Electricity & Industry Magazine Issue November - December 2019

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

7/4/61 BE

6:03 AM


WORKS HERE.

SHELL TURBO OILS – FOR ENHANCED PROTECTION, EXTENDED OIL LIFE, AND EXCELLENT SYSTEM EFFICIENCY.

www.shell.com/lubricants





Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


SMART Machinery, SMART Factory, SMART Manufacturer • FIRST INTERNATIONAL MACHINERY EXHIBITION: is being held at the start of the annual industrial purchasing period • ADVANCED TECHNOLOGY: 1,200 Brands from 45 Countries • NATIONAL PAVILIONS: China, Japan, Korea, Singapore and Taiwan • SPECIAL ZONES: Smart Manufacturing showcase, Additive Manufacturing Technology, Robot Welding Competition • OVER 50 SEMINARS: AI, Future Automotive, Medical Device, Aerospace, and Japanese Seminar • Co-located SUBCON Thailand: Most Important Industrial Subcontractor for Procurement of Industrial parts and Business Matching Event

EXCLUSIVE ! Exhibitors have exclusive access to participate in the business matching program that has over 500 part-makers from Thailand, Japan, Korea, Taiwan and more in SUBCON Thailand!

: +66 2036 0500 : intermach@intermachshow.com : www.intermachshow.com Organised by:

Co-Located with

Co-organised SUBCON Thailand by:

Officially Supported by:

Event Partner:

In Conjunction with:

Gold Sponsor:


Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM




y ` yy

k wz ë §j Ñ

}k wz | j g } }~Å ¢|¡ d ¡w }

më dgÎ x wxÍ d Í z § d § eÎ j ¢ Î dÍ g y } |z § |¢k

{ x xe z u i b u

¡ ×~ | | ©m y| i Ï ¢ ©l Ó | ªlg l |¢ ~Ï l ~ í~ | ªlmy gÏ gÐ gÏ yÐ ~i fÐ ~Ð | l¡|i£~£ i ¡i í ~¥ ¤~} f m

| j j | ~ x jgÑd |Í j | } z ¡~ x Ñ Í| } Î z j¨ d }} k w Ñ

v uvË ~Æ } v i xo z ~zÓ x vË E-mail: O@>CIJH@?D< BH<DG >JH





CONTENT Edit.pdf

1

11/27/62 BE

4:41 PM

CONTENTS



Electricity & Industry Magazine ฉบับนี้เปนฉบับสงทายป 2562 แลว ตลอดระยะเวลา 1 ปที่ผานมา มีเหตุการณเกิดขึ้นมากมาย มีการเปลีย่ นแปลงหลายอยางเกิดขึน้ โดยเฉพาะเทคโนโลยีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว และไดสง ผลกระทบถึงชีวติ ประจําวันของคนเรา อยางหลีกเลีย่ งไมได รวมถึงพฤติกรรมบางอยางก็ตอ งเปลีย่ นไปดวยเชนกัน พวกเราทุกคนจึงจําเปนตองปรับตัวใหทนั เพือ่ ใหอยูก บั เทคโนโลยี อยางมีความสุข เนื้อหาในฉบับนี้มีเรื่องนาสนใจมากมายเชนเดิม ยานยนตไฟฟา (EV) เปนยานยนตแหงอนาคตที่มีการใชงานจริงแลวในปจจุบัน แต ยานยนตไฟฟา (EV) นี้มีการทํางานรวมกับระบบไฟฟาอยางไร สามารถติดตามไดในคอลัมน Article เรื่อง ยานยนตไฟฟา (EV) และระบบ ไฟฟาทํางานดวยกันอยางไร เขียนโดย Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, and Timothy Butler - IEEE Power & Energy Society นอกจากนีย้ งั มีบทความเรือ่ ง ประเทศไทยพัฒนาความปลอดภัยของระบบรางในสถานีรถไฟ 48 แหง ดวยเทคโนโลยีของทาเลส (Thales) โดย ทาเลส บทความเรือ่ ง อนาคตกระบวนการผลิตจําเปนตองใชหนุ ยนตมากขึน้ โดย ยูนเิ วอรซลั โรบอทส และบทความเรือ่ ง การกาวสู แนวคิดวิทยาการหุนยนตเพื่อการทํางานรวมกับมนุษย โดย เจมส เทยเลอร ผูจัดการทั่วไปของออนโรบอท เอเชียแปซิฟก นอกจากนั้นกองบรรณาธิการยินดีนําเสนอ Scoop ดีๆ ที่นาสนใจหลายเรื่อง อาทิ บริษัทที่ไดรับรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2562 หรือบทความเรือ่ ง ปฏิบตั กิ ารนวัตกรรมเพือ่ สังคม 2019... เพือ่ แกไขปญหาสังคมอยางยัง่ ยืน รวมทัง้ Scoop เรือ่ ง โรงงาน ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงสําหรับรถยนตปลั๊กอินไฮบริด ของ BMW ซึ่งกําลังอยูในความสนใจของประชาชนทั่วไป คอลัมน IT Technology นําเสนอบทความเรื่อง ผลสํารวจของ “ดัชนีองคกรอัจฉริยะ” (Intelligent Enterprise Index) โดย ซีบรา เทคโนโลยีส ที่เผยผลสํารวจที่จัดทําขึ้นเปนครั้งที่ 3 พบวา 61% ขององคกรทั่วโลกกําลังปรับตัวเขาสู “องคกรอัจฉริยะ” เมื่อเทียบกับปกอน เพียง 49% เทานั้น ใน IT Article เปนเรือ่ งของ แดสสอลท ซิสเต็มส (Dassault Systemes) ไดจดั ทําอีบกุ หัวขอ “Forging the Digital Twin in Discrete Manufacturing” (การสราง Digital Twin ในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวน) ภายใตความรวมมือกับ แอลเอ็นเอส รีเสิรช (LNS Research) โดยอีบุกฉบับนี้จะรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยี “Digital Twin” มาใชสรางผลิตภัณฑตนแบบ ออกแบบและวางแผน กระบวนการผลิต รวมถึงระบบตางๆ ในแบบเวอรชวล 3 มิติ แกอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนชวยโคลนนิ่งตนแบบโครงการเปนดิจิทัลฟอรแมท ใชเพื่อทดลองและทดสอบในสภาวะแบบจําลองกอนที่จะเขาสูกระบวนการผลิตจริง สุดทายนีข้ อใหทกุ ทานร่าํ ลาปเกาและสวัสดีปใ หมอยางเตรียมพรอม เพือ่ รับกับทุกสถานการณทจี่ ะเกิดขึน้ ในปหนาทีค่ าดวาคงหนักหนา สาหัสอยูไมนอย พบกันใหมฉบับหนา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

November-December 2019

P.18_Editor Talk.indd 18

11/26/62 BE 10:56 AM



ชวงปลายเดือนตุลาคมที่ผานมา ทางกองบรรณาธิการ Green Network และนิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรม ไดรบั เชิญจาก Hong Kong Trade Development Council (HKTDC) ไปร ว มงาน ECO Expo Asia 2019 ซึ่งจัดขึ้นเปนครั้งที่ 14 ณ Asia World Expo, Hong Kong เปนสถานที่จัดงานนิทรรศการที่อยูใกลกับสนามบิน ระยะเวลาในการ เดิ น ทางด ว ยรถยนต ใ ช เ วลาเพี ย ง 5-10 นาที เป น งานที่ HKTDC จัดรวมกับ Messe Frankfurt (HK) และมีบริษทั องคกร รวมจัดงานแสดง กวา 300 ราย จาก 17 ประเทศทั่วโลก Mr.Benjamin Chau, HKTDC Acting Executive Director กลาววา ECO Expo Asia ปนี้ไดนําเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมตัวลาสุด จากทั่ ว โลกมาจั ด แสดง ซึ่ ง จะสร า งโอกาสให กั บ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (Green Business) และเป น การสร า งสั ง คมเศรษฐกิ จ คารบอนต่ําที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Low-carbon Economy and Green Lifestyles) การจัดงานปนมี้ งุ เนน Theme “Less Carbon, Less Waste, Green Innovation” เรามีเปาหมายที่จะใหภาคอุตสาหกรรมไดนําเทคโนโลยี ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไปใชงาน และเปนกาวสําคัญสูการพัฒนา ที่ยั่งยืนตอไป (Sustainable Development) ภายในงานมีทงั้ หมด 10 โซน ในการจัดแสดงเทคโนโลยีทเี่ ปนมิตร ตอสิง่ แวดลอม ประกอบดวย Eco-friendly Products, Air Quality, Water Treatment and Quality Management, the Greater Bay Area Zone, Eco Excellence and Green Building and Energy Efficiency, Green Transportation, Waste Management and Recycling, Testing, Analysis, Certification และ Startup Zone โดยทุกโซนได้รับความ ร ว มมื อ จากภาคธุ ร กิ จ ท อ งถิ่ น และจากนานาชาติ ม าร ว มจั ด แสดง และใหความรูหลากหลายอยางกวางขวาง ในสวนของโซน Green Transportation ได นํ า นโยบายล า สุ ด ของ Hong Kong Special Administrative Region (HKSAR) ดวยงบประมาณ HK$ 2 Billion สนับสนุนโครงการนํารองในการติดตั้งจุดชารจรถไฟฟา (EV Charging Points) ในที่จอดรถอาคารพักอาศัย (Residential Buildings) คาดวา จะสนับสนุนไดประมาณ 60,000 จุดที่จอดรถ

กลุม Greater Bay Area จัดสัมมนาไดนาสนใจ ภายใตหัวขอ “Cleaner Production in Greater Bay Area” ผูบ รรยายประกอบดวย Mr.Raymond Fong, General Manager, Environmental Management Division, Hong Kong Productivity Council, Mr.Ou Yuezhou, Chairman, Guangdong Association of Enviromental Protection industry, Mr.David Lo, Senior Consultant in Environmental Consultancy Services, Hong Kong Productivity Council และ Mr.Rakesh Vazirani, Head of Sustainability Services, TUV Rheinland Group Production in Textile Industry: DETOX” ซึ่ ง การบรรยายทั้ ง หมดได ก ล า วถึ ง ป ญ หาดั้ ง เดิ ม ในช ว ง การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในพื้นที่ Greater Bay Area (อาวกวางตุงและฮองกง รวมทั้งมาเกา) เปนพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ในระยะการพั ฒ นาเริ่ ม แรกมี ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ ม ได มี ก ารระดม ผูเชี่ยวชาญจากหลายฝายเขาไปแกไข อาทิ Hong Kong Productivity Council, TUV Rheinland Group ชวยปรับปรุงกระบวนการผลิต ลดมลภาวะ ตลอดจนเพิ่ ม เติ ม การตรวจจั บ มลภาวะในขั้ น ตอน สุดทาย อุตสาหกรรมที่มีการปรับปรุงไปไดมาก อาทิ อุตสาหกรรมสี อุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอร อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมสิง่ ทอ และ อุตสาหกรรมรองเทา ดวยนโยบายและการดําเนินการแกไขอยางจริงจัง การปรับปรุงสิง่ แวดลอมในเขตพืน้ ที่ Greater Bay Area ไดพฒ ั นาดีขนึ้ อยางชัดเจน

About HKTDC

The Hong Kong Trade Development Council (HKTDC) is a statutory body established in 1966 to promote, assist and develop Hong Kong’s trade. With 50 offices globally, including 13 in Mainland China, the HKTDC promotes Hong Kong as a two-way global investment and business hub. The HKTDC organizes international exhibitions, conferences and business missions to create business opportunities for companies, particularly small and medium-sized enterprises (SMEs), in the mainland and international markets. For more information, please visit: www.hktdc.com/aboutus.

November-December 2019

P.20_ECO EXPO.indd 20

12/3/62 BE 3:32 PM


สายสัญญาณ มาตรฐานอเมริกา

ครบเครื่อง เรื่องสายสัญญาณ

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)


IEEE PES - Thailand

มอบทุนสนับสนุนมหาวิทยาลัย 10 แหง

ที่เขารวมโครงการ Student Membership Supporting Program 2019

พิธีมอบเงินทุนสนับสนุนแก 10 มหาวิทยาลัย

สมพงษ ปรีเปรม ผูวาการ การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ประธานกรรมการบริ ห าร IEEE PES –Thailand

สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE PES – Thailand) มอบเงินทุนสนับสนุนแก 10 มหาวิทยาลัย ที่เขารวมโครงการ Student Membership Supporting Program 2019 เพื่ อ สนั บ สนุ น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ปริ ญ ญาโท และปริ ญ ญาเอก สาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง สมพงษ ปรีเปรม ผูว า การ การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ประธานกรรมการบริหาร IEEE PES Thailand กลาววา โครงการ Student Membership Supporting Program จัดขึ้นเพื่อเปดโอกาสให นิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง ไดพัฒนา ตนเอง นําความรูและประสบการณที่ไดจากการรวมกิจกรรม IEEE PES ไปใชสรางองคความรู เผยแพร ความรูท ไี่ ดผา นผลงานวิจยั ใหมๆ และพัฒนาโครงการตางๆ ทางดานวิศวกรรมไฟฟา รวมทัง้ สรางวิศวกร ดานไฟฟารุนใหมๆ เพื่อเปนประโยชนไปพัฒนาประเทศ ซึ่งจะเปนประโยชนตอสวนรวมตอไป ที่สําคัญ นิสิตนักศึกษาที่เขารวมโครงการดังกลาวจะไดรับสิทธิประโยชนหลายอยางจาก IEEE PES เชน ขอมูล ขาวสารทางดานวิชาการ รวมถึงไดเขารวมกิจกรรมงานสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติทั้งในประเทศ และตางประเทศอีกดวย โดยโครงการ Student Membership Supporting Program ไดดาํ เนินการตอเนือ่ งเปนปท่ี 3 และมี 10 มหาวิทยาลัยเขารวม ซึง่ ทาง IEEE PES – Thailand ไดจดั พิธมี อบเงินทุนสนับสนุนแก 10 มหาวิทยาลัย ประกอบดวย 1. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 6. มหาวิทยาลัยเชียงใหม 7. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 8. สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 9. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 10. มหาวิทยาลัยนเรศวร

ถายภาพรวมกัน

November-December 2019

P.22-23_IEEE PES.indd 22

11/27/62 BE 5:18 PM


IEEE PES

Dinner Talk 2019 เทคโนโลยีพลิกโฉมอุตสาหกรรมไฟฟาไทยในอนาคต : พรอมปรับ...เพื่อรองรับความไมแนนอน

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562 นายสนธิรัตน สนธิจิรวงศ รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน เปนประธานเปดงาน IEEE PES Dinner Talk 2019 ภายใตหัวขอ “เทคโนโลยีพลิกโฉมอุตสาหกรรมไฟฟาไทย ในอนาคต: พรอมปรับ...เพื่อรองรับความไมแนนอน (Disruptive Technology in Thailand’s Future Electricity Industry : Expect Uncertainty | Prepare to Adapt)” และปาฐกถาพิเศษหัวขอ “นโยบายและทิศทางพลังงานไทย” จัดโดย IEEE Power & Energy Society - Thailand ร ว มกั บ สมาคมสถาบั น วิ ศ วกรไฟฟ า และ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ห ง ประเทศไทย (IEEE Thailand Section) โดยมี นายสมพงษ ปรีเปรม ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค ในฐานะ Chairman, IEEE Power & Energy Socity – Thailand กลาวรายงาน ณ หองวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ การเสวนาในหัวขอ “เทคโนโลยีพลิกโฉมอุตสาหกรรมไฟฟาไทย ในอนาคต : พรอมปรับ...เพื่อรองรับความไมแนนอน (Disruptive Technology in Thailand’s Future Electricity Industry : Expect Uncertainty I Prepare to Adapt)” นั้นมีผูรวมเสวนาประกอบดวย นายวัฒนพงษ คุโรวาท ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน นายวิบูลย ฤกษศิระทัย ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย นายกีรพัฒน เจียมเศรษฐ ผูว า การการไฟฟานครหลวง นายชาญศิลป ตรีนุชกร ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และ นายสมพงษ ปรีเปรม ผูวาการการไฟฟา สวนภูมิภาค การเสวนาครั้งนี้ทุกทานไดใหขอมูลเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัง้ ทางดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงานและอุตสาหกรรม ไฟฟาไทย โดยมีผูเขารวมงานมากกวา 700 คน

November-December 2019

P.22-23_IEEE PES.indd 23

11/27/62 BE 5:18 PM


เมืองอัจฉริยะและศูนยขอมูล (Smart City & Data Center)

สมาคมวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section), IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter จัดสัมมนาเชิงวิชาการ “เมืองอัจฉริยะและศูนย ขอมูล : แนวคิด การออกแบบ และกรณีศึกษา” ณ โรงแรมอโนมา แกรนด กรุ ง เทพฯ เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และการบริ ห ารจั ด การองค ก รหรื อ เมื อ งให มี ประสิทธิภาพตามนโยบาย Thailand 4.0 และเปนการสรางความรูความเขาใจในระบบ สมารทซิตี (Smart City) หรือเมืองอัจฉริยะ และศูนยขอมูล (Data Center) โดยงานสัมมนาครัง้ นี้ ไดรบั เกียรติจาก คุณพรเทพ ธัญญพงศชยั อดีตผูว า การ การไฟฟานครหลวง อดีตประธานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน และทีป่ รึกษา IEEE PES - Thailand Chapter กลาวเปดงานสัมมนา และ ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท หัวหนากลุมวิจัยโครงสรางพื้นฐานเพื่อการสาธารณูปโภคดานไฟฟา พลังงาน และ เมืองอัจฉริยะ ภาควิชาไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter เปนผูดําเนินงานสัมมนา โดยไดรับเกียรติการบรรยายจากวิทยากรจากภาครัฐ สถาบัน อุดมศึกษา และหนวยงานเอกชนที่เกี่ยวของ

>> ดร.ภาสกร ประถมบุตร รองผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล บรรยายหัวขอ “นโยบายภาครัฐในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Thailand Smart City)”

>> คุณเกชา ธีระโกเมน กรรมการสถาบันอาคารเขียวไทย บรรยายหัวขอ “Smart Green Building and Energy Conservation”

November-December 2019

P.24_IEEE PES.indd 24

11/26/62 BE 11:15 AM


IEEE Power & Energy Society Series:

Renewable Energy

ขอเชิญเขารวมงานสัมมนาเชิงว�ชาการ

โรงไฟฟาชุมชน เพ�่อเศรษฐกิจฐานราก:

นโยบาย ขอกำหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบำรุงรักษา Community Power Plants for Local Economy:

Policy, Regulation, Design, Installation, Operation and Maintenance

วันที่ 13 - 15 มกราคม 2563 ณ หอง Arnoma โรงแรมอโนมา แกรนด กรุงเทพฯ

นโยบาย และการสงเสริมโรงไฟฟาชุมชน ภายใตนโยบายพลังงานเพื่อเศรษฐกิจฐานราก สถานการณปจจ�บันและพื้นที่ที่มีศักยภาพดำเนินการกอสรางโรงไฟฟาชุมชน หลักเกณฑในการรับซื้อพลังงานไฟฟาจากโรงไฟฟาชุมชน พลังงานชุมชน พลังงานทางเลือก และการบริหารจัดการอยางยั่งยืน แนวทางการพิจารณารับเชื่อมตอระบบโครงขายไฟฟาและขั้นตอนการรับซื้อจนถึงวันจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชยของการไฟฟา ความรูพื้นฐาน เทคโนโลยี ปญหา อุปสรรค ขอแนะนำ สำหรับการผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวภาพ ชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบำรุงรักษา โรงไฟฟาชุมชน ไฮบริดชีวภาพ ชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงการโรงไฟฟาชุมชน รองรับแผนการผลิตไฟฟา การพัฒนาโครงการและศึกษาความเปนไปไดของโรงไฟฟาชุมชน กรณีศึกษา โรงไฟฟาชุมชนแมแจม โดยผูเชี่ยวชาญจาก พพ., สกพ., สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, กฟผ., กฟภ., กฟน., ผูออกแบบและผูผลิตอุปกรณ, บริษัทผูประกอบการ และสถาบันอุดมศึกษา

www.greennetworkseminar.com/powerplant


สมาคมอตุสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

ระบบสั่งการ โรงไฟฟาอัจฉริยะ

ดวยความตองการอยากใหคนไทยมีไฟฟาใชในราคาที่เหมาะสม ควบคูไปกับการรักษาเสถียรภาพในระบบไฟฟาไมใหเกิดไฟตกหรือดับ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ในฐานะหนวยงานที่มีความ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลความมั่ น คงระบบไฟฟ า ของประเทศจึ ง ได คิ ด ค น นวัตกรรมทีส่ ามารถบริหารจัดการปจจัยสําคัญของประเทศทัง้ 2 ประการ ไปพรอมกัน ‘ระบบสั่งการโรงไฟฟาอัจฉริยะ’ เปนนวัตกรรมที่คิดคนโดย ผูปฏิบัติงาน กฟผ. โดยการนํา เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) มาใชในการรักษาความมั่นคงของระบบไฟฟาเพื่อใหสามารถสั่งการ เดินเครื่องโรงไฟฟาที่มีตนทุนผลิตไฟฟาต่ํา ซึ่งระบบสั่งการโรงไฟฟา อัจฉริยะมีตนทุนในการจัดทําเพียงชุดละ 30,000 บาท แตกลับชวยชาติ และชวยคนไทยประหยัดคาไฟฟาไดมากถึง 2,600 ลานบาท หรือลดลง ครัวเรือนละ 0.03 สตางค/หนวย นับตั้งแตเริ่มใชงานมา “เพื่อใหสามารถเดินเครื่องโรงไฟฟาที่มีตนทุนในการผลิตราคาต่ํา ไดเต็มที่ เชน ในชวงฤดูฝน โรงไฟฟาพลังน้าํ ใน สปป.ลาว มีนา้ํ ทีส่ ามารถ ใชผลิตไฟฟาเปนปริมาณมาก ซึ่งทรัพยากรน้ํามีราคาตนทุนในการผลิต ถูกกวากาซธรรมชาติหรือถานหิน จึงตองการใหโรงไฟฟาเดินเครื่องได อยางเต็มที่ เพื่อทําใหภาพรวมดานตนทุนการผลิตไฟฟาของประเทศ ต่าํ ลง” สิรกิ ลั ยา พัชนี วิศวกรจาก กฟผ. พูดถึงแรงบันดาลใจในการคิดคน นวัตกรรมนี้

สิริกัลยา พัชนี

อยางไรก็ตามแมวา จะสามารถผลิตไฟฟาไดมาก แตในทาง เทคนิคแลวไมสามารถสงไฟฟาไดเกินกวาขีดความสามารถ ของสายสง เพราะระบบสงไฟฟาก็เปรียบเสมือนกับทอน้าํ ทีห่ าก ปริมาณน้ําที่สงมากเกินกวาความจุของทอก็อาจจะเกิด ‘ทอ แตก’ ได เชนเดียวกับสายสงไฟฟาที่สามารถรับไฟฟาไดจํากัด ซึ่งหากมีการผลิตและสงไฟฟามากเกินกวาที่ประสิทธิภาพของ สายสงไฟฟาจะรับได จะทําใหเกิดการขัดของของสายสงไฟฟา แรงสูงและสงผลตอเสถียรภาพของระบบไฟฟา และนําไปสู การเกิดไฟฟาดับในบริเวณกวางได

November-December 2019

P.26-27_EGAT.indd 26

11/26/62 BE 11:17 AM


การไฟฟาฝายผลติแหงประเทศไทย

หรืออธิบายใหเขาใจแบบงายๆ คือ สมมติวามีสายสง 2 เสน โดยแตละเสนสามารถรองรับปริมาณไฟฟาไดเสนละ 200 เมกะวัตต รวมเปน 400 เมกะวัตต หากเกิดเหตุการณที่สายสงเสนหนึ่งขัดของ ไมสามารถสงไฟฟาได ระบบนีจ้ ะสัง่ การอัตโนมัตใิ หตดั ปริมาณไฟฟา จากแหลงผลิตไมใหสงไฟฟาจํานวน 400 เมกะวัตต เขาสายสง ที่เหลือเพียงเสนเดียว ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงที่จะทําใหเกิดไฟฟา ดับได ระบบสั่งการโรงไฟฟาอัจฉริยะนี้จึงมีหนาที่เขามาบริหาร จัดการและตัดสินใจแทนมนุษยในเวลาเสีย้ ววินาที เพือ่ ไมใหเกิด เหตุการณไฟฟาดับ และสรางเสถียรภาพในระบบไฟฟา หลักการทํางานของระบบสั่งการโรงไฟฟาอัจฉริยะเปนการ ผสานกันระหวางซอฟตแวรกับฮารดแวร โดยที่ซอฟตแวรจะเปน ระบบที่สามารถประมวลผลสภาพระบบไฟฟาที่เกิดขึ้นแบบ Real time และสามารถตัดสินใจควบคุมระบบแทนมนุษยไดอยางรวดเร็ว ในเวลาเพียง 30 มิลลิวินาที ในขณะที่ฮารดแวรเปนกลองควบคุม ที่ติดตั้งอยูที่สถานีไฟฟา (Substation) ทําหนาที่สั่งการควบคุม ระบบไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชไฟฟาในสถานการณนั้นๆ เพื่อ ความมั่นคงของระบบและการรักษาเสถียรภาพ

