การพัฒนาระบบสวัสดิการในสังคมไทย

Page 1

การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมไทย นายชินชัย ชี้เจริญ : สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ ……………………………………………………………………………………………………………. การศึกษาวิเคราะห์เรื่ อง “การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่ อศึกษา กรอบแนวคิดทฤษฎีด้านสวัสดิการสังคม พัฒนาการของงานสวัสดิการสังคมในสังคมไทย ข้ อจากัดและ ปั จ จั ยเอื้อ และข้ อ เสนอในการพั ฒนาระบบสวั สดิการสังคม และข้ อเสนอแนะแนวทางการพั ฒนาระบบ สวัสดิการสังคมไทย โดยเปรียบเทียบกับสถานการณ์ปัจจุบันและแนวทางการพัฒนาในอนาคต ผลการศึกษาในส่วนของแนวคิดทฤษฎี จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีด้านสวัสดิการทั้งหมด สามารถก าหนดกรอบแนวคิ ด ทฤษฎี ด้ า นสวั ส ดิ ก ารสั ง คมเพื่ อใช้ ใ นการพั ฒ นาระบบสวั ส ดิ ก ารสั ง คม ได้ ๔ กลุ่ม ได้ แก่ กลุ่มที่ ๑ แนวคิดแบบขวาใหม่ เป็ นการจัดสวัสดิการแบบเก็บตกช่วยเฉพาะเท่าที่ จาเป็ น ถือเป็ นการจัดสวั สดิการสังคมกระแสหลัก รู ปแบบการจัดสวัสดิการเน้นการสงเคราะห์เ ฉพาะหน้า บทบาทของรั ฐมีน้ อ ย ช่ วยเฉพาะที่ จ าเป็ น บทบาทของเอกชน องค์ การการกุ ศ ล โบสถ์ วั ดในการช่ ว ย ผู้ด้อยโอกาสจะมีสูง กลุ่มที่ ๒ แนวคิดแบบทางสายกลาง เป็ นการจัดสวัสดิการแบบเก็บตกแต่ดูแลคน ยากจน ผู้ด้อยโอกาสเป็ นพิเศษ การช่วยเหลือผู้ตกหล่นทางสังคมเป็ นพิเศษ ถือเป็ นการจัดสวัสดิการกระแส หลัก รูปแบบการจัดสวัสดิการเน้นสวัสดิการแบบการประกอบอาชีพ การจัดสวัสดิการจึ งเป็ นไปในรูป ของการสร้างระบบความมั่นคงทางสังคม โดยการช่ วยเหลือทางสังคม การประกันสังคม และการ จัดบริการทางสังคม การก่อให้เกิดโครงข่ายความปลอดภัยทางสังคม และการคุม้ ครองทางสังคม รัฐมี บทบาทในการดูแลผู้ด้อยโอกาส ในลักษณะการตรวจสอบว่าประชาชนประสบปัญหาและสมควรได้ รับการ ช่วยเหลือจริงหรือไม่ เน้ นการร่วมจ่าย ได้ แก่ ระบบประกันสังคม การประภัยในรูปแบบต่า ง ๆ กลุ่มที่ ๓ แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย เป็ นการจัดสวัสดิการแบบสถาบัน แบบถ้ วนหน้ าหรือแบบรัฐสวัสดิการ เป็ นการจัดสวัสดิการกระแสหลักในยุคคลาสสิก รูปแบบการจัดสวัสดิการเน้ นการจัดบริการสังคมในลักษณะ สิท ธิที่ ประชาชนจะต้อ งได้ร ับโดยเสมอและถ้ว นหน้า กัน รั ฐ มีบ ทบาทหลั กในการดู แ ลสวั สดิ การของ ประชาชน โดยจัดเก็บภาษี กระจายรายได้ และจัดสวัสดิการให้ แก่ประชาชน กลุ่มที่ ๔ แนวคิดแบบซ้ ายใหม่ หรือทางสายที่ สาม เป็ นการจัดสวัสดิการที่ ลดการพึ่ งพาสถาบันของรัฐ เป็ นการจัดสวัสดิการกระแสรอง หรื อกระแสทางเลือก เน้ นรูปแบบการจั ดสวัสดิการแบบพหุ ลักษณ์ แบบสวัสดิการผสม การเป็ นสังคม สวัสดิการที่ทุกฝ่ ายเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดสวัสดิการ บทบาทของรั ฐนอกจากรับผิดชอบ การจัดสวัสดิการแล้ ว ยังต้ องเน้ นการส่งเสริมให้ ทุกฝ่ ายเข้ ามามีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการให้ แก่ประชาชน พัฒนาการสวัสดิการของสังคมไทยภายหลังการเปลี่ ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้ มีความพยายามสร้ างระบบสวัสดิการในประเทศไทย ในกลุ่มที่ ๓ รูปแบบสังคมนิยมประชาธิปไตยโดยสร้ าง หลักประกันด้ านรายได้ และการมีงานทาให้ แก่ ประชาชนแต่ไม่ประสบสาเร็จ อย่างไรก็ตามในสมัยจอมพล ป พิบูลสงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรีได้ มีการจัดตั้งกรมประชาสงเคราะห์ มีการออกกฎหมายประกันสังคม (๑)


