นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 52 เดือนมีนาคม 2556

Page 1

Ê ¬ 5 q ¬ 52 l 2556

90

Energy#52_Cover Out_Pro3.indd 1

2/27/13 3:27 PM


27-30 March 2014 BITEC Bangkok § |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, T Air Washerr Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condenserss

¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th

Energy#52_Cover in_Pro3.indd 1

14

2/27/13 3:21 PM


Energy#52_p03_Pro3.ai

1

2/19/13

11:21 PM


Contents Issue 52 March 2013

44 What’s Up 10 What’s Up 83 Around The World 88 Energy Movement Cover Story 30 Cover Story : Green Product เทรนดโลก คําตอบของพลังงานยั่งยืน 94 Special Scoop I : โครงการผลิตไฟฟา “หวยบง” 2-3 จุดประกายความหวังเสริมความมั่นคงพลังงานลมไทย 96 Special Scoop II : เกษตร…ลาดกระบัง เรงเพาะตนกลา โครงการ “ดํานาเพาะกลาคนเกษตร” รักษสงิ่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน 102 Special Report : การทองเทีย่ วคารบอนตํา่ สนุกสนานแบบอนุรกั ษธรรมชาติ Interview 20 Exclusive I : เปดใจ “สุรศักดิ์” และ “สุรชัย” ดูโอแหง Energy Reform ผูน าํ ดานระบบติดตัง้ แกสในรถยนต 23 Exclusive II : กฟผ. เสริมความมัน่ คงดานพลังงานของประเทศ พรอมใชโรงไฟฟาพลังนํ้า รับมือสถานการณฉุกเฉิน 64 Energy Concept : ระบบผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงค สําหรับเครื่องยนตเล็ก

High Light 18 Energy Focus : ความจริงทีต่ อ งยอมรับของ LPG 26 Get Idea : เทคนิคประหยัดพลังงานสไตลเซเลบชือ่ ดัง 36 Insight Energy : เตรียมรับมือ… วิกฤตพลังงานขาดแคลน 37 Energy Legal : สะพานเศรษฐกิจพลังงาน ศูนยกลางธุรกิจพลังงานภูมภิ าค 44 Residential : แมสลองเมาเทนโฮม… สิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกวาพอเพียง 56 Energy Exhibit : Thailand Industrial Fair 2013 & Food Pack Asia 2013 70 Energy Test Run : Hyundai Tucson CRDi 4WD เกิดมาลุย…ตองใชใหคุม Commercial 38 Energy Loan : SME Bank จัดหนักโครงการสินเชือ่ เพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต ปลอดเงินตนปแรก 48 Greee 4U : สินคา Green Product 50 Greenovation : นวัตกรรมตนแบบดานพลังงาน 52 Energy Showcase : แกะกลองเทคโนโลยีใหมลา สุด 90 Enjoyment : เทรนดมาแรง…ลางสารพิษบน เสือ้ ผาแบรนดดงั Detox Fashion…สูก ารรักษโลก

20

90

4

Energy#52_p04,06_Pro3.indd 4

2/27/13 4:53 PM


Energy#52_p05_Pro3.ai

1

2/19/13

11:27 PM


Contents Issue 52 March 2013

Industrial & Residential 40 Green Industrial : ฮอนดาฯ มุง ลดพลังงาน สรางสรรคผลิตภัณฑทเ่ี ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม 43 Tools & Machine : เมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส เทคโนโลยีใหมชวยลดตนทุนในกระบวนการบําบัดนํา 46 Energy Design : โรงเรียนแหงความยัง่ ยืนใน “บูรก นิ าฟาโซ” 59 Energy Management : เตรียมพรอมรับการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานจากผูต รวจสอบฯ แลวหรือยัง ? (ตอนที่ 1) 80 Saving Corner : เครื่องยนต์ต้นกําลังไม่ง้อน้ํามัน แหล่งพลังงานแห่งอนาคต

Transportation & Alternative Energy 68 Vehicle Concept : BMW Concept Active Tourer พลังขับเคลื่อน Plug – In Hybrid 74 Green Logistics : ผูบริโภคสีเขียว (Green Consumer) 76 Renergy : ปรับราคา LPG ความจําเปนเหนือเกมการเมือง

Environment Protection 62 Asean Update : มารูจัก “กรีนพีซ (Greenpeace)” กันเถอะ ? 78 0 Waste Idea : การพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพ จากขยะมูลฝอยชุมชนโดยการหมักแบบแหง

62

68

86 92

Environment Alert : การผลิตสินคาทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ตอบโจทยการคายุคใหม ? Green Space : รักษ์ปา สรางคน 84 ตําบล วิถพ ี อเพียง ฟื้นฟูธรรมชาติบนพื้นฐานความยั่งยืน

FAQ 98 Energy Clinic : อุปกรณประหยัดพลังงานใน เครื่องปรับอากาศ Regular Feature 8 Editor’s Talk 55 How to : ไอเดียบรรเจิดจากหลอดไฟเกา 67 Have to know : รันอิน…รถใหม ใคร ๆ ก็ทาํ ได 97 Life Style : SATORINI PARK @ ชะอํา สวนสนุกกลิ่นอาย “กรีซ” 101 Energy Tip : 10 วิธีประหยัดพลังงานแบตเตอรี่ สําหรับ Smart phone ของคุณ 103 Members : แบบสมัครสมาชิก 104 Energy Thinking : ลําบาก ดีกวา สบาย !! 106 Event & Calendar : นิทรรศการ งานประชุม และการอบรมดานพลังงานที่นาสนใจ ประจําเดือนมีนาคม 2556

6

Energy#52_p04,06_Pro3.indd 6

2/27/13 4:54 PM


Energy#52_p07_Pro3.ai

1

2/19/13

11:44 PM


Editors’ Talk กลั บ มาพร อ มความเปลี่ ย นแปลงที่ ส ดใสไฉไลกว า เดิ ม หวังใจวาคุณผูอานจะชอบลุคใหมของ Energy Saving ฉบับนี้ นอกจากลุคใหมที่แซบกวาเดิมแลว ทีมงานทุกคนยังพยายาม คัดสรรเรื่องราวเจง ๆ โดน ๆ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอมจาก ทั่วทุกมุมโลกมานําเสนอเหมือนเชนเคยพรอมกับคอลัมนใหม ๆ ทีเ่ ด็ดและโดนไมแพกนั สวนจะเปนคอลัมนอะไรนัน้ พลิกอานไดเลย ว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของการเปลี่ ย นแปลง ทุ ก สิ่ ง ในโลก ลวนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา มีทั้งเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ ดี ขึ้ น และเปลี่ ย นแปลงไปในทางที่ เ สื่ อ มลง แต ทั้ ง นี้ แ ละ ทั้ ง นั้ น อยากให พ วกเราทุ ก คนตั้ ง รั บ การเปลี่ ย นแปลง อยางมีสติ หากใครไดตดิ ตามขาวสารบานเมืองคงพอจะทราบกันวา ในช ว งเดื อ นเมษายนที่ กํ า ลั ง จะถึ ง นี้ มี ก ารคาดการณ กั น ว า พื้นที่บางสวนของประเทศไทยอาจประสบปญหาไฟฟาตกหรือ ไฟฟ า ดั บ โดยเฉพาะบางเขตพื้ น ที่ ข องกรุ ง เทพฯที่ อ าจได รั บ ผลกระทบอย า งจั ง เนื่ อ งจากแหล ง พลั ง งานแหล ง ใหญ ข อง ประเทศไทย อย า งโรงก า ซของพม า ป ด ซ อ มบํ า รุ ง ชั่ ว คราว ส ง ผลให ก ารผลิ ต ไฟฟ า ของประเทศไทยที่ ใ ช ก  า ซจากพม า เปนเชื้อเพลิงหลักในการผลิตเกิดปญหาได เห็นไดจากการที่รัฐบาลออกมาประกาศเตือนใหคนไทย ชวยกันประหยัดพลังงานไฟฟาอยางคึกคัก สงผลใหประชาชน คนไทยทั้งประเทศเกิดความวิตกกังวลลวงหนาวาจะไมมีไฟฟาใช การที่ รั ฐ บาลออกมาประกาศเตื อ นคงไม ใ ช เ พื่ อ ให เ กิ ด ความ โกลาหล แตเพื่อใหทุกคนเตรียมพรอมรับมือกับปญหาที่อาจ เกิดขึ้นอยางมีสติมากกวา ที่จริงเรื่องของการประหยัดพลังงาน เปนสิ่งที่ทุกคนควรกระทํามานานแลว ไมใชจะมาประหยัดกัน ก็ ต  อ เมื่ อ เกิ ด ป ญ หา ที่ ผ  า นมาคนไทยอย า งเรา ๆ ท า น ๆ มักยึดติดกับความสบายสวนตน จนมองขามเรือ่ งของการประหยัด พลังงานไปคิดแคเพียงวามีเงินจายเพือ่ ซือ้ ความสบายได ก็ไมเห็น จะตองสนใจอะไร แลวถาวันหนึ่งพลังงานหมดไปจากโลกจริง ๆ เงินที่มีก็ซื้อความสบายไมได สุดทายแลวเราจะเปนอยางไร อยากให ก รณี ข องไฟฟ า ดั บ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในช ว งเดื อ น เมษายนเปนบทเรียนสําคัญสําหรับอนาคต อยารอใหเหมือนกับ สุภาษิตไทยที่วา “วัวหายลอมคอก” เพราะเมื่อถึงเวลานั้นก็คง ไมทันการเสียแลว

คณะผูจัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร เดชรัช นุชพุม วรรณวิภา ตนจาน

เลขากองบรรณาธิการ เจริญรัตน วงศสุวรรณ

ผูจัดการแผนกโฆษณา รัตนาพร ออนศรี

การเงิน แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม วีรเมธ เหลาเราวิโรจน

พิมพ บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ปยะนุช มีเี มือื ง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8

Energy#52_p08_Pro3.indd 8

2/27/13 4:12 PM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


What’s Up

กองบรรณาธิการ

สัมมนาความสัมพันธ ไทย-จีน ครัง้ ที่ 10

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเปนประธานเปดสัมมนาความสัมพันธ ไทย-จีน ครั้งที่ 10 เรื่อง “วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับการพัฒนาชนบทอยางยั่งยืน” โดยมี นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน ไดบรรยายเรื่อง “การพัฒนาที่มีของเสียเปนศูนย” ณ ธนาคาร กสิกรไทย สํานักงานใหญ ราษฎบรู ณะ เมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2556

4 เด็กไทย วิจยั “สาหราย” บนเทีย่ วบินไรนา้ํ หนัก

เมื่อเร็วๆ นี้ 4 เยาวชนไทย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดรับคัดเลือกจากองคการสํารวจอวกาศญี่ปุน ขึ้นไปรวมวิจัย “สาหราย” เพื่อทดลองในสภาวะไรนํ้าหนัก บนเครื่องบินที่ บินแบบพาราโบลา ในโครงการ “The Student Zero-gravity Flight Experiment Contest” ณ เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุน

ฟูจิ ซีรอ็ กซ พาสือ่ มวลชนไทยและเทศเยีย่ มชมโรงงาน

มร.โคจิ เทสึกะ ประธาน บจก. ฟูจิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) พรอมดวย คณะ ผูบ ริหารจากฟูจิ ซีรอ็ กซ เอเซีย แปซิฟก นําสือ่ มวลชนไทยและตางประเทศ เขา เยีย่ มชมโรงงานฟูจิ ซีรอ็ กซ อีโค-แมนูแฟคเจอริง่ เพือ่ ชมกระบวนการรีไซเคิล ผลิตภัณฑภายใตแบรนด ฟูจิ ซีรอ็ กซ ทีส่ ามารถรีไซเคิลชิน้ สวนทัง้ หมดไดเกือบ 100% บรรลุเปาหมายการกําจัดขยะจากผลิตภัณฑทใี่ ชแลวโดยไมมกี ารฝงกลบ ณ บจก. ฟูจิ ซีรอ็ กซ อีโค-แมนูแฟคเจอริง่ อ.บอวิน จ.ชลบุรี

10

Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 10

2/27/13 4:45 PM


Energy#52_p11_Pro3.ai

1

2/27/13

8:40 PM


บางจาก เสริมศักยภาพปม ชุมชนสูป ท ่ี 23

วิเชียร อุษณาโชติ กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั บางจากฯ (มหาชน) แถลงขาว ปมชุมชนบางจากเติบโต สูปที่ 23 วิถีที่ยังยืน สรางความสุขสู ชุมชน พรอมดวย นายสมชาย ชาญณรงคกลุ อธิบดีกรมสงเสริมสหกรณ และนายชูชาติ อินสวาง ผูจ ดั การสหกรณการเกษตรศรีประจันต เขารวมงาน โดยนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาเปน แนวทาง ซึ่งปมชุมชนประสบความสําเร็จเติบโตอยางตอเนื่อง ปจจุบันมี จํานวน 580 แหง และจะเพิ่มเปน 700 แหง ในอีก 3 ปขางหนา และมีการ ปนผลกลับสูชุมชนกวา 1 ลาน 2 แสนครอบครัว

ลลิล พร็อพเพอรต้ี จัดกิจกรรม CSR “ลลิล มอบรัก เพือ่ นอง”

คุณไชยยันต ชาครกุล กรรมการผูจัดการ และทีมผูบริหาร บริษัท ลลิล พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ LALIN ผูพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพยภายใตคอนเซ็ปต “บานที่ปลูกบนความตั้งใจที่ดี” พรอม คณะสือ่ มวลชน รวมกันทํากิจกรรม CSR ในโครงการ “ลลิล มอบรัก เพือ่ นอง” โดยไดมอบเงินบริจาคและของใชจาํ เปน พรอมเลีย้ งของวางแกนอ ง ๆ ณ มูลนิธิ สงเคราะหเด็ก พัทยา จ.ชลบุรี

ธ.กรุงเทพ หนุน ไทยโซลาร เอ็นเนอรย่ี สรางโรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย

บริษทั ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี่ จํากัด (ทีเอสอี) จับมือ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เซ็นสัญญาสนับสนุนดานการเงินกวา 5,400 ลานบาท ในการลงทุนสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยชนิด PV 2 เฟส 10 โครงการ กําลังการผลิต 80 เมกะวัตต รวมมูลคาการลงทุนกวา 7,000 ลานบาท คาดจะสรางรายไดกวา 1,000 ลานบาทตอป

12

Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 12

2/27/13 4:41 PM


9Z$IS;OT9V7D

Energy#48_p56_Pro3.indd 56

10/20/12 3:38 AM


สนพ. รวมกับ ราชภัฏสวนดุสติ สรางความเขาใจ การปรับราคา LPG

นายสุเทพ เหลีย่ มศิรเิ จริญ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน และ รศ.ดร.สุขมุ เฉลยทรัพย ประธาน ที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รวมมือเรงสรางความ เขาใจกับประชาชนถึงความจําเปนในการปรับราคา LPG ผานการเผยแพร แผนพับขอมูลเกี่ยวกับ LPG มากกวา 2 ลานฉบับ พรอมลงพื้นที่สํารวจ กลุม รานคา หาบเร แผงลอยอาหาร และครัวเรือนทีไ่ มมไี ฟฟาใช เพือ่ บรรเทา ผลกระทบจากการปรับราคา LPG

พพ. ชี้แจงเกณฑการเขารวมประกวด “Thailand Energy Awards 2013”

นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน เปนประธานในการชี้แจงเกณฑการเขารวมประกวด “Thailand Energy Awards 2013” ในเขตภาคใต โดยมีผปู ระกอบการทีไ่ ดรบั รางวัลในป 2012 ทีผ่ า นมารวมถายทอดประสบการณ ณ โรงแรม สมุย ปาลม บีช รีสอรท จังหวัดสุราษฎรธานี เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2556

เวสปา จัดแรลลี่ “Vespati in Chiang Mai” สานตอ กิจกรรมเพือ่ สังคม

บริษัท เวสปอาริโอ (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําเขารถสกูตเตอรเวสปา และพิอาจิโอ รวมกับ ตัวแทนจําหนายในจังหวัดเชียงใหม บริษทั นิยมพานิช จํากัด รวมปลอยคาราวานเวสปา ในกิจกรรมแรลลี่ “Vespati in Chiang Mai” เสนทางเชียงใหม – สะเมิง เพือ่ รวมสานตอกิจกรรมเพือ่ สังคม ภายใต แคมเปญ “Help safe one life by giving a child a helmet” ดวย การนําหมวกนิรภัยมอบใหแกเด็กนักเรียนในโรงเรียนบานปง อ. หางดง จ. เชียงใหม ทั้งนี้กิจกรรมดังกลาวจัดขึ้นเพื่อสานสัมพันธอันดีตอกลุมคน ขับเวสปาดวยกัน

14

Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 14

2/27/13 4:41 PM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


โครงการลมหายใจไรมลทินมอบทุนการศึกษา

ขวัญชัย ปภัสรพงษ ประธานบริษทั สือ่ สากล จํากัด และ รองประธาน กรรมการโครงการลมหายใจไรมลทิน ประกาศผล และมอบรางวัลแก เยาวชนผูชนะการประกวดประจําป 2555 โดยไดรับเกียรติจาก นางญาณี เลิศไกร ผูอํานวยการสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอย โอกาส และผูสูงอายุ (สท.) เปนประธานมอบรางวัลใหแกเยาวชนที่มีความ รูความสามารถใน 3 ประเภท ไดแก เรียงความ รองเพลง และกิจกรรม รณรงคความซื่อสัตย ในหัวขอ “คิดดี พูดดี ทําดี มีความซื่อสัตย” จํานวน 40 ทุน รวม 257,000 บาท

ฮอนดา ซูเปอร ไอเดีย คอนเทสต

บริษทั ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด สานฝนในโครงการ “ฮอนดา ซูเปอร ไอเดีย คอนเทสต” ภายใตแนวคิด “ทะยานสูฝ น ขับเคลือ่ น พลังคิด(ส)” เปนเวทีสรางสรรคสาํ หรับเยาวชนระดับประถมศึกษาปที่ 1 – 6 ประกาศรายชือ่ 40 ผลงาน ความคิดสรางสรรคทผี่ า นเขาสูร อบ “My Dreams Come True” หรือ “ฝนทีเ่ ปนจริงของฉัน” พรอมมอบทุนพัฒนาแบบจําลอง เพือ่ สรางสรรคชนิ้ งานสําหรับนําเสนอในรอบตัดสิน โดยผูช นะเลิศจะไดรบั โล พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และรางวัลเขา รวมแคมปเยาวชน ระหวางเยาวชนไทยและญีป่ นุ ที่ บริษทั ฮอนดา มอเตอร ประเทศญีป่ นุ

เชฟโรเลต สงมอบลูกฟุตบอล วัน เวิลด ฟุตบอล

มร. มารติน แอพเฟล ประธานกรรมการประจําประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด และบริษทั เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ปลอยคาราวาน เชฟโรเลต เทรลเบลเซอร จากกรุงเทพฯ มุงหนาสูจังหวัดระนอง ภูเก็ต และหาดใหญ เพื่อมอบลูกฟุตบอลที่ไมมีวันแตกใหแกเด็กและเยาวชนที่ดอยโอกาสใน พื้นที่ภาคใต และจะทยอยมอบลูกฟุตบอลจํานวนทั้งหมด 5,000 ลูก ใหแก เด็กและเยาวชนทั่วประเทศตลอดทั้งปนี้ และอีก 10,000 ลูก ใหแกชุมชนที่ ประสบภาวะขาดแคลนในกัมพูชา ลาว มาเลเซีย ฟลปิ ปนส และสิงคโปร

16

Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 16

2/27/13 4:41 PM


Energy#51_p52_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/29/13

10:51 AM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

ความจริง

ที่ตองยอมรับของ LPG

อยางที่ทราบกันดีวา ประเทศไทยเปนประเทศที่ติดอันดับตน ๆ ของทวีปเอเชียที่มีการใช พลังงานคอนขางสูง ทั้ง ๆ ที่พลังงานบางประเภทตองพึ่งพาการนําเขา เพื่อสนองความตองการ ที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและไมมีทีทาวาจะนอยลง อันที่จริงทุกคนก็ทราบกันดีวา นับวันพลังงาน มีแตจะหมดลง และพลังงานของไทยที่ถูกจับตาในขณะนี้ตองยกใหกับ LPG เพราะเปนพลังงาน ที่กําลังจะมีการปรับราคาใหเปนจริงตามกลไกของตลาดโลก

เมื่อมีขาววาจะมีการปรับราคา LPG แนนอนวายอมตองมี คําถามตามมาวาทําไม ในเมื่อราคาที่จําหนายในปจจุบันก็ถือวา แพงในระดับหนึ่งอยูแลว แตในความเปนจริงแลว ตลอดระยะ เวลาทีผ่ า นมาภาครัฐมีนโยบายควบคุมราคากาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ทําใหภาคครัวเรือน ขนสง รวมถึงอุตสาหกรรม ไดใช LPG ในราคาถูกมาเปนเวลานาน โดยนําเงินจากกองทุนนํา้ มันเชือ้ เพลิง ที่เรียกเก็บจากผูใชนํ้ามันทุกคนในประเทศมาใชในการอุดหนุน คิดเปนมูลคากวาแสนลานบาท ดังนั้น ในสถานการณราคา พลังงานปจจุบันจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับราคา LPG ดวย เหตุผลหลายดาน ดังนี้

ดานความเปนธรรมสําหรับผู ใชนํ้ามัน เพราะรายไดจาก การคาปลีกนํ้ามันสวนหนึ่งจะเปนเงินที่ถูกเก็บเขากองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิง เพื่อนําไปอุดหนุนใหผูใชกาซ LPG ไดใชในราคาถูก ทําใหราคานํ้ามันที่จายมีความผันผวนและมีราคาแพงกวาปกติ แมวาจะยังถูกวาราคาตลาดโลกก็ตาม ดานการลดภาระของกองทุนนํา้ มันเชือ้ เพลิง จากนโยบาย ควบคุมราคากาซ LPG ทําใหเกิดการบิดเบือนกลไกตลาด มีผล ทําใหราคา LPG ตํา่ กวาเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ สงผลใหปริมาณการใช LPG เพิ่มขึ้นมาก จนตองเพิ่มการนําเขา สงผลใหกองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิงมีภาระเพิ่มมากขึ้น

18

Energy#52_p18-19_Pro3.indd 18

2/26/13 11:48 PM


ดานปองกันการลักลอบสงออก เนือ่ งจากปจจุบนั ราคา LPG ของประเทศเพื่อนบานสูงกวาไทยทุกประเทศ ซึ่งการควบคุม ราคา LPG ทําใหรัฐตองนําเงินกองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงที่เก็บ จากผูใชนํ้ามันคนไทยไปชดเชยราคา LPG หากมีการลักลอบ ส ง ออกก็ เ ปรี ย บเสมื อ นชดเชยให กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นด ว ย โดยจะเห็นไดจากราคากาซหุงตมในเวียดนามจําหนายที่ 59 บาท/กิโลกรัม, ลาว 49 บาท/กิโลกรัม, กัมพูชา 45 บาท/ กิโลกรัม, พมา 34 บาท/กิโลกรัม, มาเลเซีย 20 บาท/กิโลกรัม และอินโดนีเซีย 23 บาท/กิโลกรัม แตประเทศไทยปจจุบันราคา อยูที่ 18.13 บาท/กิโลกรัม จากขอมูลการใชกา ซหุงตม LPG ภาคครัวเรือนยอนหลัง 5 ป (ป 2551-2555) มีอัตราเติบโตเฉลี่ย 10%/ป ขณะที่อัตราการ เติบโตของจํานวนประชากรไทยไมถึง 1% จึงเห็นไดวาการเติบโต ของการใชกาซ หุงตมไมสัมพันธกับจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น นั่นแสดงวาการใช LPG ภาคครัวเรือนที่เติบโตขึ้น สวนหนึ่งถูก ลักลอบสงออกไปยังตางประเทศ

หากมีการปรับขึ้นราคา LPG คาใชจายของภาค ครัวเรือนเพิ่มขึ้นอยางไร

ครัวเรือนทัว่ ไปจะจายคากาซหุงตมเพิม่ ขึน้ สูงสุด 100 บาท/ถัง ณ สิ้นป 2556 แตจะเปนการทยอยปรับขึ้น และเมื่ออางอิง ตัวเลขผลจากการสํารวจขอมูลของกระทรวงพลังงานเมื่อเดือน กรกฎาคมป 2555 ระบุวา ครัวเรือนใชกา ซหุงตมโดยเฉลีย่ 5 ถัง/ป จะเห็นไดวา ประชาชนจะมีภาระคาใชจา ยเพิม่ ขึน้ เพียง 20 บาท/เดือน เทานั้น ในส ว นของแม ค  า ข า วแกงจากข อ มู ล ของ กรมการค า ภายใน กระทรวงพาณิชย ภาคสวนนี้จะมีตนทุนคากาซหุงตม ที่ใชปรุงอาหารเพิ่มขึ้นไมเกิน 35 สตางค/จาน เนื่องจากกาซ หุงตม 1 ถัง ขนาด 15 กิโลกรัม สามารถทําอาหารได 300 จาน แตภาครัฐก็ไมถึงกับใจจืดใจดําโดยออกมาตรการชวย เหลือใหผูมีรายไดนอยยังคงไดใชกาซ LPG ในราคาเทาเดิม โดยแบงความชวยเหลือเปน 2 กลุม ไดแก กลุมประชาชนผูมี รายไดนอย ซึ่งมีประมาณ 8.4 ลานครัวเรือน ที่เปนผูใชไฟฟา ไมเกิน 90 หนวย/เดือน และผูไมมีไฟฟาใช หรือเกือบครึ่งหนึ่ง ของครัวเรือนที่ใชไฟฟาทั่วประเทศจาก 20 ลานครัวเรือน และ กลุมหาบเร แผงลอยอาหาร ประมาณ 500,000 ราย

ที่กังวลไมแพภาคครัวเรือนคือ ผูที่ใชกาซหุงตม ในรถยนต ซึ่งในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนหรือปรับ ขึ้นอยางไร

ป 2556 ราคา LPG ภาคขนสง จะปรับเพิม่ ขึน้ ไมถงึ 2 บาท/ลิตร โดยราคากาซ LPG ที่เติมในรถยนตจะเพิ่มขึ้นจากประมาณ 11.56 บาท/ลิตร เปน 13.42 บาท/ลิตร หรือเพิม่ ขึน้ 1.86 บาท/ลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับคาพลังงานที่ไดจากฐานที่เทากัน พบวา รถที่ ใช LPG เป นเชื้ อเพลิง จะมีค าความสิ้ นเปลืองต อระยะ ทางเทากับ 1.33 บาท/กม. เทานั้น ซึ่งยังถูกกวาเชื้อเพลิงที่ เปนนํ้ามัน เชน เบนซิน 95 มีความสิ้นเปลืองตอระยะทางเทากับ 4.64 บาท/กิโลเมตร, เบนซิน 91 เทากับ 4.12 บาท/กิโลเมตร, แกสโซฮอล 95 เทากับ 3.67 บาท/กิโลเมตร และแกสโซฮอล 91 เทากับ 3.39 บาท/กิโลเมตร

สวนภาคอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่มักถูกมองวามีการซื้อ LPG ในราคาที่ถูกที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมอื่น ซึ่งความเปนจริง ภาคครัวเรือนซื้อกาซ LPG ในราคาขายปลีกอยูที่ 18.13 บาท/ กิโลกรัม ซึ่งถูกที่สุดในกลุมผูที่ใชกาซ LPG ถูกกวาภาคขนสง และอุตสาหกรรม และเมื่อเปรียบเทียบตนทุนกาซ LPG ที่ภาค ครัวเรือนซื้อ LPG เพื่อนํามาใชเปนเชื้อเพลิง พบวาตนทุนอยูที่ 10.26 บาท/กิโลกรัม ซึ่งถูกกวาราคา LPG ที่ภาคปโตรเคมีซื้อ อยูท ี่ 24.82 บาท/กิโลกรัม เพือ่ นําไปเปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรม ปโตรเคมี จริงอยูท ปี่ จ จุบนั ประเทศไทยตองพึง่ พาการนําเขา LPG จาก ตางประเทศ แตภาครัฐบาลก็มีนโยบายในการจัดสรรทรัพยากร ดานพลังงานจากอาวไทยที่มีจํากัดใหมีความเหมาะสมและเกิด มูลคาสูงสุด โดยมุงเนนใหประชาชนมีคาใชจายดานพลังงานตํ่า ทีส่ ดุ ทัง้ จากการบริโภคกาซ LPG เปนเชือ้ เพลิงโดยตรง และโดย ออมจากการเปนผูบ ริโภคผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี เชน บรรจุภัณฑตาง ๆ เครื่องใชไฟฟา เปนตน เห็นไดวา การสงเสริมใหนําทรัพยากรดานพลังงานมาใช เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมีมีสวนชวยสรางมูลคาตอ เศรษฐกิจไทยสูงถึง 700,000 ลานบาท/ป เกิดการจางแรงงาน ไมตํ่ากวา 300,000 คน และสามารถทํารายไดจากการสงออก สูงสุด ติดอันดับ 3 ของประเทศ และสามารถจัดเก็บรายไดจาก อุตสาหกรรมป โตรเคมีในรูปของภาษีมูลคาเพิ่มที่คิดภาษีใน ผลิตภัณฑขั้นสุดทาย ซึ่งเมื่อคํานวณในรูปภาษีมูลคาเพิ่มแลว คิดเปนภาษีมูลคาเพิ่ม หรือ VAT (35%) ภาษีเงินไดนิติบุคคล และบุคคลธรรมดาที่เกิดจาก Value Chain ประมาณ 15,000 ลานบาท/ป หรือ 6 บาท/กิโลกรัม โหรพลังงานไมอาจเคาะโตะไดวา หากมีการปรับราคา LPG จะเปนผลดีกบั ใคร หรือเกิดผลเสียกับผูใด แตสงิ่ หนึง่ ทีเ่ ชือ่ อยูเสมอวา สิ่งใดที่เปนไปตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ หรือเปน ไปตามกลไก ยอมเปนสิ่งที่ดีกวา ก็เปรียบเสมือนการพายเรือ ทวนนํา้ หากยังมีแรงก็ยงั สามารถพายตอไปได แตครัน้ วันหนึง่ ที่แรงหมด เราก็จะไมสามารถทวนกระแสนํ้าไดอีกตอไป 19

Energy#52_p18-19_Pro3.indd 19

2/26/13 11:48 PM


Exclusive

รังสรรค อรัญมิตร

20

Energy#52_p20-25_Pro3.indd 20

2/27/13 3:39 PM


เปดใจ “สุรศักดิ์” และ “สุรชัย” ดูโอแหง Energy Reform

ผูนําดานระบบติดตั้งแกสในรถยนต หลั ง จากที่ ร าคานํ้ า มั น แพงประชาชนเริ่ ม หั น มาติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ แ ก ส ในรถยนต กั น มากขึ้ น ทําใหธรุ กิจนําเขาและจําหนายอุปกรณตดิ ตัง้ แกสเติบโตอยางตอเนือ่ งทุกป และสงผลใหมผี ปู ระกอบการ หลายรายเขามาลงทุนในธุรกิจนี้เพิ่มขึ้น แยงสวนแบงตลาดที่มีแนวโนมเติบโตอยางตอเนื่อง สําหรับแนวโนมการเติบโตของธุรกิจติดตั้งอุปกรณแกส ในรถยนต และแผนการดํ าเนินงานในอนาคตของ Energy Reform หนึ่งในผูนําระบบติดตั้งแกสในรถยนต จะเปนอยางไร นั้น คุณสุรศักดิ์ นิตติวัฒน และ คุณสุรชัย นิตติวัฒน ประธาน กรรมการ บริษัท เอนเนอรจี รีฟอรม จํากัด จะมาบอกเลาให ฟง “ผมบุกตลาดดวยตัวเองเมื่อ 7 ปที่แลว วันแรกที่ทําธุรกิจ ก็ศึกษาดวยตัวเองมาตลอด เดินทางไปดูงานที่อิตาลี ผมมอง วา ประเทศอิ ตาลีเ ป นผู เ ชี่ ย วชาญด านอุปกรณ ติ ด ตั้ง แก ส ใน รถยนตที่ดีแหงหนึ่งของโลก แตคนไทยยังไมรูจัก จึงไดตัดสิน ใจสรางแบรนดของตนเองจนขายดี ซึ่งก็เปนสวนหนึ่งที่ทําใหคน รูสึกวาอุปกรณแกสที่ดีตองเปนของอิตาลี”

ปจจุบันภาพรวมติดตั้งอุปกรณแกสในรถยนต เปนอยางไร

“สําหรับตลาดรวมการติดตั้งแกสรถยนตในประเทศไทย นั้น มีอัตราเติบโตอยางตอเนื่อง ถึงแมวาจะมีขาวปจจัยลบตาง ๆ ที่ ม ากดดั น ตลาด เชน ขาวการขึ้ นราคาแกส ทั้ง แอลพี จีแ ละ เอ็นจีวี ขาวการระเบิดของถังแกสแอลพีจบี อ ยครัง้ แตกลุม ผูบ ริโภค สวนหนึ่งยังเชื่อมั่นวาแกสใชแลวประหยัดจริง ชวยลดมลพิษ และปลอดภัย คาดวาตลาดรวมในปนี้ 2556 มีโอกาสเติบโตขึ้น เนื่องจากปริมาณรถที่เพิ่มขึ้นจากโครงการนโยบายรถคันแรก ของรัฐบาล ซึ่งกลุมลูกคาที่ชื้อรถอีโคคารมีโอกาสที่จะติดแกส ในอนาคต รถอีโคคารผูซื้อเนนเรื่องของการประหยัด เมื่อออก รถมาไดระยะหนึ่งตองนึกถึงแกส เพราะเปนกลุมที่มีรายไดนอย สวนใหญซื้อเงินผอน หากเจอปญหาราคานํ้ามันแพงก็ตอง ติดตั้งแกส ซึ่งเปนทางเลือกที่สําคัญของการประหยัดคาใชจาย สวนยอดการเติบโตในปนี้คาดวาจะเติบโตอยูที่ 15 – 20 % จาก มูลคาตลาด 3,000 ลานบาท เฉลีย่ เปนแกสแอลพีจี 80 % เอ็นจีวี 20 % สวนในปทผี่ า นมา 2555 โตขึน้ 12 % ซึง่ ไมหวือหวามากนัก”

การปรับราคาแอลพีจีมีผลกระทบอยางไร

“สําหรับการปรับขึ้นราคาแอลพีจีที่กระทรวงพลังงานได ประกาศไวนนั้ มองวาไมมผี ลกระทบเนือ่ งจากรัฐบาลมีนโยบายที่ ชัดเจนในการปรับราคาแอลพีจภี าคขนสงภายในปนี้ ซึง่ ราคาจะอยูท ี่ ประมาณ 13 - 14 บาทตอลิตร หรือ 24 บาทตอกิโลกรัม ยังถูกกวาราคานํา้ มันอยูม าก ซึง่ เปนตัวเลขทีค่ นขับรถยนตรบั ได ในขณะที่ราคานํ้ามันไตระดับขึ้นไปที่ 38 -39 บาทตอลิตร ดังนั้น ราคาแกส 13 - 14 บาท ยังไงก็จูงใจใหคนติดแกสอยูดี”

มองอยางไรกับแนวคิดที่รัฐบาลจะยกเลิกการใช แอลพีจีในรถยนต

“ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ แนวคิ ด นี้ เพราะความต อ งการติ ด ตั้ ง แอลพีจีไดรับความนิยมกวาเอ็นจีวี เนื่องจากขนาดถังเล็กกวา เหมาะกับรถยนตนั่งในเมือง ขณะที่เอ็นจีวีปจจุบันสถานีบริการ ยั ง ขาดแคลนมาก และไม ส ะดวกเพราะใช เ วลาเติ ม ก า ซนาน ทําใหตัวเลขรถยนตที่ใชแอลพีจีในปจจุบันมีมากถึง 1.4 ลาน คัน สวนรถเอ็นจีวีมีเพียง 3-4 แสนคันเทานั้น ถาหากยกเลิก การใชแอลพีจีในรถยนตอาจสงผลกระทบตอภาพรวมตลาด คงตองติดตามสถานการณอีกครั้งวาแนวโนมจะเปนอยางไร ส ว นในกรณี ที่ รั ฐ บาลมองว า แอลพี จี อั น ตรายกว า เอ็ น จี วี นั้ น ตองทําความเขาใจวารถยนตที่อันตรายที่สุดคือ รถยนต ใช นํ้ามัน เพราะนํ้ามันติดไฟงายที่สุด สวนแอลพีจีนั้นหากอันตราย คงไมแพรหลายในยุโรป อาทิ อังกฤษ อิตาลี เยอรมนี เพราะ มาตรฐานของประเทศเหลานั้นสูง ตางกับไทยที่มาตรฐานตํ่า ทําใหเกิดอุบัติเหตุบอย และแอลพีจียังเปนเชื้อเพลิงที่ไมกอให เกิดมลพิษเหมือนนํ้ามัน”

21

Energy#52_p20-25_Pro3.indd 21

2/27/13 3:39 PM


อนาคตมีแผนพัฒนาธุรกิจอยางไรบาง

เอนเนอรจี รีฟอรม เจาะกลุมตลาดใดบาง

“ปจจุบันเรามีศูนยติดตั้งแกสตนแบบอยูที่ลาดกระบัง เป น ศู น ย ต  น แบบมาตรฐานสํ า หรั บ รั บ งานฟ ด งานโปรเจ็ ค งานรถโชว รู ม รถใหม ป  า ยแดง และเป น ศู น ย ต  น แบบให กั บ distributor ของเอนเนอรจี รีฟอรม สําหรับศูนยบริการครบ วงจรแกสและนํ้ามันนั้นมีโครงการขยายไปทั่วประเทศภายในปนี้ ตั้งเปาไว 100 ศูนยในป 2556 และจะตั้งใหครบ 150 ศูนยภายใน ป 2557 โดยจะเปลี่ยนจากอูมาเปนศูนยมาตรฐานเดียวกัน ซึ่ง จะเป น การบริ ห ารแบบครบวงจร ไล ตั้ ง แต ม าตรฐานการรั บ บริการ การติดตั้งกอนการขาย และบริการหลังการขาย รวม ถึงพนักงานตองไดรับการอบรมจากเรา แลวตองมีการสอบให ไดคะแนนตามที่กําหนดไว ถึงจะไดบรรจุเปนพนักงาน ฉะนั้นทุก อยางจะเหมือนกันหมดทั่วประเทศ ภายใตคอนเซ็ปตเอนเนอรจี รีฟอรม เราจะปฏิวัติการใชพลังงานของคนไทยใหเทียบชั้นระดับ สากลใหไดภายใน 2 ป และจะเปนผูชํานาญเฉพาะทางดานแกส”

“ปจจุบันของเราเปน after market 100 % โดยแบงเปน 2 ประเภท คือ ติดในรถใหมของโชวรูม และติดในรถเกา ตอไป เราจะเนนการติดตั้งในรถใหมจากโชวรูมใหมากขึ้น สวนตลาด Original Equipment Manufacturing (OEM) หรื อ ที่ ติดตั้งในโรงงานนั้นยังไมมี แตในอนาคตเราจะขยายกลุมลูกคา ไปที่ OEM เพราะแบรนดเปนที่รูจัก และลูกคาก็ตองการติดแกส ดวยระบบ Energy Reform ออกมาจากโรงงานเลย ตรงนี้เปน ความตองการของผูบริโภค ขณะนี้อยูในระหวางสรางทีมงาน ทั้งทีมวิศวกรชาวไทยและชาวอิตาลี ซึ่งการดิว OEM นั้นตองมี certificate รับรอง ขั้นตอนคอนขางยุงยากหลายอยาง”

สวนแบงตลาดของ เอนเนอรจี รีฟอรม เปนอยางไร

“ส ว นแบ ง ตลาดเราไม ท ราบ เพราะเราไม มี ตั ว เลข ของกระทรวงอุ ต สาหกรรม ตั ว เลขอั น ดั บ หนึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ เอนเนอรจี รีฟอรมไดยินจากที่ลูกคาพูดมากกวา เพราะไมรู จะเอาเปอรเซ็นอะไรไปวัดมารเก็ตแชร ในเมือ่ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพานิชยไมมตี วั เลขเฉพาะทีเ่ ปนแกสรถยนตออกมา เราจึงเอาตัวเลขที่กรมขนสงทางบกตอเดือนดูวา รถจดทะเบียน เทาไหร แลวขายไปเทาไหร เพราะลูกคาตองจดทะเบียนแกส เรา จะดูวาเอนเนอรจี รีฟอรมเปนคนที่ลูกคาเลือกหรือเปลา สุดทาย ลูกคาเปนคนตัดสินใจวาแบรนดใดเปนเบอรหนึ่งของตลาด”

ผูส นใจเปนตัวแทนศูนยบริการครบวงจรแกส-นํา้ มัน ของเอนเนอรจี รีฟอรมตองมีคุณสมบัติอยางไร

“เราจะดูวา มีเงินทุนเทาไหร มีแบล็คลิสตกบั ธนาคารหรือไม และมีผลประกอบการที่ผานมาเปนอยางไร ซึ่งจะพิจารณาจาก ตรงนี้กอนถึงจะตอบรับ โดยขนาดของศูนยจะแบงเปน 3 ขนาด คือ S M L ขนาด S M ลงทุนตั้งแต 4 ลานบาทขึ้นไป สวนขนาด L ลงทุนตั้งแต 15 ลานบาทขึ้นไป สําหรับผูประกอบการรายเดิม ผูประกอบการรายใหม และคนที่มีวิสัยทัศนอยากจะลงทุนใน ธุรกิจติดตั้งอุปกรณแกสในรถยนตนั้น เราจะเปดโครงการนี้ ในอนาคต ปจจุบันมีผูเซ็นสัญญาเปนตัวแทนจําหนายกับเรา แลวหลายสิบราย”

สวนใหญอุปกรณติดแกสในรถยนตจะนําเขา จากอิตาลี

“สวนใหญ ผูประกอบการจะนําเขาอุปกรณติดตั้งแกส รถยนต แ บรนด อิ ต าลี แ ล ว นํ า มาจํ า หน า ยต อ แต เ อนเนอร จี รีฟอรมเปนคนไทยรายเดียวที่เปนเจาของแบรนด ซึ่งเปนผูผลิต และสรางแบรนดดวยตนเอง โดยจางโรงงานที่ประเทศอิตาลี ผลิต จริง ๆ ลูกคาไมรูหรอกวา เอนเนอรจี รีฟอรมเปนแบรนด ใคร เพิ่งมารูระยะหลัง ๆ นี่เอง วันนี้คนไทยเปนเจาของแบรนด แตจางฝรั่งผลิต เราคือเอนเนอรจี รีฟอรม เมดอินอิตาลี แลว พิสูจน ใหผูบริโภคเห็นวา อุปกรณแกสที่ไดมาตรฐานมีระบบ เซฟตี้อยางไร ผานการโฆษณาเพื่อทําใหผูบริโภคเกิดความ เชือ่ มัน่ อีกอยางหนึง่ คือใชดี จึงเกิดการบอกตอปากตอปาก เกิด เปนความเชื่อมั่นในแบรนดของเราที่เกิดขึ้นในใจของลูกคา” 22