“การสั่งการของระบบสามารถทําไดเร็วกวาโอเปอรเรเตอรที่ เปนมนุษยและรวดเร็วกวาการกะพริบตาของคนเสียอีก” วิศวกรจาก กฟผ. กลาวถึงความอัจฉริยะของระบบนี้ นวัตกรรม ‘ระบบสัง่ การโรงไฟฟาอัจฉริยะ’ เปนไอเดียของ ผูป ฏิบตั งิ าน กฟผ. ทีช่ ว ยรักษาเสถียรภาพของระบบพรอมเดินเครือ่ ง โรงไฟฟาที่มีตนทุนต่ําไดเต็มที่ ดวยความเชี่ยวชาญ ประสบการณ และความคิดสรางสรรคในการคิดคนนวัตกรรมใหมๆ เพือ่ ใหคนไทย มีไฟฟาใชอยางมีประสิทธิภาพและมีราคาที่เหมาะสม รวมทั้งสราง ผลประโยชนใหแกประเทศ นวัตกรรม ‘ระบบสัง่ การโรงไฟฟาอัจฉริยะ’ จึงไดรับรางวัลอันทรงเกียรติที่เปนเครื่องการันตีความสุดยอดของ นวัตกรรมชิน้ นี้ โดยไดรบั ถวยรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่ง เปนรางวัลสูงสุด (Platinum Award) ภายในงาน “มหกรรมงานวิจัย แหงชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019)” เมือ่ เดือนเมษายน ที่ผานมา นับเปนความภาคภูมิใจที่ยิ่งใหญของชาว กฟผ. ที่ทําเพื่อ ประเทศไทย (บทความจาก http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content& view=article&id=3113:20190822-art01&catid =49&Itemid=251)

November-December 2019

P.26-27_EGAT.indd 27

11/26/62 BE 11:17 AM


สมาคมอตุสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

โครงการชางไฟฟามืออาชีพของการไฟฟานครหลวง

เริ่มดำเนินโครงการตั้งแตเดือนตุลาคม 2559 ปจจุบันดำเนินการฝกอบรมเปนรุนที่ 4

การไฟฟานครหลวง (กฟน.) ไดตระหนักถึงความสําคัญของ ประชาชนผูประกอบอาชีพชางไฟฟา ซึ่งเปนวิชาชีพที่มีความจําเปน ตองมีทักษะความรู ความสามารถเกี่ยวกับระบบไฟฟาอยางแทจริง เพือ่ ปองกันอันตรายและความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในระหวางปฏิบตั งิ าน อีกทัง้ เพือ่ สรางเครือขายชวยดูแลระบบไฟฟาในชุมชนไดอยางทันทวงที จึงไดรวมกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน จัดการอบรม ทดสอบและสั ม ภาษณ เพื่ อ ประเมิ น ขอหนั ง สื อ รั บ รองความรู ความสามารถขึ้น ภายใตโครงการเสริมสรางความเขมแข็งแกชุมชน “กิจกรรมชางไฟฟามืออาชีพ” ซึ่ง กฟน. ใหการสนับสนุนทั้งในสวน ของวิทยากรและเครื่องมืออุปกรณไฟฟาที่ใชในการอบรมทั้งหมด โดยมุงหวังใหผูที่เขารับการอบรมผานการทดสอบและไดรับหนังสือ รับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางสายไฟฟาภายใน อาคาร ระดับ 1 ถูกตองตาม พ.ร.บ. สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 ตุลาคม 2559 สามารถนําไปใชประกอบอาชีพงานดานชางไฟฟาอยางถูกตองตาม กฎหมาย *ชางสายไฟฟาภายในอาคาร ระดับ 1 หมายถึง ชางซึง่ ประกอบ อาชีพในงานติดตั้งระบบไฟฟาและอุปกรณไฟฟาภายในอาคาร แกไข ขอบกพรองและการตรวจสอบระบบไฟฟาภายในอาคาร

ลักษณะงาน

1. งานใช อุ ป กรณ ป อ งกั น กระแสเกิ น เช น อุ ป กรณ ตั ด วงจร อัตโนมัติ (Circuit Breaker) และฟวส เปนตน 2. งานเดินสายไฟฟาดวยเข็มขัดรัดสาย 3. งานเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา 4. งานติดตั้งวงจรไฟฟาดวยบริภัณฑไฟฟา 5. งานตอตัวนําแบบตางๆ 6. งานตรวจสอบการทํางานของวงจรไฟฟา

วัตถุประสงคโครงการ

1. เพือ่ ปองกันอันตรายและความเสีย่ งของชางไฟฟาในระหวาง ปฏิบัติงาน 2. เพือ่ เสริมสรางอาชีพใหแกประชาชน ตาม พ.ร.บ. สงเสริมการ พัฒนาฝมอื แรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ใหสามารถนําไปใชประกอบ อาชีพงานดานชางไฟฟาอยางถูกตองตามกฎหมาย 3. เพื่อสรางเครือขายในการปองกันความเสี่ยงและอันตราย จากการใชไฟฟาในชุมชน

November-December 2019

P.28-29_���������������.indd 28

11/26/62 BE 11:18 AM


การไฟฟานครหลวง กลุมเปาหมาย

1. ผู ส นใจจากชุ ม ชนในพื้ น ที่ จํ า หน า ยไฟฟ า ของ กฟน. (กรุงเทพฯ นนทบุรี สมุทรปราการ) 2. เจาหนาที่อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) 3. บุ ค ลากร และ/หรื อ เจ า หน า ที่ ข องสถานศึ ก ษาในพื้ น ที่ จําหนายไฟฟาของ กฟน.

คุณสมบัติผูเขารวมโครงการ

1. มีสัญชาติไทย 2. มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ ปวช./ปวส. ด า นไฟฟ า หรื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส หรื อ มี ป ระสบการณ ทํ า งานด า นไฟฟ า หรื อ อิเล็กทรอนิกส ไมนอ ยกวา 3 ป ตองมีใบรับรองประสบการณในการ ทํางาน 3. เปนผูมีอายุไมเกิน 60 ป 4. อาศัย และ/หรือทํางานอยูในพื้นที่จําหนายของ กฟน. (กรุงเทพฯ นนทบุรี และสมุทรปราการ)

ขั้นตอนการเขารวมโครงการ

1. ผูสนใจเขารวมโครงการฯ อานรายละเอียดทั้งหมดและ ดาวน โ หลดใบสมั ค รได ที่ https://www.mea.or.th/content/ detail/3160/4740 2. กฟน. พิ จ ารณาเอกสารหลั ก ฐานเพื่ อ คั ด เลื อ กผู ที่ มี คุณสมบัติครบถวนเขารวมโครงการชางไฟฟามืออาชีพ 3. ผูผานการคัดเลือกสามารถตรวจสอบรายชื่อไดที่ http:// www.mea.or.th/content/detail/3160/4927 ซึ่งผูผานการคัดเลือก ตองเขารับการอบรม การทดสอบ และการประเมิน (สัมภาษณ) ตามขั้นตอน ดังนี้

วันที่ 1 อบรมภาคทฤษฎี วันที่ 2 อบรมภาคปฏิบัติ วันที่ 3 สอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ วันที่ 4 สอบสัมภาษณ วันที่ 5 พิธีมอบวุฒิบัตร หนังสือรับรองฯ และบัตรประจําตัว ผูผานการประเมินมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟา ภายในอาคาร ระดับ 1 ***สงวนสิทธิ์สําหรับผูที่สามารถเขารวมกิจกรรมไดตลอดทั้ง โครงการ***

สิ่งที่ผูผานการอบรมจะไดรับ

1. วุฒิบัตร ใบผานการทดสอบ บัตรประจําตัว และหนังสือ รับรองความรูค วามสามารถตามมาตรฐานฝมอื แรงงานแหงชาติ สาขา ชางไฟฟาภายในอาคาร ระดับ 1 ออกโดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน แหงชาติ 2. สิทธิเขารวม App : MEA E-Fix ของการไฟฟานครหลวง (ระบบ online ของ กฟน. สําหรับลูกคาที่ตองการชางไฟฟาภายใน อาคาร) 3. เขารวมเครือขายชางไฟฟามืออาชีพของ กฟน. (เขารวม กิจกรรมของ กฟน. รวมดูแลชุมชนที่ทานพักอาศัยฯ) ***โครงการนี้ ฟรี ไมมีคาใชจาย*** สอบถามขอมูลเพิม่ เติม : งานกิจกรรมเพือ่ สังคม ฝายกิจการ สังคมและสิ่งแวดลอม การไฟฟานครหลวง (กฟน.) โทรศัพท 0-2256-3593 หรือ 0-2256-3000 ตอ 459 เวลา 08.00-15.00 น. ในวันจันทร-วันศุกร ยกเวนวันหยุดนักขัตฤกษ

เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 ดร.จีรัง วังจันทร ผูอํานวยการ ฝายธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟา การไฟฟานครหลวง หรือ MEA เปนประธานมอบประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตร Management Capacity Building in Thailand ใหแกคณะผูบริหารจากการไฟฟา ภาคเหนือแหงประเทศเวียดนาม (Northern Power Corporation: EVNNPC) จํานวน 26 คน ณ อาคารวัฒนวิภาส การไฟฟานครหลวง สํานักงานใหญ คลองเตย

November-December 2019

P.28-29_���������������.indd 29

11/26/62 BE 11:18 AM


สมาคมอตุสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

PEA กับภารกิจสนับสนุนความมั่นคงทางพลังงาน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

เพราะเศรษฐกิจเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศ นํามาสู ความเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ ของประชาชน ซึง่ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก หรือ ‘Eastern Economic Corridor (EEC)’ ถือเปน การลงทุนขนาดใหญที่จะสรางความยั่งยืนใหเศรษฐกิจไทยสามารถ กาวขามกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลางไปสูประเทศที่มีรายไดสูง การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) ในฐานะผูใหบริการพลังงานไฟฟา ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศตลอดมา ไดมีสวนสนับสนุนความ มั่นคงและนาเชื่อถือทางพลังงานไฟฟาใน EEC เชนกัน

EEC ยกระดับเศรษฐกิจ เพื่อคุณภาพชีวิตในทุกดาน

โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) หรือ EEC เปนโครงการยกระดับพืน้ ทีช่ ายฝง ทะเล ตะวันออกของไทยครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เปนการตอยอดความสําเร็จจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ดานตะวันออกหรือ Eastern Seaboard เพื่อสนับสนุนการยกระดับ ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและสงเสริมการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ เพิ่มการจางงาน ยกระดับคุณภาพชีวิตและรายไดของ ประชาชน รวมทั้งดึงดูดการลงทุนไปจนถึงการยกระดับรายไดของ ประเทศหลังจากที่ไทยไมไดลงทุนขนาดใหญมานานกวา 30 ป

ตอยอด 5 อุตสาหกรรมเดิม เติม 5 อุตสาหกรรมใหม

สําหรับแผนการลงทุนของรัฐบาลตามกรอบการลงทุนรวมของ ภาครัฐและเอกชน ในระยะเวลา 5 ป (2560-2564) ดวยเม็ดเงินลงทุน กวา 1.5 ลานลานบาท เปนการลงทุนดานการขนสงและการคมนาคม อยางครอบคลุม ทัง้ ทางถนน ทางราง ทางอากาศ และทางน้าํ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพรองรับการลงทุน การพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการ อํานวยความสะดวกตางๆ ในพื้นที่ เชน การสรางรถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมือง สุวรรณภูมิ และอูตะเภา) พัฒนาทาเรือ แหลมฉบัง พัฒนาทาเรือมาบตาพุด สรางมอเตอรเวย 3 เสนทาง เปนตน ตลอดจนพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการจัดระบบการสะสม เทคโนโลยีเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของประเทศไทย พรอมทั้งมีเปาหมาย สนับสนุน 10 อุตสาหกรรมที่สอดคลองกับนโยบายไทยแลนด 4.0 ซึ่ง จะเปนกลไกลขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ดังตอไปนี้

5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First-curve)

1. อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม (Next-Generation Automotive) 2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ (Smart Electronics) 3. อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยว เชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism)\ 4. อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) 5. การแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future)

5 อุตสาหกรรมใหมในอนาคต (New S-curve)

1. หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม (Robotics) 2. อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส (Aviation and Logistics) 3. อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital) 4. อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) 5. อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub)

‘ไฟฟา’ สาธารณูปโภคสำคัญในการขับเคลือ่ น EEC

PEA ไดตระหนักและใหความสําคัญกับโครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จึงมุงเนนการพัฒนาระบบไฟฟาใหมี ประสิทธิภาพ มั่นคง เชื่อถือได อีกทั้งไดพัฒนาระบบงานบริการใหมี ความทันสมัย สามารถรองรับการขยายความตองการใชไฟฟาทัง้ ในภาค ธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการขนสง และชุมชนเมืองใหม โดยมีการ เตรียมแผนรองรับใน 4 มิติ มิติที่ 1 : รองรับแผนปฏิบัติการดานธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจายไฟฟาใหเพียงพอ มั่นคง เชื่อถือได ลดปญหา ไฟฟาขัดของและเพิม่ ขีดความสามารถในการแกไขปญหาไฟฟาขัดของ ไดรวดเร็วมากขึ้น มิติที่ 2 : รองรับแผนปฏิบัติการดานโครงสรางพื้นฐานการ กอสรางสถานีไฟฟา สายสงไฟฟา พัฒนาระบบไฟฟา รองรับรถไฟ ความเร็วสูง ทาเรือแหลมฉบังและทาเรือมาบตาพุด มิติที่ 3 : รองรับแผนพัฒนาเขตนวัตกรรมดานเทคโนโลยีและ ดิจิทัล โดยการกอสรางสถานีไฟฟา สายสงไฟฟา พัฒนาระบบไฟฟา เพื่อรองรับการใชไฟฟาในเขต EECd และ EECi

November-December 2019

P.30-31_PEA.indd 30

11/26/62 BE 11:24 AM


การไฟฟาสวนภูมิภาค

มิตทิ ี่ 4 : รองรับแผนปฏิบตั กิ ารยกระดับมาตรฐานการใหบริการ ทีท่ นั สมัย สะดวก รวดเร็ว โดยพัฒนาสํานักงานทุกแหงผานการรับรอง มาตรฐานการใหบริการของศูนยราชการสะดวก (GECC) พรอมนํา ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชงานบริการผาน Mobile Application เชน PEA Smart Plus เปนตน

โครงการของ PEA ที่กำลังดำเนินการในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

แผนการรองรับ EEC ใน 4 มิติของ PEA ประกอบไปดวย 11 โครงการสําคัญ ทั้งที่แลวเสร็จและกําลังดําเนินการ ภายใตวงเงิน งบประมาณ 19,318 ลานบาท เพือ่ รองรับความตองการพลังงานไฟฟา ที่เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะมีการพัฒนาเติบโตในอนาคต อยางเพียงพอ ทัง้ ยังจะเปนการเสริมสรางความมัน่ ใจใหแกผปู ระกอบการ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในพื้นที่ ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาระบบสงและจําหนาย ระยะที่ 1 2. โครงการพั ฒ นาระบบสายส ง และสถานี ไ ฟฟ า ระยะที่ 9 สวนที่ 3 3. โครงการพัฒนาระบบไฟฟาในเมืองใหญ ระยะที่ 1 4. โครงการพัฒนาโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ในพืน้ ที่ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี 5. โครงการพัฒนาระบบสงและจําหนาย ระยะที่ 2 6. โครงการเพิ่มความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา 7. โครงการนํารองสถานีอัดประจุยานยนตไฟฟาและระบบ การบริหารจัดการโครงขายเครื่องอัดประจุ 8. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนยสั่งการจายไฟ 9. โครงการขยายเขตระบบไฟฟาใหครัวเรือนที่หางไกล 10. โครงการขยายเขตไฟฟาใหบานเรือนราษฎรรายใหม 11. โครงการขยายไฟฟาใหพนื้ ทีท่ าํ กินทางการเกษตร ระยะที่ 2 ทั้งนี้โครงการทั้งหมดไมไดเกิดขึ้นในเฉพาะพื้นที่ EEC เทานั้น หากแตเปนแผนการดําเนินงานของ PEA ที่ตองการใหทุกพื้นที่ 74 จั ง หวั ด ของประเทศไทยมี ไ ฟฟ า อย า งทั่ ว ถึ ง และเพี ย งพอต อ ความ ตองการ

ประโยชนที่เกิดจากการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ในแผนงานพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (2560-2564) ซึง่ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติคาดวาจะทําใหเกิดประโยชนหลายดาน เชน ● ยกระดับขีดความสามารถการแขงขันของประเทศ การเติบโต ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP) ขยายตัวอยางนอยรอยละ 5 ตอป

จํานวนนักทองเที่ยวในพื้นที่เพิ่มขึ้น 10 ลานคนตอป ● ลดตนทุนโลจิสติกส 400,000 ลานบาทตอป ● ฐานภาษีของรัฐบาลใหมขึ้น ● ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไดรับบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการสาธารณสุขที่เพียงพอทั่วถึง นอกจากนี้ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ไดประเมินความตองการบุคลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ป 2562-2566 รวมกวา 475,668 อัตรา โดยแบงออกดังนี้ ● การทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 4% จํานวน 16,920 อัตรา ● ดิจิทัล 24% จํานวน 116,222 อัตรา ● การแพทยครบวงจร 2% จํานวน 11,412 อัตรา ● ยานยนตแหงอนาคต 11% จํานวน 53,738 อัตรา ● โลจิสติกส 23% จํานวน 109,910 อัตรา ● หุนยนต 8% จํานวน 37,526 อัตรา ● อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 12% จํานวน 58,228 อัตรา ● การพาณิชยนาวี 3% จํานวน 14,630 อัตรา ● การขนสงระบบราง 5% จํานวน 24,246 อัตรา ● การบินและอากาศยาน 7% จํานวน 36,836 อัตรา จากความพยายามผลักดันโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออกใน 3 จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง จนเกิด การลงทุนจากภาครัฐและเอกชนทั้งในและนอกประเทศอยางตอเรื่อง ทําใหเชื่อไดวาเปาหมายสูการเปนพื้นฐานที่เศรษฐกิจชั้นนําของเอเชีย ที่ มี โ ครงสร า งพื้ น ฐานเชื่ อ มโยงทั้ ง ในและต า งประเทศ การเป น ศูนยกลางธุรกิจการบินและโลจิสติกสของอาเซียน เปนศูนยกลางการ ขนส ง ทางน้ํ า ตลอดจนเป น เมื อ งน า อยู ที่ มี ค วามพร อ มของระบบ สาธารณูปโภคและบริการสังคมคงอยูไมไกลเกินเอื้อมอยางแนนอน ●

November-December 2019

P.30-31_PEA.indd 31

11/26/62 BE 11:24 AM


บรษิทั ผลติไฟฟา จำกดั (มหาชน)

เอ็กโก กรุป ประกาศเดินเครื่อง “โรงไฟฟาพลังน้ำไซยะบุรี” อยางเปนทางการ จั ก ษ ก ริ ช พิ บู ล ย ไ พโรจน กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุป เปดเผยวา โรงไฟฟา ไซยะบุ รี ของบริ ษั ท ไซยะบุ รี พาวเวอร จํ า กั ด ซึ่ ง เอ็ ก โกถื อ หุ น รอยละ 12.5 ไดเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชยและจายไฟฟาเขาระบบของ ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) แลว เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 โดยจะเริ่มรับรูรายไดในไตรมาส 4 ของป 2562 เปนตนไป ตลอดจนชวยเสริมสรางความมัน่ คงใหกบั ระบบ ไฟฟาของประเทศไทย และ สปป.ลาว อีกดวย โรงไฟฟาไซยะบุรี ตัง้ อยูบ นแมนา้ํ โขง ในแขวงไซยะบุรี สปป.ลาว เปนโรงไฟฟาพลังงานน้ําแบบฝายทดน้ํา (Run-of-River) มีขนาดกําลัง การผลิตติดตัง้ 1,285 เมกะวัตต และมีสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟากับการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย จํานวน 1,220 เมกะวัตต และรัฐวิสาหกิจ ไฟฟาลาว จํานวน 60 เมกะวัตต เปนระยะเวลา 29 ป

จากการเดินเครื่องเชิงพาณิชยของโรงไฟฟาไซยะบุรี สงผลให ปจจุบันเอ็กโก กรุป มีโรงไฟฟาทั้งในและตางประเทศที่เดินเครื่อง เชิงพาณิชยแลว จํานวน 28 แหง คิดเปนกําลังการผลิตตามสัญญา ซื้อขายและตามสัดสวนการถือหุน 5,475 เมกะวัตต ใน 6 ประเทศ ไดแก ไทย สปป.ลาว ฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย และเกาหลีใต มีโครงการที่อยูระหวางกอสราง จํานวน 2 โครงการ คิดเปนกําลัง การผลิตตามสัญญาซื้อขายและตามสัดสวนการถือหุนประมาณ 171 เมกะวัตต โดยโรงไฟฟาและโครงการตางๆ ผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิง หลากหลายประเภท ทั้งกาซธรรมชาติ แอลเอ็นจี ถานหิน ชีวมวล พลังงานน้ํา พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอน ใตพิภพ และเซลลเชื้อเพลิง

เอ็กโก กรุป รวมขับเคลื่อนการพัฒนาอยางยั่งยืนในสังคมไทย

กับสมาชิก TBCSD กวา 40 องคกร ในงาน TBCSD New Chapter

เอ็กโก กรุป รวมประกาศความมุงมั่นเปนองคกรที่มีความ รับผิดชอบตอสังคม มุงสูการพัฒนาที่ยั่งยืน ในงานแถลงขาวเปดตัว องคกรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development : TBCSD) ภายใตแนวคิด TBCSD New Chapter ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อรวมผลักดันธุรกิจและประเทศไทย ไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยมี ดนุชา สิมะเสถียร รองกรรมการ ผูจ ดั การใหญสายงานพัฒนาธุรกิจในประเทศ และ ธงชัย โชติขจรเกียรติ ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ - บริ ห ารองค ก ร พร อ มด ว ยตั ว แทน พนักงานฝายสื่อสารองคกรและฝายแผนงาน เขารวมงาน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด เซ็นทรัล พลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ

TBCSD กอตั้งเมื่อป 2536 โดยกลุมธุรกิจชั้นนําในประเทศไทย และมีสถาบันสิ่งแวดลอมไทย (TEI) เปนสํานักเลขานุการ มีเปาหมาย เพือ่ การเสริมสรางจิตสํานึกรวมของคนไทย ทัง้ ทีเ่ ปนหนวยงาน องคกร และประชาชนในการรักษาสิ่งแวดลอมและสรางแบบแผนการผลิต และบริโภคที่ยั่งยืน ดวยแบบอยางของ “ธุรกิจสีเขียว” หรือ “ธุรกิจที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม” ใหเกิดขึ้นอยางแพรหลายในประเทศไทย ตามแนวคิดของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”

ปจจุบัน TBCSD มีสมาชิกกวา 40 องคกร ซึ่งครอบคลุมกลุม อุตสาหกรรมหลักของประเทศไทย โดยเอ็กโก กรุป เขารวมเปนสมาชิก ตัง้ แตป 2558 ดวยเล็งเห็นวาเปาหมายดังกลาวสอดคลองกับวิสยั ทัศน และพันธกิจหลักของบริษัทฯ

November-December 2019

11/26/62 BE 11:25 AM


บรษิทั ราช กรปุ จำกดั (มหาชน)

“ปาชุมชนบานป” จังหวัดพะเยา

ควาสุดยอดปาชุมชนของประเทศ

ถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน ประจำป 2562 กรมปาไม รวมกับบริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน) ประกาศ ผลการประกวดปาชุมชนระดับประเทศ ประจําป 2562 ในโครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน โดยมี วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวาการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ไดใหเกียรติเปนประธาน ในพิธีมอบรางวัล การประกวดปาชุมชนระดับประเทศ เปนกิจกรรมในโครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน ทีไ่ ดเริม่ ดําเนินการมาตัง้ แตป 2551 เปนประจํา ทุกป ภายใตความรวมมือของบริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน) และ กรมปาไม และนับเปนโครงการตนแบบความรวมมือภาครัฐและเอกชน ที่มุงสงเสริมการสรางจิตสํานึกดวยแนวคิดการปลูกปาในใจคน และ ขับเคลือ่ นงานดานการอนุรกั ษทรัพยากรปาไมในรูปแบบของปาชุมชน โดยประชาชนในชุ ม ชนเป น ผู ดู แ ลรั ก ษาและบริ ห ารจั ด การป า ไม ในทองถิ่นตนเองดวยกระบวนการมีสวนรวม บาน-วัด-โรงเรียน และ ใชประโยชนจากปาดวยวิถีแบบพอเพียงเพื่อลดรายจาย เพิ่มรายได ของชุมชน

