หลักสูตรหลักสูตร โครงการ “โรงเรียน ๓ วิถีบ้านลาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรี ปศท.๒

Page 1

หลักสูตร โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย กระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน”

โรงเรียนบ้านลาดวิทยา อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์/โทรสาร 0-3249-1343 http//banlat.ac.th

E-Mail Banlat @ banlat.ac.th


สารบัญ หน้า หลักสูตร โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” 1. หลักสูตร “ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี”

1

1) ค่ายกาจัดขยะ 2) ปุ๋ยหมักจากขยะสดและมูลสัตว์ 3) เรียนรู้คุณค่าของพืช และส่งเสริมการปลูกพืชต่างๆ 2. หลักสูตร “ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)”

4 7 9 11

3. หลักสูตร “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” 4. หลักสูตร “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด”

14

1) ครอบครัว “บวร” 2) ครอบครัวฮูลาฮูป 3) ครอบครัวรักการอ่าน 4) ครอบครัวปันรัก

17 19 21 23

5) ครอบครัวสัญจร

25

5. หลักสูตร “ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด” 1) การเลี้ยงไก่พื้นเมือง (ไก่พื้นบ้าน) 2) การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ 3) การเลี้ยงปลาดุก 4) การขยายพันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้

27 29 31 33


หลักสูตร โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย กระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” เหตุผลและความเป็นมา โรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้จัดทาประชาคมโดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละภาคส่วน มา วิเคราะห์บริบท จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค และจุดที่ควรพัฒ นา พบว่า อาเภอบ้านลาดมีจุดแข็ง ในด้าน อาชีพ วัฒนธรรม-ประเพณี สิ่งแวดล้อม ในขณะเดียวกันความเจริญทางด้านการสื่อสาร เทคโนโลยี วัตถุ ต่างๆ ทาให้เกิดปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาสื่อที่มีอยู่ให้คงอยู่ยั่งยืน ดังนั้นในที่ประชาคมจึงได้ลงมติในที่ ประชุม ให้ดาเนิน โครงการ /กิจกรรม 5 โครงการย่อย คือ 1)โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาด เพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 2)โครงการ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3) โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4)โครงการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 5) ศูนย์การ เรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริ ของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด ซึ่งทั้ง 5 โครงการย่อยเป็นเรื่อง เกี่ยวกับ การเรียนรู้ ความเป็นไทย และ ความพอเพียงดังนั้น โรงเรียนจึงได้จัดโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนา การศึกษาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย” ขึ้นมาเป็นแนว ทางการดาเนินงาน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตามความหลากหลายของบริบทในชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบ และ สนับสนุนให้เกิดการขยายผลต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและปลูกจิตสานึกให้เยาวชนบ้านลาดมีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อขยายผล ด้านความเป็นไทยและการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากเยาวชนสู่ ครอบครัวชุมชนคนบ้านลาด 3. ถอดบทเรียนของระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย โดยใช้ชุมชนเป็นฐานตาม โครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้น


เป้าหมาย เชิงปริมาณ

จัดทาโครงการ 5 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 2. โครงการการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3. โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4. โครงการ ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 5. โครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชน บ้านลาด เชิงคุณภาพ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน ที่เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 75 ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรงขึ้น มีแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่สอดคล้องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ตัวชี้วัดความสาเร็จ ของโครงการ 1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนเกิดการเรียนรู้วิถีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ได้หลักสูตร ของโครงการย่อย 5 หลักสูตร 3. ถอดบทเรียนของโครงการย่อย 5 บทเรียน 4. ชุมชน 18 ตาบลให้การยอมรับ สนับสนุนและให้ความร่วมมือ ทุกโครงการ 5. เยาวชนมีจิตสานึกในการรักอาชีพท้องถิ่นมากขึ้น ระยะเวลาในการดาเนินการทั้ง 5 โครงการ เดือน พฤษภาคม 2554 – เดือนมีนาคม 2555 ตารางการปฏิบัติงาน ตามเวลาแต่ละโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมงคล ชูวงษ์วัฒนะ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (ช่วงเวลา เดือนพฤษภาคม 2554 – มกราคม 2555) และ นายฬุฐ สาเภาทอง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (ช่วงเวลา เดือนกุมภาพันธ์ 2555 - มีนาคม 2555) คณะผู้เข้าร่วมประชาคมแต่ละโครงการย่อย นางพรรณี เทพสูตร ครู ค.ศ.3 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา


ทาหน้าที่เลขานุการและผู้ประสานโครงการ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ จานวน 150,000 บาท (แยกตามโครงการย่อย) ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน18 ตาบล ที่เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย ร้อยละ 75 ให้การยอมรับ สนับสนุน ให้ความร่วมมือ ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรง ขึ้น มีแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคม ร่วมกัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ครอบครัว ชุมชน มีความเข็มแข็ง สร้างเยาวชนในชุมชน และนักเรียนในสถานศึกษา.ให้เป็นคนดี เก่ง และมีความสุข


ชื่อโครงการย่อยที่ 1 ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 1. หลักสูตร ค่าย กาจัดขยะ ความสาคัญ ปัญหากลิ่นเหม็นจากขยะมูลฝอยสร้างความราคาญให้แก่ชุมชน ที่พักอาศัย แหล่งน้าเป็นอันตรายต่อ การดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ รวมทั้งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและสัตว์นาโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงวัน เป็นต้น การกาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการจะสร้างความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้ที่อาศัย ข้างเคียง รวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเป็นระเบียบ และไม่น่าอยู่ ดังนั้นการจัดการกับขยะมูลฝอยจึงเป็นเรื่องสาคัญและต้อง ดาเนินการให้ถูกหลักวิชาการ จึงจะเป็นผลดีต่อชุมชนและความเป็นอยู่ของประชาชน การจัดการขยะที่ เกิดขึ้น ต้องพิจารณาปัจจัย 3 ประการคือ 1. แหล่งกาเนิดของขยะ 2. ชนิดหรือประเภทของขยะ 3. ปริมาณขยะ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดการทิ้งขยะหรือลดปริมาณที่ต้องกาจัด 2. เพื่อกาหนดชนิดและจานวนของถังขยะ 3. เพื่อหาวิธีการจัดการขยะหรือระบบการใช้ประโยชน์จากขยะ

