากับ เขา ไปนำเสนอกั บ เขา ไปขอความเห็ น คำแนะนำจากเขา ก็ จ ะได ค วามเห็ น จากภาคธุ ร กิ จ เอกชน ในการปรับปรุงหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

79


(3) ไปขอพบหรื อ เข า ร ว มประชุ ม กั บ เทศบาล องค ก ารบริ ห ารส ว นตำบล และองค ก ารบริ ห าร สวนจังหวัดบางเปนครั้งคราว ก็จะไดขอมูลยอนกลับ (Feedback) จากองคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัด (4) ใชประโยชนจากกิจกรรมในชุมชน เชน มีงานวัดที่ไหน ไปรวมดวย ไปคุยกับเจาอาวาส ไปคุยกับ ผูนำทองถิ่น ไปคุยกับบุคคลตาง ๆ และไปสังเกตวาลูกศิษยเปนอยางไรบาง ก็จะไดขอแนะนำเขามา แลวก็ สามารถดึงคนเหลานั้นเขามารวมงานวิทยาลัยชุมชนไดดวย (5) สุดทายคือ ฝายวิชาการวิเคราะห เปรียบเทียบ เชิญนักวิชาการมาชวยวิเคราะห วิจารณหลักสูตร ใหเราหนอย ก็จะเปนการปรับหลักสูตรอยูตลอดเวลา เมื่อเราสรางหลักสูตรใหมแลว สามารถปรับปรุง หลักสูตรปจจุบันใหทันสมัยตลอดเวลา วิทยาลัยชุมชนก็จะยั่งยืนตอบสนองชุมชนตอไป วงจรที่ 2 ก็คือ วงจรการบริหารหลักสูตร ถาเปนหลักสูตรที่เคยใชแลวในภาคเรียนที่แลว ปที่แลว จะ ตองประเมินผลหลักสูตรที่ผานมาทุกครั้ง การประเมิน หมวดวิชาทั้ง 3 หมวดเปนอยางไรบาง เชน ประเมินเรื่องหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ป การศึกษาที่แลวสอนเปนอยางไร ไดผลเปนอยางไร วิชาเฉพาะดานประเมินแลวเปนอยางไร ขาดอะไรบาง หรือประเมินหมวดวิชาเลือกเสรี ยังมีสวนใดที่ ไม ไดดำเนินการบาง ผูเรียนมีขอรองเรียนอะไรบาง ผูเรียน อยากเห็นอะไรบาง เมื่อประเมินเสร็จแลว นำผลมาปรับปรุงแลววางแผนการเรียนการสอนหลักสูตรในภาค เรียนตอไป การประเมินตองประเมินถึงรายวิชาดวย จะไดรูวา แตละชั่วโมงที่มีการเรียนการสอน มีครู-อาจารย เขาสอน/ไมเขาสอนชั่วโมงใด เมื่อวางแผนในปตอไปก็ไมเชิญครู-อาจารยพิเศษทานนั้น อาจเชิญผูอื่นแทน การมีระบบการประเมินการเรียนการสอนที่ผานมา และมีระบบการวางแผนการเรียนการสอนใน ปตอไปสำคัญมาก แตมหาวิทยาลัยสวนใหญไมไดทำกัน โรงเรียนก็มักจะไมทำ จึงอยากใหวิทยาลัยชุมชนทำ มากๆ จะไดพัฒนาขึ้นไปได ขณะนี้ในบางมหาวิทยาลัย บางวิชา ครูที่เปนเจาของรายวิชาอยูใครมาแตะตอง ไม ได เปนสมบัติสวนตัว วิทยาลัยชุมชนอยาปลอยใหเกิดความรูสึกเชนที่วานี้ เราไปเชิญคนนี้มาสอนและ ไวใจเขามาก แตไมมีใครมาประเมินเขาเลยซัก 5 ป 10 ป เขาบอกวาวิชานี้เปนของเขาแลวใครมาแตะตอง ไมได ดังนั้น ถาตองการพัฒนาคุณภาพหลักสูตร เรื่องของการประเมินตั้งแตรายวิชา หมวดวิชา จำเปนตอง ทำ ถาทำไดรับรองไดหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนจะแนนมาก วงจรที่ 3 การประเมิ น หลั ก สู ต ร เป น การศึ ก ษาผลการใช ห ลั ก สู ต รโดยการติ ด ตามผลผู ส ำเร็ จ การศึกษา กลาวคือ เมื่อมีนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจบไปแลวรุนหนึ่งก็ตองทำการประเมินผลหลักสูตร ซึ่ง

80

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


การประเมินหลักสูตรจะมี 3 ประการ คือ (1) ประเมิน Output ของหลักสูตร (ปริมาณ, จำนวน) (2) ประเมิน Outcome ของหลักสูตร (คุณภาพผูจบ) (3) ประเมิน Impact ของหลักสูตร (ผลกระทบทั้งบวกและลบ) ประการที่ 1 การประเมิน Output ของหลักสูตร จัดเปน ประมินระดับ Output ประกอบดวย ประเมินจำนวนผูเขาเรียน ในการเปดหลักสูตรเรามีเปาหมายวารับจำนวน 45 คน คาดวาจะจบจำนวน 40 คน และจบจริงจำนวน 27 คน ดังนั้นผูเปนสภาวิทยาลัยชุมชนตองถามผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนแลววา ทำไมมันหายไป ทำไมไมไดจำนวนตามที่ตองการ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ตองเอาไปปรับ ปรับการเรียน การสอน ปรับการคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาที่มาเรียน ไมอยางนั้นวิทยาลัยชุมชนไมมีประโยชนตามที่เราได ตั้งวัตถุประสงคไว ประการที่ 2 คือ การประเมิน Outcome ของหลักสูตร จัดเปนการประเมินเชิงคุณภาพ ประเมิน คุณภาพวาเปนไปตามวัตถุประสงคหลักสูตรหรือไม อยางไร ประการที่ 3 คือ การประเมิน Impact ของหลักสูตร จัดเปนการประเมินระดับผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยที่ ไม ไดกำหนดไว ในวัตถุประสงคของหลักสูตร เชน รุนนี้เราสอนคนไป 14 คน ไปเปนนายกองคการ บริหารสวนตำบล 11 คน หรือรุนนี้จบ 14 คน ติดคุก 8 คน ไมอยู ในหลักสูตร มันตองมีอะไรผิดปกติ ผลกระทบ คือ เปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไมไดอยูในวัตถุประสงคหลักสูตร แตมันไปปรากฏผลที่ลูกศิษยจนกระทั่ง มีความสัมพันธทางสถิติ ที่ ไม ใชเรื่องปกติทั่วไป เรื่องนี้ตองกลับมาถามตัววิทยาลัยเองวาทำดี หรือทำไมดี อยางไร ทำไมมันเกิดผลกระทบที่เราไมไดตั้งใจ เขาเรียนรูจากวิทยาลัยชุมชนหรืออยูกับเรา 2 ป แลวไดออก ไปเปน นายกองคการบริหารสวนตำบลกันเปนแถวเลย หรือไปเขาคุกกันตั้งครึ่ง มันเกิดอะไรขึ้น นี่คือ ผลกระทบ จึงตองมีการประเมินผลกระทบ ขอแนะนำวา ทุกหลักสูตร วิทยาลัยชุมชนแตละแหงควรจะมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จำนวน 3 คน 5 คน หรือจำนวนหนึ่ง ถาคนนอยก็เชิญคนอื่นมาเปนกรรมการดวย กรรมการบริหารหลักสูตร ก หลักสูตร ข หลักสูตร ค ควรจะมี ถายังไมไหว คนนอยจริงๆ ขอรวมกันกอนไดไหมเปนกรรมการรวม เปน กรรมการบริหารหลักสูตรรวม คือทุกหลักสูตรมีกรรมการเดียว ตอนระยะแรก ปแรก แตหลังจากนั้นตอง พยายามแยกเปนกลุม พัฒนาหลักสูตรมีคณะกรรมการบริหารกลุมหลักสูตร จะทำใหมีผูรับผิดชอบชัดเจน และเปนระบบ คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

81


82

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ธรรมาภิบาลในวิทยาลัยชุมชน* โดย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

สวัสดีทุกทาน ดีใจที่ไดมาเจอกัน วิทยาลัยชุมชนเปนระบบที่กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนตองกำหนด ชะตาของวิทยาลัยชุมชนแตละแหงเอง เปนระบบที่ยังไมเคยมีในวงการศึกษาไทย ที่ชะตากรรมของวิทยาลัย อยูในมือของประชาชนอยางแทจริง ทราบวาหลายทานมาจากหลายวงการ ทั้งจากวงการศึกษาและวงการอื่น นอกวงการศึกษา จึงขอเรียนเรื่องวงการศึกษาเล็กนอยเพื่อจะไดเขาใจตรงกัน ขออนุญาตทำความเขาใจคำ บางคำดังนี้ 1. การเรียนรู = to learn ซึ่งเปนศัพทที่ ใชกันมาก สมัยกอนใชวา การเรียน ภายหลังไดคอยๆ เปลี่ยนไป มีคำวา “รู” เพิ่มขึ้นมาดวย เหมือนกับบังคับวาเรียนแลวตองรู นิยามคือ เปนกระบวนการที่ทำให เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน ถาผูเรียนเขาไปนั่งฟงอาจารยแลวปหนึ่งแลวไมเปลี่ยนแปลงอะไรเลย แสดงวายังไม ไดเรียนอะไรเลย อาจารย ไดแตสอน แตผูเรียนไม ไดเรียน ภายหลังจึงมุงที่ผูเรียนมากกวา ผูสอน เพราะวากระบวนการเรียนรูทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน เปาหมายของรายวิชาก็ดี เป า หมายของหลั ก สู ต รก็ ดี ย อ มบอกไว ชั ด เจนว า เมื่ อ เรี ย นรายวิ ช า หรื อ หลั ก สู ต รนี้ แ ล ว ต อ งเกิ ด ความ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือเลวลงก็ได เชน วิชาโจร ใหเรียนรูเรื่องการขโมย ตัวเขาดีขึ้น แตสังคมแย จึงไมไดบอกวาเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เพราะอาจจะเลวลงก็ไดถาสอนในทางลบ

ริชมอนด

*เรียบเรียงจาก การบรรยายเรื่อง “ธรรมาภิบาลในวิทยาลัยชุมชน” วันที่ 20-22 เมษายน 2548 ณ โรงแรม คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

83


ในทางวิชาการศึกษา การเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียนจะมีอยู 3 เรื่องดวยกัน คือ 1) ไดความรู ไดทฤษฎี 2) ไดทักษะ ไดปฏิบัติ 3) ไดความดี ไดคุณธรรม พระเจาอยูหัวเคยรับสั่งวาเปาหมายในการอบรมเลี้ยงดูเด็กตองสอน 3 อยางคือ สอนความรู สอน ความดี และสอนใหทำงานเปน ซึ่งก็คือเปาหมายของการเรียนรูนั่นเอง เปนกระบวนการที่ทำใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน 3 เรื่องดวยกัน หลักสูตรในโลกนี้มีมากมาย แตละหลักสูตรก็ไปกำหนดวาอยากใหรูอะไร อยากใหทำอะไรเปน และ อยากใหดี ในแง ไหน เชน หลักสูตรเลี้ยงไก ตองพูดทฤษฎีความรูเกี่ยวกับไก และการเลี้ยงไก และพูดถึง ทักษะในการเลี้ยงไกและพูดถึงความดีความงามวา เลี้ยงไกแลวไม ไปทำในสิ่งที่กอใหเกิดความไมดีขึ้นมา หรือทำใหเกิดสิ่งที่ดีขึ้นมา เปนตน วิชาหมอก็เชนกัน บอกวา ตองไดรับความรูดานหมอ มีทักษะดานการ ผาตัด ตรวจคนไข และตองใชความรูในทางที่ถูกตอง อยาไปโกง อยาโกหก อยาหลอกลวงประชาชน วิชา รัฐประศาสนศาสตรก็เหมือนกัน รูเรื่องวิชาการบริหารบานเมือง ตองมีทักษะดานการบริหาร แลวตองมี ชุดความดีอะไรบางที่เหมาะสำหรับผูที่เปนผูบริหารบานเมือง ทุกวิชาในโลกนี้ถาเกิดกระบวนการเรียนรูตอง บอกใหไดวาเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน ในหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชนมีเยอะมาก เชน หลักสูตรคอมพิวเตอรธุรกิจ วัตถุประสงค หลักสูตรตองบอกใหชัดวาเมื่อจบแลวตองมีความรูเรื่องคอมพิวเตอรธุรกิจอะไรบาง ตองมีทักษะในการทำ คอมพิวเตอรอะไรบาง และตองมีความดีความงามอะไรจึงเปนนักคอมพิวเตอรที่เปนประโยชนตอสังคม ไม ไปโกงบริษัท เหลานี้ตองใสเขาไป วัตถุประสงคของหลักสูตรมี 3 ขอเทานั้นเอง สวนมากคนไมเขาใจ เวลา เขียนหลักสูตรเขียนไป 8–10 ขอ วัตถุประสงคตองบอกใหชัดวาเมื่อเรียนรูแลวจะทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในตัวผูเรียนอยางไรบาง 2. การสอน คือ กระบวนการที่ทำใหเกิดการเรียนรู คือ การสอนจะไปสนับสนุนการเรียนรู ผูสอนตอง ไปสนับสนุนผูเรียนใหไดเรียนรูตามหลักสูตร และใหไดเปาหมาย 3 ขอดังที่กลาวไวขางตน ดังนั้น ผูสอนจึงมี ความสำคัญยิ่ง สมมติหองเรียน 1 หองเรียน มีผูเรียน 30 คน ครูจะเขามาสอนวิชานี้ แลวบอกวาผูสอนตองไป สนับสนุนผูเรียนใหเรียนรูตามเปาหมายหลักสูตร เพราะฉะนั้นครูตองรูจักผูเรียนทั้ง 30 คนเปนอยางดีและ

