รายงานผลการดำเนินการโครงการ ปศท.๒ ร.ร.นาทรายพิทยาคม จ.ลำพูน

Page 1

รายงานผลการดาเนินการ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน

ภายใต้โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒)

โดยความร่วมมือของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต ๒ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


แบบรายงานผลการดาเนินงาน ชื่อโครงการ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (ด้านการเรียนรู้)

ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ  เป้าประสงค์/เป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ ๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ของโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษา ศรีเวียงชัย และนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม ที่มีปัญหาด้านการอ่าน และเขียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ได้เข้า ร่วมกิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้องสาน ร้อยละ ๑๐๐ ๒. นักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ที่เข้าร่วมกิจกรรม เรียนรู้จากครูทั่วโลก (ICT) อย่าง สร้างสรรค์ ร้อยละ ๑๐๐ เป้าหมายเชิงคุณภาพ ๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ในเครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๑ ที่มีปัญหาด้านการอ่าน และเขียน ร้อยละ ๘๐ มีพัฒนาการทางด้านการอ่าน และเขียนดีขึ้นจากเดิม ๒. นักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพิ่มขึ้น  วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพั ฒนาผู้เรีย น ให้มีความรู้ และทักษะ ด้านการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง รักการเรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

วัตถุประสงค์เฉพาะ


๑. เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง จัดทาโครงการสอน แผนการจัด กระบวนการเรียนรู้ และสื่อประกอบฯ สาหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่าน เขียน ๒. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการอ่าน เขียน พยัญชนะ สระ อ่านสะกดคา แจกลูก และ สามารถแต่งประโยค แก่นักเรียนชั้ นประถมศึกษาปีที่ ๖ ของโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษาศรีเวีย งชัย และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม ที่มีปัญหาด้านการอ่านและเขียน ๓. เพื่อจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยการใช้แหล่ง เรียนรู้บนเว็บ แก่ครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ๔. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรีย นรู้บนเว็บ อย่ างเป็นระบบและต่อเนื่อง แก่ นักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม  ผลผลิต/ผลลัพธ์ นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง อย่ า งต่ อ เนื่ อ งอยู่ เ สมอ และใช้ เ วลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ ส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นเอง นอกจากนั้ น ยั ง ได้ บ าเพ็ ญ ตนให้ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษารอบ ๆ โรงเรี ย นที่ ข าดแคลนครู โดยเฉพาะวิชาเอกภาษาไทย จึงทาให้พื้นฐานสาคัญด้านการเรียนไม่เพียงพอที่จะเรียนในระดับที่สูงขึ้น เกิดความ ร่วมมือในการจัดการศึกษา ผู้ปกครองมีรักและศรัทธาในโรงเรียนเพิ่มขึ้น


๒. กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมที่ ๑ ครูเสริม พี่สอน น้องสาน กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้)

ไม่ได้ทา

ได้ทา เมื่อวันที่

ประชุมผู้บริหารสถานศึกษาหรือ ตัวแทนโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาในเครือข่าย สถานศึกษาศรีเวียงชัย เพื่อ สารวจความต้องการเข้าร่วม โครงการฯ(จัดพร้อมกับการ ประชุมประจาเดือนของ ผู้บริหารเครือข่าย)

๑๒ ก.ค. ๒๕๕๔

ประชุมเชิงปฏิบัติการ กาหนด โครงการสอน จัดทาแผนการจัด กระบวนการเรียนรู้ และสื่อ ประกอบฯ จากเครือข่ายครูใน เครือข่ายฯ

๑๒ ก.ค. ๒๕๕๔

นาเอกสารประกอบการสอน กิจกรรมครูสอน พี่เสริม น้อง สาน ที่ได้ร่วมกันจัดทากับ ครูผู้สอนวิชาภาษาไทยของ โรงเรียนระดับประถมศึกษาใน เครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย ไปมอบให้นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ ของแต่ละ โรงเรียนที่เข้าร่วม ครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทย โรงเรียนนาทรายวิทยาคมและ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่

๑๘ ก.ค. ๒๕๕๔

๑ส.ค. ๒๕๕๔

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ผู้บริหารสถานศึกษา ได้สารวจข้อมูลความ และตัวแทนโรงเรียน ต้องการเข้าร่วม ระดับประถมศึกษา โครงการของโรงเรียน จานวน ๘ คน ในเครือข่ายสถานศึกษา ศรีเวียงชัย (โรงเรียนที่ ไม่ได้เข้าร่วม ทาง ผู้จัดทาโครงการได้ ติดต่อสอบถามไปใน ภายหลัง) ผู้บริหารสถานศึกษา -ได้วางรูปแบบการจัด และตัวแทนโรงเรียน กิจกรรมตามโครงการ ระดับประถมศึกษา -ได้ตารางปฏิบัติ จานวน ๘ คน กิจกรรม จานวน ๑ ชุด -ได้ชุดแบบฝึกสอน เสริมการอ่านการเขียน โรงเรียนระดับประถม มอบชุดฝึกทักษะอ่าน ไม่ออกเขียนไม่ได้ ศึกษา จานวน ๖ โรงเรียนที่เข้าร่วม โรงเรียน โครงการ ๖ โรงเรียน

โรงเรียนระดับประถม ศึกษา จานวน ๓ โรงเรียน

จัดกิจกรรมการเรียน การสอนให้กับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา


กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้)

ไม่ได้ทา

ได้ทา เมื่อวันที่

๓ จานวน ๖ คน จัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้กับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่ เข้าร่วมกิจกรรม

จัดรุ่นพี่ที่อยู่ในหมู่บ้านเดียวกับ รุ่นน้องเพื่อช่วยสอนในตอนเย็น และวันเสาร์ – วันอาทิตย์

ตลอดปี การศึกษา

ถอดประสบการณ์โครงการ

๒๗ ก.พ. ๒๕๕๕

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ปีที่ ๖ ที่เข้าร่วม กิจกรรม จานวน ๓ โรงเรียน คือ โรงเรียน บ้านฮั่ว โรงเรียนบ้าน นาทราย และโรงเรียน บ้านผาลาด นักเรียนชั้น จัดกิจกรรมการเรียน ประถมศึกษาปีที่ ๖ การสอนให้กับนักเรียน จานวน ๓ หมู่บ้าน ระดับชั้นประถมศึกษา ๖ จานวน ๓ หมู่บ้าน คือ บ้านฮั่ว บ้านนา ทราย บ้านนาเลี่ยง ตัวแทนโรงเรียนระดับ การถ่ายทอด ประถมศึกษา จานวน ๘ ประสบการณ์ของ คน กิจกรรมครูเสริมพี่สอน น้องสาน

กิจกรรมที่ ๒ เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ไม่ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ครูจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ตลอดปี -ครู ๓๕ คน - นักเรียนได้เรียนรู้จาก แหล่งเรียนรู้บนเว็บ อย่างเป็น การศึกษา -นักเรียนทุกคน แหล่งเรียนรู้บนเว็บที่ครู ระบบและต่อเนื่อง ได้จัดทา - ครูจัดกิจกรรมเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากครู ตลอดปี -ครู ๓๕ คน - นักเรียนได้เรียนรู้จาก ทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต (School การศึกษา -นักเรียนทุกคน แหล่งเรียนรู้บนเว็บ online) แก่นักเรียน ได้ทา เมื่อวันที่


กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ถอดประสบการณ์โครงการ

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ๒๗ ก.พ. คณะครูและนักเรียน การถ่ายทอด ๒๕๕๕ ประสบการณ์ของ กิจกรรมเรียนรู้จากครู ทั่วโลก ได้ทา เมื่อวันที่

๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ จานวน ๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ บุคลากรของโรงเรียนประถมศึกษาในเครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัยจานวน ๕ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านฮั่ว บ้านนาทราย บ้านผาลาด บ้านนาเลี่ยง และบ้านห้วยต้มชัยยะวงศาอุปถัมภ์ ได้ร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีปัญหาด้านการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ และทางโรงเรียน ต้องการขอความช่วยเหลือให้ฝึกหัดนักเรียนที่มีปัญหาระดับชั้นอื่นด้วยจานวน ๓๙ คน นอกจากนี้ยังได้ทาการสร้างชุดแบบฝึกสอนเสริมการอ่านการเขียน คณะครูผู้เ ข้าร่วมประชุมได้ ร่วมกันคิดรูปแบบและเนื้อหาร่วมกัน โดยแยกประเภทความรุนแรงของปัญหาเป็นระดับต่างๆ แล้วสร้าง แบบฝึก ตามลักษณะปัญหานักเรีย น ผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นผู้จัดพิ มพ์ และรวมเล่ม เพื่ อนาไปใช้ใ น โครงการ ทั้ ง นี้ค ณะครู ตัวแทนที่ เ ข้ า อบรมได้ ร่วมกั นก าหนดตารางปฏิบั ติกิ จกรรม เพื่ อออกไปสอนเด็ ก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่ มีปัญหาด้านการอ่านไม่ออก เขีย นไม่ได้ ครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทย โรงเรียนนาทรายวิทยาคมและนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๖ คน จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๓ โรงเรียน คือ โรงเรียน บ้านฮั่ว โรงเรียนบ้านนาทราย และโรงเรียนบ้านผาลาด โดยจัดกิจกรรมดังนี้  กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง  ทดสอบทักษะพื้นฐานการอ่านของนักเรียนตามเอกสารประกอบการสอนเริ่มกิจกรรมการสอน ตามแบบฝึก ๑ และแบบฝึกที่ ๒


สาหรับรูปแบบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ใช้วิธีการดังนี้  ครูผู้สอนภาษาไทย โรงเรียนนาทรายวิทยาคมไปพบปะนักเรียนตามโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ นาเอกสารพร้อมคาชี้แจงวิธีการเรียนของนักเรียนไปมอบให้กับนักเรียน และ ครูประจา ชั้น ครั้งที่ ๒ ติดตามผลการดาเนินกิจกรรม  นักเรียนชั้น ป. ๖ ที่มีปัญหา เป็นผู้เลือกนักเรียนรุ่นพี่ที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับตนเอง จากนั้นคณะครู ร่วมกันพิจารณาตามความสามารถและความเหมาะสม เพื่อเป็นตัวแทนของพี่ที่จะช่วยสอนน้องได้ ในวันหยุด หรือทุกวันตอนเย็น ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) - การให้ความร่วมมือของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายฯยังมีน้อย เนื่องจากมีภารกิจในการจัดกิจกรรมของ โรงเรียนตนเองค่อนข้างมาก - เครือข่ายแกนนานักเรียนของโรงเรียนนาทรายวิทยาคมบางคนมีเวลาในการสอนและพบปะกับรุ่น น้อง เนื่องจากนักเรียนต้องทางานที่ครูประจาวิชามอบหมายให้ทาค่อนข้างมาก ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น - ประสานงาน และจัดเวลาการดาเนินงานให้สอดคล้องกับปฏิทินการปฏิบัติงานของโรงเรียนใน เครือข่ายฯ - จัดแบ่งเวลาในการทากิจกรรมของนักเรียนบูรณาการลงในคาบกิจกรรมเพื่อบาเพ็ญประโยชน์ของ โรงเรียน ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ () มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น () มี จานวน.....๑.....ครั้ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านฮั่ว โรงเรียนบ้านนาทราย และโรงเรียนบ้านผาลาด


ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ กิจกรรมที่ ๑ ครูเสริม พี่สอน น้องสาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ ประชุมเชิงปฏิบัติการ กาหนด โครงการสอน จัดทาแผนการจัด กระบวนการเรียนรู้ และสื่อ ประกอบฯ จากเครือข่ายครูใน เครือข่ายฯ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้กับนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่อ่าน ไม่ออก เขียนไม่ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด ครูในเครือข่ายสถานศึกษาฯ ได้เข้า ได้กาหนดโครงการสอน จัดทา ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จานวน ๘ แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ คน และสือ่ ประกอบการ

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับ นักเรียนให้กับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖โรงเรียนบ้านฮั่ว โรงเรียนบ้านนาทราย และโรงเรียน บ้านผาลาด

ครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทยโรงเรียนนา ทรายวิทยาคมและนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๖ คน จัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้กับ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๓ โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านฮั่ว โรงเรียนบ้านนา ทราย และโรงเรียนบ้านผาลาด

กิจกรรมที่ ๒ เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง ครูจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ แหล่งเรียนรู้บนเว็บ อย่างเป็น แหล่งเรียนรู้บนเว็บ ทุกรายวิชา ระบบและต่อเนื่อง

อธิบายรายละเอียด จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดย ครูผู้สอนทุกคน ใช้โปรแกรม Dreamweaver ๘ และ Moodle ที่ ได้อบรมเพื่อจัดทาแหล่งเรียนรู้ ภายในของตนเอง ครูจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ครู กิจกรรมการเรียนรู้จากครูทั่วโลก แหล่งเรียนรู้บนเว็บ อย่างเป็น ทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต ทุกรายวิชา ผ่านอินเตอร์เน็ต (School online) ระบบและต่อเนื่อง


ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๒ ชิ้น ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม ภาพกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ จานวน ๓ ภาพ ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน - ภาพ) ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก /รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) ๑. สรุปการประชุมโครงการครูเสริม พี่สอน น้องสาน


๑๐

ภาพกิจกรรมการการประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามโครงการครูเสริม พี่สอน น้องสาน