เนื้อหาหลักสูตร 1.การสารวจปริมาณและองค์ประกอบขยะ การสารวจข้อมูลองค์ประกอบขยะที่เกิดขึ้นในรอบวัน หรือรอบสัปดาห์ เช่นการเก็บคัดแยก รายวัน จานวน 5 วันและหาค่าเฉลี่ยเป็นรายวัน หรือสัปดาห์ วิธีดาเนินการ ทาได้โดยนาถังขยะทั้งหมดมายังจุดคัดแยกขยะและทาการแยกขยะออกเป็น ประเภทต่างๆคือ 1. ขยะรีไซเคิลได้ เช่น กระดาษ ถ้วยพลาสติก ขวดน้า หรือขยะประเภทอื่นๆ 2. ขยะอินทรีย์ประเภท หญ้า ใบไม้ กิ่งไม้ขนาดเล็ก 3. ขยะประเภทเศษอาหารจากโรงอาหาร ให้ชั่งน้าหนักรวม 4. ขยะปนเปื้อน หรือเรียกว่าขยะทั่วไป ซึ่งไม่สามารถขายได้ในตลาดรับซื้อ


2. การจัดระบบถังรองรับขยะ จากข้อมูลการคัดแยกขยะให้จัดถังขยะประเภทต่างๆที่ต้องการคัดแยก โดยการจัดเป็นถังสีต่างๆ ตามประเภทของขยะที่ต้องการคัดแยก หรือจัดทาป้ายแสดงประเภทขยะบนถังที่เห็นชัดเจนและทาการ รณรงค์ให้ร่วมกันปฏิบัติ 1) จานวนถังขยะที่ต้องจัดเตรียมสาหรับรองรับสาหรับรองรับขยะขึ้นอยู่กับขยะประเภทนั้นๆ เช่น เศษกระดาษควรเน้นการมีกล่องรอง รับตามห้องเรียน เพื่อป้องกันไม่ให้กระดาษมาทิ้งปนเปื้อนกับถัง ขยะทั่วไป เมื่อทราบปริมาณขยะประเภทต่างๆ ต้องกาหนดแนวทางการจัดการ เช่น ระบบการ ขาย ระบบการใช้ประโยชน์จากขยะ ซึ่ง ขยะประเภทต่างๆ แบ่งตามประเภทของการใช้ประโยชน์ คือ 1.ขยะที่ขายได้ 1.1.กระดาษประเภทต่างๆ 1.2.ขวดพลาสติกประเภทต่างๆ 1.3.ถ้วยพลาสติก 1.4.ขวดแก้ว 1.5.ถุงนม 2.ขยะที่นาไปใช้ประโยชน์ได้ 2.1.ขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหาร (นาไปเป็นอาหารสัตว์หรือทาปุ๋ยน้าชีวภาพ 2.2.ขยะอินทรีย์ประเภทใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ นาไปทาปุ๋ยหมัก compost 3.ขยะมีพิษ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้า กระป๋องสเปรย์ กระป๋องสี กระป๋องสารเคมี 4.ขยะทั่วไป ขยะทั่วไปที่ขายไม่ได้ และขยะปนเปื้อนอื่นๆ

การกาหนดสีของถังขยะ 1.กระดาษ สีน้าเงิน หรือจุดรวบรวมที่ใช้ป้ายสัญญาลักษณ์เป็นพื้นสีน้าเงิน 2.ขวดพลาสติก สีส้ม หรือจุดรวบรวม/ภาชนะขนาดใหญ่ที่ใช้ป้ายสัญญาลักษณ์เป็นพื้นสีส้ม 3.ถ้วยพลาสติก สีแดง หรือจุดรวบรวมภาชนะขนาดใหญ่ที่ใช้ป้ายสัญลักษณ์เป็นพื้นสีแดง 4.ขยะอินทรีย์ สีเขียว หรือจุดรวบรวมพื้นที่ที่ใช้ป้ายสัญลักษณ์เป็นพื้นสีเขียว 5.ขยะทั่วไป สีเหลือง 6.ขยะมีพิษ สีเทา/น้าตาล


เวลาเรียน ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 1 เดือน สื่อประกอบการเรียน 1. แผนภาพแสดงขยะประเภทต่างๆ 2. แผนภาพแสดงตัวอย่างถังขยะประเภทต่างๆ แหล่งเรียนรู้ 1. สถานที่ทิ้งขยะในท้องถิ่น 3. การอบรมประชาสัมพันธ์ต่างๆ โรงเรียนจัดอบรมครูและนักเรียนเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ โดยอบรมด้านการจัดการมลพิษ ต่างๆ เช่นการแยกขยะรีไซเคิล การนาขยะ อินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ เช่นการทาปุ๋ยน้า หรือการทาปุ๋ย Compost เป็นต้น (3 ชั่วโมง) 4.การดาเนินโครงการ ประกอบด้วย ก.และการใช้ประโยชน์จากขยะ เช่นการจัดตั้งระบบรับซื้อ ขาย ระบบธนาคารขยะ ระบบหมัก ขยะอินทรีย์ในรูปของปุ๋ยน้า และปุ๋ย compost ตามความเหมาะสม ข.การจัดทาปุ๋ยหมัก Compost คู่มือ การจัดทาปุ๋ยหมัก 5. การเก็บรวมรวมข้อมูลและการบันทึกข้อมูลผลการดาเนินงาน ในรูปแบบของรายงานและ ภาพถ่าย ข้อมูลที่ต้องบันทึกประกอบด้วย „ข้อมูลปริมาณขยะรวม ต่อ กก/สัปดาห์ หรือ กก/ต่อเดือน (ข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ) „ข้อมูลองค์ประกอบขยะ ส่วนที่ต้องรีไซเคิล และส่วนที่นาไปใช้ประโยชน์เช่น ทาปุ๋ย คานวณ เป็นเปอร์เซ็นต์ของ ขยะรวม (ข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ) „ข้อมูลการจัดระบบคัดแยกขยะ โดยระบุจานวนถังขยะ ประเภทขยะที่รีไซเคิลหรือขยะที่รวบรวม เข้าธนาคารขยะ „ปริมาณขยะที่รีโซเคิลได้แต่ละประเภท และขยะที่นาไปใช้ประโยชน์เป็น กก/สัปดาห์ หรือกก/ เดือน 6.การจัดทารายงานผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานที่ต้องจัดทาเป็นรายงานประกอบด้วย „ตารางข้อมูลองค์ประกอบขยะที่สารวจก่อนเริ่มดาเนินโครงการ „ตารางข้อมูลของขยะรีไซเคิลประเภทต่างๆ ปริมาณขยะที่ส่งเข้าระบบทาปุ๋ยหมัก โดยรายงาน แยกเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน


„ข้อมูลชนิดและจานวนของถังขยะ เช่น จานวนจุดหรือที่ตั้งชุดถังขยะ และจานวน „ภาพถ่ายประกอบการปฏิบัติงานขั้นตอนต่างๆ เช่นภาพถ่ายการคัดแยกขยะก่อนเริ่ม โครงการ การจัดวางถังขยะประเภทต่างๆ ภายในโรงเรียน ภาพการจัดทาปุ๋ยหมัก ภาพการจัดการขาย ขยะรี"ไซเคิล เช่นสถานที่เก็บ ระบบธนาคารขยะ ชื่อหลักสูตรการทาปุ๋ยหมัก ความสาคัญ สภาพการประกอบอาชี พ ทางการเกษตรในปั จ จุ บั น เป ลี่ ย นแปลงไปจากอดี ต ด้ ว ยความ เจริญก้า วหน้าของเทคโนโลยีและสภาพสังคม จึงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจในองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ทาให้ค่าครองชีพของคนในชุมชนสูงขึ้น ประกอบกับวิถีการดาเนินชีวิตมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็นความสาคัญจึงได้ ร่วมมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้าง หลัก สูตรการท าปุ๋ ยหมั ก จากวัส ดุเหลือใช้ใ นท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพ ยากรที่มีอยู่ ใ น ท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาชุมชน เกิดความร่วมมือและเสริมสร้าง กระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและบุคคลในท้องถิ่นเพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ใน ท้องถิ่น 2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการทาปุ๋ยหมัก 3.เพื่อนาทักษะการทาปุ๋ยหมักไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่องดังนี้ 1.ประโยชน์และความสาคัญของปุ๋ยหมัก 2.วัสดุและอุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก 3.ขั้นตอนและวิธีการทา 4.วิธีการใช้ เวลาเรียน หลักสูตรการทาปุ๋ยหมัก ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 12 ชั่วโมง ภาคทฤษฏี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 10 ชั่วโมง


แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1.ใบความรู้เรื่องการทาปุ๋ยหมัก 2.วัสดุอุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก 3.องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหม้อ กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ศึกษาความรู้ด้านทฤษฏี 2.ฝึกทักษะการทาปุ๋ยหมัก 3.ศึกษาการทาปุ๋ยหมักจากแหล่งเรียนรู้(องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหม้อ) การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2.ตรวจผลงานการทาปุ๋ยหมัก ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 2.ผู้เรียนมีทักษะการทาทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3.ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4.ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะการทาปุ๋ยหมักไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้

*******************************************


ชื่อหลักสูตรคุณค่าของพืชพรรณท้องถิ่น ความสาคัญ สภาพแวดล้อมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเป็นอันมาก เช่นมลภาวะเป็นพิษ ดินถล่ม ฝนไม่ตก ต้องตามฤดูกาล การใช้ที่ดินไม่เหมาะสม อุ ณหภูมิของอากาศแปรปรวน ซึ่งมีสาเหตุอันเนื่องมาจากชุมชม และสังคมขาดจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็น ความสาคัญจึงได้ร่วมมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้างหลักสูตรคุณค่าของพืชพรรณท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการ พัฒนาสิ่งแวดล้อม เกิดความร่วมมือและเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและบุคคลในท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการปลูกพืชพรรณให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่น 2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการปลูกพืชแต่ละชนิด 3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของพืชพรรณและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการพืชพรรณในท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการปลูกพืชพรรณ 3.เพื่อนาทักษะการปลูกพืชพรรณไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 3 เรื่องดังนี้ 1.ความสาคัญของพืชพรรณ 2.การปลูกและบารุงรักษา 3.การนาไปใช้ประโยชน์ เวลาเรียน หลักสูตรคุณค่าของพืชพรรณ ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 16 ชั่วโมง ภาคทฤษฏี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 14 ชั่วโมง แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1.ใบความรู้เรื่องการปลูกพืชพรรณ


2.วัสดุอุปกรณ์การปลูกพืชพรรณ 3.ต้นกล้าพันธุ์พืชอาหาร/พืชที่อยู่อาศัย/พืชสมุนไพรหรือพืชที่ให้ร่มเงา กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ศึกษาความรู้ด้านทฤษฏีเกี่ยวกับพืชพรรณที่เหมาะสมกับท้องถิ่น 2.ฝึกทักษะการปลูกพืชพรรณและการบารุงรักษา การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2.ตรวจผลงานการปลูกพืชพรรณ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการปลูกพืชพรรณ 2.ผู้เรียนมีทักษะการปลูกและบารุงรักษาพืชพรรณ 3.ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของพืชพรรณของท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4.ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะการปลูกพืชพรรณไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้