Energy#52_p20-25_Pro3.indd 22

2/27/13 3:39 PM


Exclusive ปยะนุช มีเมือง

23

Energy#52_p20-25_Pro3.indd 23

2/27/13 3:39 PM


กฟผ. เสริมความมั่นคง ดานพลังงานของประเทศ พรอมใช

โรงไฟฟาพลังนํา้ รับมือสถานการณฉกุ เฉิน

จากเหตุการณโรงกาซของพมาปดซอมบํารุงตามวาระ ระหวางวันที่ 5-14 เมษายน 2556 ที่จะถึง นี้ สงผลใหพลังงานไฟฟาที่ใชภายในประเทศไทยตองไดรับผลกระทบตามไปดวย เนื่องจากพมาเปน แหลงพลังงานเชื้อเพลิงขนาดใหญที่ใชในการผลิตไฟฟาของประเทศไทย ในครั้งนี้ทาง กฟผ. ไดออก มายืนยันความพรอมในการรับมือกับปญหาไฟฟาที่อาจเกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาว

“นายกิตติ ตันเจริญ” ผูชวยผูวาการโรงไฟฟาพลังนํ้า การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) ให ข  อ มู ล ว า ไดเตรียมแผนการเดินเครือ่ งโรงไฟฟาพลังนํา้ ทีเ่ ขือ่ นวชิราลงกรณ ในภาคตะวั น ตก มาช ว ยเสริ ม ความมั่ น คงระบบไฟฟ า ของ ประเทศไวแลว

แผนการเดินเครือ่ งโรงไฟฟาพลังนํา้ ทีเ่ ขือ่ น วชิราลงกรณมีรายละเอียดอยางไรบาง

ในส ว นของการเดิ น เครื่ อ งโรงไฟฟา พลั ง นํ้ า ในประเทศ เพื่อรับมือกับสถานการณหยุดผลิตกาซธรรมชาติจากแหลง ยาดานา สาธารณรั ฐ แห ง สหภาพพม า ระหว า งวั น ที่ 5-14 เมษายน 2556 นั้น กฟผ. ไดหารือรวมกับกรมชลประทาน และ หนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยในที่ประชุมคณะอนุกรรมการ ติดตามและวิเคราะหแนวโนมสถานการณนํ้า มีขอสรุปใหเพิ่ม การระบายนํ้ า จากเขื่ อ นวชิ ร าลงกรณเพื่ อ เสริ ม ความมั่ น คง ของระบบกําลังไฟฟา ในชวงวันที่ 5 – 14 เมษายน 2556 จากแผนการระบายนํ้าเพื่อการเกษตรในฤดูแลงวันละ 29 ลาน ลูกบาศกเมตร เปนวันละ 35 ลานลูกบาศกเมตร หรือเพิม่ ขึน้ วันละ 6 ลานลูกบาศกเมตร จํานวน 10 วัน และเพื่อไมใหสงกระทบ กับแผนการระบายนํ้าในภาพรวมจะมีการปรับลดการระบายนํ้า จากเขื่อนวชิราลงกรณและเขื่อนศรีนครินทรตํ่ากวาแผนในชวง ที่มีความตองการใชนํ้าลดลง

ทางเขือ่ นวชิราลงกรณไดมกี ารเตรียมการอะไรไว แลวบาง

ป จ จุ บั น เขื่ อ นวชิ ร าลงกรณมี ป ริ ม าณนํ้ า อยู  ใ นเกณฑ ดี หรือมีอยูรอยละ 74 ของความจุอาง มีปริมาณนํ้าใชงานได 3,512 ลานลูกบาศกเมตร การปรับเพิ่มการระบายเพื่อเสริม ความมั่นคงของระบบกําลังไฟฟาชวงที่ขาดกาซธรรมชาติใน เดื อ นเมษายน จะไม ส  ง ผลกระทบต อ แผนการระบายนํ้ า และ ปริมาณนํ้าในอางฯ มากนัก เนื่องจากมีการปรับลดการระบาย นํ้าในชวงที่ไมจําเปนเพื่อเก็บนํ้าไวระบายในชวงเวลาดังกลาว ทั้งนี้ กฟผ. ไดแจงและประชาสัมพันธ ใหพื้นที่ที่อาจได รับผล กระทบจากการระบายนํ้า เชน รีสอรทและประชาชนที่ใชประโยชน บริเวณที่ลุมตํ่าทายนํ้า เตรียมขนยายสิ่งของที่อาจไดรับความ เสียหายจากการเพิ่มการระบายนํ้า โดยจะคอย ๆ ปรับเพิ่มเพื่อ ปองกันไมใหตลิ่งเกิดการพังทลายได

ที่มาของปญหาไฟฟาดับและวิธีการรับมือกับ ปญหาดังกลาวมีการดําเนินการอยางไรบาง

ปจจุบันประเทศไทยใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติในการผลิต ไฟฟาสูงเกือบรอยละ 70 ของการผลิตไฟฟา โดยแบงเปน แหลงกาซจากอาวไทยรอยละ 60 และแหลงกาซจากประเทศ พมารอยละ 40 จากกรณีที่จะมีการหยุดผลิตกาซธรรมชาติ จากแหลงยาดานาเพื่อบํารุงรักษาตามวาระ ระหวางวันที่ 5 – 14

24

Energy#52_p20-25_Pro3.indd 24

2/27/13 3:39 PM


เมษายน 2556 ซึ่งเปนชวงที่ ประเทศไทยมีค วามตอ งการใช ไฟฟาสูง เนื่องจากเปนชวงหนารอนคาดวาจะมีความตองการ ใชไฟฟาสูงสุดประมาณ 26,300 เมกะวัตต อาจสงผลใหกําลัง ผลิตสํารองของโรงไฟฟาที่เดินเครื่องในระบบลดกวามาตรฐาน ปกติ หากมีโรงไฟฟาขนาดใหญเกิดขัดของในชวงเวลาดังกลาว อาจสงผลใหเกิดไฟฟาดับได กฟผ. ไดเตรียมมาตรการรองรับเหตุการณดังกลาว ดวย การเดินเครื่องโรงไฟฟาพลังความรอนและโรงไฟฟาพลังความ รอนรวม โดยใชนํ้ามันเตาและนํ้ามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง แตดวย ขอจํากัดของโรงไฟฟาที่เดินเครื่องดวยนํ้ามันดีเซลไมสามารถ เดินเครื่องตอเนื่องไดเปนเวลานาน เพราะโรงไฟฟาถูกออกแบบ มาเพื่อใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก นอกจากนี้ กฟผ. ยัง ไดประสานงานขอความรวมมือไปยังโรงไฟฟาเอกชนขนาดเล็ก และโรงไฟฟาพลังนํ้าจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวใหชวยเดินเครื่องเต็มความสามารถดวย

มาทําความรูจ กั เขือ่ นวชิราลงกรณกันบาง

เขื่อนวชิราลงกรณ ตั้งอยูที่ อําเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี เปนเขื่อนหินถมแหงแรกของประเทศไทย เททับ หนาดวยคอนกรีตเสริมเหล็กสูงจากฐาน 92 เมตร สันเขื่อน กวาง 10 เมตร ยาว 1,019 เมตร มีความจุ 8,860 ลานลูกบาศก เมตร ปริมาณนํ้าไหลเขาอางเฉลี่ยปละ 5,369 ลานลูกบาศก เมตร บริเวณปลอยนํ้าไดติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เครื่อง ขนาดกําลังผลิต 100,000 กิโลวัตต รวมกําลังผลิต 300,000 กิโลวัตต ใหพลังงานไฟฟาเฉลี่ยปละ 760 ลานกิโลวัตตชั่วโมง เขื่อนวชิราลงกรณเปนเขื่อนเอนกประสงค สรางขึ้นโดย มีวัตถุประสงคหลักในการผลิตกระแสไฟฟา โดยสรางปดกั้น แมนํ้าแควนอยบริเวณ ตําบลทาขนุน อําเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี อยูหางจากตัวอําเภอไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 6 กิโลเมตร ตัวอางเก็บนํา้ อยูใ นทองที่ อําเภอทองผาภูมิ และอํ า เภอสั ง ขละบุ รี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี มี พื้ น ที่ รั บ นํ้ า ฝน 3,720 ตารางกิโลเมตร เริ่มกอสรางในเดือนมีนาคม 2522 แลว เสร็จในป 2527 เดิมมีชื่อวา “เขื่อนเขาแหลม” หลังสรางเสร็จ พระบาทสมเด็ จพระเจาอยูหั วฯ เสด็จพระราชดํ าเนิ นพรอม ดวย สมเด็จพระเทพรัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจาลูกยาเธอจุฬาภรณวลัยลักษณฯ ทรงประกอบ พิธีเปดเขื่อนวชิราลงกรณ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม 2529 และพระราชทานชื่อใหมวา “เขื่อนวชิราลงกรณ”

ประโยชนของเขือ่ นวชิราลงกรณนอกจากการผลิต พลังงานไฟฟาแลวมีอะไรบาง

ประโยชนของเขื่อนหลัก ๆ เลย คือ ผลิตพลังงานไฟฟา เฉลี่ยปละประมาณ 760 ลานกิโลวัตตชั่วโมง นอกจากนี้ในฤดูฝน ทั้ ง ในลํ า นํ้ า แควน อ ยและแควใหญ จ ะมี ป ริ ม าณนํ้ า มาก เมื่ อ ไหลมารวมกันจะทําใหเกิดนํ้าทวมลุมแมนํ้าแมกลองเปนประจํา หลังจากไดกอสรางเขื่อนศรีนครินทร และเขื่อนวชิราลงกรณ แลวเสร็จ อางเก็บนํ้าของทั้งสองเขื่อนชวยกักเก็บนํ้าและชวย บรรเทาอุทกภัยในพืน้ ทีด่ งั กลาวไดอยางถาวร เขือ่ นวชิราลงกรณ ได ก ลายเป น แหล ง นํ้ า ถาวรอี ก แห ง หนึ่ ง ของประเทศ ช ว ย เสริมระบบชลประทานในพื้นที่ของโครงการแมกลองใหญให สามารถทําการเพาะปลูกในฤดูแลงได สงผลใหเกษตรกรได ผลผลิตเพิ่มขึ้น และที่สําคัญอางเก็บนํ้าเหนือเขื่อนยังเหมาะ สําหรับเปนแหลงเพาะพันธุปลานํ้าจืดเปนอยางดี ชวยเพิ่มพูน รายไดใหแกประชาชนอีกทางหนึ่งดวย

นอกจากนี้ยังชวยรักษาคุณภาพของแมนํ้าแมกลอง ชวย ตอตานนํ้าเค็มและนํ้าเสียในฤดูแลง รวมทั้งนํ้าเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรมจากสองฝงแมกลองอีกสวนหนึ่ง ซึ่งการปลอย นํ้าจากเขื่อนเพิ่มขึ้นในฤดูแลงจะชวยขับไลนํ้าเสียและผลักดัน นํ้าเค็มออกไป ทําใหสภาพนํ้าในแมนํ้าแมกลองมีคุณภาพดีขึ้น ประโยชนประการสุดทายของเขื่อนวชิราลงกรณ คือ เปนแหลง ทองเที่ยวที่สําคัญและสวยงามอีกแหงหนึ่งของประเทศไทย ใน แตละปจะมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศแวะเวียน มาเยี่ยมชมจํานวนมาก นอกจากจะมี ป ระโยชน ใ นการผลิ ต กระแสไฟฟ า แล ว ยังมีประโยชนอื่น ๆ อีกมากมายทีเดียว ก็อยากจะใหคนไทย ทุกคนชวยกันรักษาสมบัติของชาติชิ้นนี้เอาไว ใหดี เพื่อใหลูก หลานของเรามีแหลงพลังงานไว ใช ในอนาคต และมีสถานที่ ทองเที่ยวที่สวยงามไวพักผอนไปอีกนานแสนนาน 25

Energy#52_p20-25_Pro3.indd 25

2/27/13 3:39 PM


Get Idea

วรรณวิภา ตนจาน

การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เราตองใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางฉลาด โดยใชใหนอยและใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และตองคํานึงถึงระยะเวลาในการใชใหยาวนาน โดยกอ ใหเกิดผลเสียตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด Get Idea ฉบับนี้จะพาไปรูจักเทคนิคเล็ก ๆ นอย ๆ ในการ ชวยลดโลกรอนจากบุคคลที่มีชื่อเสียงมาฝากกัน การอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ผานมา ผมจะทําเทาที่ทําได โดยเริ่มจากการที่ทํา อะไรงาย ๆ กอน อยางเชน การปดนํา้ ปดไฟทีไ่ มจาํ เปน โดยจะเปดเฉพาะเวลาทีเ่ รา จําเปนตองใชจริง ๆ อาจมีปดแอรบางแลวหันมาใชพัดลมแทน หรือเปดหนาตาง ใหอากาศถายเทเขามามากขึ้น ซึ่งเราตองทําใหเปนนิสัย อยางเวลาไปซื้อของเรา ควรเตรียมถุงผาไปดวย เพื่อชวยลดปริมาณขยะพลาสติกไปในตัวครับ

ท็อป-พิพัฒน อภิรักษธนากร

อยางแนวทางในการอนุรักษสิ่งแวดลอม จริงๆ แลวก็มีหลายวิธีนะคะ ตอนนีบ้ า นเรามีพลังงานจากแสงอาทิตยมาใชแลว อยางบานริตา เองก็ใชเหมือนกัน อยางเรื่องถุงขยะเองอะไรที่นํากลับมาใชประโยชนใหมได ก็ควรที่จะนํากลับมา รีไซเคิลเพื่อลดปริมาณขยะลง แลวริตาคิดวาเรื่องของการปลูกตนไมจะชวยให โลกของเราเย็นขึ้นไดคะ

ริตา-ศรีริตา เจนเซน

คิดวาการทีจ่ ะอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมนัน้ ตองเปนเรือ่ งของการใหความรวมมือ กันหมดทุกคน เพราะวาถาทําอยูค นเดียวคงไมสาํ เร็จ ทุกวันนีเ้ วลาไปซือ้ ของดิฉนั ก็ใชถงุ ผาตลอด และก็อยากรณรงคใหเลิกใชถงุ พลาสติก แตถา รณรงคแลวทุกคน ตองรวมมือรวมใจกันทําเพื่อชวยโลกของเรา

มา-อรนภา กฤษฎี

26

Energy#52_p26,28_Pro3.indd 26

2/27/13 12:20 AM


Energy#45_ad ESM_Pro3.ai

1

7/24/12

1:31 AM


การเขาสูส งั คมคารบอนตํา่ ของประเทศไทย เปนการชวยลดกาซเรือนกระจก รวมกั บ ทั่ วโลก หรื อ เป น การช วยโลกของเรานั่ น เอง แต ที่สําคั ญกว าคือ การลดการใชทรัพยากร หรือใชทรัพยากรอยางเหมาะสม ชวยลดการสูญเสีย หรือลดการใชทรัพยากรบางประเภท เชน นํา้ มัน โดยใชพลังงานตัวอืน่ ทดแทน อาทิ พลังงานนํา้ พลังงานลม พลังงานแสงแดด เพือ่ ชวยกันลดการปลอยกาซ เรือนกระจก จะทําใหโลกมีอุณหภูมิลดลง ประเทศไทยก็จะรักษาพันธุพืช สัตว และระบบนิเวศไวได เพื่อที่เราจะไดเปนแหลงอาหารของโลกได

ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย

เราควรใชพลังงานใหสมดุลกับธรรมชาติ เพราะฉะนั้นในการอนุรักษพลังงาน มนุษยโลกตองมุงไปสูพลังงานที่สะอาดมากขึ้น เชน พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย แตตอ งใชพลังงานเทาทีจ่ าํ เปน หรืออีกนัยหนึง่ คือเราตองมีการปลูกตนไมทดแทน เพือ่ โลกจะไดรมเย็นมากขึ้น

พิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนากลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย

ประเทศเรานาจะมีนวัตกรรมใหม ๆ ในการใชพลังงานแสงอาทิตย ทุกวันนี้มี การพัฒนาไปกาวหนึง่ แลวในเรือ่ งของการใชพลังงานหมุนเวียน รูจ กั ใชพลังงานจาก ธรรมชาติใหคุมคาและประหยัด โดยที่เราไมตองใชพลังงานอื่นที่กอใหเกิดมลพิษ และพลังงานหลาย ๆ อยางที่ใชแลวหมดไป เราควรหันมาใชพลังงานแสงอาทิตย เพราะมีอยูแลวตลอดเวลา เราก็ควรใชใหมันเปนประโยชน เพราะทุกวันนี้พลังงาน เปนสิ่งที่หายากขึ้นทุกที

โฬม-พัชฏะ นามปาน

28

Energy#52_p26,28_Pro3.indd 28

2/27/13 12:21 AM


Energy#52_p29_Pro3.ai

1

2/23/13

2:54 AM


Cover Story กองบรรณาธิการ

Green Product เทรนดโลก คําตอบของพลังงานที่ยั่งยืน

“Green Product” กลายเปนเทรนดฮิตระดับโลกในยุคปจจุบัน หลายสินคาในตลาดหันมา ใหความสําคัญและชูยุทธศาสตร “ลดโลกรอน” ผานการนําเสนอสินคาในรูปแบบที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมมากขึ้น เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืนในอนาคต เนื่องจากทุกวันนี้กระแสความหวงใย สุขภาพและใสใจสภาพแวดลอมไดรบั ความนิยมมาก และการทีจ่ ะเปน Green Product ไดนนั้ ไมใช จะมองกันแคตัวผลิตภัณฑที่ไมมีสารพิษที่เปนอันตรายตอผูบริโภคเทานั้น แตตองพิจารณากัน ตัง้ แตเริม่ ตน ไมวา จะเปนกระบวนการจัดหาวัตถุดบิ คุณภาพของวัตถุดบิ คุณภาพของซัพพลายเออร กระบวนการขนสง กระบวนการผลิต หีบหอ กระบวนการควบคุมคุณภาพสินคาขั้นสุดทาย จนกระทั่งสงถึงมือลูกคา เรียกวาตองพิจารณาตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้ากันเลยทีเดียว 30

Energy#52_p30-35_Pro3.indd 30

2/27/13 4:35 PM


ดร.เจริ ญ วิ ช ญ หาญแก ว อาจารย ป ระจํ า วิ ท ยาลั ย วิ ศ วกรรมศาสตร ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะนักวิชาการดานสิ่งแวดลอม ใหความ รูวา “Green product” เปนคําใหมมากสําหรับประเทศไทย เปน เรื่องของกระแสโลกในปจจุบัน ยอนกลับไปเมื่อสมัยหนึ่งการ พัฒนาของโลกเริ่มเปลี่ยนเขาสูยุคอุตสาหกรรม เมื่อมีคนเยอะ ขึ้น ก็ตองกินเยอะขึ้น ใชวัตถุดิบเยอะขึ้น สุดทายแลวตองเขาสู กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม สิง่ ทีต่ อ งใชเยอะก็คอื เรือ่ งของ พลังงาน พลังงานที่ใชเปนเชื้อเพลิงก็คือพลังงานฟอสซิล ไดแก ถานหิน และปโตรเลียม ซึง่ เปนพลังงานสกปรกเมือ่ เกิดการเผาไหม จะสรางมลพิษตาง ๆ มากมายใหกับโลก มนุษยเรามองวาถึง เวลาแลวที่ตองทําใหกระบวนการผลิตนั้นสะอาดขึ้น ผานการ ใชเทคโนโลยีสะอาดและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม นีจ่ งึ เปนทีม่ าของ Green Product นั่นเอง คําวา Green Product ไมไดหมายถึงแคผลิตภัณฑเปน ชิ้น ๆ เทานั้น แตยังหมายถึงการประหยัดพลังงานในการใช ชีวิตประจําวันดวย อาทิ ซื้อของกินใกล ๆ บาน เพื่อประหยัดคา ใชจายในการเดินทาง ตรงนี้ก็ถือเปน Green Product เชนกัน การที่คุณชวยโลกดวยการประหยัดพลังงานในชีวิตประจําวัน ไมใชสารเคมี ไมกอใหเกิดมลพิษ นี่ก็ถือเปน Green Product อยางหนึ่ง ทุก ๆ ภาคสวนสามารถทําไดเชนกัน เพื่อการพัฒนา อยางยั่งยืนในอนาคต ดาน ดร.กิตตินนั ท อันนานนท หัวหนาศูนยความเปนเลิศ เพือ่ พัฒนาแนวทางผลิตภัณฑเพือ่ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม (XCEP) ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ใหความรูเ ชนกันวา ทั่ ว โลกตื่ น ตั ว ในเรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น ผู  บ ริ โ ภคตระหนั ก ถึงความจําเปนเรงดวนในการชวยกันดูแลสิ่งแวดลอม แตมี เพียงสวนนอยเทานั้นที่ซื้อสินคา Green Product สวนใหญ ลูกคาสําคัญของสินคาเหลานี้จะเปนภาครัฐของหลายประเทศที่ สงเสริมผานนโยบายหลายดานทั้งทางตรงและทางออม สําหรับ นโยบายทางตรงจะเป น เรื่ อ งของการจั ด ซื้ อ จั ด จ า งสี เ ขี ย ว (Green Procurement) ซึ่งในประเทศไทยก็มีเชนกัน สวน นโยบายทางออมจะอยูใ นรูปของกฎระเบียบตาง ๆ ทีอ่ อกมาบังคับ ใชในหลายประเทศ ทําใหผูสงออกตองปรับตัวตาม จะเห็นไดวากระแสการตื่นตัวนี้ถูกผลักดันโดยอุปสงค (Demand) โดยภาคการผลิตจะปรับตัวเพื่อตอบสนองความ ตองการกึ่งบังคับที่ออกมาในรูปของกฎระเบียบตาง ๆ ผูบริโภค หรือภาคประชาชนรับรูแตยังไมไดเปนกําลังซื้อหลักในสินคา ทั่ ว โลกหั น มาให ค วามสํ า คั ญ กั บ ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มที่ เปลีย่ นแปลงมากขึน้ โดยในศตวรรษที่ 21 ทัว่ โลกใหความสําคัญ หันมารณรงคชวยกันลดภาวะโลกรอน และปองกันโลกแหงแลง เปนทะเลทราย สุดทายแลวเราจะเดินตอไปขางหนาอยางไร โดย ในกลุมประเทศอุตสาหกรรมหันไปใช Green Technology มากขึ้น เพื่อบรรเทาเบาบางมลพิษใหนอยลง กระบวนการผลิต ตองปลดปลอยกาซเรือนกระจกใหนอ ยลง สวนกลุม ประเทศอืน่ ๆ ที่ไมใชประเทศในกลุมอุตสาหกรรมก็ตองปรับตัวโดยหันไปใช ของที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งก็คือ Green Product นั่นเอง เนื่องจากมนุษยเริ่มหันมาตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดลอมโลกในปจจุบัน และหันมาใหความสนใจกับ ปญหาสิ่งแวดลอมมากขึ้น 31

Energy#52_p30-35_Pro3.indd 31

2/27/13 4:35 PM


โดยการสงเสริมที่ผานมาจะเปนการสงเสริมในภาคการ ผลิตเสียเป นสวนใหญ ซึ่งมีความจําเป นตองแขงขันในตลาด โลก และในหลายประเทศทั่วโลกไดมีการออกกฎ ขอบังคับ ที่ เกี่ยวของกับเรื่องของสิ่งแวดลอมมากมาย สงผลใหผูประกอบ การจําเปนตองปฏิบัติตามเพื่อใหสามารถแขงขันในตลาดโลก ได ที่ผานมาหนวยงานที่เกี่ยวของเนนการรวบรวมองคความรู จัดอบรม และสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ซึ่งสวนใหญผูประกอบการมักสนใจแกปญหาที่ปลาย เหตุ คื อ มีผ ลิต ภั ณ ฑอ ยู แ ลวแตอ ยากขอรับ การรับ รองหรือ ปรับปรุงเล็กนอยเพื่อใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซึ่งเรื่องนี้ควร จะทําการปรับปรุงตั้งแตการออกแบบและการพัฒนาสินคากอน ที่จะออกมาเปนผลิตภัณฑ โดยมุงเนนในทุกขั้นตอนของวัฏจักร ชีวิตผลิตภัณฑ (Life Cycle Thinking) ซึ่งเปนการประเมินใน ภาพรวมทั้งหมด นอกจากนีแ้ นวทางทีไ่ ทยกําลังดําเนินการอยู คือ การพัฒนา ระบบเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ซึ่งเปนกิจกรรมตอเนื่องจากการประกวด Eco Design Award รวมกับสภาอุตสาหกรรมฯ ในการรวบรวมและ จัดทํารายการสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ในสวนของภาคการ ผลิตไดสง เสริมใหผปู ระกอบการประยุกตใชแนวคิด “Life Cycle Thinking” และ “Eco Design” อยางถูกตองเหมาะสม ซึง่ จะ เปนการลดตนทุน ของเสีย และเพิม่ มูลคาของสินคา Green Product เหลานี้ หากผลักดันใหผูบริโภคซื้อสินคา Green Product มากขึ้น ก็จะชวยกระตุนใหผูผลิตหันมาสนใจ สิ่งแวดลอมมากขึ้นเชนกัน อยางไรก็ตามการที่ผูผลิตสนใจสิ่งแวดลอมมากขึ้น ไมได หมายความวาจะชวยทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น สวนใหญจะสนใจ เพียงการสรางภาพสินคาหรือบริการใหดเู ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม แตอาจยังไมไดมีการปรับปรุงและพัฒนาเทาที่ควร ซึ่งปญหา นี้เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เปนแนวโนมที่ตองการทําให ผลิตภัณฑของตนเปนผลิตภัณฑสีเขียว หรืออาจเรียกปญหานี้ วา “ยอมเขียว” (Green Wash) อีกกระแสหนึ่งที่อาจมีผลกระทบตอภาคอุตสาหกรรม คือ การกีดกันทางการคาที่ไมใชเรื่องของภาษี โดยใชประเด็นความ ปลอดภัยและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมเปนกลไกปองกันการนําเขา สินคาจากประเทศอื่นไมใหเขามาแขงขันกับประเทศของตน หาก มีการบังคับใชอยางเทาเทียมกันไมถือวาเปนการกีดกันทางการ คา ที่สําคัญยังชวยคุมครองความปลอดภัยของผูบริโภคและ สิ่งแวดลอมดวย

การมีขอบังคับจะชวยใหเกิดความจําเปนที่ตองพัฒนา ชวยกระตุน ใหเกิดการเริม่ ตน แตจะมีผลระยะสัน้ เทานัน้ เนือ่ งจาก ผูประกอบการจะทําใหเปนไปตามกฎเกณฑเทานั้น หรือในแงลบ อาจเพียงแคหาวิธี ใหผานเกณฑเทานั้น ที่ผานมาเรามุงเนนไปที่ กฏเกณฑสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งถูกมองวาเปนแหลง ปลอยมลพิษ แตความจริงแลวทุกภาคสวนตลอดวงจรชีวิตของ ผลิตภัณฑมีสวนทั้งหมด หากจะออกกฎเพิ่มเติมควรมองในทุก สวนไปพรอมกัน ซึ่งปญหาหลักในขณะนี้นาจะเปนเรื่องการจัด เก็บซากผลิตภัณฑกลับเขาสูระบบเพื่อใหบริหารจัดการไดอยาง เหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากกฎแลวควรจะตอง มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน การจัดเก็บ คัดแยก และ รีไซเคิล ใหมีความพรอมดวย

32

Energy#52_p30-35_Pro3.indd 32

2/27/13 4:35 PM


แตสิ่งที่สําคัญมากกวากฎระเบียบ คือ ความเขาใจและมุม มองของผูประกอบการและผูบริโภคในเรื่องนี้ สวนใหญจะมองวา เรื่องนี้เปนการเพิ่มตนทุน เนื่องจากเปนการมองที่จะแกปญหา ที่ปลายเหตุ คือ การจัดการมลพิษซึ่งเปนตนทุนที่สูง หากมอง ที่การแกปญหาที่ตนเหตุคือการออกแบบเพื่อไมใหมีปญหาเกิด ขึ้นก็จะชวยลดตนทุนไดอยางมากและทําไดงายกวา แตอาจตอง ใชเวลาในการปรับมุมมองและวิธีการใหเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการดีไซนที่มีความสําคัญในการ จุดประกาย Green Product โดย ดร.สิงห อินทรชูโต หัวหนา สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และในฐานะสถาปนิกและนักออกแบบ ทีใ่ ครหลายคนในวงการ กรีน ดีไซน (Green Design) คุน เคยกัน เปนอยางดี จากผลงานการออกแบบเฟอรนเิ จอรเพือ่ สิง่ แวดลอม ภายใตแบรนด “OSISU” และหนึ่งในผูที่คลุกคลีดานการจัดการ การออกแบบสิ่งแวดลอม เลาถึงแนวคิดหรือแรงบันดาลใจใน การออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอมใหฟงวา งานออกแบบของผมไม ไดเกิดขึ้นจากความตั้งใจตั้งแตแรก มันเกิดขึ้นในชวงที่ผมรับ งานการออกแบบอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยเนนใน เรื่องของการประหยัดพลังงานเปนประเด็นหลัก พบวาหลังจาก การกอสรางแลวเสร็จมีวัสดุเหลือใชทิ้งเปนจํานวนมาก ประเด็น 33

Energy#52_p30-35_Pro3.indd 33

2/27/13 4:35 PM


ของการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไมใชแคเรื่องของการประหยัด พลังงานเทานั้น แตนาจะหมายรวมถึงการใชวัสดุใหคุมคา และไม สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในภายหลัง นั่นคือจุดเริ่มตนในการ เก็บเศษวัสดุเหลือใชจากงานของตัวเองมาทําเปนผลิตภัณฑใชเอง กอน แลวก็ทดลองทํามาเรื่อย ๆ การสรางคุณคาของงานออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอมจะตอง มีความตอเนื่อง และมีความสมดุลทั้งในดานสังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม ซึ่งกุญแจแหงความสําเร็จของการออกแบบ นวัตกรรมอาคารเพื่อสิ่งแวดลอมประการหนึ่ง ก็คือ การพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณและความคิดเห็นในมุมมองตาง ๆ กัน กับสถาปนิก นักออกแบบ และผูมีสวนเกี่ยวของทั้งทีม เพื่อปรับ ทัศนคติและแนวคิดในการออกแบบใหมีความสอดคลองไปใน ทิศทางเดียวกัน จึงจะนําไปสูการออกแบบนวัตกรรมอาคารเพื่อ สิ่งแวดลอมที่เปนรูปธรรมปรากฏออกมาไดอยางชัดเจน

34

Energy#52_p30-35_Pro3.indd 34

2/27/13 4:35 PM


ป ญ หาอย า งหนึ่ ง ของการปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด ในการ ออกแบบที่ตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอม ก็คือ การมีสวนรวมระหวาง ภาคเอกชนกับภาควิชาการ โดยเฉพาะนักวิจัยจะมีแนวทางใน การทํางานที่แตกตางกัน ซึ่งตองอาศัยการปรับตัวซึ่งกันและกัน เนื่องจากความรวมมือระหวางภาคเอกชนและภาควิชาการเปน หัวจักรสําคัญที่นําไปสูการประยุกตใชไดจริง ทั้งการนําเศษวัสดุ กอสรางเหลือใชกลับมารีไซเคิล และการนําเศษวัสดุมาพัฒนา เปนผลิตภัณฑใหม ซึง่ สะทอนถึงความเปนไปไดในการปฏิบตั จิ ริง ดาน ท็อป-พิพฒ ั น อ ภิรกั ษธนากร ดาราและพิธกี ร เจาของ ราน Eco Shop เลาถึงสินคาภายในรานวา สินคาทีจ่ าํ หนายในราน ไดมาจาก 3 แหลง ดวยกัน คือ ทีแ่ รกจะมาจากตางประเทศซึง่ สวน ใหญจะไดมาจากการไปเทีย่ ว ไปถายทํารายการตาง ๆ โดยเฉพาะ ประเทศในแถบยุโรปหรือประเทศญีป่ นุ โดยจะรวบรวมซือ้ สินคาที่ มีดีไซนเพื่อสิ่งแวดลอมเขามาวางจําหนายภายในราน สวนแหลง ที่สอง ทางรานเปดกวางใหผูที่สนใจงานดีไซนเพื่อสิ่งแวดลอม ไมจํากัดอายุ เพศ และอาชีพ ขอเพียงแคมีความคิดสรางสรรค สามารถดีไซนสินคาเพื่อสิ่งแวดลอมได ก็สามารถนําผลงานมา วางจําหนายที่ราน Eco Shop ไดแลว สวนแหลงที่ 3 นั้น ผมจะ ดีไซนดวยตนเอง

สําหรับการคัดเลือกคุณสมบัติและคุณภาพของสินคา เบื้องตนกอนที่จะนํามาวางจําหนายภายในราน สินคาชิ้นนั้น ๆ ตองทําเพื่อสิ่งแวดลอมไมทางใดก็ทางหนึ่ง ไมไดคํานึงถึงเรื่อง วัตถุดบิ ทีน่ าํ มาใชเพียงอยางเดียว แตยงั ตองคํานึงถึงเรือ่ งของ การขนสง การลดมลพิษ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของดวย ที่สําคัญ สินคานั้นตองใชงานไดจริงดวย 35

Energy#52_p30-35_Pro3.indd 35

2/27/13 4:35 PM


Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา

เตรียมรับมือ…วิกฤตพลังงานขาดแคลน

เปนขาวใหญโตพอสมควร ถึงกรณีที่ประเทศไทยตอง เตรียมรับกับวิกฤตขาดแคลนพลังงานจากการหยุดสงกาซธรรมชาติ ของสหภาพพมาในเดือนเมษายน สงผลใหกา ซธรรมชาติทใี่ ชในสาย การผลิตไฟฟาขาดหายไป สิง่ ทีน่ า กังวลยิง่ กลาวจากเหตุการณดงั กลาวคือ ประเทศไทยพึง่ พาพลังงานจากภายนอกมากเกินไปหรือไม แลวหากมีเหตุการณทคี่ ลายกันแตมคี วามรุน แรงกวา เรา…ในฐานะ เจาของประเทศจะทําอยางไร นายพงษศกั ดิ์ รักตพงศไพศาล รัฐมนตรีวา การกระทรวง พลังงาน กลาวถึงการเตรียมการรับมือตอเหตุการณดงั กลาววา ปจจุบันกาซธรรมชาติที่ประเทศไทยนําเขามาจากสหภาพพมามี ทัง้ หมด 2 แหลง ไดแก แหลงยาดานา และแหลงเยตากุน ซึง่ ในภาวะ ปกติประเทศไทยจะรับกาซธรรมชาติจากสหภาพพมาทีม่ กี าํ ลังการ ผลิตประมาณ 1,100 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ทัง้ นี้ ชวงวันที่ 4-12 เมษายน 2556 แหลงยาดานาไดมกี าร หยุดซอมบํารุงทอสงกาซธรรมชาติ เพือ่ แกไขปญหาการทรุดตัว ของแทนกาซเผาทิ้งและแทนที่อยูอาศัย ซึ่งตองมีการติดตั้งใหม จึงสงผลใหประเทศไทยตองหยุดการรับกาซจากแหลงในสหภาพพมา ทัง้ หมด เนือ่ งจากคาความรอนจากแหลงยาดานาและแหลงเยตากุน มีความแตกตางกันมาก เพือ่ ไมใหเกิดผลกระทบจากการซอมบํารุงครัง้ นี้ กระทรวงพลังงาน จึงไดหารือกับหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ เตรียมความพรอมในการบริหาร จัดการดานเชือ้ เพลิง โดยมีขอ สรุปดังนี้ ดานกาซธรรมชาติ กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ เจรจากับ บริษทั Total ผูดําเนินการแหลงกาซยาดานา ใหเลื่อนการหยุดซอม บํารุงออกไป ซึ่งจะทําใหลดความเสี่ยงของระบบไฟฟาและลด การใชนํ้ามันเตาไดถึง 26 ลานลิตร และนํ้ามันดีเซล 15 ลานลิตร ทําใหลดคาใชจายเชื้อเพลิงลง และประสานกับผูรับสัมปทาน ของแหลงไพลินเหนือ กําลังการผลิตกาซฯ 210 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน และแหลงปลาทอง กําลังการผลิตกาซฯ 200 ลานลูกบาศก

ฟุตตอวัน ใหเลือ่ นการหยุดซอมบํารุงในชวงดังกลาวออกไปกอน จนกวาการซอมบํารุงแหลงกาซยาดานาเสร็จ ดานไฟฟา ไดสงั่ การใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เดินเครือ่ งผลิตโดยการปรับเปลีย่ นเชือ้ เพลิงโรงไฟฟา เปนนํา้ มัน ดีเซลในโรงไฟฟาทีต่ อ งเดินเครือ่ งในชวงการหยุดจายกาซฯ อาทิ กลุมโรงไฟฟาฝงตะวันตก, โรงไฟฟาราชบุรี, ราชบุรีเพาเวอร และโรงไฟฟาไตรเอนเนอรยี่ พรอมกับประสานกับผูป ระกอบการ ขนาดใหญที่ใชอัตราไฟฟาแบบ Interruptible Rate ใหทําการ ลดใชไฟฟาในชวงที่มีการหยุดซอมบํารุง ซึ่งจะทําใหลดความ ตองการใชไฟฟาไดถึง 56 เมกะวัตต ดาน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ใหสํารองนํ้ามันเตาและ นํา้ มันดีเซลใหกบั โรงไฟฟาเพือ่ ใชเปนเชือ้ เพลิงทดแทนในชวงการ หยุดจายกาซฯ และใหเตรียมการจัดการกาซ NGV โดยในเบือ้ งตน จะมีปริมาณกาซคางในทอ (Line Pack) 350 ลานลูกบาศกฟุต ซึ่งจะจายใหกับสถานีแม NGV ในจังหวัดราชบุรีไดโดยไมได รับผลกระทบ สําหรับสถานีอนื่ ๆ จะใชกา ซฯจากฝง ตะวันออกจาย ยอนเขามา ซึง่ สามารถใชกบั รถยนตทวั่ ไปได และสําหรับผลกระทบ ดาน LPG เนื่องจากมีการจัดสงกาซเขาโรงแยกกาซในระบบ ลดลงประมาณ 10,000 ตัน ไดมีแผนรองรับโดย 5,000 ตันจะ ใชในสวนของ Inventory ที่มีอยู และอีก 5,000 ตัน จะพิจารณา นําเขาเพิ่มเติม นอกจากนี้ จากคาดการณลวงหนาวันที่ 5 เมษายน 2556 จะเปนวันที่มีอุณหภูมิสูงสุดในรอบปและอาจมีการใช ไฟฟาสูงสุด จึงมีการจัดกิจกรรมควบคูในการรณรงคลดการ ใชไฟฟาในชวงเวลา 14.00-14.30 น. ณ ทําเนียบรัฐบาล และ วันที่ 13 มีนาคม.2556 กระทรวงพลังงาน พรอมหนวยงาน ที่เกี่ยวของ จะเตรียมการซอมแผนรองรับสภาวะวิกฤตดาน พลังงานของประเทศไทย เพื่อเปนแนวทางเตรียมความพรอม ใหแกประเทศหากเกิดภาวะฉุกเฉินดานพลังงานตอไป

36

Energy#52_p36_Pro3.indd 36

2/27/13 12:29 AM


Energy Legal นัษรุต เถื่อนทองคํา

สะพานเศรษฐกิจพลังงาน ศูนยกลางธุรกิจพลังงานภูมภิ าค

สะพานเศรษฐกิจพลังงาน (Energy Land Bridge) ศู น ย ก ลางธุ ร กิ จ พลั ง งานของภู มิ ภ าคใกล เ ป น ความจริ ง สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เตรียมสรุปผล การศึกษาภายหลังจากไดระดมความคิดเห็นจากหนวยงานที่ เกี่ยวของ ซึ่งนอกจากประโยชนดานเศรษฐกิจ การคา การเงิน การลงทุน ที่จะไดรับแลว ยังตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และความมั่นคงควบคูกันไปดวย นายนที ทับมณี รองผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปดเผยถึงโครงการ สะพานเศรษฐกิจพลังงานวา โครงการสะพานเศรษฐกิจพลังงาน (Energy Land Bridge) จัดทําขึ้น เพื่อเปนศูนยกลางธุรกิจ พลังงานของภูมิภาค โดยศึกษาความเปนไปไดของการเชื่อมโยง ฝง ทะเลอันดามันและฝง ทะเลอาวไทย เพื่อสงเสริมและผลักดันให อุตสาหกรรมพลังงานซึ่งถือเปนอุตสาหกรรมเชิงยุทธศาสตร ไดเกิดการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน และพัฒนา ใหเปนศูนยกลางธุรกิจพลังงานของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตามนโยบายรัฐบาล ป จ จุ บั น การขนส ง นํ้ า มั น ทางเรื อ จากประเทศกลุ  ม ตะวันออกกลางมายังภาคตะวันออกของไทยและไปยังประเทศ ในกลุมเอเชียตะวันออก เชน ประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุน รวมทั้ง ภูมภิ าคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จําเปนตองผานชองแคบมะละกา ซึ่ ง ไม ไ ด มี เ ฉพาะการขนส ง นํ้ า มั น เพี ย งอย า งเดี ย ว แต ยั ง มี เรือขนสงสินคาจํานวน 1 ใน 4 ของสินคาที่ขายทั่วโลกตอง