84

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


แนใจวาที่จะสอนทั้ง 30 คนนั้นซึ่งบางคน เกงมาก เกงนอย หรือไมเกง ตองรูหมดวาคนไหนพรอมที่จะเรียน บาง และเมื่อเรียนไปแลวตองแนใจวาผูเรียนไดครบตามเปาหมาย ทั้ง 3 ขอ แตถาผูสอนตัดขาดจากผูเรียน ผูสอนเกงมาก ตั้งใจสอน เตรียมการสอนมาเปนอยางดี เขาไปสอนก็อยูหนาชั้น สอนอยางดี สอนเสร็จแลว ก็เดินออกจากหอง สวนเด็ก 30 คนนั้นจะเรียนรู และเกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ขอนั้นหรือไมเปนเรื่องของเด็ก ไมใชเรื่องของครู เพราะครูสอนแลวแบบนี้เรียกวา Teacher Center คือครูเปนศูนยกลางของการศึกษา คือ ครูเกง ครูสอนแลวและสอนดีดวย สวนเด็ก 30 คนนั้นจะไดเรียนรู จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดานความรู ทักษะ ความดีหรือไม ไมใชเรื่องของครู ปจจุบันในวงการการศึกษาทั่วโลกมองวาไมใชรูปแบบนี้แลว ครูตองไปชวยผูเรียนแลวตองรูจักผูเรียน ดวย ฉะนั้นจึงกลาววานักเรียนเปนศูนยกลางของการศึกษาไมใชครู สมัยกอนครูเปนศูนยกลางของการศึกษา จึงขอฝากพวกเราไววา ตรงนีค้ อื คุณภาพการศึกษา ไมวา จะอนุบาล ประถม มัธยม วิทยาลัยชุมชนอาชีวศึกษา ปริญญาตรี โท เอก ถาระบบการศึกษาใหความสำคัญวาผูเรียนตองเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ดานตาม เปาหมายของหลักสูตร ประเทศไทยเจริญแนนอน คุณภาพการศึกษามาแนนอน 3. การศึกษา หรือ Education คือ ระบบที่ออกแบบใหเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคของการศึกษา ตองเปนระบบ คือ ตองมี - Input ตองมีทรัพยากรนำเขา ทรัพยากรที่ลงทุน - Process ตองมีกระบวนการ 2 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการบริหารการศึกษา และ 2) กระบวนการสอน การเรียนรู และการวัดผล - Output คือ ผูจบ ถาเปนระบบการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน Input ทรัพยากรที่ลงทุน คือ การที่ออกแบบการบริหาร วิทยาลัยชุมชนที่กระทรวงศึกษาธิการ มีสำนักงาน พอไปถึงวิทยาลัยชุมชนแตละจังหวัดก็ไปออกแบบแตละ จังหวัดมีสภาวิทยาลัยชุมชน มีผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน มีผูสอนและมีผูเรียน เราลงทุนอะไรไปบางก็วาไป จากนั้นก็มาเขากระบวนการทำงานของระบบ ซึ่งมี 2 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการบริหารจัดการ 2) กระบวนการสอน การเรียนรู และการวัดผล โดยมีผลลัพทคือ ผูจบของวิทยาลัยชุมชน ในระบบตองบอกถึงคุณภาพของระบบ (Quality) คุณภาพของปจจัยนำเขา ทรัพยากรลงทุนทุกตัววา หามาอยางไร บุคคลที่จะมาเปนกรรมการสภาวิทยาลัยมีคุณภาพอยางไร บุคคลที่จะมาเปนผูอำนวยการมี คุณภาพอยางไร เจาหนาที่ประจำสำนักงานมีคุณภาพอยางไร ครูอาจารยมีคุณภาพอยางไร ตองพูดใหหมด คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

85


กระบวนการบริหารจัดการมีคุณภาพอยางไร การสอนมีคุณภาพอยางไร การเรียนรูของผูเรียนมีคุณภาพ อยางไร การวัดผลมีคุณภาพอยางไร และผูจบมีคุณภาพอยางไร ตรงตามที่ประเทศชาติตองการหรือไม ตามที่ตลาดตองการหรือไม เราตองพูดถึงคุณภาพหมดเลย ในคำพูดวาคุณภาพนั้น บางทีเราก็ใชคำเฉพาะใน ดานนั้นๆ เชน เราพูดถึงคุณภาพการบริหารจัดการ เราอาจจะสรางระบบใหมขึ้นมาอีกระบบหนึ่ง คือ ระบบ ธรรมาภิบาล ระบบธรรมาภิบาล คือ ระบบที่ออกแบบเพื่อการบริหารการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เพราะฉะนั้นสิ่งที่ จะพูดถึงคือ โครงสราง และหลักคิดกวางๆ ของระบบธรรมาภิบาล เทานั้น สวนการออกแบบรายละเอียด ของระบบนั้นตองขอใหทานทั้งหลายไปชวยคิดกันเอง เชน วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน เมื่อฟงโครงสราง ความเห็นชัดเจนแลว ก็ ไปคิดวา วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนจะออกแบบระบบวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนที่ สะทอนคุณภาพอยางไรบาง วิทยาลัยชุมชนแตละแหงก็ไปคิดของตัวเองมาวาระบบธรรมาภิบาลของเราจะ เอาอยางไร ระบบธรรมาภิบาลเปนระบบที่เนนคุณภาพการจัดการศึกษา

ระบบธรรมาภิบาล (Good Governance System)

ความจริงคำวา Good Governance System หมายถึง การบริหารจัดการที่ดี การปกครองที่ดี ภาษาไทย เราใชคำวาวา ธรรมะ + อภิบาล คำวา ธรรมะ แปลวาดี สวน อภิบาล แปลความหมายได 2 อยางคือ แปลวาการปกครองก็ได การดูแลก็ได ฉะนั้นคำวา Good Governance ก็คือ ธรรมาภิบาลนั่นเอง 1. เปนการบริหารและการปฏิบัติงานที่ดี โดยเนนเรื่อง - ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือความคุมคาของการลงทุนตอการบริหารจัดการ - ประสิทธิผล (Effectiveness) คือการลงทุนและกระบวนการซึ่งจะใหผลลัพธตามที่ ตองการ ในเรื่องผลลัพธ เอาเฉพาะผูจบจริงๆ แลวถาแปลงไปอีกก็จะขยายความนิดหนอย คือ 1) จำนวน ผูจบ 2) คุณสมบัติของผูจบ 3) ผลกระทบของระบบ ดังนั้นถาจะดูผลลัพธของ วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน นั้น นอกจากจะตองไปดูวามีผูจบในแตละสาขากี่คนแลว ตองดูวามีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรตองการหรือไม ตามที่สภาวิทยาลัยชุมชนตองการหรือไม นอกจากนั้นยังตองดูผลกระทบระยะยาวดวยวาผลกระทบจากการ ปฏิบัติงานของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีผลกระทบทั้งใกลและไกลอยางไร สิ่งเหลานี้เปนการประเมินใน เรื่องของปริมาณ คุณภาพ และผลกระทบ

86

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


อยางเชน ตั้งวิทยาลัยชุมชนที่นี่ได 5 ป มีเด็กจบแลว 600 กวาคน และในแตละหลักสูตรที่ไปทำให การศึกษาปฐมวัยของแมฮองสอนดีขึ้นหรือไม ที่เราสงเด็กที่จบจากเราไป 200 กวาคนนั้น หรือหลักสูตร คอมพิวเตอรธุรกิจของเรา ทำใหการบริหารจัดการ การคาขายไดประโยชนบางหรือไม การบริหารจัดการ อบต. (องคการบริหารสวนตำบล) อบจ. (องคการบริหารสวนจังหวัด) ดีขึ้นหรือไม ซึ่งผลกระทบนี้จะเปน ผลกระทบเชิงบวก หรือผลกระทบเชิงลบก็ได ในตัวธรรมาภิบาล เปาหมายที่เราอยากไดนั้น คือ การไปเพิ่ม ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แตวาในกระบวนการทำงานตองมีสิ่งเหลานี้คือ 1. ความรับผิดชอบ (Responsibility) 2. ความรับผิดรับชอบ (Accountability) 3. ความโปรงใส (Transparency) 4. การตรวจสอบ (Auditing) 2. ในเรื่องของระบบ - Input (ทรัพยากรลงทุน) - Process (มอง 2 กระบวนการ คือ การบริหารจัดการ และการเรียนการสอน) - Output (มอง 3 มิติ คือ จำนวน คุณภาพ และผลกระทบ) มีพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอันหนึ่งที่ผูถวายงานใกลชิดเอามาอางกัน และ ตรัสรับสั่งอยูบอยๆ คือ จะทำอะไรตองขอใหประหยัด เรียบงาย และไดประโยชนสูงสุด พอเอาพระบรมราโชวาทมาแตก และจับเขากับระบบ ให fit-in กับระบบ เปน system analysis ก็จะเขาใจงายขึ้น ดังนี้ - Input > ประหยัด - Process > เรียบงาย - Output > ไดประโยชนสูงสุด คำวาประหยัด ก็คือ ในเรื่องของ input เรื่องของกระบวนการ เชนการออกแบบการบริหารจัดการ ออกแบบกระบวนการสอน ออกแบบการเลาเรียน ออกแบบกระบวนการวัดและประเมินผล ตองเรียบงาย เทาที่จำเปนและสุดทายตองใหไดประโยชนสูงสุด เพราะฉะนั้นถาจะเอาพระบรมราโชวาทนี้เขามาใสในระบบ การออกแบบเพื่ อ จะบริ ห ารวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนแต ล ะแห ง คงต อ งนึ ก ถึ ง หลั ก 3 ข อ นี้ ดั ง นั้ น การออกแบบ กระบวนการวัดและประเมินผลตอง คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

87


1. เรียบงาย 2. เทาที่จำเปน 3. ตองไดใหประโยชนสูงสุด ถาจะเอาพระบรมราชาโชวาทนี้มาใสระบบการออกแบบเพื่อจะบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชน แตละ แหงคงจะตองนึกถึงหลักสามประการนี้ เพราะจะเปนประโยชนมาก

Good University Governance

อันนีผ้ มใชสำหรับมหาวิทยาลัย ของเราก็จะเปน Good College Governance เปนระบบธรรมาภิบาล ของวิทยาลัย มีทั้งระดับสถาบัน และระดับบุคคล ระดับสถาบันก็คือวิทยาลัยชุมชนแตละแหง ระดับบุคคลก็ คือทุกๆ คนที่ทำงานในวิทยาลัยชุมชนนั้น ไมวาจะเปนประธานสภาวิทยาลัยชุมชน ภารโรง ครูอาจารย หรือ ผูอำนวยการ สิ่งที่เราคาดหวังในระบบธรรมาภิบาลของวิทยาลัยชุมชนมี 2 ระดับดังนี้ 1. ในระดับสถาบัน คือ 1.1 ความโปรงใส (Transparency) 1.2 ความรับผิดรับชอบในผลงานของสถาบัน (Accountability) อยางที่บอกแลวสิ้นปเรา ประเมินกัน เรามีผลงานแลวไปบาง อนุปริญญาจบกี่คน ไปทำอะไรบาง ทำงานที่ไหน ทำแลวดีไมดีอยางไร หลักสูตรระยะสั้นอาชีพเราจบไปแลวกี่คน จบไปกี่หลักสูตรไปไหนบาง 1.3 การมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation) เรื่องการมีสวนรวมของประชาชน ในดานหลักสูตรจะอยูตรงไหน หลักสูตรของเรามี 2 ประเภทใหญๆ คือ หลักสูตรอนุปริญญา และหลักสูตร อบรมระยะสั้น การมีสวนรวมของเราทำไดหลายระดับ หนึ่ง ตั้งแตการมีสวนรวมในการกำหนดนโยบายของ สภาวิทยาลัยชุมชน ดังจะเห็นไดจากองคประกอบของสภาวิทยาลัยชุมชนวาประกอบดวยบุคลากรที่อยู ใน ระดับจังหวัดนั้นๆ เปนหลัก สอง การมีสวนรวมของเราในการกำหนดหลักสูตร การจะเปดหรือปดหลักสูตร นั้นตองไดมาจากความคิดเห็นของคนในจังหวัดนั้นๆ วา ตอบสนองตอการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของ จังหวัดนั้นๆ หรืไมอยางไร ถาเปนวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ก็จะไปหารือกับผูวาราชการจังหวัด หัวหนาสวน ราชการ หอการคา อุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมวิชาชีพตางๆ ผูนำทองถิ่นในจังหวัดนั้นๆ ไปดูแผนพัฒนา จังหวัดวา ในอีก 5 ปขางหนาจะพัฒนาอะไร ขณะนี้มีอะไร เราตองการความรูอะไรมาใสใหกับบุคลากรบาง

88

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


เพราะจะเปนตัวกำหนดในการเปดและปดหลักสูตรของเรา เพราะฉะนั้นเราจะพูดไดเต็มปากเต็มคำเลยวา หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนตองการการมีสวนรวมของประชาชนจึงจะดำเนินการไปได สาม เมื่อเราผลิต บุคลากรไดแลว บุคลากรก็มาจากจังหวัดนั้นๆ บุคลากรเหลานี้จะกลับไปทำงานกับชุมชน แลวก็จะเปนกระจก เงาใหกับวิทยาลัยชุมชนอีกทีหนึ่ง เพราะฉะนั้นในขอ 3 ของเรานั้นคอนขางจะชัดเจนมาก 1.4 ความสามารถในการแขงขันได (Competitiveness) สวนความสามารถในการแขงขัน ผมอยากจะฝากกราบเรียนวา ในขณะนี้เรามีวิทยาลัยชุมชนอยูประเภทเดียว คือ ประเภทที่เปนของรัฐ แลวก็ ตอบสนองตอการพัฒนาเฉพาะจังหวัด เพราะฉะนั้นผมคิดวาเรื่องการแขงขันคงตองกำหนดไว 2 มิติกอน คือ 1) แขงขันกับตัวเอง ปที่แลวเราทำอะไรไปเทาไร Output Outcome Impact แลวเรา ประเมินแลวไดเทาไร ปหนาเราตองแขงขันกับตัวเองวาตองทำใหดีกวาปที่แลว แลวปตอไปก็ตองดีกวาปหนา เปนตน 2) ตองแขงขันกับเพื่อนๆ เรา แต ไม ไดแขงขันกันแบบเอาเปนเอาตาย แตแขงกันทำความดี เพราะฉะนั้นตรงนี้ก็คือการเรียนรูซึ่งกันและกัน แลวนำจุดแข็งของเพื่อนมาปรับปรุงตัวของเราเอง 2. ในระดับบุคคล ไดแก 2.1 ความโปรงใส (Transparency) ตรวจสอบได 2.2 ความมั่นคงซื่อสัตย (Integrity) คำวา Integrity เปนคำที่มีรากศัพทมาจากคำวา Integer แลวก็แยกเปน 2 คำนะครับคือ Integrity และ Integration Integer แปลวา 1.0 เปนเลขศูนยกลมๆ มีความเปนเอก เปนตัวเองมีความหมายทางคณิตศาสตร แตพอใช Integrity สำหรับบุคคลจะหมายถึง ความเปนคนที่มคี วามสมบูรณ ไมขาดไมเกิน สมบูรณในความ ถูกตองในความดีงาม เพราะฉะนั้นถาเรามีบุคคลที่มาทำงานใหกับวิทยาลัยชุมชนและมีความสมบูรณ ถูกตอง ดีงามทุกคนเลย ก็จะแนใจไดวาเราจะทำงานกันไดอยางดี Integration ซึ่งคำภาษาไทยแปลวา “บูรณาการ” และเรามักจะเขาใจกันผิดๆ เพราะคำวาบูรณาการ ยังมีอีกคำหนึ่งวา ประสานงาน ทั้งสองคำหมายถึงความที่มีคนจากหลายสวนงานมารวมกันทำงานเพื่องาน เดียว ประสานงานนี่เปนการรวมมือกันโดยผูที่มาจากภาคสวนตางๆ นั้นไดนำความรูความสามารถของแตละ ภาคสวนแลวนำมาทำงานรวมกัน เปรียบเสมือนวงดนตรีวงหนึ่ง บางคนตีกลองเกง บางคนไวโอลินเกง และ นำมารวมกั น ข อ สำคั ญ ขอให เ ล น เพลงเดี ย วกั น แต ไ ม ต อ งสลายความเก ง ของตั ว เอง เก ง กลองก็ ยั ง คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