ปาชุมชนชนะเลิศ ถวยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และไดรับเงิน รางวัล 200,000 บาท คือ ปาชุมชนบานป อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ที่มีกระบวนการบริหารจัดการปาอยางมีสวนรวมของทุกภาคสวน ในชุมชนอยางโดดเดน ตามหลัก บาน วัด โรงเรียน (บ-ว-ร) เมื่อ ดูแลปาจนอุดมสมบูรณดวยพรรณไมและสัตวปา จึงเกิด “กองทุน สวัสดิการผึง้ ” ทีน่ าํ รายไดมาสูช มุ ชนประมาณ 125,000-250,000 บาท จัดสรรเปนทุนการศึกษา ทุนอาหารกลางวันใหแกเยาวชน และทุน สนับสนุนการสอนใหแกครู ดานเยาวชนถายทอดความสําคัญของปา ผานการทําหนังสัน้ เผยแพรใหสาธารณชนรับรูอ กี ทอดหนึง่ อีกทัง้ ยังนํา ไปทํานุบํารุงพุทธศาสนาและเปนทุนการศึกษาสําหรับพระภิกษุสงฆ นอกจากนีย้ งั นํามาสนับสนุนพัฒนาปาชุมชนดานตาง ๆ ดวยตระหนัก ดีวาการบริหารจัดการโดยเนนหลักความยั่งยืน ใชสอยแตพอเหมาะ อนุรักษอยางตอเนื่อง จะนํามาซึ่งความมั่นคงของคนในปาชุมชนและ ความยั่งยืนของปาไม

ราช กรุป ซื้อกิจการโรงไฟฟา โคเจนเนอเรชั่น มูลคา 1,998.40 ลานบาท

ดําเนินการบริหารจัดการโรงไฟฟาแหงนี้อยางเปนทางการไดในเดือน ตุลาคม ศกนี้ กิจจา ศรีพฑ ั ฒางกุระ กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ราช กรุป จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา การเขาซื้อกิจการในโครงการโรงไฟฟา นวนครโคเจนเนอเรชั่น เปนความสําเร็จในการขยายการเติบโตตาม แผนยุทธศาสตรของบริษัทฯ ซึ่งการลงทุนครั้งนี้จะชวยเสริมสราง ความแข็งแกรงและความมั่นคงกระแสเงินสดและรายไดของบริษัทฯ ยิ่ ง ขึ้ น เพราะเป น โครงการที่ เ ดิ น เครื่ อ งจํ า หนายกระแสไฟฟ า แล ว และยังมีสัญญาซื้อขายไฟฟากับ กฟผ. ที่มีระยะเวลาคงเหลือเกือบ 20 ป ความสําเร็จในการซื้อกิจการโรงไฟฟานวนครครั้งนี้ สงผลให กํ า ลั ง ผลิ ต ที่ เ ดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย ต ามสั ด ส ว นการลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น เปน 7,047.54 เมกะวัตต โดยกําลังผลิตไฟฟาสวนที่เหลือจากการ จําหนายตามสัญญาซื้อขายไฟฟากับ กฟผ. และไอน้ําที่ผลิตไดจะถูก ขายใหกับลูกคาอุตสาหกรรมตางๆ ที่มีความตองการใชไฟฟาและ ไอน้ํากําลังเติบโต เปนการชวยเสริมใหระบบพลังงานในเขตสงเสริม อุตสาหกรรมนวนครมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น กิจจา กลาวปดทาย

รับรูรายไดไตรมาส 3 ทันที

บริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน) ประกาศความสําเร็จการ เข า ซื้ อ กิ จ การโรงไฟฟ า เอสพี พี ระบบโคเจนเนอเรชั่ น ของบริ ษั ท นวนครการไฟฟา จํากัด มูลคาโครงการรวม 5,726.68 ลานบาท โครงการดังกลาวมีกาํ ลังผลิตติดตัง้ 110 เมกะวัตต และกําลังผลิตไอน้าํ 10 ตันตอชั่วโมง ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก ตั้งอยูบริเวณ ทิศใตของเขตสงเสริมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี โดยได เดินเครื่องผลิตไฟฟาจําหนายแกการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ภายใตสัญญาซื้อขายไฟฟา 25 ป ตั้งแตวันที่ 31 ตุลาคม 2556 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดเขาซือ้ หุน สามัญและหุน บุรมิ สิทธิ รวม 99.97% ของบริษัท นวนครการไฟฟา จํากัด (“NNE”) เปนเงินจํานวน 1,998.40 ลานบาท สงผลใหราช กรุป เขาเปนผูถือหุนใหญและไดรับสิทธิในการ บริหารจัดการโรงไฟฟาเอสพีพีดังกลาว และคาดวาราช กรุป จะเขาไป

November-December 2019

P.32-33_Ratch.indd 33

11/26/62 BE 11:25 AM


Article

> Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, Timothy Butler

ยานยนตไฟฟา (EV) และระบบไฟฟา

ทำงานดวยกันอยางไร บทเรยีนจากหนง่ึในโครงการ ยานยนตไฟฟาที่ใหญที่สุดในโลก

Lessons Learned from One of the Largest Electric Vehicle Trials in the World

*บทความแปล ไดรับอนุญาตจาก IEEE Power & Energy Society หามจําหนาย ดัดแปลง หรือนําเนื้อหาสวนใดสวนหนึ่งไปใชโดยไมไดรับอนุญาต ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle หรือ EV) รูปแบบตางๆ ไดเกิด เพิ่มขึ้นอยางมากมาย ไมวาจะเปนแบบ PHEV (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) หรือแมกระทั่ง BEV (Battery Electric Vehicles) ซึ่งอาจจะเต็ม ทั่วทองถนนในอนาคตอันใกล จากการสํารวจของ EV Outlook 2017 พบวาปจจุบนั มี EV มากกวา 2 ลานคันทัว่ โลก โดยที่ EV มีสว นสรางสรรค ใหการใชพลังงานไฟฟาเพือ่ การคมนาคมเกิดประโยชนทางดานสิง่ แวดลอม ดานสุขภาพทีด่ ี และสภาพเศรษฐกิจทีด่ ี ซึง่ พลังงานไฟฟาทีใ่ ชจะตองผลิต มาจากโรงงานไฟฟาประเภทคารบอนต่าํ อยางไรก็ตาม ถาตองการใหการ เปลี่ยนแปลงครั้งนี้เกิดขึ้นอยางสมบูรณ เราตองบูรณาการระบบไฟฟา ใหสอดคลองกับปริมาณ EV ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพือ่ ทําความเขาใจกับความทาทาย และโอกาสการเพิม่ ปริมาณ EV โดยเฉพาะอยางยิ่งประเภทรถยนตสวนบุคคลขนาดเล็ก ผูประกอบการ ระบบ เครือขายไฟฟา (DNO) และผูมีสวนไดเสียตางๆ ไดรวมกันจัดทํา โครงการ EV ซึ่งถือเปนหนึ่งในผูที่จัดทําโครงการที่ใหญที่สุดในโลก คือ My Electric Avenue (MEA) (www.myelectricavenue.info) ในสหราชอาณาจักร (UK) นําโดยบริษัท EA Technology โดยเริ่มจัดทําโครงการ ตั้งแตมกราคม 2556 ถึงธันวาคม 2558 ซึ่งไดรับเงินสนับสนุนในการ จัดทําโครงการจากกองทุนเครือขายคารบอนต่ํา พรอมพันธมิตรจาก โรงงานอุตสาหกรรม DNO และสถาบันการศึกษา EV ในโครงการ MEA ประกอบดวยรถยนต Nissan LEAF จํานวน มากกวา 200 คัน ใน UK เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขับขี่และการชารจของ ประชาชนทีม่ คี วามหลากหลาย ทัง้ ทางภูมศิ าสตร ทางเศรษฐกิจ และสังคม ในโครงการนีไ้ ดทาํ การศึกษาวิจยั ผลกระทบทางเทคนิคของ EV ตอ ระบบไฟฟาแรงต่ําของยุโรป และทดสอบการควบคุมการชารจหรือจุด ชารจของ EV เพื่อเพิ่มความสามารถของจุดจายไฟ บทความนี้นําเสนอรายละเอียดของโครงการ MEA รวมไปถึง โครงสรางพื้นฐานที่อางมาจากการวิเคราะหขอมูล และการศึกษาระบบ

In the comIng years, hundreds of thousands of new electric vehicles (eVs), from plug-in hybrids to fully electric, will hit the roads around the world, adding to the current eV fleet of more than 2 million, according to the global EV outlook 2017. The electrification of transportation can bring environmental, health and economic benefits when coupled with a low-carbon electricity generation portfolio; however, ensuring that this transition goes smoothly requires addressing several grid-integration challenges. To understand the challenges and opportunities that come with the widespread adoption of EVs, particularly passenger light-duty vehicles, many distribution network operators (DNOs) and stakeholders in various countries have carried out EV trials. One of the largest EV trials in the world was My Electric Avenue (MEA) (www.myelectricavenue. info) in the United Kingdom. Led by EA Technology, the trial ran from January 2013 to december 2015 and was subsidized by the Low Carbon Networks Fund along with partners from industry, DNOs, and academia. The MEA project deployed more than 200 Nissan LEAFs to customers in the United Kingdom to study the driving and charging habits of a geographically and socioeconomically diverse population. This industrial project also investigated the technical effects of EVs on European-style low-voltage networks and trialed the direct control of EV charging points to increase hosting capacity. In this article, we provide details about the MEA trials, including the main infrastructure adopted. Based on the data analysis and network studies carried out, we present key findings in terms of

November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 34

11/26/62 BE 11:26 AM


1) the charging habits of EV users, 2) the impact of EVs on lowvoltage networks, and 3) the effectiveness of the proposed strategy to increase hosting capacity. Using what was learned from this large-scale project, we then show the additional results that aid in understanding the extent to which EVs could provide services to the electric grid. Finally, we summarize the key lessons learned from MEA.

The My Electric Avenue Project

ซึ่งจะไดนําเสนอผลการทดลองที่สําคัญดังนี้ 1) พฤติกรรมการชารจของผูใชงาน EV 2) ผลกระทบของ EV ตอระบบไฟฟาแรงต่ํา 3) ผลของกลยุทธเพื่อเพิ่มความสามารถของจุดจายไฟ สิ่ ง ที่ เรี ย นรู จ ากโครงการขนาดใหญ นี้ สามารถแสดงผลลั พ ธ ที่ ทําใหเขาใจไดวา EV มีผลอยางไรตอระบบไฟฟา และทายสุดจะนําเสนอ ประเด็นหลักที่ไดจากโครงการ MEA นี้

โครงการ My Electric Avenue (MEA) EV ในโครงการ MEA ประกอบดวยรถยนต Nissan LEAF มากกวา 200 คัน ซึ่งในแตละคันใชงานแบตเตอรี่ขนาด 24 kWh ที่ใชทดสอบ ใน UK (รูปที่ 1) ซึ่งถือเปนหนึ่งของโครงการที่ใหญที่สุด สามารถทราบถึง ผลของ EV ตอการใชระบบไฟฟาภายในบานเรือน (ชารจแบบชาประมาณ 3.6 kW) วัตถุประสงคหลักของโครงการคือเปนการทดลองหาแนวทาง ปรับปรุงแกไข ที่เรียกวา Esprit (Easily Distributed Personal Rapid Transit) เพือ่ ลดผลกระทบตอระบบไฟฟาแรงต่าํ ของยุโรป (European style low voltage network) (ตัวอยางเชน จุดจายไฟแรงต่ําหลายฟดเดอร ทีต่ อ กับหมอแปลงไฟฟาเดียวกันเพือ่ จายไฟฟาใหกบั ลูกคาหลายรอยราย) เพื่อที่จะบรรลุเปาหมายของโครงการ โครงการนี้ไดวิเคราะหขอมูลตางๆ ของ EV เพื่อศึกษาแบบจําลอง ผลกระทบตอระบบไฟฟา และศึกษาดาน การจัดการระบบไฟฟา โดย MEA เปนโครงการแรกที่มุงเนนไปที่การ จัดการเครือขายระบบไฟฟาทองถิ่นเมื่อมี EV จํานวนมากที่ชารจในพื้นที่ และเวลาเดียวกัน โครงการ MEA มีเปาหมายหลากหลาย เชน เปาหมายในเชิง พาณิชย เชิงสังคม และเชิงเทคนิค (รายละเอียดพบไดจากรายงาน For Further Reading ของ EA Technology) วัตถุประสงคทางเทคนิคที่สําคัญ ประกอบดวย

The MEA project deployed more than 200 nissan LEAFs with a battery size of 24 kWh across the United Kingdom (Figure 1), making it one of the largest (if not the largest) EV trials in the world to date that examines the challenges and benefits arising from the use of this technology at home (slow-charging mode at approximately 3.6 kW). The project’s main objective was to trial a solution (known as Esprit) to mitigate the impacts that EVs may pose on European-style low-voltage networks (i.e., multiple low-voltage feeders connected to the same distribution transformer supplying dozens or hundreds of customers). To achieve this, the project performed EV data analysis, modeling, impacts, and management studies. MEA was the first project to focus on how to best manage the local electricity network when a large number of EVs charge on the same street at the same time. The MEA project had several commercial, social, and technical aims (see the EA Technology project close-down report in the “For Further Reading” section for full details). The key technical objectives were to ● learn customer driving and charging habits ● develop and test the equipment to ascertain its ease of installation ● evaluate the range of networks that will experience technical problems (voltages lower than statutory limits and overloads) through the creation of EV clusters ● investigate the types of networks in which the Esprit technology can operate successfully. To accomplish these objectives, MEA carried out two trials: one technical and one social. The technical trial (illustrated by the red pins in Figure 1) created ten clusters with a total of 101 EVs (7–13 EVs per low-voltage network) to study the performance of the EV management solution. For this trial, the project primarily used existing infrastructure, as it only needed to install sensors at the head of the feeders, a controllable charging point, and a programmable logic controller (PLC) at the substation to host the EV management solution (Figure 2). The social trial (shown by the blue pins in Figure 1), on the other hand, involved 118 participants with the purpose of studying the charging behavior of EV users (such as range anxiety and typical charging patterns). In this trial, the EV users did not have a “smart” charging point because they were not managed at all. The project studied the technical aspects associated with the adoption of EVs and also the social, environmental, and economic implications, resulting in a comprehensive understanding that DNOs and regulators will find useful. Table 1 details the key aspects of the project. The corresponding reports, findings, and key data are publicly available on the project’s website.

November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 35

11/26/62 BE 11:26 AM


● ●

ติดตั้ง

เรียนรูพฤติกรรมการขับขี่และการชารจของผูทดสอบ พัฒนาและทดสอบอุปกรณ เพือ่ ใหมนั่ ใจตอความสะดวกในการ

ประเมินผลของระบบทีจ่ ะเกิดปญหาทางเทคนิค (ทัง้ แรงดันไฟฟา ตกและแรงดันไฟฟาเกิน) ดวยการสราง EV cluster พิจารณาประเภทของระบบที่เทคโนโลยี Esprit สามารถทํางาน ได เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคเหลานี้ MEA ไดทําการทดลองโครงการ ใน 2 ดาน ไดแก ดานเทคนิคและดานสังคม 1) การทดลองทางดานเทคนิค (ภาพประกอบแสดงดวยหมุดสีแดงในรูปที่ 1) สรางกลุมทดสอบจํานวน 10 กลุม จาก EV จํานวน 101 คัน (กลุมละ 7-13 คัน ตอระบบจายไฟ แรงต่ํา 1 จุด) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการจัดการ EV สําหรับการ ทดลองนี้จะใชโครงสรางระบบไฟฟาพื้นฐานเดิมเปนหลัก เนื่องจากตอง ติดตั้ง Sensor ที่เฉพาะตนทางของ Feeder (สายปอน) เทานั้น และใช การควบคุมจุดชารจ และ Programable Logic Controller (PLC) ที่สถานี ไฟฟายอย เพือ่ เปนศูนยกลางการจัดการการชารจ (รูปที่ 2) 2) การทดลอง ทางดานสังคม (ภาพประกอบแสดงดวยหมุดสีนา้ํ เงินในรูปที่ 1) มีผเู ขารวม จํานวน 118 ราย โดยวัตถุประสงคคือเพื่อศึกษาพฤติกรรมการชารจ ของผูคนที่ใชงาน EV (เชน ผูคนจะชารจในเวลาใด และรูปแบบการชารจ (กราฟการชารจ)) ในการทดลองนีไ้ มมรี ะบบ Smart Charging (การจัดการ ชารจอัจฉริยะ) เนื่องจากไมตองการควบคุมการชารจ ●

รูปที่ 2 สถาปตยกรรมทีใ่ ชในโครงการเพือ่ บริหารจัดการปญหาจาก EV Figure 2 The infrastructure used for deploying the EV management solution.

Understanding How People Charge Their EVs

Understanding when and for how long EV users will charge their vehicles is one of the most critical aspects to realistically studying EV interactions with the grid; however, EV data are scarce, which highlights the need for more trials that make key data publicly available. The MEA project recorded more than 85,000 nonmanaged charging events. Every time an EV user charged a vehicle, the onboard monitoring system recorded the start charging time and the initial/final state of charge (SOC). The project used the information from the 219 EVs involved in the project to understand the drivers’ charging habits. Although the knowledge gained from the MEA project may be specific to EV drivers in the United Kingdom (and similar countries), the methodology used is generic and can be adopted by any country or region. One interesting finding from the MEA project is that the variance in the charging behavior across seasons is limited, i.e., there is no seasonality. This allows for grouping all charging events and corresponding metrics into two categories: weekdays and weekends. Another interesting finding is the highly erratic charging pattern shown by EV users during roughly the first seven days of use. This was considered to be a familiarization phase, and the final database excluded the events during the first week (i.e., <1% of the total charging events). The following sections discuss, via histograms, the project’s key findings in terms of charging habits, including the number of charging events per day, start charging time, initial/final SOC, and percentage of EVs charging on the same day.

Charging More Than Once Per Day?

Whether on a weekday or during the weekend, approximately 30% of EV users charged their vehicles more than once per day, as shown in Figure 3, which also shows, however, that the majority of EV users (70%) charged their vehicle only once per day. This finding is unique because most EV studies do not explore multiple charging events. Finally, because of the low occurrence of three or more charging events (<8%), they were considered part of the second chargingcharging event. However, the study methodology can be used to consider as many charging events as necessary.

รูปที่ 1 ต่ําแหนงของ EV ภายใตโครงการ MEA (ดานเทคนิค : สีแดง และดานสังคม : สีน้ําเงิน) Figure 1 The distribution of EVs during the MEA project (technical: red; social: blue). November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 36

11/26/62 BE 11:26 AM


โครงการนีศ้ กึ ษาผลกระทบทางดานเทคนิคจาก EV ซึง่ สงผลทางดาน สังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ อันเปนความรูที่ดียิ่งตอ DNO และ Regulator โดยตารางที่ 1 แสดงถึงรายละเอียดทีส่ าํ คัญตางๆ ของโครงการนี้ ประกอบดวย ผลรายงาน ผลการคนพบตางๆ ซึง่ ขอมูลสําคัญตางๆ แสดง อยูในเว็บไซตแบบสาธารณะของโครงการ ซึ่งทุกคนสามารถเขาถึงได

ความรูความเขาใจการชารจ EV การทําความเขาใจวาผูค นทีใ่ ชงาน EV ใชเวลาในการชารจของพวกเขา อยางไร เปนจุดทีส่ าํ คัญสําหรับการทําการทดลองหรือวิจยั เพือ่ เรียนรูค วาม สัมพันธระหวาง EV และระบบไฟฟา อยางไรก็ตามขอมูลที่ไดมานั้นยังไม เพียงพอ ยังคงจําเปนตองศึกษาวิจัยหาขอมูลเพิ่มเติมอีก ในโครงการนี้ได บันทึกการชารจ EV มากกวา 85,000 รายการ ซึง่ การชารจนัน้ เปนการชารจ แบบไมมกี ารจัดการ โดยในทุกๆ ครัง้ ทีผ่ ใู ชงาน EV ชารจ EV แบบ On Board จะมีการบันทึกขอมูลเวลาการชารจ โดยบันทึกขอมูลสถานะของการชารจ (State of Charge (SOC)) แสดงปริมาณของแบตเตอรี่ตั้งแตเริ่มตนชารจ จนชารจเต็ม โครงการนี้ประกอบดวย EV ทั้งสิ้น 219 คัน เพื่อใชในการ ทดลองหรือการวิจยั และทําความเขาใจถึงพฤติกรรมการชารจของผูใ ชงาน แมวาโครงการนี้จะเปนการทําวิจัยในประเทศอังกฤษเพียงประเทศเดียว แตก็ยังสามารถนําไปใชกับประเทศหรือภูมิภาคอื่นๆ ไดเชนกัน ผลจากโครงการ MEA พบวาฤดูกาลไมมีผลกับการชารจ EV และ สามารถแบงตัวชี้วัดออกเปน 2 ประเภท คือ การชารจในวันธรรมดา และ การชารจในวันหยุด โครงการจะไมเก็บสถิติในชวงอาทิตยแรกของการ เริ่มตนวิจัย เพราะมีความผิดปกติของชุดขอมูลที่จัดเก็บได เนื่องจาก ผูใชงานอาจยังไมคุนเคยกับการใชงาน EV และขอมูลก็มีอยูนอยมาก กลาวคือ ไมถงึ 1% โครงการนีจ้ ะแสดงกราฟตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับงานวิจยั การคนพบที่สําคัญของพฤติกรรมการชารจ การชารจตอวัน เวลาเริ่มตน ในการชารจ SOC ตอนเริ่มตนและสิ้นสุดการชารจ และสัดสวนของผูชารจ ทั้งหมดที่อยูในโครงการตอวัน ผูใชชารจ EV มากกวา 1 ครั้งตอวันหรือไม ไมวาจะเปนวันธรรมดาหรือวันหยุด จะมีผูใชประมาณ 30% ชารจ มากกวา 1 ครั้งตอวัน หรือประมาณ 70% ที่ชารจเพียง 1 ครั้งตอวัน ดัง แสดงในรูปที่ 3 การวิจัยที่ผานๆ มา ไมเคยมีการเก็บสถิติแบบนี้มากอน การชารจ 3 ครั้ง หรือมากกวา 3 ครั้งตอวัน ในการทดลองนี้ขึ้นไปจะถือให เปนการชารจแบบ 2 ครั้งตอวัน เพราะมีสวนนอยมาก กลาวคือมีนอยกวา 8% เทานั้น การชารจชวงเชาหรือชารจตอนกลางคืน จากการทดลองชี้วาการชารจครั้งแรกจะเกิดในชวงเวลาใดก็ได แต หากมีการชารจครั้งที่ 2 จะมีแนวโนมที่จะเปนการชารจหลังเที่ยงวัน ในรูป ที่ 4 (ปรับคาใหเปน % หรือ Normalized) แสดงการเริ่มชารจสําหรับ วันธรรมดา ซึง่ สามารถแบงออกเปน 3 ชวงเวลา กลาวคือ 06.00-10.00 น. เปนจุดสูงสุดของชวงเชา (สีน้ําเงิน), 15.00-21.00 น. เปนจุดสูงสุดของ ชวงเย็น (สีเทา)

ตารางที่ 1 ขอมลูโครงการ MEA คาใชจายทั้งหมด : 13 ลานดอลลารสหรฐัฯ ระยะเวลาโครงการ : 3 ป เวบ็ไซตโครงการ : www.myelectricavenue.info ขนาดของโครงการ : ■ จำนวน EV 219 คน ั (101 คนั ใชวจิยัทางเทคนคิ, 118 คนั ใชวจิยัทางสงัคม) ■ ระบบไฟฟาแรงต่ำที่ใชใ  นการทดลอง 10 แหง (9 แหง เปนลกูคาประเภททีอ่ ยอูาศยั, 1 แหง เปนลกูคาประเภท เชงิพาณชิย) ✔ โครงสรางพื้นฐาน : ■ เครื่องมอ ื วดั • โครงขายไฟฟา : Phases V และ I (ความละเอยีดการ วดัทกุๆ 10 นาท)ี • EV : เวลาเริม่ ตน/สิน้ สดุการชารจ, SOC เริม่ ตน/สิน้ สดุ, เวลาเริ่มตน/สิ้นสดุของการใชงาน EV, ระยะทางทีไ่ ด ■ การสื่อสาร • ระหวางจดุชารจและสถานยีอย ใช PLC ✔ พน ั ธมติรโครงการ : ■ ผจ ู ดัทำ : EA Technology ■ DNOs : • Scottish and Southern Energy Network (Lead DNO) • Northern Powergrid (Participating DNO) ■ ผจ ู ดัจำหนาย EV : Nissan ■ สถานศก ึ ษา : • The University of Manchester, United Kingdom (Technical Analysis) De • Montfort University, Leicester, United Kingdom (Socioeconomic Analysis) ■ อื่นๆ : Fleetdrive Electric, Zero Carbon Futures, and Ricardo ✔ สาขาทีใ่ ชศกึษา : วศิวกรรม สงัคมศาสตร สิ่งแวดลอม และ เศรษฐศาสตร อตัราแลกเปลี่ยน 1 GBP = 1.431 USD ✔ ✔ ✔ ✔

Table 1 The MEA project fact sheet.