ผานชองแคบนี้ จากการคาดการณของการขนสงผานชองแคบมะละกา จะเต็มศักยภาพที่สามารถรองรับไดในป 2567 ภาครัฐจึงเล็งเห็น ถึงความไดเปรียบในดานภูมศิ าสตรของไทยวานาจะเปนทางเลือก ในการขนสงนํ้ามันไดอีกชองทางหนึ่ง การจัดตั้งสะพานเศรษฐกิจพลังงาน นอกจากจะชวยลด ปญหาความหนาแนนของการขนสงผานชองแคบมะละกา และลด ระยะเวลาการขนสงนํา้ มันไดแลว ยังเปนการสรางความมัน่ คงดาน พลังงานและการสํารองนํา้ มันเชิงยุทธศาสตรของประเทศ และยัง ทําใหประเทศไทยกลายเปนศูนยกลางพลังงานในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตอีกดวย จากการศึกษาเบื้องตนมีเสนทางในการพิจารณารวม 3 เสนทาง คือ เสนทางทวาย-กาญจนบุรี-ทาเรือแหลมฉบัง, เสนทางกระบี่-ขนอม (ทับละมุ-สิชล) และเสนทางปากบาราสงขลา โดยในการพิจารณาเลือกเสนทางจะคํานึงถึงประโยชนที่ ประเทศไทยจะไดรับทั้งในมิติเชิงเศรษฐกิจ การคา การเงิน การลงทุน รวมทั้งผลกระทบในมิติเชิงสิ่งแวดลอม สังคม และ ความมั่นคงไปพรอม ๆ กัน ทั้งนี้ ผลการศึกษาการจัดตั้งสะพานเศรษฐกิจพลังงาน อยูในระหวางกระบวนการรับฟงความคิดเห็นจากหนวยงานที่ เกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อนําความเห็นเหลานั้นไป ปรับปรุงผลการศึกษาใหสามารถนําไปสูก ารปฏิบตั ไิ ดจริง คาด วาผลการศึกษาทีเ่ ปนรายงานฉบับสมบูรณจะแลวเสร็จในเร็วๆ นี้ หลังจากนัน้ จะไดนาํ เสนอรัฐบาลเพือ่ พิจารณาตอไป 37

Energy#52_p37_Pro3.indd 37

2/27/13 12:29 AM


Energy Loan วรรณวิภา ตนจาน

SME Bank จัดหนักโครงการสินเชือ่ เพือ่ พัฒนาผลิตภาพการผลิต ปลอดเงินตนปแรก

สําหรับประเทศไทยแลว ถามองไปขางหนาการสนับสนุนเงินลงทุนใหแกธรุ กิจขนาดกลางและขนาดยอม ถื อ เป น การเสริ ม สร า งความแข็ ง แกร ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ การเจริ ญ เติ บ โตของภาคธุ ร กิ จ เพื่อใหเศรษฐกิจไทยเติบโตอยางมีประสิทธิภาพกาวขามวิกฤติตาง ๆ ไดในอนาคต

ธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม แหงประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก) แนะนําสินเชื่อเดน โครงการ สินเชื่อเพื่อการพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) โดยแบงเปน 2 ประเภท ประเภทแรก คือ “สินเชื่อเพื่อพัฒนาเครื่องจักร” (Machine & Automation Loan) เพื่อสงเสริมและชวยเหลือภาคการผลิตในการพัฒนา ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร โดยมีระยะเวลาผอนชําระ นานสูงสุด 7 ป สวนประเภทที่ 2 คือ “สินเชื่อเพื่อพัฒนากระบวนการ ทํางานของภาคธุรกิจ” ทั้งดานการลงทุน ขยายการปรับปรุง หรือพัฒนากิจการดานตาง ๆ อาทิ ดานบุคลากร แรงงาน โลจิสติกส ทุนหมุนเวียน และการบริหารสตอกสินคา โดยมีระยะเวลา ผอนชําระนานสูงสุด 5 ป ซึ่งสินเชื่อทั้ง 2 ประเภท ผูประกอบการ สามารถกูไดไมเกินรายละ 5 ลานบาท สําหรับคุณสมบัติของผูรวมโครงการนั้น นายสมศักดิ์ ไชยเดช รองกรรมการผูจ ดั การ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก) เปดเผยวา ตองเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดยอมในภาคการผลิตที่มี โรงงานประกอบกิจการถูกตองตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2535

มีการจางงานไมเกิน 50 คน สินทรัพยถาวร (ไมรวมทีด่ นิ ) ไมเกิน 50 ลานบาท โดยผูป ระกอบการทีย่ นื่ ขอสินเชือ่ นัน้ ตองใชหนังสือ คํ้าประกันของบรรษัทสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เปนหลักประกัน โดยไมตอ งเสียคาธรรมเนียมการคํา้ ประกันในปแรก ด า น นายพิ ชั ย ชุ ณ หวชิ ร ประธานกรรมการบริ ห าร ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก) กลาวเพิ่มเติมวา เอสเอ็มอีแบงก ไดเตรียม วงเงิน 20,000 ลานบาท ในการปลอยกูสินเชื่อ “โครงการสิน เชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต” ในอัตราดอกเบี้ยพิเศษ โดยอัตราดอกเบีย้ ปที่ 1 ถึงปที่ 2 MLR-3% ตอป ปที่ 3 เปนตนไป MLR ตอป โดยในปที่ 1 จายเฉพาะดอกเบี้ยไมตองจายเงินตน เพือ่ ชวยเหลือผูป ระกอบการภาคอุตสาหกรรมทัง้ ภาคการผลิตและ ภาคธุรกิจในการปรับปรุงและเปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักร เพือ่ นําไปพัฒนา กระบวนการทํางานในอนาคต เอสเอ็มอีแบงก เปนอีกหนึง่ สถาบันการเงินของรัฐ ทีม่ งุ ให การสนับสนุนผูป ระกอบการ SMEs ทัง้ ดานการเขาถึงแหลงทุน และดานพัฒนาศักยภาพผูประกอบการใหครอบคลุมทุกดาน เพื่ อ ช ว ยให ธุ ร กิ จ สามารถดํ า เนิ น งานต อ ไปได แ ละเติ บ โต อยางยั่งยืนตอไป

38

Energy#52_p38_Pro3.indd 38

2/23/13 2:50 AM


Energy#52_p39_Pro3.ai

1

2/23/13

2:44 AM

Back to the Basic

ดัชนีการใชพลังงาน SEC เครื่องมือตัวเกงในการจัดการพลังงาน ผศ.พศวีร ศรีโหมด : หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

การนำตั การนำตตวั เลขข เลขขอ มูมลู การใช การใชพ  ลัลงั งาน งาน ไไมมว า จจะเป ะเปน ขขอ มมูลู คคา ไไฟฟ ฟฟา คคา เเชืชอ้ื เเพลิ พลิงิ เเพี พียี งอยางเดียวมาพิจารณาว ารณาววา เเราใช ราใชพ  ลลังั งงานไปอย านไปอยา งงมีมีประสิทธิภาพหรือไมนน้ั แข็ข็งแแหหงหนึง่ เก็บขอมูลคาไฟฟามาพิจารณาพบวาใในเดื อาจเปนการวิเคคราะห ราะหที่ไมมถูกตตองงนะ นะ ยยกตั กตัวออยยางงเช เชน โโรงงานผลิ รงงานผลิตนน้​้ำแข นเดือนนกุกุมภภาพั าพันธธมีคาไไฟฟ ฟฟาสูงขึ้น 10% เมือ่ เท มกราคมทผ่ี า นนมา มา นนัน้ั กก็ไ็ มมไ ดดห มมายความว ายความวา ใในเดื นเดอื นนกุกมุ ภภาพั าพันธ โรงงานมีประสิทธิภาพในการใชพลังงานไฟฟาทีต่ ำ่ จน นทำใหค า ไไฟฟ ฟฟา สสูงู ขขึน้ึ 110% 0% แแตตอาจจะ เทีทยี บบกักบั เเดืดอื นนมกราคมที จนทำให ตตอ งงมีมกี าารร พ รณาขอ มมูลู เเพิ พม่ิ เเติตมิ ววา ใในเดื นเดอื นนกุกมุ ภภาพั าพนั ธธม กี าารขยายกำลั รขยายกำลังการผลิตน้ำแข็งมากกวาเดือนมกราคมหรือไม เพราะปริมาณ ณผลผลติ มมีผี ลลโดยตรงกั โดยตรงกบั ปปริรมิ าาณ ณ พิจิ าารณาข าณผลผลิ กการใช ารใชพลลั​ังงงานภายในโรงงานอย านภายในโรงงานอยางงแน แนนออนน หหรืรือกลาวไดวาตองนำทั้งขอมูลปริมาณการใชไฟฟามาเปรียบเทียบกับขอมูลปริมาณการ รผลิ​ิตมมาวิ าววิเคคราะห ราะหจึงจจะถู ะถูกตตอง าณการผลิ Energy ดดังั นนัน้ั เเครื ครอ่ื งงมืมอื ใในการวิ นการวเิ คคราะห ราะหป รระสิ ะสทิ ธิธภิ าพในการใช าพในการใชพลังงานตองพิจารณาตัวเลขทีเ่ รียกวาคาดัชนีการใชพลังงาน หรือ SEC (Specific Energ gy Consumption) Consuumption) องอาคารในเดื สสามารถหาได ามารถหาไดโ ดดยนำค ยนำคา กการใช ารใชพ  ลลังั งงานรวมในช านรวมในชวงเวลาทีส่ นใจ ซึง่ มักจะคิดรวมในหนึง่ เดือน หารดวยผลผลิต (กรณีโรงงาน) หรือการใชประโยชนของอาคารในเ เดอื นนนันน้ั ๆ เเชชน ใในอาคารโรงพยาบาลก็ นอาคารโรงพยาบาลก็เปปนปริมาณผูปวย หรืออาคารโรงแรมก็คือปริมาณการเปดใชหองพักเปนตน แสดงเปนสมการดังตอไปนี้

SEC =

ปริมาณาณการใชพลังงาน ปริมาณผลผลิตหรือการใชประโยชนของอาคาร

การคำนวณดัชนีการใชพลังงานสามารถคำนวณในรูปของพลังงานไฟฟา (kWh) หรือ ในรูปของพลังงานความรอน (MJ) หรือการใชพลังงานรวม ขึน้ อยูก บั ประเภทของพลังงานทีจ่ ะนำเอามาคิดหรือตองการวิเคราะหขอ มูลในรูปใด ตัวอยางการคิดคา SEC นัน้ งายมากครับ ยกตัวอยางเชน โรงงานแหงหนึง่ มีการใชพลังงาน ไฟฟาในเดือนหนึ่ง 1,000,000 หนวย (kWh) และผลิตสินคาไดรวม 1,000,000 kg สามารถคำนวณหาคา SEC ในรูปแบบพลังงานไฟฟาไดคา

SEC =

1,000,000 kWh 1,000,000 kg

= 1 kWh/kg

ก็จะแสดงถึงตนทุนของการผลิตสินคา โดยโรงงานนีผ้ ลิตสินคา 1 kg จะตองใชตน ทุนคาพลังงาน 1 kWh นัน้ เองครับ

เราใชประโยชนอะไรจากคา SEC

ถาเรามีการเก็บขอมูลคา SEC ในแตละเดือน และเขียนกราฟไวดงั รูปที่ 1 ขอมูลของเดือนใหมทเ่ี ขามาจะทำใหรวู า เราใชพลังงานมีประสิทธิภาพดีขน้ึ หรือแยลง โดยถา SEC ในเดือนใดอยูส งู กวาเสนเฉลีย่ ทีเ่ คยทำได ก็แสดงวาประสิทธิภาพการใชพลังงานแยลง ก็จะตองอธิบายหรือหาสาเหตุมาใหไดวา ความสิน้ เปลืองทีเ่ กิดขึน้ เกิดจากตรงไหน โดยในองคกรขนาดใหญหลายแหงทีใ่ หความสำคัญกับการประหยัดพลังงานจะกำหนดใหแตละหนวยผลิตยอยหรือแตละแผนกมีเครือ่ งวัดการใชพลังงานของ ตัวเองเพือ่ เก็บขอมูลและนำมาคำนวณคา SEC ของหนวยงานตัวเองในแตละเดือน คือมีการเก็บขอมูล SEC กันทุกระดับ ตัง้ แตระดับแผนก จนถึง SEC รวมขององคกร ทุกแผนกทุกหนวยงานจะตองรายงานคา SEC ของตัวเองอยางสม่ำเสมอทุกเดือน โดยในเดือนที่ SEC ของบริษทั โดงขึน้ มาก็จะดูรวู า เกิดจากจุดไหน ซึง่ จะไดทำใหงา ยตอการ หาสาเหตุและแกไขปญหา รวมไปถึงการตัง้ เปาหมายเปนนโยบายพลังงานขององคกรโดยพิจารณาขอมูลคาเฉลีย่ SEC. ในอดีตมาเปนตัวเลข KPI เพือ่ ชีว้ ดั ความสำเร็จ ของกิจกรรมการประหยัดพลังงานในองคกรไดอกี ดวย

รูปที่ 1 ตารางการเก็บขอมูลและการวิเคราะหคา SEC ประจำเดือน


Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร

ฮอนดาฯ มุงลดพลังงาน… สรางสรรคผลิตภัณฑที่เปนมิตร

ตอสิ่งแวดลอม

40

Energy#52_p40-41_Pro3.indd 40

2/23/13 2:39 AM


การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมนัน้ หากดําเนินการอยางจริงจัง และมีการคิดคนพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ในการหาแหลงพลังงานมาทดแทน พลังงานทีส่ นิ้ เปลือง หรือใชวตั ถุดบิ ตาง ๆ ใหเกิดประโยชนสงู สุด รวมถึง การใชเทคโนโลยีประหยัดพลังงานจะชวยลดตนทุนในกระบวนการผลิต และลดปริมาณการปลอยของเสียหรือกาซเรือนกระจกอันสงผลกระทบตอ สิง่ แวดลอมและสังคมรอบขางลงไดมาก ซึง่ การดําเนินการอนุรกั ษพลังงาน และสิง่ แวดลอมในแตละองคกรนัน้ ตางก็มนี โยบายทีแ่ ตกตางกันออกไป กิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดลอมและสังคม บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด เปนอีก บริษัทหนึ่งที่มีนโยบายดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่ ง ในแต ล ะโรงงานของฮอนดา ฯ ต า งเน น ในเรื่ อ งการพึ่ ง พา ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมถึงการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาชวย ในการประหยัดพลังงาน ไมวา จะเปนโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม โรจนะทีจ่ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา หรือโรงงานทีก่ าํ ลังจะสรางใหม ในนิคมอุตสาหกรรมที่จังหวัดปราจีนบุรี โดยโรงงานฮอนดาในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัด พระนครศรีอยุธยาไดดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอมตามนโยบายของบริษทั แม และไดคดิ คนแนวทางใหม ๆ เพื่อพัฒนาดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยบริษัท ผูผลิตและจําหนายรถยนตฮอนดาไดกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน เพือ่ ลดการใชพลังงาน และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ในทุกกระบวนการผลิตเพื่อสรางความยั่งยืนคืนสูสังคม จากการประเมินขอมูลสถิติวงจรผลิตภัณฑ LCA ของ ฮอนดาพบวา 83% ของตัวเลขการปลอย CO2 ที่เกิดจากการ ใชงานผลิตภัณฑ และจากปจจัยดังกลาวฮอนดาไดวางเปาหมาย เพื่อบรรเทาปญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและ พลังงานดวยการลดการปลอย CO2 จากผลิตภัณฑใหไดมาก ที่สุด สูการกําหนดวิสัยทัศนดานสิ่งแวดลอมของฮอนดาทั่วโลก ภายใตคอนเซ็ปต “Blue Skies for Our Children” โดยมุง มัน่ ในการลดการปลอย CO2 ใหไดตามเปาหมาย 30% ภายในป 2563 จากผลิตภัณฑของฮอนดาทุกชนิด ไดแก รถยนต รถจั ก รยานยนต และเครื่ อ งยนต อ เนกประสงค ภายในป พ.ศ. 2563 จากเปาหมายทีเ่ ปรียบเทียบกับป พ.ศ. 2543 รวมถึงการ ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากกระบวนการผลิตของทุก โรงงาน และในทุกกิจกรรมการดําเนินงานของฮอนดาอีกดวยครับ ซึ่งกระบวนการเชื่อมตัวถัง การพนสี และการประกอบ รถยนต ใ ห มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด นั้ น เป น อี ก แนวทางหนึ่ ง ของ กระบวนการผลิต จึงทําใหโรงงานผลิตรถยนตแหงนี้เปนโรงงาน ที่มีความกาวหนาในการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ยังไดดําเนินการอนุรักษพลังงานหลายเรื่องดวยกัน ตัง้ แตวธิ กี ารงายๆ ไปจนถึงการติดตัง้ ระบบการประหยัดพลังงาน และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาชวยลดใชพลังงาน เชน การเปลี่ยน หลอดไฟแบบโคมแสงจั น ทร ม าเป น หลอดประหยั ด พลั ง งาน ฟลูออเรสเซนต T5 การปรับเปลีย่ นมาใชบลั ลาสตแบบอิเล็กทรอนิกส (Electronic Ballast) ซึง่ ชวยลดการสูญเสียพลังงานไฟฟาได ถึงรอยละ 10 รวมถึงการปรับหลังคาบางสวนในสายการผลิตเปน แบบโปรงแสงเพือ่ นําแสงธรรมชาติเขามาชดเชยแสงสวางภาย และ การลดจํานวนหลอดไฟในพืน้ ทีท่ มี่ แี สงสวางเกิดความจําเปนพรอม ติดตัง้ อุปกรณการสะทอนและกระจายแสงเพือ่ การใชพลังงานอยาง ประหยัดซึง่ ชวยในการประหยัดไฟชวงกลางวันไดเปนอยางดี 41

Energy#52_p40-41_Pro3.indd 41

2/23/13 2:39 AM


ผลิตรถประหยัดพลังงานและกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดลอม

การใชพลังงานทางเลือก

การนําพลังงานทางเลือกมาใชเพือ่ ชวยใหเกิดการประหยัด พลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมวา จะเปนการใชกา ซธรรมชาติ ควบคูก บั การใชพลังงานไฟฟาในสายงานผลิต เพือ่ ชวยลดการใช นํา้ มันเตาและลดไอเสียทีเ่ กิดจากการเผาไหมในขัน้ ตอนการผลิต ติดตัง้ ระบบโซลาเซลล เพือ่ ผลิตไฟฟาปอนการใชงานภายในอาคาร ของสํานักงานบางสวนซึง่ ชวยลดลดการพึง่ พานํา้ มันและไฟฟาได โดยฮอนดาเขามีนโยบายการติดตัง้ โซลาเซลลทกุ โรงงาน นอกจาก นีย้ งั มีนโยบายลดการใชนาํ้ ในทุกขัน้ ตอนการผลิต โดยการบําบัด นํา้ เสียแลวนําหมุนเวียนกลับมาใชใหมในกระบวนการผลิต เพือ่ การ ปลอยนํา้ สูแ หลงพักนํา้ ของศูนยอตุ สาหกรรมและชุมชนใกลเคียง ใหนอยที่สุด และชวยใหประหยัดนํ้าไดถึง 180 ลูกบาศกเมตร การปรับปรุงกอกนํา้ ทีใ่ ชในโรงงานใหประหยัดนํา้ ดวยวิธงี า ย ๆ โดยใส จุกยางยูรีเทนในทอเพื่อชะลอการไหลของนํ้าซึ่งกอกประหยัด นํ้านี้ชวยลดการใชนํ้าไดกวา 88% จัดการของเสียและลดกาก อุตสาหกรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ลดการฝงกลบใหเหลือนอยทีส่ ดุ ผูผ ลิตและจําหนายรถยนตฮอนดาไดมกี ารคัดแยกขยะทีจ่ ะสงออก ไปทําลายภายนอกโรงงานใหเหลือนอยทีส่ ดุ เพือ่ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมรอบขาง โดยการคัดแยกขยะออกเปน 3 ประเภท โดยแยกถัง จัดเก็บออกเปนสีตา ง ๆ สีเขียว ใชเก็บเศษอาหารวัสดุทยี่ อ ยสลายได สีเหลือง ใชเก็บขยะรีไซเคิล เชน หนังสือพิมพ ขวดพลาสติก กระปอง เครือ่ งดืม่ สีแดง ใชเก็บขยะพิษ เชน ภาชนะบรรจุสารเคมี กระปอง สเปรยอดั อากาศ เปนตน พรอมกันนีย้ งั ไดเลือกใชกลองกระดาษบรรจุภณ ั ฑทเี่ ปนมิตร ตอสิง่ แวดลอม โดยใชกลองทีม่ สี ว นผสมของเยือ่ กระดาษรีไซเคิล 100% ซึง่ สามารถชวยลดการตัดตนไมกวา 180 ตนตอป และทีน่ ยี่ งั ได ใชประโยชนจากเศษขีเ้ ถาในการเผาขยะมาผสมกับปูนซีเมนตเพือ่ นํา มาทําเปนอิฐบล็อกสําหรับปูพนื้ ทางเดินภายใน และภายนอกโรงงาน ชวยทําใหไมมขี องเสียทีเ่ กิดจากการเผาขยะสงออกไปกําจัดภายนอก

เพื่ อ ให บ รรลุ เ ป า หมายด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิง่ แวดลอม ฮอนดายังไดคดิ คนนวัตกรรมพลังงานสะอาด และการ ใชพลังงานทางเลือกเปนหัวใจสําคัญในการกาวสูเ ปาหมายในการ สรางอนาคตที่ยั่งยืน ที่ผานมาฮอนดาไดคิดคนเทคโนโลยีหลาก หลายรูปแบบ อาทิ ยนตรกรรมที่ขับเคลื่อนดวยกาซธรรมชาติ ไฮบริด และพลังงานจาก Fuel Cell แบตเตอรีอ่ เิ ล็กทริก และยานยนต พลั ง งานไฮบริ ด แบบปลั๊ ก อิ น รวมถึ ง การคิ ด ค น นวั ต กรรม พลังงานรูปแบบใหม ๆ และเทคโนโลยีใหม ๆ ไดแก อุปกรณ พลังงานแสงอาทิตยของฮอนดา เปนตน ทัง้ นีก้ จิ กรรมเพือ่ สิง่ แวดลอมและสังคมนัน้ เปนแนวทางหนึง่ ทีช่ ว ยเติมเต็มในการเดินตามเปาหมายของฮอนดา โดยกลุม บริษทั ฮอนดาในประเทศไทยไดกอตั้งมูลนิธิฮอนดาประเทศไทยขึ้นมา ดําเนินนโยบายภายใตพันธกิจหลักดานการสงเสริมการศึกษา การสงเสริมและอนุรักษวัฒนธรรมไทย และการชวยเหลือสังคม ในดานตาง ๆ ลาสุดไดดําเนินโครงการโรงเรียนสรางสรรค สิ่งแวดลอม เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 7 (พ.ศ. 2555-2556) “ตามรอยเทาพอกับฮอนดา” อยางไรก็ตามเพื่อรองรับกระบวนการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น นั้นฮอนดามีแผนสรางโรงงานแหงใหมที่จังหวัดปราจีนบุรีโดย เตรียมงบประมาณไวเบือ้ งตน 17,150 ลานบาท ครอบคลุมเนือ้ ที่ กวา 1,600 ไร เปนพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงานและอาคารโรงงาน 134 ไร มีกําลังการผลิต 120,000 คันตอป โดยกําหนดเปดเดินสายการ ผลิตในป 2558 เรียกไดวา เปนโรงงานที่มเี ทคโนโลยีทนั สมัยที่สดุ ในภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย ทั้งดานการผลิตและการอนุรักษ พลังงาน โดยโรงงานแหงใหมจะนํานวัตกรรมการผลิตที่ลํ้าสมัย จากโรงงานผลิตรถยนตฮอนดาทีโ่ ยริอิ ประเทศญีป่ นุ มาประยุกต ใช ซึ่งจะชวยลดเวลาในกระบวนการผลิตแตละขั้นตอนและเปน มิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น

รถประหยัดพลังงาน นวัตกรรมลดโลกรอน

โซลาเซลลที่ใช ในการผลิตไฟฟา

การดําเนินการดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม ของฮอนดาไมไดหยุดนิง่ เพียงแคนี้ แตยงั พัฒนาตอยอดอยาง ตอเนื่องมุงมั่นพัฒนาและสรางสรรคองคกรใหสอดคลองกับ วิสยั ทัศนในการเปนองคกรสีเขียว ควบคูไ ปกับการพัฒนาการ ดําเนินงานและขยายการลงทุนเพื่อใหประเทศไทยเปนฐานการ ผลิตหลักในการสงออกรถยนตและชิ้นสวนทั้งในระดับภูมิภาค และระดับโลก

42

Energy#52_p40-41_Pro3.indd 42

2/23/13 2:39 AM


Tools & Machine รังสรรค อรัญมิตร

เมมเบรน รี เ วอร ส ออสโมซิ ส เทคโนโลยีใหมชวยลดตนทุนในกระบวนการบําบัดนํา การบํ า บั ด นํ้ า นั้ น เป น แนวทางหนึ่ ง ของการลดต น ทุ น และลดมลภาวะในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเทคโนโลยีบําบัดนํ้านั้นมีหลากหลายรูปแบบดวยกันที่ถูก พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมที่มีความจําเปนตอง ใชนํ้าเปนสวนสําคัญในกระบวนการผลิต หรือตองการบําบัด นํา้ เสียใหเปนนํา้ ดี เทคโนโลยีเมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส ของ แลงเซส เปนเทคโนโลยีใหมทถี่ กู พัฒนาขึน้ มารองรับกระบวนการดังกลาว ขางตน ซึ่งสามารถรองรับการบําบัดนํ้าไดทุกสภาพขึ้นอยูกับ ความตองการของผูประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมวา มีความตองการใชงานในรูปแบบใด แตมีเปาหมายที่คลายกัน คื อ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพความประหยั ด และเป น มิ ต รต อ สิง่ แวดลอมในการดําเนินงานดานอุตสาหกรรม โดยกระบวนการทํ า งานเทคโนโลยี เ มมเบรน รี เ วอร ส ออสโมซิ ส นั้ น วิ ศ วกรของโรงงานอุ ต สาหกรรมสามารถ ต อ ท อ สู บ นํ้ า เข า ในเมมเบรนรี เ วอร ส ออสโมซิ ส ได โ ดยตรง ซึ่ ง นํ้ า จะผ า นการกรองด ว ยเยื่ อ เมมเบรนด ว ยแรงดั น นํ้ า มหาศาลสงผลใหแยกสารเคมีออกจากนํา้ ไดอยางมีประสิทธิภาพ หลังจากนั้นนํ้าจะไหลเขาสูกระบวนการผลิตของแตละโรงงาน ตามความตองการในการใชประโยชนจากนํา้ ทีบ่ าํ บัด

เมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส ประกอบขึ้นจากโพลิเอไมด ทีซ่ อ นกันหลายชัน้ เปนขดเกลียวที่ออกแบบมาเพื่อการบําบัดนํ้า ในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถแยกเกลือออกจากนํ้ากรอย และนํ้ า ที่ มี ส ารละลายที่ ป ระกอบด ว ยนํ้ า เกลื อ ในระดั บ ตํ่ า ได ปรับปรุงสภาพและเพิ่มความบริสุทธิ์ของนํ้าบาดาล รวมทั้งใชใน การผลิตนํา้ เพือ่ นําไปใชในหมอตมนํา้ ของโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ นอกจากนีเ้ ทคโนโลยีเมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส ยังชวยในการ แยกแรธาตุหรืออนุภาคออกจากนํ้า เพือ่ ใชในกระบวนการผลิต ไมโครชิพไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม นอกจากจะชวยในการบําบัดนํ้าใหเกิดเปน นํ้ า บริ สุ ท ธิ์ ที่ มี คุ ณ ภาพแล ว ยั ง ช ว ยยื ด อายุ ก ารใช ง านของ เครื่องจักรกล เชน กังหันและเครื่องกําเนิดไอนํ้า สามารถลดการ เกิดตะกรัน คราบสกปรก และสนิมกัดกรอนได และจากการใชงานจริงของโรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึง่ ในประเทศไทยสามารถลดการใช ส ารเคมี ไ ด ถึ ง 30% แต ก็ ขึ้ น อยู  กั บ การใช ง านของแต ล ะโรงงานว า จะบํ า บั ด นํ้ า ไปใชในกระบวนการผลิตดานใด เรียกไดวาเปนการลดตนทุน โดยรวมในการบําบัดนํา้ แบบครบวงจรของโรงงานอุตสาหกรรม เลยทีเดียว 43

Energy#52_p43_Pro3.indd 43

2/15/13 8:50 PM


Residential รังสรรค อรัญมิตร

คุณเรวดี นุชสงสิน เจาของรีสอรท

แมสลองเมาเทนโฮม…

สิ่งเล็กๆ ที่เรียกวาพอเพียง ตอเนื่องจากเลมที่แลวยังคงไมเบื่อกันนะครับสําหรับ รีสอรททางภาคเหนือ เลมนี้ยังคงอยูกันที่จังหวัดเชียงราย ถึ ง แม จ อยู  ใ นช ว งเดื อ นที่ กํ า ลั ง จะย า งก า วเข า สู  ฤ ดู ร  อ น แตบรรยากาศทางภาคเหนือยังคงเย็นสบาย โดยเฉพาะอากาศ บนดอยแม ส ลองในช ว งหน า หนาวอากาศจะหนาวเย็ น มาก วาแลวเราไปทิ้งทวนกลิ่นไอความหนาวกันที่แมสะลองเมาเทน โฮมกันดีกวาครับ แม ส ลองเมาเท น โฮม เดิ ม ชื่ อ แม ส ลองฟาร ม สเตย แตเนื่องจากชื่อฟารมสเตย ไมสามารถสะทอนความลึกซึ้งถึง บรรยากาศที่พักไดอยางแทจริง เจาของรีสอรทจึงเปลี่ยนชื่อ เปน “แมสลอง เมาเทน โฮม” ทีส่ ามารถบรรยายภาพบรรยากาศ สถานที่พักไดเปนอยางดี โดยเนรมิตจากไรบวยมาเปนรีสอรทตามความฝนของ เจาของรีสอรทที่ชื่นชอบความเปนธรรมชาติแบบทองถิ่นเนนให ลูกคาไดสมั ผัสธรรมชาติอยางใกลชดิ ซึง่ ถูกออกแบบใหเปนแนว

บูติค คันทรี รีสอรท ที่มีทั้งหมด 9 หลัง ในแตละหลังสรางจาก วัสดุธรรมชาติมกี ารนําไมไผมาเปนสวนประกอบในการสรางหอง พักเพื่อใหกลมกลืนกับธรรมชาติ แนวรีสอรทเรียงตามไหลเขาลดลั่นเลนระดับกับธรรมชาติ ลอมรอบดวยไรบวยและไรชา บรรยากาศเงียบสงบตางกับที่พัก แหงอื่นในแมสลองเหมาะสําหรับทานที่ตองการหลีกหนีความ วุน วายมาผอนคลายความเครียด เรียกไดวา ผูม าเยือนจะสามารถ สัมผัสกับธรรมชาติไดอยางแทจริง ถึงแมจะเปนรีสอรทขนาดเล็กที่มีบริการเพียง 9 หอง แตก็ เนนความพอเพียงเพื่อการอนุรักษพลังงาน ดังนั้นรีสอรทแหงนี้ จึงไมไดมแี คความสวยงามของธรรมชาติเทานัน้ แตยงั โดดเดนใน เรื่องของการอนุรักษพลังงานภายใตความพอเพียงนั่นเอง ภายในหองพักไมตดิ แอร โดยพึง่ พาวามเย็นจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกบางอยางเหมือนที่ รีสอรททั่วไปมี เชน ไดรเปาผม เตารีด กานํ้ารอน เพื่อไมใหเกิด

44

Energy#52_p44-45_Pro3.indd 44

2/15/13 8:56 PM


การใชพลังงานที่สิ้นเปลือง พรอมกันนี้ยังไดเลือกติดตั้งเครื่อง ทํานํ้าอุนที่เปนระบบแกส และติดตั้งหลอดไฟภายในหองพัก เฉพาะเทาที่จําเปนในการใชงาน โดยใชเปนหลอดตะเกียบซึ่งชวย ลดการใชพลังงานไดเปนอยางดี

นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมไวรองรับผูมาพักผอนอีกดวย ไม วาจะเปนการเดินปาโดยไกดทเี่ ปนคนในทองถิน่ หรืออาจพักแรม ในปาก็ขึ้นอยูกับความตองการของลูกคาเอง การปนจักรยาน เยี่ ย มชมหมู  บ  า นชาวเขาเผ า ต า ง ๆ ซึ่ ง บนดอยแม ส ลองนั้น นอกจากมีความสวยงามทางธรรมชาติแลว ยังมีความสวยงาม ทางวัฒนธรรมของแตละชนเผา ไมวาจะเปน จีนยูนนาน อาขา ลาหู ลัวะ เมี้ยน ลีซู และไทยใหญ ที่รอตอนรับการมาเยือนของ นักทองเที่ยว

เพื่ อ ให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และชวยใหรีสอรทแหงนี้เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมที่อยูรอบขาง แมสลองเมาเทนโฮมจะทําการคัดแยกขยะเพื่อนําไปรีไซเคิล และ จําหนายใหกับรานรับซื้อของเกา ในสวนที่เปนขยะเศษอาหารที่นี่ นําไปทําปุยหมักเพื่อใชใสตนไมภายในรีสอรท การบําบัดนํ้าเปนอีกแนวทางหนึ่งของรีสอรทที่ตองการ สรางความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งที่แมสลองเมาเทนโฮม มีการบําบัดนํา้ ทีใ่ ชงานแลวเพือ่ นํากลับมาใชใหม โดยนําไปรดนํา้ ตนไมและผักสวนครัวของรีสอรท และในความเปนธรรมชาติ ยังไดชว ยใหทนี่ สี่ ามารถใชนาํ้ ทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติในการใชอปุ โภค โดยไมตอ งพึง่ พานํา้ ประปา ชวยลดตนทุนเรือ่ งของคานํา้ ไดมาก

ไฮไลทสําคัญของการมาเยือนแมสลองเมาเทนโฮม คือ การไดตื่นแตเชาไปชมพระอาทิตยขึ้น และการตักบาตรหลัง จากรับแสงอรุณ เนื่องจากทางรีสอรทจะนิมนตพระมาใหแขก ผูมาพักผอนได ใสบาตรทุกเชาเสริมสรางจิตใจใหแจมใส และ กิจกรรมอีกอยางหนึ่งที่ผูมาเยือนไมควรพลาดนั่นคือ เยี่ยม ชมไรชาและจิบชารอน ๆ สดจากไร ขาง ๆ รีสอรทนั่นเอง 45

Energy#52_p44-45_Pro3.indd 45

2/15/13 8:56 PM


Energy Design รังสรรค อรัญมิตร

โรงเรียนแหงความยั่งยืนใน

“บูรกินาฟาโซ”

ปจจุบนั หลักการออกแบบนอกจากคํานึงทิศทางลม ทิศทางแดด อุปกรณ และเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน รวมทั้งสิ่งแวดลอมรอบขางแลว การออกแบบ ยังตองคํานึงถึงการดําเนินชีวิตของคนเราดวยเชนกัน โดยการออกแบบให ประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมนั้น ดูจะไดรับความนิยมไปทั่วทุก มุมโลก ซึ่งบางพื้นที่นั้นนอกจากจะพัฒนาใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลว ยัง สามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศไดอีกดวย ประเทศบูรก นิ าฟาโซ หลายคนคงไมคนุ ชือ่ นีม้ ากนักในเรือ่ งของการออกแบบ ประเทศบูรกินาฟาโซตั้งอยูในทวีปแอฟริกาใต และเปนประเทศที่ยากจนแหงหนึ่ง ของโลก ถึงแมจะขึน้ ชือ่ วาเปนประเทศทีย่ ากจน แตการออกแบบสิง่ กอสรางของเขา สามารถสรางใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมไดอยางโดดเดน เรียกไดวา ไมแพประเทศ ที่รํ่ารวยเลย เขามีแนวคิดและวิธีในการออกแบบอยางไรนั้น เราลองไปดูโครงการ ออกแบบกอสราง “โรงเรียนมัธยมศึกษา Gando” ของ Francis Kere สถาปนิก ชาวบูรกินาฟาโซ กันครับ โรงเรียนแหงนี้สรางขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการศึกษากับคนที่อาศัย อยูในพื้นที่ชนบทแหงนี้ ซึ่งมีประชากรประมาณ 3,000 คน ไดมีสิ่งอํานวยความ สะดวกดานการศึกษา ทัง้ เรือ่ งอุปกรณการเรียน หองเรียน สถานทีพ ่ กั สนามกีฬา เพื่อรองรับเด็กนักเรียนซึ่งสวนใหญอยูบนที่ราบทางตอนใตของบูรกินาฟาโซ ที่ตองเดินทางกวา 200 กิโลเมตร จากเมืองหลวงวากาดูกูมาเรียนที่โรงเรียน Gando แหงนี้ 46

Energy#52_p46-47_Pro3.indd 46

2/23/13 1:19 AM


การออกแบบโรงเรียนอิงใหเขากับสภาพพื้นที่และสภาพ แวดลอม เพื่อใหเกิดความสะดวกสบายในการใช ชีวิตภายใน โรงเรียน ซึ่งการออกแบบจะพิจารณาจากสภาพอากาศที่เคยมี อุณหภูมิในชวงฤดูรอนสูงสุดถึง 40 องศาเซลเซียส ดวยสภาพ อากาศที่รอนเชนนี้จึงไดออกแบบอาคารเรียนใหมีการระบาย อากาศตามธรรมชาติ เพื่อใหอากาศถายเทและมีลมเย็นเพิ่มขึ้น ผานการกําหนดเสนทางอากาศทางทอใตดิน วัสดุกอ สรางสวนใหญเปนวัสดุในทองถิน่ อยางผนังทําจาก บล็อกดินอัดผสมคอนกรีต 10% โดยไมตอ งเขาสูก ระบวนการเผา ที่สิ้นเปลืองก็สามารถกอสรางได และยังชวยใหอาคารเกิดความ เย็นซึ่งเหมาะกับสภาพอากาศรอนของพื้นที่ และเปนสาเหตุหลัก

ทีผ่ อู อกแบบไมเลือกใชอฐิ ในการกอสราง พรอมกันนัน้ ยังออกแบบ ใหเปนหลังคาสองชั้นเพื่อชวยลดความรอนที่จะเขาสูตัวอาคาร นอกจากนีย้ งั ใชเหล็กเสนในการออกแบบกอสรางดวย เนือ่ งจาก เหล็กเสนเปนวัตถุดิบที่มีราคาถูกหางายในทองตลาด ซึ่งตรงกับ จุดมุงหมายของโครงการนี้ที่ตองการแสดงใหเห็นการใชงานที่ ยั่งยืนของวัสดุจากธรรมที่มีในทองถิ่น สําหรับการปลูกปาในบริเวณโรงเรียนนัน้ เปนสวนหนึง่ ของ การออกแบบตามแนวคิดสภาพภูมอิ ากาศของโรงเรียน เนือ่ งจาก ตนไมและหญาสามารถกรองฝุนจากอากาศ ชวยใหพื้นที่ใน โรงเรียนมีคณ ุ ภาพอากาศทีด่ ี และยังเปนการสงเสริมใหนกั เรียน มีความรับผิดชอบในการรดนํ้าใสปุยใหกับตนไมที่ปลูกใหม

สถาปตยกรรมคือสิ่งกอสรางที่มีความจําเปนในการอยูอาศัยของมนุษย ดังนั้น การออกแบบตองคํานึงถึงความยั่งยืน โดยดึงเอาธรรมชาติ สิ่งแวดลอม สภาพภูมอิ ากาศ และพืน้ ทีท่ ใี่ ชในการกอสรางมาเปนปจจัยหลักของการออกแบบ เพื่อใหเกิดสถาปตยกรรมที่สวยงามและยั่งยืนในอนาคต 47

Energy#52_p46-47_Pro3.indd 47

2/23/13 1:20 AM


Green4U

วรรณวิภา ตนจาน

01

02

Bamboo Memory Stick

กระเปาสะพายรีไซเคิล

เมมโมรี่ สติ ก แบบพกพา ที่ มี แ นวความคิ ด ในการ ออกแบบเนนความเป าม นมิตรกับสิ่งแวดลอม ขนาด 3.5 x 11.5 เซนติเมตร นําหนั ้าหนัก 0. 0.19 กิโลกรัม ผลิตจากไมไผคุณภาพดี อยูใ นรูปของพวงกุ องพวงกุญแจ สะดวกในการพกพาและใช สะด งาน ความจุ อยูที่ประมาณ ะมาณ 2 - 8 GB ราคา 895 บาท http://www.ecoshop.in.th

กระเปาสะพานดีไซนเก ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล ตัวกระเปา ทําจากกระสอบพลาสติกคุณภาพดี โดยใชสายเข็มขัดนิรภัย มาทําเปนสายสะพาย ภายในบุดวยผาชั้นดีถึง 3 ชั้น นอกจาก จะช ว ยลดปริ ม าณขยะแล ว ยั ง ทํ า ให วั ส ดุ เ หลื อ ใช ก ลั บ มา มีประโยชนอีกครั้ง ราคา 1,450 บาท http://www.ecoshop.in.th th

03

04

นาฬกาผาสานสีสัสนั จี๊ดจาด

Recycledd Paper Pen Recycl

นาฬกาขอมือ ดีไซนนา รัก ทําจากเศษผ ากเศษผาสีสนั สดใส ใสได ทุกโอกาส หรือจะนํามาเปนของขวัญในโอกาสพิ โอก เศษ ๆ ก็ได ขนาดกําลังพอดี เหมาะกับขอมือ ขนาด 19.5 x 3 เซนติเมตร นํา้ หนัก 100 กรัม ราคา 499 บาท http://www.ecoshop.in.th

ปากการี ไ ซเคิ ล ทํ า จากกล อ งกระดาษเหลื อ ใช เป น ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และยังชวยลดปริมาณ ขยะในสภาพแวดลอม ใชดี เขียนลื่น แข็งแรง นํ้าหนักเบา ไมแพปากกาทั่วไป ขนาด 1 x 14.01 เซนติเมตร ราคา 29 บาท http://www.ecoshop.in.th

48

Energy#52_p48-49_Pro3.indd 48

2/19/13 9:50 PM


05

06

กระเปาถือจากเศษกระดาษนิตยสาร

กระเปาสตางคพลาสติกกันนํ้า

กระเปาถือ ขนาด 17.5 x 6 x14.5 นิว้ ผลิตจากเศษกระดาษ นิตยสาร หรือเศษกระดาษหนังสือพิมพ จากเศษกระดาษสีสนั สวยงามแตดูไรคาเพราะกําลังจะกลายเปนขยะ แตดวยไอเดีย ในการออกแบบที่ดึงเอาขยะไรคาใหกลับมามีคาอีกครั้ง ทั้งยัง ชวยรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไปในตัว http://www.ecoshop.in.th

กระเปาสตางค Bijiness ทําจาก Tyvex กันนํ้า เหนียว ทนทาน นํ้าหนักเบา ใชไดนาน สามารถรีไซเคิลได 100% ใสการดและเงินไดอยางจุใจ โดยใชเทคนิคการพับ ไมมรี อยเย็บ รอยตอ หรือตะเข็บ ราคา 980 บาท http://www.ecoshop.in.th