89


ตีกลอง เกงไวโอลินก็ยังสีไวโอลิน สวน Integration “บูรณาการ” นั้นตองสลายพื้นฐานเดิมหมดเลยแลวมา รวมกันทำงานในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง เปรียบเสมือนหนึ่งพวกไปแขงเรือยาว สมมุติวามีพลพายเรือยาว 20 คน บางคนเปนตำรวจ บางคนเปนทหาร เปนยาม ทุกคนจะไมแตงชุดตำรวจ ทหารมาออกเรือ จะสลัดออก หมดเลย แลวก็มาพายเรือลำเดียวกัน สวนวิทยาลัยชุมชนไหนจะประสานกันแบบประสานงานหรือบูรณาการ ก็แลวแตลักษณะงานแลวแตโอกาสของลักษณะงาน ในสภาวิทยาลัยชุมชนหนึ่งๆ มีบุคคลมาจากหลายๆ ภูมิหลัง บางทานเปนนักวิชาการ เปนนักธุรกิจ แตเมื่อมาเปนสภาแลว ผมวาเราตอง Integrate กันใหได เราตองบูรณาการกันใหได เราตองสลัดความเปน นักธุรกิจ ความเปนรองผูวา ความเปนอะไรตออะไรออกใหหมด แลวทุกคนจะเปนสมาชิกของสภาวิทยาลัย ชุมชน ตอง Integrate และตองคิดกันเปนหนึ่งเลย ถาคิดแตกแยกก็จะไมสำเร็จ เพราะฉะนั้นถาพูดกันใน ระดับบุคคลแลวก็ตองมีความดีงามซื่อสัตยมั่นคง 2.3 สวนความรับผิดรับชอบในผลงาน (Accountability) ผมจะยกตัวอยาง ความรับผิดชอบ คือ พันธะสัญญาที่จะปฏิบัติงานใหแกองคกร มีประสิทธิภาพ และได ประสิทธิผล ตามที่ตกลงกัน เชน บุคคลหนึ่งไดรับเลือกเปนผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน 4 ป สภาวิทยาลัย ชุมชนก็จะตองกำหนดความรับผิดชอบใหกับบุคคลนี้วาใน 4 ปนี้มีพันธะสัญญาที่จะตองปฏิบัติงานอะไรบาง วาไปเลยแตตองมีสัญญาให ความรับผิดชอบคือพันธะสัญญาที่จะปฏิบัติงานใหแกองคกรใหมีประสิทธิภาพ และไดประสิทธิผลตามที่ตกลงกัน ปที่ 1 ทำไม ได ปที่ 2 ทำไม ไดงั้นก็ควรจะออกไปดีกวา หรือวาทำผิด ทำเพี้ยนก็ตองออกไป เหมือนอีกคนหนึ่งที่เราจางมาเปนพนักงานบัญชีของวิทยาลัยชุมชน เราก็ตองบอกวา ในพันธะสัญญามีอะไรบาง ใหเขามารับผิดชอบทำอะไรบาง ความรับผิดชอบตองมี และตองมีการประเมิน กันวาไดทำงานตามพันธะสัญญาที่ตกลงกันไวหรือไม อันนี้คือความรับผิดชอบ ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนก็ ตองมีความรับผิดชอบ เมื่อทานไดรับการแตงตั้งเขามาเปนประธานสภาแลว ตองเขียนใหชัดเลยวา ประธาน สภาวิทยาลัยชุมชนเมื่อไดรับการแตงตั้งแลวตองทำหนาที่อะไรบาง กรรมการทำหนาที่อะไรบาง เลขา ทำหนาที่อะไรบาง สวนมากเราไมไดเขียน เมื่อเราไมไดเขียนพอเวลาทำผิดทำถูกก็จะลูบหนาปะจมูก ระบบ ธรรมาภิบาลเกิดยากเหลือเกิน เพราะเราไมมีกฎเกณฑ ไวกอน อันนี้ผมฝากไว ถาเราอยากใหมั่นคงตองมี การกำหนดความรับผิดชอบ ยกตัวอยางเชน - สัญญาจาง - การกำหนดภาระงานตามตำแหนง

90

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


- การกำหนดความรับผิดชอบเฉพาะกิจ เชน งานประสาทอนุปริญญาเปนงานเฉพาะกิจ เราก็ตั้งคณะ ทำงานขึ้นมา กำหนดวาคณะทำงานจะตองมีความรับผิดชอบอะไรบาง ผมคิดวา ถาเราจะเอาธรรมาภิบาลมาใชจริงๆ ตองกำหนดในทุกตำแหนงหนาที่เลยวา เราจะใหมี ความรับผิดชอบอะไรบาง ความรับผิดรับชอบ Accountability คือ พันธะสัญญาที่จะรับผิดเมื่อการบริหารหรือการปฏิบัติงาน เกิดความเสียหาย และรับชอบเมื่อการบริหารหรือการปฏิบัติงานเกิดผลดีตามเปาหมาย พอระบบเริ่มทำงานวันแรกนะ ตอนที่เลือกผูอำนวยการ เราบอกวาคุณมาเปน ผูอำนวยการ 4 ป มีหนาที่อยางนี้ เปนความรับผิดชอบ อันนี้เซ็นสัญญาไวเลย แตยังไม ไดทำงานนะ พอเขามาทำงานวันแรก เทานั้นจนกระทั่งจบ 4 ป ในระหวางนี้ ถาเขาทำดีระบบตองใหรางวัล แตถาเขาทำผิดระบบตองมีการลงโทษ ลงโทษแรง ลงโทษเบาอันนี้แลวแตที่ตกลงไว ไมวากัน นี้คือ ความรับผิดรับชอบ เชน - ระบบการประเมินผลงานของบุคคล ของสวนงาน ของสวนรวม ของวิทยาลัย - ระบบการใหรางวัล - ระบบการลงโทษ - ระบบการเลื่อนตำแหนง - ระบบการเลื่อนเงินเดือน เหลานี้ลวนอยูในเรื่องของ Accountability ทั้งนั้น ผมคิดวาอาจจะถึงเวลาแลวที่ผูอำนวยการวิทยาลัย ชุมชนตองไดรับการประเมินผลงาน เขาเรียกวา Performance Assessment (PA) สวนมากแลวอาจจะ ประเมินทุกปก็ได ประเมินดูวาทานทำงานไปตามความรับผิดชอบที่ไดตกลงกันไวหรือไม มีอะไรบกพรองบาง มีอะไรที่ดีงามบาง กรรมการประเมินสวนใหญจะประกอบดวยกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน 2-4 คน เสร็จ แลวก็รายงานใหสภาทราบ หรือกรรมการประเมินอาจจะเอาภายนอกก็ได ใหกรรมการอิสระมาประเมิน แลวแตจะตกลงกัน ในระหวางทำงานไปแลวเกิดความเสียหายแบบฉับพลันก็ตองประเมินกันแนนอน ตอง สอบสวนแนนอน เราถึงจะมีระบบธรรมาภิบาลที่สมบูรณ สวนเรื่องการใหรางวัล การลงโทษ การเลื่อน ตำแหนง การเลื่อนเงินเดือน ควรอยูในขอบังคับของการบริหารบุคคลของวิทยาลัยชุมชน เรื่อง Accountability เปนเรื่องนามธรรม ที่จะตองทำเปนรูปธรรม หนึ่งคือ PA ตำแหนงที่จะตอง ประเมินแนนอนคือผูอำนวยการ สองคือ ระบบที่อยูในขอบังคับของการบริหารงานบุคคล คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

91


ความโปรงใส

1. วิทยาลัยชุมชนเปน “องคกรแหงการเรียนรู” 1.1 ตองมีการเลื่อนไหลและการเปดเผยขอมูลขาวสารภายในองคกร ตองรับรูกัน ยกตัวอยาง เชน สภาวิทยาลัยชุมชนประชุมกันทุกเดือน เรื่องแจงเพื่อทราบที่ตองบอกทุกเดือนคือ ฐานะทางการเงินของ วิทยาลัยชุมชน ตองการแจงทุกเดือนระบบบัญชีตองสามารถตรวจสอบไดทุกนาที ถาใครอยากที่จะตรวจสอบ ตองพรอมที่จะใหตรวจสอบ ไมใชจะตรวจสอบแลวบอกวา ผมขออีกสัก 15 วัน ถาอยางนั้นภายใน 15 วัน คุณจะไปแกไขตัวเลขอะไรเราก็ไมรู ตองตรวจสอบไดทันที ซึ่งตองพัฒนาใหไดถึงขนาดนั้น อันที่ 2 ทุกเดือน คณะกรรมการอยากจะรูอะไรบางในเรื่องของการเงินกับงบประมาณ แลวทุก 6 เดือนอยากรูอะไรบาง ทุกๆ สิ้นปคณะกรรมการอยากรูอะไรบาง ตรงนี้สภาวิทยาลัยชุมชนตองกำหนดออกมาใหชัดเจนวาอยากรูอะไรบาง ตองรายงานให ได เชน (1) เรื่องสถานะทางการเงิน (2) เรื่องสถานะจัดการเรียนการสอน โดยสามารถ เทียบกับปกอนๆ ได หรือเทียบกับเปาหมาย เชน สมมุติวาเราเปดหลักสูตรอนุปริญญาแลวก็มีเปาหมายจะ รับ 30 คน ปแรกมาสมัคร 60 คนรับ 30 ปที่ 2 มาสมัคร 100 คน รับ 30 คน ปที่ 3 มาสมัคร 20 คนรับ 20 คน ถากรรมการมีตัวเลขเหลานี้แลวก็เลื่อนไหลและเปดเผย กรรมการจะรู ไดเลยวาเกิดอะไรขึ้น ปที่ 1 มา สมัครตั้ง 2 เทาของที่จะรับ ปที่ 2 มาสมัครตั้ง 3 เทากวา แลวปที่ 3 ทำไมมาสมัครไมครบกับที่รับ มันเกิด อะไรขึ้น ตัวเลขเหลานี้ถามีการรายงานจะทำใหคณะกรรมการสามารถนำไปสอบสวนใหลึกซึ้งและกำหนด ออกมาเปนนโยบายได คำตอบอาจจะไปสอบสวนแลวปรากฏวา จังหวัดนี้หลักสูตรนี้มันเต็มแลว สอนไปเต็ม แลวไมมีผูเรียน ปตอไปเราจะไดปด แลวไปเปดหลักสูตรใหม หรือเปนเพราะอยางอื่น เรียนไป 2 ปแลว อาจารยลาออกไปหมดแลว เพราะเบี้ยสอนไมได พอตอนทายๆ เด็กไปพูดวา อยาไปเรียนเลยปหนาคนสอน หนีหมดแลว คือตัวเลขเหลานี้ ทำใหเรามองเห็นความจริง แลวทำใหเราสามารถกำหนดเปนนโยบายได เพราะฉะนั้นผมคิดวาการเลื่อนไหลการเปดเผยขอมูล และการรายงานขอมูลใหที่ประชุมสภาไดรับรูทุกเดือน จะทำใหสภาไดรับรูวาอะไรมันเกิดขึ้น ผมนั่งอยู ในสภามหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง ไมมีการรายงานจำนวนนักเรียนนักศึกษา มีขอเสนอจากฝาย บริหารเขามาแปลกๆ สุดทาย ผมถามวามีนักเรียนอยูเทาไร มีไมถึง 1 ใน 4 ที่เคยมี เด็กหายหมดเลยแลว บอรดไมเคยรูเลย สภามหาวิทยาลัยไมเคยรูเลย คือ มหาวิทยาลัยเสียหายโดยที่คณะกรรมการไมรูตัว เพราะ ไมมีการรายงาน

92

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ตรงนี้ขอฝากพวกเราไวดวยวา สภาวิทยาลัยชุมชนจำเปนตองไดรับขอมูลความโปรงใสของฝายบริหาร โดยตองกำหนดใหฝายบริหารวาตองรายงานอะไร แลวฝายบริหารตองไปจัดระบบออกแบบระบบบริหารให สามารถรายงานได ถารายงานไม ไดตองสงสัยไวกอนวา มีการปกปด และตองสามารถเปรียบเทียบไดกับ ปกอนๆ ไม ใชรายงานเฉพาะหนึ่งเดือนที่ผานมา ถารายงานการเงินเมื่อเดือนกุมภาพันธ สมมุติเราประชุม เดือนมีนาคม เราตองไดรายงานการเงินเดือนกุมภาพันธแลวเทียบกับรายงานการเงินเดือนกุมภาพันธปที่แลว ดวย จึงจะรู ไดวาตอนนี้เรากำลังขาดทุนหรือกำไร เงินกำลังเหลือมากหรือเหลือนอยหรือไมเหลืออะไรเลย หรือมีแตหนี้ตางๆ เหลานี้เปนตน ขอฝากคณะกรรมการไว คณะกรรมการตองรับรูตรงนี้ การเลื่อนไหลและ การเปดเผยขอมูลขาวสารในองคกร 1.2 การมีสวนรวมในหลายพื้นที่ 1.3 ความเปนธรรมในองคกร คณะกรรมการตองใหความเปนธรรมในองคกรกับเขาให ได โดยคณะกรรมการตองถือวาตัวเองเปนผูใหญ ตองไมมีอคติทั้งบวกและลบ 2. ปราศจาก “การขัดกันแหงผลประโยชน ” (Conflict of Interest) คณะกรรมการเองตองทำตัวอยาง ฝากคณะกรรมการทุกคณะกลับไปคิดในการออกรหัส กฎ ขอ บังคับ หรือกฎเกณฑของการขัดกันแหงผลประโยชนของวิทยาลัยชุมชน วาประธานกรรมการสภา และกรรม การสภาวิทยาลัยชุมชนตองไมทำอะไรบาง เชน 2.1 ตองไมคาขายกับวิทยาลัยชุมชน 2.2 ตองไมฝากเด็ก ตองกำหนดกติกา กติกาแตละแหงตางคนตางไปเขียน หรือตั้งคณะทำงานชวยกันเขียนเปนกติการวม วาวิทยาลัยชุมชนประเทศไทยจะไมทำอะไรบาง และกติกาเฉพาะแหง พรอมประกาศเอาเขาสภา ใหสภา อนุมัติวาเปนกติกาของการขัดกันแหงผลประโยชน แลวก็ปฏิบัติตามกติกา

การตรวจสอบ

1. มิติของการตรวจสอบ 1.1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Assessment – PA) การตรวจสอบของ ผูอำนวยการ คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

93


2. ระดับของการตรวจสอบ 2.1 ระดับสภามหาวิทยาลัย 2.2 ระดับมหาวิทยาลัย 2.3 ระดับสวนงาน 2.4 ระดับหนวยงาน ระบบการตรวจสอบ จริงๆ ตองลงไปที่สภาวิทยาลัยชุมชนดวย สภาวิทยาลัยชุมชนตองถูกตรวจสอบ คณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนลองไปตั้งระบบ ตัวอยางเชน - จำนวนครั้งในการเขาประชุมสภา สภามาประชุมกี่เปอรเซ็นต สมมติวาประชุมกันปละ 10 ครั้ง แตละคนมาประชุมกี่ครั้ง ตองรายงานทั้งหมด - การมีมติและมตินั้นสามารถจะนำปฏิบัติได เชน การประชุมสภาวิทยาลัยชุมชนจะกำหนด ระเบียบวาระการประชุม (Agenda) มักจะใชคำผิดวา วาระการประชุม (Term) คือชวงเวลาการดำรง ตำแหนง ไมใชหัวขอการประชุม ถาหัวขอการประชุมเรียก “ระเบียบวาระการประชุม” โดยมีองคประกอบ ดังนี้ ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ 1.1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ ในการประชุมทั่วโลกเขาถือเปน หลักปฏิบัติทั่วโลกวา ประธานเปนคนเดียวในที่ประชุมที่จะพูดหรือแจงอะไรก็ไดกอนเนื้อหาสาระที่แจงไว อาจพูดถึงเรื่องทั่วไปก็ได แตถามีสาระก็บันทึกไวในรายงานประชุม แตถาไมมีในรายงานการประชุมก็จะบันทึกไววา ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ (ไมมี) 1.2 เรื่องที่เลขานุการแจง เรื่องที่ทุกคนจะแจงตองผานมาที่เลขาเพื่อที่จะแจงใหที่ประชุมทราบ ซึ่งอาจเปนผลการปฏิบัติตามมติที่ประชุมในคราวที่ผานมา ประกอบดวยชื่อระเบียบวาระ มติ และผลการ ปฏิบัติงานตามมติ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ในคราวที่ผานมา ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง/เรื่องคางพิจารณา เรื่องสืบเนื่องคือ เรื่องที่คราวที่แลวระบุวาเปนเรื่องพิจารณา แลวพิจารณาไปแลวสวนหนึ่ง แตวายัง ไมจบ อาจเปนเพราะขอมูลไมพอ หรือยังตองมีคนอื่นใหความคิดเห็น ตองใหเครดิตเอามาพิจารณาตอเลย