November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 37

11/26/62 BE 11:26 AM


รูปที่ 3 กราฟแทงแสดงจํานวนการชารจ EV ตอวัน Figure 3 A normalized histogram of the number of EV connections per day.

Charging Early or at Night?

รูปที่ 4 กราฟแทงแสดงเวลาการเริ่มชารจของ EV แตละคัน (a) กรณีการชารจครั้งแรก (b) กรณีมีการชารจครั้งที่ 2 Figure 4 Normalized histograms of the start-charging time per EV connection (weekday). The (a) first and (b) second charging events. และชวงนอกเหนือจากที่กลาวมา (สีฟา) ในการชารจครั้งแรกของ วัน (รูปที่ 4 a) จะเริ่มพบบอยสุดที่เวลาประมาณ 08.00 น. (กอนทํางาน) และ 18.00 น. (หลังเลิกงาน) ในการชารจครั้งที่ 2 (รูปที่ 4 b) พบวาจะ เกิดในชวง 18.00 น. บอยสุด จากการเก็บสถิติพบวา EV จํานวนหนึ่ง จะถู ก ชาร จ ที่ บ า นก อ นและหลั ง เวลาทํ า งาน ซึ่ ง จะสอดคล อ งกั บ การ ทดลองทางสังคม กลาวคือในชวงวันหยุดการชารจครั้งแรกจะเกิดขึ้น ในชวง 09.00-18.00 น. และการชารจครั้งที่ 2 จะเกิดหลังจาก 18.00 น. ในการทดลองครั้งนี้ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญของการชารจ ระหวางวันธรรมดาและวันหยุด การแปลความหมายรูปกราฟในรูปที่ 4 สามารถแสดงตัวอยางได ดังนี้ ในกรณีที่เวลา 18.00 น. ของรูปที่ 4 a ซึ่งมีคาประมาณ 2.6% มี ความหมายคือมีคา โอกาส 2.6% ทีจ่ ะมีการชารจครัง้ แรกทีเ่ วลา 18.00 น. ในขณะที่ในกรณีที่เวลา 18.00 น. ของรูปที่ 4 b ซึ่งมีคาประมาณ 2.75% มีความหมายคือมีคาโอกาสประมาณ 2.75% ที่จะมีการชารจครั้งที่ 2 ที่เวลา 18.00 น. เปนตน

It was found that the first charge might occur any time during the day, but the second charge was more likely to occur after midday. Figure 4 presents the start-charging time for weekdays separated into three periods of the day (morning peak from 6 to 10 a.m., evening peak from 3 to 9 p.m., and the restof the day). The most common first charge time started at approximately 8 a.m. (before work) or at 6 p.m. (after work); if a second charge happened, this typically started after 6 p.m. This demonstrates that a few EVs were charged at home before and after working hours, a finding that aligns with what was reported in the social trials. During weekends, the first charge most likely started between 9 a.m. and 6 p.m., and the second charge occurred later in the evening. In the MEA project, we found no significant differences in the start-charging times among weekdays (Monday–Friday) or between saturday and sunday. Charging events occurring on holidays were treated as weekdays or weekends, depending on the day of the week the holiday occurred.

Always Expecting a Full Battery?

EV drivers are likely to plug their vehicle into the grid when their battery SOC is relatively low, and they will probably leave it plugged in until the battery is full. The MEA project found that the initial and final SOCs depend on the number of charging events and the start-charging time. For instance, an EV charged overnight is likely to reach full charge. If it is used during the morning for a short trip, then for the next charge, this EV will have a relatively high initial SOC. To characterize the initial

November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 38

11/26/62 BE 11:26 AM


ความคาดหวังวาแบตเตอรี่ที่ชารจจะเต็มหรือไม ผูใชงาน EV มีแนวโนมที่จะชารจ EV ของพวกเขาเมื่อแบตเตอรี่ คอนขางต่าํ และเสียบปลัก๊ ไวจนกวามันจะเต็ม โครงการ MEA พบวา SOC ขึ้นอยูกับครั้งที่ของการชารจ (ชารจครั้งที่ 1 หรือชารจครั้งที่ 2) และเวลา เริ่มตนของการชารจ ดวยเหตุนี้ EV ที่ถูกชารจขามคืนมีแนวโนมที่จะชารจ เต็ม หาก EV ถูกใชในระยะทางสัน้ ในวันตอไป ซึง่ การชารจครัง้ ที่ 2 จะยังคง มี SOC เริ่มตนคอนขางสูง เพื่อกําหนดคา SOC เริ่มตนและคาสุดทาย จําเปนที่จะตองพิจารณาทั้งครั้งที่ของการชารจและเวลาเริ่มตนการชารจ โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับชวงเวลาทั้ง 3 ชวงของวัน (ชวงเชา ชวงเย็น และชวงที่เหลือ) ในโครงการ MEA มีการพิจารณาเวลาออกเปน 3 ชวง กลาวคือ 2 ชวง มีการใชงานสูงสุดชวงเชาและบาย/เย็น (รูปที่ 4) และอีก 1 ชวง สําหรับสวนทีเ่ หลือของวัน เพือ่ แสดงผลกระทบของเวลาตอการชารจ โดยไมพจิ ารณาความสัมพันธระหวางเวลาในการเริม่ ตนการชารจกับ SOC และจะเรียกวาตลอดทั้งวัน (Whole Day) สําหรับใชในรูปที่ 5 หมายเหตุ คา SOC ที่บันทึกโดยรถยนตนิสสันลีฟ กําหนดเปนคา 0 ถึง 12 หนวย ซึ่ง 1 หนวยมีคาเทากับ 2 kWh หรือ 8.33% ของแบตเตอรี่ 24 kWh ดังนั้น 12 หนวยจะมีคาเทากับ 24 kWh หรือเต็ม 100% ในรูปที่ 5 แสดงคาครัง้ ทีข่ องการชารจตอคาเริม่ ตนของ SOC ในชวง วันธรรมดา ทั้ง 3 ชวงเวลาและตลอดทั้งวัน ตัวอยางการแปลความหมาย คือโอกาสของ EV ที่ถูกชารจที่ SOC เริ่มตนต่ํากวา 2 หนวยมีคาต่ํากวา 15% (ผลรวมของกราฟ 0, 1 และ 2 หนวย) สิ่งนี้ชี้ใหเห็นวาผูใช EV สวนใหญตองการที่จะรักษาแบตเตอรี่เหนือระดับที่คอนขางต่ํานี้ (16.6%) นอกจากนี้ EV ทีถ่ กู ชารจเมือ่ SOC เริม่ ตน มีคา อยูร ะหวาง 3 และ 9 หนวย มีโอกาสมากกวา 65% (ผลรวมของกราฟ 3, 4 จนถึง 9 หนวย) ก็หมายความ วา ผูใช EV สวนใหญชารจยานพาหนะของพวกเขาเมื่อ SOC มีคาอยู ระหวาง 25% ถึง 75% ซึ่งการคนพบนี้สอดคลองกับผลการทดลองทาง สังคม การชารจครัง้ แรกในชวงวันธรรมดาระหวาง 15.00-21.00 น. มีโอกาส มากทีส่ ดุ (ประมาณ 78% : ผลรวมของกราฟ 3, 4 จนถึง 9 หนวย) อยางไร ก็ตาม หากการชารจครัง้ แรกเกิดขึน้ ในชวงวันหยุดระหวาง 12.00-18.00 น. มีโอกาสมาก (ประมาณ 71%) ที่ EV จะมีสถานะประจุ (SOC) อยูระหวาง 3 ถึง 9 หนวย พฤติกรรมนี้บงชี้วา EV มีแนวโนมที่จะถูกชารจไมนาน หลังจากที่คนขับกลับบานจากที่ทํางาน (วันธรรมดา) หรือกิจกรรมยามวาง (วันหยุด) โครงการ MEA ยังพบวาไมวาจะวันใด ความนาจะเปนของการ ชารจครั้งแรกที่มีคาเริ่มตนมากกวา 9 หนวย จะสูงกวาในชวงเชา (รูปที่ 5) สิ่งนี้แสดงใหเห็นวามีการชารจจาก EV ขามคืน แลวใชรถเวลาสั้นๆ ใน ตอนเชา จากนั้นกลับมาชารจอีกครั้ง ในแงของคา SOC คาสุดทาย รูปที่ 6 แสดงใหเห็นวา มีโอกาสกวา 65% ที่ SOC จะถึง 12 หนวย (ชารจเต็ม) สําหรับการชารจครัง้ แรก (ในชวง เชาวันหยุดจะอยูที่ประมาณ 52%) และมีโอกาสกวา 70% ที่ SOC จะถึง 11 หนวย (ประมาณ 63% ในตอนเชาของสัปดาห) ในทางกลับกัน การชารจ ครั้งที่ 2 สวนใหญเกิดขึ้นในเวลากลางคืน และมีโอกาสนอยกวา 1 ใน 3 ที่จะชารจเต็ม เนื่องจากการใช EV ในตอนกลางคืนจะสงผลใหมีการชารจ ใหมในชวงเชา ในชวงวันธรรมดามีโอกาสสูงสุดประมาณ 75% ที่จะมีการ ชารจเต็มที่ระหวาง 15.00-21.00 น. ในวันหยุดมีโอกาสประมาณ 80% ในระหวาง 18.00 น. และ 07.00 น. โดยสรุปแลวโอกาสที่จะเสร็จสิ้น การชารจ EV ที่ 8 หรือนอยกวานั้นมีคาต่ํากวา 20% ซึ่งชี้ใหเห็นวาผูใช ตองการที่จะจบการชารจดวยคา SOC คาสุดทายที่สูงที่สุด

and final SOCs, it is critical to consider not only the number of charging events but also the start-charging time, particularly for the three main periods of the day (morning peak, evening peak, and the rest of the day). In the project, three periods were considered: two for the charging peaks during the morning and afternoon/evening (Figure 4) and one for the rest of the day. To highlight the effects of time dependency, the normalized histograms when ignoring the relationship between the startcharging time and the SOC are also given. this is referred to as the whole day. Note that the SOC recorded by the Nissan LEAFs range from zero to 12 units, i.e., one unit equals 2 kWh (8.33% of the 24-kWh battery). Figure 5 shows the normalized histograms per charging event of the initial SOC during weekdays for three selected periods during the day as well as for the whole day. Regardless of the time, the likelihood of an EV being charged when its initial SOC is two units or fewer is lower than 15%. This suggests that most EV users prefer to maintain the battery SOC above this relatively low level (16.6%). Additionally, the probability of an EV being charged when its initial SOC is between three and nine units is more than 65%. This implies that most EV users charge their vehicle when the SOC is between 25% and 75%, a finding aligned with the results of social surveys. From a time perspective, a first charging event during weekdays between 3 and 9 p.m. is most likely (approximately 78%) to start with an initial SOC between three and nine units; however, if this first charge occurs on weekends between 12 and 6 p.m., it is very likely (approximately 71%) that the EV will have an SOC ranging from three to nine units. This behavior indicates that EVs are likely to be charged shortly after the drivers return home from work (weekdays) or leisure activities (weekends). The MEA project also found that, regardless of the type of day, the probability of a first charge with an initial SOC more than nine is higher during the morning (Figure 5). This suggests that some EVs are charged overnight, used briefly in the morning, and then charged again (counting as the first event in that day). In terms of the final SOC, Figure 6 highlights that the probability of reaching 12 units (full charge) in a first charging event is more than 65% (on weekend mornings, it is approximately 52%), and the likelihood of reaching 11 units or more is higher than 70% (approximately 63% on weekend mornings). On the other hand, second charging events, which occurred mostly at night and represented fewer than one-third of all events, are less likely to reach full charge because using these EVs at night results in some requiring a new charging event early in the morning. during weekdays, the highest probability (approximately 75%) of reaching a full charge occurred between 3 and 9 p.m. On weekends, this happened mostly (approximately 80%) between 6 p.m. and 7 a.m. Overall, the probability of finishing an EV charging event with eight units or fewer is lower than 20%, suggesting that users prefer to end charging events with a high final SOC. November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 39

11/26/62 BE 11:26 AM


รูปที่ 7 กราฟแทงแสดงโอกาสในการชารจในวันเดียวกัน ตามเปอรเซ็นตปริมาณการใช EV Figure 7 The normalized histogram for different percentages of EVs (same-day charging).

รูปที่ 5 กราฟแทงแสดง SOC เริ่มตนของ EV แตละคัน (a) กรณีการชารจครั้งแรก (b) กรณีมีการชารจครั้งที่ 2 Figure 5 Normalized histograms of the initial SOC per charging event considering time dependency (weekday). The (a) first and (b) second charging events.

Charging on the Same Day as Your Neighbor?

EV users have different charging needs; some are likely to charge their EVs every day, but others might not. this is shown in Figure 7, which provides the probabilities of charging on the same day for different percentages of EVs on weekdays and weekends. Regardless of the type of day, the probability of all EVs being charged at least once on the same day is approximately 7%, i.e., twice per month. In addition, the probability of the majority of EVs (half or more) charging at least once on the same weekday is more than 75%, i.e., more than threequarters of a month. Interestingly, for approximately 6% of the days (nearly twice per month), no EVs were charged at all. *สำหรับการอานเพิ่มเติม

International Energy Agency. (2017, June). Global EV outlook 2017: Two million and counting. IEA. Paris, France. [Online]. Available: https://www. iea.org/publications/freepublications/publication/GlobalEVOutlook2017. pdf EA Technology. (2016, Mar.). My Electric Avenue—Project closedown report. EA Tech. Chester, U.K. [Online].Available: http://myelectricavenue.info/ sites/default/files/documents/Close%20down%20report.pdf J. Quiros-Tortos, A. Navarro-Espinosa, L. F. Ochoa, and T. Butler, “Statistical representation of EV charging: Real data analysis and applications,” in Proc. PSCC, 2018, pp. 1-6. J. Quiros-Tortos, L. F. Ochoa, S. W. Alnaser, and T.Butler, “Control of EV charging points for thermal andvoltage management of LV networks,” IEEE Trans. Power Syst., vol. 31, no. 4, pp. 3028-3039, 2016.

รูปที่ 6 กราฟแทงแสดง SOC สิ้นสุดของ EV แตละคัน (a) กรณีการชารจครั้งแรก (b) กรณีมีการชารจครั้งที่ 2 Figure 6 Normalized histograms of the final SOC per charging event considering time dependency (weekday). The (a) first and (b) second charging events.

ชารจในวันเดียวกันกับเพื่อนบานของคุณไดหรือไม ผูใช EV มีความตองการการชารจที่แตกตางกัน บางคนมีแนวโนม ทีจ่ ะชารจ EV ของพวกเขาทุกวัน แตบางคนอาจไมไดชารจทุกวัน ตามรูป ที่ 7 ซึ่งแสดงโอกาสในการชารจในวันเดียวกัน ตามเปอรเซ็นตปริมาณ การใช EV (Penetration Level) ที่มีความแตกตางกันในวันธรรมดาและ วันหยุด โอกาสของ EV ทัง้ หมดทีถ่ กู ชารจอยางนอย 1 ครัง้ ในวันเดียวกัน นั้นมีคาประมาณ 7% ของเดือน หรือ 2 วันตอเดือน นอกจากนี้โอกาส ของ EV สวนใหญ (ครึ่งหนึ่งหรือมากกวา) ที่ชารจอยางนอย 1 ครั้ง ในวันธรรมดา คือมากกวา 75% ของเดือน หรือมากกวา 3 ใน 4 ของเดือน อีกประเด็นที่นาสนใจคือไมมีการชารจ EV เลย ประมาณ 6% ของเดือน (เกือบ 2 วันตอเดือน)

ประวัติผูเขียน

Jairo Quiros-Tortos is with the University of Costa Rica, San Jose. Luis (Nando) Ochoa is with the University of Melbourne, Australia, and the University of Manchester, United Kingdom. Timothy Butler is with EA Technology, Chester, and United Kingdom.

ผูแปลและเรียบเรียง

ดร.จักรเพชร มัทราช ผูอํานวยการกองวางแผนงานระบบไฟฟา อัจฉริยะ ฝายวางแผนระบบไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค

อานตอฉบับหนา – การสรางแบบจําลองความตองการ (Demand) ในการชารจ (EV) (next- Modeling EV Charging Demand)

November-December 2019

P.34-40_Article_Edit.indd 40

11/26/62 BE 11:26 AM


IT Technology Interview > กองบรรณาธิการ

นับจากกาวแรก ในนามหางหุนสวนจํากัด สามมิตร มอเตอร ดําเนินกิจการโรงงานผูผลิต แหนบรถยนต แ ห ง แรกในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2502 จากนั้นเติบโตและขยายธุรกิจเปน บริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด จนถึงปจจุบัน เป น ระยะเวลากว า 60 ป ซึ่ ง เป น ผู ผ ลิ ต และ จําหนายแหนบรถทุกประเภทกวา 2,000 รุน และ รวมไปถึงการผลิตและจําหนายอุปกรณการเกษตร ภายใตเครื่องหมายการคา SMA และกระทิงคู

สามมิตรโอโตพารท ผูผลิตแหนบรถยนต รายแรกของประเทศไทย

บริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด เปนผูผลิตแหนบรถยนตรายแรกของประเทศไทย ไดรับการยอมรับในตลาดเปนอยางดีมาตลอดในระยะ 60 ป โดยในปจจุบันมีการขยายการ ผลิตและจําหนายสินคาใน 3 กลุมหลักคือ ผลิตและจําหนายแหนบรถยนตทุกประเภท ผลิต และจําหนายอุปกรณการเกษตร แหนบของบริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด เปนแหนบ ที่ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 และมาตรฐานอุตสาหกรรมหรือ มอก. จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม คุณภาพเปนทีย่ อมรับ จากผู ป ระกอบการทั้ ง ในประเทศและต า งประเทศด ว ยเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ทั น สมั ย ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมรถยนต อันประกอบดวยการตัด การขึ้นรูปรอน-เย็น และ กระบวนการเขาเตาเผา การขึน้ รูปโคง การชุบแข็งและอบคลาย เพือ่ ทําใหแหนบมีความเหนียว ไมแข็งเปราะ พรอมดวยกระบวนการชุบสีรองพื้น เพื่อที่จะไดใหแหนบที่ดีมีคุณภาพสูตลาด นอกจากนี้ บ ริ ษั ท สามมิ ต รโอโตพาร ท ยั ง ได นํ า องค ค วามรู ม าพั ฒ นาต อ ยอดผลิ ต สิ น ค า เพื่อการเกษตร โดยมุงผลิตสินคาที่มีคุณภาพ เหมาะกับทุกภูมิภาคของประเทศ บนราคา ที่เหมาะสม เหมาะกับกลุมเกษตรกรผูเปนกระดูกสันหลังของชาติ ไดนําไปใชงาน ใหคุมคาเกิดประโยชนสูงสุด มณีรัตน โพธิ์ศิริสุข กรรมการผูจัดการ บริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด หรือ SMA กลาววา “กลุมสินคาเกษตรมีดวยกัน 3 ประเภทคือ จานไถ ใบมีด เกษตร ใบดันดิน จานไถสามมิตรผลิตจากเหล็กกลาคารบอนชนิดพิเศษ นํามา ผานกระบวนการชุบแข็ง ซึ่งเปนกรรมวิธีเดียวกับการผลิตแหนบรถยนต ควบคุม

มณีรัตน โพธิ์ศิริสุข

กรรมการผูจัดการ บริษัท สามมิตรโอโตพารท จำกัด

November-December 2019

P.41-43_Interview.indd 41

11/26/62 BE 11:30 AM


บริษัทมุงเนนผลิตสินคาที่มีความเหมาะสม คุณภาพคงทน คุมคากับความตองการ ของลูกคา พัฒนาเทคโนโลยีในดานการผลิต ควบคุมคุณภาพในการผลิตทุกขั้นตอน รวมถึงบริการหลังการขาย เพื่อใหลูกคา มั่นใจไดวาจะไดใชสินคาที่เต็มเปยมไปดวย คุณภาพอยางแนนอน

ดวยระบบอัตโนมัติ พิถีพิถันทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต ทําใหได จานไถที่มีความแข็งแกรง โดยการทดสอบจากแรงกระแทก ดวยน้ําหนัก 100 กิโลกรัม ที่ความสูง 1 เมตร 50 เซนติเมตร และมีการตรวจสอบ ในด า นต า งๆ ตามข อ กํ า หนดของสํ า นั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุตสาหกรรม จึงทําใหจานไถสามมิตรเปนจานไถหลายแรกในประเทศไทย ที่ไดรับตรา มอก. ซึ่งเปนสิ่งยืนยันคุณภาพของสินคาที่ผลิตออกมา เพิ่มความมั่นใจใหกับกลุมลูกคา ใบมีดสามมิตรเปนใบมีดโรตารี่ที่ไดรับ การออกแบบสามารถลดแรงตัดเฉือน เพื่อลดกําลังของเครื่องยนตที่ ใชงาน ซึ่งชวยใหประหยัดพลังงาน” บริ ษั ท สามมิ ต รโอโตพาร ท ได ใช วั ต ถุ ดิ บ และกระบวนการ เดียวกันกับการผลิตแหนบรถยนต ทําใหไดใบมีดที่มีความแข็งแกรง ทนตอการสึกกรอน มีอายุการใชงานมากกวาใบมีดทั่วไป เหมาะกับดิน ทุ ก ประเภท และทุ ก สภาพการใช ง าน ใบดั น ดิ น สามมิ ต ร ผลิ ต จาก เหล็กกลาคารบอน ชนิดเดียวกับที่ใชผลิตแหนบรถยนต ผานการปม

ขึ้นรูปรอน ดวยอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยเครื่องมือการผลิตที่ ทันสมัย ทําใหใบดันดินของสามมิตรมีความแข็งแกรงทนทาน ใชงานไดทุกสภาพทุกพื้นที่ประเทศ ดานการผลิตและจําหนายแหนบรถยนต สามมิตรถือเปน ผูนําตลาดมาอยางยาวนาน โดยผลิตและจัดจําหนายแหนบรถ ทุกประเภท ทั้งรถปกอัพ รถบรรทุก รถเทรลเลอร และรถหัวลาก มากกวา 2,000 รุน มีสวนแบงทางการตลาดอยูที่ 45% ของ ตลาดรวมซึ่ ง มี มู ล ค า ประมาณ 800 ล า นบาทต อ ป ป จ จุ บั น ความตองการตลาดชิ้นสวนทดแทนหรืออะไหลทดแทน มีการ ขยายตัวอยางตอเนื่องตามการเพิ่มขึ้นของจํานวนรถ และจะ ยังคงสามารถเติบโตตอไปไดอีกในอนาคต เนื่องจากปริมาณ การใช ร ถเพื่ อ การขนส ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตลอดจนการเพิ่ ม จํ า นวน ของธุรกิจรถขนสงสินคาทางบก และธุรกิจรับสงสินคาที่มีการ ขยายตัวอยางมาก จากการเติบโตของอีคอมเมิรซ (e-Commerce) สงผลใหอะไหลทดแทน โดยเฉพาะแหนบรถยนตประเภทเสริม เพื่ อ เพิ่ ม น้ํ า หนั ก บรรทุ ก ของสามมิ ต รโอโตพาร ท มี แ นวโน ม การเติบโตอยางตอเนื่อง

November-December 2019

P.41-43_Interview.indd 42

11/26/62 BE 11:30 AM


ทังนี้ บริษัท สามมิตรโอโตพารท มีแผนกจัดสงสินคาที่มี คุ ณ ภาพ ได รับ การฝ ก อบรมเป น อย า งดี พร อ มด ว ยเทคโนโลยี ที่ทันสมัย เพื่อการจัดสงสินคาที่สมบูรณครบถวน และตรงตาม กําหนดเวลา ทางบริษัทมีความมุงมั่นที่จะพัฒนากระบวนการผลิต ด า นต า งๆ โดยมี ก ารตรวจวิ เ คราะห คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ ใ น ทุกๆ ขั้นตอน ตั้งแตวัตถุดิบ ชิ้นสวนประกอบ ชิ้นสวนระหวาง กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑที่สําเร็จรูปแลว เพื่อนําขอมูลตางๆ ที่ไดมาปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของสินคา พรอมกันนี้ทางบริษัทยังสงเสริมพัฒนาความรูความสามารถ ของบุคลากรใหมคี วามพรอมการทํางาน เพือ่ มีสว นรวมพัฒนาสินคา และบริการ ตรงตามความตองการของลูกคาอีกดวย ปจจุบัน สามมิตรโอโตพารท มีสัดสวนรายไดจากตลาด ในประเทศ 85% และอีก 15% มาจากการสงออกไปยังตางประเทศ โดยได ว างแผนกลยุ ท ธ เ พื่ อ การขยายตลาดให เ ติ บ โตมากขึ้ น ในทุกกลุมผลิตภัณฑ ไดแก ขยายตลาดสินคาแหนบและอุปกรณ การเกษตรไปยังกลุม ประเทศ CLMV หรือกัมพูชา ลาว เมียนมา และ เวียดนาม การเพิ่มสัดสวนรายไดจากกลุมผลิตภัณฑซื้อมา-ขายไป ให ม ากขึ้ น โดยเพิ่ ม จํ า นวนผลิ ต ภั ณ ฑ และการสร า งการเติ บ โต ในชองทางการจัดจําหนายเดิม ทําการสงเสริมการขายรวมกับสินคา หลักของบริษทั และตัง้ เปามีรายไดเพิม่ ขึน้ จากสินคากลุม นีเ้ ปน 20% ของรายไดในประเทศ ซึ่งคาดวาจากกลยุทธและแผนการตลาด ดังกลาวจะสงผลใหบริษัทมีรายไดเติบโตเพิ่มขึ้น 10% ภายในปนี้ และเติบโตเพิม่ ขึน้ 20% ภายใน 3 ป จากรายไดตา งประเทศและจาก กลุมผลิตภัณฑซื้อมา-ขายไปเปนหลัก