และกฎหมายกรรมกร แต่เมื่ อมีการปฏิวัติเมื่ อปี ๒๕๐๐ กระแสทุนนิยมและการต่อต้ านคอมมิวนิสต์เข้ ามาใน ประเทศ ทาให้ ประเทศไทยดาเนิ นนโยบายสวัสดิการสังคมตามแนวคิด ในกลุ่มที่ ๑ รูปแบบขวาใหม่บ น พื้นฐานที่ ว่าหากเศรษฐกิจดีสงั คมจะดีตาม ให้ ความสาคัญกับการดูแลผู้ด้อยโอกาส ก่อนพัฒนาใช้ แนวคิด มา เป็ นกลุ่มที่ ๓ รูปแบบทางสายกลางโดยดูแลผู้ประสบปัญหาทางสังคม คนยากจนและผู้ด้อยโอกาสเพิ่ มมาก ขึ้น แนวคิดกลุ่มที่ ๓ รูปแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย กลับมาอีกครั้ง เมื่ อพรรคไทยรักไทยดาเนินนโยบาย ประชานิยมแบบเสรีนิยมใหม่ ทาให้ พรรคการเมืองอื่ นให้ สนใจงานสวัสดิการสังคมเพิ่ มมากขึ้น จนมีนโยบาย สวัสดิการนิยมของพรรคมหาชน นโยบายรัฐสวัสดิการของพรรคมัชฌิมาประชาธิปไตย วาระประชาชนของ พรรคประชาธิปัตย์ ในช่วงปฏิรูปการปกครองในปี ๒๕๕๐ นโยบายสวัสดิการสังคมจะเป็ นไปในแนวคิดกลุ่ม ที่ ๔ รูปแบบพหุลักษณ์ และเป็ นสวัสดิการแบบผสมที่ ทุกฝ่ ายเขามามีส่วนร่วมในปัจจุบัน จุดสาคัญที่ เป็ นปัจจัยเอื้อให้ งานสวัสดิการสังคมได้ รับความสาคัญนอกจากการดาเนิน นโยบายทางการเมืองแล้ ว ยังมีนักวิชาการที่ เห็นว่าการสวัสดิการสังคมเป็ นสิ่ งสาคัญในการปฏิรูปสังคม การ ที่ ชาวบ้ า นรวมตั วกัน จั ด สวั สดิ ก ารช่ ว ยเหลื อกัน เองในรู ป สวั ส ดิ ก ารชุ มน ธรกิจ ที่ ดาเนิ น งานเรื่ องความ รับผิดชอบต่อสังคมเพิ่ มมากขึ้น กรอปกับมีการออกกฎหมายส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมในปี ๒๕๔๖ และกฎหมายรองรั บกลุ่มเป้ าหมายต่าง ๆ รั ฐธรรมนู ญ แห่ งราชอาณาจั กรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ ๒๕๕๐ ที่ ให้ สิทธิสวัสดิการแก่ประชาชนเพิ่ มมากขึ้น วิกฤติเศรษฐกิจที่ ทาให้ หลายฝ่ ายต้ องหันมาสนใจงาน ด้ านสังคม ทาให้ มีกระแสการพัฒนางานสวัสดิการสังคมได้ รับการตอบสนอง และมีการใช้ จ่ายเม็ดเงินด้ าน สวัสดิการสังคมในภาพรวมมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามข้ อจากัดที่ พบยังมีการขาดความเข้ าใจที่ ถูกต้ องในงาน สวั สดิการสังคม ความหลากหลายในงานสวั สดิการสังคมที่ กระจายในกระทรวงทบวงกรมต่า ง ๆ และ ภาคเอกชน การขาดความชัดเจนในนโยบาย การมีกฎหมายและกลไกรองรับงานสวัสดิการสังคมเป็ นจานวน มากแต่ขาดการหนุนเสริมให้ สามารถปฏิบัติได้ จริงยังเป็ นข้ อจากัดในการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมไทย แนวทางการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมที่ สมควรดาเนินการได้ แก่ การกาหนดนโยบายใน การจัดสวัสดิการสังคมไทยที่ ชัดเจน ในรูปแบบสังคมสวัสดิการ การกาหนดเป้ าหมายในการจัดสวัสดิการ สังคมไปสู่การให้ ประชาชนได้ รั บสวัสดิการถ้ วนหน้ า การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม ๔ ระบบ หรือ ๔ เสา หลัก ได้ แก่ ระบบการช่วยเหลือทางสังคม ที่ ต้องเน้ นการกาหนดกลุ่มเป้ าหมายผู้รับบริการให้ ชัดเจน และให้ การช่ วยเหลือให้ ได้ อย่างเป็ นระบบและได้ มาตรฐาน ระบบการประกันสังคม ที่ ต้ องเน้ น การขยายความ ครอบคลุมในการสร้ างหลักประกันให้ แก่ผ้ ูมีรายได้ เช่น การขยายประกันสังคมในกลุ่มแรงงานนอกระบบ การสร้ างหลักประกันใหม่ ๆให้ เกิดขึ้น เช่น ระบบการออมแห่งชาติ การสมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน บน พื้นฐานของการเชื่ อมประสานและไม่ซา้ ซ้ อนกันในการรับบริการ แ ละระบบบริการสังคม ที่ ต้ องดูสิทธิข้ัน พื้นฐานที่ ประชาชนต้ องได้ รับ โดยยึดหลักความจาเป็ นและความพอเพียง และระบบการส่งเสริมสนับสนุ น ที่ ต้องมีการลงทุนเพื่ อให้ เกิดทุนทางสังคมที่ ทุกฝ่ ายเข้ ามามีส่วนร่วมเพิ่ มมากขึ้น การพัฒนาคุณภาพการให้ บริการ โดยการพัฒนามาตรฐานหน่วยงานและบุคลากรในการ ให้ บริการที่ เป็ นมืออาชีพ การปรับปรุงระบบการเงินการคลังเพื่ อการจัดสวัสดิการสังคม โดยการจัดเก็บ ภาษี และขยายฐานภาษีบางประเภทเพิ่ มมากขึ้น และการนางบประมาณมาจัดสรรให้ งานสวัสดิการสังคมเพิ่ มมาก (๒)