94

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


เปนเรื่องสืบเนื่อง เรื่องคางพิจารณา คือเรื่องพิจารณาคราวที่แลว แตยังไมไดพิจารณาเลย คราวนี้ก็ตองเอา มาเปนเรื่องพิจารณา ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา เรื่องเพื่อพิจารณาอาจจัดหมวดหมูใหม เชน 4.1 เรื่องเชิงนโยบาย เชน การเปด-ปดหลักสูตร 4.2 การแตงตั้งบุคคล 4.3 การสำเร็จการศึกษา ฯลฯ ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ คือเรื่องที่ไมไดเตรียมไวกอน เปนเรื่องที่ที่ประชุมเห็นวาควรพิจารณา อยูในอำนาจหนาที่ของสภา ถาทำอยางนี้ ไดจะทำใหการตรวจสอบการทำงานของสภาวิทยาลัยชุมชนจากรายงานการประชุมเปน ไปได เพราะสภาเองก็ตองถูกตรวจสอบ

โครงสรางของระบบธรรมาภิบาล (Good Governance Structure)

ทุกองคกรไมวาภาครัฐ เอกชน ธุรกิจ NGO ถาวิเคราะหโครงสรางองคกรแลว จะแตกออกมาเปน 4 ระดับเสมอ คือ ระดับที่ 1 คือ เจาของ ระดับที่ 2 คือ คณะกรรมการนโยบาย ระดับที่ 3 คือ ผูบริหาร ระดับที่ 4 คือ ผูปฏิบัติ ทุกองคกรจะมีโครงสรางแบบนี้ ตัวอยางเชน รานกาแฟที่สามีภรรยาเปนเจาของ ก็จะแตกออกมาเปน แบบนี้ได ระดับที่ 1 เจาของ คือ สามีภรรยา ระดับที่ 2 นโยบาย คือ สามีภรรยา กำหนดวาจะขายตอนไหน ราคาเทาใด ระดับที่ 3 ผูบริหาร คือ สามีภรรยา ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ คือ สามีภรรยา คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

95


ตอนหลังสามีภรรยาคูนี้ไดเก็บเงินและขยายราน ซื้อหองแถวเพิ่ม จางลูกจาง ผูปฏิบัติจะกลายเปนลูก จาง รานกาแฟที่ผมยกตัวอยางนี้ ไดขยายกิจการเปดเปนซุปเปอรมาเก็ต และขยายกิจการจนใหญโต เปน กลุมบริษัทหนึ่งที่ใหญโตมากในประเทศไทย ดังนั้น ระดับที่ 1 เจาของ คือตระกูลเขา ระดับที่ 2 นโยบาย อาจเปนลูกชาย ลูกเขย เปนประธานกรรมการ และมีมืออาชีพมาเปนกรรมการ ระดับที่ 3 ผูบริหาร อาจเปนคนในครอบครัว หรืออาจจาง CEO มืออาชีพ ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ คือ ลูกจาง สำหรับวิทยาลัยชุมชน ทั้ง 4 ระดับ เจาของ คณะกรรมการนโยบาย ผูบริหาร และผูปฏิบัติ ตองมี ทั้งความรับผิดชอบ และรับผิดรับชอบ ผูปฏิบัติตองรับผิดชอบและรับผิดรับชอบตอผูบริหาร ผูบริหารตอง รับผิดชอบ และรับผิดรับชอบตอกรรมการนโยบาย กรรมการนโยบายตองรับผิดชอบ และรับผิดรับชอบตอ เจาของ ระดับที่ 1 เจาของ คือ รัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ ประชาชน ระดับที่ 2 นโยบาย คือ สภาวิทยาลัยชุมชน ระดับที่ 3 ผูบริหาร คือ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ผูบริหารระดับกลาง ระดับลาง ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ คือ เจาหนาที่ ครู ผูสอน ซึ่งมี 2 องคประกอบ คือ สายบริหารจัดการองคกร และบริหารหลักสูตร ไดแก การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ผูปฏิบัติตองรับผิดชอบตอผูอำนวยการ ผูอำนวยการตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการนโยบาย คณะ กรรมการนโยบายตองรับผิดชอบตอกระทรวงศึกษาธิการ หรือตอบอรดใหญ จะตองเปนชั้น ๆ ขึ้นไปจึงจะ เปนโครงสรางธรรมาภิบาลอยางแทจริง วิทยาลัยชุมชนเจาของ คือ รัฐบาล ยังไมเปดโอกาสใหเอกชนเปนเจาของวิทยาลัยชุมชน เนื่องจากเรา ตองการใหวิทยาลัยชุมชนยึดชุมชนเปนฐาน เปดโอกาสใหกับคนยากดีมีจน อยูอำเภอไหนก็เขาเรียนได เพราะฉะนั้นการเก็บคาหนวยกิตจึงถูกมาก และความถูกมากถาตกไปในมือเอกชนจะทำไดยาก เพราะเขา ตองลงทุน ในการลงทุนตองขีดเสนกำไร ไมงั้นจะอยู ไม ได และตองดูแลคุณภาพมาตรฐานใหอยู ในกรอบ เดียวกอน เจาของจึงเปนรัฐบาลหรือประชาชน นโยบายก็เปนสภาวิทยาลัยชุมชน ผูบริหารก็เปนผูอำนวยการ ผูปฏิบัติก็เปนทั้งสองสายในแตละระดับตองมีความรับผิดชอบหลักๆ ดังนี้

96

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ความรับผิดชอบในแตละระดับ ระดับที่ 1 เจาของ 1.1 ตองกำหนดเปาประสงคหลักขององคกรมาให ได กระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐบาลไทยตองบอก ให ไดวาตั้งวิทยาลัยชุมชนมาเพื่ออะไร ซึ่งจะบอกตอนจัดตั้ง และ 1) ในรางพระราชบัญญัติวิทยาลัยชุมชน ตองบอกวาประเทศนี้มีวิทยาลัยชุมชนเพื่ออะไร ในมาตราตนๆ ตองยึดตรงนั้นมาเปนเปาหมายหลัก 2) ใน แผนพัฒนาอุดมศึกษาแหงชาติ ในทุก 10 – 15 ป สภาการศึกษาตองเสนอแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติซึ่ง มีตั้งแตปฐมวัย พื้นฐาน อาชีวะ อุดมศึกษา และในอุดมศึกษาตองพูดใหชัดเลยวา วิทยาลัยชุมชนจะไป ทิศทางไหน 3) แผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแหงชาติทุก 5 ปวาจะใหทำอะไร 4) แผนงบประมาณ ประจำปตองบอกใหไดวาในปนี้ ปหนา ของบประมาณประจำปเพื่อพัฒนาวิทยาลัยชุมชนไปทางไหน 1.2 ใหการสนับสนุนองคกร ระดับที่ 2 กรรมการนโยบาย 2.1 แปลงเปาประสงคเปนนโยบายองคกร สภาตองนำเปาประสงคของเจาของมาแปลงเปนนโยบาย ของวิทยาลัยชุมชน 2.2 สงเสริมสนับสนุนผูอำนวยการ และผูปฏิบัติทุกคน ใหทำงานไดตามเปาประสงค ตามนโยบาย 2.3 หนาที่อื่นตามที่กฎหมาย และนโยบายรัฐ ระดับที่ 3 ผูบริหาร หรือผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน 3.1 แปลงนโยบายองคกรเปน นโยบายเชิงบริหารและแผนยุทธศาสตรของแตละวิทยาลัยชุมชน เปนหนาที่ของ CEO หรือผูอำนวยการ 3.2 บริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลตามเปาหมาย ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ 4.1 แปลงแผนยุทธศาสตร เปนแผนปฏิบัติงานประจำป 4.2 ปฏิบัติงานใหไดตามแผนที่ไดวางไว

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

97


ความรับผิดชอบตอสังคม ระดับที่ 1 เจาของ เจาของ หรือรัฐ หรือกระทรวงศึกษาธิการตองสนับสนุนอุดมศึกษาเพื่อเปนแหลงเพาะองคความรู และปญญา แหลงผลิตนักวิชาการ และนักวิชาชีพชั้นสูง เพื่อเปนพลังในการพัฒนาประเทศ เปนแหลงเกื้อกูล ตอการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรกั ษ กับทัง้ เพิม่ พูนทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ ประโยชนโดยรวมตอสังคม ระดับที่ 2 กรรมการนโยบาย สภาวิทยาลัยชุมชน กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน และประธานกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน 2.1 ถือวาการเขามาเปนกรรมการสภามหาวิทยาลัยคือ โอกาสสุดยอดในการรับใชสังคม คนเราตอง รับใชสังคม 2.2 ทุมเทสติปญญา เวลา เพื่อวิทยาลัย 2.3 เปนงานปดทองหลังพระ งานที่ทุมเท มีความสุขที่ ไดทำงานเพื่อคนอื่น มีความสุขที่ ไดเห็น วิทยาลัยเจริญ ระดับที่ 3 ผูบริหาร หรือผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร ผูอำนวยการ ตองถือวา 3.1 การที่ ไดรับเลือกเปนผูบริหารเปนโอกาสทองของชีวิตที่ ไดมีโอกาสนำเอาความรู ประสบการณ และเจตนาดีมาบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชน 3.2 งานนี้เปนงานหนัก ตองเสียสละ อดทน อดกลั้น และอดออม 3.3 ถอมตน สุภาพ และขมใจมิใหหลงใหลไปกับอำนาจบริหาร (ยิ่งสูงยิ่งตองโนมต่ำ) 3.4 มุงมั่นสูความสำเร็จ ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ ก็คือพนักงานของวิทยาลัยเอง 4.1 เปาหมายงาน คือ เปาหมายชีวิต ยิ่งงานสำเร็จสูงชีวิตก็ไปสูเปาหมายที่สูงได 4.2 ความสำเร็จขององคกร คือ รมโพธิ์รมไทรใหแกทุกคน 4.3 ใหสรางความรักความภูมิใจในองคกรของตน จะทำใหทุกคนมีคุณคาขึ้น นี่คือหลักกวางๆ ของระบบธรรมาภิบาล ผมขอฝากหลักปฏิบัติไวแลว ก็ขอฝากการบานไวดวย ผมมี เรื่องที่กราบเรียนกับประธานกรรมการสภาวิทยาลัยโดยตรง ตอนตนเปนโครงสรางธรรมาภิบาล ซึ่งรวมหมด

98

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ทั้ง 4 ระดับ ทั้งระดับผูปฏิบัติ ผูบริหาร กรรมการสภา และเจาของ ตอไปนี้เปนเรื่องเฉพาะกรรมการสภา สถาบัน เคยไปพูดในวิทยาลัยชุมชนบางแหงแลว หลายทานก็เคยฟงแลว บางทานยังไมไดฟงก็ขออนุญาตพูด ซ้ำ ซึ่งไดมาจากประสบการณของสถาบันอุดมศึกษาที่ ไมมุงหวังผลกำไรของสหรัฐฯ ได ไปรวบรวมมา และ ผมเชื่อวานาจะเปนประโยชนตอพวกเรา ดังนี้ คณะกรรมการสภาสถาบัน 1. คณะกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาตองเชื่อมั่นและยึดมั่นใน 1.1 จิตใจอาสาสมัคร (Volunteerism) 1.2 จิตใจสาธารณกุศล (Philanthropy) เราเขามา เราอาสาสมัครเขามาเพื่อจะมาทำสาธารณกุศล 2. เพราะฉะนั้นจึงเปนการปฏิบัติหนาที่ ในฐานะกรรมการสภาสถาบันจึงถือเปน “สุดยอด” (crown jewel) ของการรับใชสังคม (public service) ภาษาฝรั่งใชคำวา “crown jewel of public service” crown jewel ก็คือวาในมงกุฎของราชินีหรือ ราชาในยุโรป จะมีเพชรพลอยหลายเม็ด แตจะมีเม็ดหลักอยูเม็ดหนึ่งตรงกลางคือ crown jewel 3. สิ่งที่กรรมการสภาไดรับ คือ การยอมรับนับถือ (respect) จากสาธารณะ เปนการทำงานปดทอง หลังพระ ไดรับความเชื่อมั่น 4. สิ่งที่กรรมการสภาพึงปฏิบัติใหได คือ 4.1 ความรับผิดชอบ (responsibility) 4.2 พันธะพิเศษ (special obligations) ตองปฏิบัติพันธะพิเศษในหลายครั้ง บางทีก็เปน กรรมการสรรหา บางทีก็เปนกรรมการไปทำโนนทำนี่ เราก็ตองยอมรับ ไม ใชพอที่ประชุมมอบหมายก็บอก ไมวาง งานเยอะ ซึ่งก็ไมยุติธรรม ถาเราแบงงานกัน งานก็ไมมากนัก 4.3 ความคาดหวัง (high expectation) การที่เรามาเปนกรรมการสภา ประธานสภานั้น มี ความคาดหวังจากหลายๆ ฝาย บางคาดหวังผลประโยชนสวนตน บางคาดหวังวา จะมาทำใหวิทยาลัยชุมชน เจริญกาวหนาได เปนตน

คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

99


ความรับผิดชอบ 12 ประการของกรรมการสภาสถาบัน 1. ตองกำหนดพันธกิจและเปาประสงค (setting mission and purposes) ใหชัด สภาตองเขาใจเปา ประสงคของสถาบันอยางชัดเจน และชวยกันกำหนดทิศทางใหสถาบันเดินไปสูเปาประสงคนั้นๆ ซึ่งตองไปดู นโยบาย 15 ป ของแผนอุดมศึกษาของชาติ ตองดูมติคณะรัฐมนตรีที่ประกาศตั้งวิทยาลัยชุมชนแหงชาติ เมื่อ 2545 วา คาดหวังอะไร ทำไมถึงตั้งวิทยาลัยชุมชน เปนตน 2. ตองรับผิดชอบในการสรรหาผูอำนวยการหรือ CEO ของวิทยาลัยชุมชน (appointing the president) เปนความรับผิดชอบสำคัญที่สุดที่สภาวิทยาลัยชุมชนที่จะตองสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติ และ ประสบการณที่จำเปนเพื่อมารับหนาที่ที่สำคัญนี้ 3. สนับสนุนงานของผูอำนวยการ (supporting the president) 3.1 ใสใจและชวยเหลืองานของวิทยาลัย 3.2 ชวยระดมทรัพยากรชวยวิทยาลัย 3.3 ชวยใหกำลังใจ และชมเชยในความสำเร็จ 3.4 มาประชุมอยางสม่ำเสมอ 4. ติดตาม-กำกับการปฏิบัติงานของผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน (monitoring the president’s performance) 4.1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (PA) 4.2 การตรวจสอบภายในดานการเงิน ผมลืมถึง Financial Auditing คือการตรวจสอบ การเงิน จะขอสำนักงานตรวจเงินแผนดิน (สตง.) จังหวัดใหมาชวยดูก็ได แตทกุ ปตอ งมีรายงานการตรวจสอบ การเงิน ผมคิดวา องคกรเราไมใหญและไมซับซอนนัก เงินมีไมคอยมาก จะขอสำนักงาน สตง. จังหวัดเขา ตรวจสอบทำ Financial Auditing ใหเรา ทั้งนี้เพื่อชวยใหผูอำนวยการปฏิบัติงานไดดียิ่งขึ้น (to help strengthen his or her) ไมไดไปจับผิด ยกเวนคนที่ผิดแลวไมอยากใหคนอื่นจับ คนเขาใจเรื่องตรวจสอบ ภายในทางการเงินผิดไปมาก และผมคิดวาตองทำความเขาใจใหตรงกัน สภาเองตองทำความเขาใจใหตรง กัน สภาตองตั้งใหมีระบบนี้ขึ้นมา ไมใชอยากใหมีเพราะอยากมาจับผิด แสดงวาเราละเลย มันไมถูก คลาย ไปจับผิดบุคคล แตผมคิดวาถาเราตั้งระบบของเรา สรางระบบเราใหดี มาตกลงกันในสภาวาเราตองมี Financial Auditing ทุกป แลวทุกปตองมีรายงานการเงินอยางนี้ จะทำใหผูอำนวยการสบายใจ วาการ บริหารการเงินของทานที่ผานมามีขอบกพรองอะไรหรือไม ตองปรับปรุงตรงไหนบาง Financial Auditing