๑๑

เอกสารประกอบการสอน


๑๒

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๓ ศึกษาเอกสารเพื่อนาไปสอนเด็กประถมศึกษาปีที่ ๖

จัดมอบเอกสารประกอบการสอนให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ


๑๓

ครูภาษาไทยและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ออกสอนให้แก่นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ

รุ่นพี่ที่อยู่ในหมู่บ้านเดียวกับรุ่นน้องเพื่อช่วยสอนในตอนเย็นและวันเสาร์ – วันอาทิตย์


๑๔

ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากครูทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต (School online)


๑๕

การประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียน


๑๖


๑๗

สรุปการประชุม โครงการครูเสริม พี่สอน น้องสาน ณ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ นางสาววิมล เตจาโท่น คณะครูโรงเรียนเป้าหมาย ๖ คน ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย โรงเรียน นาทรายวิทยาคม ๒ คน รวมจานวนผู้เข้าร่วมประชุม ๘ คน เริ่มประชุมเวลา ๘.๐๐ น. ระเบียบวาระที่ ๑ ประธานแจ้งให้ทราบ (ที่ประชุมรับทราบ) ระเบียบวาระที่ ๒ รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่มี) ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่มี) ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๑. การสารวจข้อมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียนพบว่ามี ๒ โรงเรียนที่ นักเรียนอ่านได้ เขีย นได้ทุกคน แต่ไม่คล่อง และมี ๔ โรงเรียนที่นักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ รวมทั้งหมด จานวน ๓๔ คน บางโรงเรียนต้องการขอความช่วยเหลือให้ฝึกหัดนักเรียนที่มีปัญหาระดับชั้นอื่นด้วย ๒. การสร้างชุดแบบฝึกสอนเสริมการอ่านการเขียน คณะครูผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมกันคิดรูปแบบและ เนื้อหาร่วมกัน โดยแยกประเภทความรุนแรงของปัญหาเป็นระดับต่างๆ แล้วสร้างแบบฝึกตามลักษณะปัญหา นักเรียน ผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นผู้จัดพิมพ์และรวมเล่ม ๓. การจัดตารางปฏิบัติกิจกรรม ยังไม่สามารถจัดวันเวลาได้แน่นอน เนื่องจากมีโรงเรี ยนทีไม่ได้เข้าร่วม ประชุมจานวน ๕ โรงเรียน ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องประสานงานเพื่อสารวจความต้องการเข้าร่วมโครงการให้ ชัดเจน จึงจะสามารถจัดปฏิทินการออกสอนเสริมได้ ๔. รูปแบบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ใช้วิธีการดังนี้ ๔.๑ ครูผู้สอนภาษาไทย โรงเรียนนาทรายวิทยาคมไปพบปะนักเรีย นตามโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ นาเอกสารพร้อมคาชี้แจงวิธีการเรียนของนักเรียนไปมอบให้กับนักเรียน และ ครูประจาชั้น ครั้งที่ ๒ ติดตามผลการดาเนินกิจกรรม ๔.๒ นักเรียนชั้น ป. ๖ ที่มีปัญหา เป็นผู้เลือกนักเรียนรุ่นพี่ที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับตนเอง จากนั้นคณะครู ร่วมกันพิจารณาตามความสามารถและความเหมาะสม เพื่อเป็นตัวแทนของพี่ที่จะช่วยสอนน้องได้ ในวันหยุด หรือทุกวันตอนเย็น ๕. เรื่องอื่นๆ ๕.๑ ประสบการณ์สอนนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียนภาษาไทย ๕.๒ ประสบการณ์เข้าร่วมอบรมสัมมนา การแก้ปัญหานักเรียนมีปัญหาด้านการใช้ภาษาไทย

ประธานที่ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม


๑๘

ผลการดาเนินการถอดประสบการณ์ โครงการที่ 1 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง และสร้างสรรค์ กิจกรรมที่ 1 ครูเสริม พี่สอน น้องสาน จากการระดมความคิดเห็นของผู้ที่เข้าร่วมถอดประสบการณ์ ได้แก่ ครูภาวินี โรงเรียนบ้านนาเลี่ยง ครูวิมล ครูจิราพร ครูสุทธินี ครูพัชรินทร์ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม และนางสาวภัสรา ณะคาปุ๊ด ตัวแทนนักเรียนรุ่นพี่สอน น้อง โรงเรียนนาทรายวิทยาคม และเด็กชายวรายุทธ นาทรายกนก ตัวแทนนักเรียนมีปัญหาทางด้านการอ่าน การ เขียนโรงเรียนบ้านนาเลี่ยง โดยครูวิมลได้กล่าวถึงปัญหาและสาเหตุของโครงการคือ จากสถิติย้อนหลัง 3 ปี ของการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนพบว่า มีนักเรียนไม่ต่ากว่า 5-10 คน ต่อปีการศึกษาที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียน เพราะมีสาเหตุมาจากโรงเรียนประถมส่วนมาก ขาดครูผู้สอนซึ่งเป็นสาขาเอกวิชาชีพทางด้านวิชาภาษาไทยโดยตรง แต่ทางโรงเรียนก็แก้ปัญหาโดยนาครูสาขาวิชาเอกอื่นๆ เช่น คณิต พลศึกษา มาสอนภาษาไทยเป็นต้น ดังนั้นเมื่อเด็ก นักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นจึงมีปัญหาทางด้านการเรี ยนรู้วิชาภาษาไทย เพื่อเป็นการแก้ปัญหาเชิงรุกทาง โรงเรียนนาทรายวิทยาคมจึงมีแนวคิดนาครูและนักเรียนที่มีความสามารถในทางวิชาภาษาไทยไปช่วยสอนเด็ก นักเรียนประถมที่มีปัญหาด้านการอ่าน และการเขียน โดยมีวิธีการจัดกิจกรรมดังนี้ จัดกิ จกรรมการเรีย นรู้ด้า นการอ่า น การเขี ย น ให้กั บเด็ก นัก เรีย นชั้น ป.6 ที่มีปัญหาด้านการอ่าน ใน เครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย พบว่าเมื่อจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียนได้เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 และมีพัฒนาการดีขึ้น เนื่องจากมีเอกสารประกอบการเรียนรู้มีพี่ช่วยสอนมีครูคอยดูแลและส่งเสริม หลังจากนั้นครูภาวินี ได้ก ล่าวเสริมว่าปัจจุบันพบว่านักเรียนประถมส่วนใหญ่ จะมีปัญหาทางด้านการ เรียนรู้ภาษาไทยซึ่งสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนขาดความมั่นใจไม่กล้าเขียนและอ่านออกเสียง 2. นักเรียนขาดความใฝ่รู้ใฝ่เรียนและความกระตือรือร้น 3. ผู้ปกครองไม่มีเวลาว่างสอนการบ้านให้กับนักเรียน 4. ผู้ปกครองไม่เข้าใจเนื้อหาที่นักเรียนเรียน จึงไม่สามารถสอนการบ้านได้ 5. นักเรียนมีความปกพร่องทางการเรียนรู้ทาให้มีการพัฒนาได้น้อยกว่าคนอื่น หลังจากนั้นครูวิมลได้สอบถามความคิดเห็นโดยได้ใช้คาถามว่า ในโอกาสต่อไปอยากให้ทางโรงเรียนนา ทรายจัด กิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้องสาน อย่างไรบ้าง ซึ่งทางผู้เข้าร่วมการถอดประสบการณ์ได้สรุปไว้ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมการแข่งขันทักษะการอ่านการเขียนสาหรับนักเรียนที่มีปัญหา 2. การใช้แรงเสริม โดยการให้รางวัลเพื่อเป็นแรงจูงใจ 3. ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้จากสื่อที่หลากหลาย และมีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 4. ควรส่งเสริมนักเรียนที่เรียนเก่งใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. การได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณเพื่อจัดทาเอกสารทาให้เกิดการร่วมมือจากโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง คณะครู นักเรียนช่วยสอนผู้ปกครองทาให้นักเรียนที่มีปัญหามีโอกาสในการพัฒนา


๑๙

เมื่อสอบถามความคิดเห็นจากพี่ช่วยสอนและรุ่นน้อง ได้กล่าวว่ามีความภูมิใจในตนเองที่มีโอกาสได้สอน น้องและใช้ เวลาว่า งให้เกิ ดประโยชน์ นัก เรีย นที่มีปัญหามีโอกาสในการพั ฒนาตนเองมีความร่วมมือระหว่าง โรงเรียนพี่โรงเรียนน้องเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน เตรี ยมความพร้อมนักเรียนที่มีปัญหาก่อน การเข้าเรียนชั้น ม. 1 กิจกรรมที่ 2 เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ ในการระดมความคิดเห็นของกิจกรรมที่ 2 โดยมีผู้เข้าร่วมถอดประสบการณ์ได้แก่ ครูศศิธร ครูสมคิด ตัวแทนคณะครูนาทรายวิทยาคม นางสาวนภาพร นางสาวอาไพ ตัวแทนนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ซึ่งครู ศศิธรได้กล่าวว่าที่มาของกิจกรรม เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ มาจากนักเรียนใช้เวลาว่างไม่ เป็นประโยชน์ ใช้ข้อมูลทางสื่ออินเตอร์เน็ตไม่ถูกต้องตาม เช่น การดูเว็บลามกอนาจาร การแชทหาเพื่อนคุยทาง อินเตอร์เน็ต ซึ่งอาจส่งผลต่อพฤติกรรมของตัวเด็กนักเรียน และไปสู่การเรียนรู้ของตัวเด็กนักเรียน เมื่อปล่อยทิ้งไว้ก็ จะกลายเป็นปัญหาสังคมมากขึ้น ซึ่งทางโรงเรียนจึงเล็ งเห็นความสาคัญในการใช้สื่ออินเตอร์เน็ต และ ICT ให้เกิด ประโยชน์ต่อตัวนักเรียนมากที่สุด และเพื่อเป็นการป้องกันและพัฒนาเด็กนักเรียนให้ใช้สื่ออินเตอร์เน็ต และ ICT ให้ ถูกต้องจึงนาความรู้ทางด้าน ICT และอินเตอร์เน็ต ให้คณะครูสร้างเว็บเพจพัฒนาการเรียนการสอนมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ และใช้ School Online ในการช่วยทบทวนนักเรียนซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ใช้เวลาว่างไม่เป็นประโยชน์ และใช้สื่อทาง ICT และอินเตอร์เน็ต ในทางที่ผิด โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้จากสื่อ ICT เว็บเพจ และ School Online และนักเรียนสามารถนาไปทบทวน ความรู้และทาข้อสอบผ่าน URL อย่างมีประสิทธิภาพ - เชิงปริมาณนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เมื่อได้ดาเนินกิจกรรมไปแล้วพบว่า นักเรียนได้เรียนรู้จากครูทั่วโลกผ่านสื่อ ICT เว็บเพจ และ School Online และนักเรียนสามารถนาไปทบทวนความรู้และทาข้อสอบผ่าน URL ไว้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจาก นักเรียน สามารถใช้ Internet ทุกสัปดาห์ ภาคเรียนละ 15 ชั่วโมง ส่งผลให้ในปีการศึกษา 2554 นี้ นักเรียนสามารถสอบ คัดเลือกเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในคณะแพทย์ศาสตร์ ตามโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอาเภอหนึ่งทุน (ODOD) และคณะอื่นร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๆ เมื่อได้สอบถามปัญหาในการดาเนินกิจกรรมและแนวทางดาเนินกิจกรรมในโอกาสต่อไป ครูสมคิดและ นางสาวอาไพ ได้สรุปไว้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1. มี Computer ไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียนทาให้เกิดการแย่งใช้เครื่อง 2. ควรเพิ่มจานวนชั่วโมงจาก 15 ชั่วโมง เป็น 20 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน 3. คณะครูควรสร้างสื่อและรวบรวมสื่อการเรียนการสอนจากครูทั่วโลกให้นักเรียนนาไปศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ นักเรียนได้ศึกษาจาก web page ที่บ้านของนักเรียนที่มีอินเตอร์เน็ต


๒๐

คณะครูควรสร้างและรวบรวมสื่อการเรียนรู้จากครูทั่วโลกลงแผ่น VCD สาหรับนาไปศึกษาเพิ่มที่บ้านของนักเรียน ที่ไม่มีอินเตอร์เน็ต


๒๑

แบบรายงานผลการดาเนินงาน ชื่อโครงการ วิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ  เป้าประสงค์/เป้าหมาย ส่งเสริม สนับสนุนการนาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นาไปสู่อาหารกลางวันสาหรับนักเรียน (ปลูก เอง ขายเอง กินเอง) และพัฒนาวิชาชีพ  วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียน ชุมชนได้เรียนรู้ และปฏิบัติ ด้านการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกัน ๒. เพื่อจัดตั้งกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน ๓. เพื่อให้นักเรียนและชุมชนมีรายได้จากการจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร  ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผู้ปกครองและนักเรียน ได้รับประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมจากการนาปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ มีฐานะครอบครัวและผลการเรียนของนักเรียนที่ดีขึ้น และสภาพของชุมชนเป็นสังคมน่าอยู่ ๒. กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) - จัดหา และ / หรือ จัดซื้อเมล็ด พันธุ์ และกล้าพันธุ์พืช