********************************************


ชื่อโครงการย่อยที่ 2 การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 1. ความสาคัญ ตาลโตนด เป็นไม้ยืนต้นและเป็นพืชเมืองร้อน ที่ปลูกกันมากในเขตจังหวัดเพชรบุรี จากการศึกษาพบว่า อาชีพของชุมชนคนบ้านลาด ร้อยละ 80 ของประชากรที่ประกอบอาชีพทางการ เกษตร เช่น การทานา ทาไร่และค้าขายพืชไร่ ได้แก่ ชมพู่ มะนาว ละมุด กล้วยและการทาตาลโตนด สาหรับอาชีพทาตาลโตนด นับวันจะเหลือการทาลดน้อยลง เพราะปัจจุปันมีการทานาปีๆละ 2 ครั้ง ชาวบ้านจึงไม่ค่อยมีเวลาที่จะทาอาชีพตาลโตนดมากนัก ประกอบกับต้นตาลมีจานวนลดน้อยลง เพราะตาลต้นถึกถูกนาไปปลูกสิ่งก่อสร้าง หรือสิ่งประดิษฐ์ต่างๆมากมาย ที่เอื้ออานวยประโยชน์บนต่อ การดารงชีพ อีกทั้งเยาวชนคนรุ่นใหม่ขาดความสนใจ มองไม่เห็นค่าความสาคัญต่ออาชีพดั้งเดิมของ ท้องถิ่น จึงเห็นสมควรให้มีการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้อยู่คู่กับคนบ้านลาดสืบไป 2. จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนคนบ้านลาด มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่น 2. เพื่อการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้เป็นวิถีชีวิตของคนบ้านลาด 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและรู้คุณค่าเพื่อการอนุรักษ์อาชีพตาลโตนดได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างอาชีพต่างๆ จากตาลโตนดได้อย่างหลากหลาย 3. เพื่อส่งเสริมการเพิ่มรายได้ของครอบครัว โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่คนบ้านลาด 4. เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีให้เกิดกับผู้เรียน โดยการสร้างวินัยในตนเอง ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียงเคียงคู่ความเป็นไทย มีความมุ่งมั่นรักการทางาน มีความซื่อสัตย์สุจริต และมี จิตสาธารณะต่อส่วนรวม 5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้ปัญญา พึ่งพาตนเอง ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 4. เนื้อหาหลักสูตร เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ประกอบด้วยเนื้อหาจานวน 3 เรื่อง ดังนี้.. 1. องค์ความรู้เรื่องของตาลโตนด 2. กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด 3. การทาโครงงานอาชีพจากตาลโตนด 5. เวลาเรียน หลักสูตรการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) เวลาเรียนทั้งหมด 80 ชั่วโมง เรียนรู้ทั้งในและนอกเวลาเรียน


* ภาคความรู้ จานวน 36 ชั่วโมง * ภาคปฎิบัติ จานวน 44 ชั่วโมง 6. แหล่งการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1.แหล่งเรียนรู้ ( ภูมิปัญญาท้องถิ่นถ่ายทอดความรู้ทั้งในและนอกสถานที่) 1. คุณถนอม ภู่เงิน (การอนุรักษ์พันธุ์ตาลโตนด) แห่งศูนย์การเรียนรู้เพาะพันธุ์ตาลโตนด ตาบลถ้ารงค์ อาเภอบ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี 2. นายบุญส่ง ผ่องดี (กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ตาบลโรงเข้ อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 3. คุณลุงสง่า ศิรินันท์ (การทาอาชีพตาลโตนดกับการใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน) ผู้สืบทอดตานานเรื่อง ตาลโตนด เมืองเพชร และเจ้าของต้นตาลที่สูงทีสุดใน จังหวัดเพชรบุรี (หมู่ 3 บ้านโรงเข้ ) 2. สื่อประกอบการเรียน 1. ใบความรู้ เรื่อง ต้นตาลบ้านเรา 2. ใบความรู้เรื่องกระบวนการทาอาชีพตาลโตนด 3. ใบความรู้เรื่องโครงงานอาชีพจากตาลโตนด 3. สื่อความรู้ทางอินเตอร์เนต สืบค้นเรื่องราวความเป็นมาของตาลโตนด 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้ภาคความรู้ / ทฤษฎี / การร่วมวงเสวนากับชาวบ้าน 2. การเรียนรู้โดยฝึกปฎิบัติจริง 3. การเรียนรู้โดยภูมิปัญญาท้องถิ่น (ทั้งในและนอกสถานที่) 4. การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์จริงในการจัดจาหน่าย 8. การวัดและประเมินผล ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน 9. ประโยชน์ที่ได้รับ 1. นักเรียน เห็นค่าความสาคัญในอาชีพท้องถิ่น สามารถอนุรักษ์เพื่อความ ยั่งยืนมีอาชีพอิสระ พึ่งพาตนเองได้ 2. โรงเรียน สามารถพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ได้ 100 เปอร์เซ็นต์เพราะใช้ หลักสูตรในท้องถิ่น เรื่อง การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด


(ตาลโตนด) เป็นสื่อกลาง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนสูงขึ้น เพราะจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน 3. ชุมชน เป็นชุมชนที่เข็มแข็ง มีวิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองโดยยึด หลัก เศรษฐกิจพอเพียง มีรายได้เพิ่มขึ้นและห่างไกลยาเสพติด 10. โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร เวลาเรียนทั้งสิ้น 80 ชั่วโมง เรื่องที่ 1. องค์ความรู้เรื่องตาลโตนด (จานวน 26 ชั่งโมง) 1.1 ที่มาและความสาคัญของตาลโตนด การเลือกชนิดของพันธุ์ที่จะปลูก 1.2 การออกแบบวางผังการปลูก 1.3 วิธีการปลูกและการดูแลรักษา 1.4 การตัดแต่งกิ่ง 1.5 การสรุปรายงานผล เรื่องที่ 2. กระบวนการทาอาชีพจากตาลโตนด (จานวน 26 ชั่วโมง) ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับอาชีพตาลโตนด วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ และความปลอดภัยในการทางาน กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด ขัน้ ที่ 1 การนวดงวงตาล ขัน้ ที่ 2 กรรมวิธเี ก็บเกีย่ วผลผลิตจากตาลโตนด ขัน้ ที่ 3 กระบวนการแปรรูปผลผลิตจากตาลโตนด เรื่องที่ 3 การทาโครงงานอาชีพจากตาลโตนด (จานวน 28 ชั่วโมง) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโครงงานอาชีพ การสารวจอาชีพที่เกี่ยวกับผลผลิต และผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด การวางแผนเขียนโครงการอาชีพตาลโตนด การดาเนินงานตามแผนโครงการ การจัดตลาดนัดอาชีพ เรื่องตาลโตนด การประเมินผลและสรุปรายงาน 2.4 การสรุปรายงานผล *******************************************************