100

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ที่ดี ตองสามารถชี้จุดออนใหปรับปรุงได 5. ประเมินการปฏิบัติงานของสภาวิทยาลัย (assessing board performance) สภาเองก็ตอง ประเมิน เชน 5.1 ประเมินผลการปฏิบัติตามมติสภา ที่ผมบอกไปแลว ระเบียบวาระ 1.2.1 ผลการปฏิบัติ ตามมติสภา ตรงนี้คือ การปฏิบัติทุกเดือนที่มีการประชุม 5.2 ประเมินผลงานของสภาประจำปโดยองคกรอิสระ 5.3 จัดประชุมปฏิบัติการ (workshop) หรือประชุมทบทวน (retreat) ทุก 3-4 ปโดยสมาชิก สภา เชน สมาชิกสภาวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน อาจจะขอมาซัก 1-2 วันในหนึ่งป แลวคุยกันวาเราทำอะไร กันที่ผานมา 2 ป และจะปรับวิธีทำงานยังไงใหมันดี เปนการ retreat ในการประเมินตนเองไดเหมือนกัน 6. ยืนหยัดใหมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร (insisting on strategic planning) คือการนำเอานโยบาย ขององคกร แปลงเปนแผนยุทธศาสตรเพื่อใหเกิดเปนแผนปฏิบัติงาน นโยบายก็ไมเกิดเปนผลเมื่อเขียนไวใน กระดาษเฉยๆ แผนยุทธศาสตรคือสะพานเชื่อมระหวางนโยบายกับการปฏิบัติงานจริง ฉะนั้นสภาตองยืนหยัด เลยว า ผู อ ำนวยการต อ งทำแผนยุ ท ธศาสตร ผู อ ำนวยการ ผู บ ริ ห าร และผู ป ฏิ บั ติ ต อ งร ว มกั น ทำแผน ยุทธศาสตรเสนอสภาใหอนุมัติใหได 6.1 ใหฝายบริหารและฝายปฏิบัติกำหนดแผนบริหารและแผนปฏิบัติ 6.2 ประเมินผลงาน-ผลกระทบ 6.3 ปรับปรุงการบริหารและการปฏิบัติ - หลักสูตร การเรียนการสอน ดูวา หลักสูตรระยะสั้นปนี้ทำไปเทาไร ปที่แลวทำไปเทาไร ปที่แลว 3 ป มีกี่หลักสูตร มีคนเขารวมเทาไร เปนตน - การวิจัยและพันธกิจตาง ๆ 7. ทบทวนหลักสูตรและโครงการบริการสังคม (reviewing education and public-service programs) เพื่อนำไปสู 7.1 การควบคุมคาใชจาย (cost containment) เชน หลักสูตรบริหารคอมพิวเตอรธุรกิจ ทำมาแลว 3 ป เราตองมีระบบที่สามารถรายงานไดวา ปแรกใชเงินไปเทาไร คาใชจายทั้งหมดตอหลักสูตร เทาไร และมีผลิตผลออกมากี่คน แลวหารออกมาวาผลิตบัณฑิตอนุปริญญาบริหารธุรกิจ 1 คน ปแรกใชเงิน เทาไร สมมติวาใชเงินไป 2,300 บาท เอาคาใชจายทั้งหมดมาหารผลลัพทที่ได ปที่ 2 ใชเงินไป 2,100 บาท คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

101


ปที่ 3 ใช 3,500 บาท พอ cost/graduate ออกมาทานตองถามวา เกิดอะไรขึ้น ทำไมปที่ 3 คาใชจายของ บัณฑิตแตละคนถึงแพงกวา ปที่ 1 และ 2 อาจจะมีเรื่องของการลงทุน เชน ลงทุนหองแล็บคอมพิวเตอร 1 หอง เลยทำใหคาเฉลี่ยเพิ่ม ถาอธิบายไดก็ไมเปนไร ถาสภาเขาใจได ยอมรับไดก็ไมเปนไร เปนการพัฒนา คุณภาพ แตวาตองมีการรายงานเพื่อใหมีการดูแลเรื่องคาใชจาย เรื่อง cost containment เปนเรื่องที่ตอง พิจารณา ของผมดูหมดเลยทั้งคาน้ำประปาทุกเดือน เทียบกับปที่แลวเดือนนี้ และปนี้เดือนนี้ และนักเรียนปที่ แลว นักเรียนปนี้เทาไร แลวทำไมน้ำประปาปนี้เทียบกับปท่แี ลวจึงขึ้น อัตรามันขึ้น หรือจำนวนหนวยมากขึ้น แลวทำไมจึงเสียน้ำมาก หรือวามีรอยรั่ว อธิบายกันให ได คาไฟ คาน้ำมันรถ คาเดินทางไปประชุมนอก สถานที่เปนอยางไรตองรายงานทั้งหมด 7.2 การจั ด สรรทรั พ ยากรใหม (reallocating limited resources to capitalize on institutional strength) 7.3 การลดแรงกดดันที่ตองขึ้นคาเลาเรียน (reducing the rate of tuition increase) ถาเรา ทำ cost containment ดี และจัดสรรทรัพยากรใหมมาได ก็ลดแรงกดดันที่ตองขึ้นคาเลาเรียนแกเด็ก เด็กก็ ไมตองไปแบกรับ เปนการงายเกินไปที่สภาจะไมสนใจการบริหารอะไรเลย แลวก็วาบอกปที่แลวขาดทุน ปนี้ ขอขึ้นคาเลาเรียน ผลักภาระไปอยูที่ผูเรียนรุนใหม แตถาเรามาพิจารณากันอยางนี้ ทำใหการบริหารจัดการ ชัดขึ้น จะลดแรงกดดันที่จะขึ้นคาเลาเรียนแกผูเรียน ก็จะตรงตามปรัชญาของเรา 7.4 การปรับโครงสราง (restructuring) ถาหากมีปญหาจริงๆ ก็ปรับโครงสราง โครงสรางที่ ฝายบริหารเสนอมาก็ตองวิเคราะหวาทำไมตองตั้งหลายฝาย จำเปนหรือไมจำเปนแค ไหน ยุบได ไหม ปรับ โครงสรางไดไหม บางทีคณะกรรมการก็ตองทำเหมือนกัน 8. ประกันความพอเพียงของทรัพยากร (ensuring adequate resources) 8.1 “งบประมาณไมเคยพอ” ก็จริง แตสภาตองรวมรับผิดชอบเพื่อใหมีทรัพยากรที่เพียงพอ ตอการบริหาร และปฏิบัติงาน 8.2 กรรมการสภาตองชวยกันหาเงินนอกงบประมาณ หาทรัพยากรอื่น เชน ทรัพยากรบุคคล หรือเครือขาย หาความรวมมือ หาพันธมิตร ชวยฝายบริหาร 9. ประกันการบริหารจัดการที่ดี (ensuring good management) เครื่องชี้ คือ 9.1 มี “ธรรมาภิบาล” 9.2 งบดุลไมติดลบ

102

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


9.3 คณาจารยและเจาหนาที่มีคุณภาพ เสียสละเพื่อสถาบัน 9.4 ได “บัณฑิตที่พึงประสงค” ฯลฯ 10. ยึดมั่นในความมีอิสระของสถาบัน (preserving institutional independence) 10.1 สภาปฏิบัติในกรอบจริยธรรม 10.2 ผูบริหาร และผูปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานไดผลดี 10.3 สถาบันไดรับการรับรองคุณภาพ หากเปนเชนนี้แลวสภาวิทยาลัยตองประกัน “ความเปน อิสระทางวิชาการ” (academic freedom) และ ”ความเปนอิสระในการบริหารสถาบัน” เรื่องความเปน อิสระนี้ ผมอยากใหสภาคอยๆ ปลอย ถาฝายบริหารกับฝายปฏิบัติยืนไดอยางมั่นคง เรื่องอิสระสภาก็จะ ปลอยเอง แตวาในการตั้งวิทยาลัยชุมชนแหงใหมๆ ที่ระเบียบขอบังคับตางๆ ยังไมคอยรัดกุม ผมอยากให สภาเปนพี่เลี้ยงใหมากกวา เมื่อผานไป 3 ป 5 ป 10 ป วิทยาลัยชุมชนบางแหงเริ่มเจริญเติบโตมีระเบียบ มีขอบังคับ และรายงานตางๆ ที่เขามา การประเมินผลงาน การรับรองรายงานการเงินตางๆ ดีขึ้นก็ผอนได ที่ตางประเทศบอกวา ถาสภาได 3 อันบน เราจะคอยๆ ผอนลงลาง คือ สภาปฏิบัติในกรอบจริยธรรมชัดเจน ผูบริหาร ผูปฏิบัติปฏิบัติงานไดผลดี วิทยาลัยไดรับการรับรองคุณภาพ หลังจากนั้นเราก็คอยๆ ปลอยเปน อิสระในการบริหารจัดการ 11. เชื่อมโยงวิทยาลัยชุมชนไปสูชุมชน และเชื่อมโยงชุมชนสูวิทยาลัยชุมชน (relating campus to community and community to campus) 11.1 สภาวิทยาลัยเปน “กันชน – buffer” 11.2 สภาเปน “สะพาน-bridge” เชน บางครั้งสื่อมวลชนอาจจะเขาใจสภาของวิทยาลัยชุมชน ผิด สภาก็ตองมีหนาที่ชี้แจง หรือเรามีหนาที่หาสิ่งดีงามไปเชื่อมระหวางวิทยาลัยชุมชนกับชุมชน 11.3 สภาชวยสรางความเขาใจระหวางชุมชนกับวิทยาลัย (one foot firmly planted in “the real world and the other in “the academic world””) 12. บางครั้งทำหนาที่เปนศาลอุทธรณ (serving occasionally as a court of appeal) 12.1 ความขัดแยง ความขัดของหมองใจทั้งหลายของนักศึกษา เจาหนาที่ คณาจารย ตองยุติ สิ้นสุดที่ระดับบริหารและระดับปฏิบัติ 12.2 สภามีหนาที่ดูแลวา “ระบบและกระบวนการยุติธรรมในวิทยาลัยเปนไปตามกฎระเบียบ และความเปนธรรม” หรือไม บางครั้งก็จำเปนตองทำ เพราะบางครั้งมีเรื่องอุทธรณรองทุกขมาที่สภา สภาก็ คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

103


ตองทำหนาที่นี้เหมือนกัน หนาที่ของกรรมการสภาแตละทาน 1. ออกความเห็นดวยความบริสุทธิ์ใจ และตั้งใจฟงเหตุผลของคนอื่นบาง 2. เมื่อมีมติแลว ตองสนับสนุนมตินั้นอยางเต็มกำลัง ไมวาจะเห็นดวยหรือไมเห็นดวยกับมตินั้น 3. ชวยเผยแพรผลงานและเกียรติคุณของสภาของวิทยาลัย เทาที่ผมสังเกตดูทานทั้งหลายที่เสียสละมาชวยงานของวิทยาลัยชุมชน โดยเฉพาะกรรมการสภา ปรากฏวา เปนหวงเปนใย รักใครวิทยาลัยของทานอยางกับลูกกับหลาน เกิดฉันทาคติ เกิดรักเกินเหตุก็มี เหมือนกัน แตสวนมากแลวมีความรูสึกซาบซึ้งมาก และก็เปนหวงเปนใยมาก ซึ่งเปนของดี

พระบรมราโชวาท ที่นาจะเปนประโยชนตอการทำงาน 1. พระบรมราโชวาท เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2525 “หนาที่ของแตละบุคคล จะมี 2 อยาง คือ สรางตัวเองใหเจริญรุงเรือง สามารถที่จะทำงานทำการใน แนวของตัว เพื่อที่จะเลี้ยงชีวิต และอีกดานหนึ่งก็คือชวยสวนรวมไดอยูดีกินดี” ทานทั้งหลายที่เปนกรรมการสภา ทานประสบผลสำเร็จในขอแรกมาแลว หนาที่การงานตามแนวของ ทานแตละคน แลวทานกำลังมาชวยสวนรวม ไดอยูดีกินดี ผมถือวาทานทำตามแนวพระบรมราโชวาท คือขอ ที่สองคนไทยนอกจากจะเอาตัวเองรอดแลว ตองชวยสวนรวมใหอยูดีกินดี 2. พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาเมื่อ 12 กรกฎาคม 2522 “คนไมมีความสุจริต คนไมมีความมั่นคง ชอบแตมักงาย ไมมีวันจะสรางสรรคประโยชนสวนรวมที่ สำคัญอันใดได ผูที่มีความสุจริตและมุงมั่นเทานั้น จึงจะทำงานสำคัญยิ่งใหญที่เปนคุณประโยชนอยางแทจริง ไดสำเร็จ...” ตอนตนกลาววาหนาที่ของคนไทยมี 2 อยาง คือสวนตัวมีอาชีพ และชวยสวนรวม พระบรมราโชวาท องคนี้พูดถึงวา คนที่จะชวยสวนรวมและทำงานใหญ ไดสำเร็จ ตองมีความสุจริตและมุงมั่นเทานั้น สิ่งที่ผม กราบเรียนเรื่องหลักการธรรมาภิบาลไปแลวนั้น อยูที่ความสุจริตเปนพื้นฐาน

104

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


3. พระราชดำรัสเพื่ออัญเชิญไปอานในพิธีเปดประชุมยุวพุทธิกสมาคมแหงชาติครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2516 “...การทำสิ่งที่ดีงามนั้น ไมใชของที่พนสมัย หรือของที่นากระดากอาย หากเปนของที่ทุกคนทำไดไม ยาก และใหผลตอบแทนอยางคุมคา เพราะความดีนั้นทรงคา และทรงผลดีอยูตลอดกาลมิไดเปลี่ยนแปลง มี แตคานิยมในความดีเทานั้นที่เปลี่ยนแปลงไป...” ประโยคหลังนี่สำคัญนะ มีแตคานิยมในความดีเทานั้น ที่เปลี่ยนแปลงไป ผมคิดวาตรงนี้สำคัญ ประโยค 2-3 ประโยคแรกทานรับสั่งวาการทำความดี ไมใชของลาสมัย และนาอาย และการทำความดีให ผลดีตลอดกาลไมเปลี่ยนแปลง แตที่นาระวังมากคือคานิยมในความดีเทานั้นที่เปลี่ยนไป ในบางยุคบางสมัย เราไมไดยกยองความดี เราไปยกยองความรวยความโกงหรือไม ตรงนี้คือ message สำคัญ ในวิทยาลัยชุมน เราจะพูดกันในเรื่องความดีความงามตลอดเวลา ผมก็อยากจะกราบเรียนวาเมื่ออานกระแสพระราชดำรัสนี้ แลว สิ่งหนึ่งที่เราตองยึดมั่นคือเราตอง เชื่อมั่นในความดี ถาเราสงสัยในความดี สังคมแย คือ คานิยมใน ความดีเปลี่ยนไปแยเลย ผมคิดวาเราตองยึดมั่นและเชื่อมั่นในความดี เราตองมีความมั่นใจในความดี 4. พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2518 “ความสุขความเจริญที่แทจริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาไดดวยความเปน ธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำ ไมใชไดมาดวยความบังเอิญ หรือดวยการแกงแยงเบียดเบียนจากผูอื่น” ตองไดดวยความเปนธรรม ทั้งเจตนาก็เปนธรรม การกระทำก็เปนธรรม จึงจะไดความเจริญ 5. พระราชดำรัสในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมโครงการ ที่โรงเรียนรมเกลา บานคลองทราย อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี วันที่ 2 กรกฎาคม 2524 “...การพัฒนานี้ตองอาศัยความรวมมือรวมใจทั้งสองอยางคือ จิตใจที่หวงแหนที่ดินทำกินของเรา หวง แหนผืนแผนดินของเรา และจิตใจที่จะตองชวยเหลือกัน เพราะทุกคนเปนสมาชิกของประเทศคือเปนชาวไทย ทุกคน” หวงแหนที่ดิน หวงแหนผืนแผนดิน และอันที่สอง ตองชวยกันเพราะวาเราเปนคนไทยดวยกัน 6. พระบรมราโชวาทพระราชทานใหสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อเชิญไปอานในการ ประชุมใหญประจำป ครั้งที่ 56 ในระหวางวันที่ 2-10 สิงหาคม 2512 คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