ไม่ได้ ทา

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ๒๙กรกฎาคม ผู้ปกครองนักเรียน แจกเมล็ดพันธ์ ให้กับ ๒๕๕๔ จานวน ๒๕ ราย ผู้ปกครองนักเรียนที่เข้า ร่วมโครงการ โดยมี นักเรียนบางส่วนเป็น ตัวแทนมารับเมล็ดพันธ์ แทนที่ครูผู้ประสานงาน โครงการ ได้ทา เมื่อวันที่


๒๒

กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ให้ ความรู้ ด้ า นการเกษตรแบบ พอเพี ย ง และการสหกรณ์ แ ก่ นักเรียน และชุมชน ศึกษา วางแผน จัดตั้งสหกรณ์ โรงเรียน

ปล่อยปลาในบ่อเลี้ยงปลา โรงเรียน

วางแผนก าหนดรายการอาหาร และวั ต ถุ ดิ บ ในการประกอบ อาหารตามโครงการอาหาร กลางวันของโรงเรียน ปลูกผักสวนครัว ในโรงเรียน

รับซื้อวัตถุดิบจากชาวบ้านและ นักเรียน

ไม่ได้ ทา

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ วิทยากร จานวน ๑ คน นักเรียน และชุมชนมี นักเรียน จานวน ๕๐ คน ความรู้ด้านการเกษตร ผู้ปกครอง จานวน ๒๕ แบบพอเพียง และการ คน สหกรณ์ ๑๓ มิถุนายน นักเรียน ครู และ ภาคส่วนต่าง ๆ ที่ ๒๕๕๔ เกี่ยวข้อง รวมกลุ่มกัน บุคลากรทุกคน จัดตั้งสหกรณ์โรงเรียน โดยได้มีการระดมหุ้น ๆ ละ10 บาท จากสมาชิก ๙ ธันวาคม นักเรียน ครู และ โรงเรียนมีแหล่งโปรตีน ๒๕๕๔ จากการเลี้ยงปลา และ บุคลากรทุกคน นาไปประกอบอาหาร กลางวัน เดือนละ ๑ นักเรียน ครู และ วางแผนกาหนดรายการ บุคลากรทุกคน อาหาร และวัตถุดิบใน ครั้ง แม่ค้าที่ร่วมทา MOU การประกอบอาหาร ได้ทา เมื่อวันที่

ตลอดปี การศึกษา

นักเรียน ครู และ

ตลอดปี การศึกษา

นักเรียนและผู้ปกครอง

บุคลากรทุกคน

ที่เข้าร่วมโครงการทุก คน

บริการอาหารกลางวัน

ตลอดปี การศึกษา

นักเรียน ครู

วัตถุดิบในการประกอบ อาหารกลางวัน ได้วัตถุดิบ เช่นฟักทอง ฟักเขียว มาเป็นวัตถุดิบ ในการประกอบอาหาร กลางวัน โรงเรียนจัดบริการ อาหารกลางวันตาม รายการอาหารและ วัตถุดิบที่กาหนดอย่าง สอดคล้อง


๒๓

กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้)

ไม่ได้ ทา

ได้ทา เมื่อวันที่

ตรวจสอบประเมินคุณภาพ การ บริการอาหารกลางวัน

ตลอดปี การศึกษา

ถอดประสบการณ์โครงการ

๒๗ ก.พ. ๒๕๕๕

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ คณะกรรมการนักเรียน คณะกรรมการได้ ครู ตรวจสอบประเมิน ทุก วันที่บริการอาหาร คณะครู นักเรียน และ การถ่ายทอด ผู้ปกครองที่เข้าร่วม ประสบการณ์ของวิถี โครงการ พอเพียงเพื่อการมีอาชีพ และรายได้

๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ -

จานวน

๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน ชุมชน และแม่ค้า ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) - การผลิต/เพาะปลูกผลิตผลทางการเกษตรยังไม่ทันป้อนเข้าสู่สหกรณ์ เนื่องจากเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการเพิ่งได้รับเมล็ดพันธุ์ในการนาไปเพาะปลูก - วัตถุดิบในท้องถิ่นไม่เพียงพอต่อปริมาณความต้องการของแม่ค้า ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น - สหกรณ์ จัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอื่น ๆ ป้อนเข้าสู่การประกอบอาหารของแม่ค้า ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ () มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม () ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี จานวน...........ครั้ง ได้แก่ (ให้รายละเอียด)...................โรงเรียน................................


๒๔

ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ ได้กล้าพันธุ์พืช

การอบรมเชิงปฏิบัติการ

ตั้งสหกรณ์โรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง ได้กล้าพันธุ์พืช เพื่อแจกผู้ปกครอง นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จานวน ๒๕ ครอบครัว จัดการอบรม จานวน 2 วัน ผู้เข้าอบรม จานวน 50 คน

มีกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน

อธิบายรายละเอียด จัดหา และ / หรือ จัดซื้อเมล็ด พันธุ์ และกล้าพันธุ์พืช จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ ด้านการเกษตรแบบพอเพียง และ การสหกรณ์ แ ก่ นั ก เรี ย น และ ชุมชน ศึกษา วางแผน จัดตั้งสหกรณ์ โรงเรียน เพื่อเป็นสถานที่ในการ รับซื้อ และกระจายวัตถุดิบทาง การเกษตรที่ใช้ในการประกอบ อาหารกลางวัน

ได้รายการอาหาร

ได้วัตถุดิบ

จัดบริการอาหารกลางวัน

รายการอาหารที่จะให้ผู้ประกอบการ และ แผนในการจัดหาวัตถุดิบใน การประกอบอาหารกลางวัน นักเรียนปลูกผักสวนครัวเพื่อใช้ใน การประกอบอาหาร

นักเรียนรับประทานอาหารกลาง วันที่โรงเรียนได้จัดบริการให้ ทุก สัปดาห์ ท า ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียน ครู ได้ร่วมกันตรวจสอบ คุ ณ ภาพและการบริ ก ารอาหาร ประเมินคุณภาพ และการบริการ กลางวัน อาหารกลางวัน

นั ก เรี ย น ครู และผู้ เ กี่ ยวข้ อ ง วางแผนกาหนดรายการอาหาร ผู้ประกอบการได้ วัตถุดิบในการ ประกอบอาหารตามโครงการ อาหารกลางวันของโรงเรียน - จัดบริการอาหารกลางวันตาม รายการอาหารที่กาหนด - ตรวจสอบประเมินคุณภาพ การบริการอาหารกลางวัน อย่าง สม่าเสมอ


๒๕

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๑๗ ภาพ) ๒. คาสั่งแต่งตั้งคณะทางาน จานวน - คาสั่ง ๓. แผนการจัดกิจกรรม จานวน ๑ แผน ๔. ข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก /รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................


๒๖

การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการเกษตรแบบพอเพียงและเกษตรปลอดสารพิษ


๒๗

การประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อสารวจอาชีพ จัดกลุ่ม และทาข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน ในการผลิต ส่งขายวัตถุดิบด้านการเกษตรแก่โรงเรียน


๒๘

เมล็ดพันธุ์พืชสาหรับแจกจ่าย ผู้ปกครองและนักเรียน

การเตรียมแปลงเพื่อการเพาะปลูกพืชผักสวนครัว ป้อนเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน


๒๙

กิจกรรมการปลูกเองในโรงเรียน


๓๐


๓๑


๓๒

กิจกรรมการปลูกเองนอกโรงเรียน


๓๓

กิจกรรมขายเอง


๓๔


๓๕


๓๖

กิจกรรมกินเอง


๓๗

การประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียน


๓๘


๓๙

ตัวย่างแบบบันทึกข้อตกลงร่วมกัน

บันทึกข้อตกลงร่วมกัน การเข้าร่วมโครงการ “วิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้” ของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน ร่วมกับ ผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน

บันทึกข้อตกลงร่วมกันนี้ จัดทาขึ้น ระหว่างโรงเรียนนาทรายวิทยาคม โดยผู้อานวยการสถานศึกษา และ ผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน เพื่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ“วิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ ” โดยมี วัตถุประสงค์ที่สาคัญคือ การผลิต ส่งขายวัตถุดิบด้านการเกษตรแก่โรงเรียน เพื่อจาหน่ายแก่ผู้รับจ้างเหมาประกอบ อาหารกลางวันภายใต้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและการจาหน่ายอาหารในโรงเรียน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานสาคัญร่วมกัน ลงชื่อ

ลงชื่อ (นายยงยุทธ ยะบุญธง) ผู้อานวยการสถานศึกษา

ลงชื่อ

(นายบุญก้า ธินิยา) ผู้ปกครองนักเรียน ลงชื่อ

(นางสาวพุทธิดา สวรรณวงค์) หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบริหารทั่วไป ลงชื่อ (นางสาวชริตตา ศรีวิโรจน์) งานเกษตรกรรม

(นางณัฐธิดา สิงห์ตัน) ผู้รับจ้างเหมาประกอบอาหารกลางวันนักเรียน ลงชื่อ (นางเบญจวรรณ จาเต๋จ๊ะ) ผู้จาหน่ายอาหารในโรงเรียน


๔๐

กาหนดการประชุมโครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ณ ห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียนนาทรายวิทยาคม เวลา ๐๘.๐๐ น. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสารวจอาชีพ จัดกลุ่ม ทาข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน ใน การผลิต ส่งขายวัตถุดิบด้านการเกษตรแก่โรงเรียน เวลา

รายการปฏิบัติ

สถานที่

ผู้รับผิดชอบ

๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น.

ลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุม

ห้องโสตทัศนศึกษา

ครูดลนชัย

๐๙.๐๐ น. – ๑๐.๐๐ น.

๑. พิธีกรดาเนินงานการประชุมตามโครงการนาร่องการ

ห้องโสตทัศนศึกษา

ครูศราวุฒิ

จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุข ภาวะคนไทย กล่าวต้อนรับและชีแ้ จงกาหนดการในการ ประชุมให้ผู้ทเี่ ข้าร่วมประชุมฯ ทราบ ๒. พิธีกรเรียนเชิญประธาน ดร.ยงยุทธ ยะบุญธง

ดร.ยงยุทธ

ผู้อานวยการโรงเรียนนาทรายวิทยาคมเปิดการประชุม และบรรยายเกี่ยวกับการดาเนินโครงการฯ ๑๐.๐๐ น. – ๑๐.๑๕ น.

พักรับประทานอาหารว่าง

ห้องโสตทัศนศึกษา

ครูพุทธิดา

๑๐.๑๕ น. – ๑๑.๐๐ น.

สารวจข้อมูลด้านการเกษตรกรรมของผูป้ กครองนักเรียน

หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

๑๑.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น.

จัดกลุ่มการผลิตวัตถุดิบด้านการเกษตรของผู้ปกครอง

หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

นักเรียน (หมู่บ้าน) ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

หอประชุมทรายคา

ครูพุทธิดา

๑๓.๐๐ น. – ๑๕.๓๐ น.

ร่วมกันทาข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง

หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

นักเรียน ๑๕.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.

ร่วมกันสรุปการปลูกพืชเพื่อจัดหาเมล็ดพันธุ์และนัดแจก เมล็ดพันธุ์


๔๑

ผลการดาเนินการถอดประสบการณ์ โครงการที่ 2 โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ ในการระดมความคิดเห็นของโครงการที่ 2 ซึ่งประกอบด้วย ครูชริตตา ครูพุทธิดา ครูนัณฐนิช เด็กชายธีร นั ย เด็ ก ชายณรงฤทธิ์ ตั ว แทนคณะครู แ ละนั ก เรี ย นโรงเรี ย นนาทรายวิ ท ยาคม คุ ณ ศั ก ดา ตั ว แทนนั ก วิ ช าการ การเกษตร อบต.นาทราย นางแสงจันทร์ ตัวแทนผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ โดย ครูชริตตาได้กล่าวถึงที่มาของ โครงการนี้คือ สภาพเศรษฐกิจของประชาชนในตาบลนาทราย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นอกเขต ชลประทาน ผลผลิตจึงขึ้นอยู่กับสภาพของดินฟ้าอากาศซึ่งไม่แน่นอน ตลอดทั้งการตลาดที่มีพ่อค้าคนกลางเป็นผู้ กาหนดราคา ผลที่ตามมาต่อการเรียนรู้ของนักเรียน คือ ความไม่พร้อม การขาดเรียนไปทางานช่วยเหลือพ่อแม่ แม้ว่ารัฐบาลจะมีโครงการ 15 ปีเรียนฟรีก็ตาม ทางโรงเรียนได้ตระหนักถึงปัญหานี้เป็นอย่างดี จึงได้น้อมนาแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปรับใช้กับชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ที่จะพึ่งตนเอง และอยู่อย่างพอเพียง “วิถีชีวิตแบบพอเพียง” โรงเรียนได้จาลองการทาเกษตรแบบพอเพียงผ่านทางโครงการ “วิถี เศรษฐกิจพอเพี ยงเพื่อการมี อาชีพ และรายได้ ” เพื่อให้โรงเรียนเป็นแบบอย่างแก่ชุมชน โดยอาศัย นัก เรียนเป็น สื่อกลางที่คอยชักจูงผู้ปกครองให้มาสนใจทาการเกษตรแบบพอเพียง ที่นักเรียนได้จัดทาขึ้น เช่น การเพาะเห็ดฟาง การเลี้ยงปลา การปลูกสวนไผ่ การปลูก พืชสวนแบบผสมผสาน การปลูกผักในแปลงเกษตรที่นักเรียนและครู ช่วยกันทาที่โรงเรียนและที่บ้านนักเรียนเอง ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้ เรียนรู้ลงมือปฏิบัติด้านการเกษตรที่ถือว่าเป็น อาชีพพื้นฐานของคนในท้องถิ่น เมื่อดาเนินการผลิตแล้ว จึงจัดจาหน่าย โดยการจัดกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวันซื้อไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน ตามโครงการจัดอาหาร กลางวันสาหรับนักเรียน ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน เป็นผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณ ทาให้เกิดรายได้ แก่นักเรียน ครอบครัวนักเรียน พร้อมทั้งเรียนรู้ทั้งภาควิชาการและภาคการปฏิบัติอย่างจริงจัง โรงเรียนจึงสามารถ พึ่งตนเองได้ ในการดาเนินโครงการอาหารกลางวันแก่นักเรียน สาหรับผู้ปกครองที่ร่วมโครงการมีการปลูกผักสวน ครัว ผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง เลี้ยงปลา และนามาจาหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อนามาเป็นอาหาร กลางวันให้กับนักเรียน หลังจากดาเนินโครงการไปแล้วนั้น ทาให้เด็กนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน โดยการนาผลิตผลที่นักเรียน แต่ละห้องปลูกขึ้นเอง และผลผลิตของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ (ปลูกเอง) ส่งมาขายที่สหกรณ์โรงเรียน และ จาหน่ายให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ที่เข้าร่วมในโครงการ (ขายเอง) นาไปประกอบเป็นอาหารกลางวันให้กับ นักเรีย น (กิ นเอง) ซึ่งปั จจุบันทางโรงเรีย นได้มีหุ้นสหกรณ์ทั้งคณะครูและนักเรียนจานวน 1,776 หุ้น เป็นเงิน 17,760 บาท ซึ่งถือเป็นการฝึกการมีอาชีพและรายได้ระหว่างเรียน การบริหารจัดการสหกรณ์ของโรงเรียนให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพราะได้นาเอานักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาการเรียนคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มาบริหารจัดการบัญชีการใช้จ่าย ซึ่งถือว่าเป็นการฝึกทักษะและประสบการณ์ก่อนออกฝึกงานในชั้นปีที่ 3 จากการ ดาเนินโครงการนี้ทาให้สามารถแบ่งเบาภาระปัญหาด้านเศรษฐกิจของผู้ปกครองนักเรียนได้เป็นอย่างดี เนื่องจาก เงินงบประมาณที่ อบจ. ลาพูนจัดให้ได้มีการหมุนเวียนในชุมชนเอง