ชื่อโครงการย่อยที่ 3 โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก หลักสูตรกลองยาวลิเก ความสาคัญ การแสดงพื้นบ้านเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สะท้อนวิถีชีวิตของชุมชนแสดงให้เห็นถึงอัต ลักษณ์ของท้องถิ่นที่แตกต่างกัน กลองยาวลิเกเป็นการแสดงพื้นบ้านประจาถิ่นของอาเภอบ้านลาด แตกต่างจากการแสดงกลองยาวทั่วไป ถือเป็นสมบัติอันล้าค่าของท้องถิ่นที่ดารงให้คงอยู่และสืบสานต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการแสดงกลองยาวลิเก 2.เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ และสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 3.เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีอาชีพพิเศษ เพิ่มรายได้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจความเป็นมาและลักษณะของกลองยาวลิเก 2.เพื่อให้ผู้เรียนแสดงกลองยาวลิเกได้ 3.เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้และทักษะการแสดงกลองยาวลิเกไปใช้ประกอบอาชีพ หรือเป็นรายได้เสริมได้ 4.เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการแสดงกลองยาวลิเกของ อาเภอบ้านลาด เนื้อหาหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่อง ดังนี้ 1.ประวัติความเป็นมากลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาด 2.วัสดุอุปกรณ์เครื่องดนตรีและเครื่องแต่งกายประกอบการแสดง 3.ขั้นตอนและวิธีการแสดงกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 4.การจัดการและการตลาดเพื่อเป็นอาชีพและเพิ่มรายได้ เวลาเรียน หลักสูตรกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 30 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 28 ชั่วโมง


เวลาศึกษาเรียนรู้ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง จานวน 15 ครั้ง

แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน แหล่งความรู้ภายในสถานศึกษา ภาคทฎษฎี เรียนรู้ที่ศูนย์วัฒนธรรมโรงเรียนบ้านลาดวิทยาโดยวิทยากรท้องถิ่น และศิลปินพื้นบ้าน แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ภาคปฏิบัติ เรียนรู้ที่แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่บ้านระหารน้อยโดยศิลปินพื้นบ้าน กลองยาวลิเก นายบุญส่ง วิจารณ์ สื่อประกอบการเรียน ใบความรู้ รูปภาพ เครื่องคนตรีที่ใช้ในการแสดงกลองยาว เครื่องแต่งกาย ที่ใช้ในการแสดง กิจกรรมการเรียนรู้ 1.เรียนรู้ภาคทฤษฎีศึกษาความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา 2. เรียนรู้ภาคปฏิบัติ ศึกษาวิธีแสดงกลองยาวลิเกฝึกปฏิบัติ และจัดการแสดงเผยแพร่สู่ชุมชน 3.เรียนรู้การตลาด อัตราค่าแสดง แหล่งประกอบอาชีพ การวัดและประเมินผล 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2.สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม 3.ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้านกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 2.ผู้เรียนสามารถแสดงกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาดได้ 3.ผู้เรียนมีความตระหนักการอนุรักษ์การแสดงพื้นบ้านกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาดและสืบสานกลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาดต่อไป 4.ผู้เรียนสามารถนาทักษะการแสดงกลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาดไปประกอบ


อาชีพและหารายได้พิเศษได้

โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่1 ประวัติความเป็นมากลองยาวลิเก 2 ชั่วโมง 1.1. ประวัติกลองยาวทั่วไป และกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 1.2 เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง การดูแลรักษา เครื่องดนตรีกลองยาวลิเก อาเภอบ้าน ลาด 1.3 เครื่องแต่งกายที่ใช้ในการแสดงกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด เรื่องที่ 2 การแสดงกลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาด จานวน 26ชั่วโมง 2.1 การตีกลองยาว /ฝึกปฏิบัติ 2.2 การราประกอบกลองยาว เรื่องที3่ ปฏิบัติการแสดงกลองยาวลิเก 2 ชั่วโมง 3.1 จัดการแสดงจริงเพื่อแสดงความสามรถและเผยแพร่กลองยาวลิเกสู่ชุมชน 3.2 การตลาดเรื่องค่าแสดงในเทศกาลต่างๆเพื่อเพิ่มรายได้ *****************************************************************


ชื่อโครงการย่อยที่ 4 โครงการ ส่งเสริม สายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 1. หลักสูตรครอบครัว “บวร” ความสาคัญ เมื่อ “บวร” หรือ บ้าน วัด โรงเรียน สามประสาน มาร่วมมือกันสร้าง “นิสัย” ที่ดีให้เยาวชนและคน ในชุมชนได้ เยาวชนนั้นก็จะกลับมาพัฒนาชุมชนของตนให้เข้มแข็ง กลายเป็นวงจรคุณธรรมที่จะขยายวง กว้างจากหนึ่งชุมชน สู่สองชุมชนและหลายร้อยชุมชน จนกลายเป็นสังคมใหญ่ที่เข้มแข็ง เมื่อนั้นคนไทยคง ไม่ต้องปวดใจกับข่าวร้ายที่เกิดขึ้นรายวันอย่างตอนนี้อีกต่อไป เราเป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่ใส่ใจเกี่ยวกับเรื่อง ดังกล่าว จึงปรึกษากันว่า จะรณรงค์ให้นักเรียนมีค่านิยมที่ดีงามในการไปประกอบพิธีกรรมที่วัด โดย เน้นความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อให้มากยิ่งขึ้น และให้เยาวชนตระหนักถึงเป็น คุณธรรม จริยธรรมที่ควรปลูกฝังให้เยาวชนเกิดความรู้สึกเห็นคุณค่าของการให้ทาน การบาเพ็ญกุศล ซึ่ง จะเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีไปสู่ชีวิตที่มั่นคง ยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจระเบียบวิธีการของการประกอบพิธีกรรมที่วัดดีขึ้น 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พร้อมผู้ปกครองนาอาหารคาวหวานมาถวายพระ เพลที่วัด 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว โรงเรียน และวัดให้ยิ่งดีขึ้น 3. นักเรียนสามารถปฏิบัติขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมได้อย่างถูกต้อง เนื้อหา 1. ขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 2. ระเบียบการไปวัด เวลาเรียน เดือนกันยายน พ.ศ.2554 เดือนมกราคม พ.ศ.2554 แหล่งเรียนรู้


