ภาพรวมของอาร์โทรพอร์ดศัตร ูธรรมชาติ 1.1 ลักษณะโดยทัว่ ไปของอาร์โทรพอร์ดตัวห้า อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda) ที่ดารงค์ชีวิตโดย การกิ นแมลงเป็ นอาหาร ได้แ ก่ แมลงตัว ห้า (predatory insects) ในชั้น Insecta และ ไรตัว ห้า (predatory mites) และแมงมุม ในชัน้ Arachnida ซึ่งในด้านการควบคุมประชากรของแมลงศัตรูพืชตามธรรมชาติ ได้ มีบ ทบาทอย่า งมากในการควบคุมประชากรของแมลงไม่ให้มีระดับ สูงจนก่อ ความเสียหายถึ งระดับ เศรษฐกิ จ หรื อ เป็ นปั จจัยที่ ก่อ การตายก่อ นอายุขัยของแมลงศั ตรูพื ช เพื่ อ รักษาระดับ สมดุล ย์ต าม ธรรมชาติ และหลายชนิดได้ถกู นามาใช้ประโยชน์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีที่กระทาโดยมุ ษย์ (Applied หรือ man-made biological control) ทัง้ นีใ้ นภาพรวมสามารถสรุปลักษณะของอาร์โทพอร์ดตัวหา้ เพื่อการแยกประเภทของแมลงกลุ่มนี้อ อกจากแมลงกลุ่มตัวเบี ยนที่ จะกล่าวถึ งในบทต่อ ไปในบทที่ 3 โดยสังเขปดังนี้ 1. โดยมากอาร์โ ทรพอร์ด ตัว ห้า มักมี ข าดใหญ่ แ ละแข็ งแรงกว่ า แมลงที่ เ ป็ นเหยื่ อ แต่ไ ม่เ สมอไป เนื่องจากมีตวั หา้ บางชนิดอาจมีขนาดเล็กกว่าเหยื่อเช่น เพลี้ยไฟตัวหา้ (predatory thrips) และไร ตัวหา้ ซึ่งบางชนิดสามารถกินเหยื่อที่เป็ นหนอน หรือไร ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าตัวมันหลายเท่า เป็ น ต้น 2. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ส่วนมากกินเหยื่อโดยทาให้ตายทันที เช่น แมงมุม ด้วงเต่าตัวหา้ และตัก๊ แตน ตัวห้า แต่อย่างไรก็ตามมีตัวห้าบางชนิดที่ทาลายเหยื่อโดยการใช้ปากแบบแทงดูด (piercing sucking type) หรือเขี้ยวที่แหลมคม ทิ่มแทงไปที่เหยื่อ และปล่อยสารซึ่ งทาให้เ หยื่อเป็ นอัมพาต ก่อนแล้วจึงดูดกินของเหลวในตัวเหยื่อจนตายในที่สดุ เช่น มวนตัวหา้ ตัวอ่อนของแมลงช้าง และ ไรตัวหา้ เป็ นต้น 3. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ จะกินเหยื่อหนึง่ ตัวหรือมากกว่าในแต่ละมื้ออาหาร ดังนัน้ จึงกินเหยื่อได้หลาย ตัวตลอดช่วงชีวิตการเจริญเติบโตของมัน 4. อาร์โทรพอร์ดตัวหา้ ส่วนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะตัวเต็มวัย จะอาศัยอยู่คนละที่กบั แมลงที่ เป็ นเหยื่อ และ ออกหาอาหารในที่ตา่ ง ๆ กันในแต่ละมื้อ แต่มีบางกลุม่ เช่นตัวอ่อนของด้วงเต่า จะ