105


“...ความสามัคคีและความถือตัววาเปนไทยเปนสมบัติมีคาสูงสุด เพราะเปนมรดกที่เราไดรับสืบตอ จากบรรพบุรุษ และเปนปจจัยสำคัญที่ทำใหเราดำรงชาติประเทศและเอกราชสืบมาได ทุกคนจะตองรักษา ความเปนไทยและความสามัคคีนี้ไวใหมั่นคง” เรื่องความสามัคคี กับความเปนไทย ผมขอฝากพวกเราไว ผานมา 40 ปก็ยงั พูดไดไมลาสมัย ถาสภา วิทยาลัยชุมชนยกเอาสิ่งเหลานี้มาเปนหลักอุดมคติ และทานก็สามารถถายทอดไปยังผูบริหาร ผูปฏิบัติใน วิทยาลัยชุมชน และลูกศิษยของเรา ซึ่งมีทุกปทุกรุน มีผลัดกันเขามาใหมๆทุกรุน ผมเชื่อวาพลังอำนาจ แนว คิดตางๆ จากพระบรมราโชวาท 5-6 องคนี้ ก็จะทำใหเกิดพลังอำนาจตอไปไดอยางมหาศาล ขออนุญาตจบเพียงแคนี้

106

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


วิทยาลัยชุมชนกับการเรียนรูตลอดชีวิต* โดย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

ขอเริ่มดวยแนวคิดคำวา “ทรัพยากร” ซึ่งแบงออกเปน 3 กลุม คือ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 2. ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น 3. ทรัพยากรมนุษย ทั้ง 3 กลุม ถาแตละประเทศมีนโยบายการจัดการทรัพยากรชัดเจน เปนเครื่องมือแหงความอยูรอด และเปนเครื่องมือการแขงขันกับประเทศอื่นไดดวย เพราะฉะนั้นจึงควรมีนโยบาย โครงการ/กิจกรรมที่จะ สนับสนุนทรัพยากรทั้ง 3 กลุม ใหมั่นคงรุงเรือง ทรัพยากรธรรมชาติ นับวันมีความสำคัญมาก ถูกมนุษย ใชสอยในชวงหลังนี้มากขึ้น โดยเฉพาะชวง 200 ปหลัง ขออธิบายวา มีหลักฐานเชื่อวาระบบสุริยจักรวาลและดาวเคราะหอีก 8 ดวงเกิดมาประมาณ 4,500 ลานปเชนกัน สวนสัตวเซลลเดียวที่เปนสิ่งมีชีวิตแรกมีอายุประมาณ 3,500 ลานป หมายความวา ใน 1,000 ลานป ไมมีสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว มีแตแมน้ำ ดิน กอนหิน และใชเวลาอีก 2,000 กวาลานป คอยๆ พัฒนาจากสัตวเซลลเดียวเปนสัตวที่มีกระดูกสันหลัง และใชเวลาอีก 300-400 ป พัฒนาเปนสัตวเลี้ยงลูก ดวยนม และเปนบรรพบุรุษมนุษ ยประมาณ 2 ลานป ตอมาไดพัฒนาเปนรูปรางหนาตามนุษ ยเชนพวกเรา *เรียบเรียงจากการบรรยายเรื่อง ”2552 ปแหงคุณภาพการอุดมศึกษาไทย” วันที่ 3 กรกฎาคม 2552 ณ หอง แกรนด ไดมอนด บอลรูม อิมแพ็ค คอนเวนชั่น เซ็นเตอร เมืองทองธานี คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

107


ประมาณ 100,000 ปเศษๆ เพราะฉะนั้นเมื่อ 9,000 กวาป เวลามนุษยหิวก็ไปลาสัตว หาผลไมกิน รูจักใชไฟ ประมาณเมื่อ 10,000 ปที่แลวมนุษยจึงรูจักทำการเกษตร ปลูกขาวใสยุงฉางไวกิน ไมตองออกไปหากินทุก มื้อ นั่นคือมนุษ ยสรางอารยธรรมเพราะรูวิธีทำการเกษตร สำรองอาหารไวกินได ในชวง 100 ปหลัง มีความรูเรื่องวิทยาศาสตรและการแพทย สามารถรักษาโรคตางๆ ได ทำใหไมตองตายมากเหมือนสมัยกอน สมัยกอนตายมากแมแตที่เผาก็ไมมี ใน 2 ปหลังมนุษยอายุยืนและการแพทยกาวหนา ตัวเลขจากองคการสหประชาชาติพบวา ประชากรโลกขณะนี้มีประมาณ 6,700 ลานคน อีกไมกี่ปจะ มีจำนวนเพิ่มเปน 9,000 ลานคน แตทรัพยากรธรรมชาติในโลกใบนี้ ไ มขยายตาม พื้น ที่นาไมขยาย ทำ อยางไรจึงจะขยายพื้นที่ปลูกขาวใหเลี้ยงคนไดมากขึ้น เชื่อวามีคน 1,000 ลานคนกินไมอิ่มทอง บางคนเปน โรคขาดอาหาร ทรัพยากรธรรมชาติจึงเปนสิ่งสำคัญมาก ในชวง 50 – 60 ปที่ผานมา โลกใบนี้ถูกขีดเสนชายแดน แบงปนกัน ประเทศไทยมีพื้นที่เทานี้ แตพลเมืองเพิ่มขึ้น เราตองรักษาพื้นที่ประเทศไมใหคนอื่นเอาไป วิธีที่ ไมใหใครเอาทรัพยากรของเราไปไดคอื ตองใหประชาชนไดรบั การศึกษาสูง ใหประชาชนทัง้ ในชนบท ในเมือง และชายแดนมีความรูสึกเปนคนไทย มีการศึกษา มีอาชีพ มีความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ มีศีลธรรม และปกปองพื้นดินที่ปูยาตายายหาไว ให ไมทำใหแยลง รูจักรักษาอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและทำใหมี คุณภาพที่ดีขึ้นใหลูกหลานใชประโยชนได สรุปคือ หนาที่พวกเราคือ 1) ตองรักษาไมใหเสียแผนดินใหใคร 2) ถามันแยตองทำใหดีขึ้น 3) ทำใหดีที่สุด โดยเฉพาะกระบวนการทางการเกษตร ผมอยากจะบอกวา ทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัดใดก็ตาม ไมขยายตัวตามการเกิดของประชากรและ จะทำอยางไรจึงจะรักษาทรัพยากรธรรมชาติใหมากที่สุด วิทยาลัยชุมชนหลายแหงทำงานรวมกับชุมชน มีหลักสูตรระยะสั้นที่เกี่ยวของกับการเกษตรหรือสินคา ที่ตอยอดจากการเกษตร เชน วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูชวยชาวนาเพิ่มคุณภาพและมูลคาขาว ทำใหขาว กลองงอก(ขาวฮาง) ขายไดกิโลกรัมละ 80 บาท และมีคนนำไปขายตอกิโลกรัมละ 150 บาท หรือวิทยาลัย ชุมชนแพรพัฒนาเสื้อหมอฮอมของจังหวัดที่เดิมขายตัวละ 200-300 บาท พัฒนามูลคาเพิ่มดวยการออกแบบ อยางสวยงาม ทำใหขายไดตัวละ 400-500 บาท เปนตน ดังนั้นนโยบายการจัดการทรัพยากรทั้ง 3 กลุม ที่ไดกลาวแลว พวกเราตองมีหนาที่ คือ

108

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


1. สิ่งที่มีคาใหอนุรักษไว 2. สิง่ ที่เจริญเติบโตได ตองบำรุงใหจำเริญ รักษาใหอยูในสภาพที่ดี 3. สิง่ ที่ขาดหายตองชดใช-ชดเชย ทรัพยากรที่จะกลาวตอไปคือ ทรัพยากรที่มนุษ ยสรางขึ้น ไม ไดมาจากธรรมชาติ เชน ที่อยูอาศัย ถนนหนทาง เปนตน เปนทรัพยากรที่จับตองได เวลาสรางเสร็จเขาจะคิดคาเสื่อมราคา แตทรัพยากรที่ จับตองไม ไดคือวัฒนธรรมไทยตองไมทำใหเสื่อมราคา วิทยาลัยชุมชนหลายแหงจัดหลักสูตร/กิจกรรม ที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมไทย/วัฒนธรรมทองถิ่น ตองเพิ่มคุณคาของวัฒนธรรม มูลคาเพิ่มมี 2 อยาง คือ มูลคาทางจิตใจ และมูลคาทางการตลาด เชน คนภูมิภาคใดไดยินเสียงเพลงภูมิภาคนั้นก็มีความสุข หรือเอา เพลงมาประกอบกิจการของภูมิภาคนั้นๆ ทำใหวัฒนธรรมมีมูลคามากขึ้น ดังนั้นวิทยาลัยชุมชนทำงานกับ ชุมชน ซึ่งเกี่ยวของกับวัฒนธรรมทั้งที่จับตองไดและจับตองไม ได จึงมีหนาที่ตองเพิ่มคุณคาของวัฒนธรรม ทั้งคุณคาความสุขทางจิตใจและเพิ่มคุณคาทางอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ผมเคยทำมาแลวที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม สงเสริมกลองสะบัดชัยของชมรมลานนาของนักศึกษา ได ของบสนับสนุนจากคณะกรรมการสงเสริมของมหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดใหนกั เรียนระดับประถม/มัธยมศึกษา/ อุดมศึกษา แขงขันตีกลองสะบัดชัย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จมาพระราชทานรางวัลผูชนะ การประกวด ตอมากลองสะบัดชัยไดถูกใชเปนสวนหนึ่งของการสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของ จังหวัดในภูมิภาคตางๆ สุดทายคือทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรนี้สำคัญมาก สมัยกอนคิดวาเด็กอยูในครรภมารดาจะไมรูเรื่อง อะไร เดี๋ยวนี้เรารูแลววาสมองของเด็กในครรภมารดาเจริญเติบโตไดตั้งแตอยู ในในครรภมารดา สามารถ เรียนรูและจำไดดวยโดยเฉพาะใน 3 เดือนหลัง มีคนทดลองเปดเพลงใหทารกในครรภฟง เชื่อหรือไม เมื่อเด็กเกิดมาแลวโตขึ้นเด็กจำเพลงนั้นได ในทางวิทยาศาสตรพบวาเสนประสาทสมองของเด็กรับรูไดเพียง แต ไมถึงวัยที่จะพูด เด็กจะพูดเมื่อถึงวัยตามพัฒนาการของเด็ก ปูยาตายายของเราฉลาด เขากระตุนสมอง เด็กโดยใชปลาเงินปลาทองแขวนใหเด็กดู หรือรองเพลงกลอมเด็ก เด็กจะไดยินและเรียนรู ได และเด็กรับรู รสเพิ่มได ซึ่งสังเกตไดจากเวลาเอานมใหเด็กกินจะกินอิ่มสบาย แตถาเอาของขมใหกินหนาตาจะแหยๆ เรา จึ ง ควรเลิ ก พู ด ว า เด็ กไม รู เ รื่ อ ง จริ ง ๆ เด็ ก รู เ รื่ อ งและประทั บ ความทรงจำได และจะพู ด เมื่ อ ถึ ง วั ย ตาม พัฒนาการของเด็ก คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

109


เมื่อเร็วๆ นี้มีการวิจัยในสัตวทดลองวา เมื่ออายุมากๆ สมองสัตวเสื่อมหรือไม และคิดวามนุษยก็คง เชนกัน ผลการทดลองปรากฏวา แมสัตวทดลองจะมีอายุมาก เซลลสมองยังเกิดขึ้นตลอดเวลาถาไดรับการ กระตุน แตถาไมมีการใชสมอง เซลลสมองกลุมนี้จะตายไปเอง ญาติผู ใหญของผมตายเมื่ออายุ 102 ป เมื่อวัยสาวเขาชอบเลนไพตอง อายุ 90 ป ก็ยังคงชอบเลนไพตอง ขยันเลนคนเดียว 4 ขา (เทากับ 4 คน) ผม ถามวา ทวดไมเขาขางขาใดขาหนึ่งหรือ ทวดตอบวา ทวดตองซื่อสัตย สมองทวดดีมาก จำคนไดหมด เพราะ ฉะนั้นคนเกษียณอายุ 60 ป อยาปลอยใหเปนคนแกที่ใชไมได ตองบำรุงคนแกใหเขาเรียนรูไดตลอดชีวิต กลาวโดยสรุปคือ 1. สมองมนุษยเจริญเติบโตไดตงั้ แตในครรภมารดาจนชวงสุดทายของชีวติ และตองบำรุงคนแกอยูเ สมอ 2. สมองมนุษยเรียนรูอยูตลอดเวลา และตองออกแบบระบบการศึกษาใหไดเรียนรูในทุกชวงวัย ระบบการศึกษาของเราเจาะเฉพาะวัยรุน สมัยโบราณอายุ 7 ป ตองเขาประถมศึกษาปที่ 1 และเรียน ภาคบังคับ 4 ป หากใครไมไดเขาเรียนแลวมาเรียนเมื่ออายุ 15 ป จะตองไปนั่งเรียนกับเด็กๆ ประถมศึกษา ปที่ 1 ถูกคนอื่นหัวเราะ ซึ่งคนสมัยกอนอายุเทากันเขาเรียนไมพรอมกัน ในชั้นเรียนเด็กจึงอายุไมเทากัน แตสมัยลูกสาวผมเขาเกิดปมะแม เพื่อนๆ ในชั้นเรียนที่อยูโรงเรียนสาธิตปทุมวันก็เกิดปมะแม ที่ตางประเทศเขาเขาใจเรื่องการเรียนรูตลอดชีวิต เขาเปดโอกาสใหคนแกคนวัยทำงานเขามาเรียนได หมด เพราะฉะนัน้ ในชัน้ เรียนของเขาจึงมีอายุตงั้ แต 18–80 ป วิทยาลัยชุมชนตัง้ มาประมาณ 7–8 ป เดีย๋ วนี้ มีคนแกอายุ 79 ปมาเรียน เราตองเชื่อวาคนเรียนไดทุกชวงวัย ขณะนี้ประเทศญี่ปุนมีปญหามากคนวัยหนุม สาวไมคอยแตงงาน พวกสาวๆ แตงงานแลวไมอยากมีลูก จึงเกิดปญหาเด็กเกิดนอยลง ในขณะที่การแพทย ของญี่ปุนกาวหนา ทำใหคนแกมีอายุยืนที่สุดในโลก (อายุ 90–100 ป) ประเทศญี่ปุนขณะนี้มหาวิทยาลัยมี ทุนรับนักศึกษาตางชาติไปเรียนมีปริญญาโทและปริญญาเอก เมืองโอซากามหาวิทยาลัย 4 แหงตองยุบรวม เหลือ 2 แหง เพราะคนเขาเรียนนอยลง เด็กเกิดนอยลง ประเทศญี่ปุนตองเอาคนวัยทำงานของเขาและคน ตางชาติเขามาเรียน มิฉะนั้นมหาวิทยาลัยประสบภาวะขาดทุน วิทยาลัยชุมชนเปดโอกาสใหคนเรียนตั้งแตอายุ 18 ปขึ้นไป วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีนักธุรกิจ ขายวัสดุกอสรางอายุประมาณ 60 กวา มาเรียนจนไดอนุปริญญา ผมถามเขาวามาเรียนทำไมอายุมากแลว เรียนวิทยาลัยชุมชนจะไดประโยชนอะไร เขาบอกวามีประโยชนมากหากวาเขาไดเรียนกอนหนานี้เขาจะทำ ธุรกิจไดดีกวานี้ แมวาวันนี้เขาจะเรียนจบ เขาก็ยังทำธุรกิจเปนประโยชน ไดเพราะวิธีคิดของเขาไมเหมือน อดีต