ให้ความรูใ้ นสถานศึกษา ประกอบพิธีกรรมที่วัดใหม่ประเสริฐ

กิจกรรมการเรียนรู้ ภาคทฤษฏี ครูแนะนาเรื่องขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรม และเรื่องระเบียบการไปวัด ให้นักเรียนทราบ ภาคปฏิบัติ ครู , นักเรียนพร้อมผู้ปกครองนาอาหารคาวหวานไปประกอบพิธีกรรมตามขั้นตอนที่วัด การวัดผลประเมินผล 1.ร้อยละ 80 ของครอบครัวมีความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม 2.ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนประกอบพิธีกรรม 3.ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในเรื่องของการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงาม มี คุณลักษณะที่ดียิ่งขึ้น โครงสร้างของหลักสูตร 1.เรื่องขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรม 2.เรื่องระเบียบการไปวัด

****************************************************


2. หลักสูตรครอบครัวฮูลาฮูป ความสาคัญ ในกระแสของการที่คนหันมาดูแลสุขภาพกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเลือกบริโภค อาหาร หรือการ ออกกาลังกายที่หลากหลายยิ่งขึ้น หลายคนพยายามหาอุปกรณ์มาใช้ เพื่อประกอบการออกกาลังกาย เพื่อให้มีรูปร่างที่ดีขึ้น ฮูลาฮูปเป็นทางเลือกที่ดี หากปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี อีกทั้งยังเป็นการออกกาลังกาย เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว จุดมุ่งหมาย 1. เพือ ่ ให้มีความรู้และเกิดทักษะในการออกกาลังกายโดยฮูลาฮูป 2. เพื่อสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกาย 3. เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. 2. 3.

เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น

เนื้อหา 1. 2. 3.

การรักษาสุขภาพโดยการออกกาลังกาย การเล่นฮูลาฮูป ประโยชน์ของการเล่นฮูลาฮูป

เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวฮูลาฮูป ใช้เวลาเรียน 35 ชัว่ โมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 32 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ โรงพยาบาลบ้านลาด

กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ


3. แข่งขันฮูลาฮูป

การวัดประเมินผล 1. เปรียบเทียบน้าหนักและรอบเอวของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 ประวัติการเล่นฮูลาฮูป เรื่องที่ 2 การเล่นฮูลาฮูปที่ถูกวิธี เรื่องที่ 3 ประโยชน์การเล่นฮูลาฮูป

**************************************************************************


3. หลักสูตรครอบครัวรักการอ่าน ความสาคัญ จากการสารวจจานวนการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน ปรากฏว่ามีผู้อ่านหนังสือน้อยมาก ส่งผลถึงการพัฒนา EQ ของเด็กไทยที่ต่าตามลงไปด้วย การอ่านหนังสือเป็นการเพิ่มความรู้และ ประสบการณ์ อีกทั้งยังมีความสะดวก สามารถอ่านได้ทุกที่ทุกเวลาตามที่ต้องการ การจัดกิจกรรมการอ่าน ให้เป็นกิจกรรมของครอบครัวอย่างน่าสนใจจะช่วยลดช่องว่างความสัมพันธ์ในครอบครัว และส่งเสริมการ พัฒนา EQ ของเด็กไทยได้เป็นอย่างดี สมกับคากล่าวที่ว่า “หนังสือเป็นเพื่อนที่ดีที่สุด” จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้มีความรู้และเกิดทักษะในการอ่าน 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมนิสัยการรักการอ่าน 3. เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และมีทักษะในการอ่าน 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมอ่านหนังสือร่วมกันอย่างน้อยเดือนละ 1 เล่ม 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เนื้อหา 1. การอ่านเรื่องง่าย ๆ ใครก็ทาได้ 2. กิจกรรมฐานรัการอ่าน 3. การบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 1 เล่ม / 1 เดือน


เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวรักการอ่าน ใช้เวลาเรียน 33 ชั่วโมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี (กิจกรรมฐานรักการอ่าน) 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ (อ่านด้วยกันที่บ้านวันละ 1 ชั่วโมง) 30 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชน กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. บันทึกการอ่าน เดือนละ 1 เล่ม การวัดประเมินผล 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการอ่าน (ฐานรักการอ่าน) 2. ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 1 เล่ม/ 1 เดือน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถอ่านหนังสือและร่วมกันบันทึกใจความสาคัญได้ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการอ่านหนังสือ 4. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสัมพันธภาพที่ดีจากการอ่านหนังสือร่วมกัน โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 การอ่านเรื่องง่าย ๆ ใครก็ทาได้ (1 ชั่วโมง) 1.1 วิธีอ่านหนังสือ 1.2 การสรุปใจความสาคัญ เรื่องที่ 2 กิจกรรมฐานรักการอ่าน ( 2 ชั่วโมง) 2.1 อ่านเรื่องวาดภาพ 2.2 ดูภาพเล่าเรื่อง 2.3 ช่วยกันอ่าน ช่วยกันตอบ เรื่องที่ 3 การบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 1 เล่ม / 1 เดือน 3.1 ล่งบันทึกการอ่าน 1 เล่ม / 1 เดือน