มณีรัตน กลาวเพิ่มเติมวา การที่บริษัทไดรับการตอบรับ เปนอยางดีจากตลาดในประเทศและขยายไปสูต ลาดตางประเทศนัน้ มีองคประกอบหลักๆ ที่ทําใหบริษัทประสบความสําเร็จก็คือ “องคประกอบแรกก็คอื เราผลิตสินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพ บริษทั มุง เนน ผลิตสินคาทีม่ คี วามเหมาะสม คุณภาพคงทน คุม คากับความตองการ ของลูกคา องคประกอบตอมาคือการบริหารจัดการ มุงเนนให ตอบโจทยความตองการของลูกคา พัฒนาเทคโนโลยีในดานการผลิต

ควบคุมคุณภาพในการผลิตทุกขั้นตอน รวมถึงบริการหลังการขาย เพื่อใหลูกคามั่นใจไดวาจะไดใชสินคาที่เต็มเปยมไปดวยคุณภาพ อยางแนนอน องคประกอบสุดทายที่สําคัญนั้นก็คือทัศนคติของ บุคลากรในบริษัท โดยเรามุงเนนใหความรูความเขาใจพรอมกับ พัฒนาองคความรูใหกับบุคลากรในดานตางๆ นําไปสูการปรับปรุง วิธีการทํางานอยางตอเนื่อง สงเสริมการทํางานเปนทีมและรับฟง ความคิดเห็นที่จะนํามาซึ่งประโยชนในการทํางานใหมๆ และการ ปรับใชกับองคกร ผลที่ไดรับก็คือเราจะสามารถพัฒนาสินคาและ องคความรูตางๆ ทําใหเกิดประโยชนสูงสุดตอลูกคา” สุดทาย ถึงแมวาโลกธุรกิจจะมีการแขงขันและขยายตัวเติบโต ไปในทิศทางใดทิศทางหนึง่ บริษทั สามมิตรโอโตพารท จํากัด พรอม ที่จะกาวไปดวยพลังแหงจิตนาการสูการพัฒนาการเปนนวัตกรรม ตางๆ มากมาย ดวยความใสใจสูความบริการอยางเขาใจ และดวย ความมุงมั่นสูเปาหมายคือความสําเร็จที่พรอมเปนพลังขับเคลื่อน โลกดวยพลังแหงสามมิตรโอโตพารท จากประสบการณกวา 60 ป ดานชิ้นสวนยานยนต และอุตสาหกรรมเหล็ก ทําใหทุกผลิตภัณฑ ของสามมิตรโอโตพารทมีคณ ุ ภาพเปนทีย่ อมรับทัง้ ในและตางประเทศ นอกจากนี้ยังมุงมั่นสรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ ใหกับทุกผลิตภัณฑ และบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของผูประกอบการและ เกษตรกร

November-December 2019

P.41-43_Interview.indd 43

11/26/62 BE 11:30 AM


Article > ทาเลส

ประเทศไทยพัฒนาความปลอดภัย

ของระบบรางในสถานีรถไฟ 48 แหง ดวยเทคโนโลยีของทาเลส (Thales)

ทาเลส (Thales) ไดจับมือกับบริษัท ริเวอร เอนจิเนียริ่ง (River Engineering) เพื่อดําเนินการออกแบบ สงมอบ และติดตั้งระบบควบคุมรถไฟของยุโรป (ETCS) ระบบป อ งกั น ความปลอดภั ย อั ต โนมั ติ ข องรถไฟ ระดับ 1 บนเสนทางรถไฟ 4 ชวงสําหรับสถานีรถไฟ 48 แหงรอบๆ กรุงเทพฯ จากการเซ็นสัญญากับการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ทาเลสและริเวอร เอนจิเนียริ่ง ซึ่งเปนบริษัทพันธมิตรในกลุมบริษัทของทาเลสไดรับสัญญาบริการ สนับสนุนการฟนฟูอุตสาหกรรมรถไฟของประเทศไทยดวยการออกแบบ จัดหา ในฐานะที่เปนผูประกอบการสําคัญรายหนึ่งใน และติดตั้ง ETCS ระดับ 1 ในเครือขายรถไฟ 4 ชวง ของ รฟท. (สายเหนือ อุตสาหกรรมการคมนาคมของประเทศไทย ทาเลส สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายตะวันออก และสายใต) ซึ่งคาดวาโครงการนี้จะใช นําเสนอเทคโนโลยี ETCS เปนครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2560 เวลาดําเนินการ 2 ป และจะชวยสนับสนุน รฟท. ในการปรับปรุงเครือขายรถไฟ สําหรับทางรถไฟสายตะวันออกของประเทศไทย ตาม ใหทันสมัยดวยการใช ETCS ซึ่งเปนระบบมาตรฐานในการปองกันและควบคุม มาดวยรถไฟชานเมืองสายสีแดงของกรุงเทพมหานคร ความปลอดภัยอัตโนมัติของรถไฟ (ATP) และเปนผูใหบริการระบบบัตรโดยสารสําหรับรถไฟฟา โครงการระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณจะครอบคลุมสถานีรถไฟ 48 แหง จากลพบุรี สายสีน้ําเงินสวนตอขยาย ทางทิศเหนือลงใตไปถึงนครปฐม และถึงมาบกะเบาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ การรถไฟแห ง ประเทศไทย (รฟท.) กํ า ลั ง การติ ด ตั้ ง ระบบ ETCS ระดั บ 1 ช ว งระยะทางยาวที่ สุ ด จะเป น การติ ด ตั้ ง ที่ เดินหนาในการปรับปรุงเครือขายรถไฟของประเทศ ครอบคลุมสถานีรถไฟ 21 แหง จากสถานีหัวหมากจนถึงสถานีแหลมฉบัง ซึ่ง ใหทนั สมัย โดยมีแผนการลงทุนเพือ่ พัฒนารถไฟในรัศมี จะชวยใหผูโดยสารสามารถเดินทางไปยังชายแดนไทยฝงตะวันออกไดอยาง 500 กิโลเมตร รอบๆ กรุงเทพมหานครใหเปนระบบ มีประสิทธิภาพและปลอดภัย ไฟฟา เฟสแรกของการปรับปรุงใหทันสมัยนี้คือการ ในชวงไมกี่ปที่ผานมานี้ ทาเลสไดแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยี เปลี่ยนระบบอาณัติสัญญาณเปนระบบควบคุมรถไฟ ของทาเลสในอุตสาหกรรมการคมนาคม เชน ระบบเก็บคาโดยสารอัตโนมัติ ของยุโรป (ETCS) ระดับ 1 ซึ่งเปนระบบมาตรฐานของ และบริการซอมบํารุงรถไฟฟาสายสีน้ําเงินสวนตอขยายของกรุงเทพมหานคร ยุโรปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อถือไดใหกับ และนี่เปนเพียงเฟสแรกที่เพิ่งเริ่มตนอยางเปนทางการในเดือนกรกฎาคมของปนี้ เครือขายรถไฟไทย ทาเลสไดนําเทคโนโลยี ETCS เขามาในประเทศไทยเมื่อป พ.ศ. 2560 เพื่อใชกับ

November-December 2019

P.44-45_Tales.indd 44

11/26/62 BE 11:31 AM


Thales โครงการรถไฟรางคู (104 กิโลเมตร จาก ฉะเชิงเทราถึงคลองสิบเกาและแกงคอย) ตอมา ในป พ.ศ. 2561 ชื่ อ เสี ย งของเทคโนโลยี ETCS ของทาเลสได รั บ การยื น ยั น อี ก ครั้ ง ด ว ยการได รั บ สั ญ ญา ให ดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี ดั ง กล า วกั บ รถไฟสายสี แ ดงของ กรุงเทพมหานครในระยะทาง 41 กิโลเมตร ซึ่งคาดวาจะใหบริการ กับผูโดยสารมากกวา 130,000 คนตอวัน การทําสัญญาฉบับลาสุด กับการรถไฟแหงประเทศไทย เปนการยืนยันถึงความเปนผูนําของ บริษัทในดานระบบอาณัติสัญญาณในประเทศไทย ระบบ ETCS ระดับ 1 จะชวยยกระดับความปลอดภัยใหการ ขนสงระบบรางในประเทศไทยสูมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด เดิมทีเทคโนโลยีนี้พัฒนาขึ้นมาเพื่อสงเสริมระบบการใชงานรวมกัน กั บ เครื อ ข า ยรถไฟของยุ โรป ต อ มาระบบนี้ ไ ด ถู ก นํ า ไปใช อ ย า ง แพรหลายในการรถไฟตางๆ ทั่วโลก ETCS จะคํานวณความเร็ว สูงสุดที่ปลอดภัยสําหรับรถไฟแตละคันอยางตอเนื่อง โดยมีระบบ อาณัตสิ ญ ั ญาณเตือนในหองพนักงานขับรถไฟและระบบออนบอรด ที่จะทําการบังคับรถไฟหากความเร็วเกินกวาอัตราที่ปลอดภัย การ ปรับใชเทคโนโลยี ETCS ระดับ 1 นั้นสามารถนําไปปรับใชกับระบบ อาณัตสิ ญ ั ญาณทีม่ อี ยูเ ดิมในประเทศไดอยางงายดายและจะรบกวน การดําเนินการเพียงเล็กนอยเทานั้น และกลาวกันวาจะสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพของเครือขายที่มีอยูไดถึง 40% มาสสิโม มารินซี ผูอ าํ นวยการประจําประเทศไทยของทาเลส กลาววา “ในสวนของระบบอาณัติสัญญาณเสนทางหลัก ระบบ เทคโนโลยีของทาเลสใชใน 38 ประเทศ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ วา 17,000 กิโลเมตร อีกทั้งยังสนับสนุนวิสัยทัศนคมนาคมรวมเปนหนึ่งของ ประเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงครว มกันซึง่ ก็คอื การเชือ่ มตอเครือขาย ในประเทศและชวยใหผูเดินทางสามารถเดินทางไดอยางสะดวก ในฐานะผูบุกเบิกเทคโนโลยี ETCS ในประเทศไทย โครงการนี้ ช ว ยให เ รามี ส ว นร ว มมากขึ้ น ในอุ ต สาหกรรมคมนาคม และทํ า ให เราเป น พั น ธมิ ต รแนวหน า ของการรถไฟ แหงประเทศไทยในดานระบบเครือขายรถไฟ

สายหลักและระบบอาณัติสัญญาณ เรามีความยินดีอยางยิ่งที่จะได รวมงานกับริเวอร เอนจิเนียริ่งพันธมิตรของเราในการปรับปรุง เครือขายรถไฟไทยใหทันสมัยเพื่ออนาคต” ทาเลส คื อ ผู นํ า ด า นเทคโนโลยี ร ะดั บ โลกที่ ส ร า งโลกแห ง อนาคตในวันนี้ กลุมบริษัทของเราใหบริการโซลูชัน บริการ และ ผลิตภัณฑตางๆ ใหแกลูกคาในกลุมอุตสาหกรรมดานอากาศยาน และอวกาศ การขนสง ตัวตนดิจิทัลและการรักษาความปลอดภัย และความมั่นคง ดวยพนักงาน 80,000 คน ใน 68 ประเทศ ทาเลส มียอดขายถึง 19 พันลานยูโร ในป ค.ศ. 2018 (ตามการประเมิน รวมกับเจมัลโต (Gamalto) ทาเลสเนนการลงทุนในดานนวัตกรรมดิจิทัล การเชื่อมตอ ขอมูลขนาดใหญ ปญญาประดิษฐ และการรักษาความปลอดภัย ไซเบอร ซึ่งลวนเปนเทคโนโลยีที่ชวยสนับสนุนบริษัท องคกร และ รัฐบาลในการตัดสินใจในสถานการณสําคัญ ส ว นทาเลสในประเทศไทยได เ ข า มาดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ประเทศไทยเปนเวลากวา 50 ปแลว ทาเลสในประเทศไทยไดรับ การยอมรั บ ทั้ ง จากฝ า ยพลเรื อ น และฝ า ยความมั่ น คง ทาเลส ได ร ว มงานกั บ พั น ธมิ ต รสํ า คั ญ ในประเทศไทยในด า นการบิ น และอวกาศ ความมั่นคง การขนสง การจัดการจราจรทางอากาศ ตัวตนดิจิทัลและการรักษาความปลอดภัย และอวกาศ ทังนี้ บริษัท มีพนักงานในกรุงเทพฯ ราว 50 คน และไดรบั สถานะเปนบริษทั ทีไ่ ด รับการสงเสริมจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ทั้งนี้เนื่องจากภาครัฐเล็งเห็นถึงความมุงมั่นของกลุมบริษัทในการ ลงทุนในประเทศและการพัฒนาฝมือและความเชี่ยวชาญใหกับ แรงงานในทองถิ่น

November-December 2019

P.44-45_Tales.indd 45

11/26/62 BE 11:31 AM


Article

> ยูนิเวอรซัล โรบอทส

ยูนิเวอรซัล โรบอทส ผูนําดานเทคโนโลยีและ การผลิตหุนยนตที่มีความนาเชื่อถือระดับโลก สนับสนุนและใหความชวยเหลือ บริษัท Vinacomin Motor Industry Joint Stock Company (VMIC) ประเทศเวียดนาม บริษทั ในเครือของกลุม Vinacomin กลุมยักษใหญดานการขุดเจาะ ถานหิน ซึ่งมั่นใจวาในอนาคต จะใช หุ น ยนต Cobot ร ว มใน กระบวนการผลิตอยางแนนอน ถือวาบริษัท VMIC เปนหนึ่งใน บริษทั รายแรกทีน่ าํ Cobot มาใช ในกระบวนการผลิต และทําให มีกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ถึง 2-3 เทา อี ก ทั้ ง ยั ง เพิ่ ม คุ ณ ภาพในผลผลิ ต อีกดวย ทําใหมียอดสั่งซื้อเพิ่มขึ้นถึง 50-60%

อนาคตกระบวนการผลิต

จำเปนตองใช

หุนยนต

มร.ดารเรล อดัมส

มากขึ้น

มร.ดาร เรล อดั ม ส ผู อํ า นวยการภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต แ ละ โอเชียเนีย กลาววา “การใหบริการ Cobot แกธุรกิจในประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบกระบวนการผลิต ซึ่งทําใหเกิดประโยชนมหาศาล และที่สําคัญสามารถแขงขันในตลาดได เปนอยางดี บริษทั VIMC ถือเปนตัวอยางทีด่ แี ละเห็นชัด ทีใ่ ชระบบอัตโนมัติ ควบคูไปกับระบบเกา ซึ่งผลที่ไดทําใหเกิดผลผลิตที่ดีและมีกําลังในการผลิต สูงขึน้ อีกดวย ซึง่ ยูนเิ วอรซลั โรบอทส ในฐานะเปนผูน าํ ดานเทคโนโลยี Cobot ได เข า มาในประเทศไทยและได เร ง การปรั บ เปลี่ ย นการผลิ ต สู ก ารผลิ ต อั น ชาญฉลาดมากขึ้น โดยมีบริษัทจํานวนมากที่กําลังเติบโตไปอยางยั่งยืนไปกับเรา อยางไรก็ตาม ธุรกิจเหลานี้ตางก็ไดประสบการณจากการใช Cobot ในการผลิต และทําใหมีผลผลิตที่ดีขึ้น เปนการยืนยันไดดีวาการใช Cobot นั้นเปนที่ยอมรับ ในวงกวางมากขึ้น เพราะบริษัทตางๆ ไดตระหนักถึงศักยภาพอันมหาศาลของ ระบบอัตโนมัตนิ จี้ ริงๆ ทัง้ นีร้ ะบบ Cobot ไดนาํ ไปใชในธุรกิจตางๆ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมสิ่งทอ เวชภัณฑ รองเทา และ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร เปนตน”

November-December 2019

P.46-47_Universal Robot.indd 46

11/26/62 BE 11:32 AM


อัตราการเติบโตของการใชงานหุนยนต ในประเทศไทย

การใชงานหุนยนตในประเทศไทยกําลังเติบโตอยางตอเนื่อง จากข อ มู ล ของสหพั น ธ หุ น ยนต น านาชาติ หรื อ International Federation of Robotics รายงานวา ประเทศไทยมีการใชงาน หุนยนตจัดเปนอันดับที่ 7 ในเอเชีย และอันดับที่ 11 ของโลก โดย เมื่อปที่ผานมา ประเทศไทยไดลงทะเบียนหุนยนตจํานวน 32,300 ตัว ซึ่งเพิ่มขึ้น 7% จากจํานวน 30,110 ตัว เมื่อป พ.ศ. 2560 โดย อุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารใช ง านหุ น ยนต ม ากที่ สุ ด คื อ อุ ต สาหกรรม ยานยนต คิดเปน 35% ของการใชงานหุนยนตทั้งหมด รองลงมา เปนอุตสาหกรรมยาง และอุตสาหกรรมพลาสติก คิดเปน 19%1 ทั้งนี้ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตการใชงานหุนยนต กําลังเติบโตอยางรวดเร็ว ประกอบดวย ไทย สิงคโปร เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งไดรับการจัดอันดับใหเปน 30 ตลาด ใหญทสี่ ดุ ของการใชงานหุน ยนตทงั้ หมด 87,100 ตัว โดยอุตสาหกรรม ไฟฟ า และอุ ต สาหกรรมยานยนต ยั ง คงใช ง านหุ น ยนต ม ากที่ สุ ด ในภูมิภาค2

มร.พาม ชวน พี ประธานเจาหนาที่บริหาร VMIC กลาววา “ตั้งแตเริ่มใชหุนยนต Cobot ผลผลิตของเราเพิ่มสูงขึ้น 2-3 เทา และคุณภาพของผลิตก็มีความดีคงที่ ทําใหมีจํานวนยอดการสั่งซื้อ เพิม่ ขึน้ ถึง 50-60% และแนนอนทําใหรายไดของพนักงานเพิม่ สูงขึน้ เชนกัน สวนของผลตอบแทนการลงทุนในประเทศเวียดนามในการ ลงทุนหุนยนตดังกลาวจะอยูที่ระหวาง 6-8 ป แตเราคาดวาจะทําได ภายใน 1-2 ปเทานั้น โดยการทํางานรวมกับ Cobot UR10 นั้น จะใช พ นั ก งานจํ า นวนน อ ยในไลน ก ารผลิ ต ทํ า ให เราสามารถ มอบหมายงานทีม่ รี ะดับสูงกวาได เพิม่ ความพึงพอใจใหกบั พนักงาน และลดความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุในการทํางานอีกดวย” ทั้งนี้ VMIC ไดตั้งเปาที่จะเพิ่มจํานวน Cobot เปน 3-5 ตัว ในอีกไมกี่ปขางหนา เพื่อปฏิบัติการในกระบวนการผลิตของโรงงาน ตางๆ ของบริษัท

การใชงาน Cobot UR10 ที่บริษัท VMIC

VMIC ไดประสานงานกับบริษัท Vnstar Automation JSC (Vnstar) ซึง่ เปนพันธมิตรของ Servo Dynamics Engineering (Servo) ซึ่งเปนบริษัทจัดจําหนายยูนิเวอรซัล โรบอทส ในประเทศเวียดนาม เพื่อดําเนินการนําระบบหุนยนตอัตโนมัติมาใชในกระบวนการผลิต อนึ่ง ยูนิเวอรซัล โรบอทส กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2548 เพื่อ พัฒนาเทคโนโลยีหุนยนตใหเขาถึงได โดยการพัฒนาใหมีขนาดเล็ก และใชงานงาย ราคาสมเหตุสมผล มีความยืดหยุน และปลอดภัย ในการทํางาน โดยไดพฒ ั นาหุน ยนต Cobot ครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2553 ทําใหบริษทั ประสบความสําเร็จ มี Cobot ทีใ่ ชงานงาย ซึง่ บริษทั เปน บริษัทในเครือ Teradyne Inc ที่มีสํานักงานใหญอยูที่เมืองโอเดนซ ประเทศเดนมารก และมีสาขาในประเทศสหรัฐอเมริกา เยอรมนี สเปน อิตาลี สาธารณรัฐเช็ก โปแลนด ฮังการี โรมาเนีย รัสเซีย ตุรกี จีน อินเดีย สิงคโปร ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน และเม็กซิโก เมื่อป พ.ศ. 2561 ยูนิเวอรซัล โรบอทส มีรายได 234 ลานเหรียญสหรัฐฯ 1 IFR 2

World Robotics Report 2019 IFR World Robotics Report 2019 November-December 2019

P.46-47_Universal Robot.indd 47

11/26/62 BE 11:32 AM


Article

> เจมส เทยเลอร ผูจัดการทั่วไปของออนโรบอท เอเชียแปซิฟก

การกาวสูแนวคิด

วิทยาการหุนยนต

เพื่อการทำงานรวมกับมนุษย

เครื่องมือในหุนยนตที่ชาญฉลาดและอเนกประสงคมากขึ้น หรือที่เรียกวาระบบแขนกล (End-of-arm tooling - EOAT) ซึง่ มีทง้ั เซ็นเซอร ตัวจับยึด และตัวเปลีย่ นตําแหนงทีร่ วดเร็ว ชวยให หุน ยนตสามารถทํางานซ้าํ ๆ ปรับเปลีย่ นเพือ่ รองรับการทํางานทีห่ ลากหลาย มีความแมนยํา และ ทํางานไดอยางชาญฉลาดขึ้นกวาในอดีต ซึ่งงานนั้นอาจเคยซับซอนเกินกวาจะตั้งคาใหหุนยนต ทํางานแบบอัตโนมัติได หากสิง่ สําคัญยิง่ กวาก็คอื เครือ่ งมืออันล้าํ สมัยเหลานีเ้ อือ้ ใหเกิดการ ทํางานรวมกัน โดยทัง้ มนุษยและหุน ยนตสามารถทํางานเคียงขางกัน ไดอยางปลอดภัย เนื่องจากคุณสมบัติที่เปนมิตรกับผูใชงาน การตั้งโปรแกรมที่งายดาย และฟเจอรความปลอดภัยของ หุน ยนตทตี่ ดิ ตัง้ มาในระบบแขนกล (EOAT-fitted Robots)

สิงคโปรและเอเชียตะวันออกเฉียงใต

สิงคโปรและประเทศสวนใหญในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความกระตือรือรนเรื่องเทคโนโลยีหุนยนตมาก โดยรายงานฉบับลาสุด ระบุวา สิงคโปรคือหนึ่งในผูนําระดับโลกดานการใชงานหุนยนต โดยมีการติดตั้งเทคโนโลยีหุนยนต 658 หนวยตอพนักงาน 10,000 คน ซึ่งเปนอัตราสูงสุดอันดับสอง เมื่อพิจารณาจากการจัดอันดับอัตราการใชงานหุนยนตซึ่งประเมินจากทั่วโลก ประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตติดถึง 6 อันดับ จาก 7 อันดับแรก การใชงานหุนยนตที่เพิ่มสูงขึ้นในตลาดเกิดใหมไดชวยกระตุนความตองการดานการจัดสรรฟเจอรเครื่องมือทํางาน สมัยใหม แนวโนมนี้ยังชวยเพิ่มการใชงานระบบแขนกล EOAT ไดอยางมีนัยสําคัญ โดยขอมูลของ QYResearch ระบุวา ตลาดระบบแขนกลในหุนยนตทั่วโลก ซึ่งมีมูลคาถึง 1,580 ลานดอลลาร ในป ค.ศ. 2018 คาดการณวาจะพุงขึ้นไปถึง 2,740 ลานดอลลาร ภายในสิ้นป ค.ศ. 2025

การใหความสำคัญกับระบบแขนกลกอนตัวหุนยนต

ดวยความล้าํ หนาทางเทคโนโลยี ระบบแขนกล EOAT จึงมีความซับซอนและความสามารถในการทํางาน ที่มากกวา ทําใหประเด็นเรื่องวิธีการใชงานหุนยนตและควรติดตั้งอุปกรณชนิดใดและใชงานรูปแบบใดจะดี ที่สุด กลายเปนองคประกอบสําคัญมากกวาเทคโนโลยีหุนยนตเพียงอยางเดียว โดยในชวง 5 ปที่ผานมา หุนยนตไดถูกนําไปใชงานในหลากหลายสาขามากกวาในอดีตกอนหนานั้น เนื่องจากในปจจุบันระบบ แขนกลเหลานี้สามารถทํางานไดดีกวาและใชงานในสภาวะแวดลอมเฉพาะแบบไดมากกวา November-December 2019