07

08

นาฬกาพลังนํ้า

สมุดบันทึกกระสอบพลาสติก

นาฬกาพลังนํ้า เปนนาฬกามหัศจรรยที่ไมจําเปนตองใช ถานหรือแบตเตอรรใี่ นการใหพลังงาน นาฬกานํา้ เรือนนีแ้ สดง หนาจอแบบเข็ม ผลิตจากพลาสติกคุณภาพดี เปนนาฬกา พลังงานทางเลือกที่ใชนํ้าแทนแบตเตอรี่ ราคา 955 บาท http://www.ecoshop.in.th

สมุดบันทึก ขนาด 7.5 x 5.5 นิว้ ในสวนของหนาปกทําจาก กระสอบพลาสติกเหลือใช คุณภาพดี นํามาประดิษฐเปนหนา ปกสมุดบันทึกในสไตลเก ๆ ชวยลดปริมาณขยะและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ราคา 250 บาท http://www.ecoshop.in.th

49

Energy#52_p48-49_Pro3.indd 49

2/19/13 9:50 PM


Greenovation วรรณวิภา ตนจาน

เอทีเอ็มยุคใหม สแกนเสนเลือด เบิกเงินสด

ปจจุบนั มีการนําเทคโนโลยีสแกนเนอรมาประยุกตใชสแกน หารู ป แบบของเส น เลื อ ดดํ า ใต ผิ ว หนั ง ฝ า มื อ แทนการใช บั ต ร เอทีเอ็ม ซึ่งเครื่องสแกนเสนเลือดดังกลาวติดตั้งใหใชกันแลวกับ ตูเอทีเอ็มรวม 80,000 จุดทั่วประเทศญี่ปุน รูปแบบเสนเลือดดํา ใตผิวหนังฝามือของเรานั้นเปรียบเหมือนอัตลักษณของแตละ บุคคล ไมสามารถลอกเลียนแบบได อยางไรก็ตามผูที่ใชฝามือ เบิกเงินแทนบัตรเอทีเอ็มแบบเดิมจะตองยินยอมใหธนาคารสแกน รูปแบบของเสนเลือดดําของตนเก็บไวในคลังขอมูลกอนเปนลําดับ แรก ถือเปนการมีสว นรวมในการรักษาสิ่งแวดลอมทางหนึ่งดวย การลดใชพลาสติก

อุปกรณชารจโทรศัพทมือถือ

ดวยพลังงานความรอน จากแกวกาแฟ

หลายคนอาจเคยผานตามาบาง สําหรับแนวคิด Thermoelectric หรือการนําความรอนมาชารจอุปกรณ ไฟฟา ลาสุดมีคนหัวใส นําแนวความคิดนี้มาผลิตเปนอุปกรณชารจโทรศัพทมือถือจาก แกวกาแฟ ชื่อวา “One Puck” ประกอบดวย ถาดรองแกวที่ สามารถสรางไฟฟาไดสงู สุด 1 แอมป โดยชารจผานพอรต USB ที่รองรับ เพียงแคนําแกวกาแฟรอน ๆ มาวางไวดานบนสีแดง ตอจากนั้นรอใหไฟที่ถาดติดแลวจึงเสียบสาย USB ตอเขากับ อุปกรณของคุณ

พัดลมไอนํ้าฝมือคนไทย

บริษัท มาสเตอรคูล อินเตอรเนชั่นแนล ผูผลิตพัดลมไอนํ้าฝมือคนไทย ไดใชเวลากวา 1 ป ในการศึกษาขอมูลและพัฒนาเทคโนโลยีพัดลมไอนํ้าตนแบบเปนของตัวเอง จนกระทั่งพบวาการจะ ทําใหพัดลมไอนํ้าสามารถพนละอองไอนํ้าขนาดเล็ก และใหประสิทธิภาพสูงในการทําความเย็นนั้น ตองอาศัยความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีอยางมาก ซึ่งพัดลมไอนํ้าที่วานี้สามารถตอบโจทยการใช งานไดอยางไรขดี จํากัด อีกทัง้ ชวยประหยัดพลังงาน และพัดลมไอนํา้ ดังกลาวยังเปนสิง่ จําเปนสําหรับ งานกลางแจงทดแทนเครื่องปรับอากาศไดเปนอยางดี

50

Energy#52_p50-51_Pro3.indd 50

2/27/13 3:49 PM


“คาบอแนกซ” นวัตกรรม วัสดุทดแทนไม

บริษัท วี.พี.วูด จํากัด ผูผลิตและพัฒนาไมผสมพลาสติก ภายใตชื่อ “คาบอแนกซ” (Cabonyx) เกิดแนวคิดที่จะผลิตวัสดุ ทดแทนไมจากพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม ซึ่งนอกจากจะไดผลิตภัณฑ ที่ มี ค วามทนทานต อ สภาวะแวดล อ มกลางแจ ง แล ว ยั ง ถื อ เป น ทางเลื อ กใหม ใ ห กั บ ผู  บ ริ โ ภค และที่ สํ า คั ญ ยั ง ช ว ยแก ป  ญ หา สิ่งแวดลอมโดยลดการใชไมจริง นําของเหลือใชอยาง “ขี้เลื่อย” มาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

ปลั๊กประหยัดเชื้อเพลิงรถยนต

KT Faster KT Faster นวัตกรรมลาสุดปลัก๊ ประหยัดพลังงานใชกบั ยานยนต ที่ใชแบตเตอรี่ 12-24 โวลท ประหยัดพลังงาน 10-15 % ชวยให รถยนตมีนํ้าหนักเบา เคลื่อนที่ไดสะดวกรวดเร็ว ขึ้นเขาลาดชันดวย อัตราเรงที่เต็มประสิทธิภาพ ใชไดดีกับยานยนตที่วิ่งทางราบหรือวิ่ง ทางระยะไกล พิสูจน ไดจากรถยนตออกตัวไมอึด เหมาะกับรถยนต ทุกรุน ใชไดกบั รถยนตทใี่ ชเชือ้ เพลิงเบนซิน กาซ และดีเซล รองรับทุก แรงมา ไมจํากัดซีซี ประหยัดพลังงานและประหยัดเงินในกระเปา

มือถือพลังแดด ไมงอ ไฟฟา ราคาถูก

บริษทั โวดาโฟน ผูใ หบริการเครือขายสือ่ สารไรสายทีใ่ หญ ที่สุดในโลกจากอังกฤษ และผูผลิตมือถือที่มีกลยุทธเจาะตลาด ประเทศกําลังพัฒนาดวยเครือ่ งราคาถูกแสนถูก ลาสุดเปดตัวมือ ถือพลังงานแสงอาทิตยเครือ่ งแรก ภายใตสโลแกน “สุขทีไ่ ดชว ย” หรือ แฮปปทูเฮลป ใชงานงาย ไมตองชารจไฟมือถือใหยุงยาก เพราะ VF 247 เปนมือถือที่ใชพลังงานแสงอาทิตย ภายในติดตั้ง ฮารดแวรและซอฟตแวรทเี่ รียกวา “ซันบูสต” ทําใหมอื ถือชารจไฟ ไดแมอยูในหองตอนกลางวัน โดยไมจําเปนตองนํามือถือออกไป รับแดดโดยตรง ใชเวลาชารจแบตเตอรี่นาน 8 ชั่วโมง และอยูได นานถึง 8 วัน คุยไดนาน 4 ชัว่ โมง สามารถเลนวิทยุในระบบเอฟเอ็ม มีไฟฉายในตัว

51

Energy#52_p50-51_Pro3.indd 51

2/27/13 3:46 PM


Energy Showcase

01

ดีไซนเก ความละเอียดสูง ภาพคมชัดเต็มพิกดั Apple MacBook Pro รูปลักษณภายนอกเปนแบบ Retina MacBook Pro 13 นิ้ว ไดรับการดีไซน ใหมใหมีขนาด เล็กลงกวาเดิม โดยมีความหนาเพียง 0.75 นิ้ว (ประมาณ 19.5 มิลลิเมตร) และมีนาํ้ หนักเพียง 3.57 ปอนด (ประมาณ 1.6 กิโลกรัม) ทั้งยังไดมีการปรับปรุงใหมีความละเอียดสูงถึง 4 ลานพิกเซล (Resolution: 2560 x 1600) ยังทําใหภาพที่ไดคมชัดมากขึ้น นอกจากนี้ เทคโนโลยี IPS (IPS Technology) ยังทําใหจอภาพ มีมุมมองภาพกวางขึ้นถึง 178 องศา และใชหนวยประมวลผล กราฟก (GPU) Intel HD Graphic 4000 ในสวนของ RAM นั้น ใช 8 GB RAM สวน Storage จะใชเปน Flash storage (SSD) โดยมีมาใหถึง 128 GB และ 256 GB และสามารถเพิ่มไดสูงสุด ถึง 768 GB ในสวนของแบตเตอรี่ใชงานไดยาวนานถึง 7 ชั่วโมง และ Stand by ไดยาวนานถึง 30 วัน ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.macthai.com

03

.........................................................................................................................................................................................................................................

วรรณวิภา ตนจาน

02

โนตบุคตระกูลใหม ใชงานระบบสัมผัส ทําจากอลูมิเนียม

ลาสุด Asus เปดตัวโนตบุคตระกูลใหม VivoBook รุน X202 ทีม่ าพรอมกับหนาจอขนาด 11.6 นิว้ รองรับการใชงานระบบ สัมผัส ตัวเครื่องทําจากอลูมิเนียม ความละเอียด 1366 X 768 พิกเซล พรอมดวย CPU Intel Core i3-3217U ความเร็ว 1.8 GHz แรม 4 GB การ ด จอ Intel GMA HD 4000 และฮาร ด ดิ ส ก 500 GB นอกจากนี้ ยั ง รองรั บ การใช ง าน WiFi, Bluetooth เวอรชั่น 4.0, WEbcam, Card Reader, USB เวอรชั่น 3.0, HDMI โดยมีแบตเตอรี่ 2 เซลล สามารถใช งานไดตอเนื่องถึง 5 ชั่วโมง สอบถามรายะเอียดเพิ่มเติมไดที่ ASUS Call Center โทร.0-2401-1717 หรือเขาไปที่ http://www.asus.co.th

04

.................................................................................................................................................................

จอไวด ไวดสกรีน ดีไซน ซนนบ างเฉียบ ความ ความจุเต็มพิกดั โนตบุค Lenovo Idea Pad U300s มาพรอมจอไวดสกรีน ขนาด 13.3 นิ้ว ความละเอียดสูงระดับ HD 16:9 หนวยความจํา แบบ DDR3 ขนาดความจุมากถึง 4 GB รวดเร็วทันใจไปอีกขั้น กับออฟชัน่ หนวยความจําแบบ SSD ทีส่ ามารถเพิม่ หนวยความจํา ไดมากถึง 256 GB ดีไซนบางเฉียบ แตสามารถใชงานไดตอเนื่อง ยาวนานถึง 8 ชั่วโมง และมากถึง 30 วัน เมื่อตั้งโหมด Stand by พรอมเทคโนโลยีชวยรนระยะเวลาการชารจแบตเตอรี่ Lenovo Rapid Charge ที่สามารถชารจแบตเตอรี่ไดรวดเร็ว จาก 0 ถึง 50% ภายในเวลาเพียง 30 นาที ทั้งยังรองรับการเชื่อมตอแบบ Bluetooth, Wi-Fi, USB 2.0 และ 3.0 รวมทั้งกลองเว็บแคม ทีค่ มชัดระดับ HD 720 p ความละเอียด 1.3 ลานพิกเซล นอกจากนี้ คียบอรดยังถูกออกแบบโดยคํานึงถึงระบบระบายความรอน รองรับการใชงานที่ยาวนานมากขึ้น พรอมใหความสะดวกสบาย ขณะใชงานบนตักหรือบนหมอน ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.notebookfocus.com /catalog_notebook/Lenovo

จอ LED ปองกันแสงสะทอน กะทัดรัด นํ้าหนักเบา

Samsung Notebook Series3 NP300E4X ขนาด 14.0 นิว้ (1366 x 768) หน ว ยความจํ า ระบบ DDR3 ขนาด 2 GB ที่ 1333 MHz (2 GB x 1) มาพรอมกับจอแสดงผล HD LED ปองกันแสงสะทอนแมอยูกลางแจง สามารถใชงานไดนานขึ้น โดยที่สายตาไมลา ดวยขอบแสดงผลโคงมนเพรียวบางพอ ๆ กับนิว้ มือ ขนาดเครือ่ งเล็กลงและนํา้ หนักเบาขึน้ งายตอการพกพา พรอมดวยเทคโนโลยีการชารจแบตเตอรีอ่ จั ฉริยะ ของ Samsung ที่ใชเทคโนโลยีตอตานความเสื่อมสภาพชวยใหแบตเตอรี่เก็บ รักษาประจุได 80% สําหรับการชารจไฟ 1,000 ครัง้ ยาวนานกวา 3 เทา เมือ่ เทียบกับแบตเตอรีท่ วั่ ไป โดยปกติแลวรองรับการชารจไฟ ไดเพียง 300 ครัง้ เทานัน้ เนือ่ งจากแบตเตอรีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ ระหยัด พลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น ศูนยบริการลูกคาสัมพันธ โทร.0-2689-3232 โทรฟรี 1800-29-3232 http://www.samsung.com

52

Energy#52_p52,54_Pro3.indd 52

2/19/13 9:43 PM


Energy#29_p31_Pro3.ai

1

3/24/11

3:14 AM


ดีไซนคลาสสิค แข็งแรงทนทาน ใชวัสดุ คุณภาพเยี่ยม

Iphone 5 ดีไซนเรียบหรู แข็งแรงทนทาน ผลิตจากวัสดุคณ ุ ภาพดี กรอบดานหลังถูกออกแบบใหแตกตางจากรุนเดิมมากทีเดียว ดูคลาสสิค แมหนาจอจะมีขนาดใหญขนึ้ แตนาํ้ หนักเบาลง สะดวกตอ การพกพามากขึน้ กวาเดิม ในสวนของจอแสดงผลกวาง 4 นิว้ แบบ Retina Display Capacitive Touchscreen ความละเอียดอยูท ี่ 1136 x 960 พิกเซล หนวยประมวลผลภาพ (GPU) Power VR SGX 543MP3 ระบบปฏิบตั กิ าร iOS 6 สวน RAM ขนาด 1 GB กลองหนา 1.2 ลานพิกเซล กลองหลัง 8 ลานพิกเซล รองรับการถายวีดโี อแบบ Full HD 1080 p พืน้ ทีเ่ ก็บขอมูลในตัวเครือ่ ง 16 GB สูงสุดที่ 64 GB ภายใตเครือขาย 2G 3G และ 4G ทัง้ ยังรองรับการเชือ่ มตอ Wi-Fi, Bluetooth 4.0, GPS (A-GPS) มีใหเลือก 2 สี คือ สีดาํ Black & Slate และ สีขาว White & Silver ราคาศูนยเครื่องเปลาเริ่มตนที่ 24,550 บาท http://www.techmoblog.com

07

.........................................................................................................................................................................................................................................

05

06

Windows Phone 8 ขนาดกะทัดรัด สัมผัสหนาจอผานถุงมือได

Nokia Lumia 620 สมารทโฟน Windows Phone 8 ขนาด กะทัดรัด หนาจอ TFT - LCD 3.8 นิว้ ความละเอียด 800 x 480 พิกเซล รองรับการใชงาน Super Sensirive Touch สามารถสัมผัสหนาจอ ผานถุงมือได ขับเคลือ่ นดวยระบบ CPU Qualcomm Snapdragon S4 dual-core ความเร็ว 1GHz, RAM 512MB, ROM 8GB, รองรับ การดหนวยความจําภายนอก microSD สูงสุด 64 GB, รองรับ การเชือ่ มตอ 2G GSM 850/900/1800/1900MHz, 3G WCDMA 850/900/1900/2100MHz, Wi-Fi 802.11 a/b/g/n, Bluetooth 3.0, NFC, GPS (A-GPS+Glonass) แบตเตอรีค่ วามจุ 1300 mAh ดีไซนตวั เครือ่ งทรงแทง มุมขอบทัง้ 4 กวาง 61.1 มิลลิเมตร สูง 115.4 มิลลิเมตร หนา 11 มิลลิเมตร นํา้ หนัก 127 กรัม มี 5 สี ใหเลือก ไดแก ฟา เขียวมะนาว ชมพู เหลือง และขาว นอกจากนีย้ งั มีฝาหลังสีสนั สดใส ถอดเปลีย่ นไดตามใจชอบ ราคา 8,250 บาท http://www.siamphone.com

08

.................................................................................................................................................................

สมารทโฟนกึ่งแท็บเล็ต พรอมปากกอัจฉริยะ เสริมฟงกชั่นสรางสรรคเต็มรูปแบบ

Samsung Galaxy Note 2 สมารทโฟนกึ่งแท็บเล็ต หนาจอกวาง 5.5 นิว้ มาพรอมปากกาอัจฉริยะ S Pen มอบความ สะดวกดวยการใชงานปากกาบนหนาจอสัมผัส พรอมฟงกชั่ นที่ออกแบบมาเพื่อสรางสรรคจินตนาการและสามารถนําไปใช งานในชีวิตประจําวันไดอยางลงตัว ทํางานแบบ multi-tasking ที่ลื่นไหลตอเนื่อง เชน ฟงกชั่น Air View เรียกดูภาพในชุดโดย ไมตองเปดโฟลเดอรใด ๆ รับชมความบันเทิงอยางเต็มที่ดวย อัตราสวนหนาจอ 16 : 9 เทคโนโลยี HD Super AMOLED ชวยใหภาพชัดเจนขึน้ CPU ขุมพลัง dual-core 1.6 GHz, RAM 2 GB พื้นที่เก็บขอมูลในเครื่อง 16 GB รองรับหนวยความจํา ภายนอก microSD การดสูงสุด 64 GB กลองหลัง 8 ลานพิกเซล กลองหนา 1.9 ลานพิกเซล และแบตเตอรี่ความจุ 3100 mAh ราคา 22,900 บาท http://www.siamphone.com

ดีไซนเหลี่ยมลํ้าสมัย ขนาดใหญเหมาะมือ ตัวเครื่องทําจากโลหะ

SONY Xperia ion มาพรอมรูปทรงแทงดีไซนเหลี่ยม ตัวเครื่องขนาดใหญเหมาะมือ ดีไซนการออกแบบตัวเครื่องเนน วัสดุโลหะเปนหลัก มีนาํ้ หนักพอดี ไมเบาไมหนักเกินไป วัดขนาดตัว เครือ่ งสูง 133 มิลลิเมตร กวาง 68 มิลลิเมตร หนา 10.8 มิลลิเมตร (วัดความหนาจากกระจกดานหนาถึงบริเวณทีโ่ คงทีส่ ดุ ของฝาหลัง) นํา้ หนัก 144 กรัม สมารทโฟนแอนดรอยด 4.0 ICS มาพรอมหนา จอขนาดใหญ 4.55 นิว้ เทคโนโลยี Mobile BRAVIA ความละเอียด HD 720p, CPU dual-core 1.5 GHz, RAM 1 GB พืน้ ทีเ่ ก็บ ขอมูลในเครือ่ ง 16 GB รองรับ microSD สูงสุด 32 GB วัสดุ ประกอบเครือ่ งทําจากโลหะเสริมความทนทานแข็งแกรง กลองถายรูป 12 ลานพิกเซล เซ็นเซอร Exmor R ซูม 16 เทา ออโตโฟกัส พรอมไฟแฟลช กลองหนา 1.3 ลานพิกเซล ใหคณ ุ ไมพลาดช็อตเด็ด ภาพถายคมชัด พรอมเชือ่ มตอกับ HD TV ผานทางพอรต HDMI เพลิดเพลินไปกับระบบความบันเทิงเต็มรูปแบบจาก SONY ราคา 14,990 บาท http://www.siamphone.com/

54

Energy#52_p52,54_Pro3.indd 54

2/19/13 9:43 PM


R1_Energy#52_p55_Pro3.ai

1

2/28/13

4:47 PM


R1_Energy#52_p56_Pro3.ai

1

2/28/13

4:44 PM


R1_Energy#52_p57_Pro3.ai

1

2/28/13

4:45 PM


Energy#52_p58_Pro3.ai

1

2/23/13

2:33 AM


Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001 wonlop.r@gmail.com

เตรียมพรอม

รับการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน จากผูตรวจสอบฯ แลวหรือยัง ? (ตอนที่ 1)

ระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management Systems; EnMS) ตามขอกําหนดในกฎกระทรวงฯ ตามที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน หรือ พพ. ไดกําหนดใหโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ตอง ดําเนินการจัดการพลังงานอยางเปนระบบเพื่อใหเกิดการใช พลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด หรื อ ระบบการจั ด การ พลังงาน (Energy Management Systems; EnMS) ตามขอ กําหนดกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 ภายใต พ.ร.บ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535 (ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ.2550) ตามโครงสรางกฎหมายดังภาพ โดยตองมีการปฏิบตั อิ ยางเปนขัน้ ตอน รวมทัง้ มีการวางแผนการ ดําเนินการทีด่ แี ละเหมาะสมกับองคกร เพือ่ ใหบรรลุตามนโยบาย เปาหมายและแผนดําเนินการที่ไดกําหนดเอาไว การดําเนินการ แบงออกไดเปน 8 ขั้นตอน ดังภาพ ตอมา พพ. ยังไดเพิม่ เติมรายละเอียดในการดําเนินการบาง ขัน้ ตอน ไดแก ขัน้ ตอนที่ 4 , 5 , 6 , 7 และ 8 ในประกาศกระทรวง พลั ง งาน เรื่ อ งหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารดํ า เนิ น การจั ด การ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 เพื่อใหโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมสามารถดําเนินการใน รายละเอียดไดอยางถูกตอง 59

Energy#52_p59-61_Pro3.indd 59

2/23/13 1:24 AM


ตลอด 3 รอบระบบฯ (ป) ทีผ่ า นมา หลังกฎกระทรวงฯบังคับใช คือ ระบบฯ ประจําป 2553 สงรายงานการจัดการพลังงาน ภายใน มี.ค. 2554, ระบบฯ ประจําป 2554 สงรายงานการ จัดการพลังงานภายใน มี.ค. 2555 และ ระบบฯ ประจําป 2555 สงรายงานการจัดการพลังงานภายใน มี.ค. 2556 ผลการดําเนิน การทั้ง 8 ขั้นตอน โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมครบจะ ตองนํามาจัดทําเปนรายงานฯประจําป เพื่อแสดงหลักฐานการ ดําเนินการจริงและใสขอมูลเพิ่มเติมตามรูปแบบที่ พพ. กําหนด ใหสมบูรณที่สุด กอนที่ประธานคณะทํางาน, ผูรับผิดชอบดาน พลังงาน และ ผูบริหารระดับสูงจะลงนามรับรองความถูกตอง รายงานฯ ฉบับดังกลาวจะถูกสงไปยัง พพ. ภายในเดือนมีนาคม เพือ่ ตรวจสอบและรับรอง พพ.จะดําเนินการตรวจสอบและรับรอง โดยจะมีเอกสารแจงสรุปผลการตรวจสอบและรับรองสงกลับไป ยังโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมตอไป เพือ่ ใหโรงงานควบคุม และอาคารควบคุมใชเ ปนขอ มู ล ในการปรับ ปรุง ระบบฯอยา ง ตอเนื่องตอไป ดังภาพ

ตอมาวันที่11พฤษภาคม 2555 กฎกระทรวง กํ า หนดคุ ณ สมบั ติ ข องผู  ข อรั บ ใบอนุ ญ าต หลั ก เกณฑ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขการขอรั บ ใบอนุ ญ าตและการอนุ ญ าตตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555 ไดถกู ประกาศใช และเริ่มมีผลบังคับใชไปเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 ทีผ่ า นมา ดวยวัตถุประสงค และเจตนารมยที่ดีของกฏกระทรวงฯฉบับนี้ จะ ทําใหเกิดระบบการจัดการพลังงานที่สมบูรณ มากขึ้น และเปน P-D-C-A Cycle มากขึ้น ความตื่ น ตั ว การเปลี่ ย นแปลง การปรั บ ตั ว และ การเตรียมพรอมในการดําเนินการระบบ การจัดการพลังงานที่ดีของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม จากที่ผานๆ มา 3 รอบป ตอง เกิดขึ้นอยางแนนอน กฏกระทรวงฯ ฉบับนีแ้ ละประกาศกระทรวงฯ อีกหลายฉบับ ทีจ่ ะตามมา ทําใหเกิดกลุม บุคคลทีจ่ ะมาปฏิบตั หิ นาทีต่ รวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานประจําป กอนที่รายงานฯ จะถูกสงไป ยัง พพ. ภายในเดือนมีนาคมในปถดั ไป โดยเรียกกลุม บุคคลนีว้ า “ผูต รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน” ซึง่ หากเปรียบเทียบ

กับมาตรฐานระบบจัดการตามมาตรฐานสากลอื่น ๆ เชน ISO 9001 ISO 50001 OHSAS 18001 เปนตน ผูตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานนี้จะเสมือนเป นหนวยงานบริการ รับรองระบบมาตรฐาน หรือ Certification Body (CB) นั่นเอง จากภาพ หากมองระบบการจัดการพลังงานเปน P-D-C-A Cycle แลว ก็เหมือนกับเปนขัน้ ตอนการตรวจสอบ (Checking) โดยบุ ค ลากรภายนอกองค ก ร โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ ดี ย วกั บ ขั้นตอนที่ 7 หรือ การตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายใน องคกร (Internal Audit) นั่นเอง (รายละเอียดไดกลาวไปแลว ในฉบับมกราคมและกุมภาพันธที่ผานมา) โดยเนนหนาที่ที่ตอง ดําเนินการ ดังนี้ • เพือ่ ตรวจรับรองและยืนยันใหแนชดั วา โรงงานควบคุม และอาคารควบคุมมีการดําเนินการจัดการพลังงานสอดคลอง ตามกฎกระทรวงฯ อยางถูกตองและครบถวน • เพื่ อ ให ค ณะทํ า งานด า นการจั ด การพลั ง งาน และ เจาของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม นําผลที่ไดจากการ ตรวจรั บ รองไปทํ า การทบทวนหาสาเหตุ วิ เ คราะห แ ละแก ไ ข ขอบกพรองทีเ่ กิดขึน้ (Non-conformity; NC) รวมถึงพิจารณา โอกาสในการปรับปรุง (Opportunity for improvement; OFI) เพื่อใหระบบการจัดการพลังงานมีความยั่งยืนและพัฒนา อยางตอเนื่องตอไป หากระบบการขึ้ น ทะเบี ย นผู  ต รวจสอบและรั บ รองการ จัดการพลังงานของ พพ. สามารถดําเนินการไปไดอยางสมบูรณ คาดหมายวา ระบบการจัดการพลังงาน ประจําป 2556 ที่จะตอง สงรายงานการจัดการพลังงานภายใน มี.ค. 2557 โรงงาน ควบคุ ม และอาคารควบคุ ม ต อ งจั ด ให มี ก ารตรวจสอบและ รับรองระบบฯ โดยผูต รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานทีไ่ ด รับอนุญาตจาก พพ. กอน โดยโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ที่ไดรับการรับรองแลว ถึงจะสามารถสงรายงานฯประจําปพรอม ตรวจสอบและรับรองระบบฯไปยัง พพ. ไดตอไป ดังภาพ

โดยสรุปแลว เพื่อใหเห็นภาพความแตกตาง ๆ ที่ชัดเจน ขึ้น รูปแบบการดําเนินการระบบการจัดการพลังงาน การสงรา ยงานฯประจําป รวมถึงการตรวจรับรองในรอบระบบฯทีผ่ า น ๆ มา ปจจุบันและในอนาคต พิจารณาไดดังตารางตอไป

60

Energy#52_p59-61_Pro3.indd 60

2/23/13 1:24 AM


ดวยพื้นที่อันจํากัด ฉบับนี้คงเนนใหผูอานมองภาพของ ระบบการจัดการพลังงานตามกฎกระทรวงฯ ในภาพอดีต ปจจุบนั และอนาคต กอนครับ เพื่อใหนําไปกระตุนเตือนถึงผูที่เกี่ยวของ ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม โดยเฉพาะอยางยิ่งโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมที่ยังไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนด ไดดีนัก หรือ ยังไมสามารถดึงความมีสวนรวมจากหนวยงานที่ เกี่ยวของมาได ตองรีบปรับตัวไดแลวครับ ฉบับหนามาทําความรูจักผูตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงานกันครับ

เอกสารอางอิง • พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแกไขเพิม่ เติม ป พ.ศ. 2550) • กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธกี าร จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 • กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัตขิ องผูข อรับใบอนุญาต หลักเกณฑ วิธกี าร และเงือ่ นไขการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาต ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555 • ประกาศกระทรวงพลังงานเรือ่ งหลักเกณฑและวิธกี ารดําเนิน การจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 • คูม อื ฝกอบรม “ผูต รวจประเมินการจัดการพลังงานภายใน องคกร” กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน 61

Energy#52_p59-61_Pro3.indd 61

2/23/13 1:24 AM


Asean Update เจริญรัตน วงศสุวรรณ

ในป 2514 กลุม นักกิจกรรมกลุม เล็ก็ ๆ จาก เมืองแวนคูเวอร ประเทศแคนาดา ได รั บ แรงบั น ดาลใจจากวิ สั ย ทั ศ น แ ห ง โลกสีเขียวและมีสันติสุข โดยไดแลนเรือหาปลาเกา ๆ ออกจาก แวนคูเวอร นักกิจกรรมเหลานี้เปนผูกอตั้งกรีนพีซ โดยมี ความเชื่อวาบุคคลไมกี่คนสามารถสรางความเปลี่ยนแปลงได ภารกิจของพวกเขา คือ “การเปนประจักษพยานในทีเ่ กิดเหตุ” ของการทดลองนิวเคลียรใตดนิ ทีเ่ กาะอัมชิตกา ซึง่ เปนเกาะเล็ก ๆ นอกชายฝงตะวันตกของรัฐอลาสกา ซึ่งเปนภูมิภาคที่เสี่ยงตอ แผนดินไหวมากที่สุดแหงหนึ่งในโลก “เกาะอัมชิตกา” เปนสถานที่หลบภัยของนากทะเลที่ใกล สูญพันธุกวา 3,000 ตัว และเปนบานของนกอินทรียหัวลาน เหยี่ยวตางถิ่น และสัตวปาอื่น ๆ มากมาย ถึงแมวาเรือเกา ๆ ของพวกเขา คือ “ฟลลิส คอรแมก” จะถูกขัดขวางกอนทีจ่ ะไปถึง อัมชิตกา แตการเดินทางครัง้ นีจ้ ดุ ประกายเล็ก ๆ ใหแกความสนใจ ของสาธารณชน

สหรัฐอเมริกายังคงจุดระเบิดนิวเคลียรอยางหนักหนวง แต ก ารทดลองนิ ว เคลี ย ร บ นเกาะอั ม ชิ ต กาได สิ้ น สุ ด ลงใน ป เ ดี ย วกั น ด ว ยบทบาทของกลุ  ม กรี น พี ซ เกาะแห ง นั้ น ได ถู ก ประกาศให เ ป น สถานที่ ห ลบภั ย ของนกทั้ ง หลาย ป จ จุ บั น กรีนพีซเปนองคกรนานาชาติที่ใหความสําคัญกับการรณรงค เพื่อสิ่งแวดลอมเปนอันดับแรก กรีนพีซมีสํานักงานใหญอยูที่ กรุงอัมสเตอรดมั ประเทศเนเธอแลนด มีผสู นับสนุน 2.8 ลานคน ทั่วโลก และมีสํานักงานประจําประเทศและภูมิภาคใน 43 ประเทศ ความสําเร็จของกรีนพีซในการรณรงคดานสิ่งแวดลอมในโลก ตะวันตกเปนการปกปองโลกไดเพียงสวนเดียวเทานั้น ทุกวันนี้ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดกลายเปนแหลงรองรับมลพิษ จากโลกตะวันตกที่สงผานมาในรูปของการถายทอดเทคโนโลยี ที่ถูกปฏิเสธในบานตน กรีนพีซไมอาจปลอยใหดินแดนที่มั่งคั่ง ดวยทรัพยากรธรรมชาติแหงนี้กาวตามความผิดพลาดดาน สิ่งแวดลอมที่เคยเกิดขึ้นมาแลวในอีกมุมหนึ่งของโลก

ดวยเหตุนี้ กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใตจงึ ถือกําเนิดขึน้ มา เอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมภิ าคทีส่ าํ คัญมากตออนาคตของโลก มรดกทางธรรมชาติอันอุดมสมบูรณของภูมิภาคนี้มีคาควร แก ก ารปกป อ งในตั ว ของมั น เองอยู  แ ล ว อย า งไรก็ ต ามการ พัฒนาอุตสาหกรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ใน 30 ป ที่ผานมา ไดสงผลกระทบมหาศาลตอสิ่งแวดลอม 62

Energy#52_p62-63_Pro3.indd 62

2/15/13 9:36 PM


สมาคม “กรีนพีซ” แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปดตัว รายงานสนับสนุนหักลางความคิดที่วา “เทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนมี ร าคาแพงและไม คุ  ม ค า ” ซึ่ ง ทางสมาคมพยายาม ที่จะหักลางความคิดดังกลาวออกไป และยังกลาวถึงประโยชน ของพลังงานทดแทนทีจ่ ะชวยลดตนทุนการผลิตไฟฟาไดมากขึน้ รวมทัง้ สรางการเจริญเติบโตของประเทศไดอยางรวดเร็วและมีความ เสีย่ งนอยกวา ทีส่ าํ คัญคือพลังงานทดแทนเปนพลังงานสะอาดที่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม นําไปสูก ารพึง่ พาพลังงานอยางยัง่ ยืนได

ผลกระทบดานสิง่ แวดลอมของภูมภิ าคนีย้ งั ขยายวงกวางออกไป ยังประเทศอื่น ๆ ดวย โดยสิ่งแวดลอมที่เสื่อมถอยรุนแรงเกิดขึ้น แลวทั่วทั้งภูมิภาค มลพิษและการผลาญทําลายทรัพยากรกําลัง ทับถมขึ้นเรื่อย ๆ นอกเหนือจากวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อไมนานมา นี้ เพราะบริษัทขามชาติและประเทศที่พัฒนาแลวตางมีเปาหมาย ที่ ภู มิ ภ าคนี้ ใ นการขยายการดํ า เนิ น งาน และเพิ่ ม เทคโนโลยี ที่ ทํ า ลายสิ่ งแวดลอ ม สิ่ งที่ทํ าใหปญหาหนักขึ้ น ไปอี ก ไดแ ก การขาดการตระหนั ก รู  ข องชาวเอเชี ย เกี่ ย วกั บ การทํ า ลาย สิ่ ง แวดล อ ม และกลไกอั น อ อ นแอของระบอบประชาธิ ป ไตย ทีค่ วรตองเพิม่ เสริมกําลังใหกบั ชุมชนในการผลักดันการตัดสินใจ ของรัฐบาล กรีนพีซเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาและภัย คุกคามทีอ่ าจเกิดขึน้ ในพืน้ ทีเ่ หลานี้ ดังนัน้ เพือ่ ทีจ่ ะผนึกกําลังการ ตอสูขึ้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงไดเพิ่มกิจกรรมตาง ๆ ขึ้น ซึ่งกรีนพีซมีบทบาทอยางเขมแข็งแลวในหลายประเทศ

“กรีนพีซ” ฟลปิ ปนส ตืน่ ตัวปลุกกระแสพลังงาน สีเขียวอยางตอเนื่อง

ประเทศฟลิปปนสเปนประเทศเพื่อนบานที่มีความเปนอยู ไมตางจากประเทศไทยมากนัก แตองคกรตาง ๆ ใหความสําคัญ กับการรณรงคดานพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง โดย เฉพาะพลั ง งานทดแทนที่ กํ า ลั ง เติ บ โตอย า งก า วกระโดดและ นาจับตามองอยางยิ่ง “เศรษฐกิจ” ยังคงยืนหยัดอยูไดดวยผลประโยชนจาก การลงทุนเกี่ยวกับพลังงานทดแทนขนาดใหญ ซึ่งไม จําเป น ตองพึ่งพาพลังงานเชื้อเพลิงจากฟอสซิลอีกตอไป เราสามารถ เปลี่ยนพลังงานสีเขียวใหเปนขุมทรัพยสีทองอันมหาศาลได เพราะพลังงานทดแทนสามารถสรางเงินและสรางงานไดในคราว เดียวกัน ในงานแถลงขาวที่เมืองเกซอนซิตี้ (Quezon City) เมืองทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ตัง้ อยูบ นเกาะลูซอน ประเทศฟลปิ ปนส

“Von Hernandez” คณะกรรมการบริหารของ “กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต” กลาววา ที่ผานมาในแตละประเทศของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีศักยภาพในการผลิตกระแส ไฟฟาประมาณ 261,000 เมกะวัตต ซึ่งยังไมเพียงพอตอการ ลงทุน จึงทําใหนักลงทุนเคลื่อนยายทุนไปยังที่อื่น ๆ โดยเฉพาะ การลงทุนเกี่ยวกับเหมืองถานหิน การทําเหมืองไดสงผลกระทบ ตอสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ กลุมรณรงคจาก กรีนพีซจะทําการผลักดันดวยการปลุกระดมชวยกันหันหลังใหกบั เหมืองถานหิน และหันมาใหความสําคัญกับพลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใตพภิ พ หรือพลังงานทดแทนอืน่ ๆ แทน การ แถลงในครั้งนี้ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา พลังงานทดแทนเปน ทางออกที่ยั่งยืนอยางแทจริง เพื่อความเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืนในประเทศฟลิปปนส การรวมมือในประชาคมอาเซียนสงผลดีในการตื่นตัว หลาย ๆ ดาน รวมทั้งดานพลังงานและสิ่งแวดลอม องคกร ตาง ๆ ไดเขามาสนับสนุนอยางจริงจังสรางความเขมแข็งใหแก ประเทศสมาชิก รวมมือกันพัฒนาไปสูพลังงานสีเขียวที่ยั่งยืน ในอนาคต 63

Energy#52_p62-63_Pro3.indd 63

2/15/13 9:36 PM


Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

ระบบการผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงค

สําหรับเครื่องยนตเล็ก

โครงการพลังงานทางเลือก ยังเปนโครงการที่มีความ ตองการอยางตอเนื่องจากทุกภาคสวน โดยเฉพาะชุมชนที่อยู ในพืน้ ทีห่ า งไกล เพราะการเขาถึงของพลังงานยังไมสะดวกเทาที่ ควร รวมถึงการลงทุนของภาคสวนทีเ่ กีย่ วของก็ยงั ไมคมุ คาเทา ทีค่ วร ทางออกทีเ่ หมาะสมคือการใชสงิ่ ประดิษฐตน ทุนตํา่ นํามา ผลิตพลังงานเพื่อใชในชุมชนที่ไมใหญมากนัก มูลนิธิสถาบันพัฒนาพลังงานทดแทนแหงเอเชียแปซิฟก ไดเล็งเห็นถึงความขาดแคลนพลังงานที่มักเกิดขึ้นกับชุมชนที่ หางไกล และเพือ่ เปนการสงเสริมใหชมุ ชนมีโอกาสเขาถึงอุปกรณ ที่ ส ามารถเปลี่ ย นพลั ง งานชี ว มวลมาใช ป ระโยชน อ ย า งเต็ ม ประสิทธิภาพ ก็จะชวยใหทองถิ่นมีทางออกในการแกไขปญหา

พลังงานที่ใชในครัวเรือนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยไดคิดคน ระบบการผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงคสําหรับเครื่องยนตเล็ก เพื่อรองรับความตองการใชพลังงานในพื้นที่หางไกล

หลักการผลิตแกสชีวมวลเอนกประสงค

การทํ า ให เ ชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลได รั บ ความร อ นในสภาพ แวดลอมที่จํากัด โดยเติมออกซิเจนเพื่อผลิตแกสที่ติดไฟได (Combustible Gas) ความรอนที่ใชในการผลิตแกสเกิดขึ้นใน สวนของการเผาไหมวัสดุ หรือ Oxidation Zone จะมีอุณหภูมิ อยูร ะหวาง 700 C – 1,100 C โดยในสวนของ Reduction Zone จะอยูระหวาง 600 C - 900 C

64

Energy#52_p64-65_Pro3.indd 64

2/27/13 4:15 PM


กระบวนการดังกลาวทําใหเกิดแกสไดอยางไร

เมื่อเชื้อเพลิงเขาสู Drying zone จะเริ่มใหความรอน แกระบบ จากนั้นเชื้อเพลิงชีวมวลจะเริ่มเกิดปฏิกิริยาเผาไหมที่ Combustion zone ซึง่ ในโซนนีจ้ ะมีการเติมออกซิเจนใหแกระบบ โดยเติมอากาศเขาไป เมื่อเชื้อเพลิงชีวมวลเริ่มเกิดการเผาไหม แกสที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นไปยังชั้น Pyrolysis Zone กอนที่จะวน กลับลงมาที่ Reduction zone โดยแกสจะไหลผานขีเ้ ถา กอนจะ ทําปฏิกิริยากลายเปนกาซคารบอนมอนอกไซด แลวไหลผานทอ ออกมาเปนแกสที่เราสามารถนําไปใชประโยชนตอได

50 ปตอจากนี้ไป พลังงานจากฟอสซิลจะหมดไปจากโลกใบนี้ จากผลพวงดังกลาวนี้เองทําใหตองมีการประดิษฐคิดคนตาง แสวงหาแหลงพลังงานทางเลือกใหม ๆ เพื่อใชทดแทนพลังงาน จากฟอสซิล หลายโครงการสามารถผลิตอุปกรณ เครื่องมือ ใน การแปรสภาพแหลงพลังงานจากวัสดุอนื่ ๆ ทีม่ อี ยูจ าํ นวนมากให เปนพลังงานทางเลือกทดแทนพลังงานฟอสซิลที่กําลังจะหมดไป ผลสําเร็จทีไ่ ดจากระบบการผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงค สําหรับเครื่องยนตเล็กดวยเงินลงทุนเบื้องตน 25,000 บาท สามารถนําแกสชีวมวลเอนกประสงคมาใชกบั เครือ่ งยนตดเี ซล จะสามารถประหยัดนํา้ มันดีเซลไดถงึ 60% และจากการใชกงิ่ ไม ถาน ซังขาวโพด ชานออย จํานวน 15 กิโลกรัม จะสามารถ ผลิ ต แก ส ชี ว มวลเอนกประสงค ที่ ใ ช กั บ เครื่ อ งยนต ไ ด ถึ ง 7 ชั่วโมง