๔๒

ซึ่งเมือ่ ครูชริตตาได้ใช้คาถามว่า “เราจะทาอย่างไรต่อไปในการดาเนินโครงการในครั้งต่อไป” ซึ่งทางคณะ ครู นักเรียน ตัวแทนนักวิชาการการเกษตร อบต.นาทราย และตัวแทนผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ ได้สรุปดังนี้ - ควรขยายผลไปยังกลุ่ม แม่บ้าน บ้านนามน บ้านนาทรายเพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมมากขึ้นและมีผลิตผล ป้อนเข้าสู่โรงอาหารมากขึ้น - ควรมีการจัดทาบัญชีในขั้นตอนการผลิตว่าแต่ละขั้นตอนนั้นทาอย่างไรบ้าง


๔๓

แบบรายงานผลการดาเนินงาน ชื่อโครงการ สุขภาพดี วิถีไทย ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย นักเรียนและองค์กรภาคีเครือข่าย เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการดูแลนักเรียนร่วมกัน สร้างสัมพันธ์ ชุมชน มีสุขภาพกาย ใจ ที่ดีเพิ่มขึ้น ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน และชุน มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน อยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ นัก เรี ยนได้รับการดูแ ลช่ วยเหลื อ มีสุ ขภาพกายและใจที่ ดี รวมทั้ งมี ค วามตระหนั กใน หน้าที่ของการเป็นสมาชิกและมีสัมพันธภาพที่ดีของครอบครัวและสังคม ๒. เพื่อจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ๓. เพื่ อ สร้ า งภาคี เครื อ ข่ า ย องค์ ก รชุ ม ชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการด าเนิ น งานตามระบบดู แ ล ช่วยเหลือนักเรียน ให้เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลเพิ่มขึ้น ๔. เพื่ อ จั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม /พั ฒ นา ป้ อ งกั น และช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ และสภาพบริบทของโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น ผู้ปกครองนักเรียน และ ชุมชนปฏิบัติตนด้านการออกกาลัง มีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เกิดความรัก สามัคคี กลมเกลียว ในหมู่คณะ โรงเรียน ได้รับการยอมรับและเชื่อถือเพิ่มขึ้น


๔๔

๒. กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมที่ ๑ การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ได้ทา กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ไม่ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ๑. ประชุ ม คณะท างานเพื่ อ วาง ๕มิถุนายน กลุ่มบริหารงานกิจการ ได้แผนการจัดกิจกรรม แผนการจัดกิจกรรม ๒๕๕๔ นักเรียน คณะครู และ และปฏิทินการ ดาเนินงาน ตัวแทนชุมชนต่าง ๆ ๒.ประสานวิท ยากร ผู้ เ ชี่ ย วชาญ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมแต่ละ กิจกรรม

๓. อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้าง ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ใ นครอบครั ว และการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพอย่ า ง

๔-๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๑๕-๑๖ กันยายน ๒๕๕๔

ยั่งยืน (รายละเอี ย ดตามก าหนดการ อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเสริ ม สร้ า ง

ครู, กองสาธารณสุข อบต.นาทราย, อาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน และ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ชุมชนตาบลนาทราย นักเรียนกลุ่มเสี่ยงด้าน การคุ้มครอง จานวน ๒๕ คน ผู้ปกครอง นักเรียนกลุ่มเสี่ยงฯ จานวน ๒๕ คน รวมจานวน ๕๐ คน

ได้ดาเนินการประสาน วิทยากร และ ผู้เชี่ยวชาญในการจัด อบรม และกิจกรรม ต่างๆ

ตัวแทนเครือข่าย ผู้ปกครอง

ได้การถ่ายทอด

อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีใน ครอบครัว และการ ส่งเสริมสุขภาพอย่าง ยั่งยืน

สัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ดังแนบ ในภาคผนวก) ถอดประสบการณ์โครงการ

๒๗ ก.พ. ๒๕๕๕

ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้


๔๕

กิจกรรมที่ ๒ ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชน ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ ได้ทา กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ทา เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ๑. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ๒๖ ผู้บริหาร ครูโรงเรียน - ผู้บริหาร ครูโรงเรียน ร่วมกันระหว่างบุคลากรใน สิงหาคม ในเครือข่ายสถานศึกษา ในเครือข่าย โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่ ๒๕๕๔ ศรีเวียงชัย และตัวแทน สถานศึกษาศรีเวียงชัย เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความร่วมมือ และตัวแทนผู้นา ผู้นาองค์กร ผู้นาชุมชน และความเข้าใจ ในการดูแล องค์กร ผู้นาชุมชนใน ในตาบลนาทราย ช่วยเหลือนักเรียนร่วมกัน ตาบลนาทราย และภาคี จานวน ๒๗ คน (วาระการประชุม ดังแนบใน เครือข่ายที่เกี่ยวข้องได้ ภาคผนวก) ประชุมเชิงปฏิบัติการ กัน เพื่อสร้างความ เข้าใจ และความ ร่วมมือ ในการแก้ไข ปัญหานักเรียนร่วมกัน ทุกฝ่าย เพื่อให้ปัญหาที่ เกิดขึ้นในครอบครัว และชุมชนลดลงอย่าง ต่อเนื่อง ๒ . กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม /พั ฒ น า ดาเนินการ - นักเรียนทุกคน ภาคส่วนต่างๆ ร่วมกัน สาหรับนักเรียนกลุ่มพิเศษ ป้องกัน ตลอดปี - ครูในโรงเรียนทุกคน จัดกิจกรรมเพื่อ ส าหรั บ นั ก เรี ย นกลุ่ ม ปกติ แ ละ การศึกษา - เครือข่ายชมรม ส่งเสริม และพัฒนา ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ ส่ ง ต่ อ ส า ห รั บ ผู้ปกครองและครู ดังนี้ นัก เรีย นกลุ่ ม เสี่ ย งและที่ มี ปั ญหา - คณะกรรมการ ๑. กิจกรรมโฮมรูม ด้ว ยวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย อย่ า งมี สถานศึกษา ๒. กิจกรรมให้คา ส่วนร่วม - ผู้นาชุมชน ปรึกษา ๒.๑ เยี่ ย มบ้ า นนั ก เรี ย นในภาค - องค์กรในชุมชน ๓. กิจกรรมแนะแนว เรี ย นที่ ๑ ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๔ ๔. กิจกรรมเพื่อนเตือน ของครูที่ปรึกษา เพื่อน


๔๖

๒.๒ คัดกรองนักเรียนตามระบบ

กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๒.๓ แบ่งครูผู้รับผิดชอบตามกลุ่ม เสี่ยงเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน ๒.๔ ประสานชุ ม ชนเพื่ อร่วมกั น แก้ไขปัญหานักเรียนในแต่ละด้าน ตามที่คัดกรอง ๒.๕ ครู ที่ ป รึ ก ษาก ากั บ ติ ด ตาม นักเรียนเป็นกรณีพิเศษ การแข่งขันกีฬาทรายทองเกมส์

ถอดประสบการณ์โครงการ

๕. กิจกรรมพี่สอนน้อง

ไม่ได้ ทา

ได้ทา เมื่อวันที่

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ๖. กิจกรรมพัฒนา บุคลิกภาพ ๗. กิจกรรมอื่น ๆ

๙ ธันวาคม ๒๕๕๔

นักเรียนและชุมชุนใน ตาบลนาทราย

๒๗ ก.พ. ๒๕๕๕

ตัวแทนผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน

การแข่งขันกีฬาเพื่อ สุขภาพของนักเรียน และชาวบ้านให้ แข็งแรงยิ่งขึ้นและเป็น การเชื่อมสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับ ชุมชน ได้การถ่ายทอด ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ การแข่งขันกีฬาทรายทองเกมส์ แผนผังเครือญาติ แผนที่เดินดิน

จานวน 1 วัน นักเรียนทุกคน นักเรียนทุกคน


๔๗

๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. ผู้ปกครองนักเรียนได้ รับทราบข้อมูลนักเรียนจากครูที่ปรึกษา ๒. ครูและผู้ปกครองได้พบปะพูดคุยกัน ๓. ครูที่ปรึกษาได้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของนักเรียนและผู้ปกครอง ๔. การได้ร่วมรณรงค์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับชุมชน ๕. สร้างความร่วมมือและความเข้าใจในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนระหว่างโรงเรียนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กานัน อสม. อบต. เป็นต้น ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) ๑. กิจกรรมที่ดาเนินการ ล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กาหนด ๒. การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ค่อนข้างล่าช้า ๓. กิจกรรมดาเนินในช่วงฤดูฝน ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการติดตาม และเยี่ยมบ้านนักเรียน ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๑. ปรับเปลี่ยนกิจกรรม ตามที่ดาเนินการได้สะดวก ๒. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ทราบในกรณีที่ดาเนินได้ ๓. ประสาน และขอความร่วมมือจากหน่วยงานองค์การต่าง ๆ ตามความเหมาะสม และยืดหยุ่น ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ (/ ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม (/ ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี จานวน...........ครั้ง ได้แก่


๔๘

ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ จั ด ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ร่ ว มกั น ระหว่ า งบุ ค ลากรใน โรงเรี ย นและภาคี เ ครื อ ข่ า ย ผู้ บ ริ ห า ร ค รู โ ร ง เ รี ย น ใ น เครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย และตั ว แทนผู้ น าองค์ ก ร ผู้ น า ชุมชนในตาบลนาทราย จานวน กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม /พั ฒ น า ส าห รั บ นั กเรี ย นก ลุ่ ม พิ เศ ษ ป้ อ งกั น ส าหรั บ นั ก เรี ย นกลุ่ ม ปกติ แ ละช่ ว ยเหลื อ และส่ ง ต่ อ สาหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ ยงและที่ มี ปั ญ ห า ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ที่ หลากหลาย อย่างมีส่วนร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จานวน องค์กรชุมชน ได้ร่วมกันประชุม ๑ ครั้ ง ผู้ เ ข้ า ประชุ ม จ านวน ๒๗ เชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างความ คน ร่วมมือและความเข้าใจ ในการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกัน

เกิดกิจกรรมตามงาน/โครงการที่ได้ วางแผนไว้ เพื่อส่งเสริม และพัฒนา ดังนี้ ๑. กิจกรรมโฮมรูม ๒. กิจกรรมให้คา ปรึกษา ๓. กิจกรรมแนะแนว ๔. กิจกรรมเพื่อนเตือนเพื่อน ๕. กิจกรรมพี่สอนน้อง ๖. กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพ ๗. กิจกรรมอื่น ๆ แผนผั ง เครื อ ญาติ แ ละแผนที่ นัก เรี ย นทุก คน จัด ทาแผนผัง เครื อ เดินดิน ญาติและแผนที่เดินดิน

โรงเรียน ได้ร่วมกับเครือข่าย องค์กรชุมชน จัดกิจกรรม ส่งเสริม/พัฒนา สาหรับนักเรียน กลุ่มพิเศษ ป้องกัน สาหรับ นักเรียนกลุ่มปกติและช่วยเหลือ และส่งต่อสาหรับนักเรียนกลุ่ม เสี่ยงและที่มีปัญหา ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย อย่างมีส่วนร่วม

นักเรียนทุกคน จัดทาแผนผังเครือ ญาติเพื่อศึกษาประวัติสุขภาพของ ครอบครัว และแผนที่เดินดินเพื่อ สารวจหมู่บ้านที่ตนอยู่อาศึกเป็น การศึกษาสุขภาวะของชุมชนที่ ตนอาศัยอยู่


๔๙

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๖ ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) - เกณฑ์การคัดกรองนักเรียน - สรุปผลการคัดกรองนักเรียน - รูปภาพ จานวน ๒๒ ภาพ - รายงานการประชุม - กาหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ - ตัวอย่างแผนผังเครือญาติและแผนที่เดินดิน ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก /รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................