110

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


การเรียนรู คือกระบวนการที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในตัวผูเรียน 3 ดานดวยกัน คือ 1. จาก ไมรู เปน รู 2. จาก ทำไมเปน มีทักษะ ทำเปน 3. จาก ไมดี ขัดเกลา ดีงาม การเรียนรู 3 อยางนี้ จะระบุไว ในวัตถุประสงคหลักสูตร ตองระบุใหครบเพื่อการพัฒนาผูเรียน 3 ดาน จึงจะมีประโยชนตอผูเรียนและสังคม คุณพอคุณแมตองจัดกระบวนการเรียนรู ใหลูกครบ 3 ดาน เพราะกระบวนการเรียนรูอยูนอกระบบการศึกษา ไมสอนแบบกวดวิชา เพราะไมไดสอนคุณธรรม-จริยธรรม ครูตองสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรู 3 ดาน สอนปฏิบัติและความดีงาม จึงจะบรรลุวัตถุประสงคหลักสูตร ดังนั้นวิทยาลัยชุมชนตองกำหนดการเรียนรู 3 ดานเปนวัตถุประสงคหลักสูตรและวัตถุประสงครายวิชาเพื่อให เกิดการเรียนรูดังกลาว สรุปการเรียนรู หมายรวมถึง การเรียนความรู การเรียนปฏิบัติ (ทักษะ) และการเรียนความดีงาม การสอน คือ กระบวนการที่สนับสนุนทำใหคนเรียนรูอยางสมบูรณ จึงหมายรวมถึง การสอนความรู การสอนปฏิบัติ และการสอนความดีงาม เพราะฉะนั้น การสอนเสร็จแลวออกจากหองเรียน การสอนนั้นไมสมบูรณ ในตัวเอง อาจยังไมบรรลุ เปาหมายการสอนทีต่ อ งสนับสนุนผูเ รียนใหเกิดการเรียนรูท สี่ มบูรณ ระบบการศึกษาไทยเนนการสอนทีโ่ ดดเดีย่ ว ซึ่งไมถูกเพราะไมเกิดการเรียนรู มีลูกสาวผูใหญคนหนึ่งไปเรียนที่ประเทศจีน ไปตอนแรกภาษาสูเขาไมได พอของเขาตองโทรศัพทให กำลังใจลูกสาวและแนะนำใหไปเรียนกวดวิชา ลูกสาวบอกวาไมได เพราะประเทศจีนครูสอนกวดวิชาถือวาผิด วินัยรายแรง ถาถูกจับไดจะถูกไลออกสถานเดียว หากนักเรียนเรียนไมรูเรื่อง ประเทศของเขามีขอกำหนดวา ครูจะกลับบานไดตองสอนลูกศิษ ยที่โงหรือคนสุดทายใหเขาใจในบทเรียนกอนจึงจะกลับบานไดทั้งครูและ นักเรียน ดังนั้นบางวันครูและนักเรียนจะกลับบานดึกก็แลวแตลูกศิษยในชั้นที่โงสุดจะเขาใจบทเรียน ซึ่งตอมา ลูกสาวของเขาก็เรียนเกงได พอก็สบายใจบอกใหลูกพักผอนบาง ลูกสาวก็ขยันเรียน 6 วัน เหลือ 1 วันซักผา และทบทวนบทเรียน การศึกษา คือ ระบบที่ออกแบบเพื่อใหเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่กำหนด ระบบการศึกษา ประกอบดวย คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

111


(1) ใครเปนหนวยจัดการศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทบวงกรมอื่น อบต. อปจ. สมาคม มูลนิธิ เอกชน ฯลฯ) (2) ระบบการเรียนการสอน เปนอยางไรบาง (3) ผลสัมฤทธิ์ เปนอยางไรเมื่อจบการศึกษา ผมจะไมพูดถึงผลสัมฤทธิ์มากนัก เรามาพูดกันเรื่องการเรียนรูตลอดชีวิตเกี่ยวของกับใครบาง เริ่ม ตั้งแต 1. การดูแลหญิงตั้งครรภและทารกแรกเกิด โรคบางโรคของเด็ก หากไม ไดรับการแก ไขหรือเด็ก ขาดสารอาหารบางอยางจะทำใหเด็กเรียนรูไดไมเต็มที่ เพราะสมองเด็กไมไดพัฒนา แตถาหญิงตั้งครรภได รับสารอาหารถูกตอง สมองเด็กจะไดรับการพัฒนา 2. การเลี้ยงดูอบรมเด็กเล็ก 0-3 ขวบ ดูแลเรื่องอาหาร อานหนังสือใหลูกฟง พาไปเที่ยวดูสิ่งดีๆ ลวนแลวแตมีผลตอความเจริญของโครงสรางสมองทั้งสิ้น ในประเทศญี่ปุนเขาทดลองใหพอแมอานหนังสือให ลูกฟงตั้งแตอายุไ มถึง 1 ป อานใหฟงบอยๆ ปรากฏวาเด็กเก็บความได โตขึ้นก็พูดไดและมีวิธีคิดที่ดี ในประเทศไทยก็มีการวิจัยการอานหนังสือใหเด็กฟง และพบวาเด็กมีพัฒนาการทางสมองที่ดีเชนเดียวกับ ผลการทดลองของประเทศญี่ปุน 3. การศึกษาปฐมวัย (อนุบาล) วิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรนี้ ไปทำงานกันที่ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เมื่อ สมัยกอนยังไมมีการเปดสอนสาขาวิชาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร/ครุศาสตรมักจะเปดสอนหลักสูตรวิชาเอก ประถมศึกษา วิชาเอกมัธยมศึกษา วิชาเอกอนุบาลมีนอยมาก แตจริงแลวตองการครูปฐมวัยและครูปฐมวัย ตองรูเรื่องพัฒนาการของเด็ก การที่ อบต. อบจ. ขอใหวิทยาลัยชุมชนเปดหลักสูตรนี้จึงเปนสิ่งที่สนองความ ตองการของชุมชน ขณะนี้สำเร็จการศึกษาไปเปนจำนวนมาก แตถาอยากศึกษาตอปริญญาก็ทำได 4. การศึกษาอุดมศึกษา คือ การศึกษาหลังมัธยมศึกษาตอนปลาย การอุดมศึกษามีระดับตางๆ ระดับอนุปริญญาเปนจุดเริ่มตนของการอุดมศึกษา เปนการศึกษาในระบบ มิใชการศึกษานอกระบบและ อัธยาศัยของการศึกษานอกโรงเรียน วิทยาลัยชุมชนจึงไมใชและไมเหมือนการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) 5. การศึกษาสำหรับผูอยูในวัยทำงาน วิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรสำหรับคนวัยทำงานและภายหนาจะ มีคนวัยนี้มาเรียนอุดมศึกษามากขึ้น 6. การศึกษาสำหรับผูสูงอายุ สังคมในอนาคตจะเปนสังคมผูสูงอายุ ระบบการศึกษาของเรายังให ความสำคัญไมมากเทาที่ควร มีคำ 2 คำของวัยนี้ ในสังคมนี้ คือ Aging Society สังคมกำลังจะกลายเปน

112

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


สังคมผูสูงอายุ และ Aged Society (อายุยังไมถึง 60 ป) แปลวา เปนสังคมผูสูงอายุแลว (อายุ 60 ปขึ้นไป ประมาณ 1/5 ของประชากรของประเทศ) เมื่อ พ.ศ.2548 นักเรียน/เด็กอายุ 0-15 ป จะมีอยูประมาณ 13 ลานกวาคน และคอยๆ ลดลงเรื่อยๆ อีกประมาณ 20 ปจะเหลือเด็กเพียง 7 ลานกวาคน เรามีโรงเรียนอยูประมาณ 30,000 กวาโรงเรียน จำเปน ตองปดโรงเรียนไปประมาณ 16,000 โรงเรียน เพราะเด็กหายไป 40% ของประเทศ เขาแบงประชากรของ ประเทศออกเปน 3 ชวง ชวงแรก 0 – 15 ป (วัยเด็ก) ชวงสอง 15 – 60 ป (วัยทำงาน) ชวงสาม เกิน 60 ปขึ้นไป (วัยสูงอายุ) ประเทศเราขณะนี้เปนชวงที่สอง ตอไปชวงเด็กจะลดลง คนแกจะมากขึ้น ถาคนเรามองคนแกเปน ภาระสังคม สังคมไทยจะปวนมาก คนแกจึงถูกทอดทิ้ง แตถาเรามองคนแกเปนมรดกที่มีคนเอามาบำรุง ฟูมฟกบำเรอบำราญทำใหเขามีความสุข และเอาเขามาชวยทำงานอาสาสมัครเหมือนตัวอยางเชนประเทศ ญี่ปุนเขาใชคนแกเลาเรื่องอยูที่พิพิธภัณฑใหกับนักทองเที่ยว เขาก็มีความสุขสนุกสนานดีกวาเขาเหงาอยูบาน ตัวอยางของประเทศไทย จังหวัดนานมีศูนยพัฒนาเด็กเล็กและศูนยผูสูงอายุ เขาใหคนแกเลานิทานให เด็กเล็กฟง ปรากฏวาคนแกมีความสุข อีกแหงคือ บานเกี๋ยง อำเภอภูเพียง จังหวัดนาน อยูขางสถานีอนามัย เขาปลูกศาลาใหคนแกคุยกัน คนแกเหลานี้รวบรวมเงินใสถุงผาจัดทำเปนกองทุนเลาเรียนสงเด็กในหมูบาน ไปเรียนแพทย ทันตแพทย พยาบาล ตำรวจ ฯลฯ เด็กที่ ไดทุนเลาเรียนจะกลับมาเยี่ยมคนแก ในวันเสารอาทิตย เขาถือวาคนแกเหลานี้คือ ปูยาตายายของเขา เดี๋ยวนี้สำเร็จการศึกษาไปหลายคนแลว เกิดมาผมก็ ไมเคยเห็นใครทำ ผมวาชาวบานบานเกี๋ยงเขานารักมาก ผมคิดวาคนแกมีคุณคา สังคมตองใหคนแกไดเรียนรู ตลอดชีวิตดวย

หนวยจัดการศึกษา

สมัยกอนเชื่อวารัฐเทานั้นจัดการศึกษาไดดี ไมเชื่อถือภาคเอกชน ซึ่งเปนความคิดโบราณ ตอมา ประเทศทางตะวันตกเขาเริ่มใหความสำคัญกับหนวยงานที่มิใชรัฐจัดการศึกษาได สมัยรัชกาลที่ 4–รัชกาลที่ 5 พวกมิชชันนารีเขามาตั้งโรงเรียนอัชสัมชัญ โรงเรียนมาแตร และนับตั้งแตมี พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ทำใหกระทรวง ทบวง กรมตางๆ สามารถจัดการ คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

113


ศึกษาไดทุกระดับ กระทรวงวัฒนธรรมฯเขาก็มีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาก็มี วิทยาลัย/สถาบันพลศึกษา เทศบาล องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาขั้นปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และจัด อาชีวศึกษาที่นครปฐมดวย ผมอยากใหหนวยจัดการศึกษาของกระทรวง ทบวง กรมตางๆ จัดการศึกษากัน มากๆ การขาดครูของกระทรวงศึกษาธิการจะไดไมเปนปญหา กระทรวงศึกษาธิการควรทำในเรื่องการดูแล คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและไมเลือกปฏิบัติ ทำใหการศึกษาทุกแหงมีมาตรฐาน วิทยาลัยชุมชนเปนวิทยาลัย โดยชุมชน เพื่อชุมชน มีนโยบายตั้งแตเริ่มจัดตั้งวา วิทยาลัยชุมชนตอง จัดการศึกษาใหคนสวนใหญไดเรียน คาหนวยกิตจึงถูกมาก ในชวงเริ่มตน 20–30 ป รัฐบาลเปนผูจัดเพื่อให โอกาสคนไดเขาศึกษาระดับอุดมศึกษา ถาใหภาคเอกชนจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนอาจมีปญหามหาศาล คนรวยสามารถเรียนในเมืองได ควรใหโอกาสคนชายแดนไดเรียนวิทยาลัยชุมชน และมีวิทยาลัยชุมชน กระจายอยูทุกอำเภอ ใหคนไดเรียนควบคูกับการทำงานดวย การลงทุนโดยรัฐไมควรสรางอาคารใหญโต ควรใชเงินในการบริหารและสรางระบบใหดีกวาสรางอาคาร ควรใชอาคารของหนวยการศึกษาหรือหนวยงาน อื่นๆ สุดทายเมื่อรัฐเห็นวาวิทยาลัยชุมชนทำไดดีแลวจึงคอยใหงบประมาณสรางอาคาร ปจจุบันมีวิทยาลัย ชุมชนหลายแหงมีอาคารเรียนของตัวเอง การจัดการศึกษามิใชรอตึกพรอม ขณะนี้มีคนจบ 20,000 กวาคน จบโดยความไมพรอม 100% ของวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนพรอมที่ใจ อุปกรณการศึกษาตางๆ ก็ยืมจาก ที่อื่นกอน

วิทยาลัยชุมชน ไมใช กศน.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใช เรื่องมาตรฐานการอุดมศึกษา แบงกลุม อุดมศึกษาออกเปน 4 กลุม (มหาวิทยาลัยวิจัยและระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยที่เนน ปริญญาตรี สถาบันเฉพาะทาง และวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนคือสวนเริ่มตนของระดับอุดมศึกษา เปดสอนระดับ อนุปริญญา มุงเนนการผลิตนักวิชาชีพระดับตนที่ปฏิบัติงานไดและศึกษาตอยอดไดระดับปริญญาตรีและหาก มีความสามารถก็ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา มีบางคนบอกวาวิทยาลัยชุมชนเหมือน กศน. คงเขาใจผิด เปน คนละเรื่องคนละกิ่งแขนง การศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติบอกวามี 3 ประเภท คือ การศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย กศน. คือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ซึ่งเปนชื่อใหมของ กศน. วิทยาลัยชุมชนเปนการศึกษาในระบบ จะพูดวาเหมือน กศน. ไดอยางไร ผมไมเขาใจ