แกสชีวมวลที่ไดสามารถนํามาใชไดอยางไร

แกสชีวมวลอเนกประสงคที่ไดจะตองนํามาผานการบวน การทําความสะอาดกอนนําไปใชงาน โดยแบงตามประเภทที่เรา จะนําไปใชประโยชน ซึ่งขั้นตอนในการทําความสะอาดจะมาก หรือนอยขึ้นอยูกับวาตองใชในขอจํากัดเชนใด หากนําไปใชกับ เครือ่ งยนตกต็ อ งสะอาดมากหนอย หากไปใชกบั เตาเผาอุณหภูมิ สูงก็ไมจําเปนตองสะอาดมาก ปจจุบนั ปญหาเรือ่ งพลังงานกําลังเปนเรือ่ งทีท่ กุ ภาคสวนได รับผลกระทบโดยตรง เนื่องจากทุกคนลวนมีสวนในการบริโภค พลังงานทั้งสิ้น โดยเฉพาะพลังงานที่ไดจากซากฟอสซิลในรูป ของนํ้ามันดิบที่เรานําขึ้นมาใชกวาศตวรรษ และปจจุบันก็กําลัง ลดปริ ม าณลงมาก ท า ยที่ สุ ด ประมาณการกั น ว า อี ก ไม เ กิ น 65

Energy#52_p64-65_Pro3.indd 65

2/27/13 4:15 PM


Energy#52_p66_Pro3.ai

1

2/27/13

9:26 PM


Have To Know Bar Beer

รันอิน…รถใหม ใครๆ ก็ทาํ ได

อย า งที่ เ รา ๆ ท า น ๆ ทราบกั น ดี ว  า ตั้ ง แต ป  2555 เปนตนมา จนถึงป 2556 ประเทศไทยมีรถยนตเพิ่มขึ้นจากเดิม อีกประมาณ 1.2 ลานคัน เปนผลมาจากนโยบายรถยนตคนั แรก และในจํานวนดังกลาวสวนใหญจะเปนผูที่เพิ่งซื้อรถคันแรก ทั้ง ๆ ที่ยังขับรถไมเปนและไมรูวิธีใชรถใหมมากนัก โดยเฉพาะ เรื่องการรันอินรถยนตหลังจากที่ออกจากโชวรูมใหม ๆ ป จ จุ บั น เรื่ อ งการรั น อิ น รถยนต มั ก ถู ก มองข า ม เพราะมีการบอกตอกันปากตอปากวา รถใหมยุคนี้ไมจําเปนตอง รันอินอีกตอไปแลว ความคิดดังกลาวจะถูกหรือผิดอยูที่ทาน เจ า ของรถเอง แต เ ชื่ อ เถอะว า การรั น อิ น ยั ง เป น สิ่ ง ที่ จํ า เป น เพราะหากสังเกตในคูมือรถใหมยังคงแนะนําใหทําการรันอินอยู แลวรถยนตที่เขาขายการรันอินมีคุณสมบัติอยางไร ? แนนอนวาตองเปนรถยนตใหมปายแดง เลขไมล ไมเกิน 1,000 กิโลเมตร เพราะการประกอบเครื่องยนตนั้นประกอบดวย ชิ้นสวนตาง ๆ มากมาย บางชิ้นอาจยังไมเขาที่เขาทาง ไมใชวา งานประกอบของโรงงานผลิตเครื่องยนตไมไดมาตรฐาน แตเปน ธรรมชาติ ข องการประกอบชิ้ น ส ว นต า งๆ รวมถึ ง ชิ้ น ส ว น ที่ ยั ง เ ป  น เ ห ลี่ ย ม ค ม เ มื่ อ เ ร า รั น อิ น เ ค รื่ อ ง ย น ต  ก็ จ ะ ทําใหชิ้นสวนตาง ๆ เขาที่เขาทางมากขึ้น รวมถึงเหลี่ยมคม ของชิ้ น ส ว นก็ จ ะโค ง มนจากการเคลื่ อ นไหวของกระบวนการ สั น ดาปของเครื่ อ งยนต จนชิ้ น ส ว นภายในเข า ที่ ต ามสเปค ของการออกแบบเครือ่ งยนต ซึง่ กระบวนการดังกลาวตองเปนไป แบบชา ๆ ไมเรงรีบ

ที นี้ ม าถึ ง วิ ธี ก ารรั น อิ น เครื่ อ งยนต ดี ก ว า ว า มี ข  อ ควร ปฏิบัติอยางไร เริ่มที่การสตารทเครื่องยนตครั้งแรกหลังจาก จอดรถมาเกินกวา 6 ชั่วโมง อยาเหยียบคันเรงหลังเครื่องยนต ติด รอจนกวาไฟสัญญาณเตือนตาง ๆ ที่หนาปดจะดับหมด และ ควรรอสัก 10-15 วินาที กอนออกรถเพือ่ ใหแนใจวานํา้ มันหลอลืน่ ในเครือ่ งยนตทาํ งานเต็มที่ ขณะออกตัวอยาออกตัวแรงจนเกินไป ที่สําคัญอยาเพิ่งเปดแอรทันที ควรใหรถเคลื่อนตัวกอนสัก 2-3 นาที จึงเปดแอร หากมีความจําเป นตองขับรถยนต ใหมออกตางจังหวัด หรื อ เดิ น ทางไกลขณะขั บ ขี่ ไ ม ค วรใช ค วามเร็ ว แช ร อบเครื่ อ ง ติ ด ต อ กั น เกิ น 5 นาที ควรเปลี่ ย นใช ค วามเร็ ว รอบเครื่ อ ง ที่ ต  า ง ๆ กั น แต อ ย า ลื ม ว า ไม ค วรให เ กิ น 4,000 รอบ ตอนาที หลังจากการเดินทางไกล กอนดับเครื่องควรปลอยให เครื่ อ งเดิ น เบาก อ นสั ก 10-15 วิ น าที จึ ง ค อ ยดั บ เครื่ อ ง หลี ก เลี่ ย งการเร ง เครื่ อ งก อ นดั บ เพราะจะทํ า ให นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ค า งที่ หั ว ลู ก กระบอกสู บ และชะล า งนํ้ า มั น หล อ ลื่ น บริเวณแหวนลูกสูบออกไป จนทําใหเกิดความเสียหายในระยะยาว หลีกเลีย่ งการเติมหัวเชือ้ หรือนํา้ มันอืน่ ๆ ลงในเครือ่ งยนต เพราะเครื่ อ งยนต ช  ว งนี้ ยั ง ต อ งการให ชิ้ น ส ว นต า ง ๆ ไดเสียดสีเพื่อลบเหลี่ยมของชิ้นสวนภายในเพื่อการเขาที่ของ ชิ้นสวน การเติมหัวเชื้อหรือนํ้ามันที่ผิดจากโรงงานจะทําใหชิ้น สวนเสียหายได หมั่นเช็คระดับนํ้ามันเครื่องและนํ้าในหมอนํ้า ตามปกติ ก็เพียงพอตอการรันอินแลวครับ 67

Energy#52_p67_Pro3.indd 67

2/15/13 9:44 PM


Vehicle Concept Bar Beer

BMW Concept Active Tourer พลังขับเคลือ่ น Plug-In Hybrid คายใบพัดสีฟา “BMW” ถือเปนคายที่มีประวัติศาสตร ยาวนาน โดยเฉพาะเรื่ อ งของเทคโนโลยี จ นขึ้ น แท น ผู  นํ า ในระดั บ โลก เทคโนโลยี ใ หม ๆ มั ก ถู ก ถ า ยทอดผ า นทาง รถยนตตนแบบ หรือ Concept Car ซึ่งรถตนแบบที่ถูกจับตา มองไมนอยของคายนี้คือ BMW Concept Active Tourer ที่ มีดีดวยระบบ Plug-In Hybrid BMW Concept Active Tourer ยานยนต ต น แบบล า สุ ด ที่ ไ ด รั บ การออกแบบตามปรั ช ญาที่ ล งตั ว และยังคงเอกลักษณของคายไวอยางชัดเจน หลักใหญก็เพื่อ โชวเรื่องของเทคโนโลยีรวมถึงการพัฒนาดานการออกแบบที่ หลากหลายในการตอบสนองความตองการดานการใชงานในชีวติ ประจําวัน โดยเนนความเปนรถยนตอเนกประสงค สงางาม และ ความหรูหรา เปดตัวครั้งแรกในงาน Paris Motor Show 2012 68

Energy#52_p68-69_Pro3.indd 68

2/19/13 9:34 PM


การออกแบบภายนอก เปนไปตามวัตถุประสงคของผู ออกแบบ เพือ่ ใหเปนรถยนตทตี่ อบสนองความตองการของชีวติ ประจําวัน รูปรางจึงเบนไปทางรถแบบ MPV (Multi-Purpose Vehicle) มากขึ้น แตเนนรูปแบบที่แตกตางดวยการออกแบบ รูปลักษณทรงลิ่มลูลม กระจังหนา และกันชนทรงสปอรต โดย ใชเสนสายที่พาดตอเนื่องถึงแนวหลังคาและ สปอยเลอรหลัง เพิ่มความโดดเดนดวยไฟหนาแบบ LED ตามสมัยนิยม พรอม เพิ่มความมั่งคงดวยฐานลอหนา-หลังกวาง 2,670 มม. และลอ อัลลอยขนาด 20 นิ้ว ดานการดีไซนภายในหองโดยสาร ยังคงความหรูหรา ลํ้ า สมั ย ตามแบบของ BMW ไว อ ย า งครบถ ว น ใช เ ส น สาย อั น เป น เอกลั ก ษณ บุ ด  ว ยหนั ง แท ผสานเข า กั บ ลายไม แ ละ ตกแตงสีสม มาตรวัดของ Concept Active Tourer พรอม ระบบ Head-Up Display จุ ด เด น ของห อ งโดยสารจะอยู  ที่ ร ะบบอิ น โฟเทนเมนท รู ป แบบใหม เบาะหลั ง แยกพั บ ได

ที่ ส ะดุ ด ตาเห็ น จะเป น การออกแบบหลั ง คากระจกแบบกว า ง พิ เ ศษพร อ มเทคโนโลยี Suspended Particle Device ที่สามารถรับแสงธรรมชาติจากภายนอกเขามาเพิ่มความสวาง ใหกับหองโดยสารไดไมนอย ใหความสวยงามไดทั้งเวลากลาง วันและกลางคืน สามารถปรับแสงความสวางไดตามตองการที่ เรียกวา Cool shade นอกจากนี้ยังมีการเสริมหนาจอแสดง ขอมูลทีจ่ าํ เปนของสถานะการขับขีแ่ ละอุปกรณตา ง ๆ ของรถยนต ที่ดานหนา รวมถึงดานหลังเพื่อเพิ่มความบันเทิงใหกับผูโดยสาร ตอนหลังอีกดวย

มาถึ ง ไฮไลท ข อง BMW Concept Active Tourer กั บ ขุ ม พลั ง แบบรู ป แบบ Plug-In Hybrid ประกอบด ว ย เครื่องยนตเบนซินเทอรโบคู 1.5 ลิตร ทํางานรวมกับมอเตอร ไฟฟาพรอมแบตเตอรี่ Li-ion ใหแรงมาสูงสุด 190 แรงมา และให แ รงบิ ด สู ง สุ ด 200 นิ ว ตั น -เมตร สามารถทํ า อั ต รา เร ง ได 0-100 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมงที่ 8 วิ น าที โดยโหมดขั บ เคลื่ อ นด ว ยระบบไฟฟ า อย า งเดี ย วสามารถวิ่ ง ได ร ะยะ ทางเฉลี่ ย 32 กิ โ ลเมตร และสามารถทํ า ความเร็ ว สู ง สุ ด ที่ 198 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง กั บ ตั ว เลขประหยั ด เชื้ อ เพลิ ง ที่ 2.5 ลิตร / 100 กิโลเมตร ถือเปนอีกหนึ่งรถตนแบบที่ไมธรรมดา ซึ่งกําหนดการ ที่ แ น น อนของการผลิ ต เพื่ อ จํ า หน า ยยั ง ไม ไ ด รั บ การยื น ยั น ที่ชัดเจน ใครที่เปนแฟนของคายใบพัดสีฟาคงตองอดใจรอกัน ไปกอนนะครับ 69

Energy#52_p68-69_Pro3.indd 69

2/19/13 9:34 PM


Energy Test Run นัษรุต เถื่อนทองคํา

“ชีวิตกลางแจง” วิถีชีวิตที่หลายคนหลงไหล เพราะถือ เปนการใชชีวิตเพื่อคนหาสิ่งใหมๆ ใหกับชีวิต เปรียบเสมือน การกาวออกจากกรอบของการใชชีวิตที่เรงรีบในเมือง ซึ่งการ ใชชีวิตรูปแบบนี้ตองมีการเตรียมพรอมทั้งเรื่องของอุปกรณ การดํารงคชีวิต สภาพจิตใจ และที่สําคัญยานพาหนะที่จะพา ไปสูฝนของการเดินทางตองสามารถตอบโจทย ไดอยางครบ ถวนในทุกอยางยางกาวของการผจญภัย Energy Test Run ฉบับนี้ของเอาใจผูที่ชื่นชอบชีวิตกลาง แจงกับ รถ SUV พันธุแท HYUNDAI TUCSON 2.0D 4WD CRDi ซึ่งถือเปนรถ SUV(Sport Utility Vehicle) คันหนึ่งที่ หนาตาดี โดยเฉพาะในตลาดกลุมเดียวกัน และตนสังกัดก็ได ใหคํานิยามกับรถรุนนี้วา The Sexy SUV หรือ Sexy Tucson นั้นเอง ที่สําคัญ Tucson ไมไดมีดีแคหนาตา แตเรื่องของ สมรรถนะก็ไมเปนสองรองใคร เรียกไดวา เกิดมาลุย…ตองใช ใหคุมกันเลยทีเดียว เริ่มกันที่รูปลักษณภายนอกเปนอันดับแรกกับการเดิน สํ า รวจรอบคั น ต อ งบอกว า หลงรั ก โดยเฉพาะเรื่ อ งของการ ออกแบบ เพราะการออกแบบของฮุนไดเจเนอเรชัน่ หลังๆ ประสบ ความสําเร็จดานการออกแบบเพือ่ สรางเอกลักษณใหกบั แบรนด ของตัวเองดวยแนวคิด Fluidic Sculpture Design ทีเ่ นนความ ลื่นไหลตอเนื่องของเสนสายบนตัวถัง ใหทั้งความสวยงามและ อากาศพลศาสตรที่ดี ดานหนาโดดเดนดวยกระจังหนาขนาดใหญทรง 6 เหลี่ยม โคมไฟหนาขนาดใหญเพรียวตา พรอมสปอตไลตทรงกึ่งตั้ง ดานขางใหเสนสายที่สอดรับถึงโปรงลอหลัง เสริมดวยชายลาง ของบานประตูที่เลนระดับ กระจกมองขางพรอมไฟเลี้ยว LED สวนชุดโคมไฟทายมาในรูปแบบพลิ้วไหวเชนเดียวกับชุดโคมไฟ หนาพรอมทับทิมสะทอนแสงขนาดใหญ ประตูบานที่ 5 ใหญโต สามารถเปดเพื่อใชสัมภาระไดอยางสบาย

ดวยความที่ถูกออกใหเปนรถ SUV มิติตัวถังจึงเนนความ คลองตัวที่ไมเล็กไมใหญจนเกินไปอยูที่ กวาง 1,820 มิลลิเมตร ยาว 4,410 มิลลิเมตร สูง 1,655 มิลลิเมตร ฐานลอขนาด 2,640 มิลลิเมตร พรอมลอแม็ก 5 กาน ขนาด 6.5 x 17 นิ้ว รัดดวยยาง ขนาด 225/60 R17 รวมนํ้าหนัก 1,700 กิโลกรัม กาวเขาสูหองโดยสาร ไดมีการเก็บรายละเอียดภายนอก มาสานตอมาสูภ ายในดวยการออกแบบทีเ่ นนไปทางเสนสายทีล่ งตัว เขากับการจัดวางสวิตชควบคุมระบบตางๆ ใชงานสะดวกภายใต โทนสีดาํ ตัดกับเบาะนัง่ สีนาํ้ ตาลแดง โดยรุน นีไ้ ดเพิม่ ความสะดวก สบายกุญแจแบบ immobilizer เมือ่ กุญแจอยูใ นรัศมีกส็ ามารถ กดปุม START ไดเลย รวมถึงการเปดประตูรถ

ขอมูลทางเทคนิค เครื่องยนตแบบ

4 สูบ ดีเซล คอมมอนเรลเทอรโบ แปรผัน CRDi ความจุ 1,995 ซีซี กําลังสูงสุด 177 แรงมา ที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 39.94 กิโลกรัม-เมตร ที่ 1,800-2,500 รอบ/นาที พวงมาลัยแบบ แร็คแอนดพิเนียน พรอมระบบ เพาเวอรไฮโดรลิค ระบบเบรก หนา ดิสกเบรก พรอมคลีบ ระบายความรอน หลัง ดิสกเบรก ระบบกันสะเทือน หนา เม็คเฟอรสันสตรัท หลัง มัลติลิงค พรอมโชคอัพ ASD ความยาว x กวาง x สูง 4,410 x 1,820 x 1,655 มิลลิเมตร ขนาดลอ 17 x 6.5J พรอมยาง 225/60R17 ความจุนํ้ามัน 55 ลิตร 70

Energy#52_p70-72_Pro3.indd 70

2/27/13 4:07 PM


Hyundai Tucson CRDi 4WD

เกิดมาลุย…ตองใชใหคุม

71

Energy#52_p70-72_Pro3.indd 71

2/27/13 4:07 PM


สวนมาตรวัดเปนแบบทรงกลม 2 วง ตรงกลางมีจอแส ดงขอมูลการขับควบคุมดวยสวิตช Trip บนแผงคอนโซลฝง ขวา โดยใหแสงสีเปนโทนสีฟา ถัดมาเปนชุดสวิตชระบบตางๆ ประกอบดวยสวิตชระบบ EPS ควมคุมเสถียรภาพการขับขี่, สวิตชระบบ DBC-Downhill Brake Control ลดความเร็ว ขณะลงเขา, สวิตชระบบขับเคลื่อน 4 ลอ พรอมสวิตชปรับแสง สวางมาตรวัด ดานความบันเทิงของรถมาพรอมเครือ่ งเสียงแบบ Built-in ควบคุมเครือ่ งเสียงผานสวิตชทพ ี่ วงมาลัย ชองเชือ่ มตอ AUX และ USB สําหรับสมรรถนะของ TUCSON มีใหเลือกทั้งแบบเบนซิน และดีเซล ซึ่งรุนที่ทําการทดสอบเปนเครื่องยนตดีเซลคอมมอน เรลเทอรโบแปรผัน CRDi ขนาด 1,995 ซีซี ใหกําลังสูงสุด 177 แรงมา ที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 39.94 กิโลกรัม-เมตร ที่ 1,800-2,500 รอบตอนาที สงกําลังดวยเกียรอตั โนมัติ 6 จังหวะ พรอมระบบขับเคลื่อน 4 ลอ จากสเปกของตัวรถและเครื่องยนตขางตน จึงมีความรูสึก วาอยากทดสอบแบบยาวๆ ไกลๆ สักหนอย วาแลวก็จัดแจงเก็บ กระเปาเตรียมเดินทางไกลกันเลย โดยตั้งเปาจุดหมายปลายทาง ที่จังหวัดเชียงใหม พรอมเพื่อนรวมทางเต็มทุกที่นั่งและสัมภาระ เต็มพื้นที่ การเดินทางชวงแรกระหวาง 100 – 300 กิโลเมตร แรก จะเปนเสนทางแบบ On road ตรงยาวตามเสนทางเลี่ยงเมือง ซึ่ง อารมณของการตอบสนองชวงนี้ให ความรูสึกมั่นคง อาจเปนเพราะตัว รถที่ใหญ ฐานลอที่กวาง บวกกับลอ ขนาด 17 นิ้ว ทําใหไมรูสึกเหนื่อยลา ต อ การขั บ ขี่ ต อ งยกความดี ค วาม ชอบใหกับเครื่องยนตที่ใหแรงบิดสูง ในรอบตํ่า ทําใหการขับใชงานทั่วไปมี

ความคลองตัว สามารถเพิม่ ความเร็วเพือ่ เรงแซงทีค่ วามเร็วระดับ ความเร็ว 100 กิโลเมตร + ไดอยางสบาย รวมถึงแปนคันเรงยัง เปนแบบมีจุดยึดที่พื้นรถ ทําใหการขับขี่ไมเมื่อยเทาจนความเร็ว ไหลไปแตะระดับ 160-180 กิโลเมตรตอชัง่ โมงหลายครัง้ แบบไมรู ตัว ซึ่งชวงตรงยาว TUCSON คันนี้สามารถทําความเร็วไปแตะที่ 200 กิโลเมตรตอชั่วโมงเลยทีเดียว ตอดวยเสนทางคดเคี้ยวตามภูมิประเทศของภาคเหนือ ชวงนีไ้ ดทาํ การทดสอบระบบขับเคลือ่ น 4 ลอ ซึง่ เปนแบบอัตโนมัติ เมื่อขับขี่แบบปกติจะขับเคลื่อน 2 ลอหนา และเมื่อระบบตรวจพบ วามีการลื่นไถลก็จะเขาสูโหมดขับเคลื่อน 4 ลอใหโดยอัตโนมัติ โดยใหความรูสึกหนักของพวงมาลัยเพิ่มมาเล็กนอย การตอบ สนองของระบบกันสะเทือนอิสระพรอมเหล็กกันโคลงทั้ง 4 ลอ ดานหนาแม็กเฟอรสันสตรัต ดานหลังมัลติลิงก ทําไดดีทั้งการ ควบคุมชวงทางโคงและขึ้นเขา ซึ่งในการขึ้นเขาไมจําเปนตองใช ความเร็วเพื่อสงขึ้นเขาแตอยางไร เพราะเครื่องยนตตอบสนอง ไดทันทวงทีและมีแรงบิดเหลือเฟออยูแลว ทําใหเปนรถที่ขับ สนุกทัง้ ทางลาดและชัน รวมถึงการลงทางลาดก็มโี อกาสทดสอบ ระบบ DBC ลดความเร็วขณะลงเขา รถตอบสนองดี โดยที่เรา ไมตองเหยียบเบรก เพราะรถจะชะลอสลับหยุดใหทันทีเมื่อทาง ลาดมากเกินไป ทีนเี้ รามาดูกนั ทีอ่ ตั ราสิน้ เปลืองของ TUCSON กันดีกวาวา เครือ่ งยนตดเี ซลขับเคลือ่ น 4 ลอขับสนุกคันนี้ สิน้ เปลืองขนาดไหน จากเสนทางทดสอบวิ่งยาวชวง 100 – 300 กิโลเมตร จอแสดง ผลโชวที่ 5.8 ลิตรตอ 100 กิโลเมตร หรือที่ประมาณ 17.2 กิโลเมตรตอลิตร ถือวาโอเคเลยทีเดียวกับราคานํ้ามันที่รัฐบาล ควบคุมไมใหเกินลิตรละ 30 บาท สวนการสิน้ เปลืองในเมืองคงไม ขอกลาวถึง เพราะมีปจ จัยหลายอยางเขามาเกีย่ วของ โดยเฉพาะ สภาพการจราจรที่ติดขัดอยางปจจุบัน HYUNDAI TUCSON ถือเปนทางเลือกทีแ่ ตตา งสําหรับ ผูชื่นชอบชีวิตกลางแจงที่ตองการพาหนะที่สามารถลุยไดบาง โอกาส และดูดมี สี ไตลเมืองขับขีใ่ นเมือง โดย ฮุนได มอเตอร (ไทย แลนด) ไดเคาะราคา TUCSON 2.0D 4WD CRDi ไวที่ 1,690,000 บาท ซึง่ อาจสูงกวารถประเภทเดียวกันในตลาด แตอยาลืมวารถ รุน นีเ้ ปนรถนําเขา ยอมมีความใชจา ยทีเ่ พิม่ ขึน้ มาอยางแนนอน แต เมือ่ เอาขอดีเรือ่ งของสมรรถนะและการสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิงมาหัก ลางแลวละก็ บอกไดคาํ เดียวเลยวา “สูส”ี ครับ

72

Energy#52_p70-72_Pro3.indd 72

2/27/13 4:07 PM


Energy#52_p73_Pro3.ai

1

2/23/13

2:22 AM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

นอกจากนี้ ยังเกิดการรวมตัวกันเปนเครือขายในการสงตอ เผยแพรความรู การแลกเปลี่ยนขอมูลสินคามีกิจกรรมรณรงค รวมกัน และการจัดเสวนาพูดคุยกับผูผลิตที่เชิญมาบรรยาย หมุนเวียนไปในรานกรีนตาง ๆ ไมวาจะเปนการใหขอมูลการผลิต อาทิ ผลิตที่ไหน ผลิตโดยใคร ผลิตอยางไร และมีสวนประกอบ อะไรบาง ถึงแมวาในภาพรวมราคาของผลิตภัณฑสีเขียวจะแพง กวาผลิตภัณฑธรรมดา แตผบู ริโภคก็ยนิ ดีและเต็มใจทีจ่ ะจายเงิน เพื่อซื้อสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นี่ คื อ ปรากฏการณ ที่ เปน สั ญ ญาณเตือนใหฟ ากธุรกิจ ต อ งปรั บ ตั ว ในทุ ก ๆ กิ จ กรรมของกระบวนการโลจิ ส ติ ก ส และซัพพลายเชน เพื่อตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจ และพฤติกรรมของผูบริโภคที่กําลังเปลี่ยนแปลงไป อยางไรก็ดี ปจจัยที่เปนตัวแปรสําคัญสําหรับผูประกอบ การ ผูผ ลิต หรือผูบ ริหารธุรกิจ ตองคํานึงถึงผูบ ริโภคหัวใจสีเขียว ดวย เพือ่ ใหการดําเนินธุรกิจประสบผลสําเร็จและเกิดความยัง่ ยืน ซึง่ การรักษาสิง่ แวดลอมตลอดเสนทางการจัดการโลจิสติกสและ ซัพพลายเชนเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของ ผูบริโภคใน 4 ประเด็น ดังนี้

ผูบ ริโภคสีเขียว (Green Consumer) ป จ จุ บั น ผู  บ ริ โ ภคสายพั น ธุ  ใ หม หั ว ใจสี เ ขี ย ว(Green Consumer) มุงแสวงหาและใหความสําคัญตอการเลือกซื้อ / ก า ร บ ริ โ ภ ค จ า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ  แ ล ะ บ ริ ก า ร โ ด ย คํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ สิ่ ง แวดล อ มให น  อ ยที่ สุ ด เช น สีที่ยอยสลายได โดยวิธีชีวภาพ (Biodegradable paint) สเปรยฉีดผมที่ไมผสมสาร CFC พฤติกรรมพกกระเปาหรือ ถุงผาจายตลาดของตนเอง รวมไปถึงพฤติกรรมการดําเนินชีวติ ภายในทีอ่ ยูอ าศัย เชน ปดกอกนํา้ ขณะแปรงฟน เปดเครือ่ งปรับ อากาศใหอยูใ นอุณหภูมทิ เี่ หมาะสม เปนตน

ประเด็นที่ 1 ดานประชากรศาสตร์ (Demographics) ไดแก เพศ อายุ รายได การศึกษา อาชีพ เปนตน จากการวิเคราะหพบวา เพศหญิ ง จะให ค วามสํ า คั ญ และความสนใจต อ การรั ก ษา สิง่ แวดลอมมากกวาเพศชาย ซึง่ จะอยูใ นชวงอายุระหวาง 25-35 ป สวนใหญสาํ เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ผูท มี่ กี ารศึกษาสูงมี แนวโนมทีจ่ ะสนใจและคํานึงถึงผลิตภัณฑทไี่ มทาํ ลายสิง่ แวดลอม และมีอาชีพพนักงานบริษัท ประเด็ น ที่ 2 แนวคิ ด ของตนเอง (Self Concept) เปนความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอตนเอง เปนระบบที่เกี่ยวของ กับกฎเกณฑของสังคม โดยมีแนวโนมที่จะเกี่ยวของกับซุปเปอร อีโก (Supper ego) ซึ่งมุงเนนและใหความสําคัญกับผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการแกไขปญหาภาวะโลกรอน ประเด็นที่ 3 ความรูของผูบริโภค (Knowledge) ความรู มีอิทธิพลตอกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ จัดโครงสรางของขอมูลที่ผูบริโภครวบรวมและใชขาวสารให เปนประโยชนในการตัดสินใจ ตลอดจนการประเมินคุณคาของ ผลผลิตของสินคาและการบริการ ไมวาจะเปนการศึกษาแหลง ที่มาของสินคา เกี่ยวกับขอมูลตนกําเนิดสินคา เพื่อชวยมองหา ที่มาของวัตถุดิบตาง ๆ ที่นํามาผลิตเปนสินคา เพื่อเปนตัวเลือก ในการพิจารณาถึงแหลงที่มาและระยะทางการขนสง ซึ่งเปน ขั้นตอนที่ทําใหเกิดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมา โดยการทําความรูจ กั กับฉลากรองรับทางสิง่ แวดลอม เชน ฉลาก เขียว ฉลากคารบอน เปนตน

74

Energy#52_p74-75_Pro3.indd 74

2/19/13 9:29 PM


ในการจะเลื อ กซื้ อ สิ น ค า ต า ง ๆ จะมองหาฉลากบน ผลิตภัณฑนั้น ๆ วา ฉลากแตละประเภททําการรับรองในเรื่องใด และมี ส  ว นช ว ยลดการปล อ ยก า ซคาร บ อนไดออกไซด ม าก เทาใด นอกจากนี้ยังใหความสําคัญกับการบริโภคใหนอยลง ในการชวยธรรมชาติ การลดซือ้ ของใหม ๆ โดยการใชบริการเชายืม การนําสิ่งของเกามารียูส (Reuse) โดยเฉพาะในโลกออนไลน ที่มีบริการเชา-ยืมหรือขายสินคาหลากหลายชนิด โดยเฉพาะ ในตางประเทศมีบริการที่เรียกวา“การแชรสินคาในกลุมผูใชงาน ออนไลน” เชน เว็บไซต Neighborrow NeighborGoods และ Freecycle หรือบริการประเภทสิ่งบันเทิงอยาง Netflix และ BookMooch คาดวานาจะเกิดขึ้นในประเทศไทยในไมชา

ประเด็นที่ 4 คานิยมของผูบริโภค (Values) เปนความคิด ความเชื่ อ ที่ มี ผ ลอย า งยิ่ ง ต อ พฤติ ก รรม ทั ศ นคติ และการ ตัดสินใจของบุคคล โดยใชดุลยพินิจที่มีตอสถานการณตาง ๆ ซึ่งผูบริโภคเรียนรูจากประสบการณ ในอดีตที่จะเปนตัวเชื่อม ระหว า งความคิ ด และพฤติ ก รรม ป จ จุบั น พบว า ผู  บ ริ โ ภคที่ มี ค า นิ ย มแบบอนุ รั ก ษ นิ ย ม (Collectivism) มีแ นวโน ม ที่ จ ะ เปนมิตรตอสภาพแวดลอมมากกวาผูบริโภคที่มีคานิยมเปน ปจเจกชน (Individualism)

จะเห็นไดวา แนวโนมของผูบ ริโภคสีเขียว (GreenConsumer) จะมี ลั ก ษณะการบริ โ ภคสี เ ขี ย ว (Green Consumption) เปนผูมีจิตสํานึกแหงสิ่งแวดลอม หรือเปนผูแสวงหาคุณคา ทางจิตใจ คํานึงถึงสังคม สิง่ แวดลอม รวมถึงการรักษโลกทีก่ าํ ลัง ดําเนินชีวิตอยู โดยยินดีที่จะจายเงินเพื่อซื้อสินคาหรือบริการ ที่ ไ ม ทํ า ลายสิ่ ง แวดล อ ม ดั ง นั้ น การดํ า เนิ น การทางธุ ร กิ จ ของผูประกอบธุรกิจหรือผูบริหารธุรกิจตองหันมาใสใจตัว ผูบริโภค ซึ่งเปนปลายทางของกิจกรรมการจัดการโลจิสติกส และซัพพลายเชน มิเชนนั้นหากคูแขงขันทางธุรกิจตอบสนอง ความตองการของผูบ ริโภคสายพันธุใหมไดดกี วา เมือ่ นัน้ ความ สําเร็จในการดําเนินธุรกิจจะเปนสิ่งที่ไกลเกินเอื้อม 75

Energy#52_p74-75_Pro3.indd 75

2/19/13 9:29 PM


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

LPG ทรัพยากรมีคุณคา ธรรมชาติใหมา

LPG ยอมาจากภาษาอังกฤษวา Liquefied Petroleum Gas มีความเหมือนทีแ่ ตกตางกับ CNG Compressed Natural Gas ทั้งในดานคุณสมบัติและคุณคา LPG หรือ ปโตรเลียมเหลว คือ กาซบิวเทนผสมโพรเพน ซึง่ ไดมาจากกระบวนการกลัน่ จากนํา้ มันดิบ และการขุดเจาะจากแหลงกาซธรรมชาติ เชน ในอาวไทยของเรา เมือ่ LPG สัมผัสอากาศและอยูใ นสภาพกาซจะหนักกวาอากาศและ รวมตัวกันอยูที่พื้น หากมีประกายไฟหรือความรอนก็อาจระเบิด ได สวน CNG ที่รูจักกันทั่วไป คือ “กาซธรรมชาติเติมรถยนต”

ปรับราคา LPG

ความจําเปนเหนือเกมการเมือง

ศึ ก ราคา LPG สงครามทางแนวคิ ด ของคนไทย ยืดเยื้อมาถึงวันนี้วันที่รัฐไมกลาตัดสินใจอีกครั้งหนึ่ง โยนหิน ถามทางแลวเลือ่ นการปรับโครงสรางราคา LPG ภาคครัวเรือน ออกไปอีก นโยบาย LPG ผิดซํ้าซากบางครั้งราคาถูกกวา นํ้ามันเตา ภาคอุตสาหกรรมแหมาใชแทนนํ้ามันเตา ในอดีต เรามี LPG เพี ย งพอใช ใ นประเทศ แต วั น นี้ ต  อ งนํ า เข า ใน ปริมาณที่มากกวาการผลิตไดในประเทศ และยังตั้งราคา LPG ภาคครัวเรือนตํา่ กวาราคาตลาด โดยนําภาษีของประชาชนทีใ่ ชรถ ใชถนนมาอุดหนุน จึงเกิดกองทัพมดลักลอบสงออก LPG หุงตม ไปยังประเทศเพื่อนบานในราคาที่รัฐอุดหนุนมาเปนเวลานาน ในฐานะผูใสใจพลังงานขอวิงวอนผูถ อื นโยบายวา “การอุม ราคา พลังงาน หมายถึง การทําลายสิ่งแวดลอมอยางเลือดเย็น” พลังงานจากฟอสซิลทุก ๆ หนวยแลกมาดวยการเพิ่ม Green House Gas และยังเปนการนําทรัพยากรของลูกหลานมาใช อยางขาดสํานึกรับผิดชอบ

หรือที่คุนหูคนไทยวา NGV ก็คือกาซมีเทนที่มีนํ้าหนักเบากวา อากาศซึ่งเราสามารถผลิตทดแทนไดจากกระบวนการที่คุนหู คื อ Biogas จากฟาร ม สุ ก รและนํ้ า เสี ย จากโรงงานแป ง มันสําปะหลัง

คุณคาเหนือราคา เมือ่ LPG ผานโรงแยกกาซจะไดผลผลิตมี ชือ่ เรียกตามภาษาวิชาการคือ C1 ถึง C5 และได Co2 หรือนํา้ แข็งแหง ทีเ่ ราใชอยูใ นภาคอุตสาหกรรมในปจจุบนั สวน LPG เสมือนสาวสวย อยูใน C3 และ C4 ไมเพียงใชเปนเชื้อเพลิงไดเหมือนพี่นอง ที่คลานตามกันมาแต ยั ง สามารถใช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เม็ดพลาสติกทีเ่ ปนสวนผสมตัง้ ตนในการผลิตสินคาเกือบทุกสิง่ ทุกอยางในชีวิตประจําวันของนักบริโภคนิยมทุกวันนี้ ตั้งแต ขวดนํ้าดื่มชนิ ดตาง ๆ ถัง กะละมัง ไปจนถึงเครื่องใชไฟฟา ชิน้ สวนรถยนต อุปกรณทางการแพทย ทีใ่ กลเขาไปอีกคือ โทรศัพท มือถือ คอมพิวเตอร แท็บเล็ต รวมทั้งเสนใยทอผาที่เราสวม ใสกันอยูทุกวันนี้ ฯลฯ 76

Energy#52_p76-77_Pro3.indd 76

2/19/13 9:56 PM


LPG ไปอยางไรจึงไดมาอยางนี้

วันนัน้ …วันทีไ่ ทยโชติชว งชัชวาล คนอายุ 50 ขึน้ ไป คงจําไดวา เมือ่ ป 2528 ไทยทุม ทุนสรางโรงแยกกาซขึน้ ครัง้ แรกที่ อ.มาบตาพุด จ.ระยอง เพื่อนํากาซไปใชเปนเชื้อเพลิงและปอนอุตสาหกรรม ปโตรเคมี แตเหมือนมือใหมหดั ขับอุตสาหกรรมปโตรเคมีเกิดขึน้ ไมทันเวลา ทําให LPG อันมีคาเกิดเหลือใช รัฐบาลสมัยนั้น จึงสงเสริมใหชาวบานหันมาใช LPG เปนแกสหุงตมแทนการใชฟน และถาน ปรากฏวาไดผลเกินคาด ปจจุบันชาวเขาซึ่งควรจะใชฟน ใชถา นยังบรรทุกถังกาซ LPG ขึน้ ไปใชจนไมอาจเปลีย่ นกลับมาสูว ถิ ี ชีวติ แบบดัง้ เดิมไดอกี แลว ผลพวงจากความโชติชว งชัชวาลในครัง้ นัน้ ทําใหเรามีปญ  หาดานสิง่ แวดลอมทีย่ งั ตองเยียวยากันไปอีกนาน แสนนาน และเรายังนําทรัพยากรธรรมชาติของลูกหลานมาใชอยาง ไมทะนุถนอม LPG อาจเรียกวา “กาซมหาชน” ก็ได ถูกใชเปนเงือ่ นไข ทางการเมือง เหมือนสมัยกอนทีใ่ ชราคาไขไกตอ รองความอยูร อด ของรัฐบาล ทานทราบไหมวาใครใช LPG มากนอยเพียงใด จากโครงสรางราคาที่ผิดเพี้ยนอยูในปจจุบัน ภาคครัวเรือนใช 42% ภาคอุตสาหกรรมใชเปนความรอน 11% ภาคขนสง 14% และปโตรเคมีซึ่งควรจะใชมากที่สุดใชเพียง 33% เทานั้น (ขอมูล ป 2554) วันนี้เราใช LPG ปละสองลานกวาตัน ไดจากโรงแยก กาซของเราเอง 60% นําเขา 20% และผลพลอยไดจากการกลั่น นํา้ มันดิบเปนนํา้ มันเชือ้ เพลิงอีก 20% โดยประมาณ ซึง่ การนําเขา ราคาแพงลิบลิ่ว ราคาจําหนาย ณ โรงกลัน่ ทัง้ ภาคครัวเรือนและภาคขนสง อุตสาหกรรม คือ 10.2416 บาท/กก. เมือ่ บวกภาษี คาการตลาด และนําเงินเขากองทุนแลว ราคาจําหนายปลีกในกรุงเทพมหานคร เปนดังนี้ ราคา LPG ปจจุบัน ภาคครัวเรือน 18.13 บาท/กก. ภาคขนสง 23.99 บาท/กก. ภาคอุตสาหกรรมประมาณ 30 บาท/กก. สวนราคา LPG ของเพือ่ นบานจากขอมูลเมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2555 นั้น นาสนใจมาก คือ ลาว 47.30 บาท/กก. กัมพูชา 40.50 บาท/กก. เวียดนาม 47.8 บาท/กก. พมา 34 บาท/กก. จี น 30 บาท/กก. และมาเลเซี ย 20 บาท/กก. ดั ง นั้ น การอุม ราคา LPG ในเมืองไทยอาจทําให LPG หลุดรอดไปยังประเทศ เพื่อนบานได

ราคาที่ควรเปนในปจจุบันนาจะเปนเทาไร ?