****************************************************************

4. หลักสูตรครอบครัวปันรัก ความสาคัญ “ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก “ การฝึกเยาวชนให้เป็นผู้ที่มจี ิตอาสา เป็นผู้เสียสละ ควรร่วมมือกันระหว่างบ้านครอบครัว และชุมชนในลักษณะช่วยกันดูแล โดยผู้ที่มีความพร้อมกว่าดูแลช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพทั้ง ทางร่างกายและจิตใจ เพื่อครอบครัวและชุมชนให้เข้มแข็งด้วย “ครอบครัวจิตอาสา ปันรัก” จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีจิตอาสา 2.เพือ่ สร้างโอกาสที่ดีให้กับเยาวชนที่ต้องได้รับการดูแลเบื้องต้น 3.เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดใี นครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการดูแลผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน 3. เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพทีด่ ีของครอบครัว เนื้อหา 1. การให้คาปรึกษา 2. ให้ความช่วยเหลือ เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวปันรัก ใช้เวลาเรียน 30 ชัว่ โมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 28 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา


แหล่งเรียนรู้ โรงพยาบาลบ้านลาด กิจกรรมการเรียนรู้

1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ การวัดประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการให้คาปรึกษาแนะนาผู้อื่นได้ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความสุขในการเป็นผู้ให้ 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดูแลตนเองได้ โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 การให้คาปรึกษา 1.1 ข้อมูลเบื้องต้นของกรณีตัวอย่าง 1.2 การให้คาแนะนาให้กาลังใจ เรื่องที่ 2 การให้ความช่วยเหลือ 2.1 การประสานงานความช่วยเหลือ 2.2 การพบครอบครัวผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ

***********************************************************************


5. หลักสูตรครอบครัวสัญจร ความสาคัญ ในสภาพสังคมไทยในปัจจุบันที่ทุกครอบครัวต้องเร่งทางานด้วยความจาเป็นทางเศรษฐกิจ ทาให้มเี วลาในการ ดูแลสมาชิกในครอบครัวมีน้อย ดูแลไม่ทั่วถึง อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ ในเยาวชน โรงเรียนเป็นสถาบันที่ผู้ปกครอง และสังคมไว้วางใจในการดูแลช่วยเหลือเยาวชน การเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคนถือเป็นนโยบายสาคัญที่ต้องปฏิบัติ เพื่อร่วม รับทราบปัญหาของเยาวชน ร่วมคิดร่วมแก้ไขในทุกภาคส่วน โรงเรียนสัญจรพบผู้ปกครองยามเย็น จึงเป็นการดูแลเยาวชน โดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมอย่างประจักษ์ชดั จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 2. เพือ่ ให้ทราบปัญหาของเยาวชนและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกีย่ วกับการดูแลช่วยเหลือนักเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้เยี่ยมบ้านนักเรียนในทุกตาบลของอาเภอบ้านลาด


2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบปัญหาและมีส่วนร่วมในการสอดส่อง ดูแลแก้ไข พฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน 3. เพื่อให้เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของภาคีเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา เนื้อหา 1. โรงเรียนพบผู้ปกครองและชุมชน 2. ครูประจาชั้นพบผู้ปกครอง เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวสัญจร ใช้เวลาเรียน 21 ชัว่ โมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี 7 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 14 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ วัดในชุมชน โรงเรียนประถมในชุมชน กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ การวัดประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของครอบครัวนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมดูแลพฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน ประโชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือสอดส่องดูแลพฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน 2. เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของภาคีเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้เยี่ยมบ้านนักเรียนในทุกตาบลของอาเภอบ้านลาด โครงสร้างเนือ้ หาหลักสูตร เรื่องที่ 1 โรงเรียนพบผู้ปกครองและชุมชน 1.1 นโยบายและผลงานของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 1.2 รับทราบปัญหาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องที่ 2 ครูประจาชั้นพบผู้ปกครอง

*******************************************************************



โครงการย่อยที่ 5 ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชน บ้านลาด 1. หลักสูตรการเลี้ยงไก่พื้นเมือง 1. ความสาคัญ 1. เพื่อให้ชาวอาเภอบ้านลาด เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อให้เกิดการสร้างงานและสร้างรายได้ในชุมชน 3. ทา ให้รู้จักวิธีการศึกษา การเลี้ยงไก่พื้นบ้านในท้องถิ่นอย่างเป็นขั้นตอน 2. จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความรักความสามัคคีให้คนในชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในท้องถิ่น มีความรู้ ความเข้าใจและสืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมือง 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ การเลี้ยงไก่พื้นเมืองมาประกอบอาชีพได้ 4. เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของอาเภอบ้านลาด 4. คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครผู้ที่สนใจในการเลี้ยงไก่พื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในอาเภอบ้านลาด 5. เนื้อหาของหลักสูตร 1. ลักษณะของไก่พื้นเมือง 2. นิสัยของไก่พื้นเมือง 3. การบารุงรักษา และการผสมพันธุ์ของไก่พื้นเมือง 4. ฟาร์มและโรงเลี้ยงไก่พื้นเมือง 5. การให้อาหารไก่พื้นเมือง 6. โรคที่เกิดกับไก่พื้นเมือง 7. การตลาด และการทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย 6. เวลาเรียน 1. หลักสูตรวิชาชีพ การเลี้ยงไก่พื้นเมืองอาเภอบ้านลาด - ภาคทฤษฎี - ภาคปฏิบัติ


7. แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง การเลี้ยงไก่พื้นเมือง 2. ศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ 1. การสร้างโรงเลี้ยงไก่พื้นเมืองแบบคอกปิด 2. อาหารสาเร็จรูป ข้าวเปลือก 3. สถานที่เลี้ยง 4. ยารักษาโรค 9. การวัดผลและประเมินผลการเรียน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. การสังเกตการปฏิบัติจริงในการเลี้ยงไก่พื้นบ้าน 3. ประเมินชิ้นงาน 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงไก่พื้นเมืองและสามารถเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนมีการพัฒนาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้อย่างเหมาะสม 3. ผู้เรียนนาความรู้การเลี้ยงไก่มาใช้ประกอบอาชีพได้ 4. ผู้เรียนมีอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของอาเภอบ้านลาด 11. โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วย 1. ประวัติความเป็นมาของไก่พื้นเมือง 2. การจัดเตรียมอุปกรณ์ - การเลือกใช้วัตถุดิบ - อุปกรณ์การเลี้ยงไก่พื้นเมือง 3. ขั้นตอนและวิธีการเลี้ยงไก่พื้นเมือง - การทาดอก - การให้อาหาร - การดูแล 4. การตลาด 1. การจัดทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย 2. การคานวณต้นทุนการผลิต 3. เทคนิคการจัดการ และการตลาด