P.48-49_Article On Robot.indd 48

11/26/62 BE 11:32 AM


นอกจากจะสามารถรับมือกับความหลากหลายทัง้ ในแงขนาด น้าํ หนัก และรูปรางของผลิตภัณฑ ระบบแขนกล EOAT ยังสามารถ จัดสรรขั้นตอนการทํางานมากมายไดในครั้งเดียว และเนื่องจาก ระบบแขนกล EOAT ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของหุ น ยนต แ ละ แนวโนมนี้กําลังแพรหลายไปทั่วอุตสาหกรรมการผลิต ในไมชาเรา จะไดเห็นหุนยนตกลายเปนสินคาโภคภัณฑ โดยชนิดของหุนยนต จะไมสําคัญเทากับระบบแขนกล EOAT ที่ติดตั้งสําหรับงานนั้นๆ และเนื่องจากมีผูเลนจํานวนมากขึ้นที่กระโจนเขาสูตลาดนี้ และนําเสนอโซลูชันที่ล้ําหนาในราคาที่ถูกลง บรรดาผูผลิตจึงตอง ใสใจวา “ยิ่งเครื่องมือเยอะขึ้น ก็ยิ่งทํางานไดมากขึ้น” มากกวา “ยิ่งมีหุนยนตเยอะขึ้น ก็ยิ่งทํางานไดมากขึ้น” ระบบแขนกล EOAT กํ า ลั ง ขยายขอบเขตการใช ง านใน อุตสาหกรรม โดยสามารถติดตั้งในหุนยนตหรือโคบอต (Collaborative Robot - หุนยนตที่ทํางานรวมกับมนุษย) เพื่อทําให หุนเหลานั้นฉลาดขึ้น มีปฏิกิริยาตอบสนองดีขึ้น และทํางานได อยางอิสระมากขึน้ ซึง่ จะชวยใหผผู ลิตสามารถบรรลุเปาหมายดาน การผลิตไดกวางขึน้ นับตัง้ แตเพิม่ ความยืดหยุน และการตอบสนอง ที่ดีขึ้น สูการเปลี่ยนแปลงตลาดและการเติมเต็มความตองการ ของลูกคา ไปจนถึงการเรงความเร็วของการสรางสรรคนวัตกรรม ในภาพรวม ดังนั้น ผูผลิตจึงจําเปนตองใสใจรูปแบบของการใช เครื่องมือที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการทํางานเฉพาะแบบ กอนการ จัดสรรกําลังหุนยนต

การเพิ่มผลตอบแทนจากการลงทุน

ความสามารถของหุนยนตในการรับมือกับงานอุตสาหกรรมได เพิ่มมากขึ้น เกิดจากการใชระบบแขนกล EOAT ที่ทําใหผูผลิตสามารถ เก็บเกี่ยวผลตอบแทนจากการลงทุนไดรวดเร็วขึ้น สิ่งเหลานี้เกิดขึ้น เนื่องจากมันถูกนํามาจัดสรรไดอยางยืดหยุนและงายดาย ซึ่งทําให ผูผลิตสามารถปรับเปลี่ยนการทํางานไดหลากหลาย โดยจําเปนตอง ตั้งคาโปรแกรมเพิ่มเติมหรือสับเปลี่ยนเครื่องมือแคเพียงเล็กนอย เทานั้น เครือ่ งมือในหุน ยนตยงั ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต เนือ่ งจาก มันสามารถทํางานไดอยางแมนยําและเชื่อถือไดมากกวา คุณสมบัติ ที่ปลอดภัย ทํางานรวมกับมนุษยได และชาญฉลาดของระบบแขนกล EOAT ยังชวยลดตนทุนของระบบอัตโนมัติ เนื่องจากคนงานสามารถ ทํางานรวมกับมันไดโดยไมตองมีการติดตั้งรั้วกั้นเพื่อความปลอดภัย การตั้งคาโปรแกรมที่ซับซอน หรือตนทุนการติดตั้งเพิ่มเติมใดๆ

อนาคตคือการทำงานรวมกันของมนุษยและหุน ยนต

เมื่อรุงอรุณแหงการใชเครื่องมืออันชาญฉลาดและปรับเปลี่ยน รูปแบบไดมาถึง หุนยนตในวันนี้จึงสามารถทํางานไดอยางดีเยี่ยม รวดเร็ว แข็งแรง ปลอดภัย และแมนยํามากขึ้น ทําใหบรรลุผลสําเร็จ ในงานหลากหลายรูปแบบ และชวยใหผผู ลิตสามารถสรางผลตอบแทน จากการลงทุนไดสูงสุด

วิวัฒนาการของระบบแขนกล EOAT

มีเครื่องมือมากมายที่ชวยใหผูผลิตสามารถบรรลุเปาหมายดานการผลิตของตนได ยกตัวอยาง เชน เครื่องมือจับยึดรุน RG2 และ RG6 ของ OnRobot ซึ่งสามารถจับยึดผลิตภัณฑไดหลากหลาย ขนาด รูปราง และวัสดุ จึงสามารถนําไปใชในการทํางานตางๆ ได ทั้งการยื่น หยิบ และวาง เครื่องจักร ไปจนถึงการบรรจุหีบหอและการจัดวางสินคาบนแทนวาง และการประกอบชิ้นสวน เขาดวยกัน เครื่องมือจับยึดเหลานี้ยังสามารถติดตั้งไดงายและมอบประสิทธิภาพการผลิต ที่ยืดหยุน โดยมีชวงเวลาการหยุดชะงักของการผลิตที่ต่ํากวา ทั้งยังคุมคาและสามารถ รับมือกับขั้นตอนการทํางานที่แตกตางกันอยางมากได โดยเมื่อติดตั้งเครื่องมือจับยึด แบบคู เซ็นเซอรตรวจวัดแรง และปญญาประดิษฐ หุนยนตก็จะสามารถทํางานที่ ซับซอนได ซึ่งแตกตางจากเมื่อกอนที่ทําไดเพียงงานระดับพื้นฐานเทานั้น นวัตกรรมในวงการแขนกล EOAT กําลังพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ยกตัวอยาง เชน นักวิทยาศาสตรของมหาวิทยาลัย Nanyang Technological University (NTU) ในสิงคโปรกาํ ลังคนหาวิธกี ารผสานปญญาประดิษฐเขากับเครือ่ งมือ จับยึดและเซ็นเซอร เพื่อใหการโยกยายวัตถุรวดเร็วขึ้นและทํางานได แบบอัตโนมัติมากขึ้น ในขณะที่ตลาดนี้จําเปนตองมีการศึกษาเรื่องประโยชนของระบบ แขนกล EOAT ที่ยั่งยืน หากก็มีตลาด 2-3 ประเทศที่กําลังตระหนักถึง ประโยชนของเทคโนโลยีนี้อยางรวดเร็ว โดยในการสํารวจโดย McKinsey ระบุ วาผูนําธุรกิจกวา 90% ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เห็นดวยวาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหมจะนําไปสูประสิทธิภาพการทํางานที่ดีขึ้นในภาพรวม November-December 2019

P.48-49_Article On Robot.indd 49

11/26/62 BE 11:32 AM


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

รางวัล

Thailand

Energy Awards ประจำป 2562 ฉลองครบรอบ

2 ทศวรรษ

กระทรวงพลังงาน จัดงานมอบรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2562 ฉลองครบรอบ 2 ทศวรรษ ซึ่งตลอด 20 ปที่ผานมาชวยลดการใชพลังงานมูลคากวา 9,300 ลานบาท โดยมีรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน พรอมแนะภาคเอกชน ตองปรับตัวรับทิศทางธุรกิจในอนาคตของโลก ที่ตองสรางกําไรควบคูการ ทําประโยชนเพื่อสังคมและประเทศ จึงจะเติบโตไดอยางยั่งยืน สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี กลาวในงานที่ใหเกียรติ เปนประธานมอบรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2562 วา รางวัล Thailand Energy Awards เปนรางวัลที่สะทอนใหเห็นถึงศักยภาพของ ทุกภาคสวน ในการมุงไปสูทิศทางการเปลี่ยนแปลงดานการใชพลังงาน ของประเทศในอนาคต ซึ่งรัฐบาลใหความสําคัญที่จะสงเสริมใหเกิดการ ตอยอดดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อใหเกิดความมั่นคงในระบบ พลังงาน และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ ตอไปภาคเอกชนจะตองปรับเปลีย่ น ตามทิศทางโลก คือนอกจากจะเนนการสรางรายได ผลกําไรแลว จะตอง ดําเนินธุรกิจควบคูกับการทําประโยชนใหสังคม ประเทศชาติ และโลก จึงจะเปนบริษัทที่เติบโตอยางยั่งยืน ทัง้ นี้ กระทรวงพลังงานไดสง เสริมใหทกุ ภาคสวนทัง้ ภาครัฐและเอกชน มีสว นรวมในการอนุรกั ษพลังงาน และการพัฒนาพลังงานทดแทน ผานการ ประกวด Thailand Energy Awards อยางตอเนื่องตลอด 20 ปที่ผานมา จนถึงปจจุบนั มีจาํ นวนผลงานสงเขาประกวดรวมทัง้ สิน้ 3,465 ผลงาน ไดรบั การคัดเลือกรับรางวัลในสาขาตางๆ จํานวน 951 รางวัล คิดเปนสัดสวน ลดการใชพลังงานมูลคากวา 9,300 ลานบาท สามารถลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดไดกวา 1.9 ลานตัน

November-December 2019

P.50-53_Scoop.indd 50

11/26/62 BE 1:55 PM


ด า น สนธิ รั ต น สนธิ จิ ร วงศ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง พลังงาน กลาววา ที่ผานมาตัวแทนประเทศไทยควารางวัล ASEAN Energy Awards มาไดรวม 211 รางวัล ซึ่งเปนจํานวนสูงสุด และเปน ทีห่ นึง่ ในอาเซียนอยางตอเนือ่ งในชวง 10 ปทผี่ า นมา จนเปนทีย่ อมรับ ของประเทศสมาชิกอาเซียนในการดําเนินนโยบายและเปาหมาย การพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษพลังงานที่มีประสิทธิภาพ ในดานการลดการใชพลังงาน สามารถนําเทคโนโลยีมาผสมผสาน จนเกิดนวัตกรรมใหมที่นําไปสูการสรางความมั่นคงดานพลังงานที่ เห็นผลอยางแทจริง

ในการนี้ ยงยุทธ จันทรโรทัย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดกลาวถึงการจัดงานครั้งนี้วา พพ. ไดจัดพิธีมอบรางวัลเนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ป Thailand Energy Awards อยางยิ่งใหญ ประกอบดวย การแสดงนิทรรศการ นวัตกรรมดานพลังงานจากผูประกอบการและผูไดรับรางวัล Thailand Energy Awards การบรรยายจากวิทยากรผูเชี่ยวชาญดานพลังงาน ทั้งจากไทยและตางประเทศ พิธีมอบรางวัลอันทรงเกียรติ

โดยในป 2562 มีผไู ดรบั รางวัล Thailand Energy Awards ประจํา ป 2562 ทั้งสิ้น 66 รางวัล จาก 5 สาขา ประกอบดวย ดานพลังงาน ทดแทน จํานวน 20 รางวัล ดานอนุรักษพลังงาน จํานวน 25 รางวัล ดานบุคลากร จํานวน 10 รางวัล ดานพลังงานสรางสรรค จํานวน 2 รางวัล ดานผูสงเสริมการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน จํานวน 9 รางวัล จากผูส ง ผลงานทัง้ สิน้ 322 ผลงาน เพิม่ ขึน้ จากปกอ น ที่สงเขาประกวดจํานวน 268 ผลงาน พรอมกันนี้ทาง พพ. ไดคัดเลือกผูชนะการประกวด รางวัล Thailand Energy Awards 2509 เปนผูแทนประเทศไทยเขารวม แขงขัน ASEAN Energy Awards 2019 จํานวน 28 ผลงาน และ สามารถควารางวัลมาได 23 รางวัล โดยมีผลงานที่ไดรับ รางวัลชนะเลิศ ดังนี้

November-December 2019

P.50-53_Scoop.indd 51

11/26/62 BE 1:55 PM


>> ASEAN Renewable Energy Project Awards โครงการที่เชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (On-Grid) On-Grid (National Grid) Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงไฟฟามหาชัย กรีน เพาเวอร : บริษัท ทีพีซี โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) จังหวัดสมุทรสาคร โครงการทีไ่ มเชือ่ มโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off-Grid) Off-Grid (Thermal) Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก โครงการนําไบโอกาซจากระบบบําบัดน้ําเสียมาผลิตไอน้ํา : บริษัท ฟูดแอนดเบฟเวอรเรจ จํากัด จังหวัดสระบุรี โครงการพลังความรอนรวม (Cogeneration) Cogeneration Category ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงไฟฟา ความรอนรวมในโรงงานน้าํ ตาล : บริษทั น้าํ ตาลและออยตะวันออก จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว โครงการเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) Biofuel Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงงานผลิต เอทานอลจากมันสําปะหลัง : บริษัท บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จํากัด จังหวัดฉะเชิงเทรา ●

>> ASEAN Best Practices Awards for Energy Efficient Buildings Awards ประเภทอาคารสรางสรรคเพื่อการอนุรักษพลังงาน New and Existing Building Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา ระยอง : บริษัท ซีพีเอ็น จํากัด จังหวัดระยอง Tropical Building ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก ปกาสัย รีสอรต : บริษทั ตงซัน จํากัด จังหวัดกระบี่ ●

>> ASEAN Best Practice for Green Building Awards ประเภทอาคารเขียว Green Building-Small and Medium ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก อาคาร SCG Health Center : บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ●

>> ASEAN Best Practices Awards for Energy Management in Buildings and Industries ประเภทอาคารควบคุม Large Building Category ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงแรม เจาพระยาปารค : บริษัท ปารคโฮเต็ลแอนดรีสอรท จํากัด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ประเภทโรงงานควบคุม Small and Medium Industry Category ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก บริษทั ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) ศูนยกระจายสินคาควบคุม อุณหภูมิ CDC บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี Special Submission Industry Category ได รั บ รางวั ล ชนะเลิศ ไดแก บริษัท ขาว ซี.พี. จํากัด (โรงงานขาวนครหลวง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ●

>> ดานพลังงานสรางสรรค รางวัลดีเดน ผลงานระบบรีไซเคิลพลังงานจากกระบวนการทดสอบเพาเวอร ซัพพลาย บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) แนวคิด : กระบวนการผลิตเพาเวอรซพั พลายนัน้ ตองมีการทดสอบ การจายไฟฟาของเพาเวอรซัพพลาย หรือที่เรียกวากระบวนการเบิรนอิน (Burn in) โดยตองใชตัวตานทานไฟฟาขนาดใหญจําลองเปนภาระการ ใชงานจริง ในกระบวนการทดสอบนี้พลังงานไฟฟาจะสูญเสียไปในรูปของ พลังงานความรอน ทําใหอุณหภูมิบริเวณตัวตานทานไฟฟาสูงถึง 155 °C ซึ่งเปนภาระใหแกระบบปรับอากาศ ณ บริเวณพื้นที่ทํางาน ดังนั้นบริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จึงมีแนวคิดในการ นําพลังงานที่สูญเสียไปนี้กลับมาใหม ผลงานเดน : บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ไดพัฒนาเทคโนโลยีอินเวอรเตอรที่เปนผลิตภัณฑบริษัทฯ เอง เพื่อใชเปนโหลดอิเล็กทรอนิกสแทนการใชตัวตานทานขนาดใหญ ซึ่ง สามารถนํ า พลั ง งานที่ สู ญ เสี ย โดยเปล า ประโยชน ก ลั บ มาใช ใ หม อ ย า ง มีประสิทธิภาพอีกครั้ง ทําใหสามารถประหยัดพลังงานไดมากกวา 80% นอกจากนี้ยังสามารถลดอุณหภูมิภายในหองทดสอบ สงผลใหลดการใช พลังงานจากระบบปรับอากาศไดอีกดวย ผลที่ไดรับและการขยายผล : ผลที่ไดรับจากการใชเทคโนโลยี อินเวอรเตอรเปนโหลดอิเล็กทรอนิกสแทนการใชตวั ตานทานขนาดใหญพบวา

November-December 2019

P.50-53_Scoop.indd 52

11/26/62 BE 1:55 PM


อุปกรณ

กอนดําเนินโครงการ

หลังดําเนินโครงการ

ผลประหยัด

ระยะเวลาคืนทุน

พลังงานไฟฟาจากการใชเทคโนโลยี อินเวอรเตอรแทนการใชตัว ตานทาน

7,385,490 kWh/y

1,156,680 kWh/y

6,228,810 kWh/y

2.75 ป

เครื่องทําความเย็น

2,994,240 Btu/hr

470,010 Btu/hr

2,524,230 Btu/hr

2.75 ป

บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ได เผยแพรองคความรูแ ละผลทีไ่ ดจากการดําเนินการไปขยายผลยังบริษทั ในกลุม ทัง้ หมด 7 โรงงาน เชน โรงงาน Automotive Plant, CDBU Plant, IMBU Plant, CNBU Plant, DCBU Plant, IPSBU Plant, ICTBG Plant รวมทั้งบริษัทเดลตาในสาขาตางประเทศอีก 4 ประเทศดวยกัน เชน โรงงานเดลตา อีเลคโทรนิคส ที่ประเทศจีน อินเดีย สโลวาเกีย และ ไตหวัน เปนตน ซึ่งหลายบริษัทไดนําไปประยุกตใชและไดผลการ ประหยัดพลังงานเปนที่นาพอใจ >> ดานพลังงานสรางสรรค รางวัลดีเดน ผลงานนวัตกรรมเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงานตูแ ชสนิ คา รานสะดวกซื้อดวยคอมเพรสเซอรแบบปรับความเร็วรอบชนิด มอเตอรไฟฟากระแสตรงไรแปรงถาน บริษัท สยามคอมเพรสเซอร อุตสาหกรรม จํากัด แนวคิด : จากการขยายตัวของสังคมเมือง ทําใหรานสะดวกซื้อ มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น การเพิ่มจํานวนของรานสะดวกซื้อนี้เอง ทําให ความตองการใชตูแชแข็งเพื่อการถนอมอาหารและเครื่องดื่มมีจํานวน เพิ่มมากขึ้นไปดวยอยางตอเนื่อง ดังนั้น บริษัท สยามคอมเพรสเซอร อุตสาหกรรม จํากัด จึงมีแนวคิดในการเพิ่มประสิทธิภาพใชพลังงาน ตูแชสินคารานสะดวกซื้อดวยคอมเพรสเซอรแบบปรับความเร็วรอบ เพื่อลดการใชพลังงานที่เกิดขึ้น ผลงานเดน : บริษัท สยามคอมเพรสเซอร อุตสาหกรรม จํากัด ไดพัฒนาระบบตูแชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดการใชพลังงาน ดังนี้ 1. เปลีย่ นคอมเพรสเซอรชดุ คอนเดนเซอรจากชนิดความเร็วรอบ คงที่ (Fixed Speed) เปนชนิดที่สามารถปรับเปลี่ยนความเร็วรอบ

(Varied Speed) ไดโดยใชคอมเพรสเซอรแบบปรับความเร็วรอบชนิด มอเตอรไฟฟากระแสตรงไรแปรงถาน (Brushless Direct Current (BLDC) Inverter Compressor) การปรับเปลี่ยนดังกลาวทําใหลดการ บํารุงรักษาและสามารถควบคุมไดเทีย่ งตรงเมือ่ เปรียบเทียบกับมอเตอร กระแสสลับแบบใชแปรงถาน สงผลใหระบบสามารถผลิตปริมาณ ความเย็นที่ชุดอีแวปเปอรเรเตอรตองการ สงผลใหลดการสูญเสีย พลั ง งานอั น เนื่ อ งมาจากการผลิ ต ความเย็ น เกิ น ความต อ งการ นอกจากนั้นยังสามารถลดการใชพลังงานไดถึง 20% 2. พัฒนาระบบควบคุมการทํางานคอมเพรสเซอรชดุ คอนเดนเซอร โดยมีการควบคุมการผลิตความเย็นของชุดอีแวปเปอรเรเตอรดวย เซ็นเซอรควบคุมความเย็นทีจ่ ดุ ตางๆ ทําใหระบบไมตอ งผลิตความเย็น เกินความตองการ จึงสามารถลดการใชพลังงานไดถึง 10% เมื่อ เที ย บกั บ ระบบที่ ไ ม มี ก ารสื่ อ สารกั น ระหว า งชุ ด คอนเดนเซอร แ ละ ชุดอีแวปเปอรเรเตอร 3. พัฒนาระบบการละลายน้าํ แข็งของชุดอีแวปเปอรเรเตอรแบบ ประสิทธิภาพสูงที่สามารถทําความเย็นไปพรอมกัน สงผลใหตูแช ใชพลังงานในการปรับอุณหภูมิใหต่ําลงในระดับที่ตองการ นอยกวา การละลายน้ําแข็งดวยวิธีเดิม ผลทีไ่ ดรบั และการขยายผล : จากการพัฒนาระบบตูแ ช สงผล ใหสามารถประหยัดพลังงานได ดังนี้ โดยตั้งแตป 2015 ไดมีการติดตั้งระบบตูแชอัจฉริยะเพื่อใชงาน ทั้งภายในและภายนอกประเทศไทยแลวมากกวา 20,000 เครื่อง และ มีแนวโนมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งในอนาคต เพือ่ ทําใหเกิดการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพในระบบทําความเย็นของรานสะดวกซื้อ

November-December 2019

P.50-53_Scoop.indd 53

11/26/62 BE 1:55 PM


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

เมือ่ เร็วๆ นี้ ดิ อีโคโนมิสต อีเวนส ไดจดั งานประชุม “ปฏิบตั กิ าร นวัตกรรมเพื่อสังคม 2562 (Social Innovation in Action 2019)” โดยเชิญผูนําจากทั่วภูมิภาคเขารวมงาน การประชุมครั้งนี้มีเปาหมาย เพื่อหารือแบบเจาะลึกและหาแนวทางในการแกไขปญหาสังคม และ อนาคตของนวัตกรรมเพื่อสังคมในเอเชีย

ปฏิบัติการ

ดําเนินรอยตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาล ที่ 9 ในการยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งคนทุกชั้นของพีระมิด จะไดมีโอกาสในการสรางสรรคนวัตกรรม และเขาถึงนวัตกรรม อนึ่ง สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ เปนสํานักงานที่เปนผูนํา ในดานนวัตกรรมเพื่อสังคม โดยเริ่มตั้งแตการใหคํานิยาม และการ ทํางานเพือ่ พัฒนาระบบนิเวศทางดานนวัตกรรมเพือ่ สังคม และทํางาน รวมกับกลุมคนที่ทําธุรกิจเพื่อสังคม ประเด็ น ที่ 2 คื อ เราจะพั ฒ นาระบบนิ เวศ เหลานั้นอยางไร และเปนที่มาขององคกรเพื่อสังคม (Social Enterprise) โดยเมื่อไมกี่เดือนที่ผานมา ทาง สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ ไดจัดตั้งกลุม Social Enterprise ซึ่งเปนกลุมองคกรที่พัฒนานวัตกรรม เพื่อสังคม พุงเปาไปที่การสรางนวัตกรรม เพื่อเปน เครือ่ งมือ รวมถึงเปนนวัตกรเพือ่ สังคม เพือ่ แกปญ  หา สังคมในดานตางๆ แตในขณะเดียวกัน องคกรเหลานี้มีการดําเนินการเหมือน องค ก รอื่ น ทั่ ว ไป คื อ มี ร ายได จ าก นวัตกรรมเหลานัน้ สามารถพึง่ พาตัวเอง ได ถ า หากว า เราต อ งการทํ า งานเพื่ อ สังคม ก็ควรจะมีระบบนิเวศนวัตกรรม ที่มุงเนนในการทําเพื่อสังคม ดร.พันธอาจ ชัยรัตน รัฐบาลเปนภาคสวนทีส่ าํ คัญมาก ทีส่ ดุ และนีเ่ ปนสิง่ ทาทาย จะทําอยางไร ใหภาครัฐเปนผูจัดซื้อระบบนวัตกรรมเหลานี้ จะทําอยางไรใหเกิดการ ลงทุนดานองคกรเพื่อสังคม และการทําเกษตรแบบยั่งยืน การสราง ความเจริญใหกับหมูบาน และการบริการการเงินยอย ความท า ทายอั น ดั บ ที่ 3 คื อ การจั ด การกั บ ป ญ หาภั ย พิ บั ติ เชน ปญหาฝุนละอองที่มีคาเกินมาตรฐาน PM 2.5 ปญหาการจัดการ น้าํ ทวม เราจะจัดการอยางไรกับการแกปญ  หาภัยพิบตั ใิ หมปี ระสิทธิภาพ จะทํ า อย า งไรกั บ ป ญ หาเหล า นี้ ควรจะมี ก ลุ ม ที่ พั ฒ นานวั ต กรรม เฉพาะดาน