เนือ่ งจากตนทุนจริงในแตละแหลงไมเทากัน ปริมาณทัง้ 3 แหลง ที่ไดมาก็ไมเทากัน จึงตองนํามาเฉลี่ยและเกลี่ยอยางเปนธรรม เพราะหมดโปรฯ แลว ดังนั้นราคากาซหุงตมตอกิโลกรัมจึงควร อยูที่ 24 – 25 บาท ในฐานะผูใช LPG ตัง้ แตทาํ ครัวในบาน นัง่ แท็กซีท่ เี่ ติมกาซ LPG ใชรถยนตทเี่ ติมกาซ LPG และซือ้ กาซ LPG เพือ่ ใชในภาค อุตสาหกรรม ดวยราคานําเขาแพงลิบลิว่ หวังเปนอยางยิง่ วารัฐ จะมี ก ารปรั บ โครงสร า งราคา LPG ให เ หมาะสมทั้ ง ระบบ เพื่ อ ส ง เสริ ม การประหยั ด พลั ง งาน และเกิ ด การ ใช พ ลั ง งานทดแทน เป น การสร า งความมั่ น คงด า น พลั ง งานแทนความมั่ น คงด า นการเมื อ ง และยั ง ช ว ยกั น รักษาทรัพยากรธรรมชาติไว ใหมีใชนานที่สุด เพื่อมอบเปน มรดกในพินัยกรรมไวใหลูกหลาน 77

Energy#52_p76-77_Pro3.indd 77

2/19/13 9:56 PM


O Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

หลักการของการยอยสลายของเสียแบบไมใช อากาศ

การผลิตกาซชีวภาพจากของเสียเปนวิธีการยอยสลาย สารอิ น ทรี ย  ใ นสภาพที่ ไ ม มี อ ากาศหรื อ ไม มี อ อกซิ เ จน โดย มี ขั้ น ตอนการทํ า งานของแบคที เ รี ย กลุ  ม สร า งกรดอิ น ทรี ย  และแบคทีเรียกลุมสรางมีเทน (Methane-Forming Bacteria หรือ Methanogens) ซึ่งแบคทีเรียกลุมสรางมีเทนจะมีการนํา กรดอินทรียจากการยอยสลายของเสียไปใชเปนอาหารในการ ผลิตเปนกาซมีเทนและกาซคารบอนไดออกไซด

การพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพ จากขยะมูลฝอยชุมชนโดยการหมักแบบแหง สืบเนื่องจากในชวงตนเดือนกุมภาพันธที่ผานมา ผูเขียน ได ไปเขารวมการสัมมนาเผยแพรองคความรูดานเทคโนโลยี ระบบการผลิตกาซชี วภาพจากขยะมู ลฝอยชุ มชนโดยการ หมั ก แบบแห ง ในฐานะหั ว หน า โครงการศึ ก ษาของสถาบั น วิจยั พลังงาน จุฬาฯ รวมกับ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ณ คันทรี เพลส คลอง 7 จังหวัดปทุมธานี โดยมีผูแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 200 คน เขารวมรับฟงการบรรยายในครัง้ นี้ จึงใครขอเผยแพรองคความรู และหลักการของการหมักขยะมูลฝอยแบบแหงสําหรับชุมชน ในบทความนี้ ซึง่ นาจะเปนประโยชนตอ ผูอ า นเพือ่ เปนแนวทางใน การนําไปใชประโยชนในดานการจัดการของเสียตอไป

ระบบหมักแบบแหงสําหรับการผลิตกาซชีวภาพ จากของเสียเปนอยางไร

ระบบหมั ก แบบแห ง สํ า หรั บ การผลิ ต ก า ซชี ว ภาพจาก ของเสีย ก็เปนระบบหนึ่งที่มีการพัฒนาขึ้นในทวีปยุโรป ซึ่งใช ในการผลิตกาซชีวภาพจากขยะมูลฝอยชุมชนเปนขยะแหง เชน เศษใบไม เศษอาหารที่มีนํ้าเจือปนนอย และเศษพลาสติกปะปน อยูนอยมาก สําหรับหลักการพื้นฐานในการหมักแบบแหงนี้ คือ ไมมีการเติมนํ้าเพิ่มเติม แตมีการเวียนนํ้าหมักที่ไดจากระบบ กลับไปยังถังหมัก เพือ่ ใหจุลนิ ทรียส ามารถสัมผัสกับอินทรียสาร ไดดีมากขึ้น

จากของเสียสูพ  ลังงานโดยระบบผลิตกาซชีวภาพ

ระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะชุมชนนั้นมีความนาสนใจ ในการแปรรู ป ของเสี ย ให เ ป น พลั ง งาน ซึ่ ง สามารถนํ า มาใช ประโยชนในรูปของพลังงานความรอนหรือการเปลี่ยนรูปใหเปน พลังงานไฟฟาตอไป อยางไรก็ตาม ระบบผลิตกาซชีวภาพจาก ขยะชุมชนควรใชควบคูไ ปกับระบบคัดแยกประเภทขยะ เพือ่ นําขยะ ประเภทตาง ๆ ไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากจะลดปญหา ดานกลิน่ ของขยะ เพราะนํามาเขาระบบหมักแบบไรอากาศซึง่ เปน ระบบปดแลว ยังชวยลดขยะที่เหลือที่นําไปใชประโยชน ไมไดให ลดลง ซึง่ จะชวยยืดอายุการใชงานของหลุมฝงกลบขยะ และยังได กาซชีวภาพมาเปนพลังงานทดแทน อีกทั้งตะกอนที่หมักแลว นํามาเปนวัสดุปรับปรุงสภาพดินตอไป 78

Energy#52_p78-79_Pro3.indd 78

2/27/13 4:25 PM


ระบบหมักแบบแหงมีขนั้ ตอนการหมัก ดังตอไปนี้

• ขยะมูลฝอยชุมชนจะผานการคัดแยกและบดยอยขัน้ ตน ใหเหลือเฉพาะอินทรียสาร • อินทรียสารถูกปอนเขาสูเครื่องปฏิกรณหมักแหงที่มี การควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมในชวงเมโซฟลิก ( 35-45 Co ) • ทําการฉีดนํ้าที่มีหัวเชื้อจุลินทรียอาศัยอยูเขาสูดาน บนของอิ น ทรี ย สาร เพื่ อ ให เ กิ ด การหมั ก ซึ่ ง เป น ระบบหมั ก ขั้นตอนเดียว • นํ้าที่ซึมผานจะถูกวนกลับเขาสูเครื่องปฏิกรณดวยปม เวียนนํ้าและหัวเชื้อ • กาซชีวภาพทีเ่ หลือนําไปใชในการผลิตกระแสไฟฟาเพือ่ ขายคืนใหกับการไฟฟา • กากจากการหมักถูกนําไปใชเปนวัตถุดิบในการผลิต ปุยชีวภาพ สําหรับการเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางการหมักแบบ แหงกับรูปแบบการหมักแบบเปยกที่ใชกันอยูทั่วไป ซึ่งตองมีการ เติมนํ้าใหกับขยะอินทรียกอนจะเขาระบบถังหมัก สามารถแสดง ไดดงั ตาราง รูปแบบ

การหมักแบบเปยก

การหมักแบบแหง

เปอรเซ็นตของแข็ง ปริมาตร

4-8% ปริมาตรขนาดใหญ เนื่องจากปริมาณนํ้ามาก

การเติมนํ้า

เติมนํ้าปริมาณมาก

22 - 40 % ปริมาตรเล็กกวามาก สําหรับขยะอินทรียที่ ปริมาตรเทากัน เติมนํ้านอยมาก

อัตราการเกิดกาซ

2 เทาของปริมาตรถังหมัก

6 เทาของปริมาตรถังหมัก

ความเปนพิษ (Toxicity) ปญหาไมรุนแรงเนื่องจากสารมี ความเจือจางสูง นํ้าไหลซึม (Leachate) อาจเปนปญหาเนื่องจาก ปริมาณนํ้าทิ้งปริมาณมาก ราคาแพง มีขนาดใหญ การดึงนํ้าออก (Dewatering)

มีปญหาจากเกลือ โลหะ หนัก และแอมโมเนีย ปริมาณของแข็งสูงกวา ทําใหเกิดนํา้ ทิง้ นอยกวามาก ราคาไมแพง ใช อุปกรณจัดการได

สวนในประเทศไทยไดมีงานวิจัยตาง ๆ ที่ใชกระบวนการ หมั ก แบบแห ง มาใช กั บ เศษอาหารจากตลาดหรื อ โรงอาหาร ซึ่งพบวาสามารถผลิตกาซชีวภาพได แตสําหรับขยะชุมชนนั้น ถึงจะมีสารอินทรีย (เศษอาหาร ผัก ผลไม) อยูมากก็จริง แตก็มี พวกเศษถุงพลาสติก กระดาษ รวมทั้งขยะอื่น ๆ เจือปนอยูมาก และอาจมีสารพิษที่ยับยั้งกระบวนการยอยสลาย

โครงการพัฒนาตนแบบถังหมักแหงสําหรับขยะ มูลฝอยชุมชน

โครงการพัฒนาตนแบบถังหมักแหงสําหรับขยะมูลฝอย ชุมชนนี้ไดดําเนินการติดตั้งเครื่องตนแบบที่ศูนยแปรรูปขยะ มูลฝอยชุมชน จังหวัดปราจีนบุรี สําหรับสัดสวนขององคประกอบ ขยะมูลฝอย พบวามีสัดสวนของปริมาณสารอินทรียมากที่สุด (38%) สําหรับในการศึกษานี้ไดใชขยะมูลฝอยชุมชนที่ผานระบบ การคัดแยกโดยเครื่องจักรและคนมาแลว นํามาเขาระบบถัง หมักแบบแหงในการทดสอบเครื่องตนแบบสําหรับการผลิตกาซ ชีวภาพ

รูปแสดงองคประกอบของขยะมูลฝอยชุมชน ที่ ศูนยแปรรูป ขยะมูลฝอยชุมชน จ.ปราจีนบุรี

ลักษณะของขยะอินทรียที่ผานระบบการคัดแยกแลว

ระบบตนแบบถังหมักแหงสําหรับขยะมูลฝอยชุมชนในรูปแบบ ตูคอนเทนเนอร ทั้ ง นี้ ท างโครงการได อ อกแบบระบบถั ง หมั ก แบบแห ง ขนาดความจุของถังหมัก 30 ลูกบาศกเมตร สามารถรับขยะ วั น ละ 600 กิ โ ลกรั ม ซึ่ ง มี ค  า ของแข็ ง ทั้ ง หมด 101,637.5 มิ ล ลิ ก รั ม ต อ ลิ ต ร โดยปริ ม าณก า ซชี ว ภาพที่ ผ ลิ ต ได จ าก การหมักแบบแหงนี้อยูในชวง 50-55 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยมีสัดสวนกาซมีเทนอยูที่ 55-60% นอกจากนี้ยังไดนํ้าหมัก ชีวภาพที่สามารถนําไปใชเปนปุยทางการเกษตรตอไป 79

Energy#52_p78-79_Pro3.indd 79

2/28/13 3:46 PM


Saving Corner โดย คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

เครือ่ งยนตตน กําลังไมงอ นํา้ มัน แหลงพลังงานแหงอนาคต

นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน มนุษยพยายามคิดคนสิ่งอํานวย ความสะดวก และเครื่องทุนแรงเพื่อผอนแรงในการทํางานแทนมนุษย ซึ่ ง เครื่ อ งยนต เ ป น อุ ป กรณ อ ย า งหนึ่ ง ที่ มี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง เพือ่ ใชในชีวติ ประจําวันจนถึงในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ นับตัง้ แตป 2312 มีการประดิษฐเครือ่ งยนตทขี่ บั เคลือ่ นดวยตัวเอง โดยใชพลังงานไอนํา้ จนถึงปจจุบันเปนเครื่องยนตสันดาปภายในใชเชื้อเพลิงจากฟอสซิล หรือ ใชเชื้อเพลิงจากนํ้ามันปโตรเลียม ดวยขอดีหลาย ๆ อยาง เครื่องยนต สันดาปภายในใชเชื้อเพลิงจากฟอสซิลไดถูกพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อให มีประสิทธิภาพสูงขึ้นและประหยัดพลังงานมากขึ้น แตอยางไรก็ตาม เชื้อเพลิงจากฟอสซิลเปนแหลงพลังงานที่ใชแลว หมดไป ดังนั้นการพัฒนาเครื่องยนต พลังงานทดแทน หรือแหลงพลังงาน ที่สามารถสรางใหมได จึงเปนสิ่งที่ทาทายนักพัฒนาทั่วโลก อีกทั้งกระแส โลกรอนยังเปนแรงกระตุนอีกอยางหนึ่งที่รุนแรงเพื่อลดการใชพลังงาน จากฟอสซิล เครื่องยนตพลังงานทดแทน จึงเปนแหลงตนกําลังพลังงาน ทางเลือกทีม่ คี วามสําคัญตอมนุษยในอนาคต ปจจุบนั มีการพัฒนาเครือ่ งยนต พลังงานทดแทนใหสามารถใชงานไดจริงในเชิงพาณิชยหลายรูปแบบดวยกัน เชน เครือ่ งยนตสเตอรลงิ ทีม่ คี วามหลากหลายในการเลือกใชแหลงพลังงาน เครื่องยนต พลังงานลมอั ด (ดังแสดงในรูปที่ 1) เครื่องยนต พลังงาน ไฮโดรเจน เครื่องยนตพลังงานแกสชีวมวล เปนตน

รูปที่ 1 แสดงตนกําลังที่เปนเครองยนตสันดาปภายใน

รูปที่ 2 แสดงตนกําลังที่เปนเครองยนตลมอัด

เครื่องยนตสเตอรลิง (Stirling Engine)

เครือ่ งยนตสเตอรลงิ ถูกสรางขึน้ มาครัง้ แรกเมือ่ ป 1816 โดย Robert Stirling เพื่อใชในโรงงานอุตสาหกรรม (ดังแสดงในรูปที่ 3) เครื่องยนต สเตอรลงิ เปนเครือ่ งยนตสนั ดาปภายนอกใชแกสเปนสารทํางาน เชน อากาศ ในอดีตเครื่องยนตสันดาปภายนอกไมไดรับความนิยมมากนัก เนื่องจาก มีประสิทธิภาพตํ่ากวาเครื่องยนตสันดาปภายในที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิง แตเนื่องจากนํ้ามันกําลังจะหมดไปในอนาคต ประกอบกับกระแสโลกรอน นักวิจยั จึงมีความพยามยามทีจ่ ะพัฒนาเครือ่ งยนตสเตอรลงิ เพือ่ นํามาใชงาน

เปนตนกําลังในการขับเคลือ่ นสิง่ ตาง ๆ มากมาย เชน ขับเครือ่ งกําเนิดไฟฟา เพือ่ ผลิตไฟฟา หรือแมแตรถยนต จุดเดนทีส่ าํ คัญของเครือ่ งยนตสเตอรลงิ ทีเ่ ปนเครือ่ งยนตสนั ดาปภายนอก คือ มีความหลากหลายของแหลงเชือ้ เพลิง เชน ใชพลังงานแสดงอาทิตย (ดังแสดงในรูปที่ 4) พลังงานความรอน เหลือทิ้งในกระบวนการ หรือพลังงานความรอนจากเชื้อเพลิงชีวมวล

รูปที่ 3 เครองยนตสเตอรลิง ของ Robert Stirling

รูปที่ 4 เครองยนตสเตอรลิง พลังงานแสงอาทิตย ในสเปน

รูจักเครื่องยนตสเตอรลิง…

1. สวนประกอบของเครื่องยนตสเตอรลิง ประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวนหลัก ๆ คือ

รูปที่ 5 แสดงสวนประกอบของเครองยนตสเตอรลิง สวนแรก คือ ลูกสูบไล (Displacer Piston) ทําหนาทีใ่ นการไลอากาศรอน ใหเคลือ่ นทีร่ ะหวางดานรอนและดานเย็น สวนทีส่ อง คือ ลูกสูบกําลัง (Power Piston) เปนลูกสูบทีก่ อ ใหเกิดกําลังกับเครือ่ งยนต ซึง่ จะมีขนาดเล็กกวาลูกสูบ ไล สวนทีส่ าม คือ รีเจนเนอเรเตอร (Regenerator) เปนอุปกรณทสี่ าํ คัญ ของเครือ่ งยนตสเตอรลงิ อีกชิน้ หนึง่ คือ จะมีผลตอประสิทธิภาพทางความ รอนของเครือ่ งยนต และ สวนสุดทาย คือ เพลาขอเหวีย่ ง (Crank) สวนรับ แรงจากลูกสูบเพือ่ นําไปใชงาน 2. ลักษณะรูปรางของเครือ่ งยนตสเตอรลงิ ทีใ่ ชในปจจุบนั เครือ่ งยนต สเตอรลิงสามารถแบงไดเปน 3 รูปแบบ คือ แบบ แอลฟา( Alpha) เบตา (Beta) และแกรมมา (gramma) (ดังแสดงในรูปที่ 6,7,8) ซึง่ แตละรูปแบบจะมีสว นประกอบหลักเหมือนกันทัง้ หมด แตรปู รางจะ แตกตางกันไป เครื่องยนตแบบแอลฟา จะมี 2 ลูกสูบ และ 2 กระบอกสูบ มีรีเจนเนอเรเตอรอยูระหวางกลาง กระบอกสูบเชื่อมตอกันทางดานบน แบบอนุกรม แต แบบเบตา จะมีหนึ่งกระบอกสูบ ลูกสูบกําลัง และลูกสูบไล เคลือ่ นทีข่ นึ้ ลงภายในกระบอกสูบ และ แบบแกรมมา จะคลายกับแบบแอลฟา แตการเชือ่ มตอจะเชือ่ มทางดานลางของกระบอกสูบ (ดังแสดงในรูปที่ 8)

80

Energy#52_p80-81_Pro3.indd 80

2/19/13 10:01 PM


รูปที่ 6 แบบแอลฟา

รูปที่ 7 แบบเบตา

รูปที่ 8 แบบแกรมมา

3. รูปแบบการประยุกตใชงานในปจจุบนั มีการประยุกตใชงานเครือ่ งยนต สเตอรลิงในหลายรูปแบบและหลายแหลงพลังงาน เชน การใชเครื่องยนต สเตอรลิงตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตไฟฟา ซึ่งมีหลายรูปแบบของ แหลงพลังงานความรอนทั้งใชพลังงานแสงอาทิตยจากการรวมแสงของ จานพาราโบลา (ดังแสดงในรูปที่ 9) การใชแหลงพลังงานชีวมวลเปนแหลง ความรอนจายใหเครื่องยนตสเตอรลิง (ดังแสดงในรูปที่ 10 และ 11) หรือใช ในการระบายความรอนในอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (ดังแสดงในรูปที่ 12,13) และยังมีการพัฒนาใหเครื่องยนตสเตอรลิงมีขนาดเล็กเพื่อผลิตไฟฟาและ ความรอนจายในบาน (ดังแสดงในรูปที่ 14)

รูปที่ 9 เครองยนตสเตอรลิง ผลิตไฟฟาจากแสงแดด

รูปที่ 10 เครองยนตสเตอรลิง ผลิตไฟฟาเชื้อเพลิงชีวมวล

รูปที่ 11 เครองยนตสเตอรลิง รูปที่ 12 สเตอรลงิ เพอระบายความรอน ผลิตไฟฟาเชื้อเพลิงชีวมวล ในอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส

รูปที่ 15 แสดงอุปกรณนิวเมติกที่ ใชกับลมอัด การผลิตลมอัดและอุปกรณในระบบผลิตลมอัด โดยปกติระบบลม อัดจะประกอบดวยสวนตาง ๆ (ดังแสดงในรูปที่ 16) ระบบประกอบดวย เครื่องอัดลม (Air compressor) ทําหนาที่อัดอากาศใหมีความดันสูงขึ้น เครือ่ งระบายความรอน (After Cooler) หลอเย็นอากาศอัดใหเย็นลง เครือ่ งกรอง และลดความชื้น (Air Filter and moisture separator) และ ถังเก็บลม (Air receiver) เปนอุปกรณในการเก็บลมอัดจากเครือ่ งอัดลม และจายลม ที่มีความดันคงที่ไปยังอุปกรณที่ใชลมอัด

รูปที่ 16 แสดงสวนประกอบหลักของระบบผลิตลมอัด นอกจากลมอัดจะใชกับอุปกรณนิวเมติกแลว มนุษยยังพยายาม นําลมอัดมาใชในเครื่องยนตเพื่อเปนตนกําลังในการลากจูงหรือขับเคลื่อน เครื่องจักรโดยเฉพาะในยานยนต มีผูพยายามพัฒนาเครื่องยนตลมอัดมา ตั้งแตป 1870 แตที่ประสบความสําเร็จและสามารถนําไปใชในเชิงพาณิชน คือ Guy Negre ชาวฝรั่งเศส ปจจุบันรถยนตพลังงานลมอัดถูกพัฒนาให สามารถทําความเร็วไดถึง 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง สามารถวิ่งไดไกล 200 กิโลเมตรตอการอัดลมหนึง่ ครัง้ ลมอัดจะถูกเก็บไวในถังทีม่ คี วามแข็งแรงสูง ปลอดภัยจากการระเบิด ความดันภายในถังประมาณ 300 บาร ถังทําจาก เสนใยคารบอน (Carbon Fiber) เครื่องยนตพลังงานลมอัดของบริษัท MDI โดยคุณ Guy Negre มีขนาดเล็ก เสียงเครือ่ งยนตเบามาก การทํางานของเครือ่ งยนตควบคุมการ ทํางานดวยระบบคอมพิวเตอร (ดังแสดงในรูปที่ 7)

รูปที่ 17 เครองยนตพลังงานลมอัดของบริษัท MDI รูปที่ 13 สเตอรลิงเพอระบายความรอน ในอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

รูปที่ 14 เครองผลิตไฟฟา และความรอนรวมกัน

เครื่องยนตพลังงานลมอัด (Air Compressed Engine)

พลังงานลมอัดเปนรูปแบบพลังงานหนึ่งที่มนุษย ไดพยายามพัฒนา เพื่อใชประโยชน ปจจุบันพลังงานลมอัดที่มีการใชประโยชนอยางจริงจังเปน รูปแบบของอุปกรณนิวเมติกในโรงงานอุตสาหกรรม (ดังแสดงในรูปที่ 15)

นอกจากนี้ยังมีเครื่องยนตพลังงานทางเลือกอีกหลายชนิด เชน เครือ่ งยนตพลังงานแกสชีวภาพ หรือเครือ่ งยนตพลังงานนํา้ หรือพลังงาน ไฮโดรเจน หรือแมแตเครื่องยนตพลังงานไอนํ้า เครื่องยนตเหลานี้ไดถูก พัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อลดการใชพลังงานจากพลังงานฟอสซิล ซึ่งนับ วันมีแตจะลดปริมาณลงอยางตอเนื่องและคงหมดไปในอนาคต ปจจุบัน ยานยนตถือไดวาเปนปจจัยที่ 5 ในการดํารงชีวิตของมนุษย การพัฒนา เครื่องยนตดังกลาวให ใชงานไดจริง จึงเปนเรื่องที่ทาทายมากในวงการ ยานยนตทั่วโลก 81

Energy#52_p80-81_Pro3.indd 81

2/19/13 10:01 PM


Energy#39_p92_Pro3.indd 60

1/26/12 12:58 AM


Around The World เดชรัช นุชพุม

Europe

Europe

นักออกแบบจากตุรกีสรางที่ชารจพลังงานแสง อาทิตยสําหรับรถยนต ไฟฟา

นั ก ออกแบบจากประเทศตุ ร กี คิ ด ไอเดี ย สร า งที่ ช าร จ พลังงานแสงอาทิตยสําหรับรถยนต ไฟฟาที่มีหลังคากันแดด สามารถใชเปนที่จอดรถที่สามารถปกปองรถยนตจากสภาพ อากาศตาง ๆ ไดในขณะที่ชารจพลังงาน อุปกรณดังกลาวมีชื่อวา “V-Tent” ผูใชบริการสามารถ กําหนดเวลาในการชารจได อํานวยความสะดวกในการชําระเงิน คาบริการในการชารจพลังงานดวยบัตรเครดิต วัสดุที่นํามาใชในการสรางหลังคาทํามาจากสิ่งทอซอนกัน หลายชัน้ รวมกับแผงพลังงานแสงอาทิตยแบบยืดหยุน ชัน้ ในสุด ของสิ่งทอจะมีวัสดุสะทอนแสงและชั้นกลางจะมีทอระบายความ รอนขนาดเล็กเพื่อปองกันไมใหวัสดุรอนเกินไป นอกจากนี้พลังงานที่สรางจากเครื่องชารจพลังงานแสง อาทิตยอเนกประสงคดังกลาว ยังสามารถผลิตกระแสไฟฟา สําหรับใชภายในเมืองไดอีกดวย “V-Tent” เป น ตั ว อย า งไอเดี ย ที่ ส ร า งสรรค เ หมาะกั บ สถานการณของโลกปจจุบนั อยางมาก อุปกรณดงั กลาวเปนทาง เลือกทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม สรางพลังงานไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตย และมีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครันในตัวมันเอง หากมีการนํามาใชอยางแพรหลายจะชวยแกปญหาตาง ๆ ของ สิ่งแวดลอมและพลังงานไดอยางมาก

Europe

ผูป ระกอบการเมืองผูด คี ดิ คนอุปกรณเปลีย่ นนํา้ มัน ปรุงอาหารเปนพลังงานเชือ้ เพลิงใชภายในบาน

สิ่งหนึ่งที่เปนปญหากับสิ่งแวดลอมก็คือการกําจัดคราบ นํ้ามันที่เหลือจากการปรุงอาหาร ซึ่งคนสวนใหญมักทิ้งลงในทอ ระบายนํ้า เมื่อสะสมนานวันเขาก็จะทําใหทอระบายนํ้าอุดตันได ทางเลือกที่ดีที่สุดสําหรับกรณีนี้ก็คือ การรีไซเคิลคราบนํ้ามัน เหลานี้นั่นเอง ดวยเหตุนี้ผูประกอบการจากประเทศอังกฤษ จึงไดคิดคน เครื่องปฏิกรณสารเคมีอยางงายที่จะชวยเปลี่ยนคราบนํ้ามัน จากการปรุงอาหารใหเปนพลังงานเชื้อเพลิงที่สามารถใชงาน ภายในบานได เครือ่ งดังกลาวมีความจุ 20 ลิตร เมือ่ ตองการใชงานก็ใหใส นํ้ามันพืชที่เหลือจากการปรุงอาหารลงไปในเครื่อง หลังจากนั้น อุปกรณดงั กลาวจะเขาสูก ระบวนการทํางานโดยใชเวลาประมาณ 12-24 ชัว่ โมง ในการดําเนินการเปลีย่ นแปลงคราบนํา้ มันดังกลาว ใหกลายเปนนํ้ามันไบโอดีเซล แตนํ้ามันไบโอดีเซลดิบที่ไดจะตอง ผานการลางทําความสะอาดสารปนเปอ นตาง ๆ กอนจึงจะนํามาใช ประโยชน ได อุปกรณดังกลาวออกวางจําหนายแลวในราคา 415 ยูโร หรือประมาณ 655 เหรียญสหรัฐ

บริษัทผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสแดนนํ้าหอมสรางเครื่องชารจไฟฟา พลังงานจลน

บริ ษั ท ผลิ ต อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส จ ากประเทศฝรั่ ง เศส สร า งเครื่ อ งชาร จ ไฟฟ า พลังงานจลน “The Voltmakers”ที่สะดวกในการพกพาไปในสถานที่ตาง ๆ สงผลใหผูใช โทรศัพทมือถือไมตองกังวลกับปญหาแบตเตอรี่หมดอีกตอไป เมื่อถึงเวลาจําเปนที่ตองใชงานโทรศัพทมือถือในการติดตอสื่อสาร หรือใชแสงไฟจาก โทรศัพทในการสองนําทาง หรือใชงานโดยเปดสัญญาณ GPS สําหรับคนหาตําแหนงที่อยูหาก เกิดหลงทาง แตกลับพบวาแบตเตอรี่ออนไมพอใชงาน เสียทั้งความรูสึกแถมยังตองคิดหาวิธี การแกไขปญหาทางอื่นตอไป ตอนนี้ปญหาดังกลาวจะหมดไป ดวยเครื่องชารจไฟฟาพลังงานจลน “The Voltmakers” นวัตกรรม ที่ชารจไฟฟาพลังงานจลน ซึ่งไดแนวคิดในการออกแบบมาจากระบบทํางานของพัดลมหรือวงลอทั่วไป ที่ชารจไฟฟาพลังงานจลนนี้เหมาะสําหรับผูที่ชื่นชอบการเดินทางทองเที่ยว หรือผูที่มีความจําเปนตองเดินทางไปในสถานที่ตาง ๆ ดวยขนาดที่กะทัดรัด สามารถเก็บใสกระเปาเดินทาง กระเปาถือ หรือแมแตกระเปาเสื้อแจ็คเก็ตได เมื่อตองการใชงานเพียงแคดึงตัว แกนแลวหมุนเปนวงกลม เพียงแคนี้ก็สามารถสรางกระแสไฟฟาพลังงานจลนสําหรับชารจโทรศัพทมือถือไดอยางงายดาย 83

R1_Energy#52_p83-85_Pro3.indd 83

2/28/13 4:09 PM


Africa

North America

เอธิโอเปยพัฒนาพลังงานใตพภิ พดวยเงินลงทุน จากธนาคารโลก

เอธิโอเปยประเทศยากจนในทวีปแอฟริกา วางแผนพัฒนา พลังงานความรอนใตพภิ พ โดยไดรบั การสนับสนุนดานเงินลงทุน จากธนาคารโลก โครงการนีเ้ ปนความหวังทีจ่ ะสรางพลังงานเพือ่ ใหการสนับสนุนสรางพลังงานไฟฟาจากนํ้า สําหรับใชภายใน ประเทศขณะกําลังประสบปญหาจากภาวะแหงแลง ปจจุบนั เอธิโอเปยใชพลังงานไฟฟาจากนํา้ เปนสวนใหญ ซึง่ ตองใชแหลงนํ้าจํานวนมากจากที่ราบสูง โดยมีการใชพลังงานนํ้า ในการผลิตกระไฟฟาถึง 45,000 เมกะวัตต มากเปนอันดับสองใน แอฟริกา คิดเปน 86 เปอรเซ็นต สําหรับใชภายในประเทศ แตดว ย สภาพอากาศของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจนทําใหเกิดภัยแลง ดังนัน้ จึงจําเปนตองหาทางออกสําหรับหาแหลงพลังงานมาทดแทนเมือ่ เกิดปญหาดังกลาว ซึ่งธนาคารโลกไดเขามาใหการสนับสนุนการในการแก ปญหานี้ โดยใหเงินจํานวน 40 ลานเหรียญสหรัฐแกเอธิโอเปย เพื่อใชในการพัฒนาแหลงพลังงานใตพิภพเปนแหลงพลังงาน สํ า รอง การช วยเหลื อ ดังกล าวถื อ เป นตัวอย า งการให ค วาม ชวยเหลือที่สําคัญแกประเทศที่กําลังพัฒนาในการสรางแหลง พลังงานทดแทนเพื่อนํามาใชงานในประเทศ หากมีการใหความ ช ว ยเหลื อ ในวงกว า งมากขึ้ น ก็ จ ะเป น หนทางหนึ่ ง ในการนํ า พลังงานทดแทนใหเขามามีบทบาทสําคัญตอการใชพลังงาน ของโลก

Australia

ดีไซเนอรชาวแคนาเดียนสรางโคมไฟ LED จากแกวไวนรีไซเคิล

นักออกแบบจากประเทศแคนาดามีไอเดียสรางสรรคในการ ประดิษฐโคมไฟ LED ชือ่ วา “BIPOLAR” โดยใชวสั ดุ รีไซเคิลจาก แกวไวนหรือแกวแชมเปญเหลือใช โดยนักออกแบบคนดังกลาวไดรับแรงบันดาลใจในการ สรางโคมไฟLEDจากวัสดุรีไซเคิลในขณะที่กําลังออกแบบที่ตั้ง เทียนไข ซึ่งตัวอุปกรณโคมไฟดังกลาว 1 ตัว ประกอบดวย แกว ไวนหรือแกวแชมเปญ 1 คู สวนแกวที่นํามาใชนั้นไดมาจากการ บริจาคและซื้อจากรานคามือสอง ซึ่งแกวแตละใบจะถูกดึงสวนที่ เปนฐานออกไป เพื่อนํามาใชประดิษฐโคมไฟ แกวแตละใบจะหันดานหนาเขาหากัน โดยทีว่ า งภายในจะติด ตั้งหลอดไฟ LED ลงไป หลังจากนั้นจึงใชที่แขวนอลูมิเนียมรูป ทรงวงแหวนยึดติดแกวทั้งสองใบตรงจุดเชื่อมตอตรงกลาง ซึ่ง โคมไฟแตละตัวจะมีรปู ทรงและขนาดทีแ่ ตกตางกันไปตามลักษณะ ของแกวที่นํามาใช โคมไฟ LED “BIPOLAR” นี้เปนแนวคิดในการพัฒนาสิ่ง แวดลอมอยางยัง่ ยืน เปนผลิตภัณฑรว มสมัยทีท่ าํ จากแกวทีไ่ มใช แลวมาทําใหเกิดประโยชนสูงสุด สวนฐานแกวที่ตัดออกไปหากมี การนําไปพัฒนาตอยอดอาจนํามาประกบกันกลายเปนของเลน ลูกดิ่งโยโยไวใหเด็ก ๆ เลนสนุกสนานกัน

ผูประกอบการจากแดนกีวีและแดนจิงโจรวมกันคิดคนฝกบัวอาบนํ้าที่ ประหยัดการใชนํ้าไดถึง 50%

บริษทั ผูผ ลิตวัสดุอปุ กรณจากประเทศนิวซีแลนดและทีมวิจยั จากประเทศออสเตรเลีย รวม กันคิดคนและพัฒนาฝกบัวในหองนํ้า ที่เรียกวา “Oxijet” เปนหัวฝกบัวที่ฉีดฟองอากาศขนาด เล็กเขาไปในหยดนํ้าดวย เพื่อใหนํ้าที่ไหลออกมาจากฝกบัวมีความดันที่สูงขึ้น ซึ่งวิธีการทํางาน ดังกลาวสามารถประหยัดการใชนํ้าไดมากถึง 50 เปอรเซ็นต หัวฝกบัวอาบนํ้าแบบดั้งเดิมชวยลดการไหลของนํ้า รวมไปถึงความแรงของนํ้าที่นอยลง ไปดวย แต “Oxijet” ใชพลังงานการไหลโดยการดูดอากาศเขาสูกระแสนํ้า ชวยเพิ่มความแรง ของกระแสนํ้าที่ไหลออกจากฝกบัว นั่นหมายความวา นํ้าจะถูกใชในปริมาณที่ลดลง แตการอาบนํ้ายังคงมีประสิทธิภาพเชนเดิม “Oxijet” ถูกออกแบบมาใหมคี วามเหมาะสมกับอุปกรณฝก บัวในหองอาบนํา้ ของสถานทีต่ า ง ๆ ถูกทดลองใชและติดตัง้ ในโรงแรม ของออสเตรเลีย ซึ่งใหผลในการประหยัดนํ้าอยางที่คาดเอาไว โดยลูกคาของโรงแรมดังกลาวชื่นชอบ “Oxijet” มากกวาหัวฝกบัวชนิด เดิม เนื่องจากกระแสนํ้ามีความแรงมากกวา 84

R1_Energy#52_p83-85_Pro3.indd 84

2/28/13 4:15 PM


Asia

นักวิทยาศาสตรแดนโรตีสรางอิฐราคาถูก จากกระดาษรีไซเคิล

นักวิทยาศาสตรจากประเทศอินเดียไดทําการพัฒนาวิธี การสรางอิฐกระดาษจากการรีไซเคิลวัสดุที่ไมใชแลว โดยอิฐที่ วานี้จะมีสวนผสมของกระดาษที่ไมใชแลวจากโรงงานกระดาษถึง 90 เปอรเซ็นต และปูนซีเมนตอีก 10 เปอรเซ็นต สวนผสมทั้งสองจะถูกผสมเขาดวยกันแลวปมลงในแม พิมพ หลังจากนั้นจึงนําไปตากแดดรอใหแหง วัสดุกอสราง รีไซเคิลตนทุนตํ่าที่วานี้ เปนตัวอยางการพัฒนาคุณภาพของ วัสดุรีไซเคิลใหดีขึ้น อิฐบล็อกที่สรางขึ้นจากกระดาษรีไซเคิลนี้มีราคาถูกลง กวาครึ่งของอิฐบล็อกธรรมดา และมีนํ้าหนักเบากวา ชวยสราง ประโยชนใหกบั วงการกอสรางของอินเดียอยางมาก จากเมือ่ กอน ที่ขาดทุนถึง 30 เปอรเซ็นต ในเรื่องของการจัดหาวัสดุกอสราง ซึ่ ง อิ ฐ บล็ อ กรี ไ ซเคิ ล ที่ ว  า นี้ ไ ด ถู ก นํ า ไปทดสอบในการ ก อ สร า งเพดานและผนั ง บ า งแล ว ขณะนี้ ที ม ผู  พั ฒ นากํ า ลั ง ดําเนินการเพิ่มประสิทธิภาพของอิฐบล็อกรีไซเคิลดังกลาวดวย การเคลื อ บสารกั น นํ้ า สํ า หรั บ ใช ใ นการตกแตง ภายนอกของ ตัวบาน และเพิ่มประสิทธิภาพสําหรับติดตั้งในพื้นที่เสี่ยงภัย แผนดินไหว

Asia

นักวิจยั ชาวไทยสรางเครือ่ งกรองนํา้ พลังงานแสง อาทิตย ใชในกรณีประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ

นักวิจยั จากศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติทาํ การพัฒนาวิธี การกรองนํา้ สะอาดจากพลังงานแสงอาทิตยแบบดัง้ เดิม โดยเพิม่ การทํางานดวยนาโนเทคโนโลยีเขาไป อุ ป กรณ ดั ง กล า วจะเปลี่ ย นแปลงนํ้ า ที่ อ าจปนเป  อ นสิ่ ง สกปรกในชวงเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติใหกลายเปนนํ้าดื่ม สะอาดสําหรับชุมชนทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากภัยพิบตั ิ อุปกรณทวี่ า นี้ ทําหนาที่รวมกันระหวางตัวกรองเซรามิกกับนาโนเทคโนโลยีใน การตอตานจุลชีวะทีม่ ากับนํา้ โดยการฆาและทําลายเชือ้ แบคทีเรีย ทีเ่ จือปนอยูใ นนํา้ และยังสามารถปองกันการเจริญเติบโตของเชือ้ ราและตะไครนํ้าที่จะขึ้นภายในอุปกรณ ไดดวย ระบบปฏิบตั กิ ารจะใชพลังงานแสงอาทิตยในการขับเคลือ่ น นํา้ ดิบผานเขาสูก ระบวนการกรองถึง 6 ขัน้ ตอน ซึง่ เปนมาตรฐาน ของนํ้าดื่มที่ปลอดภัยและสามารถผลิตนํ้าดื่มได 200 ลิตรตอ ชั่วโมง อุปกรณถูกออกแบบมาใหสะดวกในการเคลื่อนยายไป ในสถานที่ตาง ๆ สามารถบรรทุกไดทั้งทายรถกระบะทั่วไป รถ บรรทุก หรือแมกระทั่งเรือทองแบน

โรงกลั่นนํ้ามัน S-Oil จากเกาหลีใต ติดตั้ง “HERE Balloons” สําหรับโชวที่วางในลานจอดรถ

Asia

ประเทศเกาหลีใตเปนอีกหนึง่ ประเทศทีม่ อี ตั ราการใชจา ยดานพลังงานสูงมากแหงหนึง่ ของ โลก สาเหตุมาจากปริมาณรถที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น และราคานํ้ามันโลกพุงสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ที่สําคัญที่จอดรถในเมืองใหญอยางกรุงโซลเมืองหลวงของประเทศหาไดยากเย็นยิ่งกวางมเข็ม ในมหาสมุทร “HERE Ballons” เปนอุปกรณสําหรับใชแสดงตําแหนงที่วางในลานจอดรถของ S-Oil โดยการจัดทําบอลลูนสีเหลืองสดใสไวประจําในแตละชองจอดของลานจอดรถ โดยบอลลูนที่วา นีจ้ ะลดตํา่ ลงเมือ่ มีรถขับเขามาจอดในชองนัน้ ๆ และจะลอยตัวขึน้ อีกครัง้ เมือ่ รถทีจ่ อดอยูไ ดขบั ออกไปแลว ผูใ ชรถสามารถมองเห็นสีสนั สดใสของบอลลูนสีเหลืองไดจากระยะไกล ชวยประหยัดเวลาและประหยัดนํา้ มันในการตระเวนหาทีจ่ อดรถไดเปนอยางดี แคมเปญนีช้ ว ย ใหผูใชรถกวา 700 คัน ในแตละวันประหยัดนํ้ามันไดถึง 23 ลิตร และมีแนวโนมจะลดลงอีกมากในแตละป

85

R1_Energy#52_p83-85_Pro3.indd 85

2/28/13 4:09 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

ทีจ่ าํ เปนตองพึง่ พาการคาและการลงทุนจากกลุม ประเทศแกนกลาง ระบบทุน โดยกลุม ประเทศทีอ่ ยูช ายขอบตองพึง่ พาการปอนสินคา เขาสูต ลาดโลกในราคาถูก คุณภาพตํา่ เชน สินคาเลียนแบบ ทีม่ ี การปนเปอนสารเคมีหรือใชสารพิษในการผลิตซึ่งเปนอันตราย ตอผูบ ริโภค 4. เกิดการสรางวัฒนธรรมบริโภคนิยมใหม มีการวัด ความมั่ น คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ด ว ยการสร า งความเติ บ โตในการ บริโภค สรางกระแสบริโภคนิยมตอบสนองตอความสุขของ คนในสังคม โดยไมคํานึงถึงความจําเปนขั้นพื้นฐานหรือบริโภค

การผลิตสินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ตอบโจทยการคายุคใหม ?