114

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ตอนนี้เรารูจักตนเองแลววาวิทยาลัยชุมชนคือใคร จากนี้จะพูดเรื่องการเรียนการสอน การจะสอน อะไรก็ ต อ งดู พิ ม พ เ ขี ย วเหมื อ นสร า งแบบบ า นก็ ต อ งมี ส ถาปนิ ก หลั ก สู ต รก็ คื อ พิ ม พ เ ขี ย วของการศึ ก ษา หลักสูตรตองกำหนดวัตถุประสงคและเนื้อหาวิชาที่ผูเรียนตองเรียนเพื่อใหเกิดความรู สามารถปฏิบัติได และมีคุณธรรมที่เหมาะสมกับความเปนนักวิชาชีพระดับตนในสาขาวิชานั้นๆ เชน เราจะสรางครูปฐมวัย เรา จะกำหนดวัตถุประสงคหลักสูตรเพื่อใหมีความรูความเขาใจ สอนได และมีคุณธรรมที่ดีเหมาะกับการเปนครู ปฐมวัย เวลาเอาหลักสูตรไปบริหารเขาจะแบงออกเปนหมวดวิชา ไดแก หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชา เฉพาะ หมวดวิชาเลือกเสรี ทั้ง 3 หมวดวิชาเปนโครงหลักสูตร สวนรายวิชาซึ่งเปนหนวยที่เล็กสุดก็จำเปนตอง กำหนดวัตถุประสงคของรายวิชา กำหนดเนื้อหา วิธีการสอน วิธีการเรียน และวิธีการวัดผล ถาอยางนั้น ครูบาอาจารยตองเปนอยางไร • ตองมีคุณวุฒิ-คุณธรรม และประสบการณวิชาชีพเพียงพอที่จะเปนแบบอยางและสั่งสอนอบรม ลูกศิษยได • เขาใจวัตถุประสงคของหลักสูตร และเขาใจในรายละเอียดของรายวิชาที่ตนรับผิดชอบ ผู อ ำนวยการวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนจึ ง ควรมี ห น า ที่ ต อ งทำให ค รู อ าจารย ที่ เ ข า มาสอนเข าใจเนื้ อ หาและ วัตถุประสงคของหลักสูตร นักเรียนก็ตองเขาใจ วาปนี้จะเรียนอะไร มีวิชาอะไรบาง วิชาเหลานี้สำคัญอยางไร • จัดการสอนเพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูตามวัตถุประสงคหลักสูตร • จัดการวัดและประเมินผลอยางเที่ยงธรรม ผูเรียนควรเปนอยางไร • ตองมีความเขาใจและศรัทธาในหลักสูตร และวิชาชีพที่ตนจะเรียน (ฉันทะ) หนาที่ของอาจารย คือ ตองอธิบายใหผูเรียนฟงวา โครงสรางหลักสูตร ประกอบดวยกี่หมวดวิชา หมวดวิชาคืออะไร หมายความวาอยางไร หมวดวิชาประกอบดวยกี่รายวิชาและแตละรายวิชาคืออะไร จะได เกิดฉันทะ คือถาคนเรียนรูและเขาใจคุณคาหลักสูตรและการเรียนแตละวิชา นักศึกษาจะเกิดความรักชอบ คือ เกิดฉันทะ ตองทุมเทและเอาใจใสฝกใฝกับการเรียนจนจบหลักสูตร (วิริยะ-จิตตะ) หากมีขอปญหาสงสัย ตองกระทำใหกระจาง ทั้งทฤษฎี-ปฏิบัติ และคุณธรรม (วิมังสา) ทั้งหมดนี้คือ อิทธิบาท 4 คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

115


หลักสูตรอนุปริญญาและหลักสูตรอาชีพระยะสั้น

1. หลักสูตรอนุปริญญาวิชาชีพ มีเปาหมายเพื่อใหผูเรียนไดรับความรูและการปฏิบัติในอาชีพใด อาชีพหนึ่งโดยเฉพาะ เปนหลักสูตรในการสรางนักวิชาชีพเบื้องตน เพื่อจะไปประกอบสัมมาอาชีวะและไป เรียนตอปริญญาตรี ได ในประเทศอเมริกาอภิปรายกันมารอยกวาป สุดทายมีขอสรุปตรงกันคือ จะไมสอน ปริญญาตรี ในวิทยาลัยชุมชนเด็ดขาด ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ขอรองสภาวิทยาลัยชุมชนและผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ถามีเพื่อน รวมงานอยากสอนปริญญาตรีก็ใหเขาไปเปนอาจารยพิเศษที่อื่น อยามาสรางความคิดที่จะเปดปริญญาตรีใน วิทยาลัยชุมชนเด็ดขาด นักศึกษาก็เหมือนกัน ถาอยากเรียนปริญญาตรีตองจบอนุปริญญาแลวจึงไปศึกษาตอ แตถาหากวาเราสรางปริญญาตรี สาขาอื่นที่เปนอนุปริญญาจะขอเปนปริญญาตรีหมดเลย สุดทายจะกลาย เปนเชนเดียวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ/สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และจะไมมีความเปนวิทยาลัยชุมชนเพื่อให โอกาสคนจน ผมวาประกาศกระทรวงศึกษาธิการชัดเจนอยูแลววา ไมใหวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี 2. หลักสูตรอาชีพระยะสั้น คือ หลักสูตรทีมีเนื้อหาหลักสูตรจบในตัวเอง เปน END PROGRAM ใช เวลาสั้น สวนมากไมเกิน 1 ป อาจจะ 3 วัน 3 เดือน 6 เดือน 8 เดือน แลวแตหลักสูตร ชวงเวลาของการจัดหลักสูตรเปนลักษณะเฉพาะกิจเทานั้น มีคนอยากเรียนก็เปดสอน ไมมี ใครเรียน ก็ปดการสอน ตัวอยางเชน หลักสูตรการยอมผาหมอฮอม หลักสูตรการทำขาวกลองงอก หลักสูตรอะไรก็ได ในทองถิ่น นี่คือเสนหของวิทยาลัยชุมชนที่จะลงไปชวยพัฒนาอาชีพ และพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของแตละ ชุมชน แตละจังหวัด แตละอำเภอที่มีภูมิสังคมไมเหมือนกัน เรานำตรงนี้ คือมีความยืดหยุนไดเปนพิเศษ เหมือนวิทยาลัยสารพัดชางหรือไม ไมเหมือน ของเรายืดหยุนมาก เปดปุปปดปป ถาประชาชนขอเปด เชนที่ จังหวัดนราธิวาสอยากไดหลักสูตรลับมีดกรีดยางพารา วิทยาลัยชุมชนนราธิวาสก็จัดให พอเรียนจบ เมื่อไมมี ใครเรียนอีกก็ปด แลวแตชาวบานอยากไดหลักสูตรอะไร ภาคกลางอาจจะอยากไดหลักสูตรปราบหอยเชอรรี่ เอานักวิชาการเกงๆ ในโลกมาเขียนหลักสูตรแลวก็สอนหลักสูตรปราบหอยเชอรรี่ ใหกับชาวนาของเรา พอ เรียนกันครบหมดแลวก็ปดแลวก็ไปเปดหลักสูตรใหม คาเลาเรียนที่นี่เราจะเก็บใหถูกที่สุดเทาที่จะไมทำใหเราขาดทุน เพราะเราขาดทุนไม ได เราตองมี คาใชจายในการจัดการศึกษา

116

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


วิทยาลัยชุมชน

เปนสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะตนเพื่อใหโอกาสผูเรียนในระดับชุมชนอยางทั่วถึง เพื่อให ผูสำเร็จการศึกษามีการงานอาชีพ และอาจศึกษาตอในระดับสูงขึ้นได ผูเรียนมีทางไป 2 ทาง คือ ไปสูอาชีพ และไปสูปริญญาที่สูงขึ้น วิทยาลัยชุมชนตองกำหนดเปาหมาย ตัวเองใหชัดวา เราตองเปนสถานศึกษาที่ตอบสนองความตองการของชุมชนในการพัฒนาสังคม-เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม การตอบสนองความตองการของชุมชน ตอบสนองอยางไร เรามีคณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน คณะกรรมการนี้เปนสะพานเชื่อมโยงระหวางวิทยาลัยกับชุมชน เชื่อมโยงโดยไปสำรวจความ ตองการของชุมชน ตั้งแตผูวาราชการจังหวัด แผนยุทธศาสตรจังหวัด แผนยุทธศาสตรอำเภอ องคกร ปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน วัด เขาอยากเรียนรูเรื่องวิชาชีพอะไร แลวเรานำมาปรึกษาหารือกันในสภา วิทยาลัยวา เปดหลักสูตรนี้ดีไหม ปดหลักสูตรนี้ดีไหม ที่ดีไหม ไมไดดีเพราะใคร แตดีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สั ง คม ของชุ ม ชน ไม ใ ช ดี เ พื่ อ ตั ว เองหรื อ พรรคพวกสิ่ ง นี้ ต อ งยึ ดให มั่ น วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนทำเพื่ อ หิ ต ายะ (ประโยชนเกื้อกูลของคนสวนใหญ) และเพื่อสุขายะ (ความสุข) ของชุมชน วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยทุกจังหวัดจะมีชุมชนเขามาสนับสนุนงานตลอดเวลา เพราะชุมชนเขา เห็นประโยชน เมื่อใดก็ตามที่ผูบริหารวิทยาลัยชุมชนหันหลังใหชุมชน แลวชุมชนเขาไมเห็นประโยชน เขาจะ ไมมาสนับสนุนอีกเลย เพราะฉะนั้นสภาวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร อาจารย นักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนแตละ จังหวัดตองยึดมั่นตรงนี้ ใหดี ตองใส ใจชุมชน ชุมชนมีปญหาอะไรเราตองรีบลงไปชวย นอกจากชวยในเรื่อง ของหลักสูตรอนุปริญญากับหลักสูตรฝกอบรมอาชีพแลว ถามีเรื่องอื่นเดือดรอนเราตองลงไปชวย และตอง ดึงชุมชนเขามาสูวิทยาลัยชุมชนของเรา ใหเขามีความรูสึกวา เขาเปนเจาของวิทยาลัยชุมชนนี้เหมือนกับเรา ยิ่งเราวางปณิธานไววาวิทยาลัยชุมชนทำเพื่อชุมชน เราตองเอาใจใสชุมชน และสภาวิทยาลัยชุมชนตองเปน สะพานเชื่อมระหวางชุมชนกับวิทยาลัยชุมชน

เปาหมายการจัดการศึกษา

1. หลักสูตรอนุปริญญา ตองเปนหลักสูตรอนุปริญญาในสาขาวิชาที่ชุมชนตองการ 2. หลักสูตรอาชีพระยะสั้น ตองเปนหลักสูตรที่ชุมชนตองการ เปนประโยชนเกื้อกูล และนำความสุข มาสูชุมชน คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

117


การเรียนรูตลอดชีวิต

การเรียนรูตลอดชีวิตของวิทยาลัยชุมชน สำหรับ 1. หลักสูตรอนุปริญญา ผูเรียน : - จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา - ทุกอายุ (วัยรุน / คนทำงาน / ผูสูงวัย) 2. หลักสูตรอาชีพระยะสั้น ผูเรียน : - เงื่อนไขตามหลักสูตร - ทุกอายุ (เด็ก-วัยรุน-วัยทำงาน-ผูสูงอายุ)

นโยบายเชิงบริหารจัดการ

• ตอบสนองการพัฒนาชุมชน ตั้งแตการพัฒนาจังหวัด อำเภอ องคการบริหารสวนจังหวัด องคการ บริหารสวนตำบล เทศบาล • กำหนดนโยบายใหชุมชนมีสวนรวม โดยวิทยาลัยชุมชนออกไปฟงความตองการของชุมชนแลว ผานกระบวนการกลั่นกรองจากสภาวิทยาลัย • จัดการศึกษาใหแกทุกชุมชนอยางทั่วถึง ขณะนี้หลายแหงพยายามไปจัดทุกอำเภอ เชน วิทยาลัย ชุมชนแพร ออกไปจัดการศึกษาใน 4 อำเภอใหญๆ ขอฝากใหผูบริหารวิทยาลัยชุมชนวา อำเภอที่หางไกล การเดินทางลำบาก เขาจะมาเรียนก็ติดขัด แตถาเราจัดใหเขาไดไปเรียนใกลทุกชุมชนก็จะดี ถาเปนหลักสูตรอนุปริญญาจะเห็นภาพชัด แตถาเปนการฝกอบรมหลักสูตรอาชีพระยะสั้นใหกับกลุม ผูดอยโอกาส อาจจะตองทำงานรวมกับหนวยพัฒนาสังคมจังหวัดของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมพัฒนา ชุมชนของกระทรวงมหาดไทย โดยเฉพาะคนตกงาน คนไมมีบานอยู เด็กกำพรา ถาเราสามารถใหโอกาสเขา โดยผานกระบวนการของวิทยาลัยชุมชน จะเปนมหากุศล จะตอบสนองความตองการของชุมชน และเปนการ จัดการเรียนรูตลอดชีวิตจริงๆ

118

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


ขอมูลประกอบการเรียบเรียง* เกษม วัฒนชัย, ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทย. “จุดยืนในการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน”. 5 กันยายน 2548 ณ โรงแรมริเวอรไซด กรุงเทพมหานคร. ________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน สระแกว”. 21 มิถุนายน 2549 ณ หอประชุมปางสีดา จังหวัดสระแกว. ________. “บทบาทวิทยาลัยชุมชนในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสูการปฏิบัติ”. การประชุม สัมมนา เรื่อง “วิทยาลัยชุมชน : การจัดการศึกษาในยุคเปลี่ยนผาน เนื่องในโอกาสการเปดสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต)”. 8 มกราคม 2550 ณ โรงแรมพลอยพาเลซ จังหวัดมุกดาหาร. ________. “การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจพอเพียงไปสูแนวการปฏิบัติ”. คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาท อนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน 11 มกราคม 2550 ณ โรงแรม อิมพีเรียลธารา จังหวัดแมฮองสอน. ________. “ทิศทางการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชน ตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565)”. 30 มิถุนายน 2550 ณ โรงแรมฮอลิเดยอินน รีสอรท รีเจนท บีช ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี. ________. ”สัมมนาสภาวิทยาลัยชุมชน ป 2550”. วันที่ 28-30 สิงหาคม 2550 ณ โรงแรมแมน้ำ ริเวอรไซด กรุงเทพมหานคร. ________. “ธรรมาภิบาลในวิทยาลัยชุมชน”. คำบรรยายใหแกสภาวิทยาลัยชุมชนที่มารวมในพิธีประสาท อนุปริญญาบัตรผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสระแกว. 6 มีนาคม 2551 ณ วิทยาลัยชุมชน สระแกว. *ผูสนใจโปรดติดตอขอขอมูลไดจากสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน หรือเว็บไซตของสำนักบริหาร งานวิทยาลัยชุมชน คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

119


________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ตราด.” 17 มกราคม 2552 ณ ศาลาประชาคมจังหวัดตราด จังหวัดตราด. ________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน พังงา”. 8 ภุมภาพันธ 2552 ณ วิทยาลัยชุมชนพังงา จังหวัดพังงา. ________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน พิจิตร”. 12 มีนาคม 2552 ณ อาคารศูนยวิทยาบริการ จังหวัดพิจิตร. ________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล”. 3 เมษายน 2552 ณ อาคารศูนยขอมูลสารสนเทศการทองเที่ยว จังหวัดสตูล. ________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนตาก”. 9 เมษายน 2552 ณ โรงแรมเวียงตากริเวอรไซด จังหวัดตาก. ________. “ปรัชญา หลักการ ของวิทยาลัยชุมชน และบทบาทหนาที่ของสภาวิทยาลัยชุมชน”. ________. การบรรยายเรื่อง ”2552 ปแหงคุณภาพการอุดมศึกษาไทย”. 3 กรกฎาคม 2552 ณ หอง แกรนด ไดมอนด บอลรูม อิมแพ็ค คอนเวนชั่น เซ็นเตอร เมืองทองธานี

120

ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.