ขึ้น การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ ให้ มีห น่วยงานรองรับการพัฒนางานสวัสดิการสังคมในภาพรวม โดยการจั ด ตั้ ง ส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การจั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คมแห่ ง ชาติ ใ ห้ เ ป็ นหน่ ว ยงานที่ มี กฎกระทรวงรองรับ ข้ อเสนอแนะในการผลักดันให้ เกิดการปฏิบัติจาเป็ นต้ องเร่งสร้ างความรับรู้ความเข้ าใจใน งานสวัสดิการสังคม การรับฟั งความคิดเห็นจากภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่ อนแนวทางการพัฒนาระบบ สวัสดิการสังคม โดยการสารวจ การประชุมสัมมนา และรับฟังความคิดเห็นในเวทีต่าง ๆ โดยเฉพาะในเวที การประชุมสมัชชาสวัสดิการสังคมแห่ งชาติ และการใช้ ประโยชน์จากกลไกคณะกรรมการส่งเสริ มการจัด สวัสดิการสังคมแห่งชาติ โดยนาเสนอแนวทางการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมไทยต่อคณะกรรมการเพื่ อให้ เกิดผลในทางปฏิบัติ ด้ วยการกาหนดเป้ าหมายประชาชนไทยในกลุ่มต่าง ๆ ได้ แก่ กลุ่มข้ าราชการ กลุ่ม แรงงานในระบบ กลุ่มแรงงานนอกระบบ และกลุ่มที่ อยู่นอกระบบแรงงาน ได้ รับสวัสดิการถ้ วนหน้ าในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยการจัดทาแผนปฏิบัติการรองรับในการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม การนาเรื่ องดังกล่าวให้ เป็ นประเด็นสาคัญในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ๕ ปี สร้ างสวัสดิการสังคมไทย ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) และผนวกไว้ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) และ การสร้ างความพร้ อมของหน่วยงานและบุคลากรที่ เกี่ ยวข้ องเพื่ อรองรับการพั ฒนาระบบสวัสดิการสังคมที่ เสนอให้ เกิดขึ้น

(๓)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.