การคาในโลกปจจุบนั มีการแขงขันคอนขางสูง โดยเฉพาะ ขอตกลงในเรือ่ งการคาเสรีทาํ ใหกาํ แพงภาษีทเี่ คยเปนตัวกีดกัน ทางการคาหายไป การผลิตตองคํานึงถึงการแขงขันดังกลาว ตองเพิม่ คุณภาพสินคาและสรางการยอมรับในการบริโภคมาก ขึน้ กวาเดิม แมกระทัง่ สินคาแบรนดเนมก็ตอ งพัฒนาผลิตภัณฑ ใหเกิดความนาสนใจใหม ๆ การคาในโลกยุคใหมนสี้ ง ผลใหเกิด ประเด็นปญหาตาง ๆ 5 ประการ ซึง่ เปนผลจากการศึกษาของ สหภาพยุโรปทีม่ องการแขงขันทางการคายุคใหม ดังนี้ 1. การทําลายดุลธรรมชาติ เปนผลมาจากการเปลีย่ นแปลง การผลิตในระบบขามชาติที่ทรัพยากรธรรมชาติถูกถลุงโดย ระบบการลงทุนของบริษัทใหญจากตางประเทศที่มีทุนหนา เชน ทรัพยากรพลังงาน ทรัพยากรแรธาตุ เปนตน จากการแขงขัน ทางการคาทีเ่ นนการผลิตใหไดผลผลิตมาก ๆ จนละเลยผลกระทบ ตอสิง่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติถกู ทําลายเกิดมลพิษของเสีย จากอุตสาหกรรม การขนสง ภาวะขยะพิษ โลกรอน ตลอดจน คุณภาพชีวิตของประชาชนไดรับผลกระทบจากพิษของมลภาวะ ตาง ๆ จนธรรมชาติเสียสมดุลและยากเกินเยียวยาใหกลับมา เหมือนเดิม 2. ชองวางระหว างความรํ่ารวย เกิดจากการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมภายใตกฎกติกาการคาใหมทเี่ ปดโอกาสใหทนุ ขามชาติเขามาใชทรัพยากรและลงทุนในการผลิตอยางเสรี ทําใหมี ผลกําไรคอนขางสูงมาก เกิดชองวางระหวางรายไดของนักลงทุน กับประชาชนในทองถิน่ อยางมาก ในโลกการคายุคใหมจะมีรายได รวมของประชาชนทั้งโลกอยูที่ 83% อยูในมือของนายทุน 20% ประชาชนในระดับลางมีรายไดเพียง 1.4% 3. เกิดระบบการพึ่งพาจากภายนอกมาก จากหนังสือ “world system theory” ของ อิมมานูเอล วอเรนสเตน ไดแยกกลุม ประเทศออกเปน 3 กลุม ไดแก กลุม แกนกลางระบบ ทุน กลุม กึง่ ทุนนิยม และกลุม ประเทศชายขอบ เชน เอเชีย แอฟริกา

กราฟแสดงชองวางระหวางกลุม ประเทศรํา่ รวย กับประเทศทีอ่ ยูช ายขอบ

86

Energy#52_p86-87_Pro3.indd 86

2/15/13 10:29 PM


สารพิษที่มีผลตอสุขภาพ โดยที่ไมไดคํานวณถึงตนทุนจากการ บริโภคเกินตัว เชน การลงทุนโฆษณาเกินจริงในสินคาฟุม เฟอย ของกลุมอาหารและเครื่องดื่มที่เปนอาหารขยะที่มีผลตอสุขภาพ ของประชาชนในบางประเทศผานนโยบายประชานิยม เนนการซือ้ สินคาราคาถูกหรือแจกแถมสินคาเพือ่ กระตุน การใชจา ยใหมากขึน้ กอใหเกิดภาวะหนีส้ นิ โดยไมจาํ เปน 5. การตอบโจทยความตองการความสุขจากการบริโภค นิยม เพือ่ ตอบคําถามของการหารายไดใหมากขึน้ เพือ่ ซือ้ สินคา และบริการในการหาความสุขจากการบริโภคสินคาและบริการ ทําใหตอ งหารายไดเพิม่ ขึน้ แตยงั ไมเพียงพอตอภาวะหนีส้ นิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการซือ้ สินคาเงินผอน หรือการใชนโยบายลดราคาสินคาเพือ่ จูงใจใหซอื้ สินคาราคาแพง เชน การซือ้ บานและรถราคาถูก แตเกิด ภาวะหนีส้ นิ ในชนชัน้ กลางของบางประเทศ จากทีก่ ลาวมาแลวทัง้ หมด 5 ประเด็น คงจะเปนประเด็นทีต่ อ ง นํามาพิจารณาในแตละประเทศทีอ่ ยูช ายขอบในการปรับนโยบาย ทีต่ อบสนองตอการคายุคใหม อยางไรก็ตาม ผลขอแรกคือการ ทําลายดุลธรรมชาติทมี่ ผี ลตอทรัพยากรและสภาพแวดลอมของ ประเทศชายขอบ เชน กลุมเอเชีย ละตินอเมริกา หรือแอฟริกา ที่ตองปรับตัวอยางมาก และเพื่อการดํารงอยูของทรัพยากรที่ มีอยูอยางจํากัด ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของ ประชาชน ทางหนึ่งคือการจํากัดการเติบโตของระบบทุนขาม ชาติที่กอใหเกิดมลพิษที่มีการยายฐานผลิตมาลงทุนในประเทศ กลุม ที่ 3 ดวยมาตรฐานตาง ๆ เทาทีจ่ ะทําได หรืออีกทางหนึง่ คือ การกําหนดมาตรฐานการผลิตสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ให มี ม าตรฐานสู ง ขึ้ น นั่ น คื อ การกํ า หนดขี ด จํ า กั ด การเจริ ญ เติบโต การใชทรัพยากรอยางเหมาะสมไมเกิดเปนภาระในการ ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ การฟน ฟูทเี่ หมาะสม หรือทีเ่ รียกวา มีขดี จํากัดการรองรับการใชทรัพยากร (Carrying Capacity) มีการควบคุมการลงทุนที่กอใหเกิดมลพิษ และการรับผิดชอบ ตอมลพิษทีเ่ กิดจากการผลิตอยางจริงจัง ในสวนของระบบพึง่ พา ทรัพยากรจากภายนอกตองมีระบบการจัดสรรอยางเหมาะสม โดยเฉพาะทรัพยากรพลังงานทีน่ บั วันจะหมดไปโดยไมอาจทดแทน จําเปนตองหาแหลงพลังงานหมุนเวียนในอุตสาหกรรมการผลิต หรือพลังงานทางเลือกอืน่ ๆ เพือ่ ทดแทนพลังงานทีห่ มดไป

การพัฒนาตองมีแผนที่เหมาะสมและสรางจิตสํานึกใน การรับผิดชอบตอสังคม ตอชุมชน และโลกใบนีอ้ ยางจริงจัง ผูป ระกอบการ หรือนักลงทุนตองคํานึงถึงผลกระทบยอนกลับสูการผลิตที่ไป ลงทุนในทีต่ า ง ๆ ของโลก เชน กระแสการตอตานการสรางโรงงาน มลพิษสูง การใชพลังงานกาซธรรมชาติในทะเลทีม่ ผี ลกระทบตอ ชุมชนในประเทศนัน้ ๆ อยางมีวนิ ยั และรับผิดชอบ แมจะมีกติกา ของการคาเสรีเปนตัวหนุนก็ตาม การประกอบการที่มีจิตสํานึก ทีด่ ตี อ การรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม สุขภาพของชุมชน ยอมจะ เปนการลงทุนทีย่ งั่ ยืนและเปนมิตรตอการอยูร ว มกันในสังคมโลก ซึง่ อาจหมายถึงกําไรจากการผลิตทีอ่ าจลดนอยลง แตสรางความ ยัง่ ยืนในการผลิตใหกบั โลกใบนี้ มากกวาการทําลายโดยไมยงั้ คิด ลดการโฆษณาเพือ่ การบริโภคนิยมสินคาฟุม เฟอย สินคาทีม่ พ ี ษิ ตอประชาชนในประเทศชายขอบ เชน บางประเทศทีก่ าํ ลังประสบ ปญหามลพิษอยางรุนแรงในขณะนี้ที่เนนนโยบายประชานิยมใน การบริโภคมากเกินความจําเปน เปนตน

เอกสารอางอิง

- รัฐ เรืองโชติวทิ ย ทุนนิยมกับสิง่ แวดลอม เอกสารประกอบการ สอนนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏวลัยวลงกรณ ปทุมธานี 2555 87

Energy#52_p86-87_Pro3.indd 87

2/15/13 10:29 PM


Energy Movement กองบรรณาธิการ

นัษโตะ

สวัสดีครับ ผานพนปใหมสากล แลวก็ตามดวยปใหม จีนกันเปนที่เรียบรอยแลวนะครับ เหลือลุนกันตอกับปใหม ไทย โดยเฉพาะเรื่องที่มนุษยเงินเดือนอยางเรา ๆ ทาน ๆ เฝ า รอกั น อยู เห็ นจะเป นเรื่องของวันหยุด ที่จะได ก ลับบ า น กันละครับ ปนี้ดูเหมือนวาจะยาวเปนพิเศษซะดวย ชวงนี้ก็ ตั้งหนาตั้งตาทํางานกันไปกอน เพราะยังอีกยาวไกลกวาจะ ถึง เอาเปนวาขออวยพรทานผูอานแบบใกล ๆ กันกอนวา “ซินเจีย ยูอี่ ซินนี้ ฮวดใช” นะครับ เริ่มเรื่องของเรากันดีกวา… ชวงที่ผานมากลุมอุตสาหกรรมที่โตอยางมากเห็นจะ เปนเรื่องของอุตสาหกรรมยานยนตที่ดูเหมือนจะฉุดไมอยูกัน เลยทีเดียว เรียกไดวาโกยยอดขายกันเปนกอบเปนกํา งานนี้ มร. ทาคาชิ ยามานูชิ ประธานคณะกรรมการบอรด, ประธาน และเจาหนาที่บริหาร มาสดา มอเตอร คอรปอเรชั่น ประกาศ เพิ่มการลงทุนครั้งมโหฬารในประเทศไทย ดวยการเตรียมสราง โรงงานแหงใหม เพื่อผลิตชุดเกียรอัตโนมัติเปนแหงที่สองของ มาสดาที่ใหญสุดและทันสมัยที่สุดแหงหนึ่งของโลก โดยเลือก ทําเลที่จังหวัดชลบุรี พรอมควักกระเปาลงทุน 26,000 ลานเยน หรือกวา 10,000 ลานบาท เพื่อทําการผลิตชุดเกียรออโตเมติก “SKYATIV-DRIVE AT” ที่ มี ดี ทั้ ง เรื่ อ งความประหยั ด และ สมรรถนะ โดยมีกําลังการผลิตสูงถึง 400,000 ยูนิต ซึ่งการ ผลิตเกียรในครั้งนี้เปนหนึ่งในเทคโนโลยีใหมลาสุดของมาสดา และเป น เทคโนโลยี แ ห ง อนาคตของมาสดา หรือที่ รูจักกันในนาม สกายแอค ทีฟ เทคโนโลยี (SKYATIV TECNOLOGY) คาดวาจะ เริ่มสายการผลิตไดในชวง ปลายปงบประมาณ 2559 ปจจุบนั เครือ่ งยนตดเี ซลกําลังเปนทีจ่ บั ตามองอยางมาก เพราะมีการพัฒนาเรื่องของเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง เพื่อลด มลภาวะแตใหการตอบสนองทีด่ ไี มแพเครือ่ งยนตเบนซิน โดยเฉพาะ กลุม ตลาดรถยนตนงั่ ทีใ่ ชเครือ่ งยนตดเี ซลกันมากขึน้ ลาสุดคาย ทาทา มอเตอรส จากประเทศอินเดีย ไดเปดตัว “วิสตา ดี90” ดวยเครื่องยนตดีเซลควอดราเจ็ท 1.3 ลิตร 90 แรงมา ที่ไดรับ การยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะอัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามัน ประหยัดเชือ้ เพลิงมากถึง 21.12 กิโลเมตรตอลิตร เลนเอาแฟน ๆ คอคนรักษโลกถึงกับหูผึ่งกันเลยทีเดียว เอาเปนวาอดใจรอกัน กอนนะครับ ไมนานคงมีขาวดีในบานเราแนนอนครับ

ดานคาย ฮอนดา นําโดย มร. ฮิโรชิ โคบายาชิ ประธาน กรรมการบริหารและซีอโี อ บริษทั เอเชีย่ นฮอนดา มอเตอร จํากัด และประธาน บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด พรอมดวย มร.อิซาโอะ อิโตะ รองประธานอาวุโส และนายพิทกั ษ พฤทธิสาริกร รองประธานอาวุโส ประกาศความเคลือ่ นไหวลาสุด เปดโปรเจคยักษเตรียมลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหม ของบริษัทฯ มูลคา 17,150 ลานบาท ณ จังหวัดปราจีนบุรี โดย โรงงานแหงใหมจะมีกําลังการผลิต 120,000 คันตอป เริ่มดําเนิน การกอสรางในเดือนกรกฎาคม 2556 นี้ และจะเริ่มเปดเดินสาย การผลิตไดในเดือนเมษายน 2558 พรอมทั้งประกาศขยายกําลัง การผลิตในโรงงานผลิตรถยนตทสี่ วนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพิ่มเปน 300,000 คันตอป ภายในตนป 2557 ดวยงบประมาณการลงทุนมูลคา 2,910 ลานบาท เมื่อรวม กําลังการผลิตจากโรงงานทัง้ สองแหงจะสงผลใหมกี าํ ลังการผลิต รถยนตโดยรวมอยูที่ 420,000 คันตอป ในป 2558

เกาะสมุยซุยขาว เมื่อเร็วนี้ ๆ ไดมีโอกาสไปงานเปดตัวโครงการผลิต ไฟฟาพลังงานลม “เวสต หวยบง 2” และ “เวสต หวยบง 3” ของ บริษัท วินด เอนเนอรยี โฮลดิ้ง จํากัด อ.ดานขุนทด จ.นครราชสีมา ซึง่ เปนวินดฟารมแหงแรกในประเทศไทยและใหญ ทีส่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต กําลังการผลิตรวม 207 เมกะวัตต ตองยอมรับวาใหญ จริง ๆ ครับ เพราะมี มากถึง 45 ตน กําลัง การผลิตตนละ 2.3 เมกะวัตต เนื้อที่กวา 2 หมื่นไร จากการ มาตั้งโครงการผลิต ไฟฟาพลังงานลมที่ นี่ทําใหที่ดินอําเภอดานขุนทดพุงพรวดจากหลักหมื่นเปนหลัก แสน นอกจากความยิง่ ใหญแลว ทีน่ ยี่ งั สามารถพัฒนาเปนแหลง ทองเที่ยวในอนาคตไดเลยครับ งานนีไ้ ดรบั เกียติจาก นายกฯ “ยิง่ ลักษณ ชินวัตร” พรอมดวยคุณพงษศักดิ์ รักตพงษ ไพศาล รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน มาเปดงานเรียกไดวา สรางกระแสใหพลังงานลม กลับมามีความหวังอีกครัง้ สําหรับผูส นใจทีจ่ ะลงทุนดานพลังงาน ลม หลังจากที่กระทรวงพลังงานติดตั้งทดลองใชที่หัวไทรแตไม

88

Energy#52_p88_Pro3.indd 88

2/27/13 3:57 PM


ประสบความสําเร็จ ก็ไมรู วาจะมีพื้นที่ใหลงทุนหรือ เปลา เพราะไดขาวมาวา นายทุนไดจองสัญญาซื้อ ขายไฟฟา และพื้นที่ติด ตั้ ง ที่ มี ศั ก ยภาพไปหมด แลว…อิอิ ยั ง อยู  ที่ โ ครงการผลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานลมห ว ยบง ครั บ เนื่ อ งจากเป น งานใหญ มี ผู  บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในกระทรวง พลังงาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) บริษัท เอกชนที่เกี่ยวของ รวมถึงหนวยงานราชการ และประชาชนรวม งานกันคับคั่ง เรียกไดวามากันแบบอุนหนาฝาคั่ง งานนี้ยังได รับเกียรติจาก นพ.วรรณรัตน ชาญนุกูล อดีตรัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลั ง งานมาร ว มเป ด งาน ดวยครับ ไมแนใจวามาในฐานะคน ลงนามอนุมตั โิ ครงการหรือมาในฐานะ ทีเ่ ปนคูเ ขยกับคุณสุวจั น ลิปตพัลลภ อดีตรองนายกรัฐมนตรี…หุหุ งานเปดตัวโครงการโรงไฟฟาพลังงานลมดูจากสีหนา ประชาชนที่มาตอนรับแลวยิ้มแยมหนาชื่นบานกันทุกคนไมแนใจ วามีความสุขที่ไดโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมขนาดใหญ มาติดตั้งในพื้นที่ หรือตื่นเตนที่ ได ม าต อ นรั บ นายกยิ่ ง ลั ก ษณ กั น ตั ว เป น ๆ ซึ่ ง ดู จ ากภาพที่ ประชาชนมารุ ม ล อ มนายกฯ ราวกับเปนซูเปอรสตารเมืองไทย คิดแลววานาจะเปนอยางหลัง เหมือนเปนธรรมเนียมเลยครับ นายกรัฐมนตรีเดิน ทางไปทีไ่ หนของประเทศไทยก็จะมีชาวบานบางคนมาคอยประทวง ซึ่งในงานเปดตัวโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมหวยบงก็มีคน มาประทวง 1 คน เรียกรองใหนายกฯ แกไขปญหาการประกัน ราคามันสําปะหลัง ซึ่งผูประทวง เรียกความสนใจจากสื่อมวลชน ไดเปนอยางดีครับ เนื่องจากผู ประทวงใจถึงถอดเสื้อเหลือแต ชัน้ ใน ลงทุนอยางนีส้ งสัยเรือ่ งถึง นายกฯและไดรับพิจารณาแกไข เรงดวน….หรือเปลา ? อีกงานของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน เพือ่ เพิม่ ความมัน่ ใจใหกบั ผูใ ชนาํ้ มันแกสโซฮอล และตอกยํา้ ความเชือ่ มั่นใหกับผูใชรถยนตและจักรยานยนตจึงไดจัดทําภาพยนตร ประชาสัมพันธเรื่อง “ของดี ตองบอกตอ” เห็นตัวอยาง ภาพยนตร ป ระชาสั ม พั น ธ แล ว นั ก ข า วพู ด เป น เสี ย ง เดียวกันวา …แคนี้เหรอ ? ไมแนใจวาจะเปนการดึงดูด

ใหประชาชนหันมาใชแกสโซฮอลกันมากขึ้นหรือนอยลง เพราะดู จากเนื้อหาโฆษณาแลว งอ งูสองตัวจริง ๆ….อิอิ

เด็กเนิรด ไดมีโอกาสแวะเวียนไปเยี่ยมเยือน มหาวิทยาลัยรังสิตเมือ่ เร็ว ๆ นี้ เลยมีโอกาสได พูดคุยกับ ดร.เจริญวิชญ หาญแกว อาจารย สาวคนเกงจากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล อ ม ที่ แ อบน อ ยใจเล็ ก ๆ วา ตอนนี้ มี นั ก ศึ ก ษา สนใจที่จะมาเรียนวิศวกรรมศาสตร ในสาขา สิ่งแวดลอมฯ นอยมาก สงผลใหในอนาคต อาจเปนสาขาอาชีพที่ขาดแคลนได ทั้ง ๆ ที่เปนสาขาอาชีพที่มี งานรองรับอยูแ ลวก็ตาม ก็อยากจะเชิญชวนใหนอ ง ๆ ทีค่ ดิ อยาก จะเรียนวิศวกรรมศาสตร ลองหันมาใหความสนใจเรียนภาควิชา สิ่งแวดลอมฯ บาง เพราะเปนอาชีพที่มีอนาคตอยางแนนอน ภาคอุตสาหกรรมเตรียมเฮ เมื่อ ศาสตราจารย นาวา อากาศโท ดร.สราวุฒิ สุจิตจร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอน กระซิบมาวา ขณะนี้กําลังเตรียมการกอสรางหอง ปฏิบัติการกลางเพื่อใชในการพัฒนาหุนยนตและระบบอัตโนมัติ ที่ทันสมัย เปนศูนยกลางการสาธิตออกแบบพัฒนาหุนยนต และถายทอดเทคโนโลยีสูภาคอุตสาหกรรม เพื่อนําใชงานและให บริการในดานตาง ๆ เนือ่ งจากหุน ยนตและระบบอัตโนมัตถิ กู นํามา ใชงานและเปนที่ตองการอยางมากในวงการอุตสาหกรรมทั่ว โลกรวมทั้งประเทศไทยดวย แตละปเราตองใชงบประมาณนําเขา หุนยนต และระบบอั ตโนมั ติหลายหมื่ นลานบาท หากไทยเรา สามารถพัฒนาสรางหุนยนตและกลไกอัตโนมัติใชเองได จะชวย ลดเม็ดเงินจํานวนมหาศาลจากการนําเขา พรอมพัฒนาบุคลากร ทางด า นนี้ ใ ห มี ค วามชํ า นาญ ยิ่งขึ้น สําหรับหองปฏิบัติการ กลางฯ ทีจ่ ะสรางนีใ้ ชงบประมาณ กวา 124 ลานบาท อลังการงาน สรางจริง ๆ ครับงานนี้ เปดตัวไปแลวสําหรับ “โครงการสงเสริมการปรับปรุง ประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคาร” หรือ “MEA Energy Saving Building” ทีก่ ารไฟฟานครหลวง รวมกับ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี จัดประกวดเพื่อคนหา สุดยอด อาคารประหยั ด พลั ง งานกั บ กฟน. วั น เป ด ตั ว มี อ าคารที่ น  า สนใจมากมาย หลาย ๆ องคกรพรอมใจตบเทาสงใบสมัครเขา รวมโครงการคึกคัก งานนี้ ทํ า เ อ า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต อ งทํ า งานกั น อย า งหนั ก อาคารไฮเปอรมารเก็ตและ โรงพยาบาลทีย่ งั ไมไดสมัคร รี บ ตั ด สิ น ใจสมั ค รด ว น เลยคะ

89

Energy#52_p89_Pro3.indd 89

2/27/13 3:58 PM


Enjoyment

เจริญรัตน วงศสุวรรณ

เทรนดมาแรง…

ลางสารพิษบนเสื้อผาแบรนดดัง Detox Fashion…สูก ารรักษโลก

ปจจุบัน สําหรับคนรักสินคาแบรนดเนมตองหันมา “รักษ” ทั้งตัวสินคาและโลกไปพรอม ๆ กัน แฟชัน่ ทําใหเราดูดี แตเราจะดูดขี นึ้ ไปอีกถาเราวิง่ ตามแฟชัน่ ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมควบคูไ ปดวยกัน เมื่อป 2555 สมาคม “กรีนพีซ” ซึ่งเปนองคกรรณรงค อิสระระดับโลกทีล่ งมือทําเพือ่ เปลีย่ นแปลงทัศนคติและพฤติกรรม ปกปองและอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม รวมทัง้ สงเสริมสันติภาพ ไดตรวจ พบสารเคมีอนั ตรายทีม่ คี ณ ุ สมบัตริ บกวนฮอรโมน และเปนสารกอ มะเร็งในผลิตภัณฑเสื้อผาและชุดชั้นในของวิคตอเรีย ซีเคร็ท การแสดงเจตนารมณของแบรนดดังในครั้งนี้ จะเปนกาวแรกที่ สําคัญในการตอกรกับปญหามลพิษทางนํ้า และขจัดสารเคมี อันตรายออกจากผลิตภัณฑ โดยแบรนดวคิ ตอเรีย ซีเคร็ทนัน้ ไดให คํามัน่ วาจะเผยขอมูลการปลอยมลพิษรอยละ 80 ของโรงงานผลิต ของบริษทั ในเครือทัว่ โลก เพือ่ ใหประชาชน หนวยงานราชการ และ สือ่ มวลชนไดรบั รูถ งึ ขอมูลมลพิษในแหลงนํา้ สาธารณะ

สวนแบรนด “เบเนตอง” ก็เชนเดียวกัน รวมเติมสีสนั ความเซ็กซี่ อยางปลอดสารพิษ รวมกับ วิคตอเรีย ซีเคร็ท ใหกบั แฟชัน่ ของตน เนือ่ งมาจากแรงผลักดันอยางตอเนือ่ งของผูบ ริโภค นักกิจกรรม และผูช นื่ ชอบแฟชัน่ โดยในป 2556 นี้ ดูเหมือนจะเปนปแหงการเริม่ ตนสูการยุติการใชสารเคมีอันตรายในอุตสาหกรรมสิ่งทอเสียที การรณรงคโครงการลางสารพิษ หรือ Detox ของกรีนพีซ กาวขึน้ สูถ นน สายแฟชัน่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ กับการทีแ่ บรนดแฟชัน่ ระดับโลกตางรวม แสดงเจตนารมณในการลางสารพิษออกจากอุตสาหกรรมแฟชัน่ ลาสุดอีกสองแบรนดดงั คือ เบเนตอง และวิคตอเรีย ซีเคร็ท ไดแสดง ความมุง มัน่ ลางสารพิษ รวมเปน 14 แบรนดยกั ษใหญทรี่ ว มมือกัน เพือ่ สายนํา้ ทีไ่ รมลพิษ และอนาคตทีป่ ลอดสารพิษสําหรับทุกคน

90

Energy#52_p90-91_Pro3.indd 74

2/23/13 2:06 AM


เบเนตอง กรุป บริษทั เจาของแบรนดดงั อยาง ซิสเลย เพลยไลฟ และที่โดงดังที่สุดคือ เดอะ ยูไนเต็ด คัลเลอรส ออฟ เบเนตอง (The United Colors of Benetton) และลิมเิ ต็ด แบรนด บริษทั เจาของผลิตภัณฑชดุ ชัน้ ในชือ่ ดังอยาง วิคตอเรีย ซีเคร็ท และลา เซ็นซา ไดออกมาตอบรับเสียงเรียกรองของประชาชนหลายแสนคน โดยหันมาแสดงความมุงมั่นในการยุติการใชสารเคมีอันตรายใน ผลิตภัณฑและหวงโซการผลิตภายในป 2563 ดังทีแ่ บรนดตา ง ๆ กอนหนานีไ้ ดใหคาํ มัน่ ไวกอ นหนานีแ้ ลว อาทิ ซารา แมงโก เอสปรีย และลีวายส แตในขณะเดียวกัน คูแ ขงของแบรนดเหลานี้ อยาง คาลวินไลน และแก็ป ยังรีรอและดูเหมือนจะหางไกลจากการกาวขึน้ มาเปนผูน าํ แฟชัน่ ของเทรนดการลางสารพิษ นอกจากนีเ้ บเนตองยังไดแสดงความมุง มัน่ ในการสรางสรรค และใชสารเคมีทางเลือกที่ไมเปนอันตรายและไมกอมลพิษแทน สารเคมีอนั ตรายทีใ่ ชกนั อยางแพรหลายในอุตสาหกรรมสิง่ ทอทุกวันนี้ รวมถึงรวมกันบอกตอใหแบรนดตา ง ๆ รูว า หมดยุคของการใชสาร พิษในวงการแฟชัน่ แลว และเปนอีกเสียงหนึง่ ในการผลักดันแบรนด ตาง ๆ ใหลา งสารพิษดวยการรวมกันเผยแพรวดิ โี อ “ลางสารพิษ ออกจากแฟชัน่ ” (Detox Fashion) ใหแพรหลายมากทีส่ ดุ เพือ่ รักษาแหลงนํา้ สาธารณะใหสะอาดปลอดภัยจากมลพิษของโรงงาน อุตสาหกรรม

สวนแบรนดยนู โิ คล (Uniqlo) แหงแดนซูชิ แบรนดเสือ้ ผายักษ ใหญแหงเอเชีย และบริษทั ฟาสต รีเทลลิง่ กรุป (FRG) ไดแถลงถึง คํามั่นในการวางแผนที่จะยกเลิกการใชสารเคมีอันตรายทุกชนิด ในการผลิตผลิตภัณฑของตนภายในป พ.ศ.2563 ภายหลังการ เรียกรองจากกรีนพีชในโครงการรณรงค “ลางสารพิษ” (Detox) “ยูกฮิ โิ ร นิตตะ” ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและหัวหนาฝายบรรษัท บริบาลของฟาสตรเี ทลลิง่ กรุป (FRG) กลาววา ยูนโิ คลตระหนักดีวา ปญหามลพิษคุกคามนํา้ สะอาดเปนปญหาสําคัญระดับโลกและทาง บริษทั มีความยินดีทจี่ ะรวมกับกรีนพีชในการขจัดสารเคมีอนั ตราย

ฟาสต รีเทลลิง่ กรุป (FRG) ประกาศวาจะเรงรัดกระบวนการ ผลิตใหโปรงใส โดยจะเปดเผยขอมูลการปลอยของเสียของผูผ ลิต และโรงงานของตนเองทั่วโลก อยางนอยรอยละ 80 ภายในปนี้ เพือ่ ใหประชาชนทีอ่ ยูอ าศัยใกลโรงงานไดรบั ทราบขอมูลการปลอย ของเสียในสิง่ แวดลอม คําประกาศนีม้ ผี ลตอทุกแบรนดของฟาสต รี เ ทลลิ่ ง กรุ  ป (FRC) ซึ่ ง ประกอบด ว ย ยู นิ โ คล (Uniqlo) คอมตัว เดสคอตตอนเนียร (Comtoir des Cotonniers) แปรงเซส แตมแตม (Princesse tam.tam) จียู (G.U.) และธีโอรี (Theory) ซึ่งรวมกันแลวมีรานคาปลีกในสังกัดถึง 2,000 แหง ทัว่ โลก “จูนชิ ิ ซาโตะ” ผูอ าํ นวยการบริหารกรีนพีช ประเทศญีป่ นุ กลาววา ในวันนีท้ ยี่ นู โิ คลไดเปลีย่ นมาเปนหนึง่ ในผูน าํ การลางสารพิษ (Detox) ดวยการประกาศที่จะพัฒนาการใชสารเคมีที่มีความ ปลอดภัยแทนการใชสารเคมีอนั ตราย นับเปนชัยชนะสําหรับชุมชน ทัว่ โลกทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากมลพิษทางนํา้ จากอุตสาหกรรม ชืน่ ใจไปตาม ๆ กัน เมือ่ เห็นการพัฒนาดานสิง่ แวดลอม ประยุกต ใชไดกับทุกอยาง แมแตแฟชั่นเองก็มีแนวโนมที่ดีขึ้น หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า หากคุ ณ เป น คนหนึ่ ง ที่ ส นใจแฟชั่ น แบรนดเนม การเลือกซื้อสินคาที่มีคุณภาพดี มักมีราคาแพง แตเมือ่ เลือกทีจ่ ะซือ้ ของแพงแลว ก็ขอใหเลือกสินคาทีใ่ ชไดนาน และไมทาํ ลายสิง่ แวดลอมดวย…ดูดไี ดอกี !!

91

Energy#52_p90-91_Pro3.indd 75

2/23/13 2:06 AM


Green Space วรรณวิภา ตนจาน

รักษปา สรางคน 84 ตําบล วิถพ ี อเพียง ฟนฟูธรรมชาติบนพื้นฐานความยั่งยืน ได มี โ อกาสร ว มเดิ น ทางไปกั บ บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) และชมรมพลังงานเพื่อสังคม ในการไปเยี่ยมชม “โครงการรักษปา สรางคน 84 ตําบล วิถพ ี อเพียง” ทีเ่ กาะชางใต ซึ่ ง โครงการนี้ จั ด ขึ้ น เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูห วั และไดดาํ เนินโครงการตอเนือ่ งมาโดยตลอด ตาม แนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”

ปจจุบันมีตําบลที่เขารวม “โครงการรักษปาสรางคน 84 ตําบล วิถีพอเพียง” เกินกวาเปาหมาย 3 ตําบล รวมทั้งสิ้น 87 ตําบล ประกอบดวย 920 หมูบาน แบงเปนภาคเหนือ 23 ตําบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 22 ตําบล ภาคกลาง 22 ตําบล และภาคใต 20 ตําบล โครงการฯ ยังสามารถสรางและคนหา “ครัวเรือนพอเพียงอาสา” ได 9,244 ครัวเรือน และ “คนตนแบบ” กวา 600 คน ทั้งนี้ที่เกาะชางใต นางโกสุม เมฆมงคลชัย ผูอํานวยการ โครงการรักษปา สรางคน 84 ตําบล วิถีพอเพียง ใหทัศนคติวา แตละตําบลนั้นมีความเขมแข็งในตัวเองอยูแลว ปตท.เพียงแต เขาไปชวนคิด ชวนคุย และชวยแกปญ  หา รวมถึงพัฒนาใหมคี วาม เขมแข็งมากขึน้ ภายใตวถิ ชี วี ติ ทีย่ งั คงดํารงอยูต ามเดิม ศูนยเรียนรู เปนแหลงถายทอดความรูใหกับคนในชุมชนเพื่อนํามาปรับใชใน ชีวติ ประจําวัน ดังนั้นสิง่ ที่เราเขาไปคือเขาไปชวยวิจยั และวิเคราะห ปญหา โดยสงเจาหนาที่เขาไปชี้แนะ เชน ที่ศูนยการเรียนรู เกาะชางใตนั้นเปนแหลงแลกเปลี่ยนความรูกัน เชน โรคภัยไขเจ็บ ภัยพิบตั ิ หรือเราจะอยูอ ยางไรเมือ่ เปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

92

Energy#52_p92-93_Pro3.indd 92

2/26/13 11:22 PM


แนวคิดหลักของโครงการฯ มุงเนนไปที่ 3 สวนสําคัญ คือ “รักษปา ” ซึง่ เปนตัวแทนของฐานทรัพยากรทีส่ าํ คัญ ไดแก ดิน นํา้ ปา “สรางคน” คือ การมุงพัฒนาคนใหรูถึงศักยภาพของตนเอง ศักยภาพของชุมชน สามารถคิดเปน พึ่งตัวเองได มีองคความรู ความสามารถใชความรูใ นการแกไขปญหา และเอือ้ เฟอ เผือ่ แผไปถึง ผูอื่น “วิถีพอเพียง” คือ การนอมนําแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวปฏิบตั กิ บั ทุกตําบลทีเ่ ขารวมโครงการฯ เพือ่ สรุปเปนองคความรูท จี่ ะเปนตนแบบขยายผลสูต าํ บลอืน่ ๆ ได ในขณะทีห่ ลักการดําเนินงาน ยังเนนการมีสว นรวมของทุกภาคสวน และยึ ด เอาความต อ งการของชาวบ า นและชุ ม ชนเป น หลั ก เนนการสรางความรูใหเกิดในชุมชนอยางยั่งยืน มากกวาที่จะใช เงินเปนตัวนํา

จากความสําเร็จของชุมชนที่เกิดขึ้น ณ ตําบลเกาะชางใต ที่ชาวบานอยูภายในวิถีพอเพียง มีกินมีใช และมีความสุขกับ ธรรมชาติ แต สิ่ ง ที่ น  า กลั ว กํ า ลั ง คื บ คลานเข า ไปจนไม รู  ว  า ชาวบานจะตอสูอ ยางไร หากภาครัฐยังไมเหลียวแล ปลอยใหอยู กันตามยถากรรม และเกิดการบุกรุกอุทยานแหงชาติ ซึ่งเปน แหลงตนนํ้าของนายทุน เพื่อสรางรีสอรทและทาจอดเรือ และ กําลังทําลายวิถีชุมชนพอเพียงไปทีละนอย สุดทายก็คงไมตาง อะไรกับเกาะสมุยทีป่ จ จุบนั มีปญ  หามลพิษทัง้ นํา้ เนาเสียและขยะ ลนเมืองเหมือนทุกวันนี้ 93

Energy#52_p92-93_Pro3.indd 93

2/26/13 11:23 PM


Special Scoop รังสรรค อรัญมิตร

โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม “หวยบง” 2 – 3 จุดประกายความหวัง เสริมความมั่นคงพลังงานลมไทย

หากเท า ความถึ ง แผนการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน กระทรวงพลังงานเริ่มมีนโยบาย แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป (2551 – 2565) ในยุคของ “นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกลู ” อดีตรัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน แตในปจจุบนั ไดปรับเปนแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (2555 – 2564) โดยการสงเสริมดานพลังงานลม กระทรวงพลั ง งานได อ อกมาตรการสนั บ สนุ น เพื่ อ จู ง ใจ ใหเกิดการลงทุนของผูประกอบการ ทั้งการลดภาษีนําเขา อุปกรณกังหันลมผลิตไฟฟา การงดเวนจัดเก็บภาษีรายได เปนเวลา 8 ป และลดภาษีรายไดรอยละ 50 ในปที่ 9-13 รวม ทั้งใหสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา หรือแอดเดอร 4.50 บาทตอ หนวย สําหรับโครงการที่มีขนาดกําลังผลิตติดตั้งนอยกวา 50 กิโลวัตต และสนับสนุนแอดเดอร 3.50 บาท สําหรับกําลังผลิต มากกวา 50 กิโลวัตตขึ้นไป และยังสนับสนุนใหเปนโครงการที่ สามารถขายคารบอนเครดิต ตลอดจนใหสนิ เชือ่ อัตราดอกเบีย้ ตํ่าตอผูลงทุน

การผลิตไฟฟาจากพลังงานลมที่ผานมา สวนใหญเปน โครงการสาธิ ต ที่ ท ดลองผลิ ต ไฟฟ า และเป น โครงการที่ ผ ลิ ต ใชงานเอง ไมวาจะเปนที่ แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ลําตะคอง จ.นครราชสีมา โครงการทีเ่ กาะลาน และ โครงการชั่งหัวมัน เปนตน ซึ่งไมไดเปนโครงการที่ผลิตขาย ไฟฟาในเชิงพาณิชย ทั้งนี้ ในชวง 3 – 4 ปที่ผานมา ภายใตการสนับสนุนของ กระทรวงพลังงานในการสรางโรงไฟฟาพลังงานลมดูกระแส ตอบรับจากภาคเอกชนมีนอย เนื่องจากพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพ ลมเหมาะสําหรับติดตั้งกังหันลมในประเทศไทยนั้น สวนใหญ เปนพื้นที่เขตปาสงวน หรือพื้นที่ “สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม” (สปก.) ซึ่งมีอุปสรรคตอการเขาไปพัฒนาและ ลงทุนเปนอยางมาก เนื่องจากตองดําเนินการหลายขั้นตอน อยางไรก็ตาม ลาสุดในประเทศไทยไดมกี ารเปดตัวโครงการ ผลิตไฟฟาพลังงานลม ของ “บริษทั วินด เอนเนอรยี่ โฮลดิง้ จํากัด” ซึง่ เปนวินดฟารมหรือทุง กังหันลมทีม่ กี าํ ลังผลิตสูงสุดแหงแรกในประเทศ

94

Energy#52_p94-95_Pro3.indd 94

2/27/13 4:18 PM


และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เรียกไดวาเปนการจุด ประกายหรือสรางกระแสใหคนกลับมาสนใจทีจ่ ะลงทุนในโครงการ ผลิตไฟฟาพลังงานลมอีกครั้ง โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมแหงนี้ยังสามารถพัฒนา เปนแหลงทองเที่ยวใหมของชุมชนที่จะดึงนักทองเที่ยวเขามาและ สรางรายไดใหแกชุมชนในพื้นที่ได เนื่องจากเปนโครงการขนาด ใหญตงั้ อยูบ นพืน้ ทีท่ วิ ทัศนสวยงาม นอกจากนีป้ ระชาชนยังมีราย ไดจากคาเชาพืน้ ทีต่ งั้ จุดกังหันลม 35,000 บาทตอไรตอ ป และคา เชาพื้นที่สรางโครงการ 2,000 บาทตอไรตอป สํ า หรั บ โครงการผลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานลมของบริ ษั ท วินด เอนเนอรยฯี่ นัน้ ไดลงนามในสัญญาซือ้ ขายไฟฟาแลว 3 โครงการ ไดแก โครงการเวสต หวยบง 2 90 เมกะวัตต โครงการเวสต หวยบง 3 90 เมกะวัตต และโครงการพลังงานลมเขาคอ 60 เมกะวัตต ซึ่งมีกําลังการผลิตรวม 240 เมกะวัตต คาดวาจะเดิน เครื่องจําหนายไฟฟาพลังงานลมใหแก กฟผ. ไดในป 2557 โดยโครงการเวสตหวยบง 2 และโครงการเวสตหวยบง 3 นัน้ ตัง้ อยูใ นพืน้ ที่ อ.ดานขุนทด และอ.เทพารักษ จ.นครราชสีมา โดยแตละโครงการมีสัญญาซื้อขายไฟฟา ประเภท Non-firm สําหรับผูผลิตไฟฟารายเล็ก หรือ SPP โดยไดรับการสนับสนุน สวนตางราคารับซื้อไฟฟา หรือแอดเดอรจากภาครัฐที่ 3.5 บาท ตอหนวย เปนเวลา 10 ป ซึ่งทั้ง 2 โครงการ เปนการสงเสริมพลังงานทดแทนตาม นโยบายของภาครั ฐ ที่ กํ า หนดเป า หมายเพิ่ ม การผลิ ต ไฟฟ า จากพลังงานทดแทนเปน 9,201 เมกะวัตต ในป 2564 ที่มี สัดสวนพลังงานลม 1,200 เมกะวัตต ซึ่งจะชวยลดปริมาณ กาซคารบอนไดออกไซด 270,176 ตันตอป ลดการนําเขานํา้ มันเตา เพือ่ ผลิตไฟฟาไดปล ะประมาณ 96.4 ลานลิตร หรือคิดเปนมูลคา ประมาณ 2,040 ลานบาท นอกจากนี้ วินด เอนเนอรยี่ฯ ยังมีแผนพัฒนาโครงการ ผลิตไฟฟาพลังงานลมอีก 7 โครงการ ไมวาจะเปน โครงการ KORAT 02/1, KORAT 02/2, KORAT 02/3, KORAT 02/4,

โครงการ WATABAK, ST1 และโครงการ NORTH KRISSANA ซึ่งเปนโครงการที่ไดรับการตอบรับซื้อไฟฟาจาก กฟผ. แลว 3 โครงการ ไดแก KORAT 02/1, KORAT 02/2 และ KORAT 02/3 รวมกํ า ลั ง การผลิ ต 270 เมกะวั ต ต และจะสามารถลงนาม ในสัญญาซื้อขายไฟฟา (PPA) ภายในป 2556 นี้ อีกทั้งยังมี โครงการที่รอการตอบรับการพิจารณารับซื้อไฟฟาจาก กฟผ. อีก 4 โครงการ รวม 300 เมกะวัตต คาดวาจะสามารถเดินเครื่อง และจําหนายไฟฟาไดในป 2560 อย า งไรก็ ต าม หากรวมกํ า ลั ง การผลิ ต ทั้ ง โครงการ หวยบง 2 -3 โครงการที่เขาคอ และโครงการที่ไดรับการตอบรับ ซือ้ ไฟฟา และโครงการทีร่ อการตอบรับการพิจารณารับซือ้ ไฟฟา นัน้ จะมีกาํ ลังการผลิตไฟฟารวม 810 เมกะวัตต ภายใตเปาหมาย การผลิตไฟฟาจากพลังงานลมทีจ่ ะสราง 1,000 เมกะวัตต ดังนัน้ เทากับวาเหลืออีก 190 เมกะวัตต ซึ่ง บริษัท วินด เอนเนอรยี่ โฮลดิ้ง จํากัด สามารถผลิตไดตามเปาหมายที่วางไว ตองติดตามกันตอไปวาโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม จะมีแหงใดเกิดขึ้นอีก นอกจากโครงการของวินด เอนเนอรยี่ฯ และจะมีพนื้ ทีใ่ ดทีม่ กี าํ ลังลมเหมาะกับการติดตัง้ กังหันลมทีน่ าํ ไป สูเปาหมายที่รัฐบาลตั้งไว

95

Energy#52_p94-95_Pro3.indd 95

2/27/13 4:18 PM


Special Scoop เจริญรัตน วงศสุวรรณ

เกษตร…ลาดกระบัง เรงเพาะตนกลาเยาวชน

โครงการ “ดํานาเพาะกลาคนเกษตร”

รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มอย า งยั่ ง ยื น

ทีผ่ า นมาหลายคนอาจเคยเห็นการทํานาทัว่ ไป แตการทํานา ทีค่ าํ นึงถึงสิง่ แวดลอมจะมีสกั กีแ่ หงในประเทศไทย ชาวนาทีย่ งั ทํา นาเปนอาชีพเหลือเพียงรุน พอแมของเราเทานัน้ ลูกหลานทีเ่ ขามา เรียนหนังสือก็หนั ไปประกอบอาชีพอืน่ ทีไ่ มใชเกษตรกรรม อาชีพ กระดูกสันหลังของชาติไรซงึ่ เรีย่ วแรงลงทุกที ในอนาคตหากการ ปลูกขาวใชเครือ่ งจักรกลในทุกขัน้ ตอนแทนแรงงานคน คนไทยคง ไดกนิ ขาวทีม่ รี าคาแพงเปนแน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา คุณทหารลาดกระบัง ไดจดั กิจกรรม “ดํานา เพาะกลาคนเกษตร” เพือ่ ปลูกฝงใหเยาวชน บุคคลทัว่ ไป และยังใชเปนวิธกี ารรับนองใหม ของคณะใหรจู กั การทํานาในกรอบแนวคิด “ทองนาอินทรียท ชี่ ว ย อนุรกั ษสงิ่ แวดลอม” โดยคํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติทกุ ปจจัย ตัง้ แต ดิน นํา้ อากาศ และระบบนิเวศ อืน่ ๆ ปลูกฝงใหบณ ั ฑิตรุน ใหม ไดรบั รู ตระหนัก เขาใจ และมีจติ สํานึกในการอนุรกั ษภมู ปิ ญ  ญาการ ทํานาแบบไทย ๆ ใหคงอยูส บื ไป

อาจารยวิชัย ลิ้มกาญจนพงศ ไดสอนขอคิดดี ๆ ใหกับ นักศึกษา ในการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนจากการทํานา โดย “สอนใหคดิ ..แลวลงมือทํา..หากไมทาํ ..เรายอมไมเกิดความ ตระหนักรูและเขาใจปญหาไดอยางแทจริง” บทเรียนดี ๆ ถูก ถายทอดสูภ าคสนาม นอกจากนี้ นางสาวจิราพร วิทาโน ตัวแทน นักศึกษาทีร่ ว มจัดงานจากสาขาวิชาพืชไร กลาววา “จริง ๆ แลว การทํานาแบบอินทรียท ปี่ ลอดสารพิษ นอกจากจะสรางมูลคาเพิม่ ไดมากกวาการทํานาแบบเคมีแลว ตนทุนทีใ่ ชยงั มีราคาถูกกวา สัตวเล็กสัตวนอ ยทีอ่ าศัยอยูใ นนายังชวยหมุนเวียนระบบนิเวศได เปนอยางดี การลดใชพลังงานจากการใชเครือ่ งจักรกลเกษตร ทําใหประเทศของเราประหยัดพลังงานไปไดอกี มาก กิจกรรมทีถ่ กู ถายทอดเหลานีเ้ กิดจากแรงบันดาลใจจากการไปดูงานหลากหลาย สถานที่ แลวอยากนํามาถายทอดตอ”

นอกจากกิจกรรมดํานาแบบอินทรียแลว ภายในงานยังมี กิจกรรมทีส่ นับสนุนแนวคิดวิถเี กษตรแบบพอเพียงและเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอมอีกมากมาย โดยเนนใชของไทยจากภูมปิ ญ  ญาไทย ทีน่ าํ นวัตกรรมยุคใหมเขามาผสมผสาน แตยงั คงความเปนธรรมชาติ เชน ขีผ้ งึ้ เคลือบเงารถทีท่ าํ มาจากนํา้ มันรําขาว ไวนมะขาม ไวนกระเจีย๊ บ ชาใบขาวตานอนุมลู อิสระ ชุดเพาะเห็ดจิว๋ สําหรับครอบครัวยุคใหม เปนตน สิง่ เหลานีเ้ ปนสุดยอดแนวคิดทีล่ ดตนทุนการผลิต โดยใช วัตถุดบิ ในประเทศ และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม โครงการดังกลาวปลูกฝงใหเกิดความรัก สามัคคี และเปน กิจกรรม “รับนองใหม” ทีม่ ปี ระโยชนดยี งิ่ ความหวังของชาติถกู ถายทอดและปลูกฝงใหกบั เยาวชนเหลานี้ ใหเปนบัณฑิตทีค่ ดิ แบบ green thinking ตอไป เพราะในยุคการเรียนสมัยใหม ปญญาชน ของชาติจะมีสกั กีค่ รุย….ทีล่ ยุ โคลน !!