นวัตกรรมเพื่อสังคม 2019 เพื่อแกไข

ปญหาสังคม

อยางยั่งยืน

การประชุมสุดยอดผูนําในครั้งนี้มีการหารือวา เอเชียสามารถ เป น ผู นํ า ในการใช เ ทคโนโลยี แ ละข อ มู ล มาแก ป ญ หาความท า ทาย ทางสั ง คมที่ มี ม าอย า งยาวนานได ห รื อ ไม โดยมี ไซมอน ค็ อ กซ บรรณาธิการดานตลาดเกิดใหมของ ดิ อีโคโนมิสต (The Economist) และ ชาลส รอส บรรณาธิการบริหาร ผูนําทางความคิดดานเอเชีย ของ ดิ อีโคโนมิสต อินเทลลิเจนซ ยูนิต เปนผูดําเนินรายการ การประชุมในครัง้ นีเ้ ริม่ ตนดวยการอภิปรายถึงวิธกี ารสรางระบบ นิเวศนวัตกรรมเพื่อสังคม โดย ดร.พันธุอาจ ชัยรัตน ผูอํานวยการ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) กลาววา “รัฐบาล ไทยกําลังมองหาวิธีการในการสรางนวัตกรรมเพื่อสังคมอยางเรงดวน เพราะในขณะนีม้ นี กั ลงทุนเพือ่ สังคมในประเทศไทยมีความกระตือรือรน ในการลงทุนโครงการเกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อสังคมมากขึ้น” ดร.พันธอาจ กลาวเพิ่มเติมวา การปฏิบัติการนวัตกรรมเพื่อ สังคมนั้น ขึ้นอยูกับวาเราจะใหคํานิยามและคําจํากัดความระบบนิเวศ นวัตกรรมเพื่อสังคมอยางไร ตัวอยางเชน ประเทศไทย ซึ่งมีวิธีการ นวัตกรรมเพื่อสังคมที่แตกตางออกไปจากประเทศอื่นๆ เพราะได

November-December 2019

P.54-55_Special Scoop.indd 54

11/26/62 BE 11:54 AM


(จากซายไปขวา) ชาลส รอส บรรณาธิการบริหาร ผูนําทางความคิดดานเอเชีย ของ ดิ อีโคโนมิสต อินเทลลิเจนซ ยูนิต (ผูดําเนินรายการ) ดร.พันธุอาจ ชัยรัตน ผูอํานวยการสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) อลิสัน เอสเคอเซน รองประธานฝายเอเชียแปซิฟก ศูนยมาสเตอรการดเพื่อการเติบโตอยางทั่วถึง ดีภัค มิสชรา ผูจัดการโครงการ เวิลดแบงก เจมส ซูคัมนูธ ผูอํานวยการฝายการลงทุนแบบคํานึงผลกระทบเชิงบวก บริษัทอินเวสติงอินวีเมน

ความทาทายอีกประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนนักลงทุนเพื่อ องคกรดานสังคม (Corporate Venture Capital) ในไทยรวมถึงทั่วโลก ซึ่งเปนหนึ่งในองคประกอบของระบบนิเวศเพื่อสังคม ดีภัค มิสชรา ผูจัดการโครงการ เวิลด แบงก กลาววา เมือ่ หลายปทผี่ า นมา ไดมีการใชเทคโนโลยีภาพถายดาวเทียม โดยดูวา บานหลังไหนมีแสงสะทอนจากบน หลังคา (บานคนจนจะเปนบานสังกะสี) หรือหลังไหนไมมแี สงสะทอนในเคนยา ซึง่ จะทําใหเห็นความแตกตางระหวางบาน ดีภัค มิสชรา คนจนกับบานคนรวยไดอยางชัดเจน และ ทํ า ให เราส ง ความช ว ยเหลื อ โดยตรง โดยมอบเงิ น ให บ า นคนจน เหลานั้น นอกจากมีการใชเทคโนโลยีแลว การดําเนินการตางๆ จําเปนตอง อาศัยองคกรมูลนิธิในการเขาไปชวยเหลือ ถาองคกรมูลนิธิเขมแข็ง สังคมก็จะเขมแข็งไปดวย ดังนั้นแลว การปฏิบัติการนวัตกรรมเพื่อ สังคม จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยี องคกรมูลนิธิที่เขมแข็ง และคน สวน อลิสัน เอสเคอเซน รองประธานฝายเอเชียแปซิฟก ศูนยมาสเตอรการดเพื่อการเติบโตอยางทั่วถึง ไดแบงปนประสบการณ เกีย่ วกับความทาทายดานนวัตกรรมเพือ่ สังคม โดยไดกลาววา “การสราง เศรษฐกิจดิจทิ ลั จําเปนตองทํางานรวมกับทุกๆ คน ในทุกๆ ที่ แตความ ไมเทาเทียมกันทางสังคมเปนความทาทายหนึ่งที่ตองเผชิญ” อลิสัน กลาวเพิ่มเติมวา “กอนที่ เราจะพูดถึงในเรื่องของการนําขอมูล หรือเทคโนโลยีไปใชประโยชน อยากให กลับมามองถึงความเปนจริงวา ตอนนี้ สังคมยังไมเทาเทียมกันในหลายดาน เชน ความไมเทาเทียมกันดานรายได ซึ่งจากปจจัยพื้นฐานนี้เองที่ทําใหทาง อลิสัน เอสเคอเซน มาสเตอรการดทําในเรื่องของการให คนสวนใหญสามารถเขาถึงแหลงเงิน ไดงายขึ้น” นอกจากนี้แลว มาสเตอรการดไดกอตั้งมูลนิธิมาสเตอรการด เพื่อชวยเหลือคนในแอฟริกาโดยเฉพาะ ใหพวกเขามีโอกาสมีงานทํา มีอาชีพ โดยเฉพาะกลุมคนรุนใหม ซึ่งเราเชื่อมั่นในศักยภาพของคน เหลานี้

ดาน ปแอร เลอกรองด ประธานเจาหนาที่ บริหารฝายเทคโนโลยี บริษัทไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส กล า วว า 9 ใน 10 ของความท า ทายในการทํ า ดิ จิ ทั ล ทรานสฟอรเมชั่นส และความรับผิดชอบทางสังคม คือ ผูนํา นอกจากนี้แลว ลาเล เคซีบี ผูกอตั้งและประธานเจาหนาที่ บริหาร ฮิวแมนแอทเวิรก กลาววา “องคกรขนาดใหญเปนผู ขับเคลือ่ น ดังนัน้ แลว ไมวา องคกรเหลานัน้ จะตองการหรือไมตอ งการ องคกรเหลานั้นไมมีทางหลีกเลี่ยงในกิจกรรมดานสังคม” อนุจ ชารมา ประธานเจาหนาที่บริหาร พิรามาล วอเตอร ไดกลาววา ปญหาการขาดแคลนน้ําเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งของ คนในอินเดีย บางคนตองเดินทางหลายกิโลเมตรเพื่อเขาถึงแหลงน้ํา การลักลอบใชนา้ํ เปนตน ทางมูลนิธจิ งึ ไดคดิ คนเทคโนโลยีเพือ่ บรรเทา ปญหาในเรื่องนี้ โดยนําเทคโนโลยี สมารทการด และอินเทอรเน็ต ออฟติงส เขามาชวยลดปญหา โดยการใหสมารทการดกับประชาชน เพื่อกดใชน้ําจากแท็งกน้ําที่ตั้งบริการไว และการติดตั้ง IoT จะชวยให สวนกลางสามารถใหสิทธิ์การใชน้ํา รวมถึงตรวจดูการใชน้ําไดแบบ เรียลไทม นอกจากนั้นยังมีการอภิปรายในหัวขอ นวัตกรรมทางสังคม จะชวยลดผลกระทบจากเทคโนโลยีที่สรางความพลิกผันอยางไร เพื่อ ประสานความแตกตางระหวางกลุมที่ใชและไมใชดิจิทัลในหมูแรงงาน โจนาธาน หวอง ผูอํานวยการฝายเทคโนโลยีและนวัตกรรม คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหง เอเชียและแปซิฟก แหงสหประชาชาติ ได ก ล า วว า องค ป ระกอบสํ า คั ญ ใน การสรางเศรษฐกิจใหเติบโตได ตอง ประกอบดวย เทคโนโลยี นักนวัตกร และผู ป ระกอบการ แต อ ย า งไรก็ ดี ปจจุบนั เราจะตองคํานึงถึงการสรางการ โจนาธาน หวอง เติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น คิ ด ถึ ง สภาวะ แวดลอม สําหรับอนาคตขางหนา การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสังคม จําเปนตองอาศัยความรวมมือจากภาครัฐเปนปจจัยสําคัญ ในการวางนโยบายดานสังคม การสรางนวัตกรรมเพือ่ สังคม หมูม าก และการมีผสู นับสนุนเงินทุนเพือ่ สรางนวัตกรรม ออกมา November-December 2019

P.54-55_Special Scoop.indd 55

11/26/62 BE 11:54 AM


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

โรงงานประกอบ

แบตเตอรี่แรงดันสูง

สำหรับรถยนตปลั๊กอินไฮบริด

ของ BMW

บีเอ็มดับเบิลยู กรุป ประเทศไทย เปดตัวโรงงาน ประกอบแบตเตอรีแ่ รงดันสูงในประเทศอยางเปนทางการ ดวยความ รวมมือกับแดร็คเซิลไมเออร กรุป ซึ่งผูนําดานการผลิตชิ้นสวนยานยนต ระดับโลก และเปนพันธมิตรกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป มาตั้งแตป พ.ศ. 2509 โดย โรงงานครอบคลุมในสวนของการประกอบโมดูลแบตเตอรีแ่ ละการประกอบตัวแบตเตอรี่ และไดเริ่มตนสายการประกอบตั้งแตเดือนกรกฎาคมที่ผานมา ซึ่งโรงงานของแดร็คเซิลไมเออร กรุป ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ชลบุรี 2 และนับเปนโรงงานประกอบแบตเตอรี่ แรงดันสูงสําหรับบีเอ็มดับเบิลยู กรุปแหงเดียวในภูมิภาคอาเซียน

มร.อูเว ควาส กรรมการผูจ ดั การ บีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย กล า วว า “หนึ่ ง ในวิ สั ย ทั ศ น ห ลั ก ของบี เ อ็ ม ดั บ เบิ ล ยู กรุ ป คื อ การขั บ เคลื่ อ นสั ง คมไปสู อ นาคตแห ง ยนตรกรรมพลั ง งานไฟฟ า ซึ่ ง บีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย มุง มัน่ ทีจ่ ะบรรลุเปาหมาย นี้เชนกันดวยการเดินหนาสูอีกกาวแหงความสําเร็จครั้งใหญดานกลยุทธ ยานยนตไฟฟา การเริ่มประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงในประเทศจะเปน สวนสําคัญที่ทําใหเราสามารถตอบโจทยความตองการในตลาดรถยนต พลังงานไฟฟาที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังถือ เปนการเสริมความแข็งแกรงใหแกโรงงานบีเอ็มดับเบิลยูในจังหวัดระยอง ซึ่งเปนศูนยกลางการประกอบรถยนตในภูมิภาคนี้ใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น”

มร.แกรฮารด แอรเนสแบรเกอร

มร.อูเว ควาส

ดาน มร.แกรฮารด แอรเนสแบรเกอร ผูอํานวยการโรงงาน แดร็คเซิลไมเออร กรุป ประเทศไทย กลาววา “เรารูสึกเปนเกียรติ อยางยิ่งที่ไดรับความไววางใจใหประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงสําหรับ บีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย ในฐานะผูผลิตชิ้นสวนยานยนตซึ่งไดรับ การยอมรับจากพันธมิตรนานาชาติทั้งในภูมิภาคและในระดับสากล เรามี ป ระสบการณ แ ละความเชี่ ย วชาญในการมอบโซลู ชั น ที่ ล้ํ า สมั ย ใหกบั ผูผ ลิตยานยนตระดับพรีเมียม ไมวา จะเปนดานระบบไฟฟา ระบบ อิเล็กทรอนิกส การออกแบบภายในรถยนต และระบบแบตเตอรี่ ดวย ความสัมพันธอันยาวนานกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป มากวา 53 ป เราจึง ยินดีมากที่ไดตอยอดการเปนพันธมิตรทางธุรกิจกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย”

November-December 2019

P.56-57_Special Scoop.indd 56

11/26/62 BE 11:55 AM


ทั้งนี้ ผูเชี่ยวชาญจากบีเอ็มดับเบิลยู กรุป มิวนิค ไดรวมวางรากฐาน กระบวนการประกอบแบตเตอรีท่ โี่ รงงานแหงใหมของแดร็คเซิลไมเออร กรุป เพือ่ ใหมนั่ ใจวากระบวนการประกอบในประเทศไทยสอดคลองกับมาตรฐาน คุณภาพระดับโลกของบีเอ็มดับเบิลยู กรุป และเพื่อวางรากฐานสําหรับ การพัฒนาอยางตอเนื่องในอนาคต ทั้งนี้ แบตเตอรี่แรงดันสูงเปนอีกหนึ่งองคประกอบที่สําคัญของ รถยนตทขี่ บั เคลือ่ นดวยพลังงานไฟฟา ไมวา จะเปนยานยนตประเภทไฮบริด หรือรถยนตที่ใชพลังงานไฟฟาโดยสมบูรณ ทั้งยังเปนชิ้นสวนที่มีความ ซับซอนและตองใชทักษะเฉพาะดานในการผลิต นับตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 บุคลากรจากแดร็คเซิลไมเออร กรุป ไดเขารวมโปรแกรมอบรม และพัฒนาบุคลากรเพื่อการประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูง ณ โรงงานบีเอ็ม ดับเบิลยู กรุป ในเมืองดิงกอลฟง และโรงงานนํารองการผลิตระบบการ ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟา ซึ่งมีความพรอมแลวสําหรับการประกอบ แบตเตอรี่ที่ตองใชทักษะความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการผลิตที่ล้ําสมัย เพื่อการประกอบแบตเตอรี่อันเปนเทคโนโลยีลาสุด (เจนเนอเรชันที่ 4) เชน การเชื่อมดวยเลเซอร การเตรียมพื้นผิววัสดุดวยพลาสมา วิทยาการ

หุ น ยนต กระบวนการยึ ด ติ ด การตรวจสอบคุ ณ ภาพชิ้ น ส ว น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อั ต โนมั ติ (AOI) การตรวจสอบการทํ า งานของ ระบบไฟฟา และการตรวจสอบคุณภาพเมื่อสิ้นสุดสายการผลิต นอกจากนี้ โปรแกรมการอบรมดังกลาวยังครอบคลุมทักษะในการ ทํางานกับกระบวนการผลิตอัตโนมัติ ซึ่งเปนกระบวนการที่สําคัญ ในการประกอบโมดูลแบตเตอรี่ รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพ โดยรวม การออกแบบกระบวนการและเทคโนโลยี ก ารผลิ ต การปรับปรุงแกไขคุณภาพ และการวิเคราะหกระบวนการผลิต เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การเรี ย นรู แ ละเสริ ม สร า งความเชี่ ย วชาญ ดานการประกอบแบตเตอรี่แลว บุคลากรที่ผานการอบรมขางตน จะไดทํางานกับชิ้นสวนอยางเซลลแบตเตอรี่ที่นําเขาจากผูผลิต ในภูมิภาคเอเชีย พรอมดวยชิ้นสวนแบตเตอรี่นําเขาอีกมากมาย ทั้งโครงอะลูมิเนียม ระบบวงจรอิเล็กทรอนิกสและสายไฟ เพื่อ ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงที่ไดมาตรฐานระดับโลกของบีเอ็ม ดับเบิลยู กรุป และเปนไปตามขอกําหนดดานการใชชิ้นสวนจาก ผู ผ ลิ ต ในประเทศของประเทศไทย เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น กระบวนการ ประกอบแลว แบตเตอรี่แรงดันสูงดังกลาวจะถูกสงไปยังโรงงาน บีเอ็มดับเบิลยูที่ระยอง เพื่อนําไปติดตั้งในรถยนตปลั๊กอินไฮบริด ในตระกูลบีเอ็มดับเบิลยู ซีรี่ส 5 ซึ่งไดเริ่มตนเฟสแรกไปแลวตั้งแต เดือนกรกฎาคมที่ผานมา ตั้งแตป พ.ศ. 2560 เปนตนมา โรงงานบีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง ไดประกอบรถยนตปลั๊กอินไฮบริดมาแลว 4 รุนดวยกันคือ บีเอ็ม ดับเบิลยู 330e บีเอ็มดับเบิลยู 530e บีเอ็มดับเบิลยู X5 xDrive40e และบีเอ็มดับเบิลยู 740Le

ทั้งนี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุป ประเทศไทย ไดรับอนุมัติการ สงเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) สําหรับการลงทุนประกอบรถยนตปลั๊กอินไฮบริดมูลคา 700 ลานบาท ซึ่งบริษัทฯ ไดจัดสรรงบประมาณสวนหนึ่งมารวม ลงทุนกับแดร็คเซิลไมเออร กรุป ประเทศไทย เพื่อพัฒนาโรงงาน ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงที่มีมูลคาการลงทุน 500 ลานบาท ความสําเร็จครั้งนี้จะยกระดับอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศ และแสดงถึงความรวมมืออันดีระหวางภาครัฐและภาคเอกชนทีจ่ ะ ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสูอนาคตแหงยนตรกรรมไฟฟาที่ยั่งยืน ตอไป

November-December 2019

P.56-57_Special Scoop.indd 57

11/26/62 BE 11:55 AM


Special Area > บริษัท เอวีรา จํากัด

November-December 2019

P.58-61_Avera.indd 58

11/26/62 BE 5:13 PM


November-December 2019

P.58-61_Avera.indd 59

11/26/62 BE 5:14 PM


November-December 2019

P.58-61_Avera.indd 60

11/26/62 BE 5:14 PM


November-December 2019

P.58-61_Avera.indd 61

11/26/62 BE 5:14 PM


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

ทางรอด

ของธุรกิจ เทคโนโลยี

กับ

แรงกดดันทางธุรกิจเกิดในทุกป ไมวา จะเปนยอดขาย ลดลง การตัดราคาของคูแขง การผลิตที่ลนเกินกวา การบริโภค ความไมแนนอนของราคาและการเขาถึง วัตถุดบิ สิง่ ตางๆ เหลานีล้ ว นเปนสิง่ ทีย่ ากจะควบคุม หรืออาจจะควบคุมไมไดเลย บริ ษั ท หรื อ กิ จ การที่ ส ามารถดํ า รงอยู อยางมีผลกําไร ตองมีความแข็งแกรงภายใน เปนสิ่งที่สรางขึ้นไดยาก และตองรักษา อยางเหนียวแนน ความแข็งแกรงภายใน https://pixabay.com/photos/internet-cyber-network-finger-3589685/ ไมวาจะเปน 1) มีโมเดลทางธุรกิจที่สามารถดูดซับโอกาสทางธุรกิจไดดี 2) มีความไดเปรียบ เชน เศรษฐศาสตร ภูมิศาสตรที่ตั้ง และมีภาพลักษณที่เลียนแบบไดยาก 3) มีความสามารถในการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงไดดีและรวดเร็ว 4) มีทีมงานที่อุทิศตัวตอองคกรและความมีน้ําหนึ่งใจเดียวกัน หากทานไมมีสิ่งเหลานี้ก็ควรทบทวนแลววา ความแข็งแกรงที่สามารถพัฒนาขึ้นคืออะไร ปจจุบันมีปรากฏการณ Disruption โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิสรัปชัน ซึ่งมันไมใชแคเทคโนโลยีใหม แตมันสงผลตอวิธีคิดและพฤติกรรม การยายหรือปรับเปลี่ยนชองการขาย (Sale Channel) และตําแหนง การขาย (Point of Sale) สงผลอยางมากในเชิงธุรกิจ การรวมตัวของผูซื้อ ไมวาจะเปนผูใชงาน ไมวาจะ ใชสวนตัวหรือใชทางธุรกิจ ผูกผนวกรวมกับการจับกลุมเขากับวีธีคิดและความตองการแบบเดียวกัน การรวมตัวของผูขาย ผูผลิต กลับยังไมเห็นมากนัก อาจเนื่องจากพื้นฐานของการแขงขันเปนปจจัย ตอตาน แตในทัศนะของผูเขียน สิ่งเหลานี้กําลังจะเกิดขึ้น เราสามารถคาดการณอนาคตไดจาก เทคโนโลยีและแนวโนมการใชงาน เชน การผานยุค Internet มาแลวตอยอดมาเปน Social community disruption อื่นๆ เชน Block chain และ VR-AR รวมกับ Human like Robot กําลังกาวเขามาอยางแนนอน

November-December 2019

P.62-63_Special Area Omron.indd 62

12/3/62 BE 10:19 AM


https://pixabay.com/photos/technologydeveloper-continents-3435575/

https://pixabay.com/photos/internetcyber-network-finger-3563638/ https://pixabay.com/photos/internet-cyber-network-finger-3589685/

ในธุรกิจที่เราดํารงอยูคงตองพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ เครื่องจักร ที่ผลิตสินคาไดแตกตางกัน (Variety Products, Small Lot Size) มุงเนนการลดตนทุน และเพิม่ ประสิทธิภาพ การตอบสนองตอผูบ ริโภคทีม่ คี วามเปนปจเจกมากขึน้ (Individualism) ระบบการผลิตที่เชื่อมโยงกับระบบการบริหารการผลิต (Manufacturing Execution System) และระบบการจัดการทรัพยากร (Enterprise Resource Planning) จะสามารถตอบรับและยืนยัน ขอมูลการผลิตหลังจากลูกคาทําการยืนยันความตองการแบบทันที หรือการรับมือกับขอผิดพลาด จากการผลิต หรือการปรับปรุงคุณภาพดวยระบบบันทึกขอมูลการผลิตอยางมีโครงสราง (Cyber Physical System) เพื่อสนับสนุนฐานการใชงานอยางการสอบยอน (Traceability) หรือการวัดผล ในระบบ IoT เชน การดูประสิทธิภาพรวม (Overall Equipment Efficiency ) ทั้งหมดนี้จะเปนกลไกสําคัญ ที่จะตัดสินการดํารงอยูในอนาคต การลดตนทุนดวยการใชหนุ ยนต การลดของเสีย แนนอนวามีความสําคัญและสวนลดโดยตรงตอตนทุน การผลิต แตการมีแคนไี้ มสามารถตอบโจทยการอยูร อดในอนาคต การตอบสนองตอความตองการและรับมือกับ การเปลี่ยนแปลงตางหากที่จะทําใหธุรกิจของทานดํารงอยูในอีก 10 ปหรือ 50 ปขางหนา

November-December 2019

P.62-63_Special Area Omron.indd 63

12/3/62 BE 10:19 AM


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด

Capacitor

Rating ขอมูลสำคัญที่ไมควรมองขาม

Power Capacitor คืออุปกรณปรับปรุงเพาเวอรแฟคเตอร ในระบบไฟฟากําลัง ซึ่งมีหนวยเปน µ F แตเพื่อใหเขาใจงายขึ้น และเพือ่ ใหสอดคลองกับกําลังไฟฟาทีต่ อ งการปรับปรุงคาเพาเวอร แฟคเตอรในระบบ จึงนิยมใชหนวยกันเปน kVAR ซึ่งโดยปกติแลว Nameplate ของคาปาซิเตอรแตละตัวจะมีขนาดเปน µ F และ kVAR กํากับอยูแลว เพื่อใหผูใชงานสามารถเขาใจไดมากขึ้น แตในคาปาซิเตอร บางรุน บางยี่หอ มีพิกัดระบุอยูมากมาย ผูใชงานบางคนอาจเกิดความ สับสนและไมเขาใจรายละเอียดตางๆ ที่อยูที่ Nameplate จึงขออธิบาย รายละเอียดตางๆ บน Nameplate พรอมกับสูตรคํานวณ เพื่อให สามารถเขาใจไดงายขึ้น