๕๐

การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน


๕๑

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว


๕๒

นักเรียนชุมนุม to be number one จัดกิจกรรมออกกาลังกายทุกเช้า และ แข่งขัน aerobic dance


๕๓

จัดกิจกรรม แข่งขันกีฬาภายใน และเชื่อมความสัมพันธ์กับชุมชน ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2554


๕๔

จัดทาแผนที่เดินดิน และแผนผังเครือญาติ


๕๕

แผนที่เดินดิน

การประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียน


๕๖


๕๗

เกณฑ์ การคัดกรองนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ปี การศึกษา ๒๕๕๔


๕๘

การคัดกรองนักเรียนเพื่อจัดเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสียง/มีปัญหานั้น ครูที่ปรึกษาสามาวิเคราะห์ข้อมูลจาก ระเบียบสะสม SDQ และอื่นๆ ที่จัดทาเพิ่ม แต่ทั้งนี้โรงเรียนแต่ละแห่ง จาเป็นต้องประชุมครูเพื่อพิจารณาเกณฑ์การ คัดกรองนักเรียน เพื่อให้ครูที่ปรึกษามีหลักในการคัดกรองนักเรียนตรงกันที่โรงเรียน ดังมีตัวอย่างดังต่อไปนี้ ข้ อมูลนักเรียน 1.ด้านความสามารถ 1.1ด้านการเรียน

1.2 ความสามารถพิเศษ 2. ด้านสุขภาพ 2.1 ด้านร่างกาย

กลุ่มปกติ ผลการเรียนเฉลี่ย 1.5 ขึ้นไป ไม่มี 0 ร มส ในทุกวิชา ไม่เข้าเรียนในวิชาต่างๆไม่เกิน 4 ครั้งในหนึ่งวิชา มาโรงเรียนไม่ทันเคารพธงชาติ ไม่เกิน 10 ครั้งในหนึ่งภาคเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1มี คะแนนสอบปรับพื้นมากกว่า ร้อยละ 50

กลุ่มเสี ยง/มีปัญหา - ผลการเรียนเฉลี่ยต่ากว่า 1.5 - ไม่เข้าเรียนในวิชาต่างๆ ร้อยละ 20ขึ้น ไป ต่อ 1 วิชา ในภาคเรียนที่ผ่านมา - มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนอยู่ในระดับ 1 ในภาคเรียนที่ ผ่านมา - มาโรงเรียนไม่ทันพิธีการหน้าเสาธง มากกว่า 10 ครั้ง ในหนึ่งภาคเรียน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1มีคะแนน สอบปรับพื้นน้อยกว่าร้อยละ 50 - ถ้านักเรียนมีความสามารถพิเศษจะเป็นจุดแข็งของนักเรียนในทุกกลุ่ม และจัดอยู่ ในกลุ่มพิเศษ ที่จาเป็นต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาเป็นรายบุคคล - น้าหนัก และ ส่วนสูงตามเกณฑ์ - น้าหนัก และ ส่วนสูงไม่ตรงตามเกณฑ์ อายุของกรมอนามัย ตามเกณฑ์อายุของกรมอนามัย - ผ่านเกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพ - มีโรคประจาตัวหรือเจ็บป่วยบ่อยๆ ทางกาย - มีความพิการทางกาย หรือ บกพร่องด้าน - ไม่มีโรคประจาตัว การได้ยิน การฟัง การมองเห็นอื่นๆ

2.2 ด้านจิตใจ-พฤติกรรม - หากโรงเรียนใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก(SDQ)ให้พิจารณาตามเกณฑ์ของ SDQ - หากโรงเรียนใช้เครื่องมืออื่นเช่น แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์(EQ)ก็ให้ เกณฑ์ของเครื่องมือนั้นๆรวมทั้งการพิจารณาควบคู่กับข้อมูลอื่นๆที่มีเพิ่มเติม 3. ด้านครอบครัว 3.1 ด้านเศรษฐกิจ

- ครอบครัวมีรายได้สูงกว่า เพียงพอ - รายได้ครอบครัวต่ากว่า 2,500 บาทต่อ ในการดูแลครอบครัว เดือน - บิดาหรือมารดาตกงาน มีภาวะหนี้สิน


๕๙

3.2 ด้านการคุ้มครอง

- นักเรียนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ สมาชิกในครอบครัว - ที่อยู่ในชุมชนที่ดีไม่ใกล้แหล่งมั่ว สุมหรือแหล่งเสี่ยงอันตราย

4.ด้านอื่น

- ไม่ใช้สารเสพติด

กัญชา ยาบ้า หรือสารเสพติดชนิดอื่นๆ

4.1ด้านยาเสพติด 4.2 ด้านเพศ

- อยู่หอพัก - บิดา มารดาหย่าร้างหรือสมรสใหม่ - ที่พักอยู่ในชุมชนแออัด หรือใกล้แหล่ง มั่วสุม หรือแหล่งท่องเที่ยวกลางคืน - มีความขัดแย้งในครอบครัวหรือทะเลาะ กันเป็นประจา - มีความรู้สึกไม่ดีต่อบิดาหรือมารดา - มีการใช้สารเสพติดหรือเล่นการพนันใน ครอบครัว - มีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่วยด้วยโรคจิต เวชหรือทุพพลภาพ - มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัว - มีการถูกล่วงละเมิดทางเพศ - เกี่ยวข้องสารเสพติด เช่น บุหรี่ สุรา

- ปรับตัวเข้ากับเพื่อนต่างเพศได้ เหมาะสมกับวัย

- จับคู่ชัดเจนและหรือแยกกลุ่มอยู่ด้วยกัน สองต่อสองบ่อยครั้ง - มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ เช่น ทอม ตุ๊ด ดี้ เป็นต้น แต่นักเรียนหรือว่าครอบครัว ไม่เห็นว่ามีปัญหาและมีผลกระทบต่อการ เรียน


๖๐

สรุ ปผลการคัดกรองนักเรี ยน ประจาภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 1. ด้านผลการเรียน - ผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งโรงเรียนในภาคเรียนที่ผ่านมาคือ 2.87 2. ด้านเศรษฐกิจ - ตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนนาทรายวิทยาคมนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงผู้ปกครอง มีรายได้เฉลี่ยเดือนละไม่เกิน 2,500 บาท มีทั้งสิ้น 208 คน คิดเป็นร้อยละ47.7ทาให้ทางโรงเรียนต้องช่วยเหลือค่าอาหารและค่ารถ 3. ด้านการคุ้มครอง - ในโรงเรีย นนาทรายวิทยาคมมีนัก เรีย นที่อยู่ ใ นกลุ่มของผู้ที่เสี่ย งด้านความคุ้มครองมี ทั้งสิ้น 99 คน คิดเป็นร้อยละ 22.7 โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้ปกครองแยกทางและที่เหลือ บางส่วนจะเป็นผู้ปกครองเสียชีวิตกับพิการทาให้การอบรมสั่งสอนพื้นฐานของให้กับ นักเรียนไม่ดี 4. ด้านความประพฤติ - มีนักเรียนที่มีปัญหาความประพฤติทั้งสิ้น 75 คน คิดเป็นร้อยละ 17.2 โดยนักเรียนส่วนจะ เป็นนักเรียนที่มีปัญหาด้านการคุ้มครองและด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากผู้ปกครองไม่มีเวลา อบรมสั่งสอนลูกเวลาส่วนใหญ่ก็ทามาหากินและอีกส่วนหนึ่งนักเรียนไม่มีพ่อแม่คอย อบรมสั่งสอนเนือ่ งจากส่วนใหญ่พ่อแม่แยกทางกัน 5. ด้านอนามัย - มีนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยทั้งสิ้น 53 คน คิดเป็นร้อยละ 12.2โดยนักเรียน ที่มีปัญหาคือนักเรียนที่น้าหนักเกินและไม่ถึงตามเกณฑ์ 6. ด้านจิตวิทยา - มีนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านจิตวิทยาทั้งสิ้น 45 คน คิดเป็นร้อยละ 10.3 โดยสาเหตุของ นักเรียนที่มีปัญหาทางด้านจิตวิทยาส่วนใหญ่จะเป็นพฤติกรรมก้าวร้าวและเรียกร้องความ สนใจ 7. ขาดเรียนบ่อย - ในปีการศึกษาที่ผ่านมามีนักเรียนที่มีปัญหาขาดเรียนบ่อยทั้งสิ้น 33 คน คิดเป็นร้อยละ 7.6 ทาให้ส่งผลกระทบถึงผลการเรียนของตัวนักเรียน


๖๑

8. สวัสดิการการรับประทานอาหารกลางวัน - มีนักเรียนที่รับประทานอาหารกลางวันทั้งสิ้น 406 คนคิดเป็นร้อยละ 93.1 9. สวัสดิการบริการรถรับส่งนักเรียน - มีนักเรียนที่รับบริการรถรับส่งทั้งสิ้น 340 คน คิดเป็นร้อยละ 78.0 10. การติดตามเป็นกรณีพิเศษ - มีนักเรียนที่ต้องติดตามเป็นกรณีพิเศษทั้งสิ้น 58 คน คิดเป็นร้อยละ 13.3 โดยแยกออกเป็น 1. กลุ่มมีปัญหาด้านการเรียน 2. กลุ่มมีปัญหาชู้สาว 3. กลุ่มมีปัญหาด้านยาเสพติด 11. ด้านชู้สาว - มีนักเรียนที่มีปัญหาด้านชู้สาวทั้งสิ้น 63 คนคิดเป็นร้อยละ 14.4 ส่วนใหญ่จะเป็นการชู้ สาวกับบุคคลภายนอกโรงเรียนทาให้เกิดปัญหาด้านการเรียนตามมา 12. ด้านยาเสพติด (บุหรี่) - มีนักเรียนที่มีปัญหาด้านยาเสพติด (บุหรี่) ทั้งสิ้น 37 คน คิดเป็นร้อยละ 8.5


๖๒

รายงานการประชุม โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ณ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม วันที่ 26 สิงหาคม 2554 ประธานที่ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม

นางสุทธินี นันเพ็ญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ผู้บริหาร ครูโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย จานวน 2 คน ตัวแทนผู้นาองค์กร(องค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย จานวน 1 คน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแม่ปิง จานวน 2 คน เจ้าหน้าที่สถานีตารวจภูธรอาเภอลี้ จานวน 2 คน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาทราย จานวน 1 คน ผู้ใหญ่บ้านตาบลนาทราย จานวน 14 คน สมาชิกสภาตาบลนาทราย จานวน 5 คน ครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคม 3 คน รวมจานวนผู้เข้าร่วมประชุม 27 คน เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. ระเบียบวาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ (ที่ประชุมรับทราบ) ระเบียบวาระที่ 2 รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่มี) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่มี) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 1. สถานการณ์ยาเสพติด ในตาบลนาทราย นายสมคิด บัวตอง กานันตาบลนาทราย ได้รายงานสถานการณ์ยาเสพติดในอาเภอลี้ ว่าเริ่มมีการจาหน่าย เพิ่มขึ้น โดยมีผู้นามาจาหน่ายให้แก่กลุ่มผู้ใช้แรงงาน หมู่บ้านที่กาลังแพร่ระบาดคือบ้านห้วยต้ม บ้านผาลาดหมู่ที่ 15 จากการสืบเสาะแหล่งข้อมูลที่เป็นสายภายในหมู่บ้าน ซึ่งกานันสมคิดได้สอบถามผู้นาทั้งสองหมู่บ้านทางนายวิชัย โปธาวิน ผู้ใหญ่บ้านผาลาดหมู่ที่ 15 รายงานต่อที่ประชุมว่ารับทราบข้อมูลเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถดาเนินการไ ด้ เพราะกลุ่มคนที่ค้ายาเสพติด เป็นผู้มีอานาจ เคยได้ตักเตือนไปแล้ว ผลที่ตามมาคือทรัพย์ของตนเองถูกทาลาย เกิด ความเสีย หายเป็นอันมากและเกรงว่าจะไม่ได้รับความปลอดภัย ในครอบครัวของตน นายลิแช คีรีก องการค้า ผู้ใหญ่บ้านบ้านห้วยต้มหมู่ที่ 23 ได้ใช้วิธีการปกครองภายในหมู่ บ้าน จะมีการประชุมในกลุ่มผู้นา ใช้กฎภายใน หมู่บ้าน ที่เกิดปัญหาเป็นกลุ่มผู้ลักลอบเข้ามาโดยผิดกฎหมาย มีที่อยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง จึงควบคุมได้ยาก ด.ต.วิชา สุวรรณ หัวหน้าสถานีตารวจตู้ยามบ้านห้วยต้ม ได้เสนอว่า ทางตารวจได้จัดเวรยามออกตรวจใน ตอนกลางคืนทุกหมู่บ้าน แต่กาลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ จึงต้องขอความร่วมมือจากผู้นาในชุมชนได้ช่วยอีกทางหนึ่ง และพาหนะในการออกตรวจมีไม่เพียงพอ งบประมาณมีจากัดเพราะได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอ


๖๓

กานันสมคิด ได้เสนอแนวทางในการดาเนินการ โดยแบ่งการออกตรวจเป็น 3 สาย (สายที่ 1 บ้านห้วยต้ม 10 หมู่บ้าน สายที่ 2 บ้านนาเลี่ยง บ้านนามน บ้านฮั่ว บ้านผาลาด สายที่ 3 บ้านแม่หว่าง 4 หมู่บ้าน ) จัดแบ่งเวรผู้นา ทั้งหมด โดยจะของบสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย ซึ่งมีงบที่จะสนับสนุนให้อยู่จานวนหนึ่ง แต่ ต้องทาโครงการเพื่อเสนอต่อสภา มติที่ประชุม เห็นชอบตามที่เสนอ 2. การดูแลนักเรียนในชุมชน ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นายวรเชษฐ์ ค่วยเทศ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยต้ม ได้เสนอต่อที่ประชุม ปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนมัธยม ที่สอนในระดับ ม.ปลาย จึงขอเสนอให้โรงเรียนนาทรายวิทยาคม เป็นผู้เสนอ นางสุทธินี นันเพ็ญ ครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้อานวยการ เนื่องจากติดภารกิจไป ร่วมประชุมที่กรุงเทพฯ ได้เสนอการดาเนินงานของโรงเรียน โดยโรงเรียนได้ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ปัญหาของนักเรียนข้อมูลปัจจุบันที่พบส่วนใหญ่จะเป็นการขาดเรียน ไม่เข้าเรียน และปัญหาชู้สาว ส่วนยา เสพติด ไม่พบนักเรียนที่เสพยาเสพติด จากการสุ่มตรวจปัสสาวะในปีการศึกษา 2553และปีการศึกษา 2554 แต่สิ่งที่ เป็นห่วงคือการดูแลนักเรียนหลังจากที่เลิกเรียนและวันหยุด การดูแลนักเรียนไม่เป็นกังวลเพราะอยู่ในเวลาที่เรียน หนั ง สื อ หลั ง จากเลิ ก เรี ย น นั ก เรีย นมี เ วลาที่ จ ะไปเที่ ย วหรื อ คบเพื่ อ นในหมู่ บ้ า นเกรงว่ า จะเกิ ด ปั ญ หาตามมา โดยเฉพาะนักเรียนที่อาศัยอยู่กับผู้ปกครอง อาจถูกชักจูงได้ง่าย อยากให้มีเครือข่ายในแต่ละหมู่บ้าน ซึ่งผู้นามีส่วน ช่วยเหลือได้เป็นอย่างดี กานันสมคิด เห็นด้วย เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านส่วนใหญ่ก็เป็นนักเรียนที่อยู่ในหมู่บ้าน ผู้นาย่อมมี ข้อมูลของลูกบ้านเป็นอย่างดี ถ้าผู้นาช่วยแก้ไขปัญหาด้วย ก็จะทาให้ชุมชนปัญหาลดลงไปด้วย ให้ผู้นาบอกที่อยู่ ข้อมูลให้โรงเรียนเพื่อที่จะติดต่อได้สะดวก และปัญหาที่ต้องแก้ไขอีกเรื่องคือแหล่งมั่วสุมในหมู่บ้าน(ร้านเกม โต๊ะ สนุกเก้อร์) เพราะมีวัยรุ่นมั่วสุมกันอยู่ มีอยู่ 2 แห่งคือที่บ้านนามนและบ้านผาลาด หมู่ที่ 15 ขอให้ผู้นาทั้ง 2 หมู่บ้าน ได้แจ้งเตือนให้ทราบและไม่ให้นักเรียนเข้าสถานที่ดังกล่าวในขณะที่อยู่ระหว่างช่วงเวลาเรียน มติที่ประชุม เห็นชอบตามที่เสนอ 5. เรื่องอื่นๆ 5.1 การจัดการแข่งขันกีฬาในตาบลนาทราย ของกลุ่มแม่บ้าน ให้แจ้งและเสนอมายังผู้นาในชุมชน โดย จะประชุมกันในวันที่ 30 สิงหาคม 2554 5.2 การร่วมทาบุญที่วัดพระธาตุแก่งสร้อย ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน ปิดการประชุมเวลา 12.00 น. ผู้บันทึกการประชุม

ผู้ตรวจบันทึกการประชุม

(นางสรนันท์ ยศใจสุรินทร์)

(นางสุทธินี นันเพ็ญ)


๖๔

กาหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการเสริมสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน ตามโครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย วันที่ 15-16 กันยายน 2554 ณ วัดบ้านใหม่ศิวิไล ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ลาพูน วัน เดือน ปี เวลา รายการ วิทยากร/ผู้รับผิดชอบ 15 ก.ย.2554 08.30-09.00 น. นักเรียนและผู้ปกครองลงทะเบียน ครูกิจการนักเรียน 09.00-10.30 น. การสร้างสัมพันธภาพที่ดีใน วิทยากรโรงพยาบาลลี้ ครอบครัว 10.30-12.00 น. การดูแลวัยรุ่นและปัญหาสุขภาพจิต วิทยากรโรงพยาบาลลี้ วัยของรุ่น 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันและ ครูกิจการนักเรียน เดินทางไปที่วัดบ้านใหม่ศิวิไล 13.00-15.00 น. กิจกรรมเปิดใจวัยรุ่นเพื่อสร้างสุขใน ร.พ.ศูนย์ส่งเสริม ครอบครัว สุขภาพตาบลนาทราย 15.00-16.30 น. กิจกรรมแม่ลูกผูกพัน ร.พ.ศูนย์ส่งเสริม สุขภาพตาบลนาทราย 16.30-18.00 น. ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์และทา ครูกิจการนักเรียน ภารกิจส่วนตัว 18.00-19.00 น. รับประทานอาหารเย็น 19.00-20.00 น. กิจกรรมชี้นาชีวิต เจ้าอาวาสวัดบ้านใหม่ ศิวิไล 21.00 น. พักผ่อน

หมายเหตุ


๖๕

วัน เดือน ปี เวลา รายการ 16 ก.ย.2554 05.30-06.30 น. กิจกรรมสร้างสุขเพื่อสุขภาพที่ดี ของครอบครัว 06.30-07.00 น. กิจกรรมสร้างประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 07.00-08.30 น. รับประทานอาหารเช้า 08.30-10.30 น. การสร้างสัมพันธภาพที่ดีใน ครอบครัว 10.30-12.00 น. กิจกรรมพันธะสัญญาร่วมกันใน ครอบครัว 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. กิจกรรมทาซึ้ง 15.00 น. พิธีปิดและเสร็จสิ้นกิจกรรม

วิทยากร/ผู้รับผิดชอบ ครูกิจการนักเรียน ครูกิจการนักเรียน ครูกิจการนักเรียน ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ อบต.นาทราย ร.พ.ศูนย์ส่งเสริม สุขภาพตาบลนาทราย ครูกิจการนักเรียน วิทยากรโรงพยาบาลลี้ ครูกิจการนักเรียน

หมายเหตุ


๖๖

ผลการดาเนินการถอดประสบการณ์ โครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย ในการระดมความคิดเห็นของโครงการที่ 3 มีผู้เข้าร่วมในการถอดประสบการณ์ได้แก่ ครูสุทธินี ครูเกื้อกูล ครูนัณฐภูมิ ครูปิยะนุช เด็กหญิงพรชนะ เด็กชายอานาจ เด็กชายวิชากร ผู้ปกครองของเด็กหญิงพรชนะ คุณหมอคม สัน และคณะกรรมการสถานศึกษา ในการดาเนินโครงการ ครูสุทธินีได้กล่าวถึงที่มาของโครงการ คือ ในการเรียนรู้ ของนักเรียนนั้น ถือว่าองค์ประกอบด้านสุขภาพกายและสุขภาพใจของนักเรียน ถือว่าเป็นเรื่องที่สาคัญไม่ยิ่งหย่อน ไปกว่า การเรียนรู้และเศรษฐกิจ เพราะเป้าหมายของการจัดการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ ความสุข ดังนั้น การแก้ไข ปัญหา ธารงรักษา และการพัฒนาด้านนี้ โรงเรียนให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนของโรงเรียนนา ทรายวิทยาคมบางส่วน มีปัญหาทางครอบครัว เช่น พ่อแม่หย่าร้าง นักเรียนต้องเลือกที่จะอยู่กับพ่อหรืออยู่แม่หรือ อยู่กับตา ยาย หรือญาติที่จะอุปการะ บางครอบครัวพ่อแม่ต้องไปทางานที่ต่างจังหวัด และอีกหลาย ๆ ปัญหาที่ เกี่ยวกับครอบครัวซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและใจของนักเรียน รวมทั้งปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียนที่พ่อ แม่ ย ากจน ซึ่ง ก็เกี่ ย วโยงมากั บปั ญหาด้า นเศรษฐกิ จนั่นเอง โรงเรีย นจึงได้ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ซึ่งประกอบด้วย 1) การรู้จัก นักเรียนเป็นรายบุคคล 2) การคัดกรองนักเรีย น 3) การแก้ไ ขปัญหา 4) ส่งเสริม/พัฒนา และ 5) ส่งต่อทั้งภายในและภายนอก หลังจากที่มีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยการจัดทา ทะเบียนนักเรียน ไปเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคน สังเกต สัมภาษณ์ ให้นักเรียนทาแบบประเมิน EQ และ SDQ แล้ว ทา การคัดกรองตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด เพื่อคัดกรองนักเรียน ออกเป็นกลุ่ม ๆ คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่ ต้องช่ วยเหลือ และแยกออกเป็ นด้าน ๆ เช่น ด้านการเรีย น ด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิ จ ด้านสมาธิสั้น ด้านการ คุ้ม ครอง ด้า นพฤติก รรม และด้า นอื่น ๆ ในส่วนของด้านการคุ้มครอง และด้านสุขภาพนั้น ถือว่า เป็นปัญหา ค่อนข้างมากพอสมควรโรงเรียนจึงจัด “โครงการสุขภาพดีวิถีไทย” เพื่อทาการแก้ไขปัญหาของนักเรียนที่มีสาเหตุ มาจากครอบครัว ซึ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการติดเกมออนไลน์ และ ปัญหาด้านการคบเพื่อน เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนต่อไป ซึ่ง ครู สุ ท ธิ นี ไ ด้ ก ล่ า วต่ อไปว่ า โครงการนี้ ป ระกอบด้ วยกิ จ กรรมต่ า ง ๆ เช่น 1) การเข้า ค่ า ยอบรมเชิ ง ปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และ 2) การส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน ในกิจกรรมแรกนั้น จัดทาเพื่อให้ครอบครัวเกิดความเข้า ใจซึ่งกันและกัน ลดช่องว่างระหว่างวัยในตัวนักเรียนกับผู้ปกครอง เป็นการ เสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง หลังจากเข้าค่ายแล้ว โรงเรียนยังได้เฝ้าติดตามให้คาแนะนาอยู่เสมอ นอกจากนั้นนักเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรม โรงเรียนยังได้จัดกิจกรรมการเข้าค่ายนักเรี ยนร่วมกับการเข้าปาริวา สกรรมของวัดพระธาตุห้าดวง เพื่อไปกล่อมเกลาความประพฤติกรรม อุปถัมภ์ อุปถาก พระสงฆ์ กิจกรรมที่สอง คือ การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง จัดให้ มีการชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน เพื่อนามาคานวณคือ BMI ตามเกณฑ์ ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข นักเรียนที่มีน้าหนักและส่วนสูงไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐานก็ดาเนินการแก้ไข โดย ให้คาแนะนาการรับประทานอาหาร ให้อาหารเสริมนม และให้ออกกาลังกายเพื่อลดน้าหนัก นอกจากนั้น ยังจัดให้มี การออกก าลังกายหลัง พิธีการหน้าเสาธง จัดประกวดแอโรบิคแดนซ์ การแข่งขันกี ฬาร่วมกับชุมชน หรือกี ฬ า นั ก เรี ย น (วอลเลย์ บ อลชายและตะกร้ อหญิง ) จนทาให้ไ ด้ชั ย ชนะรางวั ล ที่ 3 จากการแข่งขั นในระดับภู มิภาค


๖๗

“กาแพงเพชรเกมส์” ในช่วงเดือน ธันวาคม 2554 และเข้าร่วมระดับประเทศ “นครหาดใหญ่เกมส์” ในช่วงเดือน มกราคม 2555 ที่ผ่านมา สถิติของนักเรียนที่ปัญหาด้านน้าหนักส่วนสูง และการป่วยลดลง อย่างเห็นได้ชัด หลังจากนั้นครูสุทธินีได้ใช้คาถามว่า “เราจะทาอย่างไรต่อไปในการดาเนินโครงการในครั้งต่อไป” ซึ่งทาง คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและนักเรียน ได้สรุปดังนี้ กิจกรรมที่ 1. การดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชน - ควรออกเยี่ยมบ้านนักเรียนระหว่างปิดภาคเรียนเพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวังเด็กนักเรียน อีกทั้งยังเป็นสร้าง เครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนมากยิ่งขึ้น - โรงเรียนต้องมีครูแนะแนวที่จบมาโดยตรงเพื่อทาหน้าให้คาปรึกษานักเรียน กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน ด้านผู้ปกครอง - ให้ความรู้ด้านผลกระทบและสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง - ให้ความรู้ด้านการเลี้ยงดูบุตร ด้านนักเรียน เสริมความรู้และสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง กิจกรรมที่ 3 การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง ให้นักเรียนได้ออกกาลังกายร่วมมือกับชุมชน อาสาสมัครประจาหมู่บ้าน (อสม.) เพื่อเป็นแกนนาในการออก กาลังกายของแต่ละชุมชน