******************************* 2. หลักสูตร การทาปุ๋ยชีวภาพ 1. ความสาคัญ การปลูกพืชเพื่อไว้เพื่อการบริโภค หรือจาหน่ายทุกวันนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมี ซึ่งมี ต้นทุนในการผลิตสูง และส่งผลให้สุขภาพร่างกายต้องเกี่ยวข้องกับสารเคมี ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงสารเคมีและปลอดภัยจากโรคภัยต่าง ๆ ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยอินทรีย์จึงมีความจาเป็นต่อ การดารงชีวิตประจาวัน 2. จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในท้องถิ่น มีความรู้ ความเข้าใจและสืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการทาปุ๋ย 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถทาปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์ได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาด้านการทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ และลดค่าใช้จ่ายเกษตรกร 4. คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครผู้สนใจในการทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ที่อยู่อาศัยในอาเภอบ้านลาด 5. เนื้อหาของหลักสูตร 1. อุปกรณ์ในการทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ 2. วัสดุในการทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ 3. ขั้นตอนในการหมักปุ๋ยชีวภาพ 6. เวลาเรียน - หลักสูตรวิชาชีพ การทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ของอาเภอบ้านลาด ใช้เวลา - ภาคทฤษฎี - ภาคปฏิบัติ 7. แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่องปุ๋ยชีวภาพ 2. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ผสมวัสดุทั้งหมดคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน รดหรือฉีดพ่นน้าจุลินทรีย์ชีวภาพจนชุ่ม ให้ความชื้น ประมาณ 40% แล้วกองปุ๋ยบนพื้นซีเมนต์หรือพื้นดินที่ปูด้วยผังเต๊นท์ คลุมกองปุ๋ยด้วยกระสอบปุ๋ย หรือ กระสอบป่าน ใช้เวลาหมัก 1-2 วัน จึงนาไปใช้


9. การวัดผลและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม 2. การสังเกตการณ์ปฏิบัติจริงในการทาปุ๋ยชีวภาพ 3. ประเมินชิ้นงาน 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด –ด่างในดินและน้า 2. ช่วยปรับสภาพดินให้ร่วนซุย 3. ช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุในดิน 4. ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืช 11. โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร 1. การจัดเตรียมอุปกรณ์ - เลือกใช้วัตถุดิบ - อุปกรณ์การทาปุ๋ยชีวภาพ 2. ขั้นตอนและวิธีการทาปุ๋ยชีวภาพ - นาวัสดุที่เหลือใช้ในท้องถิ่น นามาผสมและทาการหมัก ******************************************************


3. หลักสูตร การเลี้ยงปลาดุก 1. ความสาคัญ การเลี้ยงปลาดุก เป็นการส่งเสริมการปกระกอบอาชีพตามแนวพระราชดาริ เพื่อให้นักเรียนนา หลักการเลี้ยงปลาดุกไปสร้างรายได้ให้กับครอบครัว เป็นการเพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายให้กับครอบครัว ได้อีกทางหนึ่ง 2. จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอาชีพเสริม 2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการเลี้ยงปลาดุก 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ 4. เพื่อให้ประชาชนในเขตอาเภอบ้านลาด นาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพที่บ้านได้ 4. คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครผู้สนใจในการเลี้ยงปลาดุกในเขตอาเภอบ้านลาด 5. เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วย 1. ลักษณะของปลาดุก 2. ลักษณะนิสัยของปลาดุก 3. การเพาะพันธุ์ปลาดุก 4. บ่อเลี้ยงปลาดุก 5. การให้อาหารปลาดุก 6. โรคที่เกี่ยวกับปลาดุก 7. การตลาดและการทาบุญชีรายรับ –รายจ่าย 6. เวลาเรียน - หลักสูตรวิชาชีพ การทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ของอาเภอบ้านลาด ใช้เวลา - ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง - ภาคปฏิบัติ 3 เดือน


7. แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง การเลี้ยงปลาดุก 2. สถานที่เลี้ยงปลาดุก

8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริเขากลิ้ง 9. การวัดผลและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก 2. นักเรียนสามารถเลี้ยงปลาดุกได้ 3. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ 11. โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร 1. การจัดเตรียมบ่อในการเลี้ยงปลาดุก 2.การเลี้ยงปลาดุกในระยะต่าง ๆ **************************************************


5. หลักสูตร ขยายพันธ์พืช การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ 1. ความสาคัญ การปลูกผักไว้เพื่อบริโภค เป็นการใช้ชีวิตแบบพอเพียง และสามารถนาไปจาหน่ายเป็นรายได้ เสริม นอกจากนี้การปลูกผักไว้เพื่อบริโภคโดยไม่ใช้สารเคมี จะส่งผลให้ชาวบ้านมีสุขภาพแข็งแรงเป็น การลดรายจ่ายในครอบครัวได้เป็นอย่างดี 2. จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องเทคนิคการปลูกผักปลอด สารพิษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนในท้องถิ่นนาความรู้ไปถ่ายทอด 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องเทคนิคการปลูกผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดในชุมชนของนักเรียนได้ 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน ซึ่งเป็นการลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่ง 4. คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครนักเรียนที่สนใจ 5. เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วย 1. การปลูกพืชผักสวนครัวแบบต่างๆ 2. การตลาด และการจัดทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย 6. เวลาเรียน - หลักสูตรการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ใช้เวลา - ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง - ภาคปฏิบัติ 1 เดือน 7. แหล่งเรียนรู้ - ใบความรู้ เรื่อง การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 2. สถานที่เลี้ยงปลาดุก 8. กิจกรรมการเรียนรู้


1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน 9. การวัดผลและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 2. ผู้เรียนมีทักษะในการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 11. โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร 1. การจัดเตรียมดินในการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 2. การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 3. การตลาด – การจัดทาบัญชีรายรับรายจ่าย *****************************************************


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.