ตัวอยาง Nameplate

November-December 2019

P.64-65_Maximize.indd 64

11/26/62 BE 11:57 AM


รายละเอียดตางๆ บน Nameplate มีดังนี้ Model/Part Number แสดงถึงขนาดพิกดั แรงดันใชงานสูงสุด และคากําลังไฟฟา ที่พิกัดแรงดันใชงานสูงสุด จากตัวอยางเปน Multicond Basic UHPC-30.0-525-3P แสดงถึงคาปาซิเตอรที่มีกําลังไฟฟา 30 kVAR และใชงานไดแรงดันสูงสุดที่ 525 โวลต ชนิด 3 เฟส ที่ความถี่ 50 Hz ขนาดค า คาปาซิ แ ตนซ ข องคาปาซิ เ ตอร ตั ว นั้ น จากตั ว อย า ง มี ค า คาปาซิแตนซ CN = 3 x 115.5 µ F ขนาด kVAR ของคาปาซิเตอร QN ที่ความถี่ 50 Hz, QN ที่ความถี่ 60 Hz วิธีคํานวณคา QN โดยใชสูตร QN = Un2 x 2 x π x fn x CN จาก Nameplate ตัวอยาง 525V 2 x 2 x π x 50 x (3 x 115.5 µ F) = 30 kVAR ซึ่งก็จะตรงกับ Nameplate จาก Nameplate ตัวอยาง QN = 400V 2 x 2 x π x 50 x (3 x 115.5 µ F) = 17.4 kVAR ซึ่งก็จะตรงกับ Nameplate จาก Nameplate ตัวอยาง QN = 480V 2 x 2 x π x 60 x (3 x 115.5 µ F) = 30.1 kVAR ซึ่งก็ จะตรงกับ Nameplate จะเห็นวาคา QN นัน้ คํานวณจากคาคาปาซิแตนซคา เดียวกัน เพราะคาปาซิเตอรจะมีคา คาปาซิแตนซ เพียงคาเดียว ดังนั้นเมื่อนําคาปาซิเตอรตัวนี้ไปใชงานที่แรงดันไฟฟาอื่น คา QN ก็จะเปลี่ยนไปตามแรงดัน ไฟฟาที่เราใชงาน เรายังสามารถคํานวณคากําลังไฟฟา (QN) ไดจากสูตร QNew = QN ไดอีกดวย ตัวอยางเชน ตองการหาคากําลังไฟฟาที่แรงดันไฟฟา 400V ที่มาจากคาปาซิเตอร 525V จะเทากับ QNew = 30 = = 17.4 kVAR Ui = 3/- kV หมายถึง ไดทดสอบดวยแรงดันไฟฟาขนาด 3,000 โวลต ที่ขั้วของคาปาซิเตอรแตละเฟส Temp Category -25/D หมายถึง ความสามารถในการทนอุณหภูมิใชงานไดที่อุณหภูมิ -25 oC จนถึง 55 oC ∆ หมายถึง สัญลักษณการตอภายในชนิด DELTA SH หมายถึง ฟลมภายในสามารถซอมแซมตัวเองได (Seal Healing) Dry/Non PCB/Non-SF6 หมายถึง ภายในคาปาซิเตอรบรรจุสารทีเ่ ปนฉนวนชนิดแหง และปลอดภัยตอสิง่ แวดลอม Pressure Sensitive Disconnector หมายถึง ตัดการทํางานดวยแรงดันลมภายในตัวคาปาซิเตอร IEC 60831 -1 (’96) + 2 (’95) หมายถึง มาตรฐานของคาปาซิเตอรทดสอบตามมาตรฐาน IEC 60831-1 (ป 1996) และ IEC 60831-2 (ป 1995) 2.5 kg หมายถึง น้ําหนักของคาปาซิเตอรตัวนี้คือ 2.5 กิโลกรัม CE คือไดมาตรฐานในกลุมประเทศยุโรป Made in Germany หมายถึง ระบุประเทศที่ผลิตจากประเทศเยอรมนี จาก Nameplate คาปาซิเตอรตัวอยางนี้ จะเห็นไดวาคาปาซิเตอรตัวนี้สามารถใชงานสูงสุดไดถึง 525 โวลต โดย จะมีคากําลังไฟฟา QN อยูที่ 30 kVAR แตเมื่อนํามาใชในระบบไฟฟาของเราที่ 400/415 โวลต คากําลังไฟฟาของ คาปาซิเตอรตัวนี้จะลดลงเหลือเพียง 17.4/18.7 kVAR นั่นหมายความวาคาปาซิเตอรตัวนี้จะมีอายุการใชงานที่ ยาวนานขึ้น และมีเสถียรภาพเพิ่มขึ้น แมติดตั้งในโรงงานหรือสถานที่ที่มีฮารโมนิกสสูง แตอาจจะตองใชคาปาซิเตอร จํานวนเพิ่มขึ้น เพื่อใหไดคากําลังไฟฟา QNที่ตองการ ●

● ● ● ● ● ● ●

● ● ●

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอไดที่ บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com www.mit-thailand.com November-December 2019

P.64-65_Maximize.indd 65

11/26/62 BE 11:57 AM


Special Area > TLT-Turbo GmbH

TLT-Turbo

On-site Test Lab Advances

Product Quality

Global ventilation fans and systems manufacturer, TLT-Turbo GmbH, has spent the past five years investing in and equipping its on-site test lab. The test lab now provides streamlined processes for research, advancing product quality and expanded capabilities for material testing. With a focus on particle impact wear testing, the test lab is driving innovation forward at TLT-Turbo as the results help improve product reliability, quality and performance in their final operating environment. Patrick Baumgärtner a Research and Development Engineer – and expert in wear and corrosion protection – at TLT-Turbo, has played an instrumental role in building up the test lab – located at the TLT-Turbo Development Centre in Zweibruecken, Germany – to its current capabilities. Together with Sabine Groh, Industrial Fans Product Manager at TLT-Turbo, they have been spearheading the current research. Currently, the core field of research at the test lab is the testing of new wear-resistant materials and coatings for fan components. Baumgärtner says that the testing takes place in the lab’s solid particle impact wear test bench. There, various types of dust or abrasive particles are blasted onto the test material, varying the angle and speed of the blasting to observe the resulting wear. “We also carry out caking tests in which we select, for example, anti-adhesive layers for our fans, in order to find suitable solutions for customer applications. A further main focus is the analysis of process residues that can have an abrasive or corrosive effect. Here the composition, size distributions, pH value and conductivity in the eluate are determined,” Baumgärtner explains. TLT-Turbo’s approach is to continuously test materials, coatings and components in order to produce fan components that are designed for performance excellence in any operating environment – no matter how abrasive. This testing is applied to current and new products in development but also to samples that are brought in from client sites in order to establish the wear patterns caused by their specific environment. In this way, TLT-Turbo is able to provide each client with a customized solution that will last longer and require less maintenance.

The test lab now offers facilities for metallography, a stereomicroscope, a pycnometer for determining the density of materials and coatings, and an automated solid particle impact wear test bench. “The capabilities of the test lab open a lot of doors for advanced research that will make a positive contribution to the engineering community at large as well,” says Baumgärtner. “Under my supervision, studies and thesis research takes place in the laboratory in cooperation with local colleges and universities. For me, this is the basis for successfully researching and developing new solutions in our field.” According to Groh, the test lab has almost endless possibilities for the improvement of product delivery to clients. “Our customers are often operating TLT-Turbo fans in abrasive and/or corrosive environments. To develop suitable solutions that match the wear resistance against particle impact we use our automated solid particle impact test bench. Compressed air accelerates a defined mass flow of abrasive particles to velocities up to 300 m/s and propels them onto a piece of sample material. This leads to material loss and wear that we can examine. It is even possible to use original dust from a customer’s plant to evaluate the most suitable solution for them. By varying the impact angle we can observe system characteristic wear curves. With this knowledge we can provide customized solutions for many processes.”

November-December 2019

P.66-67_Special Area TLT.indd 66

11/26/62 BE 11:57 AM


These customized solutions can be best illustrated in the selection of coatings. This, says Groh, has an immensely positive impact for TLT-Turbo clients. “If we were to propose a new coating for a customer, the wear rate of the coating would be determined first. That is the main scientific-based decision criteria for wear resistant coatings. If the coating has a superior wear rate compared to other coatings or at least a wear rate that is on par with other coatings and another beneficial quality such as anti-stick effect, corrosive resistance or a cost advantage it will be implemented into TLT´s coating portfolio.” Groh says that they have also conducted tests that have led to the development of completely new proprietary coatings. “During the manufacturing process, coatings were tested to see the influence of welding heat on coating qualities – such as the development of cracks – to ascertain how to avoid damage caused by heat or weld splashes. We conducted research and testing on combining welded coatings and thin layer coating into a Hybrid Coating which can dramatically increase the operational lifespan of TLT-Turbo fans at their clients’ plants.” This is one of numerous examples of how TLT-Turbo’s testing capability can positively impact ventilation systems across all applications. “Due to the broad database of wear tests on various materials and coatings, we are able to offer tailor-made wear protection solutions for various processes of our customers,” Baumgärtner acknowledges. Groh agrees, adding that the wide variety of chemical compositions and coating conditions such as acceleration of coating powder and heat development make it extremely difficult to objectively find the best coating by carrying out testing at a customer plant. “The process of reaching just initial findings in these conditions is very time consuming. In addition to this, there is a broad variety of conditions to contend with at different customer plants that hinder an accurate comparison of different coatings at different plants. If you test different coatings on one machine you might get a rough estimation what coating is superior, however different wear rates of coating cause imbalances in the impeller and vibrations at the fan.” She elaborates by explaining that finding a precise comparative measurement on different coatings is impossible without being able to analyse how the wear rate changes at different angles. “At the test lab we can control the conditions to find precisely what we are looking for in a shorter timeframe. Additionally we are able to replicate the fan’s operating environment. We can run tests using dust collected from the client site while simulating particle speeds that match the client’s environment to precisely simulate wear rates.” In the laboratory environment, the TLT-Turbo team is also able to determine additional coating properties as they have the capability to run additional experiments, e.g. corrosive resistance, anti-stick effect, robustness, heat resistance, suitable application methods, and combination possibilities like hybrid coatings.

The test lab has afforded TLT-Turbo engineers a deeper understanding of the mechanisms behind wear and the effects of specialized solutions. This has led to new approaches in product advancement and development that are grounded in providing solutions that meet market requirements. “The analysis of residues from plants has a great influence on product development as we are making more informed decisions when choosing materials for corrosive and abrasive environments,” says Baumgärtner. This has also had an impact on TLT-Turbo’s aftermarket service offering. The test lab, has allowed for new customer services can be generated, such as the performance of specific tests for customers. “The development of new solutions for specific customer problems is now much faster and more accurate. Also the suitability of low cost approaches or solutions that allow for wear induced damages to be repaired on-site integrate effortlessly into TLT-Turbo’s existing solutions,” Groh concludes. The test lab enables TLT to continuously improve their solution portfolio for different customer problems with a focus on wear. The combination of understanding the client’s exact requirements and challenges and having a tool that allows engineers to find the best solutions from a scientific basis are a key factor for success in the market and play an important role for TLT-Turbo’s on-going product development and quality client delivery.

About TLT-Turbo

TLT-Turbo GmbH builds radial and axial flow fans for virtually any application. First-rate engineering, tradition and progress in air handling technology and a worldwide support network have been the cornerstones of their excellent global renown as a fan and systems manufacturer for more than 140 years. TLT-Turbo GmbH fans and the associated system components are deployed successfully all over the globe. To date over 10,000 fans have already been installed. Their subsidiaries, branches and agencies span the globe including TLT-Turbo offices in Germany, China, Austria, Russia, South Korea, USA, Chile, Hungary, Australia, India and South Africa.

November-December 2019

P.66-67_Special Area TLT.indd 67

11/26/62 BE 11:57 AM

















Movement

ทรู ดิจิทัล พารค เปดตัวอยางยิ่งใหญ พรอมจัดงานสัมมนาเทคโนโลยี T.O.P.2019 ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี ใหเกียรติ เปนประธานเปด ทรู ดิจิทัล พารค พรอมกลาวปาฐกถาพิเศษ ในงานสั ม มนาเทคโนโลยี ค รั้ ง ใหญ แ ห ง ป T.O.P.2019 Togetherness of Possibilities ซึ่งมี พุทธิพงษ ปุณณกันต รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปนผู กลาวเปดงานและปาฐกถาพิเศษในชวงเชา โดย ศุภชัย เจียรวนนท ประธานคณะผูบ ริหารเครือเจริญ โภคภัณฑ และประธานกรรมการ บมจ.ทรู คอรปอเรชั่น พรอม คณะผูบริหารใหการตอนรับ ทรู ดิจิทัล พารค เปนศูนยกลางนวัตกรรมดิจิทัลแหงแรก ในประเทศไทยที่ใหญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนการ รวมมือของเหลาพันธมิตรรวมเติมเต็มระบบนิเวศสมบูรณแบบ ครบวงจรสําหรับสตารทอัพ รวมกันจัดงาน T.O.P.2019 และ ยังไดรับการตอบรับจากสตารทอัพ องคกรชั้นนําทั้งในประเทศ และต า งประเทศ ตลอดจนสื่ อ มวลชนและประชาชนทั่ ว ไป ที่สนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมอยางลนหลาม ■

ซีดีจี จับมือ เทคโนโลยีพระจอมเกลาฯ จัดทําโครงการ Code Their Dreams บริษัท ซีดีจี ผูใหบริการดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบครบวงจร แกองคกรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ภายใต โครงการ “Code Their Dreams” จั บ มื อ คณะครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรม ภาควิ ช าคอมพิ ว เตอร ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จัดทําโครงการ Public Training เปนหลักสูตรการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการ ศึกษา เพื่อรับตลาดแรงงานในอนาคต เนนทักษะโคดดิ้ง ทักษะ ที่ 3 แหงโลกอนาคต 1 ใน 10 ทักษะซึ่งเปนที่ตองการสูงสุด ระดั บ ประเทศและระดั บ โลก มุ ง ถ า ยทอดการเรี ย นการสอน ดานโคดดิ้ง เพื่อการอยูรอดและความสําเร็จในโลกแหงดิจิทัล ใหกับนักเรียน นักศึกษา และครูอาจารย โครงการดั ง กล า วมุ ง เน น ไปที่ ก ารพั ฒ นาการเรี ย นรู ด า น ภาษาคอมพิวเตอรและเตรียมความพรอมเชิงดิจิทัล เพื่อนําไปใช ในการเรียนการสอน และปูความพรอมแกนกั ศึกษาสามารถนําไป ใชในการทํางานจริง เปนการยกระดับการศึกษาไทยพรอมรับ สมรภูมิดิจิทัล ประเดิมโครงการ Code Their Dreams: Public Training ผาน 4 กิจกรรม โดยไดเริ่มจากการเรียนการสอน ตั้งเปา สรางบุคลากรดานโคดดิ้งเพิ่มกวา 1,000 คน ภายในป 2020 ■ November-December 2019

P.83-86_Movement.indd 83

11/26/62 BE 12:01 PM


Movement

ดิจิทัลไทยแลนดบิ๊กแบง 2019 โชวเทคโนโลยีสุดลํา งานดิ จิ ทั ล ไทยแลนด บิ๊ ก แบง 2019 มหกรรมแสดง เทคโนโลยีดิจิทัลระดับนานาชาติสุดยิ่งใหญ จัดโดย สํานักงาน สงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีปา ผูคนใหความสนใจและ เดินทางเขารวมกิจกรรมกันอยางตอเนื่อง ทั้งสถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐ-เอกชน ในประเทศและตางประเทศ เติมเต็ม แนวคิ ด ประสบการณ ดิ จิ ทั ล โดย ดร.กอบศั ก ดิ์ ภู ต ระกู ล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง รวมแสดงปาฐกถา พิเศษ พบการบรรยายโดย Mr.Mike Walsh นักพูดเกี่ยวกับ เทคโนโลยีในอนาคต รวมถึงการเปดกิจกรรมการเรียนรูผาน แพลตฟอรมโคดดิง้ กับเกมหมูปา ซึง่ ไดรบั เกียรติจาก ณรงคศกั ดิ์ โอสถธนากร ผูวาราชการจังหวัดลําปาง กลาวเปดกิจกรรม บรรยากาศการจั ด งาน Digital Thailand Big Bang 2019:ASEAN Connectivity มีผสู นใจเขารวมงานเปนจํานวนมาก เกิดมูลคาการลงทุนในงานคิดเปนมูลคารวมกวา 514 ลานบาท มีมูลคาการเจรจาทางธุรกิจรวมกวา 621 ลานบาท โดยมีผูรวม เจรจาทางการคาในโซน Secutech และ Messe Frankfurt จํานวน 176 ราย เฉลี่ยรายละ 1.24 ลานบาท และการเจรจา ของสตารทอัพ จํานวน 18 ราย รายละ 420,000 บาท ■

ถิรไทย เซ็นรับงานจาก กฟน. ผลิตหมอแปลงจําหนาย เพิ่มศักยภาพธุรกิจ หมอแปลงไฟฟาฝมือคนไทย บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) หรือ TRT ผูนําตลาด หมอแปลงไฟฟาของประเทศ เพิม่ ศักยภาพธุรกิจหมอแปลงไฟฟา ฝมือคนไทย เซ็นรับงานจากการไฟฟานครหลวง หรือ กฟน. ผลิต หมอแปลงจําหนาย ชนิดซีเอสพี (Completely Self Protected Type) มูลคารวมกวา 448 ลานบาท เพือ่ ติดตัง้ ณ อาคารศูนยจา ย หมอแปลงฝายอุปกรณงานจําหนายของ กฟน. ในสถานียอ ยไฟฟา ตางๆ อีกทั้ง สัมพันธ วงษปาน กรรมการผูจัดการ บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) ไดรวมมือกับ 2 บริษัทยักษใหญขามชาติจาก เกาหลี บริษัท ฮโยซอง คอรปอเรชั่น จํากัด เปนผูเชี่ยวชาญ ทางดาน Energy Storage และ GIS (Gas-Insulated Substation) และบริ ษั ท ไฮดี้ เอ็ น เนอร จี เทคโนโลยี จํ า กั ด บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต เซลลลิเธียมไอออนฟอสเฟต ยักษใหญจากประเทศจีน ในการ ทําธุรกิจที่ไมเกี่ยวของกับหมอแปลงไฟฟา ทั้งนี้บริษัทฯ ยังคง เดินหนาประมูลงานทัง้ ภาครัฐ และเอกชนอยางตอเนือ่ ง ในวงเงิน กวา 8,742 ลานบาท คาดวาจะไดรับงาน 20-25% ■ November-December 2019

P.83-86_Movement.indd 84

11/26/62 BE 12:01 PM


สมาคมสงเสริมการรับชวงการผลิตไทย จับมือ เมสเซ ดุสเซลดอรฟ จัดงาน Wire and Tube ป 2019 เกี ย รติ ศั ก ดิ์ จิ ร ะขจรวงศ ประธานสมาคมส ง เสริ ม การรั บ ช ว งการผลิ ต ไทย ร ว มมื อ กั บ มร.เกอร น อท ริ ง ลิ่ ง กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย รวมกัน จั ด งาน “ไวเออร แอนด ทู ป เซ า ท อี ส ท เ อเชี ย 2019” ซึ่ ง เป น มหกรรมรวบรวมสุ ด ยอดเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม การผลิ ต ลวดและท อ ที่ จ ะช ว ยผลั ก ดั น โครงการยกระดั บ อุตสาหกรรมเหล็ก ลวด ทอ อยางครบวงจร และงานในครั้งนี้ จะเปนสวนหนึง่ ของแพลตฟอรมการจัดงานเทรดแฟรครัง้ ยิง่ ใหญ ใหผปู ระกอบการไทยไดเขาถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับสูง จากทั่วโลก งานนี้จะเปนการพัฒนาแรงงานฝมือที่มีทักษะเฉพาะใน แตละอุตสาหกรรม ไดนําเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงจากตางชาติ เพื่อใหเกิดการเรียนรูและปรับใชกับธุรกิจอยางเหมาะสม สราง มูลคาเพิ่มสินคาและบริการ นําไปสูการเขาแขงขันในตลาด อุตสาหกรรมแหงอนาคตทีม่ มี ลู คามหาศาล ถือเปนความทาทาย ของภาครั ฐ ที่ ต อ งผลั ก ดั น ผู ป ระกอบการไทยให มี ศั ก ยภาพ การผลิตที่พรอมแขงขันในตลาดสากล ■

ทีพี-ลิงค เปดตัวเทคโนโลยีใหม Wi-Fi 6 พรอม Router Ax series บริษัท ทีพี-ลิงค เอ็นเตอรไพรส ประเทศไทย จํากัด ผูจัด จําหนายอุปกรณเครือขายระดับโลก จัดงาน TP-Link Next-Gen Wi-Fi Family, Wi-Fi 6 is here เปดตัวเทคโนโลยีใหม Wi-Fi6 พรอมชมสินคา Router Ax series ชวนสัมผัสประสบการณเทคโนโลยีใหม ทีจ่ ะชวยใหการ ทองโลกอินเทอรเน็ตลื่นไหลไมมีสะดุด โดยไดรับเกียรติจาก Mr.Dave Chen Managing Director กลาวเปดตัวเทคโนโลยี Wi-Fi “TP-Link NextGen Wi-Fi Family, Wi-Fi 6 is here” พรอมดวย ปยะวัฒน เข็มเพชร ดีเจ-พิธีกรชื่อดัง รวมพูดคุยเกี่ยวกับเทคโนโลยี Wi-Fi 6 และ ทรงศักดิ์ สังขเวทัย ผูจ ดั การฝายขาย บริษทั ทีพ-ี ลิงค เอ็นเตอรไพรส (ประเทศไทย) จํากัด กลาวถึงคุณสมบัติแตละรุนของ Archer AX series เมื่อวันที่ 27 กันยายน ณ ชั้น 7 โรงแรม Mode Sathorn นอกจากนี้ ทีพี-ลิงค ยังไดมีการเปดตัวเราเตอร AX11000 ซึ่ง ถือไดวาเปนเราเตอรเกมมิ่งที่ทรงพลัง มาพรอมกับฟเจอร Wi-Fi 6 ทั้ง OFDMA , MU-MIMO และ Tri-band ที่สามารถเปดโลกอินเทอรเน็ต โดยกระจายความเร็วไดมากสุดที่ 4804 Mbps และ 1148 Mbps ใหความเร็วรวม Wi-Fi ถึง 11,000 Mbps ตัวเสาใหสัญญาณถึง 3 ชอง บนความถี่ 2.4 GHz ที่ความเร็ว 1148 Mbps และบนคลื่นความถี่ 5 GHz ที่ความเร็ว 4804 Mbps ถึง 2 ชอง ■ November-December 2019

P.83-86_Movement.indd 85

11/26/62 BE 12:01 PM


Movement

อินเตอรลิ้งคฯ ลงนามสัญญากอสราง สายสงเคเบิลใตดิน กฟภ. มูลคา 375 ลบ. สมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการและกรรมการ ผูจัดการใหญ กลุมบริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) พรอมดวย บริษัท ศรีชลธร จํากัด ในนาม “กลุม Consortium ศรีชลธร และ อินเตอรลง้ิ คเพาเวอร” รวมลงนาม สัญญาจางเหมา กับ อนุโลม อุตมะพันธุ รองผูวาการไฟฟา สวนภูมิภาค (กฟภ.) ในโครงการกอสรางสายสงเคเบิลใตดิน ระบบ 115 เควี บริเวณหนาสถานีไฟฟาเชียงใหม 2 จํานวน 4 วงจร และงานกอสรางปรับปรุงระบบจําหนายไฟฟา 22 เควี ชวงลอดใตแมนา้ํ ปง บริเวณสะพานปาตัน จังหวัดเชียงใหม ตาม โครงการพัฒนาระบบสงและจําหนายระยะที่ 1 และโครงการ เพิ่ ม ความเชื่ อ ถื อ ได ข องระบบไฟฟ า ระยะที่ 3 มู ล ค า งาน 375,100,000 บาท โดยมี ประสิทธิ์ชัย วีระยุทธวิไล กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั อินเตอรลงิ้ ค พาวเวอรแอนดเอนจิเนียริง่ จํากัด รวมเปนสักขีพยาน ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด ■

แชรทางลัด ชัดทางรวย ดวย “สายสัญญาณ LINK” เพื่อเปนการขอบคุณลูกคาและกระชับความสัมพันธ อันดี บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ไดจัดงาน แชรทางลัด ชัดทางรวย ดวย “สายสัญญาณ LINK” ภายในงานชวงเชามีการอัปเดตความรูเ รือ่ งเทคโนโลยี สายสัญญาณใหมลาสุดใหแกลูกคาหนาราน และพิเศษดวย ดิ น เนอร ย ามค่ํ า คื น ในบรรยากาศสนุ ก สนาน รั บ วั น ใหม ด ว ยกิ จ กรรมตั ก บาตรทางเรื อ พร อ มล อ งเรื อ ไหว พ ระ ชมทัศนียภาพริมแมน้ําแมกลอง และตบทายดวยกิจกรรม ช็อปปงแบบเต็มอิ่มที่ตลาดน้ําอัมพวา เรียกไดวาพิเศษสุด สํ า หรั บ ลู ก ค า อิ น เตอร ลิ้ ง ค ฯ โดยงานนี้ ไ ด รั บ เกี ย รติ จ าก สมบั ติ อนั น ตรั ม พร ประธานกรรมการและกรรมการ ผู จั ด การใหญ ณ โรงแรมชู ชั ย บุ รี ศรี อั ม พวา จั ง หวั ด สมุทรสงคราม ■ November-December 2019

P.83-86_Movement.indd 86

11/26/62 BE 12:01 PM


P.87-89_Member.indd 87

11/26/62 BE 1:00 PM


P.87-89_Member.indd 88

11/26/62 BE 1:00 PM


P.87-89_Member.indd 89

11/26/62 BE 1:00 PM


November-December 2019

P.90_Index.indd 90

11/26/62 BE 10:20 AM




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.