๖๘

แบบรายงานผลการดาเนินงาน ชื่อโครงการ ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ  เป้าประสงค์/เป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ ๑. ศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ของชุมชนในอาเภอลี้ จานวน ๓๐ ชุมชน ๒. มีผู้เข้าร่วมศึกษาเรียนรู้ จานวน ๕๐ คน ประกอบด้วย ๒.๑ ครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา วิชาภาษาไทย และวิชาศิลปะ ๒.๒ ผู้บริหารโรงเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ๒.๓ นักวิชาการทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒.๔ นักวิชาการวัฒนธรรม สานักวัฒนธรรมจังหวัดลาพูน ๒.๕ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนในอาเภอลี้ ๒.๖ นักเรียน เป้าหมายเชิงคุณภาพ ศึกษา รวบรวม เผยแพร่ และสืบทอด ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมท้องถิ่นอาเภอลี้ อันจะก่อเกิดเป็นพลัง ขับเคลื่อนในสังคม เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ดารงชีวิตอยู่อย่างยั่งยืน เป็นพลเมืองที่ดีของ ประเทศชาติ และมีสานึกในการเป็นพลโลกในที่สุด  วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อร่วมกันศึกษา รวบรวม และเผยแพร่ประวัติศาสตร์ ทานุบารุง รักษา วัฒนธรรมท้องถิ่นของ อาเภอลี้ และสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ฟื้นฟู และพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป


๖๙

วัตถุประสงค์เฉพาะ ๑. เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ๒. เพื่อจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓. เพื่อจัดทาเอกสารประกอบการสอน และสื่อการสอน ทางประวัติศาสตร์ชุมชนที่นักเรียน นักศึกษาสามารถนาไปอ้างอิงได้ ๔. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วมอย่างหลากหลายให้นักเรียนได้รู้เข้าใจใน ประวัติศาสตร์ของอาเภอลี้ และร่วมสืบสาน วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น  ผลผลิต/ผลลัพธ์ นักเรียนและชุมชน เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นท้องถิ่น ตระหนักในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบ สาน และพัฒนาต่อยอด วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น ให้คงอยู่ต่อไป และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข โรงเรียนเป็น สถาบันที่รวบรวมองค์ความรู้ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ครูผู้สอนได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กันกับผู้เรียน และชุมชน ๒. กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ประ ชุ ม เชิ ง ป ฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น

ศึ ก ษ า เ รี ย น รู้ แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ วั ฒ น ธ ร ร ม ท้องถิ่น

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ๒๙ คณะครูกลุ่มสาระสังคม ได้แนวทางการศึกษา มิถุนายน ศึกษา ตัวแทนชุมชน ประวัติศาสตร์และ ๒๕๕๔ และผู้เชี่ยวชาญทาง วัฒนธรรมท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ จานวน อาเภอลี้ ได้ทาการ ๓๐ คน ประชุม จานวน วางแผนเพื่อให้นักเรียน ๑ วัน ได้เข้าศึกษาเรียนรู้จาก แหล่งเรียนรู้จริงใน ชุมชน ๑ - นักเรียนที่เรียนรายวิชา ดาเนินการให้นักเรียน กรกฎาคม ประวัติศาสตร์ ม.๑-๖ ได้ศึกษาเรียนรู้อย่าง ๒๕๕๔ - สมาชิกสภาองค์การ บูรณาการ โดยไป บริหารส่วนนักเรียน ทาการศึกษาในแหล่ง - เครือข่ายชุมชน เรียนรู้ประวัติศาสตร์ ได้ทา เมื่อวันที่


๗๐

กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้)

ไม่ได้ทา

ได้ทา เมื่อวันที่

ถวายเที ย นพรรษาวั ด ในชุ ม ชน เมืองลี้

ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลภาคสนาม

จัดกิจกรรมวันลอยกระทง

ถอดประสบการณ์โครงการ

๒๗ ก.พ. ๒๕๕๕

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ และวัฒนธรรมใน ท้องถิ่นของตนเอง ตลอด ๒ เดือน และ มอบหมายให้นักเรียน จัดทาเป็นโครงงาน นักเรียนและคณะครูทุก นักเรียนและคณะครู คน หล่อเทียนพรรษาเพื่อ นาไปถวายวัดในชุมชน เมืองลี้ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูล 3 จานวน 40 คน ภาคสนามโดยการ สังเกต และ การ สัมภาษณ์ ในตาบลนา ทราย ตาบลดงดา และ ตาบลแม่ลาน นักเรียนและคณะครูทุก นักเรียนและคณะครู คน ร่วมกันจัดงานและ แข่งขันการทากระทง การทาโคมลอยเพื่อสืบ สานประเพณียี่เป็งของ คนลี้ ปราชญ์ชาวบ้าน ได้การถ่ายทอด นักเรียน และชุมชน ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้


๗๑

๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ - ศึกษาเรียนรู้แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ หมู่บ้านนาทราย ต.นาทราย อ.ลี้ จ.ลาพูน

จานวน 1 วัน

๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๔.๑ ครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา วิชาภาษาไทย และวิชาศิลปะ ๔.๒ ผู้บริหารโรงเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ๔.๓ นักวิชาการทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.๔ นักวิชาการวัฒนธรรม สานักวัฒนธรรมจังหวัดลาพูน ๔.๕ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนในอาเภอลี้ ๔.๖ ครูภูมิปัญญา ๔.๗ นักเรียน ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) ๕.๑ การประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ๕.๒ ครูภูมิปัญญา ผู้เชี่ยวชาญ มีภาระงานทาให้กาหนดการคลาดเคลื่อน ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๖.๑ จังหวะเวลา จะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคน ตามกาหนดเวลาที่ตกลงกันให้ตรงเวลา ๖.๒ มีการติดตามผลเป็นระยะ หากมีข้อขัดข้องจะต้องมีการดาเนินการแก้ไขโดยทันที ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น (  ) มี จานวน....๒.....ครั้ง ได้แก่ (ให้รายละเอียด) ๑. วัดพระธาตุดวงเดียว อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน ๒. แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น หมู่บ้านนาทราย ต.นาทราย อ.ลี้ จ.ลาพูน


๗๒

ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการศึกษา ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ท้องถิ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง - ประชุม ๑ ครั้ง - ได้แนวทางในการศึกษา ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ท้องถิ่น

อธิบายรายละเอียด เครือข่ายชุมชน ร่วมกับ โรงเรียน ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการผู้ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เพื่อวาง แนวทางในการจัดการศึกษาให้ เหมาะสม และสอดคล้องกับ สภาพของของชุมชน - ศึกษาแหล่งเรียนรู้ในอาเภอลี้ - รวบรวมแหล่งเรียนรู้

ศึกษาเรียนรู้ และรวบรวม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ท้องถิ่น

นักเรียน ที่เรียนวิชาประวัติศาสตร์

ศึกษาประวัติความเป็นมาของ อาเภอลี้และหมู่บ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่

ประวัติความเป็นมาของอาเภอลี้และ นักเรียนลงพื้นที่เพื่อศึกษาจาก สถานที่จริงและเอกสารโดย ประวัติหมู่บ้าน สังเกต และ การสัมภาษณ์

ได้ศึกษา รวบรวมข้อมูลทาง ประวัตศิ าสตร์ และ

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๑ ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) - แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๑๗ ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน - ภาพ) ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก /รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) ................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................


๗๓

ศึกษาประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นเมืองลี้


๗๔

ลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลภาคสนามในตาบลที่นักเรียนอาศัยอยู่โดยการสังเกต และการสัมภาษณ์


๗๕

เข้าร่วมประเพณีในท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม


๗๖

ร่วมประเพณีลอยกระทง ปล่อยโคมลอย ในโรงเรียน

การประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียน


๗๗


๗๘


๗๙

ผลการดาเนินการถอดประสบการณ์ โครงการที่ 4 โครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ ในการระดมความคิดเห็นของโครงการที่ 4 มีผู้เข้าร่วมในการถอดประสบการณ์ได้แก่ ครูยุทธนา ครูศรุดา ครูเกื้อกูล นายชาครีย์ นายทศพร นางสาวญาณภา ตัวแทนคณะครูและนักเรียน คุณสุรินทร์ คุณศรีไว ตัวแทน ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านประวัติศาสตร์เมืองลี้ คุณปัญญา ตัวแทนจากอบต.นาทราย ซึ่งครูยุทธนา ได้กล่าวถึงที่มา ของโครงการว่า ในด้านของประวัติศาสตร์ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น โรงเรียนนา ทรายวิทยาคมในฐานะที่เป็นโรงเรียนของท้องถิ่น โดยคนท้องถิ่น เพื่อคนท้องถิ่น จึงมีภาระกิจที่ต้องศึกษา ค้นคว้า รวบรวม องค์ความรู้ และเรียบเรียง เผยแพร่สิ่งดีงามนี้ รวมทั้ง สร้างความตระหนัก ให้เยาวชน ได้ เห็นคุณค่า และ หวงแหน ทานุบารุง และสืบสานให้คงอยู่สืบไป ชั่วลูกหลาน ประกอบกับอาเภอลี้มีประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ ยาวนาน เป็นที่น่าสนใจใคร่รู้ของคนทั่วไป รวมทั้งมีศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ประกอบกับในปีพุทธศักราช 2554 ที่ผ่านมา อาเภอลี้มี อายุครบ 100 ปี ของการก่อตั้งเป็นแขวง ซึ่งได้ประกาศเมื่อปี 2454ดังนั้นโรงเรียนจึง จัดทาโครงการ “ย้อนรอย ประวัติศาสตร์เมืองลี้” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา รวบรวมประวัติศาสตร์ของอาเภอลี้ จัดทาเอกสารประกอบการ เรียนการสอนประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จัดทาสื่อประกอบการเรียนการสอน โดยผ่านกระบวนการศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การวางแผนเตรียมการ การออกไปสัมภาษณ์ผู้ที่เป็นปราชญ์ ผู้สูงอายุ หลักฐานร่องรอย ภาพเขียนผา ผนัง และการศึกษาเอกสารที่มีผู้ได้ศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมไว้ รวมทั้งได้เข้าร่วมการเสวนา ของการจัดงาน 100 ปี ของดีเมืองลี้ จัดทาเป็นเอกสาร วีดิทัศน์ สื่อการเรียนการสอน แล้วนามาสอนแก่นักเรียนในโรงเรียนและเผยแพร่แก่ ชุมชน หลังจากนั้นครูยุทธนาได้ใช้คาถามว่า “เราจะทาอย่างไรต่อไปในการดาเนินโครงการในครั้งต่อไป” ซึ่งทาง คุณสุรินทร์ คุณศรีไว ตัวแทนผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านประวัติศาสตร์เมืองลี้ ได้กล่าวว่าปัจจุบันวิถีชีวิตของคนในเมือง ลี้ เริ่มเปลี่ยนแปลง สูญหาย เพราะเยาวชนขาดความสนใจ ด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี และร่วมกิน กรรมในการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีน้อยลง ในการจัดกิจกรรมนั้นควรทาด้วยวิธีหลากหลาย โดยสร้างกิจกรรม ให้นักเรียนออกไปร่วมกับชุมชน เช่น การนานักเรียนไปร่วมหล่อเทียนจานาพรรษากับชาวบ้าน ชาวบ้านเข้ามา สอนนักเรียนในด้านดนตรีพื้นเมือง อาทิเช่น สะล้อ ซอ ซึง หรือเป็นการวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การฟ้องดาบ ฟ้อง เจิง กิงกะลา และเมื่อทางมีการจัดทาวีดีทัศน์ควรนาไปเผยแพร่ให้แก่ชุมชนในอาเภอลี้ โดยปราชญ์ทั้งสองท่านจะ รับอาสานาไปเผยแพร่ และคิดว่ากิจกรรมการดาเนินโครงการนี้เป็นกิจกรรมที่ดีและควรจัดทาไว้เพื่อสอดแทรกใน การเรียนการสอนของโรงเรียน เพราะสิ่งเหล่านี้จะทาให้เกิดความภาคภูมิใจในศักดิ์ศรีและความเป็นท้องถิ่นอันจะ นาไปสู่การแสวงหาความรู้เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ดารงชีวิตอยู่อย่างยั่งยืน