96

Energy#52_p96_Pro3.indd 96

2/26/13 11:26 PM


Life Style

เจริญรัตน วงศสุวรรณ

SANTORINI PARK @ ชะอํา

สวนสนุกกลิ่นอาย “กรีซ”

ใครกํ า ลั ง มองหาที่ เ ที่ ย วใกล ๆ กรุ ง เทพฯ อยู  บ  า ง ? ในชวงวันหยุดใชเวลาเดินทางไมนานนักเดินทางมุง หนาสูจ งั หวัด เพชรบุรี มีที่ถายรูปสวย ๆ ช็อปปงเพลิน ๆ แถมมีของเลน สุดหวาดเสียวใหไดทดลองเลนกัน !!

ภายในประกอบดวย 5 โซนหลัก คือ โซนที่ 1 โซนพารค (Park) คือสวนของความมันสความหรรษา โซนที่ 2 โซนวิลเลจ (Village) แหลงช็อปปง สุดฮิพในยานหัวหิน-ชะอํา ทัง้ แบรนดเนม แฮนดเมด หรู ๆ แนว ๆ โซนที่ 3 โซนเรสต แอเรีย (Rest Area) โซนพั ก ระหว า งทางสํ า หรั บ ผู  สั ญ จรผ า นมากั บ หลากร า น บรรยากาศสบาย ๆ โซนที่ 4 โซนอีเวนท (Event) พื้นที่สําหรับ จัดกิจกรรมพิเศษตลอดป และโซนที่ 5 โซนวีคเอนด อารต มารเก็ต (Weekend Art Market) ตลาดนัดวันหยุด เปดบริการ วันเสาร-อาทิตย สําหรับผูที่ชื่นชอบงานศิลปะและสินคาทํามือ ในบรรยากาศตลาดนัดในสวน และกิจกรรมอื่น ๆ อีกเพียบ

SANTORINI PARK สวนสนุกแหงใหมที่เพิ่งเปดตัวใน ป 2555 นี้เอง ใครที่ขับรถผานเสนทาง ชะอํา-หัวหิน คงไดเห็น ชิงชาขนาดใหญสะดุดตาตั้งตระหงานติดถนน เดินทางสะดวก มีที่จอดรถกวา 1,500 คัน เดินทางเพียง 2 ชั่วโมงเศษจาก กรุงเทพฯ หรือเพียง 20 นาทีจากหัวหิน สําหรับที่มาของคําวา SANTORINI มาจากสถาปตยกรรมฟาขาวจากเกาะซานโตรินี ประเทศกรีซ เจาของคือ “พีนา กรุป ”บริษทั ทีท่ าํ ธุรกิจดาน Retail และ Outlet Mall อยาง Premium Outlet Cha-Am ภายในมีแหลงช็อปปงมากมาย ภายใตสโลแกนสนุก ๆ “Amused Shopping Experience” ประมาณวา ช็อปกันเพลิน ๆ เดิ น เล น ยามเย็ น ออกกํ า ลั ง กายด ว ยเครื่ อ งเล น ระดั บ โลก ที่มีแคปซูลยักษดีดตัวเราใหลอยสูงลิ่วสุดหวาดเสียว ทามกลาง สถาป ต ยกรรมและงานประติ ม ากรรมที่ ไ ด รั บ แรงบั น ดาลใจ มาจากความงามของเกาะซานโตรินี ประเทศกรีซ เปนอีกหนึ่ง ที่เที่ยวสรางสรรคที่ดึงดูด นักช็อป นักแชะ และนักชิล เพราะ SANTORINI จะมีกิจกรรมมากมายผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมา สรางความสุขตลอดทั้งป

เปดใหบริการ วันจันทร-พฤหัสบดี เวลา 10.00 – 21.00 น. ไมเสียคาบัตรผานประตู สวนในวันศุกร-เสาร-อาทิตย และ วันหยุดนักขัตฤกษ 10.00 – 21.00 น. คาบัตรผานประตูทา นละ 50 บาท เกริ่นกันมาซะขนาดนี้ สนุกแคไหนบอกไดคําเดียววา “ตองลอง” 97

Energy#52_p97_Pro3.indd 97

2/26/13 11:31 PM


Energy Clinic

ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

อุปกรณประหยัดพลังงาน ในเครื่องปรับอากาศ Q : สวัสดีครับอาจารย ชวงนีเ้ ริม่ เขาสูฤ ดูรอ นกันแลวนะ ครับ (จริง ๆ แลวตอนนีป้ ระเทศไทยนาจะมีฤดูรอ นฤดูเดียวนะ ครับ เพียงแตรอ นมากหรือรอนนอยเทานัน้ เอง) ก็ตอ งขอรบกวน อาจารยอกี ครัง้ นะครับ เพือ่ เตรียมตัวรับลมรอนทีก่ าํ ลังจะมาถึง ในไมชานี้ ตองเตรียมพรอมหาวิธีประหยัดพลังงานไฟฟา ในสวนของเครื่องปรับอากาศในสภาวะคาไฟแพงขึ้นเรื่อย ๆ เดือนเมษายนที่จะถึงนี้จะมีการปรับคา FT ขึ้นอีกเทาไร ซึ่ง ครอบครัวใหญ ๆ มักจะมีเครือ่ งปรับอากาศไวใชงานหลายตัวมาก ยกตัวอยางบานผมครอบครัวเล็ก ๆ ยังใชเครื่องปรับอากาศ 2 เครือ่ งเลยครับ คาไฟฟาอยูท ปี่ ระมาณเดือนละ 1,800 – 2,200 บาท ถาเปนหนารอนจะอยูท ปี่ ระมาณ 2,300 – 2,800 บาทเลยครับ ผมอยากถามอาจารย ว  า ป จ จุ บั น การขยายตั ว ของเครื่ อ ง ปรับอากาศเปนอยางไรบางครับ ถาเปลี่ยนหรือชื้อเครื่อง ปรับอากาศประสิทธิภาพสูงเครือ่ งใหม ราคาจะสูงไหมครับ อยาก ใหอาจารยชว ยแนะนําหนอยครับ A : การใช ง านเครื่ อ งปรั บ อากาศในป จ จุ บั น มี อั ต รา การขยายตั ว สู ง มากเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ สถิ ติ เ มื่ อ 5 ป ก  อ น เครื่องปรับอากาศไมไดเปนสินคาขายดีเฉพาะแคในหนารอนอีก ตอไปแลว ไมเพียงสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงและแปรปรวนจาก ธรรมชาติปกติ แตหนึง่ ในปจจัยทีเ่ ขามาผลักดันใหตลาดขยายตัว คงหนีไมพนการขยายตัวตามอสังหาริมทรัพยที่ปูพรมไปทั่ว ประเทศ จากการเก็บตัวเลขลาสุดใน ชวง 11 เดือนของยอดขาย ทัง้ ตลาดในชวงปทผี่ า นมา พบวาเครือ่ งปรับอากาศ สามารถขยาย ตัวไดมากถึง 13% หรือมูลคา 1.35 หมืน่ ลานบาท แมวา ชวงตนป จะประสบป ญ หาสิ น ค า ขาดตลาดและไม เ พี ย งพอกั บ ความ ตองการ หลังจากที่ฐานการผลิตเครื่องปรับอากาศหลายคาย ประสบภัยนํ้าทวมและชิ้นสวนผลิตขาดตลาด สงผลใหปริมาณ การใชพลังงานไฟฟารวมของทั้งประเทศสูงขึ้นตามไปดวย ปจจุบันทางการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดสงเสริมใหประชาชนรวมใจกันประหยัดการใชพลังงานไฟฟา และใชพลังงานไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ โดยไดขอความรวมมือ กับผูผ ลิตเครือ่ งปรับอากาศใหเขารวมโครงการเพือ่ กําหนดระดับ ประสิทธิภาพและพัฒนาเครื่องปรับอากาศเพื่อติดฉลากแสดง ระดับประสิทธิภาพเบอร 5 โดยเกณฑที่ใชกําหนดใหผลิตภัณฑ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งปรั บ อากาศสํ า หรับ ห อ งต อ งเป น ไปตาม มาตรฐานเลขที่ มอก. 2134 – 2553 ตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรมฉบับที่ 4315 (พ.ศ. 2554) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511

เรื่องยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑเครื่องปรับอากาศ สําหรับหองเฉพาะด านสิ่งแวดลอม ทําใหเครื่องปรับอากาศ ที่ออกจําหนายในป 2554 หรือในป 2012 สําหรับเครื่องปรับ อากาศรุนใหม ประหยัดไฟเบอร 5 จะตองมีคา EER = 11.6 เปน อยางตํ่า ซึ่งราคาเครื่องปรับอากาศคงปรับขยับขึ้นตามไปแลว

Q : อาจารยครับแลวมีเทคโนโลยี/อุปกรณชวยประหยัด พลังงานไฟฟาในเครื่องปรับอากาศบางหรือเปลาครับ A : ปจจุบันมีเทคโนโลยี/อุปกรณชวยประหยัดพลังงาน ไฟฟา ในเครื่ อ งปรั บ อากาศอยู  ห ลายชนิ ด ลองไปศึ ก ษาดู ใ น เว็บไซตของกระทรวงพลังงาน แตอาจารยจะแนะนําอุปกรณ ชวยประหยัดพลังงานไฟฟาในเครื่องปรับอากาศชื่อวา Happy Air ใหทราบแลวกัน

98

Energy#52_p98-100_Pro3.indd 98

2/19/13 9:20 PM


Q : อาจารย ค รั บ แล ว เทคโนโลยี / อุ ป กรณ ที่ ชื่ อ ว า Happy Air มีหลักการทํางานอยางไรครับ A : การทํางานของระบบปรับอากาศแบบแยกสวน กลไกการทํางานของเครื่องปรับอากาศ มีสวนประกอบ ที่สําคัญของระบบทําความเย็น (Refrigeration Cycle) หลัก ทั้งหมด 4 สวน ไดแก 1. คอมเพรสเซอร (Compressor) ทํ า หน า ที่ อั ด เพิ่มแรงดัน และขับเคลื่อนสารทําความเย็น (Refrigerant) ใน ระบบ โดยทําใหสารทําความเย็นมีอุณหภูมิและความดันที่สูงขึ้น 2. คอนเดนเซอรหรือคอยลรอน (Condenser) ทําหนาที่ ระบายความรอนของสารทําความเย็นผานทางแผงระบายความ รอน (Fin) และใชพัดลมดูดลมเพื่อใชเปนตัวถายเทความรอน 3. อี ว าปพอเรเตอร ห รื อ คอยล เ ย็ น (Evaporator) ทํ า หน า ที่ ดู ด ซั บ ความร อ นภายในห อ งปรั บ อากาศมาถ า ยเท ใหกับสารทําความเย็น 4. อุปกรณลดความดัน (Throttling Device) ทําหนาที่ ลดความดันและอุณหภูมขิ องสารทําความเย็น โดยทัว่ ไปจะใชเปน แคปพิลลารีทิวบ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชันวาลว (Expansion Valve) ระบบการทํ า ความเย็ น ที่ กํ า ลั ง กล า วถึ ง คื อ ระบบอั ด ไอ (Vapor-Compression Cycle) ซึ่ ง มี ห ลั ก การทํ า งาน งาย ๆ คือ การทําใหสารทําความเย็น (นํา้ ยา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผานสวนประกอบหลักทั้ง 4 อยางตอเนื่องเปนวัฏจักรการ ทําความเย็น (Refrigeration Cycle) โดยมีกระบวนการดังนี้ 1) เริ่มตนโดยคอมเพรสเซอรทําหนาที่ดูดและอัดสาร ทําความเย็น เพื่อเพิ่มความดันและอุณหภูมิของนํ้ายา แลวสง ตอเขาคอยลรอน 2) นํ้ายาจะไหลวนผานแผงคอยลรอนโดยมีพัดลมเปา เพื่อชวยระบายความรอน ทําใหนํ้ายาที่จะออกจากคอยลรอน มีอุณหภูมิลดลง (ความดัน (P) คงที่) จากนั้นจะถูกสงตอไป ใหอุปกรณลดความดัน 3) นํ้ายาที่ไหลผานอุปกรณลดความดัน จะมีความดันและ อุณหภูมทิ ตี่ าํ่ มาก แลวไหลเขาสูค อยลเย็น (หรือทีน่ ยิ มเรียกกันวา การฉีดนํ้ายา) 4) จากนั้ น นํ้ า ยาจะไหลวนผ า นแผงคอยล เ ย็ น โดย มี พั ด ลมเป า เพื่ อ ช ว ยดู ด ซั บ ความร อ นจากภายในห อ ง เพื่อทําใหอุณหภูมิในหองลดลง สงผลใหนํ้ายาที่ออกจากคอยล เย็นมีอุณหภูมิสูงขึ้น (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกสงกลับเขา คอมเพรสเซอรเพื่อทําการหมุนเวียนนํ้ายาตอไป

หลังจากทีท่ ราบการทํางานของวัฏจักรการทําความเย็นแลว พอจะสรุปงาย ๆ ไดดังนี้ 1) สารทําความเย็นหรือนํ้ายา ทําหนาที่เปนตัวกลาง ดู ด เอาความร อ นภายในห อ ง (Indoor) ออกมานอกห อ ง (Outdoor) จากนัน้ นํา้ ยาจะถูกทําใหเย็นอีกครัง้ แลวสงกลับเขาหอง เพือ่ ดูดซับความรอนอีก โดยกระบวนการนีเ้ กิดขึน้ อยางตอเนือ่ ง ตลอดการทํางานของคอมเพรสเซอร 2) คอมเพรสเซอรเปนอุปกรณชนิดเดียวในระบบทีท่ าํ หนาที่ ขับเคลื่อนนํ้ายาผานสวนประกอบหลัก คือ คอยลรอน อุปกรณ ลดความดัน และคอยลเย็น โดยจะเริม่ ทํางานเมือ่ อุณหภูมภิ ายใน หองสูงเกินอุณหภูมิที่เราตั้งไว และจะหยุดทํางานเมื่ออุณหภูมิ ภายในหองตํ่ากวาอุณหภูมิที่เราตั้งไว ดังนั้นคอมเพรสเซอรจะ เริม่ และหยุดทํางานอยูต ลอดเวลาเปนระยะ ๆ เพือ่ รักษาอุณหภูมิ หองใหสมํ่าเสมอตามที่เราตองการ Q : อาจารยครับแลวอุปกรณ Happy Air จะสามารถ ประหยัดพลังงานไดเทาไหรครับ A : คาใชจายดานพลังงานของระบบปรับอากาศเครื่อง ปรับอากาศเปนอุปกรณ ไฟฟาที่ใชพลังงานมากและสิ้นเปลือง ค า ใช จ  า ยสู ง เห็ น ได จ ากพลั ง งานไฟฟ า โดยรวมของเครื่ อ ง ใช ไ ฟฟ า ภายในบ า น 50-80 % เป น พลัง งานที่ ใช กับ เครื่อง ปรับอากาศ แตอยางไรก็ตามดวยอุณหภูมบิ า นเรารอนขึน้ เรือ่ ย ๆ เครื่องปรับอากาศก็มีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมได ดังนั้น เราควรจําเปนทีจ่ ะตองทําความเขาใจเรือ่ งคาใชจา ยพลังงาน เพือ่ นํ า ไปพิ จ ารณาประกอบการเลื อ กซื้ อ เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ใ ช พลังงานไฟฟาอยางเหมาะสมและไมเกินความจําเปน ดังแสดง คาใชจายดานพลังงานไฟฟาในตารางที่ 1 ชนิด

Btu/h

วัตต จํานวนหนวย ระยะเวลา ที่ ใชตอชั่วโมง ใชงาน/วัน

920 1150 2900 680 1130 2490 1330

0.92 1.15 2.99 0.68 1.13 2.49 1.33

ตั้ง/แขวน 24000 2710

2.71

ติดหนาตาง 9000 12000 24000 ติดผนัง 9000 12000 24000 12000

พลังงานไฟฟา ที่ใช (หนวย)/เดือน

165.6 207.0 8ชั่ ว โมง 538.2 คอมเพรสเซอร 122.4 ทํางาน 203.4 6 ชั่วโมง 448.2 239.4 487.8

คาไฟ

728.64 910.80 2,368.08 538.36 894.96 1,972.08 1,053.36 2,146.32

ตารางที่ 1 แสดงคาใชจายดานไฟฟา จากเครื่องปรับอากาศประเภทตาง ๆ

อุ ป กรณ ล ดปริ ม าณการใช พ ลั ง งานของเครื่ อ ง ปรับอากาศ

หลักการทํางานของอุปกรณเสริมเพื่อปรับปรุงใหเครื่อง ปรับอากาศเพิ่มประสิทธิภาพ คือ การใชประโยชนจากนํ้าเย็น ที่เกิดจากการควบแนนที่คอยลเย็น ซึ่งเดิมเปนนํ้าทิ้งของระบบ มาใชระบายความรอนของสารทําความเย็นบริเวณทีส่ ารทําความ เย็ น ออกจากหั ว คอมเพรสเซอร ก อ นเข า ระบายความร อ น ที่คอนเดนเซอร ใหสารทําความเย็นมีแรงดันและอุณหภูมิลดลง สงผลใหสามารถควบแนนปริมาณทีม่ ากยิง่ ขึน้ กวาการใชอากาศ 99

Energy#52_p98-100_Pro3.indd 99

2/19/13 9:20 PM


ระบายความรอนอยางเดียว สงผลใหปริมาณการรับความรอน ที่แผงคอยลเย็นทํางานไดเร็วขึ้นกวาระบบเดิม และก็สงผลให คอมเพรสเซอรตัดตอไดเร็วขึ้น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพไดไมแพ แอรเบอร 5 แอรอินเวอรเตอร หรือแอร ไฮบริดในทองตลาด แตแอรในกลุมดังกลาวยังสามารถใชอุปกรณเสริมนี้ได โดยมี ผลประหยัดพลังงานเพิ่มขึ้นจากของเดิม โดยผลประหยัดที่ได อยูในชวง 10-30%

การทดสอบกับเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน

ผลการทดสอบกับเครื่องปรับอากาศขนาด 12,000 บีทียู ใชในหองสํานักงานมีการเปดใชงานตั้งแต 10.00 น. – 18.00 น. เปรี ย บเที ย บกั น จํ า นวน 2 วั น ระหว า งวั น ที่ ไ ม มี ก ารติ ด ตั้ ง อุปกรณเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ (Happy Air) และ วันที่มีการติดตั้งอุปกรณ ผลสรุปที่ไดปรากฏวาวันที่ไมมีการ ติดตั้งอุปกรณมีการใชพลังงานไปทั้งสิ้น 6.90 กิโลวัตตชั่วโมง ตอวัน และวันที่มีการติดตั้งอุปกรณมีการใชพลังงานอยูที่ 5.46 กิโลวัตตชั่วโมง โดยสภาวะอากาศภายนอกเฉลี่ยที่ 34.3 และ 34.5 องศาเซลเซียส ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบอัตราการใช พลังงานพบวามีผลประหยัดที่เกิดขึ้นเทากับ 20.9% ซึ่งเปนผล ประหยัดที่นาสนใจสําหรับเครื่องปรับอากาศตามบานพักอาศัย Happy Air 1.80 1.60 1.40 1.20 1.00

kW 0.80 0.60 0.40 0.20 000 0.

Q : อุปกรณ Happy Air นี้นาสนใจมากเลยนะครับ คงจะ ชวยใหผมประหยัดคาไฟฟาได หากมีการนํามาติดตัง้ กันมาก ๆ ก็จะชวยประเทศชาติประหยัดพลังงานลงไดนะครับ อาจารยจะ หารายละเอียดอุปกรณหรือสอบถามเรื่องราคาไดที่ไหนครับ

A : ทานที่สนใจรายละเอียดอุปกรณ Happy Air สามารถ ติดตอไดที่ บริษทั กรีน แอนด อีโค ไอเดีย จํากัด โทร.0-2349-7514 โทรสาร. 0-2349-7515 Q : ขอบคุณครับอาจารย ผมไดความรูเ กีย่ วกับอุปกรณ ชวยประหยัดพลังงานไฟฟาในเครือ่ งปรับอากาศชือ่ วา Happy Air มากเลยครับ ขอบคุณครับอาจารย A : ครับ ลองใชงานดูนะครับ สวัสดีครับ อย า ลื ม นะครั บ การประหยั ด พลั ง งานถื อ เป น หน า ที่ ของพวกเราคนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงาย ๆ จาก ตัวเราเองกอนที่ตองลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไวใหลูกหลานของเราไดมีใชใน วันขางหนา เอกสารอางอิง 1. ที่ปรึกษาดานพลังงานและสิ่งแวดลอม โดย นายกิตติศักดิ์ จัน่ เพชร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั แอ็ดวานซ เอนเนอรย่ี เซฟวิง่ จํากัด 2. เอกสารการทดสอบอุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งานในเครื่ อ ง ปรับอากาศ บริษัท แอ็ดวานซ เอนเนอรยี่ เซฟวิ่ง จํากัด 3. หนั ง สื อ การทํ า ความเย็ น และการปรั บ อากาศ, ผศ.น.อ. ดร.ตระการ กาวกสิกรรม 4. http://www.prachachat.net/news_detail.php 5. http://www.kmitl.ac.th/~kpmonsak/Refrigeration/Refrigeration_AirConditioning_Introduction.pdf 6. เอกสารคุ ณ ลั ก ษณะของผลิ ต ภั ณ ฑ Happy air บริ ษั ท กรีน แอนด อีโค ไอเดีย จํากัด

100

Energy#52_p98-100_Pro3.indd 100

2/19/13 9:20 PM


Energy Tip

เจริญรัตน วงศสุวรรณ

10 วิธปี ระหยัดพลังงานแบตเตอรี่ สําหรับ Smart phone ของคุณ

ยุ ค ที่ เ ทคโนโลยี ทั น สมั ย เดิ น ไปไหนมาไหน ก็ มี แ ต ค น Touch หนอจอมือถือกันเต็มบานเต็มเมือง การใชเทคโนโลยี ควบคูกับการประหยัดพลังงานถือวาเราไดชวยโลกอีกทาง หนึ่ง แถมยังชวยประหยัดแบตเตอรี่เพื่อการใชงานที่ยาวนาน ขึ้น โดยเฉพาะผู ใชมือใหมที่ประสบปญหาแบตเตอรี่หมดเร็ว 10 วิธีเหลานี้สามารถชวยคุณได….มาดูกัน !! 1. หมัน่ เปดเช็คเปอรเซนตของแบตเตอรี่ วาถูกใชไปกับอะไร มากทีส่ ดุ เขาไปดูไดที่ setting >> About phone>>Battery use และจงปดสิ่งที่ไมจําเปนลงซะ!

2. ปด 3G ถาไมจําเปน เมื่อคุณไมมีความจําเปนตองใช การรับสงขอมูลดวยความเร็วสูง ควรปดเอาไวเพราะคอนขาง กินแบตเตอรี่มาก 3. ลดความสวางหนาจอ สําหรับคนที่ชอบหนาจอสวาง ๆ คงตองยอมลดความสวางลง ซึ่งจะชวยประหยัดแบตเตอรี่และ ถนอมสายตาไดดวย เขาไปที่ Settings » Sound & Display » Brightness

4. สําหรับหนาจอแบบ Amoled ควรเปลี่ยนสี Background เปนสีดาํ แทนทีร่ ปู ภาพหรือ background สีจดั ๆ แทน

5. ตั้งคา Screen timeout หรือการตั้งใหหนาจอดับเอง อัตโนมัติเมื่อไมใชงาน สามารถตั้งไดเองตามความเหมาะสมของ ผูใชแตละคน เชน 30 วินาที 1 นาที หรือ 2 นาที 6. การปดการเชือ่ มตอ wireless เมือ่ ไมจาํ เปนตองใชงาน ก็สามารถชวยลดการใชแบตเตอรี่ลงไดมาก 7. ปด Bluetooth เมือ่ ไมมคี วามจําเปนตองใชการเชือ่ มตอ กับอุปกรณอื่น ๆ

8. ปดระบบการสั่นและการแจงเตือน เมื่อเปดเสียงเรียก เขาแลวควรปดระบบการสั่น จะชวยลดการใชพลังงานลงได 9. สําหรับมือถือที่มี Widget ควรลดการใช Widget ประดับหนาจอ เพราะจะทําใหมือถือมีการดึงขอมูลมาแสดงผล ตลอดเวลาซึ่งจะทําใหกินแบตเตอรี่มาก

10. อยาเปดแอพพลิเคชั่นทิ้งเอาไว หลังใชแอพพลิเคชั่น เสร็จแลวควรกดปด และกลับไปทีห่ นาจอ home screen จะเปน ทางที่ดีที่สุดหลังการใชงานแอพพลิเคชั่น เพียงเทานี้ เราก็สามารถเก็บแบตเตอรีไ่ วใชงานไดอกี นาน มีประโยชนกับโลกและตัวคุณ “เทคโนโลยีกาวไกล เราก็ตอง ใชหัวใจสีเขียวกาวตาม” สรางจิตสํานึกใสใจพลังงานและสิ่ง แวดลอมจากเรื่องใกลตัว 101

Energy#52_p101_Pro3.indd 101

2/15/13 10:38 PM


Special Report วรรณวิภา ตนจาน

การทองเที่ยวคารบอนตํ่า สนุกสนานแบบอนุรักษธรรมชาติ

ในแตละปทผี่ า นมามีนกั ทองเทีย่ วชาวตางชาติเขามาทองเทีย่ ว ในประเทศไทยเปนจํานวนมาก รวมทัง้ ชาวไทยอยางเรา ๆ ทาน ๆ ดวย ดานเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาไปอยางรวดเร็วเก็บเงิน เก็บทองไดเปนกอบเปนกํา แตมาพรอมกับความเสือ่ มโทรมของ สภาพแวดลอมและแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติอยางเลี่ยง ไมได นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศยังสงผล กระทบตอแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรธรรมชาติอีกดวย ฉะนั้นภาคการทองเที่ยวจึงตองพัฒนารูปแบบของการทอง เที่ยวในการปองกันปญหาดังกลาวในอนาคต โครงการปองกันสภาพอากาศในภาคการทองเที่ยวเปน องคกรความรวมมือระหวางประเทศเยอรมัน (GIZ) และองคการ บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (อพท.) รวมกันดําเนินงาน โดยไดรบั ทุนสนับสนุนจากกระทรวงสิง่ แวดลอมคุม ครองธรรมชาติและความปลอดภัยทางปรมาณูแหง สหพันธรัฐเยอรมนี โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ผสานแนวคิดปกปอง สภาพอากาศเขากับการจัดทําแผนและการจัดการทองเที่ยว เพื่อพัฒนาใหพื้นที่เกาะชางและพื้นที่เชื่อมโยงเปนตนแบบของ การทองเที่ยวที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศ

ในขณะที่ พลตรีหญิงจรัสพิมพ ธีรลักษณ ผูจ ดั การพืน้ ที่ พิเศษหมูเกาะชางและพื้นที่เชื่อมโยง กลาววา ในเรื่องของการใช พลังงานทดแทน ซึ่งภาคภาคีการทองเที่ยวไดพยายามทําให ผู  ป ระกอบการใส ใ จสิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น หมายความว า ถ า ประชาชนตองการจะเขาพักในโรงแรมสีเขียว สามารถมัน่ ใจไดเลย วาทางโรงแรมมีการจัดการที่ดี ซึ่งผูประกอบการเองก็สามารถ ทําได เชน การปลูกตนไม เปนตน โครงการสงเสริมการทองเที่ยวแบบคารบอนตํ่าเกิดขึ้นใน เขตพื้นที่ จ.ตราด โดยเฉพาะที่เกาะชาง เกาะกูด และเกาะไหง โดยผานการเผยแพรแนวคิดและความรูใ หกบั ผูป ระกอบการในการ ดําเนินการ ซึ่งเกาะชางนับเปนพื้นที่ที่ประสบความสําเร็จในการ ดําเนินโครงการมากที่สุด เนื่องจากทุกภาคสวนตั้งแตองคกร ปกครองสวนทองถิน่ ชุมชน ประชาชน เยาวชน และผูป ระกอบการ ที่พัก ลวนใหความรวมมือในการลดการปลอยกาซคารบอน สูช นั้ บรรยากาศ เริม่ ตัง้ แตการใชชวี ติ ประจําวันจนกระทัง่ กิจกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว โครงการดังกลาวสงเสริมใหนกั ทองเทีย่ วมีสว นรวมในการ ชวยลดการปลอยกาซคารบอนสูชั้นบรรยากาศ อาทิ การแจก คูมือทองเที่ยวเกาะชาง ที่ประกาศตัวเปนแหลงทองเที่ยวแบบ คารบอนตํ่า ผานกิจกรรมปนจักรยานเที่ยวแทนการใชรถยนต หรือรถจักรยานยนต หรือเมนูอาหารชวยลดโลกรอน เปนตน นอกจากนี้ในเขตพื้นที่ภูเก็ต เกาะสมุย และแหลงทองเที่ยวอื่น ๆ ก็สามารถที่จะนําเอาเกาะชางมาเปนตนแบบในการนําไปจัดการ ในเขตพื้นที่ของตนได

นอกจากนี้ใครจะไปรูวา ทรัพยากรธรรมชาติในบานเรา ที่แมวายังคงมีอยูอยางอุดมสมบูรณนั้นจะสามารถดํารงอยูได อยางยาวนานจนถึงเมื่อใด วันนี้เราจึงจําเปนตองหันกลับมา ประเมิ น ค า ของสิ่ ง แวดล อ มที่ ถู ก ใช ไ ปและที่ เ หลื อ อยู  ว  า จะ สามารถคงอยูไปไดอีกนานมากนอยแคไหนดังนั้นเราตองหา แนวทางในการพั ฒ นาให สิ่ ง แวดล อ มมี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ยิ่งขึ้น เพื่อการพัฒนาสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนตอไป 102

Energy#52_p102_Pro3.indd 102

2/23/13 1:58 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

103

Energy#52_p103_Pro3.indd 103

2/28/13 9:11 AM


Energy Thinking ปยะนุช มีเมือง

ลําบาก ดีกวา สบาย !!

ขอคิดสะกิดใจทีอ่ ยากพูดถึงในฉบับนี้ เปนเรือ่ งราวสะกิด ตอมความคิดจากเพือ่ นรวมงาน หลายคนคงเคยรูส กึ เหนือ่ ยใจ หนักสมอง นั่งถอนหายใจ พรอมกับลงมือทํางานที่กองอยู ตรงหนา เชื่อเถอะวาความรูสึกเชนนี้ตองเคยเกิดขึ้นกับทุกคน ตัวผูเขียนเองขอสารภาพเบา ๆ วาเคยอยูในหวงอารมณ เชนนีเ้ หมือนกัน แลวเราจะรับมือกับอารมณที่เกิดขึ้นนี้อยางไร ผูเขียนมีขอคิดดี ๆ มาฝากกัน วิธีการรับมือกับสภาพอารมณเชนนี้ อยูที่การปรับความ รูส กึ นึกคิดสวนตัวเพียงเล็กนอยเทานัน้ ยอมรับและปรับทัศนคติ ในมุมบวกแคนชี้ วี ติ ก็เปลีย่ นไปในทางทีด่ ขี นึ้ แลว เรือ่ งราวเกิดขึน้ ในขณะที่ผูเขียนสนทนากับเพื่อนรุนพี่ตางแผนกขณะเดินทางไป ทํางานในตางจังหวัดดวยกัน หลังจากเริ่มตนอาชีพบนเสนทาง นํ้าหมึกไดไมนานนัก ผูเขียนไดรับมอบหมายงานใหรับผิดชอบ มากมายหลายชิ้น ไหนจะงานราษฎร ไหนจะงานหลวงอีก เรียก วาชวงนั้นชีวิตวิ่งวุนหัวหมุนตัวเปนเกลียวหัวเปนน็อตเลยทีเดียว

ระหวางทีเ่ ดินทางอยูน นั้ เกิดอาการนัง่ ถอนใจ พรอมเปรย ๆ ถึงความเหนื่อยลาทางกายและทางใจใหเพื่อนรุนพี่ฟงเพื่อปรับ ทุกข แตคําตอบที่ไดรับกลับมาทําใหผูเขียนถึงกับอึ้ง เปลี่ยนวิธี คิดเปลี่ยนวิธีการทํางานไปเลยทีเดียว แมจะเปนประโยคสั้น ๆ เพียงไมกี่คําเทานั้น ดวยประโยคที่วา “ถาสบาย ๆ เขาก็ไมเรียก วาทํางานนะสิ ถางานสบาย ๆ ใครเขาจะจางใหเราทํางาน เขาทํา เองไมดกี วาเหรอ ถาอยากสบายก็นอนอยูบ า นเฉย ๆ” ครัง้ แรก ที่ไดยินประโยคนี้ทะลุผานโสตประสาทเขาไป อารมณกรุนโกรธ ออกตัวนําแซงเหตุผลซอนเรนที่วิ่งตามหลังมาติด ๆ เนื่องจาก ผิดคาดไมคิดไมฝนวาจะไดยินประโยคนี้ออกมา ผูเขียนถึงกับ นั่งนิ่งพยายามดันหลังเหตุผลใหวิ่งตามสติใหทัน สุดทายเมื่อสติและเหตุผลวิ่งมาพรอม ๆ กัน ผูเขียนได ขอคิดสะกิดใจที่ใช ในการทํางานมาจนถึงทุกวันนี้วา “นั่นสินะ ลําบากยอมดีกวาสบายเปนไหน ๆ” แลวคําตอบของคุณผูอ า น ละ คิดวา “ลําบาก” หรือ “สบาย” ดีกวากัน ?

104

Energy#52_p104_Pro3.indd 104

2/19/13 10:31 PM


Energy#51_p66_Pro3.ai

1

1/23/13

10:20 PM


Event Calendar

นิทรรศการ งานประชุม และอบรม

ดานพลังงานทีน่ า สนใจ ประจําเดือนมีนาคม 2556 2 มีนาคม 2556 ชื่องาน : ความปลอดภัยในการทํางานกับไฟฟา สถานที่ : ศูนยวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย กรุงเทพฯ เวลา : 09.00-16.00 น. เปนที่ทราบกันดีวา อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดเสมอ โดยเฉพาะเรื่อง ของไฟฟา ซึ่งสรางความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสิน จึงจําเปนตอง รูวิธีการปฏิบัติที่ถูกตอง จําเปนอยางยิ่งสําหรับผูที่ทํางานไฟฟาหรือ บุคคลทั่วไป รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th

12 - 15 มีนาคม 2556 ชือ่ งาน : การออกแบบผลิตภัณฑเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EcoDesign of Products: ECD) สถานที่ : โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร กรุงเทพ เลขที่ 8/2 ถนนรางนํา้ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เวลา : 09.00 – 17.00 น. เพื่อเขาใจหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (Eco-Products) และการออกแบบ ผลิตภัณฑเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EcoDesign) รายละเอียดเพิม่ เติม : Call Center โทร. 0-2642-5001 ตอ 213-216

8 มีนาคม 2556 ชื่องาน : รับมือ AEC ดวยกลยุทธซุนวู สถานที่ : หองอบรมของบริษัท สยามเอชอาร คอรปอเรชั่น จํากัด ถ.เสรีไทย กรุงเทพฯ เวลา : 09.00-16.00น. เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจที่มาของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) และการรับมือกับปรากฏการณตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นใน บริบทของ AEC โดยใชกลยุทธซุนวู เพื่อนําแนวคิดของซุนวูไปปรับใช ใหเกิดประโยชนในการบริหารธุรกิจ รายละเอียดเพิ่มเติม : Call (ฝายอบรม-สัมมนา) โทร. 02-8967330

14-15 มีนาคม 2556 ชื่องาน : การออกแบบติดตั้งและประยุกตใชงานโซลาเซลล (Solar Panel Design & Application ) รุนที่ 60 สถานที่ : ณ หองสัมมนา ชั้น 18 อาคารทีซีไอเอฟเทาเวอร (เนชั่นทาวเวอร เดิม) ถนนบางนา-ตราด กม. 4.5 เวลา : 9.00 -16.30 น. เพือ่ ตอบสนองความตองการของผูส นใจทัว่ ไปทีต่ อ งการเรียนรู แนวทาง วิธกี ารออกแบบ และการนําโซลาเซลลไปประยุกตใชงานทัง้ ใน ทางธุรกิจและชีวิตประจําวันไดดวยตนเอง รายละเอียดเพิ่มเติม : โทร. 0-2739-8200 , 0-2739-8204 โทรสาร. 0-2739-8228

12 มีนาคม 2556 ชือ่ งาน : การตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบไฟฟาอยางมืออาชีพ สถานที่ : โรงแรมแกรนด เดอ วิลล ณ หองบูรพาภิรมย ชั้น 11 เวลา : 8.30 - 16.00 น. มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา ระบบไฟฟาที่ดีจะตองมีการตรวจสอบเปนประจํา เพื่อเปนการ บํารุงรักษาเชิงปองกัน โดยเฉพาะในงานทีต่ อ งการใหการทํางานเปนไป อยางตอเนือ่ งใหมากทีส่ ดุ การตรวจสอบระบบไฟฟาจะตองกระทําเปน ชวงเวลาไปเรือ่ ย ๆ จนกวาจะเลิกใชงาน รายละเอียดเพิ่มเติม : คุณลัดดาวัลล โทร. 0-2862-1396 ถึง 0-2862-1399 โทรสาร. 0-2862-1395

รับสมัครตั้งแตบัดนี้ - 15 มีนาคม 2556 ชื่องาน : หลักสูตร การประเมินผลกระทบสิง่ แวดลอม (EIA) รุน ที่ 1 ระหวางวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2556 สถานที่ : สถาบันฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีดา นสิง่ แวดลอม เทคโนธานี ต.คลองหา อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี และตางจังหวัด เวลา : 09.00-16.00 น. เพือ่ ใหผเู ขารับการฝกอบรมไดรบั ความรู ความเขาใจ ในหลักการ และแนวทางการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดลอ ม และสามารถนํา ความรูที่ไดรับไปประยุกต ใชในงานที่เกี่ยวของกับการประเมินผล กระทบสิ่งแวดลอม รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.deqp.go.th

13 มีนาคม 2556 ชื่องาน : การออกแบบและบํารุงรักษาระบบทําความเย็นสําหรับ อุตสาหกรรม สถานที่ : โรงแรมแกรนด เดอ วิลล ณ. หองบูรพาภิรมย ชั้น 11 ระบบทําความเย็นนับเปนหัวใจหลักของกระบวนการผลิตใน หลายอุตสาหกรรม ซึ่งผูเกี่ยวของจะตองมีความเขาใจอยางลึกซึ้งใน วิธกี ารทําความเย็นและการออกแบบระบบทําความเย็น รวมไปถึงการ บํารุงรักษาระบบทําความเย็นอยางถูกตองและครบถวน จึงจะสงผลให กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ รายละเอียดเพิ่มเติม : คุณลัดดาวัลล โทร. 0-2862-1396 ถึง 0-2862-1399 โทรสาร. 0-2862-1395

25 มีนาคม 2556 ชื่องาน : พัฒนาอุตสาหกรรมไทยอยางยั่งยืนดวยมาตรฐานการ จัดการสิ่งแวดลอม สถานที่ : ณ ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทคฯ บางนา กรุงเทพฯ เวลา : 09.00-16.30 น. เพือ่ ใหผเู ขารวมสัมมนาทราบสถานการณความเคลือ่ นไหวเกีย่ ว กับการกําหนดมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดลอม และทราบแนวทางการ กําหนดมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอมในอนาคต เตรียมพรอมรับ สถานการณ เพือ่ ไมใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ รายละเอียดเพิ่มเติม : คุณวิชชา พิชัยณรงค โทร. 0-2202-3440 และ 0-2202-3399

106

Energy#52_p106_Pro3.indd 106

2/19/13 10:35 PM


27-30 March 2014 BITEC Bangkok § |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, T Air Washerr Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condenserss

¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th

Energy#52_Cover in_Pro3.indd 1

14

2/27/13 3:21 PM


Ê ¬ 5 q ¬ 52 l 2556

90

Energy#52_Cover Out_Pro3.indd 1

2/27/13 3:27 PM


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.