๘๐

แบบรายงานผลการดาเนินงาน ชื่อโครงการ โรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ด้วยมือเรา ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ  เป้าประสงค์/เป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ ๑. นักเรียนและชุมชนได้ร่วมกิจกรรมโครงการโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ด้วยมือเราร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ๒. จัดระบบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนร่วมกับชุมชน เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักเรียนและชุมชนได้มีส่วนร่วมกิจกรรมโครงการโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ด้วยมือเรา สร้าง จิตสานึกในนักเรียนและชุมชนให้มีความรัก และเห็นคุณค่าของต้นไม้ เตรียมพื้นที่ปลูก ปลูกดูแล ต้นไม้ สารวจพันธุ์ไม้ในบริเวณโรงเรียน ลงทะเบียนพันธุ์ไม้ ทาแผนผังพันธุ์ไม้ ค้นคว้าข้อมูลพันธุ์ ไม้และจัดทารูปเล่ม ทาป้ายพันธุ์ไม้ ทาเนียบรุ่นของการดูแลรักษาพันธุ์ไม้  วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อให้นักเรียนและชุมชนเห็นความสาคัญของการอนุรักษ์ป่าไม้ พันธุ์ไม้และพันธุ์พืชชนิดต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโรงเรียนและชุมชน เข้าใจถึงบทบาทของตนเองและคนในชุมชนในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และสร้างความสัมพันธ์อันดี มีความรัก ความสามัคคีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน วัตถุประสงค์เฉพาะ ๑. เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการ แก่นักเรียนและชุมชน เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ๒. เพื่อจัดทาสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน ให้เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลตัวอย่าง และการเก็บ รักษาพันธุ์ไม้ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ชุมชน ๓. เพื่อปลูก ดูแล และรักษา ต้นไม้ในป่าชุมชน ๔. เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ เกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน โดยการมีส่วนร่ว มอย่าง หลากหลาย


๘๑

 ผลผลิต/ผลลัพธ์ ๑. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างจิตสานึกในการปลูกและดูแลต้นไม้ ๒. คณะทางานมีความเข้าใจในกิจกรรมโครงการนี้ ๓. นักเรียนได้พื้นที่การปลูกต้นไม้ในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว ๑,๐๐๐ หลุม ๔. นักเรียน ครู และคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการปลูก และดูแลรักษาต้นไม้ในสวนป่าชุมชน บ้านนามนและบ้านฮั่วอย่างยั่งยืน ๒. กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ฝึ ก อบรมให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ

ไม่ได้ ทา

ได้ทา เมื่อวันที่ ๗ ก.ค. 54

การสร้างจิตสานึกให้นักเรียน ประชุ ม คณะท างานเพื่ อ ท า ความเข้าใจในกิจกรรมโครงการ เตรียมพื้นที่การปลูกพันธุ์ ไม้ ในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและ บ้านฮั่ว

ปลู ก และดู แ ลต้ น ไม้ ใ นสวน ป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ นักเรียน จานวน ได้ เ รี ย นรู้ ก ารสร้ า ง ๔๗๐ คน

๑๒ ก.ค. ๕๔

คณะท างาน ๑๐๐ คน ๑๓ ก.ค.๕๔ ครู จานวน ๒๙ คน และนั ก เรี ย น จ านวน ๔๗๐ คน ร่ ว มกั บ คน ในชุ ม ชนบ้ า นนามน และบ้านฮั่ว ๑๓ ก.ค.๕๔ ครู จานวน ๒๙ คน และนั ก เรี ย น จ านวน ๔๗๐ คน ร่ ว มกั บ คน ในชุ ม ชนบ้ า นนามน และบ้านฮั่ว

จิตสานึกให้นักเรียน ได้ เ ข้า ใจในกิ จกรรม โครงการนี้ ไ ด้ พื้ น ที่ ก า ร ป ลู ก ต้นไม้ ๑,๐๐๐ หลุม

นัก เรียน ครู และคน ในชุมชนบ้านนามนและ บ้ า นฮั่ ว ได้ ป ลู ก ต้ น ไม้ จานวน ๑,๐๐๐ ต้น และ ดู แ ลรั ก ษาต้ น ไม้ อย่ า ง ยั่งยืน


๘๒

กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) สารวจพันธุ์ไม้ในโรงเรียน

ไม่ได้ ทา

๓ ตุลาคม

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ นักเรียนชุมนุม ได้จัดทาทะเบียนพันธุ์

๒๕๕๔

สวนพฤษกศาสตร์

ได้ทา เมื่อวันที่

ไม้และแผนผังพันธุ์ไม้ เพื่อเป็นข้อมูลสวน พฤษกศาสตร์โรงเรียน

ติดป้ายพันธุ์ไม้ในโรงเรียน

๒๔ ตุลาคม นักเรียนชุมนุม ๒๕๕๔

สวนพฤษกศาสตร์

เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นทุ ก คน ได้ รั บ ผิ ด ชอบพั น ธุ์ ไ ม้ และดู แ ลรั ก ษาต้ น ไม้ ที่ ได้รับมอบหมาย

ถอดประสบการณ์โครงการ

๒๗ ก.พ. ๒๕๕๕

ชาวบ้าน นักเรียน และ ได้การถ่ายทอด ชุมชน ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ นักเรียน และครู เดินรณรงค์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นักเรียน ครู และองค์กรชุมชน ร่วมกันปลูกป่า และหญ้าแฝกตามแนว พระราชดาริ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔

จานวน นักเรียน ๔๗๐ คน ครู ๒๙ คน นักเรียน ๗๐ คน ครู ๓ คน ร่วมกับองค์กรชุมชน

๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานอุทยานแห่งชาติแม่ปิง ในการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าไม้และ ตระหนักถึงความสาคัญของทรัพยากรทางธรรมชาติ ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) ๑. การดูแลรักษา ควรเป็นไปด้วยความต่อเนื่อง ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น


๘๓

๑. จัดแบ่งนักเรียนให้ดูแลตามระดับชั้น ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( /) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( /) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือแผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี จานวน...........ครั้ง ได้แก่ (ให้รายละเอียด)...................โรงเรียน................................

ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด ฝึก อบรมให้ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ นั ก เรี ย นได้ รู้ เ กี่ ย วกั บ การสร้ า ง วิทยากรจากหน่วยงานอุทยาน การสร้างจิตสานึกให้นักเรียน จิตสานึกในการปลูกและดูแลต้นไม้ แห่ ง ชาติ แ ม่ ปิ ง ให้ ค วามรู้ กั บ อย่างยั่งยืน นักเรียน ประชุ ม คณะท างานเพื่ อ ท า คณะท างานให้ ค วามร่ ว มมื อ ใน ประสานคณะท างานเพื่ อ การ ความเข้าใจในกิจกรรมโครงการ การทากิจกรรมโครงการนี้ ประชุ ม ความเข้ า ใจในกิ จ กรรม โครงการนี้ เตรียมพื้นที่การปลูกพันธุ์ไม้ มีพื้นที่สาหรับการปลูกพันธุ์ ไม้ จัดเตรียมสถานที่ใ นการปลูก ในปลู ก และดู แ ลต้ นไม้ ใ นสวน ในสวนป่ า ชุ ม ชนบ้ า นนามนและ กล้าพันธุ์ไม้ในสวนป่าชุมชนบ้าน ป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว บ้านฮั่ว จานวน ๑,๐๐๐ หลุม นามนและบ้านฮั่ว ๑,๐๐๐ หลุม ปลูกและดูแลต้นไม้ ในสวน ปลูก และดูแ ลต้นไม้ ใ นสวนป่ า ครู แ ละนั ก เรี ย นร่ ว มกั น ปลู ก ป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว ชุ ม ช น บ้ า น น า ม น แ ล ะ บ้ า น ฮั่ ว กล้ า ไม้ ใ นสวนป่ า ชุ ม ชนบ้ า น ๑,๐๐๐ ต้น จานวน ๑,๐๐๐ ต้น นามนและบ้านฮั่ว ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๔ ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) - นักเรียน จานวน ๔๗๐ คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างจิตสานึกในการปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ - คณะทางานเข้าใจและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมโครงการนี้ - ได้พื้นที่การปลูกพันธุ์ไม้ในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว ๑,๐๐๐ หลุม


๘๔

- ปลูกและดูแลต้นไม้ในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว จานวน ๑,๐๐๐ ต้น ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๑๔ ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน - ภาพ) ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก /รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) ..........................................................................................................................................................


๘๕

ประชุมคณะกรรมการในการจัดกิจกรรม

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และการสร้างจิตสานึกให้นักเรียน โดยวิทยากรจากอุทยานแห่งชาติแม่ปิง อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน


๘๖

นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันปลูกและดูแลต้นไม้ ในโรงเรียน และสวนป่าชุมชนบ้านนามน บ้านฮั่ว


๘๗

ประชุมคณะกรรมการกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์หาแนวทางการจัดทาสวนพฤกษศาสตร์

ทาการสารวจพันธุ์ จัดทาทะเบียนพันธุ์ไม้และแผนผังพันธุ์ไม้ ในโรงเรียนตามบริเวณ ที่รับผิดชอบ


๘๘


๘๙

การประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียน


๙๐


๙๑

ผลการดาเนินการถอดประสบการณ์ โครงการที่ 5 โรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ด้วยมือเรา ในการระดมความคิดเห็นของโครงการที่ 5 มีผู้เข้าร่วมในการถอดประสบการณ์ได้แก่ ครูอัจฉรา-ภรณ์ ครู จรั ญ ครูด ลนชั ย และนางสาวขนิษ ฐาตั วแทนคณะครู และนัก เรี ย นโรงเรี ย นนาทราย คุ ณเรวัติ นั ก วิช าการ สุขาภิบาล อบต.นาทราย โดยครูอัจฉราภรณ์ได้ก ล่าวถึงที่มาของโครงการว่า สภาพที่ตั้งของโรงเรียนนาทราย วิทยาคม มีลักษณะเป็นดินทราย ผสมดินลูกรัง ป่าไม้มีลักษณะเป็นป่าเบญจพรรณและป่าแพะ สภาพพื้นที่เป็นที่


๙๒

เนินสูง และดินไม่สามารถอุ้มเก็บกักน้าไว้ได้ เมื่อถึงฤดูแล้ง (พฤศจิกายน – เมษายน) จะมีอากาศร้อน แห้งแล้ง ไม่ น่าอยู่ ภูมิทัศน์จะมีสีน้าตาล มีฝุ่นละอองฟุ้งกระจายซึ่งมาจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ และลมพายุ สภาพแวดล้อม ที่เสื่อมโทรมเนื่องจากการบุกรุกแผ้วถางป่าไว้ใช้ในการเกษตรกรรม หากพฤติกรรมการทาลายป่า ไม่มีการสร้างป่า ไม้มาทดแทน และพฤตกรรมที่เห็นแก่ตัวของมนุษย์ดังกล่าวนี้ยังคงมีอยู่ต่อไป อีกไม่กี่ปีปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจะ เพิ่มความรุนแรงมากยิ่งขึ้น โรงเรียนจึงได้จัดทาโครงการ “ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเราขึ้นมา” โดยได้ดาเนินการโดยเริ่มจากเชิญวิทยากรจากอุทยานแห่งชาติแม่ปิง อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน มาบรรยายให้ ความรู้ ถึ ง สภาวการณ์ ปั จ จุ บั น ของป่ า อ าเภอลี้ เพื่ อ ปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความตระหนั ก และเห็ น ความสาคัญของต้นไม้ ป่าไม้ และพันธุ์ไม้ในชุมชนที่นักเรียนอยู่อาศัย อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนและ ชุมชนเกิดความรักและห่วงแหนต้นไม้ นอกจากนั้นยังได้จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ร่วมกันในโรงเรียนจานวนมากกว่า 2,000 ต้น ในโอกาสต่าง ๆ ปลูกต้นไม้ ณ สวนป่าชุมชนจานวนไม่ต่ากว่า 1,000 ต้น ข้างถนนทั้ง 2 ข้างในหมู่บ้านนา มน และบ้านฮั่ว เพื่อสร้างความร่มรื่นและปรับระบบนิเวศของป่าในชุมชนให้มีความสมดุลและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น อีก ทั้งยังได้รับความร่วมมือจากครู นักเรียนและชุมชน และดูแลต้นไม้ และป่าไม้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนสวนป่าใน โรงเรียนนักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ทาการสารวจพันธุ์ไม้ในโรงเรียน ตามบริเวณที่รับผิดชอบและที่ได้รับ มอบหมาย ทาแผนที่พันธุ์ไม้ในโรงเรียน ทาทะเบียนพรรณไม้ ข้อมูลพันธุ์ไม้ รวมทั้งทาป้ายข้อมูลพันธุ์ไม้ สาหรับ ติดตามต้นไม้ในโรงเรียน พร้อมทั้งได้กาหนดผู้รับผิดชอบต้นไม้แต่ละต้นในโรงเรียน เพื่อทาการดูแลรักษา ให้ ต้นไม้ที่นักเรียนได้รับผิดชอบนั้นเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง หลังจากนั้นครูอัจฉราภรณ์ได้ใช้คาถามว่า “เราจะทาอย่างไรต่อไปในการดาเนินโครงการในครั้งต่อไป” ซึ่ง ทางนักเรียนและทางตัวแทนจากอบต.นาทรายได้กล่าวว่าสรุปได้ดังนี้ - ควรเลือกช่วงเวลาปลูกต้นไม้ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต - ควรปรับสภาพดิน โดยการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก - จัดหาพันธุ์กล้าไม้ โดยความร่วมมือจากศูนย์เพาะชากล้าไม้และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยได้กล้าพันธุ์ไม้ที่ แข็งแรงและเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นไม้ จัดทาป้ายชื่อพรรณไม้ควรทาให้คงทนถาวรโดยเขียนลงบนแผ่นไม้หรือฟิวเจอร์บอร์ด


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.